สมเด็จพระเจ้าพน่ี างเธอ เจ้าฟ้ากลั ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ทรงเล่าถงึ การศึกษาของสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี เมื่อคร้ังทรงพระเยาว์ตอนหน่ึงว่า “เจ้าอาวาสนวม เป็นผู้ริเริ่มคร้ังโรงเรียนชายในวัดอนงค์ ต่อมาท่านเปิดโรงเรียน สำ� หรบั สอนเด็กผูห้ ญงิ โดยให้ครชู ายสอน ในโรงเรยี นมีสงั วาลย์ถึง 3 คนคือสังวาลยใ์ หญ่ สังวาลย์แม่ และสังวาลย์เล็ก แม่ไปโรงเรียนไม่ถึงปีโรงเรียนก็ปิดต่อมาแม่เข้าโรงเรียน ศกึ ษานารอี ยไู่ ด้เดอื นกว่า ๆ” จากพระนพิ นธเ์ ร่ือง “แม่เลา่ ใหฟ้ ัง” ของสมเดจ็ พระเจา้ พ่นี างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์
คำ� ปฏญิ าณตนนักเรียนศึกษานารี ขา้ พเจา้ มีความภมู ิใจอยา่ งย่งิ ท่ีไดเ้ ปน็ นกั เรยี นโรงเรยี นศึกษานารี ข้าพเจา้ จะเชดิ ชเู กยี รติศกั ดิ์ของความเปน็ กลุ สตรไี ทย จะผดุงไวซ้ ง่ึ ช่อื เสยี งเกยี รตยิ ศ คุณงามความดขี องเหลา่ อนชุ นศึกษานารที ีไ่ ด้สรา้ งไว้เป็นเวลาอันช้านาน ขา้ พเจา้ ....................................................ชน้ั ..........ปกี ารศกึ ษา..................รนุ่ ท่ี............ ด้วยอ�ำนาจบารมีของพระพุทธพระรัตนกวีพระพุทธรูปประจ�ำโรงเรียน ตลอดจนสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ทั้งหลายข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนต่อดวงวิญญาณของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) ผู้ให้ก�ำเนิดโรงเรียนศึกษานารี สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้เป็นเจ้าของท่ีตั้ง โรงเรียนศกึ ษานารดี ้วยความสตั ย์วา่ ขอ้ 1 ข้าพเจา้ จะเทิดทูน จงรกั ภักดีต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ข้อ 2 ขา้ พเจ้าจะรกั ษาระเบียบวินัย และปฏบิ ตั ติ ามกฎของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด ขอ้ 3 ข้าพเจ้าจะตั้งใจศึกษาเล่าเรียน เชื่อฟังค�ำสั่งสอนของบิดามารดา และครูอาจารย์ ดว้ ยความเคารพ ข้อ 4 ข้าพเจ้าจะประพฤติตนเป็นกุลสตรีที่สุภาพเรียบร้อย มีความอดทน กล้าหาญ แสดงออกในสง่ิ ที่ถกู ตอ้ ง มคี ณุ ธรรม ขอ้ 5 ข้าพเจ้าจะรักษาช่ือเสียง ด�ำรงไว้ซ่ึงศักดิ์ศรีของโรงเรียนศึกษานารี และยึดมั่น ในคติพจน์ของโรงเรยี น หากประพฤติผดิ ค�ำปฏญิ าณตน ขา้ พเจา้ ยนิ ดีรับผิดต่อการกระท�ำทเ่ี กดิ ข้นึ แต่โดยดี ลงชื่อ................................................นักเรยี น ลงชอ่ื .................................................ผู้ปกครอง ลงช่ือ.................................................พยาน (ครทู ี่ปรึกษา)
พระบรมราโชวาท “เดก็ ” ตอ้ งหดั ทำ� ตวั ใหส้ ภุ าพออ่ นโยน หมน่ั ขยนั เอาการเอางาน เออื้ เฟอ้ื ชว่ ยเหลอื ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจอยู่เสมอ ให้ติดเป็นนิสัย จะได้เติบโตขึ้นเป็นคนดี มีประโยชน์ และมีความเจรญิ ม่ันคงในชีวติ เดก็ ๆ ท�ำอะไรตอ้ งหดั ให้ร้ตู ัว การรู้ตวั อยเู่ สมอจะท�ำให้เป็นคนมรี ะเบยี บ และคนที่ มรี ะเบยี บแล้ว จะสามารถเล่าเรยี นและท�ำงานต่าง ๆ ไดโ้ ดยถกู ต้อง รวดเร็วจะเปน็ คนที่ สรา้ งความส�ำเร็จ และความเจริญให้แกต่ นเอง แกส่ ว่ นรวมในอนาคตไดอ้ ยา่ งแนน่ อน พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รชั กาลที่ 9
เพลงประจ�ำโรงเรยี น มาร์ชศึกษานารี (พ.ศ. 2526) คำ� ร้อง อาจารย์รำ� พรรณ ทรพั ยะประภา ท�ำนอง นรศิ ทรพั ยะประภา ศกึ ษานารี ศึกษานารี มสี มญา น�้ำตาล-เหลอื ง งามสงา่ น่าเลอื่ มใส สัญลกั ษณ์ การศึกษา สตรีไทย ตงั้ อยู่ใน ธนบุรี มมี านาน อบรม กลุ สตรี มาหลายรนุ่ ให้มี คณุ ธรรม น�ำประสาน กับความรู้ ให้เกิด ปญั ญาชาญ ครองตน ครองบ้าน และผูค้ น สามัคคี มีระเบียบ ไม่เหลวไหล อีกทัง้ มี น้�ำใจ เป็นกุศล รกั ษา เกียรติคณุ ทว่ั ทุกคน สมเป็น อนุชน ศกึ ษานารี น้�ำตาล-เหลอื ง น้ำ� ตาล-เหลือง ร่งุ เรอื งนัก จะรกั ษา สัญลกั ษณ์ ให้สดศรี ตกถิน่ ฐานใด ไมร่ าค ี เป็นกลุ สตรี ของไทยเอย ศกึ ษานารี น�ำ้ ตาล-เหลือง ศึกษานารี ศึกษานารี น�ำ้ ตาล-เหลอื ง
เพลงศกึ ษานารีทีร่ กั (พ.ศ. 2526) ค�ำรอ้ ง-ทำ� นอง อาจารย์นฤมล วิจิตรรัตนะ ศกึ ษานารีทร่ี ัก เราล้วนประจักษค์ วามรกั ภกั ดีตรงึ มน่ั เปรยี บเทยี นสง่ นำ� ย้�ำเตือนใหฉ้ นั กา้ วไปทางไหนไม่หวน่ั ก้าวเดนิ รว่ มกันดว้ ยความมนั่ ใจ... ศกึ ษานารีท่ีรกั เราลว้ นสมัครความรักภกั ดพี ลใี ห้ เลือดเราร่วมมีสเี ดยี วใชไ่ หม ร่วมกนั นับวนั ยง่ิ ใหญ่ ไมม่ สี งิ่ ใดหรอื ใครก้ันเรา ท่ีรกั ...คำ� นี้พลเี พื่อที่รัก เราล้วนตระหนกั ความรักภกั ดพี ลเี หย้า ร่มไทรให้คนพน้ ความโง่เขลา ลอื ชาสถาบันเก่า เทดิ นามแหง่ เราเขาลอื ชือ่ ไกล ศึกษานารที ่รี ัก ใครหรือหา้ มหักความรักใหล้ ืมลงได้ จากเรอื น เพือ่ นเราเขาไปอยู่ไหน ชายคาสถาบันใหม่ อยา่ ลืมกล่นิ ไอศกึ ษานารี
ศนู ย์รวมใจ โรงเรียนศกึ ษานารี 1 STUDENT HANDBOOK แพลระะสพมุทเดธจ็รพตั นระกพวุฒี าจารย์ (นวม พทุ ธสรมหาเถระ) พระพุทธรปู ประจำ� โรงเรียนศึกษานารี ปางขัดสมาธิ และรูปเหมือนสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) เจ้าอาวาสวัดอนงคารามฯ องคท์ ี่ 6 ผู้กอ่ ตง้ั โรงเรยี นศึกษานารี โดยนางประจวบ ช�ำนิประศาสน์ อดีตผู้อ�ำนวยการคนท่ี 10 คณะกรรมการ สมาคมผปู้ กครองและครโู รงเรยี นศกึ ษานารี และคณะสงฆว์ ดั อนงคารามวรวหิ ารรว่ มกนั หล่อรูปเหมือน เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) ขนาด เท่าองค์จริง ประดิษฐสถาน ณ ศาลา “พุทธสรานุสรณ์” ในโอกาสครบรอบ 84 ปี แห่งการก่อต้ังโรงเรียนศึกษานารี พ.ศ. 2528 เป็นพุทธสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิของ เราชาวศึกษานารี ศาลสมเดจ็ ปู่ (สชมว่ งเดบ็จนุ นเาจค้า) พระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ์ สร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ. ใดไม่ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจน ประดษิ ฐานอยดู่ า้ นประตทู างเขา้ หนา้ โรงเรยี น เปน็ ทเ่ี คารพ ศรทั ธาของชาวศกึ ษานารีมาช้านาน สอนมุสเดาจ็ วเรจยี า้ ์พระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ (ชว่ ง บนุ นาค) สรา้ งขนึ้ ในราว ปี พ.ศ. 2540 โดยนางจงพศิ กนั หลง ผู้อ�ำนวยการคนที่ 14 เป็นผู้ริเร่ิมโครงการสร้างอนุสาวรีย์ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เพ่ือ เป็นท่สี ักการะแก่ชาวศึกษานารี
2 คู่มือนกั เรยี นและผปู้ กครอง Suksanari School สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) ผูใ้ ห้กำ� เนิดโรงเรียนศกึ ษานารี สมเด็จเจา้ พ(รชะ่วยงาบบุนรมนมาคห)าศรีสุริยวงศ์ สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี ผ้ปู ระทานท่ดี ินท่ตี ั้งโรงเรียนศึกษานารี นักเรยี นเกา่ โรงเรยี นสตรอี ดุ มวทิ ยายน คอื โรงเรียนศึกษานารีในปจั จบุ ัน คำ� ร้อง-ท�ำนอง วงดนตรีสนุ ทราภรณ์ (สงวนสทิ ธ์)ิ นามของเรา ศกึ ษานาร ี สมเปน็ กลุ สตรีเลศิ ลำ�้ คา่ มีสมญาโรงเรียน สามสมเดจ็ เปรียบดังเพชรเม็ดงามของแผ่นดนิ หนง่ึ ...สมเด็จพระพฒุ าจารย์ผใู้ หก้ ำ� เนิด สอง...สมเด็จเจ้าพระยามอบทดี่ นิ สาม...ส�ำคญั สมเด็จพระศรนี ครนิ ทร ์ ช่นื ...ดวงจินตท์ ่านทรงเรียนศึกษานารี พวกเราจึงขอเทิดทนู ไว้เหนอื เกล้า งามน�้ำตาล-เหลือง ของเราล้วนสามคั คี ศึกษานารสี ง่างามเลิศในทุกยาม ประกาศนาม ทเ่ี ด่นดงั ศกึ ษานารี
โรงเรยี นศึกษานารี 3 STUDENT HANDBOOK คำ� ปรารภผอู้ �ำนวยการโรงเรียน หนงั สอื คมู่ ือนกั เรยี นและผูป้ กครอง ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2564 ขอแสดงความยนิ ดี และขอตอ้ นรบั ลกู ๆ ทกุ คนสรู่ ว้ั ศกึ ษานารี สถานศึกษาแห่งนี้มีความรักและความอบอุ่นเป็นเหมือนบ้านหลัง ท่ีสอง มีทง้ั พี่และน้อง มีพ่อและแม่คอื คุณครูทุกคนที่พร้อมดแู ล ในฐานะทเ่ี ปน็ สมาชกิ ใหมข่ องบา้ นนำ�้ ตาลเหลอื ง ผอู้ ำ� นวยการ ขอให้ลูก ๆ ได้ศึกษาระเบียบปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันให้เข้าใจ เพื่อจะได้ปฏิบตั ิตนไดถ้ กู ต้อง และอยู่ในบ้านหลังน้ีอย่างมีความสุข โรงเรยี นของเรากอ่ ตง้ั มาเปน็ เวลา 120 ปี แลว้ ระยะเวลาทย่ี าวนาน นน้ั คอื เกยี รตยิ ศและความภาคภมู ใิ จจากรนุ่ สรู่ นุ่ ทส่ี ง่ ตอ่ กนั มา จึงขอให้ลูก ๆ ได้ช่วยกันสืบสานและรักษาความดี ความงามนไี้ ว้ และสง่ ต่อใหน้ อ้ ง ๆ ทจี่ ะเขา้ มาในปีต่อ ๆ ไปด้วย พร้อมกันนี้ ก็ขอขอบคุณผู้ปกครองทุกท่าน ไว้วางใจโรงเรียนศึกษานารีท�ำหน้าท่ีให้ดูแลบุตรหลาน ของท่าน ท้ังน้ีก็ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจท้ังจากบ้าน และโรงเรียน เพอ่ื ประคับประคองลกู ๆ ของเราให้เดนิ ไปถงึ เสน้ ชัย หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือนักเรียนและ ผู้ปกครองเล่มนี้ จะช่วยให้เกิดความรู้ความ เข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียน นักเรียน และ ผู้ปกครอง และช่วยให้การด�ำเนินงานต่าง ๆ น้ันส�ำเร็จเรียบร้อยด้วยดีดังท่ีมุ่งหวังไว้ ทกุ ประการ (นายขจติ พันธ์ สุวรรณสิริภักดิ์) ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนศกึ ษานารี
4 ค่มู ือนักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School ปรชั ญาของเรา เทิดคณุ ธรรม นำ� วชิ าการ รกั สถานศกึ ษา จรรยาเปน็ เลศิ
โรงเรยี นศกึ ษานารี 5 STUDENT HANDBOOK สารบญั CONTensS u k s a n a r i S c h o o l ศนู ย์รวมใจ........................................................................................ 1 โรงเรียนสามสมเด็จ........................................................................... 2 คำ� ปรารภ.......................................................................................... 3 ปรัชญาของเรา.................................................................................. 4 สัญลักษณ์.......................................................................................... 6 คา่ นยิ มองคก์ ร ศึกษานารี.................................................................. 8 สมเดจ็ วดั อนงค-์ สมเด็จยา่ โรงเรยี นศกึ ษานารี.................................. 9 เลา่ เรื่องสมเด็จเจา้ พระยากับโรงเรียนศกึ ษานาร.ี ............................14 ประวตั โิ รงเรียนศกึ ษานารี...............................................................18 ทำ� เนยี บบุคลากร.............................................................................25 องคก์ รส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอน..........................40 เครือ่ งแบบนกั เรียน.........................................................................45 กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล.....................................................................49 กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ.........................................................................85 กลุม่ บรหิ ารงบประมาณ................................................................156 กลุม่ บริหารทัว่ ไป...........................................................................160
6 คมู่ ือนักเรยี นและผ้ปู กครอง Suksanari School สญั ลักษณ์ ประกอบดว้ ยอกั ษร “ศน” อยู่ในวงกลม ด้านบนเปน็ อณุ าโลม และรศั มี ดา้ นล้างมคี ตพิ จนข์ องโรงเรยี น รัศมี หมายถงึ ความมีชอื่ เสยี ง รงุ่ โรจน์ อณุ าโลม หมายถึง ความมสี ริ ิ และสวัสดมิ งคล คติพจน ์ ธมโฺ ม วิชชฺ า จ ปญญฺ าฺ จ นิจฺจภยิ ฺโย ปวทฒฺ เต คุณธรรม ความรู้ และปัญญา ยังบุคคล ใหเ้ จรญิ ร่งุ เรืองถาวร ปรัชญา เทิดคณุ ธรรม นำ� วชิ าการ รกั สถานศึกษา จรรยาเปน็ เลิศ สปี ระจ�ำโรงเรียน นำ�้ ตาล-เหลอื ง จากประวัติศาสตร์ความเป็นมา เดิมนั้นครูทุกคนจะต้องแต่งกายด้วย ผา้ ซน่ิ สนี ้ำ� ตาล สวมเสอ้ื สเี หลือง ในโอกาสทโ่ี รงเรียนมีงานพเิ ศษต่าง ๆ เช่น งานฉลอง รัฐธรรมนูญ งานกาชาด ฯลฯ สัญลักษณ์น้ีผู้ให้ก�ำเนิดคือ อาจารย์เหลือบ บุณยเกตุ อาจารยใ์ หญค่ นแรกของโรงเรยี นศึกษานารี โดยทา่ นให้ความหมายว่า สีน้�ำตาล น้ันเทียบได้กับความหวานของน�้ำตาล อันเป็นรสท่ีน�ำ ความชุ่มชื่นมาสู่ทุกคนท่ีได้ล้ิมลอง ไม่ว่าน้�ำตาลน้ันจะไป ปรุงแตง่ ในรสใด สีเหลือง คือ สีแห่งดวงจันทร์ อันเทียบได้กับความงามของสตรี จึงนิมติ ว่า สีเหลืองแทนความงาม สนี �ำ้ ตาลแทนความหวาน
โรงเรยี นศึกษานารี 7 STUDENT HANDBOOK ดอกไมป้ ระจำ� โรงเรยี น ดอกตะแบก หมายถึง ความสามัคคี อดทน รับผดิ ชอบ พรรณไม้พันธุ์พฤกษล์ ้วนนามมี มากแล ณ แหลง่ ศกึ ษานารี รจนพ์ ร้อง จากวันเปลยี่ นเป็นเดือนบห่ น่าย ชมเลย สำ� เหนียกเพรียกนามซ้อง อวดชชี้ มเพลนิ ...ตะแบกเป็นสัญลักษณ์ ความเหนอื่ ยหนกั การศกึ ษา ดอกบานตระการตา ความหมายวา่ คลายเหนอื่ ยพลนั ... ร้อยกรองโดยอาจารย์ยพุ า วยิ าภรณ์ ในงานนิทรรศการภาษาไทย (2521)
8 คู่มอื นกั เรียนและผ้ปู กครอง Suksanari School คา่ นิยมองค์กร...ศึกษานารี (SUKSANARI VALUE) Self-Esteem รู้คณุ คา่ ของตน Unity รักใครก่ ลมเกลียว Knowledge เชย่ี วชาญรอบรู้ Spirit เปน็ ผจู้ ิตใจงาม Adjustment มคี วามสามารถปรับตวั Nobility ยึดมั่นคณุ ธรรม Achievement มงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธ์ิ Responsibility รับผดิ ชอบหน้าท่ี Innovation มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์
โรงเรยี นศึกษานารี 9 STUDENT HANDBOOK สมเดจ็ วดั อนงค-์ สมเดจ็ ยา่ โรงเรียนศึกษานารี รศ.ดร.จำ� ลอง สารพดั นกึ การเรียบเรียงเรื่องราวเก่ียวกับสมเด็จวัดอนงค์-สมเด็จย่า-โรงเรียนศึกษานารีของ รศ.ดร.จ�ำลอง สารพัดนึก ได้น�ำลงตีพิมพ์ในวาระครบรอบ 84 ปี โรงเรียนศึกษานารีน้ัน ครบถว้ นสมบรู ณ์ ครนั้ จะนำ� มาเรยี บเรยี งใหม่ ผอู้ า่ นหลายทา่ นไดพ้ จิ ารณาแลว้ มคี วามเหน็ วา่ ควรน�ำของเดิมมาตีพิมพ์อีกครั้งจะเป็นการดีกว่า ทั้งนี้เพ่ือให้ศิษย์เก่ารุ่นหลัง ๆ ได้อ่าน โดยทั่วถึงกัน คณะกรรมการจัดท�ำหนังสือ “คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2560” จึงขออนุญาตนำ� เรอื่ งราวดังกลา่ วมาจดั พมิ พ์อีกคร้ังหน่ึงดงั มขี อ้ ความต่อไปน้ี “ด้วยเหตุท่ีข้าพเจ้ามีความคุ้นเคยกับวัดอนงค์ ซึ่งต้ังอยู่ใกล้กับโรงเรียนศึกษานารี ตง้ั แตส่ มยั ทข่ี า้ พเจา้ ครองเพศบรรพชติ อยมู่ าจนปจั จบุ นั และเคยไดย้ นิ ไดฟ้ งั เรอื่ งราวเกย่ี วกบั โรงเรียนศึกษานารีอยู่บ้าง จึงใคร่ท่ีจะน�ำเรื่องโรงเรียนศึกษานารีมาเล่าสู่กันฟัง อันจะท�ำให้ ผู้ท่ีไม่เคยได้ยินได้ฟังจะได้รู้เรื่องนี้ประการหน่ึง และอีกประการหนึ่ง ข้อเขียนซึ่งถ่ายทอด มาจากหนังสือ “ศึกษานารี 84 ปี แห่งความร�ำลึกถึง” นี้จะได้ตราติดเป็นประวัติศาสตร์ ของโรงเรียน ซึ่งอาจจะเป็นการสะดวกส�ำหรับอนุชนในอนาคต ท่ีประสงค์จะทราบประวัติ ของโรงเรยี นนี้ โดยอา่ นจากบทความเรอื่ งน้ี ซง่ึ แมจ้ ะไมล่ ะเอยี ดนกั อยา่ งนอ้ ยกจ็ ะทำ� ใหผ้ อู้ า่ น ไดท้ ราบว่า โรงเรยี นน้ตี ง้ั ขึ้นมาเมอื่ ไร และใครเปน็ ผ้กู อ่ ต้งั โรงเรียนศึกษานารี มีความสัมพันธ์กับบุคคลหลายฝ่ายและสถานที่หลายแห่ง เพื่อให้สอดคล้องกับความสัมพันธ์ที่โรงเรียนศึกษานารีมีอยู่กับบุคคล และสถานท่ีน้ัน ๆ ข้าพเจ้าจึงเขียนเร่ือง “สมเด็จวัดอนงค์-สมเด็จย่า โรงเรียนศึกษานารี” หากจะกล่าว โดยสรุปก่อนสมเด็จวัดอนงค์ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนศึกษานารี เมื่อปี พ.ศ. 2444 สมเด็จย่า ทรงเคยเปน็ ศษิ ย์เกา่ ของโรงเรียนศึกษานารี ความละเอียดของบทความนี้ เก็บความจากหนังสือประวัติการศึกษาหนังสือไทย ของวดั อนงคารามฯ ซ่ึงเรียบเรยี งโดยพระยาสาครราชเรอื งยศ เม่ือ พ.ศ. 2484 และตพี ิมพ์ พ.ศ. 2500 มดี งั นี้
10 คมู่ ือนกั เรียนและผูป้ กครอง Suksanari School สมเด็จวัดอนงค์ท่ีกล่าวถึงน้ีคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) ท่านมีชีวประวัติดังน้ี นามเดิมว่า นวม พุทธสโร เกิดเม่ือวันท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2407 ที่อ�ำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ท่านอยู่วัดอนงคารามฯ ต้ังแต่เยาว์วัย โดยได้บรรพชา เป็นสามเณรเมื่ออายุ 13 ปี และอุปสมบทเป็นพระภิกษุเม่ืออายุครบ 20 เมื่อสมเด็จฯ ยงั เยาวว์ ยั ไดเ้ รยี นคมั ภีร์มลู กัจจายานะและพระธรรมบท และเรียนวชิ าพเิ ศษคือ หนังสอื ไทย เลข และลกู คดิ ทั้งท่ยี ังไม่มโี รงเรียนในสมัยน้ัน แตด่ ว้ ยความสนใจ ใคร่ต่อการศึกษาท่านจึง มีความรู้ในวิชาพเิ ศษเปน็ อย่างดี สมเดจ็ ฯ ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวดั อนงคารามฯ รูปที่ 6 และเคยด�ำรงต�ำแหน่งอื่น ๆ ที่ส�ำคัญของคณะสงฆ์ คือเป็นเจ้าคณะแขวง เจ้าคณะมณฑล เจ้าคณะจังหวัดสมาชิกสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม และสังฆมนตรีว่าการองค์การ สาธารณูปการ ท่านเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศไทยด้วย กล่าวคือ เมอื่ พ.ศ. 2432 ขณะทา่ นเปน็ พระครอู นั ดบั อยเู่ รยี กกนั วา่ “พระอาจารยน์ วม” และในสมยั นนั้ ยังไม่มีโรงเรียน ท่านได้เริ่มท�ำการสอนศิษย์ของท่านเป็นการส่วนตัว โดยใช้กุฏิ เปน็ โรงเรยี น วชิ าทส่ี อนคอื หนงั สอื ไทย เลข ลกู คดิ และจรรยา มผี เู้ หน็ ประโยชนใ์ นการศกึ ษา ได้นำ� บตุ รหลาน ซึง่ เป็นชายไปฝากเข้าเรยี นเปน็ จ�ำนวนมาก ต่อมาทา่ นได้จดั สร้างทเ่ี ล่าเรียน ขึ้นอีกด้วยทุนส่วนตัวกับทุนที่มีผู้ศรัทธาบริจาคสมทบ จนทางราชการได้เร่ิมเข้ามาดูแล การศกึ ษา พรอ้ มทงั้ จดั นติ ยภตั ถวายทา่ นเปน็ ประจำ� ทกุ เดอื น เดอื นละ 10 บาท และทา่ นมไิ ด้ ถอื เอานิตยภตั น้นั เปน็ ประโยชนส์ ่วนตัว กลบั ได้น�ำเอาไปจา้ งครูมาช่วยสอน 1 คน ครัน้ ตอ่ มา ท่านก็ได้น�ำเอานิตยภัตน้ันไปจ้างครูเพ่ิมอีก 1 คน ดังน้ัน นอกจากท่านเป็นผู้สอนแล้ว ยังได้ครชู ว่ ยสอนอีก 3 คน ตอ่ มา พ.ศ. 2440 กรมศกึ ษาธกิ ารไดเ้ ขา้ จดั การศกึ ษาและจดั ครเู อง จงึ ไดโ้ อนครทู กุ คน ท่ีพระอาจารย์นวมจ้างมาช่วยสอนไปเป็นข้าราชการได้รับพระราชทานเงินเดือนทุกคน สว่ นพระอาจารยน์ วมได้รับแต่งตง้ั เปน็ “พระอาจารยส์ ยามปรยิ ัต”ิ ซงึ่ เป็นนามท่ีต้ังขึ้นเพอ่ื เป็นเกยี รติและยกยอ่ งใหเ้ หน็ ว่าเป็นผสู้ �ำคญั เก่ียวกบั การศึกษากบั ไดร้ ับตำ� แหน่งครใู หญ่ ต่อมาความได้ทรงทราบถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว พระองค์จึงทรง พระกรณุ าโปรดให้พระอาจารย์นวม หรือพระอาจารย์สยามปรยิ ัติ เขา้ เฝา้ และพระราชทาน สมณศักด์ิเป็น “พระครูอุดมพิทยากร” (พระครูสัญญาบัตรพิเศษ) ในปี พ.ศ. 2441 และ ในปนี นั้ เองสถานศกึ ษาทพ่ี ระครอู ดุ มพทิ ยากร (นวม พทุ ธสโร) ไดเ้ ปน็ ผรู้ เิ รมิ่ ตง้ั ขนึ้ จงึ ไดน้ ามวา่
โรงเรยี นศึกษานารี 11 STUDENT HANDBOOK “โรงเรียนอุดมวิทยายน” ตามนามของผู้ให้ก�ำเนิด ซึ่งต่อมาได้แบ่งออกเป็นฝ่ายประถม โดยใชน้ ามวา่ “โรงเรยี นประถมอดุ มวทิ ยายน” ฝา่ ยมธั ยมวา่ “โรงเรยี นมธั ยมอดุ มวทิ ยายน” ตอ่ มาทา่ นพระครอู ดุ มพทิ ยากร ดำ� รวิ า่ ไดช้ ว่ ยการศกึ ษาฝา่ ยกลุ บตุ รสมความมงุ่ หมาย และขณะนน้ั กพ็ อดมี สี ถานทพ่ี อใชเ้ ปน็ ทเี่ รยี นไดอ้ ยู่ จงึ ไดเ้ ปดิ การสอนแผนกสตรขี นึ้ โดยจา้ งครู มาสอนแผนกสตรเี พม่ิ ขนึ้ อกี สถานทเ่ี รยี นสำ� หรบั สตรใี ชน้ ามวา่ “โรงเรยี นสตรอี ดุ มวทิ ยายน” ในปี พ.ศ. 2444 ในการต่อมาในปี พ.ศ. 2453 หลังจากท่ีพระครูอุดมพิทยากร ได้รับพระราชทาน สมณศกั ดเิ์ ปน็ พระราชาคณะชนั้ สามญั ที่ “พระธรรมธราจารย”์ เปน็ เจา้ อาวาสวดั อนงคารามฯ เจา้ พระยาธรรมศกั ดมิ์ นตรี เจา้ กรมตรวจการศกึ ษาสมยั นน้ั เหน็ วา่ นามโรงเรยี นมคี ำ� วา่ “อดุ มฯ” นนั้ ไปพอ้ งกบั นามโรงเรยี นอดุ มศกึ ษา จงึ ไดห้ ารอื พระธรรมธราจารย์ (นวม พทุ ธสโร) เจา้ อาวาส วดั อนงคาราม ผเู้ ปน็ ทง้ั เจา้ ของและผกู้ อ่ กำ� เนดิ โรงเรยี น โดยขอเปลยี่ นนามโรงเรยี นทงั้ 3 แหง่ ในเวลาพรอ้ มกนั ดงั นี้ เดมิ “โรงเรยี นมธั ยมอดุ มวทิ ยายน” เปลยี่ นเปน็ “โรงเรยี นมธั ยมวดั อนงค”์ เดมิ “โรงเรยี นประถมอดุ มศกึ ษา” เปลย่ี นเปน็ “โรงเรยี นประถมวดั อนงค”์ เดมิ “โรงเรยี นสตรี อุดมวทิ ยายน” เปลย่ี นเป็น “โรงเรียนศกึ ษานาร”ี และตอ่ มาในปี พ.ศ. 2468 โรงเรยี นมธั ยม- วดั อนงค์ ไดถ้ กู เปลี่ยนนามอกี ครงั้ เป็น “โรงเรยี นมัธยมบ้านสมเด็จเจา้ พระยา” เพราะได้ยา้ ย ทเี่ รยี นไปอยทู่ แ่ี หง่ ใหม่ ซงึ่ เปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของวทิ ยาลยั ครบู า้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา และใหโ้ รงเรยี น ประถมวัดอนงค์เป็นสาขาของโรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ส่วนสถานท่ีอันเป็นที่ต้ังของ โรงเรียนท่ีพระธรรมธราจารย์ (นวม พุทธสโร) ได้ก่อตั้งขึ้นนั้น ได้ขยายต่อเติมจากสถานที่ เดมิ บา้ ง ได้สร้างขึ้นใหมบ่ า้ ง และได้ขยายโดยเคล่ือนยา้ ยไปต้งั ณ สถานท่ีแหง่ ใหมบ่ ้าง ดังน้ี จากกฏุ ิ 1 หลัง เป็นโรงเรียนขึ้นอกี 1 หลัง จากโรงทมึ (คือโรงเก็บศพตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2493) บางแหง่ ใชศ้ าลาอเนกประสงคท์ ำ� นองเดยี วกบั ศาลาการเปรยี ญ ในปจั จุบัน ที่นายสงิ ห์ เสนะวัต บา้ นอยู่ตำ� บลคลองบางกอกใหญถ่ วายอีก 1 หลัง เป็นตกึ สองชั้น ตึกหลังนี้ท่ีนางทับ ปัทมานุช ได้ตั้งนามผู้ก่อก�ำเนิดว่า “โรงเรียนอุดมวิทยายน” ซงึ่ มกั มีผู้เรียกย่อ ๆ ว่า “โรงเรยี นอดุ มฯ” มีมุขกลาง จากเงินทีน่ างทับ ปัทมานชุ ถวายอกี 2 หลัง จากการอนุมตั เิ งินของกรรมการศกึ ษาธกิ ารอกี 1 หลงั โดยการดดั แปลงมณฑปเมรุ สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาพชิ ยั ญาติ ทต่ี ดิ ตอ่ ขอจากเจา้ คณุ หญงิ คล่ี บนุ นาค ซงึ่ เปน็ ธดิ าของ สมเดจ็ เจา้ พระยาฯ องคน์ นั้ อกี 1 หลงั คอื โรงเรยี นสขุ มุ าลยั (วดั พชิ ยญาตกิ าราม) อกี แหง่ หนง่ึ
12 คู่มือนกั เรียนและผปู้ กครอง Suksanari School คือบ้านสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ สถานที่ดังกล่าวทั้งหมดนี้เป็นสถานที่เรียน ของกลุ บุตร สว่ นกุลสตรีนัน้ สถานทีเ่ ลา่ เรยี นใกลก้ ับกฏุ สิ งฆ์มากนกั ซง่ึ เป็นการไม่เหมาะสม จึงดดั แปลงบ้านคณุ หญงิ พนั ทขี่ อจากกระทรวงธรรมการ ไดม้ าเปน็ สถานท่เี รยี น พ.ศ. 2473 กระทรวงธรรมการ ได้พิจารณาขยายพื้นท่ีโรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา และเห็นว่า สถานที่ตั้งโรงเรียนศึกษานารี มีพ้ืนทีเ่ หมาะสมจึงขอแลกที่ดิน ดงั นั้นโรงเรียนศึกษานารจี ึงได้ ย้ายมาอยู่ ณ ที่ตั้งปัจจุบัน คือ เลขท่ี 176 ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร ส่วนโรงเรียนประถมวัดอนงค์ กระทรวงธรรมการได้ยุบเลิกตั้งแต่ พ.ศ. 2482 โดยโอนนักเรียนไปอยู่ท่ีโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จพระยา เหตุท่ียุบเพราะมีสถานที่เล่าเรียน แพรห่ ลายแลว้ พระธรรมธราจารย์ (นวม พุทธสโร) ได้รับพระราชทานเล่ือนสมณศักด์ิเป็น พระราชาคณะชั้นราชที่ “พระราชมงคลมุนี” เป็นพระราชาคณะเทียบชั้นเจ้าคณะรองที่ “พระมหาโพธิวงศาจารย”์ และเป็น “สมเด็จพระพฒุ าจารย์” ในท่ีสุด จนถงึ กาลมรณภาพ เมอ่ื พ.ศ. 2499 จากประวัติดังกล่าวมาจะเป็นไปว่า “สมเด็จวัดอนงค์” คือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) มีบทบาทส�ำคัญเก่ียวกับการศึกษาของไทย เป็นผู้ให้ก�ำเนิด วทิ ยาลยั ครบู ้านสมเด็จเจา้ พระยาและโรงเรียนศกึ ษานารี สมเดจ็ ยา่ คอื สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี พระองคเ์ คยเปน็ ศษิ ยข์ องโรงเรยี น สตรีอุดมวิทยายน ปัจจุบันโรงเรียนศึกษานารีตามหนังสือ “สมเด็จพระศรีนครินทรา- บรมราชชนนี” ซึ่งนักข่าวหญิงจัดพิมพ์ข้ึนเพื่อเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในวโรกาสเฉลิม พระชนมพรรษาครบ 6 รอบ ของสมเด็จย่า ในปี พ.ศ. 2515 ระบุว่า สมเด็จพระบรม ราชชนนี ทรงเป็นนักเรียนรุ่นที่ 2 ของโรงเรียนน้ี และในหนังสือ “แม่เล่าให้ฟัง” พระนิพนธ์ของสมเดจ็ พระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นาฯ ซึง่ จัดพิมพเ์ นือ่ งในวโรกาสที่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมีพระชนมายคุ รบ 80 พรรษา ก็เลา่ ว่า สมเด็จ- พระบรมราชชนนี ทรงศกึ ษาในโรงเรยี นน้ี ความเกย่ี วเนอื่ งระหวา่ งสมเดจ็ วดั อนงค์ สมเดจ็ ยา่ และโรงเรียนศึกษานารี ตลอดเวลาอันยาวนานน้ีเป็นประจักษ์ท่ีชัดเม่ือคราวสมเด็จ วัดอนงค์อาพาธ สมเด็จย่าได้โปรดให้การรักษาในพระอุปถัมภ์โดยตลอด จนเมื่อมรณภาพ
โรงเรียนศกึ ษานารี 13 STUDENT HANDBOOK ก็ได้พระราชทานน้�ำทรงศพและโกศไม้สิบสอง พร้อมด้วยเครื่องประดับอิสริยยศเป็นเกียรติ ตลอดจนทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลพระราชทาน จากประวัติดังกล่าวมาข้างต้น โรงเรียนศึกษานารีได้ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2444 โดย ผกู้ อ่ ตงั้ คอื สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (นวม พทุ ธสรมหาเถระ) สมยั ทเ่ี ปน็ พระครอู ดุ มพทิ ยากร ซงึ่ ดำ� ริ ท่ีจะช่วยการศึกษาฝ่ายสตรี หลังจากท่ีได้ช่วยการศึกษากุลบุตรสมความมุ่งหมายแล้ว ไดก้ อ่ ตง้ั โดยใชช้ อ่ื วา่ “โรงเรยี นสตรอี ดุ มวทิ ยายน” ในตอนแรก และมาเปลยี่ นเปน็ “โรงเรยี น ศกึ ษานาร”ี เมอื่ ปี พ.ศ. 2453 อยา่ งไรกด็ ีการนบั เวลาเรม่ิ แรกการกอ่ ตัง้ ต้องถอื พ.ศ. 2444 (ขณะนี้ พ.ศ. 2528 ในปีที่ผู้เขียนเขียนบทความ) โรงเรียนศึกษานารีจึงมีอายุครบ 84 ปี ถา้ เปน็ อายขุ องคนทเ่ี ขา้ วยั ชราแลว้ อกี ไมน่ านกถ็ งึ อายขุ ยั ผดิ กบั อายขุ องสถานศกึ ษากลา่ วคอื สถานศึกษานั้นย่ิงมีอายุนานเท่าใดยิ่งดีขึ้นเท่านั้น ในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านอาคาร หรือด้านวิทยาความรู้ย่อมจะเป็นปึกแผ่นม่ันคง ท้ังได้รับความเช่ือถือมากข้ึนในปีที่โรงเรียน ศกึ ษานารมี ีอายคุ รบ 84 ปี คณะกรรมการโครงการจดั งาน 84 ปี ศกึ ษานารี ไดด้ �ำรจิ ัดงาน เพื่อเฉลมิ ฉลองเป็นท่รี ะลึกรว่ มกันอีกหลายฝา่ ย ได้แก่ โรงเรียนศึกษานารี สมาคมผปู้ กครอง และครูศึกษานารี สมาคมศิษย์เก่าศึกษานารีโดยมีคณะสงฆ์ วัดอนงคารามฯ และสมาคม ศิษย์วัดอนงคาราม ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นท่ีปรึกษาและสนับสนุน ได้มีมติร่วมกัน จัดหล่อรูปเหมือนสมเด็จพระพฒุ าจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) เป็นอนุสาวรยี ป์ ระดษิ ฐาน ไวท้ ีโ่ รงเรียนศึกษานารใี นฐานะท่ที า่ นเปน็ ผใู้ ห้กำ� เนดิ โรงเรยี นนด้ี ้วยจดุ มุ่งหมาย คือ 1. เพอ่ื เป็นอนุสาวรยี ข์ องท่านผู้ใหก้ �ำเนดิ โรงเรียน 2. เพื่อเป็นปชู นียวตั ถุสำ� หรบั กราบไหวบ้ ชู าประจำ� โรงเรยี น 3. เพ่อื เปน็ การแสดงกตญั ญกู ตเวทตี อ่ บพุ การีชนและบูรพาจารย์ นบั วา่ ทางโรงเรียนได้ท�ำส่ิงที่ถูก ทีค่ วร ท่ดี ี ทง่ี าม เปน็ การแสดงออกซ่งึ ความกตัญญู อยา่ งนา่ สรรเสรญิ ยงิ่ กค็ วามกตญั ญนู จี้ ดั เปน็ มงคล คอื ความเจรญิ สงู สดุ ประการหนงึ่ แหง่ มงคล 38 ประการท่ีมีในมงคลสูตรข้อว่า กตัญญุตา เอตมมงคลมุตตมง (การรู้อุปการะอันท่าน ทำ� แลว้ แกต่ นเป็นมงคลสงู สุด) นบั วา่ เปน็ การกระทำ� ทเี่ ปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี อนง่ึ ความกตญั ญเู ปน็ นมิ ติ ร คอื เครอ่ื งหมาย ของคนดี ดังภาษติ ท่ีวา่ นิมติ ฺตํ สาธรุ ปู านํ กตญญฺ ู กตเวทติ า การแสดงความกตญั ญูเช่นน้ี ควรท่ใี คร ๆ พึงถือเอาเป็นตัวอยา่ งและพงึ กระท�ำตาม”
14 คู่มือนักเรียนและผ้ปู กครอง Suksanari School เลา่ เร่อื งสมเดจ็ เจ้าพระยา กับโรงเรียนศึกษานารี ตนชุ ธ์ โกมารกลุ ณ นคร ผู้เรยี บเรียง ก่อนที่จะมาเป็นท่ีต้ังของโรงเรียนศึกษานารี สถานที่แห่งน้ีมีประวัติความ เปน็ มาทน่ี า่ สนใจ เพอื่ ชาวศกึ ษานารไี ดท้ ราบประวตั ิ ตามหลกั ฐานทพี่ อสบื หาได้ คอื เดมิ ทดี่ นิ แหง่ นเี้ ปน็ ของสมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ สมนั ตพ์ งศพสิ ทุ ธิ มหาบรุ ษุ รตั โนดมบรมราชตุ มรรค มหาเสนาธบิ ดมี หาสรุ ยิ มณั ฑลมี รุ ธาธรจกั รรตั น์ สหจรสรุ ศรขรรค์ วรสญั จารนิ ทร์ ปรมนิ ทร์ มหาราชวรานกุ ลู ประยรู วงศว์ วิ ฒั น์ สกลรชั วราณาจกั โรประสดมั ภ์ วรยตุ ธิ รรมอาชวาธยาศยั รรี ตั นตรยั คณุ ภรณภ์ สู ติ อเนกบญุ ฤทธปิ ระสทิ ธสี รรค์ มหนั ตวรเดชานภุ พบพติ รอชั นามเปน็ บรมราชตุ มรค มหาเสนินทรประธานาธิบดี สมัยที่ท่านเป็นผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ใน รัชกาลท่ี 5 โดยได้ใช้สถานที่เป็นจวนปฏิบัติราชการแผ่นดินในสมัยน้ันด้วย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ รชั กาลที่ 5 ทรงเคยเสดจ็ มาศกึ ษาดา้ นราชการ แผ่นดนิ ทีจ่ วนกับทา่ นในสมยั น้ัน
โรงเรยี นศกึ ษานารี 15 STUDENT HANDBOOK เมื่อ พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลท่ี 5 มี พระราชดำ� รทิ จ่ี ะใหจ้ ดั ตงั้ โรงเรยี นภาษาไทยและภาษาองั กฤษแบบพบั ลคิ สกลู ของ อังกฤษ ต่อมาพระยาสีหราชเดโชบุตรของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (บุตรของ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์) ได้ทราบพระราชด�ำริของรัชกาลท่ี 5 ว่าจะใช้สถานที่จวนนี้จัดต้ังโรงเรียน จึงท�ำหนังสือกราบทูลถวายที่ดินเม่ือ 14 กันยายน พ.ศ. 2439 (ร.ศ. 115) เพ่ือเป็นช่ือเสียงเกียรติยศแก่สมเด็จเจ้า พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ที่ได้สร้างเอาไว้ คณะกรรมการจัดต้ังโรงเรียน มีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์เสนาบดีกระทรวงธรรมการ พระองค์เจ้ากิติยากร วรลกั ษณอ์ ธบิ ดกี รมศกึ ษาธกิ ารกรมหมน่ื ดำ� รงราชานภุ าพ เปน็ ตน้ เหน็ วา่ จวนของ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์กว้างขวางใหญ่โต เหมาะที่จะจัดต้ัง โรงเรียนขึ้นในท่ีแห่งน้ีเป็นการช่ัวคราวไปก่อน โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียน ราชวทิ ยาลยั ” ในปี พ.ศ. 2446 หลังจากโรงเรยี นราชวทิ ยาลัยยา้ ยไปอยูท่ ่ตี �ำบลไมส้ งิ โต ประทุมวัน ทางกระทรวงธรรมการต้องการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเพิ่ม จึงใช้ โรงเรยี นราชวทิ ยาลัยเกา่ (บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา) ตั้งเป็นโรงเรียนช่อื “โรงเรียน ฝึกหัดครูฝั่งตะวันตก” และต่อมาก็ได้เปล่ียนชื่อเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครู บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา” เมอ่ื นกั เรยี นฝกึ หดั ครบู า้ นสมเดจ็ เจา้ พระยายา้ ยไปรวมกบั โรงเรียนข้าราชการพลเรือนแล้ว ขณะน้ันกระทรวงธรรมการเห็นว่าโรงเรียน ประจ�ำส�ำหรับนักเรียนช้ันมัธยมยังไม่เพียงพอ จึงได้จัดตั้งโรงเรียนแบบจ�ำเป็น ให้นักเรียนในหัวเมืองท่ีเข้ามาเรียนในกรุงเทพฯ ซ่ึงไม่มีที่อาศัยจะได้อาศัยท่ี บ้านสมเด็จเจ้าพระยาและให้ชื่อว่า “โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา” ในปี พ.ศ. 2458 ให้ย้ายนักเรียนโรงเรียนมัธยมสุขุมาลัย (ตั้งอยู่ที่วัดพิชัยญาติ) กับโรงเรียนประถมวัดอนงค์เป็นสาขาโรงเรยี นมัธยมบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา
16 คมู่ อื นกั เรียนและผปู้ กครอง Suksanari School ส�ำหรับความสัมพันธ์ของโรงเรียนศึกษานารี กับโรงเรียนมัธยม บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในสมัยน้ันมีประวัติความเป็นมาเน่ืองจากพระอาจารย์ นวม พุทธสโร ซง่ึ ตอ่ มาคอื สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ อดตี เจ้าอาวาสวัดอนงคารามฯ ท่านได้จัดสร้างที่เล่าเรียนขึ้นในวัดด้วยทุนส่วนตัวกับผู้มีจิตศรัทธาบริจาคสมทบ สร้างเปน็ โรงเรยี นขนึ้ ในปี พ.ศ. 2434 (ร.ศ. 110) เริ่มจากระดบั ประถมจนขยาย เพ่ิมถงึ ช้ันมธั ยมเทียบเท่า ม.4-6 เรียกวา่ ประโยคสอง ในปี พ.ศ. 2440 (ร.ศ. 116) พระอาจารยน์ วม พทุ ธสโร ไดร้ บั แต่งตั้งเป็น พระอาจารย์สยามปริยัติ กับต�ำแหน่งครูใหญ่โรงเรียน และได้รับพระราชทาน สมณศักด์ิเป็นพิเศษจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เปน็ ท่ี “พระครอู ดุ มพทิ ยากร” และกรมศกึ ษาธกิ าร เหน็ ความสามารถของทา่ นจงึ มอบประกาศนยี บัตรมธั ยมศึกษา (ป.ม.พ.) ให้แกท่ า่ นในปี พ.ศ. 2446 (ร.ศ. 122) พระครูอุดมพิทยากรยังสนับสนุนการศึกษาของกุลธิดาด้วย โดยเปิดสอน แผนกสตรีขึ้น และต่อมาท่านได้ติดต่อขอท่ีดินและตึกบ้านคุณหญิงพัน ตอ่ กระทรวงธรรมการ ดดั แปลงเปน็ ทเ่ี ลา่ เรยี นฝา่ ยสตรี แลว้ ยา้ ยจากวดั ไปโรงเรยี น ทีน่ ั่นใหช้ ื่อวา่ “โรงเรียนสตรีอุดมวิทยายน” (บริเวณส่วนหนงึ่ ของมหาวิทยาลัย ราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยาในปจั จุบนั ) สว่ นโรงเรียนที่วดั อนงค์ แผนกประถม เรยี กวา่ “โรงเรียนประถมอดุ มวิทยายน” แผนกมัธยมเรยี กว่า “โรงเรยี นมัธยม อุดมวทิ ยายน” ตามนามสมณศกั ดขิ์ องทา่ น เน่ืองจากช่ือของโรงเรียนไปพ้องกับชื่อโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ในปี พ.ศ. 2453 จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากโรงเรียนสตรีอุดมวิทยายนเป็น “โรงเรียนศึกษานารี” โรงเรียนประถมอุดมวิทยายนเป็น “โรงเรียนประถม อนงค์” โรงเรียนมัธยมอุดมวิทยายนเป็น “โรงเรียนมัธยมอนงค์” และเมื่อ โรงเรยี นมธั ยมอนงคย์ บุ ไปรวมกบั โรงเรยี นบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา โรงเรยี นประถม อนงคม์ คี วามสัมพนั ธเ์ ปน็ หนึง่ โรงเรียนพี่โรงเรยี นนอ้ ง
โรงเรยี นศกึ ษานารี 17 STUDENT HANDBOOK ในปลาย พ.ศ. 2473 ทางราชการมคี วามจำ� เปน็ จะตอ้ งตดั ถนนจากสะพาน ปฐมบรมราชานสุ รณผ์ า่ นสถานทขี่ องโรงเรยี นมธั ยมบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา สถานท่ี จงึ ถกู รอ้ื ถอนเนอ้ื ทเ่ี หลอื ไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะรองรบั ทง้ั นกั เรยี นประจำ� และนกั เรยี นไป กลบั ได้ พระวเิ ศษศภุ วตั ร์ (บรรดาศกั ดใ์ิ นขณะนน้ั ) ซง่ึ เปน็ อาจารยใ์ หญข่ องโรงเรยี น มัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยาในสมัยน้ันได้เจรจาผ่านกระทรวงธรรมการ โดย พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าธานีนิวัติทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนาบดี ขอแลกเปลี่ยน ที่ต้ังโรงเรียนกับโรงเรียนศึกษานารี โดยเห็นว่าเป็นโรงเรียนเล็กและมีจ�ำนวน นักเรียนน้อยกว่า ซ่ึงอยู่ข้างวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดลาว) ต�ำบลบางไส้ไก่ กระทรวงธรรมการเห็นชอบจงึ ย้ายโรงเรยี นศกึ ษานารี (บา้ นคณุ หญิงพัน) ไปอยทู่ ่ี บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา สว่ นทเี่ หลือใช้ชือ่ โรงเรียนศึกษานารตี ามเดิม ส่วนสถานท่ี โรงเรียนศึกษานารีเก่าได้ดัดแปลงก่อสร้างเป็นโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา (มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยาในปัจจบุ ัน) ในต้นปี พ.ศ. 2473 โรงเรียนศึกษานารี จึงได้ย้ายมาที่บริเวณ ถนนประชาธิปกซ่ึงเป็นทต่ี ้ังอยู่ในปัจจุบัน “งามขนงามแต่งล้วน งามหลอก เป็นแต่งามภายนอก เทา่ นนั้ ความงามจติ ตใ์ จดอก งามเด่น งามเสงี่ยมหอ่ นกลั้น จิวตั รแ์ ทถ้ าวร” จาก 1. จดหมายเหตุ ประถมวงศกลุ บนุ นาค โดยทา่ นพระยาจฬุ าราชมนตรี (เชน) ท่านพระยาวรเทพ (เถ่ือน) ท่านเจ้าพระยาทิพากรวงษ์มหาโกษาธิบดี (ข�ำ บนุ นาค) 2. หนงั สอื 100 ปี บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา 3. หนงั สือ โคลงทาย และวิสชั นา พระยาโกมารกลุ มนตรี
18 คู่มอื นักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School ประวตั โิ รงเรยี นศกึ ษานารี โรงเรียนศึกษานารี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เรมิ่ กอ่ ตง้ั ขนึ้ ในวดั อนงคารามฯโดยสมเดจ็ พระพฒุ าจารย์(นวมพทุ ธสรมหาเถระ) เจา้ อาวาสวดั อนงคารามฯ รปู ที่ 6 กลา่ วคอื เมอื่ ครงั้ ทา่ นเปน็ พระอนั ดบั เรยี กกนั วา่ “พระอาจารย์นวม” ท่านได้เร่ิมจัดระบบการสอนลูกศิษย์ของท่านเป็นการ สว่ นตวั ขน้ึ เมอื่ พ.ศ. 2432 (ร.ศ. 108) ตอ่ มามผี เู้ หน็ ประโยชนแ์ หง่ การศกึ ษา จงึ นำ� บตุ รหลานท่ีเป็นชาย มาฝากเรียนเพิม่ ขนึ้ ทกุ ปี จนถึง พ.ศ. 2440 กรมศึกษาธิการ (สมัยน้ัน) ได้รับอุปการะครูที่ท่านจ้างมาสอนให้เป็นข้าราชการรับพระราชทาน เงินเดือน และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระราชทานสมณศักดิ์เลื่อนท่าน ข้นึ เป็น “พระครูอุดมพิทยากร” เมื่อ พ.ศ. 2441 พ.ศ. 2444 กรมศึกษาธกิ ารไดอ้ นุมัติเงนิ จำ� นวน 4,030.00 บาท ใหท้ า่ น สรา้ งโรงเรยี นข้ึนหลงั หน่งึ เป็นเรอื นไมช้ ัน้ เดยี วใต้ถุนสูง ท�ำให้มสี ถานทเ่ี ลา่ เรียน
โรงเรียนศึกษานารี 19 STUDENT HANDBOOK เพมิ่ ขน้ึ จากเดมิ ซงึ่ มผี สู้ รา้ งถวายไปแลว้ 2 หลงั พระครอู ดุ มพทิ ยากร ไดด้ ำ� รเิ หน็ วา่ ได้ช่วยการศึกษาฝ่ายกุลบุตรสมควรมุ่งหมายแล้ว ยังแต่ฝ่ายกุลสตรีเท่านั้น ทยี่ ังมิไดใ้ ห้ความชว่ ยเหลอื จงึ ไดเ้ ปดิ สอนนกั เรียนสตรีขึน้ โดยจา้ งนายธูปมาเป็น ครูสอน จงึ นบั ได้วา่ นักเรียนร่นุ นเ้ี ปน็ นักเรียนรนุ่ แรกของโรงเรยี นศึกษานารี ตอ่ มา เมอื่ นกั เรยี นสตรมี ากขน้ึ พระครอู ดุ มพทิ ยากรเหน็ วา่ สถานทเ่ี ลา่ เรยี น อยู่ใกล้กับกุฏิของสงฆ์มากเกินไป เป็นการไม่เหมาะสม จึงได้ด�ำเนินการติดต่อ ขอท่ดี นิ และตึกคุณหญงิ พัน อนั เป็นมรดกสบื เน่อื งมาจากสมเดจ็ พระยาบรมมหา ประยรู วงศ์ (ดศิ บุนนาค) เปดิ เป็นสถานทีเ่ ลา่ เรยี นฝ่ายสตรี (ปัจจบุ ัน คือ บริเวณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) เมื่อได้ย้ายนักเรียนมาอยู่ ณ ที่นั่น ใช้นามโรงเรียนวา่ “โรงเรียนสตรอี ดุ มวิทยายน” ตอ่ มากระทรวงธรรมการเหน็ วา่ ชอ่ื ของโรงเรยี นมคี ำ� วา่ “อดุ ม” ไปพอ้ งกบั โรงเรยี นชนั้ อดุ มศกึ ษา จงึ เรยี นหารอื กบั พระครอู ดุ มพทิ ยากรขอเปลยี่ นชอ่ื โรงเรยี น เป็น “โรงเรยี นศกึ ษานารี” ตั้งแต่วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2453 วันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2473 กระทรวงศึกษาธิการได้พิจารณาเห็นว่า โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ซึ่งเปิดสอนอยู่ท่ีโรงเรียนศึกษานารีปัจจุบันเป็น โรงเรยี นชาย มนี กั เรยี นเปน็ จำ� นวนมากแตส่ ถานทค่ี บั แคบกวา่ โรงเรยี นศกึ ษานารี ซงึ่ ตง้ั อยทู่ วี่ ทิ ยาลยั ครบู า้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา จงึ ดำ� เนนิ การใหแ้ ลกทกี่ นั เพราะเปน็ ที่ดินมรดกสืบเน่ืองมาจากสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์เช่นเดียวกัน ดงั นนั้ โรงเรียนศกึ ษานารจี ึงยา้ ยมาอยู่ ณ สถานที่ปัจจบุ นั ตั้งแต่วนั ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2473 สว่ นทต่ี งั้ โรงเรยี นศกึ ษานารี เดมิ เปน็ ทต่ี ง้ั ของโรงเรยี นบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา คำ� วา่ แตเ่ ดมิ นน้ั หมายเพยี งแตป่ ี พ.ศ. 2475 เทา่ นน้ั กาลเวลาทยี่ าวนานไปกวา่ นน้ั ที่ดินตรงน้ีเป็นส่วนหน่ึงของท่ีตั้งบ้านเรือนของตระกูลบุนนาค ซึ่งเป็นตระกูล ขนุ นางใหญม่ าตงั้ แตส่ มยั รตั นโกสนิ ทร์ และเมอื่ มาถงึ สมยั รชั กาลที่ 5 ขนุ นางตระกลู
20 คู่มือนกั เรยี นและผ้ปู กครอง Suksanari School บุนนาคมีอิทธิพลทางการเมืองมากคือ “สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ชว่ ง บุนนาค)” ท่านปู่ของเจ้าคุณพระประยูรวงศเ์ จ้าจอมมารดาในรชั กาลที่ 5 ตระกูลบุนนาคตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน�้ำเจ้าพระยาทางฝั่งธนน้ีทั้งหมด ตั้งแต่ คลองใต้บ้านฝร่ัง กุฏีจีน คลองขนอน เข้าไปวัดพิชัยญาติ สมเด็จเจ้าพระยา- บรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ท่านก็สร้างบ้านอยู่ในบริเวณของตระกูล บนุ นาคตรงน้ี แลว้ สรา้ งบา้ นใหล้ กู ชายทา่ นคอื บดิ าของเจา้ คณุ พระประยรู วงศอ์ กี หลงั หน่ึงต่อข้นึ มาดา้ นเหนอื แตเ่ รียกรวมท่ดี นิ บรเิ วณนี้ว่า บา้ นสมเดจ็ ฯ อนั เป็น ท่ีมาของชือ่ โรงเรยี นบา้ นสมเดจ็ ฯ เจา้ คุณพระประยูรวงศท์ า่ นเข้ามาพักอาศัยอยู่ ในบริเวณน้ี ตง้ั แตอ่ ายุได้ 2 ปี เปน็ จุดเริม่ ของความเกี่ยวพนั ระหวา่ งเจา้ คณุ พระ- ประยูรวงศ์กับโรงเรียนศึกษานารี ซึ่งได้มาแทนที่โรงเรียนบ้านสมเด็จฯ จนเกิด อาคารเรียนขนึ้ มาหลงั หน่ึงเรียกว่า เรอื นเจา้ คณุ พระประยูรวงศบ์ ูรณะ หรือเรียก สน้ั ๆ วา่ “เรอื นเจา้ คณุ ” ซง่ึ นบั เปน็ อาคารหลงั หนงึ่ ของโรงเรยี นศกึ ษานารนี น่ั เอง ปัจจุบันโรงเรียนศึกษานารี เปิดสอนนักเรียนต้ังแต่ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงมัธยมศึกษาปที ี่ 6 โดยมแี ผนชัน้ เรียนเต็มรปู คือ 13 : 13 : 13 : 13 : 13 : 13 มหี อ้ งเรียนพิเศษระดบั ชัน้ ละ 3 ห้อง รวมทัง้ ส้นิ 78 ห้องเรียน มีนักเรยี นจ�ำนวน 3,200 คน ครู 156 คน โรงเรียนศึกษานารี ยินดีท่ีจะร่วมมือกับผู้ปกครองในการดูแลบุตรหลาน ของท่าน โปรดตดิ ตอ่ โทร. 0-2465-0070 ต่อ 0, 201 ประชาสัมพันธ์ 0-2466-7223 ต่อ 0, 201 ประชาสมั พันธ์ 141 สำ� นกั งานกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล 174 สำ� นกั งานกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ 143, 144 สำ� นกั งานกลุ่มบริหารวชิ าการ 154 สำ� นกั งานกลุ่มบริหารท่ัวไป โทรสาร 0-2466-2182
โรงเรยี นศกึ ษานารี 21 STUDENT HANDBOOK เอกลักษณ์ของโรงเรยี นศึกษานารี “โรงเรยี นสตรี ดี เดน่ ดัง อยา่ งย่ังยนื ” คำ� อธบิ าย 1. โรงเรยี นสตรี หมายถงึ โรงเรยี นศกึ ษานารมี นี กั เรยี นหญงิ ลว้ น ระดบั ม.1-ม.6 ตั้งอยใู่ นเขตธนบุรี 2. ดี หมายถงึ สถานศกึ ษาทพ่ี ฒั นาใหผ้ เู้ รยี นมคี ณุ ภาพเปน็ เลศิ ทง้ั ดา้ นวชิ าการ ดา้ นสมรรถนะ และคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ 3. เด่น หมายถงึ สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาได้ดเี ยย่ี ม เปน็ ทย่ี อมรบั ของชุมชน ทกุ ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นผเู้ รยี น ดา้ นกระบวนการภายในโรงเรยี น ดา้ นการเรยี นรู้ การพฒั นา และด้านผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ 4. ดัง หมายถึง สถานศึกษาท่ีมีช่ือเสียงทุกด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพผู้เรียน ดา้ นคุณภาพการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ 5. อย่างยั่งยืน หมายถึง สถานศึกษาที่มีชื่อเสียงคงทน เน้นการพัฒนา โดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อตั ลักษณข์ องโรงเรยี นศกึ ษานารี “กุลสตรีไทย ทนั สมยั ก้าวไกล ในสากล” ค�ำอธิบาย 1. กุลสตรีไทย หมายถึง หญิงท่ีมีความประพฤติดี เรียบร้อย มีระเบียบ แตง่ กายสะอาด และสง่างาม 2. ทันสมัย หมายถึง ตามสมัยนิยม ทันโลก ทันเหตุการณ์ ด้านการศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม 3. ก้าวไกลในสากล หมายถึง มีความรู้ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ และสามารถ แขง่ ขันได้ในระดบั ASEAN และนานาชาติ
22 คู่มือนกั เรยี นและผปู้ กครอง Suksanari School &MVisissViiooannlues วสิ ัยทศั น์โรงเรียนศึกษานารี จัดการศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐานสากล เปีย่ มลน้ คณุ ธรรม ลำ้� เลศิ วชิ าการ สืบสานวัฒนธรรมไทย ใสใ่ จในสถาบัน สร้างสรรคส์ งั คมไทย และสังคมโลก พนั ธกจิ 1. บริหารและจดั การศกึ ษาใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล 2. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีศักยภาพเหมาะสมต่อการพัฒนา คณุ ภาพของผู้เรยี น 3. พัฒนาบรรยากาศและส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเสริมสร้าง สขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ทีด่ ขี องผู้เรียน 4. จดั การศกึ ษาตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น โดยมงุ่ เนน้ ใหเ้ ปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ ตามแนววิถีพุทธ 5. พฒั นาเยาวชนใหน้ ิยมใช้ของไทยและอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย 6. จัดการศกึ ษาให้ผเู้ รยี นภูมใิ จในสถาบนั 7. พัฒนาเยาวชนให้เกง่ ดี มสี ุข และรจู้ ักท�ำประโยชนใ์ หแ้ ก่สงั คม 8. ประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ชมุ ชนในการพฒั นาการศกึ ษา
โรงเรยี นศึกษานารี 23 STUDENT HANDBOOK รายนามครใู หญแ่ ละผอู้ �ำนวยการ โรงเรียนศึกษานารี 1. นายธปู พ.ศ. 2444 - 17 พ.ย. 2452 2. นางสาวเหลือบ บุณยเกต ุ 18 พ.ย. 2452 - 25 ม.ค. 2477 3. นางแอบ สิทธแิ พทย์ 26 ม.ค. 2477 - 29 พ.ค. 2481 4. นางสาวเทียบจฑุ า ฤกษะสาร 30 พ.ค. 2481 - 20 พ.ค. 2486 5. นางสมยั สวาท พงศทตั 21 พ.ค. 2486 - 2 ก.พ. 2496 6. นางจำ� เนยี รสขุ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา 3 ก.พ. 2496 - 16 ก.ค. 2496 7. นางศริ ิ บัวศรี 17 ก.ค. 2496 - 15 ม.ิ ย. 2502 8. นางจ�ำเนียรสขุ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา 16 มิ.ย. 2502 - 31 ส.ค. 2508 9. นางพงษ์ศรี วิทยานนท ์ 1 ก.ย. 2508 - 30 ก.ย. 2521 10. นางสาวบุญศรี มุสิกานนท์ 1 ต.ค. 2521 - 18 มี.ค. 2526 11. นางประจวบ ช�ำนปิ ระศาสน ์ 19 มี.ค. 2526 - 6 ธ.ค. 2530 12. นางชูจิตต์ พทิ กั ษ์ผล 7 ธ.ค. 2530 - 30 ก.ย. 2535 13. นางกัลยา ชืน่ กล่นิ 15 ต.ค. 2535 - 30 ก.ย. 2537 14. นางกรองทอง ด้วงสงค์ 16 พ.ย. 2537 - 15 พ.ย. 2540 15. นางจงพิศ กนั หลง 19 พ.ย. 2540 - 30 ก.ย. 2542 16. นางสุขมุ าลย์ เชาวนท์ วี 19 พ.ย. 2542 - 30 ก.ย. 2544 17. นางนิยพรรณ ศรีสารคาม 9 พ.ย. 2544 - 30 ก.ย. 2547 18. นางสริ ยิ ุพา ศกนุ ตะเสฐยี ร 1 ต.ค. 2547 - 30 ก.ย. 2554 19. นางสุภาณี โลหติ านนท ์ 30 พ.ย. 2554 - 30 ก.ย. 2557 20. นางสาวอัญชลี ประกายเกยี รติ 20 พ.ย. 2557 - 30 ก.ย. 2558 21. นายขจติ พนั ธ์ สุวรรณสริ ภิ ักด์ิ 17 พ.ย. 2559 - ปจั จุบัน
แผนผงั โครงสร้างการบรหิ ารสถานศกึ ษา 24 คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School กรลอุ่มงบผรอู้ิหำ�านรววยชิ ากกาารร กลมุ่รบองรหิผาู้อรำ� งนบวปยรกะามราณ กลรุม่ อบงรผิห้อู าำ� รนงวายนกบาุครคล รกอลงุ่มผบู้อร�ำหิ นาวรยทกั่วาไปร กลรุ่มอบงรผหิ ู้อา�ำรนสวำ� ยนกักางราน • งานพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาและ • งานบญั ชแี ละการเงิน •••••• งงงงงงาาาาาานนนนนนแพเปวลคินกงรฒั รเะยัไ้ ว่ือนขสแลงปาาลารบนญัะปาคุงชคหฏาลอวาิบนาาิสนตักแมรักริรลปยิ เาฯะารรชพภียะกนพัฒราณมฤรนาต์าโนิเรคกังรเเรอืรยียีขนน่ายสาย • งานสารบรรณ • งานนโยบายและงานแผนงาน การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ • งานระดมทรพั ยากร •••• •• กงงงงงงาาาาาาานนนนนนรศรสแสปสะผ่งงง่่กึอ้ เเเบนษงสสสบกงารรรานัดิิิมมมนแูแคกปกลลิจุณรละชะกธมุ่แ่วชารบยกรารนเธ้ปรมหิปหิักัญลจไาเหรอืตรรยีานยงิยนสาธักนิง่รเเรบรสียมุคพนนคตกัลดิ เรยี น • งานประสานงานทวั่ ไป • งานส�ำนกั งานกล่มุ โรงเรียน • งานวัดผลและประเมินผล • งานประสานงานคณะกรรมการการ •• •••••• เงหงงงงงงงอาาาาาาาาัวดนนนนนนนนหสสสเรพพมทนวะ์�ำาูละิธสัรแา้ดรนนีกเดยรลบสบักัาธิะุาะนยีรชงิเมดอรนาหเั้นรับทบานปนักแจชศากร้าษละ้นัยกละเะาเมสลมุ่ปวมคคาุขุ่มตับน็รวัธธบิูทรายคงริหมมน่ปี ิหปาศดรารลกึึกี รงอษษางดานาานภปบบยัทีุคุค่ีค1คลล • งานอาคารสถานท่แี ละสงิ่ แวดล้อม • งานบรหิ ารบคุ ลากร • งานบริหารกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน หัวหนา้ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 • งานพฒั นาระบบและเครอื ข่ายเทคโนโลยี • งานวินัย การรกั ษาวนิ ยั บคุ ลากรและ • งานพฒั นาผ้เู รียน • งานระบบควบคมุ ภายในหน่วยงาน หัวหน้าระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 • งานประชาสมั พันธ์ การลงโทษ • งานโครงการหอ้ งเรียน EP • งานพสั ดุ กลมุ่ บริหารงบประมาณ หัวหน้าระดบั ชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 • งานยานพาหนะ • งานบำ� เหนจ็ ความดีความชอบ • งานวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษา • งานตรวจสอบภายใน หัวหนา้ ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 • งานสมั พันธ์ชุมชนและทอ้ งถ่นิ • งานสารสนเทศ • งานพัฒนาส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยี หัวหนา้ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 • งานโภชนาการ • งานวทิ ยฐานะและสรา้ งเสรมิ เพ่ือการศกึ ษา • งานอนามยั โรงเรยี น ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัตริ าชการและ • งานนเิ ทศการศกึ ษา • งานสวัสดกิ าร มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน • งานแนะแนวการศกึ ษา • งานสวสั ดกิ ารจัดเลีย้ ง/ตอ้ นรบั • งานวางแผนอตั รากำ� ลงั และการก�ำหนด • งานประสานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ งาน • งานวิทยุสอื่ สาร ตำ� แหนง่ วิชาการแก่ครอบครวั ชุมชน องค์กร • งานโสตทศั นศึกษา • งานเลขานุการสำ� นักงาน หน่วยงานและสถาบันอน่ื ทจี่ ดั การศึกษา • งานแผนงานกลุ่มบริหารทวั่ ไป • งานการรับนกั เรียน • งานพสั ดุกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป • งานทะเบียนนกั เรยี นและงานเทียบโอน • งานสหกรณโ์ รงเรยี น ผลการศึกษา • งานสำ� นักงานกลุ่มบรหิ ารท่วั ไป • งานหอ้ งสมุดและงานพฒั นาแหล่งเรียนรู้ • งานศูนย์ความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งชาติ • งานแผนงานและสารสนเทศวิชาการ (โรงเรียนพี่ โรงเรยี นน้อง) • งานสำ� นักงานวิชาการ • งานประสานการจดั การศึกษาในระบบ • งานศูนย์วฒั นธรรม นอกระบบ และตามอธั ยาศัย • งานศนู ย์ เอ เอฟ เอส เขตธนบุรี • งานลูกจา้ งประจ�ำ นกั การภารโรง •งานพัสดแุ ละการเงนิ กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ แมบ่ ้าน • งานขับเคล่อื นกระบวนการ PLC • กจิ กรรมโอลิมปกิ สปั ระยุทธ์
โรงเรียนศกึ ษานารี 25 STUDENT HANDBOOK ทำ� เนยี บผ้บู รหิ าร โรงเรียนศกึ ษานารี Suksanari School นายขจิตพนั ธ์ สวุ รรณสริ ิภักดิ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี น นางสาวอัมพร วิชัยศรี นางสาวมนทริ า เดชชนะขจรสุข รองผูอ้ �ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ รองผู้อำ� นวยการกลุม่ บรหิ ารงบประมาณ นางพิรานนั ท์ ศรีประเสรฐิ นายอนนั ต์ เนตรมณี รองผ้อู ำ� นวยการกลุ่มบริหารงานบคุ คล รองผู้อำ� นวยการกลุ่มบรหิ ารทั่วไป
26 คูม่ ือนกั เรียนและผปู้ กครอง Suksanari School กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ Suksanari School นายสมบัติ แสงทองคำ� สกุ นางสาวนงคเ์ พญ็ ทองเลิศ นายสัญชยั เงางาม หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ นายนครนิ ทร์ เครือวลั ย์ นางปิยพร ไปยพงศ์ นางสาวปรภิ ร วิรณุ พนั ธ์ นางสาวธนัญญา เปีย่ มศลิ ปกลุ ชร นางสาววชั ราภรณ์ สะเดา นายสุรเชษฐ์ เจริญรัตนาภริ มย์ นางสาวสุธศิ า ศรอี นั ยู้ นางสาวจรี าพร เมาะราษี
โรงเรยี นศกึ ษานารี 27 STUDENT HANDBOOK นางสาววันทนา ปาลวัฒน์ นางสาวกรรณ์ชลกิ า ชัยสวุ รรณ นายสรรฐณัฐ ปญั ญาเสฏโฐ นางสาวธารทพิ ย์ จังอนิ ทร์ นางสาวปรชี ญา ชูนม่ิ นายเอกสทิ ธิ์ สงวนหลอ่ สทิ ธ์ิ นางสาวเบญจลกั ษณ์ เทยี มสวุ รรณ นายศรธนา วังสาร นายอานนท์ พทุ ธวิ งศ์ นางสาวศรญั ญา การีบญุ นายวีรวฒั น์ โอษฐงาม นายถนอม ชำ� นาญพนั ธ์ นางนิธมิ า เขมะบาล นางสาวปณุ ณิมา บำ� รงุ พงษ์ นางสาวปัญญาพร เช้ือม่ัง
28 คมู่ อื นักเรยี นและผปู้ กครอง Suksanari School กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ Suksanari School นางกลั ยช์ ลากรณ์ มหาพฒั นไทย หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ นางถนอมนวล ไชยรตั น์ นางสาวเกศวลี แคนสงิ ห์ นางสาวอาทิตยา ศรีสขุ ค�ำ นางกาญจนา สุริยะสนุ ทร นางวนั เพญ็ จันทนครี ี นางสาวบุศรินทร์ หงษท์ อง นางสาวธรรมสรณ์ กติ ตธิ นสมบตั ิ
โรงเรียนศกึ ษานารี 29 STUDENT HANDBOOK นางสาวกานต์รวี ชว่ ยหนู นางสาวศิรพิ ร พรประทาน นายวชิ ชญะเศรษฐ์ เกษมศกั กริน นายอนนั ต์ เอย่ี มวิวฒั นะกุล นายวุฒิพงษ์ ประพนั ธมิตร นางสาวปรียาภรณ์ ฉิมปีกลาง นางสาวศริ ิลกั ษณ์ ขุนวงษ์ นางสาวศุทธนิ ี เพช็ รง์ าม นางสาวพรนภา ชยั ศรพี พิ ัฒน์ นางสาวอรกลู หาญกจิ ร่งุ นางสาวภทั รา เกษศิระ นางสาวธนพร กนิ ามณีย์ นางสาวรินทน์ ภิ า สาระวาท นายอษั ฎางค์กร บญุ ญาติ นางสาวชนกานต์ อ่นุ โชคดี นางสาวมริ นั ตรี บุญเพง็
30 คู่มอื นักเรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย Suksanari School นางรจเรข ปิ่นทอง หวั หน้ากลุ่มสาระฯ นางสาวนยั นป์ พร จงสมจติ ต์ นางสาวเอมิกา สวุ รรณหิตาทร นายโสภณ ปน่ิ ทอง นางสาวแกว้ ตา จิระวงศ์อรา่ ม นางสาวกมลวรรณ บุรีขวญั นางสาวชตุ ิมา ฮมิ วาส
โรงเรยี นศึกษานารี 31 STUDENT HANDBOOK นายอภิเชน เหลา่ เจรญิ นายวรญั ญู โพธิ์คีรี นางสาวภทั ราภรณ์ ทองดี นางสาวชอ่ ผกา เนยี มสนิ นางสาวศิริลักษณ์ ทองปรวน นางสาวอัญชลี ค�ำชาลี นางสาวรัตนา แก้วอักษร นางสาวสภุ าภรณ์ ชยั วชิ าญ นายคีรีธรรม หอมกลนิ่
32 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม Suksanari School นายยงยุทธ ชำ� นาญอกั ษร หัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางสาววรรณวศิ า หนูเจริญ นางสาวประทินพร แก้วศรี นางทิพมาศ อนิ นุพฒั น์ นางอญั ชลี พรหมสินธศุ กั ดิ์ นางศิรวิ รรณ ตันเสถยี ร นางชลทพิ ย์ คุปตาภรณ์ นางสาววภิ าวรรณ มลิ าวรรณ์
โรงเรยี นศกึ ษานารี 33 STUDENT HANDBOOK ว่าที่ ร.ต. อัมรินทร์ อินทร์บำ� รุง นายสมชิด พลายอรา่ ม นายภาณพุ ันธุ์ สวุ ัฒนนนท์ นางสาวกมลภรณ์ คมุ้ สุภา นางสาวทศพร ภูผาศรี นายโสภณ ศรีคำ� ภา นายพชิ ชากร สงิ หนยิ ม นางสาวพรฉวี สำ� ราญ นางรจรนิ ทร์ รดิ จนั ดี นางสาวกมลเนตร โชติขนุ ทด นางสาวนริศรา เนยี มฝอย
34 ค่มู อื นกั เรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี Suksanari School นายอิทธิพล ชยั เดโช หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ นายนนทน์ ฤทธเิ ลศิ นางสาววภิ าชดา มีอ�ำมาตร นายวเิ ชียร กนั สทิ ธิ์ นางฐานิตา พึ่งคุณไตรรตั น์ นางสาวทิพวรรณ เจียมสกลุ ยัง่ ยืน นางอจั ฉรา กอบัวแก้ว นายวทิ ยา ปาตาสะ นายภานวุ ฒั น์ ฉัตรวงศว์ ริ ยิ ะ นายมานะ อนิ ทรสว่าง นายเทวฤทธ์ิ ขนั โมลี นางสาวดวงรัตน์ คุ้มภยั นางสาวดวงฤดี เทศสนั่น
โรงเรยี นศึกษานารี 35 STUDENT HANDBOOK นางสาวพลวดี บุนนาค นางสาววชิ ญาดา เหล่าลอื ชา นางสาวสุพรรษา ขุมทอง นางศิรินทรธ์ ร กฤษฎ์อังกูร นายอภิชาติ ร่มล�ำดวน นายสุวัฒน์ ระวิวรรณ์ นางสาวมีนา โอษฐงาม นางศิถี ร่มล�ำดวน นางสาวธนัชชา จติ รจำ� นงค์ นางสาวพรพจนารถ หงษท์ อง นางสาวอุชุพร วงศไ์ ชย นางสาวเกษราวลั ณ์ ศรจี ันทร์ นางสาวชวลั นชุ รตั นะ นางสาวอารยี า รัตนกนั ทา นายธวชั ชัย สกุ สุพรรณ นางวรรณภา อนิ ทรเี นตร
36 คูม่ ือนักเรียนและผูป้ กครอง Suksanari School กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายอรรถพล พรมสวุ รรณ นางสาวศริ ิวลั ย์ รกั ดว้ ง นางสาววรรณวิสา วฒุ ศิ กั ด์ิ นางสาวจฑุ ามาศ ชัยทอง นางสาวสุภาทพิ ย์ มนต์ชัยภมู ิ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพ Suksanari School นางสาวณัฐพัชร์ เอกสมบตั ิ นางสาววรษิ ฐา โอสถเจริญ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางสาวศภุ ธิดา กิจโรณี นายเกรกิ เกยี รติ ไตรวฒั นค์ ณุ ากร นายรงุ่ โรจน์ ยามมี นางสาวชลาธาร พลแสงทอง
โรงเรยี นศกึ ษานารี 37 STUDENT HANDBOOK กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ Suksanari School นายสกล วงษ์ม่ัน หวั หน้ากลุ่มสาระฯ นางสาวฐติ ริ ัตน์ ศรแกว้ นางสาวอศลั ยา ศกั ดสิ์ ิทธ์ภิ ากร นางสาวโสภา นาคทอง นายวันชาติ นามเกดิ นายพนม วงค์สระนอ้ ย วา่ ท่ี ร.ต. พรพิพัฒณ์ ราชกิจก�ำธร นางสาวเพญ็ นภา สงิ ลี นายวโิ รจน์ รตั นะ
38 คมู่ อื นักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School กลมุ่ สารแะกละาพรลเรศียึกนษรา้สู ุขศึกษา Suksanari School นายวรี ะศกั ด์ิ โชตริ ตั นศักดิ์ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ นายวโิ รจน์ หมอกยา นางสาวปภัสรา สระประทมุ นายสุรชัย อ้นลำ� พูน นายบวรรงั สี จอกแก้ว นางนภารัตน์ คลา้ ยแจ้ง นายกฤศณฏั ฐ์ บุญญาติ นายสวัสดิช์ ัย ฉว่ั สวัสดิ์ นางสาวณฐกานต์ ชูสุวรรณ นางสาวภูธดา กจิ มณีแก้วสกุล นางสาวสุพนติ อิทธวิ ุฒิ
โรงเรียนศกึ ษานารี 39 STUDENT HANDBOOK สนบั สนุนการสอน Suksanari School วา่ ท่ี ร.ต. สมศักดิ์ สายประยงค์ งานหอ้ งสมดุ นายจรลั จินจาคาม หัวหนา้ งานประชาสัมพนั ธ์ นายรังสรรค์ ทอนโพธิ์แก้ว นางสาวกัญญารัตน์ วงรักษา งานแนะแนว งานบญั ชแี ละการเงนิ
40 คมู่ ือนกั เรียนและผปู้ กครอง Suksanari School องค์กรสง่ เสริมสนับสนุนการจดั การเรยี นการสอน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานโรงเรียนศึกษานารี นางประจวบ ช�ำนิประศาสน์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานโรงเรียนศึกษานารี นางประจวบ ช�ำนิประศาสน์ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ นายธนิต ทองธัญญะ พระเทพรตั นโมล ี ผู้ทรงคณุ วุฒ ิ รองประธานกรรมการ พระราชรตั นมนุ ี ผศ.ดร.กิตติ กอบวั แก้ว ผแู้ ทนพระภิกษสุ งฆ์ กรรมการ ผศ.อารยี ์ วชิรวราการ นางกัณณิกา กาญจนะโยธิน ผ้แู ทนพระภกิ ษุสงฆ์ กรรมการ นายภัทร์พล เกยี รติจุฑามณ ี นางสาวรสั รนิ ทร์ มีสัตยว์ รภทั ร ผทู้ รงคณุ วุฒ ิ กรรมการ พล.ต.ต. สมั ฤทธิ์ ตงเตา๊ นายภาส ภาสสัทธา ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ นางกสุ มุ า เมฆเมฆา นายโสภณ ปนิ่ ทอง ผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ นายตนชุ ธ์ โกมารกลุ ณ นคร นายขจิตพนั ธ์ สุวรรณสริ ิภักดิ ์ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการ ผู้แทนผ้ปู กครอง กรรมการ ผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ กรรมการ ผู้แทนศษิ ยเ์ กา่ กรรมการ ผู้แทนครู กรรมการ ผู้แทนองคก์ รชุมชน กรรมการ ผู้อำ� นวยการโรงเรยี น กรรมการและเลขานกุ าร
โรงเรยี นศกึ ษานารี 41 STUDENT HANDBOOK องค์กรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอน คณะกรรมการสมาคมผูป้ กครองและครศู ึกษานารี รศ.นายแพทย์สนุ ทร ศรมยรุ า นายกสมาคมผูป้ กครองและครศู ึกษานารี รศ.นายแพทยส์ นุ ทร ศรมยรุ า นายกสมาคม นายขจิตพนั ธ์ สวุ รรณสริ ภิ กั ด์ิ อุปนายกสมาคม 1 นายผจงเกยี รติ จนั ทรแ์ ก้ว อปุ นายกสมาคม 2 นางบญุ เรอื น สงั วาลย์ เหรัญญิก นางปยิ มาภรณ์ รุ่งเรอื ง นายทะเบียน ดาบต�ำรวจ ปฏภิ าณ ทั้งสขุ ประชาสมั พันธ์ นางวันเพญ็ เหลอื งรุจวิ งศ ์ ปฏคิ ม นางลักษณาวรรณ งามนกั เลขานุการ นางกนกเกตุ ด�ำรงตรงศริ ิ สาราณยี กร นางทองสขุ ทับเจรญิ กรรมการ นาวาเอก ประสิทธิ์ สงิ หวรวงศ ์ กรรมการ นาวาโท โอภาส สุขสชุ พี กรรมการ ร.ต.อ. ส�ำราญ เพช็ ร์เกษม กรรมการ นายพสษิ ฐ์ ธนนนั ทฐ์ านนท์ กรรมการ นายประพนั ธ์ ธนาปยิ กุล กรรมการ นางสาวมนทิรา เดชชนะขจรสขุ กรรมการและผ้ชู ่วยเหรัญญกิ นางสาวอมั พร วิชยั ศรี กรรมการ นายมงคล อินทรโชต ิ กรรมการ นางพริ านันท์ ศรปี ระเสริฐ กรรมการ นางญาณวรรณ ทมุ กลาง ผู้ช่วยนายทะเบยี น นายจรลั จนิ จาคาม ผูช้ ่วยประชาสัมพันธ์ นางสาวสุภาภรณ์ ชัยวิชาญ ผูช้ ว่ ยปฏคิ ม นางสาวเกษราวลั ณ์ ศรีจันทร์ ผู้ชว่ ยสาราณยี กร นางสาวสมสวย เหน็ งาม กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร
42 คมู่ ือนกั เรียนและผปู้ กครอง Suksanari School องคก์ รสง่ เสริมสนับสนุนการจดั การเรียนการสอน คณะกรรมการสมาคมนักเรียนเกา่ โรงเรยี นศกึ ษานารี คุณหญงิ ศรศี ริ ิ กฤษณจนั ทร์ นายกสมาคมนกั เรยี นเก่าศึกษานารี คุณหญิงศรีศริ ิ กฤษณจนั ทร์ นายกสมาคม นางศรีนวล พัฒโนดม อปุ นายกสมาคมคนที่ 1 นายขจติ พันธ์ สุวรรณสิรภิ ักด ์ิ อปุ นายกสมาคมคนที่ 2 คณุ จันทรแ์ จ่ม พรหมะวรี ะ อุปนายกสมาคมคนท่ี 3 นางกรรณิการ์ อัคคะพ ู อุปนายกสมาคมคนที่ 4 นางกุสุมา เมฆเมฆา เลขานกุ าร นางมาลยั เตชะพานิช เหรัญญกิ นางวาสนา ศริ ิจรัสตระกูล นายทะเบยี น นางทรรศนยี ์ ทองสิมา ปฏคิ ม นางสาวภญิ ญกร เลิศศริ ิสมั พันธ์ บรรณารกั ษ์ นางกันยารตั น์ ลีลากรกิจ สาราณียกร นางสาววรินทร เลย่ี มนาค ประชาสัมพันธ์ นางเบ็ญจมาศ มาประณตี กรรมการ นางจันทนา เหมพรรณไพเราะ กรรมการ นางสาวจารุวรรณ อตแิ พทย์ กรรมการ นางสวรัฐ เรยี นเขมะนิยม กรรมการ นางภทั ราวดี รัศมโี กเมน กรรมการ นางสาวอมั พร วชิ ัยศรี กรรมการ นางสาวมนทริ า เดชชนะขจรสุข กรรมการ นายมงคล อินทรโชต ิ กรรมการ นางพริ านันท์ ศรีประเสรฐิ กรรมการ
โรงเรยี นศึกษานารี 43 STUDENT HANDBOOK องค์กรสง่ เสริมสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอน คณะกรรมการมูลนธิ ิการศกึ ษาโรงเรยี นศึกษานารี นางสิรยิ ุพา ศกุนตะเสฐยี ร ประธานคณะกรรมการมลู นิธเิ พ่ือการศกึ ษาโรงเรยี นศึกษานารี นางสิริยพุ า ศกุนตะเสฐียร ประธานกรรมการ นางสุภาณี โลหิตานนท ์ รองประธานกรรมการ นายขจติ พนั ธ์ สวุ รรณสิรภิ ักด์ ิ รองประธานกรรมการ นางสาวเยาวณี เสมา กรรมการ นางนพมาศ บริสุทธธ์ิ รรม กรรมการ นางกรองทอง ดว้ งสงค ์ กรรมการ นายสจุ ติ เหลาสภุ าพ กรรมการ นางนงคราญ ธาราทพิ ยกุล กรรมการ นางศรนี วล พฒั โนดม กรรมการ นางหทัยรตั น์ อสิ มาแอล กรรมการ นางสาวปรยี าลักษณ์ อนิ ทอง กรรมการ นางอัจฉรา เดชาเลศิ กรรมการและเหรัญญกิ นางสาวสุธิศา ศรีอนั ยู ้ กรรมการและผูช้ ว่ ยเหรญั ญิก นางสาวอมั พร วิชยั ศร ี กรรมการและเลขานกุ าร นางจุฑารส ตนั วงศ์วาล กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176