Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR ปีการศึกษา 2563

SAR ปีการศึกษา 2563

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self Assessment Report (SAR) ปีการศึกษา 2563 ชุมชนบ้านโพธิ์ตาก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3

Keywords: ชพต

Search

Read the Text Version

    คํานาํ

    ตามที่กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ประกาศใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานและมาตรฐานการศกึ ษา ปฐมวยั เมอื่ วนั ที่ 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2548 เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษามเี ปา้ หมายในการบรหิ าร และพฒั นา คุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาและให้เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา/หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง ใชเ้ ป็นหลกั ในการสง่ เสริมสนับสนนุ กํากบั ดูแล ตลอดจนตรวจสอบประเมินคุณภาพสถานศกึ ษา โดยมีความ มุง่ หวงั ทจี่ ะใหส้ ถานศกึ ษาทกุ แหง่ มคี ุณภาพตามมาตรฐานท่กี ําหนดไว้เปน็ อยา่ งตํ่าและในการดําเนินงานตาม ระบบประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษานน้ั สถานศึกษาต้องจดั ทํารายงานประจําปี เสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กัด หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง และเปิดเผยต่อทสี่ าธารณชน รวมทัง้ เสนอตอ่ สาํ นักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) เพอ่ื รบั การประเมินภายนอกในแตล่ ะรอบการประเมนิ ทางโรงเรียนชุมชนบ้านโพธ์ิตาก หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่าเอกสารฉบับนี้จะชว่ ยใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง สาธารณชนและสํานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา(สมศ.) ไดร้ ับ ทราบผลการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นชมุ ชนบ้านโพธ์ติ ากได้เปน็ อย่างดี หากรายงานฉบับนม้ี ขี ้อขาด ตกบกพรอ่ งประการใดต้องขออภยั มา ณ โอกาสน้ี และหากมีข้อเสนอแนะประการใดทีเ่ ป็นประโยชน์ โปรด แจ้งใหท้ างโรงเรียนชมุ ชนบ้านโพธติ์ ากไดร้ ับทราบจกั เป็นพระคณุ ย่งิ เพอื่ ท่จี ะได้นาํ ไปพฒั นาปรบั ปรุงในโอกาส ตอ่ ไป โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโพธติ์ าก พฤษภาคม 2563

    สารบญั เรอื่ ง หน้า คาํ นาํ บทสรปุ ของผบู้ รหิ าร สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 1 - ขอ้ มูลทว่ั ไป 3 - ขอ้ มลู บุคลากร 4 - ข้อมูลนกั เรยี น 5 - ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศกึ ษา 8 - ผลการประเมิน NT ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ 8 - ผลการประเมนิ O-NET ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ 9 - ผลการประเมนิ O-NET ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 10 - ผลการดําเนินงานตามค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษา ปฐมวัย 11 - ผลการดําเนินงานตามค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 13 - ระดบั ปฐมวยั 19 - ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ส่วนที่ 3 ผลการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในรอบปี 25 - ระดับปฐมวัย 30 - ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน - ส่วนที่ 4 ภาคผนวก - ประกาศเรือ่ งใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน - ประกาศเรื่องค่าเปา้ หมายมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั และระดบั การศกึ ษา ขั้น พืน้ ฐาน - คําส่งั แต่งต้งั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 ระดบั ปฐมวยั และระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน - รอ่ งรอย หลักฐาน ประเด็นการประเมินตามมาตรฐาน - บันทึกการให้ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน - คณะผู้จดั ทํา

    บทสรุปสาํ หรบั ผู้บริหาร ช่ือเร่ือง : รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี น : ชมุ ชนบา้ นโพธ์ิตาก สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน : โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโพธ์ติ าก มีจํานวนนกั เรยี น 198 คน ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา รวม 17 คน จัดการศกึ ษา ในระดับชน้ั อนุบาล 2 – ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโพธิ์ตาก จัดการเรียนการสอนระดบั ปฐมวยั มนี กั เรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 2-3 รวม 23 คน ครผู ูส้ อน 2 คน จดั ทาํ รายงานการประเมนิ คณุ ภาพของตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2563 เสนอต่อ หน่วยงานต้นสังกดั และหน่วยงานอื่นๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยูใ่ นระดบั ดีเลศิ มผี ลการดาํ เนนิ งาน ดงั ต่อไปนี้ ดา้ นคณุ ภาพเดก็ เด็กมนี ํา้ หนกั สว่ นสงู ตามเกณฑ์สมวัย รา่ งกายแขง็ แรง เคลื่อนไหวไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว กลา้ มเน้ือใหญก่ ล้ามเน้ือเลก็ ประสานสัมพนั ธก์ นั ดี คิดเป็นร้อยละ 96.00 นอกจากนเ้ี ด็กแสดงออกอยา่ งรา่ เริง แจม่ ใส แสดงออกทางอารมณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ มคี วามรับผดิ ชอบ มีความรสู้ กึ ที่ดตี อ่ ตนเองและ ผ้อู ่นื มีทกั ษะชวี ติ ประหยดั และพอเพยี งโดยการฝากออมทรัพย์ มวี นิ ัยในตนเอง รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม รูจ้ กั การคดั แยกขยะและทง้ิ ขยะไดถ้ กู ที่ มสี ัมมาคารวะตอ่ ผใู้ หญป่ ฏิบัติตนเป็นผู้นาํ ผตู้ ามไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ เด็กกล้าแสดงออก ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย สามารถอา่ นภาพ สัญลกั ษณ์ คํา ดว้ ยการช้ี หรือกวาดตา มองจุดเริ่มต้นและจดุ จบของขอ้ ความได้ มีทักษะการคดิ ที่เปน็ พื้นฐานการเรียนรู้ สามารถสร้างผลงานศิลปะเพื่อ สือ่ สารความคดิ ความร้สู กึ ของตนเองโดยมีรายละเอยี ดเพ่ิมขน้ึ และมสี ่วนร่วมในการดแู ลรกั ษาสิง่ แวดล้อมทัง้ ใน และนอกหอ้ งเรียน เด็กรอ้ ยละ 100 มีมารยาททางวฒั นธรรมไทย เช่น การไหว้ การทักทาย จากกจิ กรรมไหว้งามตา กิจกรรมน้องไหว้พ่ี พร่ี บั ไหว้ มีพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงคเ์ พ่มิ ขึน้ ตามคุณธรรมเปา้ หมาย ของสถานศึกษา เป็นการประเมินคุณธรรมเป้าหมายของเดก็ ไดแ้ ก่ ความรับผดิ ชอบ ความซ่อื สตั ย์ และความ พอเพียง และมีพฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงคต์ ามอัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา คือ ไหว้งามตา สง่ ผลให้นกั เรยี นระดบั ปฐมวัยโรงเรยี นชุมชนบ้านโพธ์ติ ากมพี ฒั นาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสังคมได้อยา่ ง เหมาะสม ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรยี นชุมชนบ้านโพธติ์ ากมหี ลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2561 ครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ 4 ดา้ นสอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถ่ินและผ่านการตรวจสอบ องค์ประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา พุทธศกั ราช 2561 ท่ีนาํ ส่กู ารปฏิบัติอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ครเู พยี งพอกบั ชั้นเรยี นและไดร้ ับการพฒั นาด้านวชิ าชพี เพือ่ ให้เกิดความเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม นา่ อยู่ นา่ เรียน ปลอดภัยและเพยี งพอ มีการใช้สื่อเทคโนโลยี และสอื่ การเรยี นร้ใู นการจดั ประสบการณ์ มรี ะบบ บริหารท่ีมีคุณภาพ ทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม โรงเรียนมีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกับ มาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และอัตลักษณ์ทสี่ ถานศึกษากําหนด ไดม้ ีการจดั ทาํ แผนการจัดประสบการณ์ ท่สี อดคล้องกบั มาตรฐานตามหลกั สูตร การศกึ ษาปฐมวยั มกี ารประเมนิ ผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนนิ งานและจัดทํารายงานผลการประเมินตนเองประจําปี มีการนาํ ผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พฒั นาคุณภาพสถานศึกษา โดยทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วม พร้อมทง้ั รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หนว่ ยงานต้นสังกัด อย่างต่อเนื่อง สง่ ผลให้โรงเรียนชมุ ชนบา้ นโพธต์ิ าก มรี ะบบการบรหิ ารงานท่มี คี ณุ ภาพ ดา้ นการจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เปน็ สาํ คญั โรงเรยี นชุมชนบ้านโพธิ์ตาก มกี ารจัดประสบการณท์ ่ี สง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทกุ ด้านอยา่ งสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ที่ครอบคลมุ พฒั นาการใน ทกุ ๆดา้ นใหเ้ หมาะสมกบั วัยเดก็ โดยผา่ นการเลน่ และปฏิบตั อิ ย่างมคี วามสขุ ส่งเสริมให้เดก็ ไดป้ ระสบการณ์

    โดยตรง จากการเรยี นผ่านการเลน่ ไดล้ งมือปฏิบัตจิ ริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพ่ือกอ่ ใหเ้ กดิ ความมี นา้ํ ใจ ความสามคั คี การแบง่ ปัน และการรอคอย สง่ ผลให้เด็กเกดิ การเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างมีความสุข-มบี รรยากาศ ทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ เด็กอยากมาโรงเรยี น และครูมีการประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ อย่างหลากหลาย ด้วยเครอ่ื งมอื และวธิ ีการทีห่ ลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสาํ รวจ และการวเิ คราะห์ผล พัฒนาการของเดก็ โดยให้ผปู้ กครองมีสว่ นร่วม เพือ่ ได้นําผลการประเมนิ ไปพฒั นาศักยภาพของเดก็ และ พัฒนาการจดั ประสบการณ์การเรียนรูใ้ นชัน้ เรยี นต่อไป ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนชมุ ชนบา้ นโพธิ์ตากเป็นโรงเรียนขยายโอกาส มีนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึงชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 จํานวน 175 คน ครผู สู้ อน 12 คน จดั ทาํ รายงานการประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR) ปี การศกึ ษา 2563 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหนว่ ยงานอ่นื ๆ ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ดี มผี ลการดําเนินงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รียน โรงเรยี นชุมชนบ้านโพธิ์ตากกําหนดมาตรฐานการศึกษาดา้ นคุณภาพผู้เรียนจาํ นวน 2 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและ 2) ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สารและการคดิ คํานวณ ตามเกณฑข์ องแต่ละระดับชน้ั สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง อกี ทัง้ ผู้เรียนยงั สามารถ สรา้ งนวตั กรรมตามศักยภาพของแต่ละระดับชนั้ เช่น การจัดทํานทิ าน การจดั ทําโครงงาน การเขียนเรือ่ งจาก ภาพ ฯลฯ อันเน่ืองมาจากผเู้ รียนไดร้ ับการพัฒนาอย่างเตม็ ทีท่ งั้ ในเวลาเรยี นและนอกเวลาเรยี น สง่ ผลให้ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนอย่ใู นระดบั ดี มีคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้น พ้นื ฐาน ( R-T , NT ,o – NET ) อย่ใู นระดบั ปานกลาง โรงเรยี นไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทองกจิ กรรมการแข่งขนั สภานกั เรียน มากกว่า 3 ปี รางวลั เหรียญทอง กิจกรรมประกวดยวุ บรรณรักษ์ส่งเสรมิ การอ่านมากกว่า 3 ปี ใน งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนระดับชาตทิ จ่ี งั หวัดขอนแกน่ บุรีรมั ย์และศรีสะเกษ ตามลาํ ดบั และผ้เู รียนสว่ นใหญม่ ี สุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง มนี ้ําหนัก ส่วนสงู กบั อายุตามเกณฑ์มาตรฐาน มคี วามมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสม และไม่เกีย่ วข้องกับสงิ่ เสพติด สาํ หรับดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน สบื เนอื่ งจากโรงเรยี นชุมชนบ้านโพธิ์ตากเป็นโรงเรียน คณุ ธรรม มงุ่ เนน้ การจดั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นท่ีส่งเสรมิ จติ สํานกึ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม โดยมเี ป้าหมาย คือ “เพ่อื สร้างคนดสี ูส่ ังคม” ผา่ นกจิ กรรม “พฒั นาโครงงานคุณธรรม เฉลมิ พระเกียรติ เยาวชนไทยทาํ ดีถวายใน หลวง ”ปีท่ี 15 ปีการศึกษา 2563 ภายใต้โครงงานคุณธรรม “ฉลาดคิด ฉลาดใช้ สามัคคี มีวนิ ยั ใสใ่ จ สงิ่ แวดลอ้ ม” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนนุ และปลกู ฝังคา่ นิยมการยึดม่ันในคณุ ธรรม เพื่อใหผ้ เู้ รยี นได้ เติบโตเป็นพลเมอื งท่ีมน่ั คง อย่ใู นคณุ งามความดี มีความประพฤตดิ ี สง่ ผลให้ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน็ เด็ก ดีของพอ่ แม่ ครูอาจารย์ มีวนิ ัย มีความรับผิดชอบ มคี วามซ่ือสตั ย์ มคี วามเอื้อเฟอ้ื เผื่อแผ่ และมจี ิตสาธารณะ สามารถดาํ รงชีวติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุขและได้รบั รางวลั ชนะเลิศระดับเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาเป็นตวั แทนเข้า แข่งขนั ระดับประเทศ และนกั เรียนได้รับคัดเลอื กเป็นผมู้ คี วามประพฤติดี มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม ได้รบั การยกยอ่ ง ใหเ้ ป็นตวั อย่างที่ดีแก่เดก็ และเยาวชน เนอ่ื งในวนั เดก็ แห่งชาติ ประจําปีพุทธศกั ราช2564 ระดบั จังหวัด จากผู้ว่า ราชการจังหวัดสกลนคร ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โรงเรียนชุมชนบ้านโพธิต์ ากใชห้ ลักการบริหารแบบมีสว่ นรว่ ม ดําเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศกึ ษาท่ผี ่านมา โดยใช้ขอ้ มูลฐานในการกําหนดเป้าหมาย วิสัยทศั น์และพนั ธกจิ อยา่ งชัดเจน ในดําเนนิ การพัฒนาวิชาการทเ่ี นน้ คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ น ตามหลักสตู ร

    สถานศกึ ษาทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย เชื่อมโยงกับชวี ติ จริง จัดทาํ แผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา ดําเนนิ งาน พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้อื ต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ โรงเรยี นน่าดู น่าอยู่ นา่ เรยี น และมกี ารจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื สนับสนุนการบริหารจดั การและการเรียนรทู้ เี่ หมาะสม กบั สภาพของโรงเรียน มีการสง่ เสริมและพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรในโรงเรียนให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ มี ความสามารถและมีส่วนรว่ มในการดาํ เนินงานอยา่ งครูมืออาชีพ มพี ฒั นาคุณภาพการศึกษาท้ัง 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ งานบริหารวชิ าการ งานบรหิ ารงบประมาณ งานบรหิ ารบคุ คล งานบรหิ ารทั่วไป นอกจากนโี้ รงเรียนมีการ บรหิ ารและการจดั การอยา่ งเป็นระบบ มกี ารประชมุ แบบมสี ว่ นร่วมโดยได้รบั ความรว่ มมอื จากผบู้ ริหาร ครู คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ชุมชน และผูม้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ ง เพอ่ื ให้ทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการกาํ หนด วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมาย ทชี่ ดั เจน มีการปรับแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปี ที่ สอดคลอ้ งกับผลการจัดการศกึ ษา สภาพปญั หา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษาทมี่ ่งุ เนน้ การพฒั นาให้ผเู้ รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผสู้ อนสามารถจัดการเรยี นรู้ ได้อยา่ งมีคุณภาพ มีการดาํ เนินการนิเทศ กาํ กบั ตดิ ตาม ประเมินผลการดาํ เนนิ งาน และจัดทาํ รายงานผลการจดั การศกึ ษา มกี ารบรหิ ารอัตรากําลงั ทรพั ยากรทางการศกึ ษา และระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น มีการนิเทศ ภายใน นาํ ขอ้ มูลมาใชใ้ นการพฒั นาบคุ ลากร และผู้เก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นในการวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนา และรว่ มกันรับผดิ ชอบต่อการจดั การศึกษามีการบริหารจัดการเก่ยี วกับงานวชิ าการ พฒั นาหลกั สตู ร กิจกรรม เสรมิ หลักสูตรทเี่ นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ น เช่อื มโยงวิถีชวี ิตจริงและครอบคลมุ ทกุ กลุม่ เป้าหมาย รวมถงึ การ จัดการเรียนการสอนของกลุ่มท่ีเรยี นแบบควบรวมและกลมุ่ เรยี นรว่ มดว้ ย มีการสง่ เสรมิ สนับสนุนพฒั นาครูและ บุคลากรตรงตามความตอ้ งการและจดั ใหม้ ชี ุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ ของผู้เรยี นจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมท่เี อือ้ ต่อ การจัดการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนอย่างมีคุณภาพ มคี วามปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการ บริหารจัดการ และการจัดการเรียนรูท้ ีเ่ หมาะสมกับสภาพของโรงเรยี น จดั หา พฒั นาและบริการดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ จดั ใหม้ หี อ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์เพือ่ ใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาํ คญั ครมู คี วามตงั้ ใจ มงุ่ มัน่ ในการพฒั นาการ สอน โดยจัดกจิ กรรมให้นกั เรยี นได้เรียนรโู้ ดยการคิด ไดป้ ฏบิ ัตจิ ริง มกี ารใหว้ ธิ กี ารและแหล่งเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ใหน้ ักเรียนแสวงหาความรู้จากสอื่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก เน้นการมีปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหว่างเด็กกับครู ครูกับเดก็ เด็กกบั เด็ก เดก็ รักการเรียนรู้ และสามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ย่างมีความสุข โดยมกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผ้เู รยี น มกี ารจดั ทําวิจยั ในชัน้ เรยี น โดยมีการแลกเปลี่ยนเรยี นร้แู ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับเพ่อื พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการPLC เปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี ครรู ว่ มกนั ออกแบบการวัดผลประเมินผล เพือ่ ตรวจสอบ และประเมนิ ผู้เรยี นอย่างมขี ้นั ตอน ใชเ้ ครอื่ งมอื วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสม พรอ้ มทงั้ นาํ ผลไปใช้พฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรยี น และนาํ ไปปรับปรงุ /พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ตอ่ ไป

1    ส่วนที่ 1 ข้อมลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา 1.1 ขอ้ มลู ท่วั ไป ชอ่ื สถานศึกษา โรงเรยี นชุมชนบา้ นโพธติ์ าก ตัง้ อยูเ่ ลขท่ี 288 ถนน - หมทู่ ี่ 3 บ้านโพธติ์ าก ตาํ บลเดื่อศรีคนั ไชย อําเภอวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร รหัสไปรษณยี ์ 47120 โทรศพั ท์ 042-720002 สงั กดั สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 เปิดสอนตงั้ แตร่ ะดับ ชัน้ อนบุ าล 1 ถึง ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มเี ขตพืน้ ทบ่ี ริการ 5 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ หมทู่ ่ี 3 บา้ นโพธิ์ตาก ตําบลเดอื่ ศรคี นั ไชย อาํ เภอวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร หม่ทู ่ี 6 บา้ นทา่ แร่ ตําบลเดอ่ื ศรคี ันไชย อําเภอวานรนิวาส จงั หวัดสกลนคร หม่ทู ่ี 7 บ้านโคกก่อง ตาํ บลเดือ่ ศรีคนั ไชย อาํ เภอวานรนวิ าส จงั หวดั สกลนคร หมู่ท่ี 14 บา้ นสระพังทอง ตําบลเดือ่ ศรีคนั ไชย อาํ เภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร หม่ทู ่ี 6 บา้ นดอนหวาย ตาํ บลม่วงไข่ อําเภอพังโคน จงั หวัดสกลนคร  ชื่อ-สกุลผู้บริหาร นายชยั ณรงค์ วงศ์สง่า วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ปรญิ ญาโท สาขา การบรหิ ารการศึกษา ดาํ รงตาํ แหนง่ ทโ่ี รงเรยี นนเ้ี ร่มิ 12 ตุลาคม 2558 จนถึงปจั จบุ นั เป็นเวลา 5 ปี 7 เดอื น  ประวตั ิโดยย่อ โรงเรยี นชุมชนบา้ นโพธ์ิตาก โรงเรียนชมุ ชนบ้านโพธต์ิ าก สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ตัง้ ข้ึนเม่อื วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 โดย รอง อาํ มาตย์โทพระราชกิจภักดี นายอาํ เภอวานรนวิ าส ในขณะน้นั โดยใชง้ บประมาณการศกึ ษาพลี คนละ 1 บาท เปน็ คา่ เงินเดือนครูและค่าวัสดุ โดยอาศยั ศาลาวดั ไชยวาล บ้านโพธิต์ ากเป็นสถานที่เรยี น มนี กั เรยี น 4 หม่บู ้านเข้ามาเรยี น คอื บา้ นโพธิต์ าก บ้านสระพังทอง บ้านทา่ แร่ และบา้ นโคกกอ่ ง เปดิ สอนในระดบั ชน้ั ป.1-ป.4 พ.ศ.2486 คณะครชู าวบา้ นไดร้ ว่ มจดั หาเงินและตวั ไม้เพือ่ สรา้ งเป็นอาคารเรยี นเอกเทศ สมทบ กับทางอาํ เภอ ส้ินคา่ ก่อสร้างท้งั สนิ้ 3,740 บาท โดยสรา้ งในทท่ี าํ ไร่ของโรงเรยี นเสร็จ เมอื่ วนั ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2488 พ.ศ. 2513 กระทรวงศกึ ษาธิการขยายการศึกษาถงึ ระดับชั้น ป.7 โรงเรยี นจึงเปิดสอน ช้ัน ป.5 เปน็ ปแี รก มีนกั เรียนรุน่ แรกเข้าเรยี น 23 คน และเปิดสอนนักเรยี น ป.6 และ ป.7 ในปถี ัดมาตามลาํ ดบั พ.ศ. 2555 โรงเรียนชุมชนบ้านโพธิต์ าก ผ่านการประเมนิ ภายนอกรอบสาม จาก สมศ. ในปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นชุมชนบา้ นโพธต์ิ าก มขี า้ ราชการครเู กษยี ณอายรุ าชการ 2 คน รวมมี ขา้ ราชการครู 14 คน ลกู จา้ งประจาํ 1 คน ครูธุรการ 1 คน ครูวกิ ฤต 1 คน นักเรยี น 198 คน เปิดทาํ การ สอน 3 ระดบั ดงั นี้ คือ ระดบั กอ่ นประถมศึกษา ระดับประถมศกึ ษาและระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับ กอ่ นประถมศกึ ษามีครผู สู้ อน จํานวน 2 คน ระดับประถมศึกษา มีครผู สู้ อน 6 คน ระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนต้น มีครผู สู้ อน 6 คน รวมมีบุคลากรทั้งหมด 17 คน ประสบการณ์สอนอยา่ งนอ้ ยคนละ 29 ปี ขน้ึ ไป

2     คาํ ขวญั ประจาํ โรงเรยี น เรียนดี กฬี าเดน่ เนน้ คุณธรรม ชี้นําชมุ ชน  ปรชั ญาโรงเรยี น สุวิชาโน ภวํ โหติ ผู้รู้ดี เปน็ ผ้เู จริญ  สีประจาํ โรงเรยี น สีเหลือง – ขาว  อัตลกั ษณ์ของโรงเรียน ไหวง้ ามตา กีฬาเย่ยี ม  เอกลักษณ์ประจําโรงเรียน เกษตรผสมผสาน  ตราสญั ลกั ษณป์ ระจาํ โรงเรยี น

  3   โครงสรา้ งการบรหิ ารโรงเรยี น คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ผู้อํานวยการสถานศึกษา นายชัยณรงค์ วงศ์สงา่ งานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบคุ ลากร งานบรหิ ารทั่วไป -นางจิรตกิ าล อภวิ ัชรกลุ -นางพิศมัย ฝ่ายรีย์ - นายชัยณรงค์ วงศส์ งา่ - นายไพศาล สวัสดิวงศ์ไชย -นางเพญ็ ประภา นารินรักษ์ -นางสาวไก่แก้ว ศรีสรอ้ ย - นางขวญั ใจ ไลยะรตั น์ -นางพศิ มัย ฝา่ ยรยี ์ -นายสารี ออ่ นสรุ ะทุม - นางถาวร ศรีละคร - นางบุปผา วงศ์สง่า -นางสาวพิชญ์ธเนศ นรบุตร - นายสนทิ คะแก้ว - นางพิศมยั ฝ่ายรยี ์ - นางภิรมย์ คชพล - นางขวัญใจ ไลยะรัตน์   - นางจิรตกิ าล อภวิ ัชรกุล - นายสนิท คะแกว้ - นายณรงคช์ ัย สายเนตร - นายสารี อ่อนสุระทมุ - น.ส.จนั จิรา เพรศิ แกว้ 1.2 ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศกึ ษา 1) จาํ นวนบุคลากร บุคลากร ผบู้ รหิ าร ขา้ ราชการครู พนักงาน ครอู ตั ราจา้ ง เจ้าหน้าท่ี รวมท้งั หมด ราชการ อน่ื ๆ จํานวน 1 13 - 1 2 17 2) วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ ของบคุ ลากร บุคลากร ตาํ่ กว่า ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวมทง้ั หมด จาํ นวน ปรญิ ญาตรี 13 3 - 17 1

4    จํานวน (คน) ภาระงานสอนเฉล่ียของครู 1 คน ในแต่ละสาขาวชิ า (ชม./สปั ดาห)์ 3) สาขาวชิ าทีจ่ บการศึกษาและภาระงานสอน 4 - 20 สาขาวชิ า 1 - 1 20 1. บริหารการศกึ ษา 2 20 2. ภาษาไทย 1 20 3. คณิตศาสตร์ 2 20 4. คอมพิวเตอร์ 3 20 5. วิทยาศาสตร์ - 20 6. ภาษาอังกฤษ 1 20 7. พลศกึ ษา 15 20 8. ประถมศึกษา 20 9.สังคมศกึ ษา 10. ปฐมวยั รวม 1.3 ขอ้ มลู นักเรียน จาํ นวนนกั เรยี น ปีการศกึ ษา 2563 รวม ....198....... คน ระดบั ชั้นเรยี น จํานวนห้อง เพศ รวม หมายเหตุ ชาย หญงิ - อ.1 - - - 9 14 อ.2 1 6 3 23 17 อ.3 1 5 9 13 23 รวม 2 11 12 15 18 ป.1 1 10 7 25 111 ป.2 1 5 8 18 18 ป.3 1 11 12 28 64 ป.4 1 2 13 198 ป.5 1 10 8 ป.6 1 14 11 รวม 6 52 59 ม.1 1 10 8 ม.2 1 11 7 ม.3 1 14 14 รวม 3 35 29 รวมท้งั หมด 11 98 100

5    1.4 ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศกึ ษาปีการศึกษา 2563 ระดบั ปฐมวัย ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ พัฒนาการแตล่ ะดา้ นในระดับ 3 ข้ึนไป ระดับช้นั ผลการประเมนิ พฒั นาการนักเรยี นดา้ น(จํานวนคน) ครบทั้ง 4 ด้าน อารมณ์ รา่ งกาย จติ ใจ สงั คม สตปิ ญั ญา อ.1 - - - - อ.2 9  9  9  9  9  อ.3 14  14  14  14  14  รวม 23  23  23  23  23  ร้อยละ 100 100 100 100 100 ระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 1) รอ้ ยละของนักเรยี นที่มเี กรดเฉลี่ยผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ข้นึ ไป ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ถึง ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 รายวิชา(พนื้ ฐาน) ระดั บ ช้นั ํจานวน นักเรียน ภาษาไทย ํจานวน(คน) ค ิณตศาสต ์ร ํจานวน(คน) ิวทยาศาสต ์ร ํจานวน(คน) สังคมศึกษาฯ ํจานวน(คน) ประ ัวติศาสตร์ ํจานวน(คน) ภาษาอังกฤษ ํจานวน(คน) สุขศึกษาฯ ํจานวน(คน) ศิลปะ ํจานวน(คน) การงานอาชีพฯ ํจานวน(คน) ป.1 17 47.05 8 35.29 6 70.58 12 70.58 12 47.05 8 35.29 13 76.47 15 88.23 16 94.11 6 ป.2 13 69.23 9 64.70 11 92.30 12 92.30 12 84.61 11 38.46 13 100 13 39.13 9 52.17 12 73.91 17 69.56 13 56.52 13 100 13 100 5 9 60.00 9 53.33 8 66.66 10 80.00 15 100 ป.3 23 65.21 15 56.52 11 66.66 12 83.33 15 83.33 15 50.00 16 88.88 20 86.95 19 82.60 1 9 64.00 16 48.00 12 88.00 22 52.00 17 68.00 6 ป.4 15 73.33 11 60.00 8 44.44 8 61.11 11 50.00 90 0 88.89 15 100 14 93.35 1 5 27.78 5 66.67 12 55.56 10 22.22 4 66.67 2 14 57.14 16 57.14 16 64.29 18 42.86 12 75.00 ป.5 18 83.33 15 61.11 17 94.44 12 61.66 9 ป.6 25 64.00 16 36.00 24 96.00 22 88.00 1 3 ม.1 18 44.44 8 44.44 1 ม.2 18 27.78 5 27.78 16 72.22 13 61.11 1 ม.3 28 46.43 13 50.00 12 44.44 8 27.78 5 2 21 60.71 17 75.00 1 รอ้ ย ละ 57.87 48.43 58.00 64.96 68.16 43.37 80.05 82.55 76.73

  6  2) รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี ผี ลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดบั ดขี ึน้ ไป รอ้ ยละ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 94.11 ระดับชั้น จาํ นวน ผลการประเมนิ (จํานวนคน) ระดบั ดี 100 นักเรียน ขนึ้ ไป 100 ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดีเยย่ี ม 100 ป.1 17 -1 11 5 16 88.88 ป.2 13 -- 67 13 60.00 ป.3 23 -- 10 13 23 72.22 ป.4 15 -- 5 10 15 44.44 ป.5 18 -2 4 12 16 46.43 ป.6 25 - 10 96 15 78.45 ม.1 18 -5 58 13 ม.2 18 37 26 8 ม.3 28 - 15 1 12 13 3 40 53 79 130 รวม 175 3) รอ้ ยละของนักเรียนท่มี ีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ในระดบั ดี ขนึ้ ไป ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั ชั้น จํานวน ผลการประเมนิ (จาํ นวนคน) ระดับดี ร้อยละ นักเรียน ขึ้นไป ไม่ผ่าน ผา่ น ดี ดีเยย่ี ม 94.11 ป.1 17 -1 79 16 100 ป.2 13 -- 49 13 100 ป.3 23 -- - 23 23 100 ป.4 15 -- - 15 15 100 ป.5 18 -- 6 12 18 100 ป.6 25 -- 12 13 25 61.11 ม.1 18 43 38 11 50 ม.2 18 63 18 9 92.88 ม.3 28 -2 1 25 26 88.67 10 9 31 122 156 รวม 175

7    4) รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมนิ สมรรถนะสาํ คญั ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปกี ารศกึ ษา 2563 ของผเู้ รยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ในระดับผา่ นขนึ้ ไป สมรรถนะสาํ คญั ผลการประเมนิ (จํานวนคน) ระดับผา่ น รอ้ ยละ ขน้ึ ไป 100 1. ความสามารถ ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ดีเย่ียม 25 100 ในการสอ่ื สาร -- 10 15 100 2. ความสามารถ 25  100 ในการคิด - 12 7 4 100 3. ความสามารถ 25  100 ในการแก้ปญั หา - 5 10 10 4. ความสามารถใน 25  การใชท้ ักษะชีวติ - - 10 15 5. ความสามารถใน 25  การใช้เทคโนโลยี - - 10 15 25  รวม - 5) ร้อยละของนักเรียนทมี่ ผี ลการประเมนิ สมรรถนะสําคญั ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2563 ของผเู้ รยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ในระดับผ่านขนึ้ ไป สมรรถนะสําคญั ผลการประเมนิ (จาํ นวนคน) ระดบั ผา่ น ร้อยละ ข้นึ ไป 100 1. ความสามารถ ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ดีเยี่ยม 28 100 ในการสือ่ สาร -- 5 23 100 2. ความสามารถ 28 100 ในการคดิ - 5 8 15 100 3. ความสามารถ 28 100 ในการแกป้ ญั หา - 7 6 15 4. ความสามารถใน 28 การใช้ทักษะชวี ิต - - 5 23 5. ความสามารถใน 28 การใชเ้ ทคโนโลยี - - 5 23 28 รวม -

8    1.5 ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 1) ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ปกี ารศึกษา 2563 ความสามารถ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ ระดบั โรงเรยี น ระดบั สพฐ. ระดับประเทศ ดา้ นภาษาไทย 51.84 47.76 47.46 ด้านคณิตศาสตร์ 33.68 41.30 40.47 รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน 42.76 44.53 43.97 2) การเปรยี บเทียบผลการประเมินทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ปีการศกึ ษา 2562 – 2563 ความสามารถ ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา รอ้ ยละของผลต่าง 2562 2563 ระหว่างปีการศกึ ษา ดา้ นภาษาไทย 61.26 33.68 ด้านคณติ ศาสตร์ 65.06 51.84 27.58 13.22 รวมความสามารถท้งั 2 ดา้ น 63.16 42.76 20.4 1.6ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 รายวชิ า ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ 48.87 ระดับ สพฐ. 56.20 ภาษาไทย 24.29 29.99 คณติ ศาสตร์ 28.61 54.96 38.78 วิทยาศาสตร์ 28.93 28.59 43.55 ภาษาอังกฤษ 37.64 38.87 1.7. การเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (RT) ปีการศกึ ษา 2562 – 2563 ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ร้อยละของผลต่าง 2562 2563 ระหวา่ งปกี ารศึกษา ดา้ นการอ่านออกเสยี ง 84.66 68.47 ดา้ นการอ่านรเู้ รือ่ ง 81.00 58.58 16.19 22.42 รวมทง้ั 2 ด้าน 82.83 63.52 19.31

  9  2) การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ระดบั ปีการศกึ ษา 2561 – 2563 ประเทศ 56.20 รายวิชา ปกี ารศึกษา คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ ระดับ 29.99 2561 ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา จังหวดั 38.78 ภาษาไทย 47.96 54.43 43.55 คณิตศาสตร์ 28.10 2563 2563 27.88 วทิ ยาศาสตร์ 33.38 47.57 48.87 37.15 ภาษาองั กฤษ 31.90 30.00 24.29 37.49 32.46 28.61 29.44 28.93 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET ) ปีการศกึ ษา 2563 รายวชิ า ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ ระดบั ประเทศ 52.12 ระดับ สพฐ. 54.29 ภาษาไทย 15.48 55.18 25.46 คณติ ศาสตร์ 29.66 25.82 29.89 วทิ ยาศาสตร์ 32.07 30.17 34.38 ภาษาองั กฤษ 34.14 2) การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2560 – 2563 รายวิชา ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ ระดับ ระดบั 2560 2561 ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา จังหวดั ประเทศ ภาษาไทย 48.23 54.39 53.73 55.14 คณติ ศาสตร์ 26.18 26.09 2562 2563 24.38 26.73 วิทยาศาสตร์ 32.91 37.91 51.75 51.75 29.30 30.07 ภาษาอังกฤษ 27.73 29.91 20.75 20.75 30.36 33.25 26.63 26.63 29.75 29.75

10    ผลการดาํ เนนิ งานตามค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563 เรอ่ื ง กาํ หนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเป้าหมาย ผลการพฒั นา มาตรฐาน/ ตามเกณฑข์ อง มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ประเดน็ การ สถานศึกษา 1.1 มกี ารพฒั นาดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ท่ดี ี และดแู ลความ พจิ ารณา ปลอดภยั ของตนเองได้ ดีเลศิ 1.2 มกี ารพฒั นาดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ แลและแสดงงอออกทาง ดี ดีเลิศ  อารมณไ์ ด้ ดี 1.3 มกี ารพฒั นาการด้านสังคม ช่วยแหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทด่ี ี ดเี ลศิ   ของสังคม ดี 1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มที กั ษะการคิดพืน้ ฐานและ ดีเลศิ   แสวงหาความรไู้ ด้ ดี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจดั การ ดีเลศิ   2.1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทขอ ดี องท้องถิน่ ดีเลศิ   2.2 จัดครใุ หเ้ พียงพอกับช้นั เรยี น ดี ดีเลศิ   2.3 ส่งเสริมให้ครูมคี วามเช่ียวชาญดา้ นกากรรจดั ประสบการณ์ ดี 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และ ดีเลิศ  เพยี งพอ ดี ดเี ลิศ  2.5 ใหบ้ ริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพอ่ื สนบั สนุน ดี ดเี ลิศ  การจดั ประสบการณ์ ดี 2.6 มีระบบบริหารคณุ ภาพท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม ดีเลิศ  มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เดก็ เป็นสําคญั ดี 3.1 จัดประสบการณท์ สี่ ่งเสริมให้เด็กมกี ารพฒั นาการทกุ ด้านอยา่ ง ดเี ลิศ  สมดลุ เตม็ ศักยภาพ ดี ดีเลศิ   3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั อิ ยา่ งมี ดี ดเี ลศิ   ความสุข ดี 3.3 จัดบรรยากาศท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้ใชส้ อ่ื เทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั วยั ดีเลิศ  3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ แลละนาํ ผลประเมิน ดี พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก ดเี ลศิ   ดี ดเี ลิศ  สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดี ดีเลศิ   ดี

11    ผลการดําเนนิ งานตามค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563 เรอื่ ง กาํ หนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการพฒั นาตาม มาตรฐาน/ เกณฑ์ของ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น ประเดน็ การ สถานศกึ ษา 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น พิจารณา ดีเลศิ 1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สารและ ดี ดเี ลิศ  การคดิ คํานวณ ดี ดเี ลิศ  ดี 2) มคี วามสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคดิ อยา่ งมี ดีเลศิ   วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแกป้ ญั หา ดี ดเี ลศิ   3) มคี วามสามารในการสร้างนวัตกรรม ดี ดเี ลศิ   4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการ ดี สอื่ สาร ดเี ลศิ   5) มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ดี ดีเลิศ  6) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ งานอาชพี ดี ดเี ลิศ  1.2 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน ดี ดเี ลิศ  1) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดีตามทส่ี ถานศึกษา ดี กาํ หนด ดเี ลิศ  2) ความภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย ดี ดเี ลิศ  3) การยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและ ดี หลากหลาย ดเี ลศิ   4) สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สงั คม ดี ดีเลศิ   มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ดี ดเี ลศิ   2.1 การมีเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษา ดี กําหนดชดั เจน ดเี ลศิ   2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ดี ดีเลศิ   2.3 ดําเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม ดี หลกั สุตรสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ดเี ลิศ  2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลกรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ ดี ดีเลศิ   2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่เี ออ้ื ต่อการ ดี จดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ณู ภาพ ดเี ลิศ  2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบริหาร ดี จัดการและการจดั การเรียนรู้

  ดี 12  ดี มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียน ดี ดเี ลศิ   เปน็ สาํ คญั ดี ดเี ลิศ  3.1 จดั การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง และ ดี ดีเลิศ  สามารถนําไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ดี ดีเลศิ   3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ีเ่ อื้อตอ่ การ ดี ดีเลศิ   เรยี นรู้ ดเี ลิศ  3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก ดีเลศิ   4.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาํ ผลมา พัฒนาผู้เรียน 3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพฒั นา และปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา

13    ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา: ดีเลิศ ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษา ดีเลศิ   ดีเลศิ   มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ดีเลศิ   มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เดก็ เปน็ สาํ คัญ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาํ เนินโครงการส่งเสริมพัฒนาการท้งั 4 ด้านของเด็กปฐมวยั ตลอดปีการศกึ ษา2563 ด้วย การดาํ เนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA ซ่งึ ประกอบดว้ ยกิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการทางด้านร่างกาย กิจกรรม สง่ เสริมพฒั นาการทางด้านอารมณ-์ จติ ใจ กจิ กรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการดา้ นสงั คม และกจิ กรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา อย่างตอ่ เนอ่ื ง 1.2 การดาํ เนินงานโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อยเพ่อื ส่งเสรมิ ความรพู้ น้ื ฐานและเจคตทิ ด่ี ี ทางดา้ นวิทยาศาสตร์ ตลอดปีการศึกษา2563 ด้วยการดาํ เนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA อยา่ งต่อเน่ือง 1.3 การกจิ กรรมการเรียนการสอนสะเต็มศกึ ษาสําหรับเด็กปฐมวยั เพ่ือการเตรียมความพรอ้ มให้ ผเู้ รียนในการกา้ วเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดปีการศึกษา2563 ดว้ ยการดําเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA อยา่ งต่อเน่ือง 1.4 การดาํ เนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางการจดั กิจกรรมในหลักสตู รการศึกษา ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ตลอดปกี ารศึกษา 2563 ด้วยการดาํ เนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCAอยา่ งตอ่ เน่อื ง 2. ผลการดําเนนิ งาน 2.1 นกั เรยี นปฐมวยั โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโพธ์ติ าก มีผลการประเมินพัฒนาการท้ัง 4 ดา้ น ตามหลกั สตู ร การศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 อยใู่ นระดบั ดีเลิศ คิดเป็นร้อยละ 100 ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดังนี้ - พฒั นาการด้านรา่ งกาย เด็กมีนา้ํ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑม์ าตรฐาน เคลอื่ นไหวร่างกาย คลอ่ งแคลว่ ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตามประสานสัมพันธ์กันได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพอนามยั สว่ นตนและปฏิบตั ิจน เปน็ นิสยั ปฏิบตั ิตนตามขอ้ ตกลงเกีย่ วกบั ความปลอดภยั หลกี เลี่ยงสภาวะท่เี สยี่ งตอ่ โรค สงิ่ เสพตดิ และระวัง ภยั จากบคุ คล สงิ่ แวดลอ้ ม และสถานการณท์ เี่ สย่ี งอันตราย - พัฒนาการดา้ นอารมณ-์ จิตใจ เด็กร่าเริง แจม่ ใส แสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ไดเ้ หมาะสม รู้จกั ยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อนื่ มจี ิตสํานกึ และค่านิยมทด่ี ี มคี วามม่นั ใจ กลา้ พดู กล้าแสดงออก ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน เคารพสิทธิ รหู้ นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ อดทน อดกล้นั ซื่อสัตยส์ ุจรติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามที่โรงเรยี นกําหนด ชน่ื ชมและมีความสขุ กับศลิ ปะ ดนตรี และ การเคลอื่ นไหว

14    - พัฒนาการดา้ นสงั คม เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัตกิ จิ วตั รประจําวัน มวี ินยั ในตนเอง ประหยดั และพอเพยี ง มีสว่ นร่วมดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิม้ ทักทาย และมีสมั มาคารวะกบั ผู้ใหญ่ เปน็ ต้น ยอมรบั หรือเคารพความแตกต่างระหว่างบคุ คล เล่นและทาํ งานร่วมกับผู้อ่นื ได้ ร้จู ักแกไ้ ขความขดั แย้งโดยปราศจากความรนุ แรง - พัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา เดก็ สามารถโต้ตอบและเล่าเรอื่ งให้ผอู้ น่ื เขา้ ใจ ตัง้ คาํ ถามในส่ิงท่ี ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคําตอบ อา่ นนิทานและเลา่ เรอ่ื งที่ตนเองอ่านไดเ้ หมาะสมกับวยั มี ความสามารถในการคดิ รวบยอด การคดิ เชิงเหตุผลทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ การคิดแกป้ ัญหาและ สามารถตดั สินใจเรอื่ งงา่ ยๆ ได้ สรา้ งสรรค์ผลงานตามความคดิ และจินตนาการ เช่น งานศลิ ปะ การเคล่อื นไหว ท่าทาง การเล่นอิสระ เปน็ ตน้ และใชส้ ่อื เทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหลก็ กล้องดิจิตอล เปน็ ต้น เปน็ เคร่อื งมอื ในการแสวงหาความรไู้ ด้ 2.2 นักเรยี นชนั้ อนุบาล 3 มีความพร้อมในการเข้าเรยี นเขา้ เรียนช้นั ป.1 คดิ เปน็ ร้อยละ 100 3. จดุ เด่น 3.1 เด็กมีพฒั นาการดา้ นรา่ งกายสมวัย มีนาํ้ หนัก สว่ นสูง ตามเกณฑ์ สมวยั รา่ งกายแข็งแรง เคล่อื นไหว ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ กลา้ มเนื้อใหญ่และกลา้ มเน้อื เลก็ ประสาทสัมพันธ์กันดี 3.2 เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์ –จติ ใจ สมวยั สามารถแสดงออกทางอารมณ์ ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับ กาละเทศ มีความรูส้ กึ ทีด่ ีตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื 3.3 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสงั คมสมวยั มีทักษะชวี ิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มวี ินัยในตนเอง รกั ธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและอนุรักษ์สิ่งทีเ่ ปน็ สาธารณะสมบัตสิ ่วนรวม มมี ารยาท ตามวัฒนธรรมไทย ย้ิมงา่ ย ไหว้สวย ร้จู ักทกั ทายผูม้ าเยือน 3.4 เด็กมพี ัฒนาการด้านสติปัญญาสมวยั มคี วามกลา้ แสดงออก ท้งั ทางด้านการใชท้ ่าทาง คาํ พดู การปฏิบัตสิ ัมพันธ์ การใชส้ ื่อเทคโนโลยีในการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง 3.5 มกี ารจดั ประสบการณก์ ารเรียนรตู้ ามหลักสตู รสถานศกึ ษา และมแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เสรมิ ในการพฒั นาผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ 4. จุดควรพฒั นา 4.1 ส่อื ทส่ี ง่ เสรมิ พัฒนาการด้านสติปัญญา ไดแ้ ก่ ขาดสื่อการเรียนการสอนส่ือเสริมทกั ษะดา้ น วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เกมการศกึ ษาควรจดั หามาเพิ่มเตมิ 4.2 ควรเพมิ่ การมีสว่ นรว่ มของพอ่ แม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทกุ ฝา่ ยท่เี กยี่ วข้องในการสง่ เสริม พัฒนาการเด็ก อยา่ งต่อเนื่อง 4.3 ควรเพิ่มความตอ่ เนือ่ งของการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา และการ ดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเสรมิ ในการพฒั นาผู้เรียน

15    5. แผนพฒั นาเพ่อื ให้ไดม้ าตรฐานทสี่ ูงขน้ึ แผนปฏิบัตงิ านที่ 1 โครงการส่งเสริมพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2563 แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 2 โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ปีการศกึ ษา 2563 แผนปฏิบัติงานท่ี 3 โครงการสง่ เสริมการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาํ คัญ แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 4 โครงการพฒั นาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รียนอย่างรอบด้านตามหลกั สตู ร สถานศึกษา แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 5 โครงการพัฒนาแหลง่ เรียนร้ทู ั้งในและนอกสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 แผนปฏิบัตงิ านท่ี 6 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เอ้อื ตอ่ การจัดการเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 7 โครงการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดําเนินงานโครงการพฒั นาวิชาการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผู้เรียนอยา่ งรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา เพ่อื พฒั นาและใช้หลักสูตรสถานศึกษาท่คี รอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 ด้าน เนน้ การเตรียมความ พรอ้ มโดยไม่เร่งรัดวิชาการ เน้นการเรยี นรู้ผ่านการเล่นและปฏบิ ัติจริง สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ิตของครอบครัว และชมุ ชน 1.2 สถานศกึ ษาได้ดําเนินการจดั หาครใู หเ้ พยี งพอกบั ช้นั เรียน ถงึ แม้ครผู สู้ อนจะไมจ่ บปริญญาตรีด้าน การศกึ ษาปฐมวัยโดยตรงและมีการส่งเสริมให้ครูมีเขา้ รบั การอบรมเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญด้านการจัด ประสบการณ์ เพ่ือเพม่ิ พนู ศกั ยภาพดา้ นการจัดประสบการณ์ทีส่ ง่ ผลต่อคณุ ภาพเดก็ เป็นรายบุคคลตรงตาม ความตอ้ งการของครแู ละสถานศึกษา และตลอดปกี ารศึกษา 2563 ไดร้ ับจัดสรรครวู กิ ฤติเอกปฐมวยั มาเพมิ่ 1.3 การดาํ เนินงานโครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพเพ่อื สภาพแวดล้อมให้มคี วามปลอดภยั โดยจดั สนามเดก็ เลน่ ให้อยภู่ ายในบริเวณอาคารของห้องเรียนปฐมวัย 1.4 การดาํ เนินงานโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรูท้ ้ังในและนอกสถานศึกษา เพื่อส่งเสรมิ การใชส้ ่อื เทคโนโลยี และการจัดมุมประสบการณท์ ห่ี ลากหลายเพอื่ สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการของเด็ก 1.5 สถานศึกษาไดก้ ําหนดมาตรฐาน แผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานท่ี สถานศกึ ษากําหนด มกี ารตดิ ผลตามการดาํ เนินงานและรายงานการประเมนิ ตนเองประจําปี นําผลการ ประเมนิ ไปปรับปรงุ การพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยผปู้ กครองและผู้เก่ียวข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม และ จัดส่งรายงานการประเมนิ ตนเองให้ต้นสงั กัด โดยใช้กระบวนการ PLC เพ่อื ขับเคลื่อนการดําเนินงานใหค้ รบ วงจรคุณภาพ PDCA อยา่ งต่อเน่ือง 2. ผลการดาํ เนินงาน 2.1 สถานศกึ ษามหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัยฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2561 ตามหลักสตู ร การศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ีสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศึกษา 2.2 ครูมจี าํ นวนเพยี งพอและเหมาะสมกบั ชน้ั เรยี น ถงึ แมม้ คี รผู ู้สอนประจาํ การทไี่ มจ่ บปริญญาตรีดา้ น การศกึ ษาปฐมวัยโดยตรง เมื่อได้รับการอบรมพัฒนาทาํ ให้ครมู ีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ และ ไดร้ บั จัดสรรครเู อกปฐมวยั มาเพม่ิ พนู ศกั ยภาพดา้ นการจัดประสบการณ์ท่ีส่งผลต่อคณุ ภาพเดก็ เปน็ รายบุคคล ตรงตามความตอ้ งการของครแู ละสถานศกึ ษา

16    2.3 สถานศึกษาเขา้ รว่ มโครงการ”บ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ในพระราชดาํ ริสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี โรงเรยี นคุณภาพมาตรฐานกิจกรรมวิทยาศาสตรส์ าํ หรับเดก็ ปฐมวยั บา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย” อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2.4 สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมอยา่ งปลอดภัย และมสี อ่ื เพอ่ื การเรียนรู้อย่างเพียงพอและ หลากหลาย ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ เพอื่ สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ เหมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา 2.5 สถานศึกษามรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาท่ีเปิดโอกาสให้ผ้เู ก่ยี วขอ้ งมสี ่วนรว่ ม การปฏิบัติงานทสี่ ง่ ผลต่อคุณภาพมาตรฐานของสถานศกึ ษา บรู ณาการการปฏิบตั งิ านและเปิดโอกาสให้ ผเู้ กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม 3. จดุ เดน่ 3.1 โรงเรียนมีหลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการทงั้ 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทท้องถ่ิน และมีการ ประเมนิ การใชห้ ลกั สูตรทุกปกี ารศึกษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 3.2 ครไู ด้พัฒนาตนเองคือเข้ารบั การอบรมพฒั นาครู เพอ่ื ใหค้ รไู ด้มีพฒั นาศกั ยภาพทจี่ ะนํามาจดั ประสบการณส์ ําหรับเดก็ และเพอ่ื เพ่ิมสมรรถนะในการประกอบวชิ าชีพระดับสงู ตลอดปกี ารศึกษา 2563 3.3 มีการจดั มมุ ประสบการณ์อย่างน้อย 4 มุม ใชส้ ่ือและเทคโนโลยี และเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ตในการ ทาํ กจิ กรรม สภาพแวดลอ้ มมีความปลอดภัย 3.4 โรงเรยี นเข้าโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทยต้งั แตป่ ี 2550 ถึงปัจจบุ นั ไดร้ บั ตราพระราชทานคงสภาพเป็นครงั้ ท่ี 2 ไดพ้ ัฒนาการจัดการเรยี นรเู้ ปน็ ผเู้ รียนเป็นสาํ คัญ เน้นการปฏบิ ัติสู่เด็ก นกั เรียน และได้ส่งโครงการอย่างต่อเนื่อง 3.5 โรงเรยี นประชมุ ผู้ปกครอง อยา่ งน้อย ปีละ 2 ครงั้ และโทรศพั ทต์ ดิ ตอ่ ใชแ้ ซทกลมุ่ ไลนก์ ลมุ่ ผู้ปกครองแตล่ ะชน้ั เพอื่ ติดต่อสือ่ สารกบั ผปู้ กครอง มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาทเ่ี ปดิ โอกาส ให้ผู้เกีย่ วขอ้ งมสี ว่ นร่วม การปฏบิ ตั งิ านทีส่ ่งผลตอ่ คณุ ภาพมาตรฐานของสถานศึกษา 4. จุดควรพัฒนา 4.1 สถานศึกษาควรจดั หาครทู จ่ี บเอกปฐมวยั โดยตรงเพมิ่ จากการได้รับจัดสรรอัตราครูวกิ ฤติเอก ปฐมวัย ตลอดปีการศึกษา 2563 เพ่อื จัดประสบการณ์ใหก้ บั นกั เรยี นใหท้ ั่วถงึ 4.2 ควรตรวจสอบ พัฒนา ปรบั ปรงุ และเพิม่ ส่อื ตามมุมประสบการณ์และส่อื ในกิจกรรมกลางแจ้งที่ ชํารุด และซอ่ มแซมใหใ้ ช้ในการงานได้และมคี วามปลอดภัยกับนกั เรียน อยา่ งตอ่ เน่อื ง 4.3 ควรพัฒนาระบบการบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาให้สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา มากยง่ิ ขึ้น จนกลายเปน็ แบบอย่างทด่ี ี หรอื นวตั กรรมการบริหารของสถานศึกษาได้ 5. แผนพัฒนาเพ่อื ให้ไดม้ าตรฐานทสี่ งู ขนึ้ แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 1 โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการทัง้ 4 ด้านของเด็กปฐมวยั แผนปฏบิ ัติงานที่ 2 โครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 3 โครงการสง่ เสรมิ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาํ คัญ แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 4 โครงการพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผูเ้ รยี นอย่างรอบด้านตามหลักสตู ร สถานศกึ ษา แผนปฏิบัตงิ านที่ 5 โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ท้งั ในและนอกสถานศกึ ษา แผนปฏิบตั ิงานท่ี 6 โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ แผนปฏิบัติงานที่ 7 โครงการขบั เคลอื่ นคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC

17    มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเป็นสาํ คญั ระดับคณุ ภาพ : ดีเลศิ 1. กระบวนการพฒั นา การดําเนินงานโครงการสง่ เสรมิ การจดั ประสบการณ์การเรียนร้ทู เี่ น้นเดก็ เปน็ สําคญั เพ่อื ส่งเสริมใหค้ รู จัดประสบการณท์ สี่ ง่ เสริมให้เด็กมพี ัฒนาการทกุ ด้านอยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ เพอ่ื สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับ ประสบการณ์ตรง เล่นและทาํ กิจกรรมอยา่ งมคี วามสขุ เพ่ือจัดบรรยากาศทเ่ี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ ใช้ส่ือและ เทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วัย ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนําผลไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์ และพฒั นาเด็ก รู้จักเดก็ เปน็ รายบุคคล จัดทาํ แผนการจัดประสบการณ์จากการวเิ คราะหม์ าตรฐาน คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ในหลกั สูตรสถานศกึ ษา จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการของเด็กให้ครบทุกด้าน เด็ก ไดเ้ ลือกเลน่ และเรียนรู้ ลงมอื กระทาํ และสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง ครูจดั ห้องเรียนใหส้ ะอาด อากาศ ถ่ายเท ปลอดภัย เดก็ มสี ่วนร่วมในการจดั สภาพแวดล้อม เช่นป้ายนิเทศ การดแู ลตน้ ไม้ การทาํ ความ สะอาด ครูใชส้ ื่อของเลน่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับช่วงวัย ครูประเมนิ พัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและ กิจวตั รประจาํ วันโดยไม่ใช้แบบทดสอบมีผ้ปู กครองมีสว่ นร่วมและนาํ ผลการประเมนิ ที่ได้ไปพฒั นาคุณภาพเด็ก และใช้กระบวนการ PLC เพ่ือขบั เคล่ือนการดําเนนิ งานให้ครบวงจรคุณภาพ PDCAอยา่ งตอ่ เน่อื ง 2. ผลการดําเนนิ งาน 2.1 ครวู เิ คราะหข์ อ้ มูลเด็กเป็นรายบุคคล จดั ทําแผนการจดั ประสบการณ์ จากการวิเคราะหม์ าตรฐาน คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมกี จิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กครบทุกดา้ น ไมม่ งุ่ เนน้ การพฒั นาด้านใดด้านหนง่ึ เพยี งดา้ นเดียว 2.2 ครจู ดั ประสบการณท์ ีเ่ ช่ือมโยงกบั ประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสไดเ้ ลือกทาํ กจิ กรรมอย่างอิสระ ตามความสนใจ ความตอ้ งการ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรยี นรู้ของเด็กเปน็ รายบุคคล หลากหลาย รูปแบบจากแหล่งเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย เด็กไดเ้ ลอื กเล่น ลงมือ กระทํา และสรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง 2.3 ครจู ดั หอ้ งเรียนไดส้ ะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มพี ้ืนท่ีแสดงผลงานเด็ก พื้นทีส่ ําหรับมมุ ประสบการณแ์ ละการจัดกจิ กรรม เด็กมสี ว่ นรว่ มในการจดั สภาพแวดล้อมในห้องเรยี น เช่น ป้ายนเิ ทศ การดแู ล ต้นไม้ เป็นต้น ครใู ชส้ อ่ื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั ช่วงอายุ ระยะความสนใจและวิถกี ารเรียนรขู้ องเด็ก เชน่ กลอ้ งดิจติ อล คอมพวิ เตอร์ แวน่ ขยาย สอ่ื ของเลน่ ที่กระดุ้นใหค้ ดิ และหาคําตอบ เป็นต้น 2.4 ครปู ระเมนิ พัฒนาการเด็กจากกจิ กรรมและกิจวตั รประจําวนั ด้วยเคร่ืองมอื และวิธกี ารที่ หลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ พัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผูเ้ กย่ี วข้อง มสี ว่ นรว่ ม และนาํ ผลการประเมินไปพัฒนาคณุ ภาพเด็กและแลกเปลยี่ นเรยี นร้กู ารจัดประสบการณ์ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 3. จุดเด่น 3.1 ครรู จู้ กั เดก็ เป็นรายบคุ คลและจดั กจิ กรรมท่ีสาสามารถส่งเริมพฒั นาการไดค้ รอบคลุมทง้ั 4 ดา้ น อย่างเป็นองคร์ วม และคํานงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลดว้ ย 3.2 ครมู ีการจดั ประสบการณท์ ี่เชอ่ื มโยงกบั ประสบการณ์เดิม ให้เดก็ มโี อกาสเลือกทาํ กจิ กรรมอสิ ระ ตามความตอ้ งการ เดก็ ไดเ้ รียนรูอ้ ย่างมีความสุขผา่ นการเลน่ จากกิจกรรมที่ครอู อกแบบ 3.3 จดั แหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย เดก็ ไดเ้ ลือกเลน่ เรยี นรู้ ลงมอื และสร้างองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง 3.4 ครูจดั หอ้ งสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้ืนท่ีแสดงผลงานเดก็ พ้นื ท่สี าํ หรบั มมุ ประสบการณ์ และครใู ชส้ ื่อ หอ้ งเรยี นมีป้ายนเิ ทศ มสี ่อื และเทคโนโลยี มคี อมพวิ เตอร์ ทีวี สือ่ ของเลน่ ที่กระตนุ้ ให้คดิ และหา คําตอบ

18    3.5 ครปู ระเมนิ พฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและกิจวัตรประจาํ วันดว้ ยเคร่ืองมอื และวิธกี ารที่ หลากหลาย ไม่ใชแ้ บบทดสอบ เน้นการประเมินจากสภาพจริง จากกิจกรรมที่เดก็ ปฏบิ ัติ ในกจิ กรรมประจาํ วนั วเิ คราะหผ์ ล การประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยผปู้ กครองและผเู้ กย่ี วข้องมสี ว่ นรว่ ม และนําผลการประเมนิ ไป พฒั นาเดก็ และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 3.6 ครู จํานวนร้อยละ 100 เขา้ รับการพฒั นาตนเองและมีช่ัวโมงการพัฒนาตนเอง ผา่ นเกณฑท์ ่ี กคศ. กําหนด และใช้กระบวนการ PLC มาดําเนินการพัฒนาขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กดิ จากกจิ กรรมการเรียน การสอนได้อย่างต่อเนอื่ ง 4. จุดควรพฒั นา 4.1 ควรเพิ่มและพัฒนาสือ่ ทเ่ี นน้ กระบวนการคิด ท่มี จี าํ นวนยังไมเ่ พียงพอและสอดคลอ้ งกบั การ พฒั นาเดก็ มากเทา่ ท่ีควร 4.2 ครูควรพฒั นารูปแบบการจัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ พฒั นาการเด็กทั้ง 4 ด้าน ใหโ้ ดดเด่นและมี คณุ ภาพ สามารถเปน็ นวัตกรรมหรือเป็นอย่างที่ดีของครูและของโรงเรียน 5. แผนพัฒนาเพ่อื ให้ได้มาตรฐานทส่ี งู ขนึ้ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 1 โครงการสง่ เสริมพฒั นาการทั้ง 4 ดา้ นของเด็กปฐมวัย แผนปฏิบตั งิ านที่ 2 โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย แผนปฏิบัตงิ านท่ี 3 โครงการส่งเสรมิ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สําคัญ แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 4 โครงการพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี นอยา่ งรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏบิ ัติงานที่ 5 โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ทั้งในและนอกสถานศกึ ษา แผนปฏิบตั ิงานที่ 6 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 7 โครงการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยกระบวนการ PLC

19    ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มาตรฐานการศึกษา : ดี ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ด ี ดี  มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ด ี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สําคญั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน ระดบั คณุ ภาพ : ดี 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาํ เนินงานโครงการพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผ้เู รียน ตลอดปีการศึกษา 2563 ดว้ ย การดําเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA เพื่อสง่ เสรมิ ความสามารถของผูเ้ รียนในด้านการอ่าน การเขียน การ สอ่ื สาร การคดิ คํานวณ ใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ สามารถ แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มคี วามสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐานและเจตคติท่ีดตี อ่ อาชพี 1.2 การดําเนินงานโครงการสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน ตลอดปีการศกึ ษา 2563 ด้วยการดําเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA เพอื่ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ีตามที่ สถานศกึ ษากาํ หนด มคี วามภาคภูมใิ จในท้องถิน่ และความเป็นไทย การยอมรับที่จะอย่รู ่วมกันบนความแตกตา่ ง และหลากหลาย และการมสี ขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม 2. ผลการดําเนนิ งาน 2.1 ผู้เรยี นมที กั ษะในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคดิ คาํ นวณตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษา กําหนดในแต่ละระดบั ชน้ั ทุกระดบั ชั้น 2.2 ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการคดิ จาํ แนกแยกแยะ ใครค่ รวญไตรต่ รอง พจิ ารณาอย่างรอบคอบ โดย ใชเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สินใจ มกี ารอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแก้ปญั หาอย่างมีเหตุผล 2.3 ผเู้ รียนมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดท้ ้ังดว้ ยตนเองและการทํางานเป็นทมี เชอ่ื มโยงองค์ ความรู้และประสบการณม์ าใชใ้ นการสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหมๆ่ จากการทําโครงงาน โครงการ ตลอดจนการผลติ ชิน้ งานใหม่ๆ 2.4 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เพอ่ื การพฒั นาตนเองและ สงั คมในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทาํ งานอยา่ งสร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม รู้จกั นาํ สือ่ เทคโนโลยี โซเชียล มเี ดียมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการเรียนร้แู ละการสือ่ สาร 2.5 ผู้เรียนบรรลุและมคี วามก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาจากพ้นื ฐานเดิมในด้าน ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะกระบวนการต่างๆ 2.6 ผเู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐานในการจดั การ มีเจตคติทดี่ ีพรอ้ มที่จะศึกษาในระดับช้นั ท่สี งู ขึ้น และ มเี จตคตทิ ีด่ ีตอ่ การทํางานและการประกอบอาชีพสุจริต โดยนักเรยี นช้นั ป.6 และ ม. 3 เรยี นต่อในชั้นท่สี ูงขนึ้ ครบรอ้ ยละ 100

20    2.7 ผู้เรียนมพี ฤติกรรมทเี่ ป็นผทู้ ่มี ีคณุ ธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกตกิ า มคี า่ นิยมและจติ สาํ นกึ ตามท่ี สถานศึกษากําหนด โดยไม่ขัดกบั กฎหมายและวัฒนธรรมอันดงี ามของสังคม 2.8 ผเู้ รยี นมคี วามภาคภมู ใิ จในท้องถน่ิ เหน็ คุณคา่ ความเปน็ ไทย มสี ่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทยรวมท้ังภูมปิ ญั ญาไทย เชน่ การเขา้ ร่วมบญุ ประเพณขี องหม่บู ้าน การอนุรักษภ์ มู ิปญั ญา การแสดง ศลิ ปะการฟ้อนรํา เป็นตน้ 2.9 ผเู้ รยี นยอมรับและอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลในดา้ น เพศ วยั เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 2.10 ผเู้ รียนมกี ารรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ อารมณแ์ ละสังคม และแสดงออกอยา่ งเหมาะสมใน แตล่ ะชว่ งวยั สามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผอู้ ื่น ไมม่ ีความขัดแยง้ กบั ผู้อ่ืน 3. จุดเด่น 3.1 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สารและการคดิ คํานวณ สูงกว่าเป้าหมายท่ี สถานศกึ ษากาํ หนด 3.2 ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษาสงู กว่าเป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษากําหนด 3.3 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณอภปิ รายแลกเปลยี่ นความ คดิ เหน็ โดยใช้เหตุผลประกอบการาตัดสนิ ใจ และแก้ปัญหาได้ 3.4 ผู้เรียนมคี วามสนใจในการสร้างนวตั กรรมจากการท่ีไดเ้ รียนรูใ้ นช้นั เรยี น 3.5 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพอื่ พัฒนาตนเอง และสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสารและการทํางาน 3.6 ผูเ้ รียนมีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทีด่ ีพรอ้ มท่จี ะศึกษาตอ่ ในระดับท่ีสูงขน้ึ และการทาํ งาน หรอื อาชพี สุจริต 3.7 ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทด่ี สี งู กวา่ เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาํ หนด 4. จุดควรพัฒนา 4.1 ควรสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมีความรคู้ วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม โดยให้มีการนาํ ไปใชแ้ ละ เผยแพรด่ ้วย 4.2 ควรพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนและผลการทดสอบระดับชาตใิ หม้ คี า่ เฉลี่ยสงู ขึน้ หรอื สูงกว่า ระดับประเทศทุกกลมุ่ สาระ 5. แผนพฒั นาเพือ่ ให้ได้มาตรฐานทสี่ งู ขน้ึ แผนปฏิบตั ิงานที่ 1 โครงการพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 2 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 3 โครงการพัฒนาครแู ละบคุ ลากร แผนปฏิบัตงิ านที่ 4 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีเออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 4 โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการเรยี นรู้ แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 5 โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สําคัญ แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 6 โครงการพัฒนาวชิ าการท่เี นน้ คุณภาพผู้เรยี นอยา่ งรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา แผนปฏิบัตงิ านที่ 7 โครงการขบั เคลอื่ นคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยกระบวนการ PLC แผนปฏบิ ัติงานท่ี 8 โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรทู้ ัง้ ในและนอกสถานศึกษา

21    มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดบั คณุ ภาพ : ดี 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การกําหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ กําหนดโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน กําหนด ผูร้ บั ผดิ ชอบงานอย่างชัดเจน มกี ารกาํ หนดแผนยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั นาการศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจําปี การศึกษาทผ่ี ่านการเห็นชอบและได้รบั การรับรองจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มีการดาํ เนนิ งาน ตามแผน การนิเทศ กํากบั ติดตาม อย่างต่อเนื่อง กาํ หนดวิธกี ารและเคร่ืองมือประเมินการดําเนนิ งานอย่าง เหมาะสม ตลอดจนสรุปผล รายงานผลการดําเนินงานตามแผนท่กี าํ หนดไว้ นําผลสรปุ จากการดาํ เนินงานไป พฒั นาและปรบั ปรงุ การดําเนินงานเพื่อประสทิ ธิภาพทีด่ ขี องการดําเนินงานอยูเ่ สมอ และทาํ การเผยแพรผ่ ลการ ดําเนนิ งานต่อสาธารณชนเป็นลําดับตอ่ ไป และมีการนําชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนางาน พัฒนาระบบการบริหารงานดว้ ย 1.2 การนาํ ระบบวงจรคุณภาพเดมมิง่ (PDCA) มาใชเ้ ปน็ กระบวนการในการดาํ เนนิ งานโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน โดยใช้รปู แบบการบริหารงาน 3 ป. 4 ร่วม เน้นการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนทม่ี ีสว่ นได้ สว่ นเสียใน การจดั การศึกษาให้เข้ามา รว่ มคดิ ร่วมปฏบิ ตั ิ รว่ มประเมินผลและรว่ มช่ืนชม (4 รว่ ม) โดยผ่านการดําเนินงาน โดยใช้กลยุทธ์ 3 ป. ได้แก่ ปรบั ปรุงสถานศึกษาให้น่าอยู่ ปรับปรุงครสู มู่ าตรฐาน และปรับปรุงคุณภาพ การศกึ ษาสคู่ ณุ ภาพ โดยมีเป้าหมายท่ี คณุ ภาพนกั เรยี น คณุ ภาพครู คณุ ภาพผู้บริหาร และคุณภาพโรงเรียน 1.3 การดาํ เนินงานโครงการพัฒนาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ นตามหลกั สูตร สถานศึกษา เพอื่ พัฒนาหลกั สูตรการจัดการเรียนการสอน กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รที่เนน้ ผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ น เชอื่ มโยงวิถีชีวิตจริง ครอบคลมุ ทุกกล่มุ เปา้ หมาย 1.4 การดําเนินงานโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรียน เพอื่ สง่ เสริม สนับสนุน พฒั นาครู บุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญในวิชาชีพ และจดั ใหม้ ีชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพมาใช้ในการพฒั นา งานและการเรยี นร้ขู องผ้เู รยี น 1.5 การดําเนินงานโครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ เพ่อื พฒั นาสภาพแวดล้อมทเ่ี อือ้ ต่อการจัดการเรียนรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ และมีความปลอดภัย 1.6 การดําเนินงานโครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและ การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการเรียนรทู้ ่ีเหมาะสม กับสภาพของสถานศึกษา 2. ผลการดําเนินงาน 2.1 สถานศึกษากาํ หนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ สถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถิน่ วัตถปุ ระสงคข์ องแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้น สังกัด รวมท้ังการเปลี่ยนแปลงของสงั คม 2.2 สถานศกึ ษาสามารถบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ ทงั้ ในสว่ นการวางแผน พัฒนาคณุ ภาพการศึกษามกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและปรับปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเน่ือง มกี าร บรหิ ารอตั รากาํ ลัง ทรพั ยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น มรี ะบบการนเิ ทศภายใน การนํา ข้อมูลมาใช้พฒั นาบุคลากรและผู้ท่เี ก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรงุ และพฒั นา และร่วม รับผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา

22    2.3 สถานศกึ ษาบริหารจัดการเกย่ี วกับงานวิชาการท้งั ดา้ นการพัฒนาหลักสตู ร กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร ท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนอยา่ งรอบด้าน ท่เี ชือ่ มโยงกบั วถิ ชี ีวติ จริงและครอบคลมุ ผู้เรยี นทกุ คนทกุ กลมุ่ ทัง้ เด็กปกติ และเด็กพเิ ศษ 2.4 สถานศกึ ษาส่งเสรมิ สนับสนนุ พัฒนาครู บคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญในวชิ าชพี และจดั ใหม้ ี ชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพมาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรยี นรู้ของผู้เรียน โดยครูทกุ คนผ่านการอบรมและ มชี ว่ั โมงการอบรมผา่ นตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กําหนด 2.5 สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ เพ่ือพัฒนา สภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ และมีความปลอดภัย 2.6 สถานศึกษาจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนนุ การบริหารจัดการและการเรียนรู้ เพ่ือ พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของ สถานศกึ ษา 3. จดุ เด่น 3.1 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากาํ หนดที่ชัดเจน สอดคล้องกับบรบิ ท ของสถานศกึ ษา ความตอ้ งการของชมุ ชน นโยบายของรฐั บาล แผนการศกึ ษาชาติ และเป็นไปได้ในการปฏบิ ตั ิ 3.2 สถานศึกษามรี ะบบการจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาทช่ี ดั เจน มีประสทิ ธิภาพ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมอื ของผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ย และมกี ารนาํ ข้อมูลมาพัฒนา งานอยู่เสมอ 3.3 สถานศึกษาดําเนินการพัฒนาวชิ าการท่ีเนน้ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบด้าน เช่ือมโยงกับชวี ิตจรงิ ตาม หลกั สตู รสถานศึกษา ครอบคลมุ ผู้เรียนทุกกล่มุ 3.4 สถานศึกษาพฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงกับความต้องการของครู และสถานศกึ ษา และจดั ใหม้ ชี ุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพมาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรูข้ องผเู้ รียน โดย ครูทุกคนผ่านการอบรมและมชี ่วั โมงการอบรมผ่านตามเกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ. กําหนด 3.5 สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การเรียนร้อู ย่างมีคณุ ภาพ และมคี วามปลอดภยั 3.6 สถานศกึ ษาจดั ระบบสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสม กบั สภาพของสถานศึกษา 4. จดุ ควรพฒั นา 4.1 ควรพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาทชี่ ัดเจน มีประสิทธภิ าพ สง่ ผลต่อคุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมอื ของผูเ้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย และให้มีการนําขอ้ มลู มาใชใ้ น การปรับปรงุ พฒั นางานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และสามารถพฒั นาให้เปน็ แบบอย่างทด่ี ีได้ 4.2 ควรพฒั นางานวิชาการให้มคี วามโดดเด่นเพมิ่ มากขึน้ จนสามารถเปน็ แบบบอย่างทดี่ ไี ด้ 4.3 ควรพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทงั้ ทางกายภาพและทางสงั คมใหห้ ลากหลาย เพียงพอ เหมาะสม และ เป็นปจั จุบัน อย่างต่อเนือ่ งเพิ่มขึน้ 5. แผนพัฒนาเพือ่ ให้ได้มาตรฐานทส่ี ูงขน้ึ แผนปฏิบตั งิ านท่ี 1 โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน แผนปฏบิ ัติงานที่ 2 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาคุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน

23    แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 3 โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากร แผนปฏิบตั งิ านท่ี 4 โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ แผนปฏบิ ัติงานท่ี 4 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจดั การและ การเรยี นรู้ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 5 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สําคญั แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 6 โครงการพฒั นาวชิ าการทเ่ี น้นคณุ ภาพผูเ้ รียนอย่างรอบด้านตามหลกั สตู ร สถานศึกษา แผนปฏิบัติงานที่ 7 โครงการขับเคลือ่ นคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยกระบวนการ PLC แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 8 โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ทงั้ ในและนอกสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาํ คญั ระดับคณุ ภาพ : ดี 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดําเนินโครงการสง่ เสริมและพฒั นากระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาํ คัญ เพื่อส่งเสรมิ ใหค้ รูจดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาํ ไปประยุกต์ ใชใ้ นชวี ิตได้ สง่ เสริมใหค้ รใู ช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ สง่ เสรมิ ให้ครใู ช้การบริหาร จัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผู้เรียน มกี าร แลกเปลยี่ นเรยี บรู้และใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้ 2. ผลการดาํ เนินงาน 2.1 ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั ของหลกั สตู รสถานศึกษาทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นได้ เรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง มแี ผนการจดั การเรียนรู้ทส่ี ามารถนําไปจัดกจิ กรรมได้จรงิ มรี ูปแบบ การจดั การเรยี นรเู้ ฉพาะสําหรบั เดก็ พเิ ศษ ผเู้ รียนไดฝ้ กึ ทักษะแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรปุ องค์ความรู้ นาํ เสนอผลงาน และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริงได้ 2.2 ครูมกี ารใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นมาใชใ้ นการจดั การ เรยี นรู้ โดยสรา้ งโอกาสให้ผ้เู รียนได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากสอ่ื ทหี่ ลากหลาย 2.3 ครผู ู้สอนมกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี น โดยเนน้ การปฏิสัมพันธเ์ ชิงบวก ใหเ้ ดก็ รกั ครู ครรู กั เดก็ และ เดก็ รักเดก็ เด็กรักทีจ่ ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรู้ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ 2.4 ครมู กี ารตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจัดการเรยี นรอู้ ย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใช้ เคร่ืองมอื และวิธีการวัดและประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกับเป้าหมายในการจดั การเรยี นรู้ และให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แก่ ผเู้ รียนเพอื่ นาํ ไปพฒั นาการเรียนรู้ 2.5 ครูและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องร่วมกันแลกเปลย่ี นความรู้และประสบการณ์ รวมทง้ั ใหข้ ้อมลู ปอ้ นกลับ เพอื่ นําไปใชป้ รับปรุงและพฒั นาการจัดการเรียนรู้ 3. จุดเดน่ 3.1 ผลจากการที่ครผู สู้ อนใชก้ ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ทาํ ให้เดก็ รักทจี่ ะเรยี นรู้ สามารถ เรยี นรูร้ ่วมกนั ได้อยา่ งมีความสขุ และเด็กมพี ฤติกรรมรกั ครู รักเพ่อื น รักโรงเรยี น 3.2 มีชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ครูเพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้

24    4. จุดควรพัฒนา 4.1 ควรพัฒนาจดั กจิ กรรมการเรียนรูต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ัดของหลักสูตรสถานศกึ ษาท่เี นน้ ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ ให้เปน็ รปู แบบที่สามารถเป็นแบบอย่างทด่ี ี หรอื เป็น นวตั กรรมของครหู รอื ของโรงเรยี นใหไ้ ด้ 4.2 ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี ครู ควรมีการเชญิ ผู้เกย่ี วข้องอ่ืนๆ เชน่ ศึกษานิเทศก์ หรือ ผูเ้ ชยี่ วชาญในดา้ นน้นั ๆ นอกโรงเรียน มาเปน็ ส่วนหน่ึงในชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพเพือ่ การแลกเปลย่ี น เรยี นร้แู ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับเพือ่ พัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนร้ทู ม่ี คี วามหลากหลายมากยิง่ ขน้ึ 5. แผนพฒั นาเพ่อื ใหไ้ ด้มาตรฐานทสี่ ูงขน้ึ แผนปฏิบัตงิ านที่ 1 โครงการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รียน แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 2 โครงการสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 3 โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากร แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 4 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อือ้ ต่อการจัดการเรียนร้อู ยา่ งมีคณุ ภาพ แผนปฏิบตั ิงานที่ 4 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและ การเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 5 โครงการสง่ เสริมและพฒั นากระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็น สาํ คญั แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 6 โครงการพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผเู้ รียนอยา่ งรอบด้านตามหลักสูตร สถานศกึ ษา แผนปฏิบตั งิ านที่ 7 โครงการขับเคลือ่ นคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยกระบวนการ PLC แผนปฏิบัติงานที่ 8 โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอกสถานศึกษา

25    สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล และแนวทางการพฒั นา ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาํ คญั ทสี่ ถานศกึ ษาจะตอ้ งนาํ ไป วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เพอื่ สรุปนําไปสูก่ ารเชอ่ื มโยงหรือสะทอ้ นภาพความสาํ เร็จกบั แผนพัฒนาการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษา (3-5 ปี) และนาํ ไปใช้ในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ดงั นน้ั จากผลการดาํ เนินงานของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จดุ ควร พฒั นาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมท้งั แนวทางการพฒั นาเพือ่ ให้ได้มาตรฐานท่สี งู ขน้ึ ดังนี้ จดุ เด่น จุดควรพัฒนา คณุ ภาพของเดก็ คณุ ภาพของเด็ก 1) เด็กมีพฒั นาการด้านรา่ งกายสมวัย มีนํา้ หนัก ส่วนสูง ตาม 1) สอื่ ที่สง่ เสรมิ พฒั นาการด้านร่างกาย ได้แก่ เกณฑ์สมวยั รา่ งกายแข็งแรง เคลอื่ นไหว ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ สนามเด็กเลน่ อปุ กรณ์ เครื่องเล่นสนามชํารุด ทรดุ กล้ามเนอื้ ใหญแ่ ละกลา้ มเนอ้ื เล็ก ประสาทสมั พันธก์ ันดี เดก็ มี โทรม บางอย่าง แตกหกั มสี ภาพทีไ่ ม่ปลอดภยั พฒั นาการดา้ นอารมณ์ –จติ ใจ สมวยั สามารถแสดงออกทาง ควรไดร้ ับการปรับปรุง และจัดหามาเพม่ิ เติม อารมณ์ ได้อย่างเหมาะสมกบั กาละเทศ มคี วามรู้สึกท่ีดตี อ่ ตนเอง และผอู้ น่ื 2) เดก็ มพี ฒั นาการด้านสงั คมสมวัย มีทักษะชีวติ และปฏิบัตติ น 2) ควรเพิม่ การมสี ่วนรว่ มของพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียง มีวนิ ัยในตนเอง รกั ธรรมชาติ ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝา่ ยทเี่ กยี่ วข้องในการ สง่ิ แวดล้อมและอนรุ กั ษส์ ่ิงที่เปน็ สาธารณะสมบตั สิ ่วนรวม มี ส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ มารยาทตามวฒั นธรรมไทยยม้ิ งา่ ยไหวส้ วยรู้จกั ทักทายผู้มาเยอื น 3) เด็กมพี ฒั นาการด้านสติปัญญาสมวยั มคี วามกลา้ แสดงออก 3) ควรเพิ่มความต่อเนือ่ งของการจดั ประสบการณ์ ท้งั ทางดา้ นการใชท้ ่าทาง คาํ พดู การปฏบิ ตั ิสัมพนั ธ์ การใช้สือ่ การเรยี นร้ตู ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และการ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง ดาํ เนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเสริมใน 4) มีการจดั ประสบการณ์การเรียนรตู้ ามหลกั สตู รสถานศึกษา การพัฒนาผู้เรียน และมแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเสรมิ ในการพฒั นาผเู้ รียนอยา่ ง เป็นระบบ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1) โรงเรยี นมีหลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้อง ควรตรวจสอบ พฒั นา และปรบั ปรุงสอ่ื ตาม กับบริบททอ้ งถน่ิ และมีการประเมินการใชห้ ลกั สูตรทุกปี มุมประสบการณ์และส่อื ในกจิ กรรม การศึกษา กลางแจ้งท่ชี ํารุด และซ่อมแซมให้ใชใ้ นการงาน ได้และมี ความปลอดภยั กับนักเรียน

26    ระดับปฐมวยั .....สรุปผล   จุดเด่น จุดควรพฒั นา 2) ครไู ด้พัฒนาตนเองคอื เขา้ รับการอบรมพฒั นา เพื่อให้ครไู ด้ 2) ควรพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การคุณภาพของ พัฒนาศักยภาพท่ีจะนํามาจดั ประสบการณส์ าํ หรบั เดก็ และเพอ่ื สถานศึกษาใหส้ ง่ ผลตอ่ คุณภาพการจดั การศกึ ษา เพิม่ สมรรถนะในการประกอบวิชาชีพระดบั สูงต่อไป มากยง่ิ ข้ึน จนกลายเปน็ แบบอย่างทดี่ ี หรือ 3) มกี ารจัดมมุ ประสบการณ์อย่างนอ้ ย 4 มมุ ใชส้ อ่ื และ นวัตกรรมการบรหิ ารของสถานศกึ ษาได้ เทคโนโลยี และเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ตในการ 3)ในปกี ารศึกษา 2563 ได้รบั จดั สรรครวู กิ ฤตเิ อก ทาํ กจิ กรรม สภาพแวดลอ้ มมีความปลอดภยั ปฐมวัยมาเพม่ิ และควรจดั หาครูมีวฒุ ิการศกึ ษา 4) โรงเรียนเข้าโครงการบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ยแห่งประเทศ จบการศกึ ษาปริญญาตรี สาขาปฐมวยั มาใหค้ รบ ไทยตัง้ แต่ปี 2550 ถงึ ปจั จบุ นั ได้รบั ตราพระราชทานคงสภาพ ชนั้ เรยี น เป็นครง้ั ท่ี 2 ไดพ้ ฒั นาการจัดการเรียนรู้เป็นผเู้ รยี นเปน็ สาํ คญั เน้นการปฏบิ ตั ิสเู่ ดก็ นกั เรยี น 5) โรงเรียนประชุมผูป้ กครอง อยา่ งนอ้ ย ปีละ 2 ครั้ง และใช้ ไลน์ กลุ่ม ผู้ปกครองแตล่ ะชน้ั เพ่อื ตดิ ต่อส่ือสารกบั ผปู้ กครอง มีระบบ บริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผู้เกยี่ วข้อง มสี ่วนรว่ ม การปฏิบัตงิ านที่ส่งผลตอ่ คุณภาพมาตรฐานของ สถานศึกษา การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเปน็ สาํ คญั การจัดประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสาํ คญั 1) ครูรจู้ กั เด็กเปน็ รายบคุ คลและจัดกจิ กรรมที่สาสามารถสง่ เริม 1) ควรเพม่ิ และพัฒนาสือ่ ท่เี นน้ กระบวนการคิด ทม่ี ี พฒั นาการได้ครอบคลมุ ทง้ั 4 ดา้ นอยา่ งเปน็ องค์รวม และ จํานวนยงั ไมเ่ พียงพอและสอดคลอ้ งกบั การพัฒนา คํานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลดว้ ย เด็กมากเทา่ ทค่ี วร 2) ครูมกี ารจัดประสบการณ์ท่ีเชื่อมโยงกับประสบการณเ์ ดิม ให้ 2) ครคู วรพฒั นารปู แบบการจดั ประสบการณท์ ่ี เดก็ มีโอกาสเลอื กทาํ กิจกรรมอสิ ระตามความตอ้ งการ เด็กได้ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กท้ัง 4 ดา้ น ให้โดดเด่นและมี เรยี นรอู้ ย่างมคี วามสขุ ผ่านการเลน่ จากกิจกรรม ท่คี รอู อกแบบ คณุ ภาพ สามารถเป็นนวัตกรรมหรอื เป็นอยา่ งทดี่ ี 3) จดั แหล่งเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย เด็กได้เลือกเลน่ เรียนรู้ ลงมอื ของครแู ละของโรงเรยี น และสร้างองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง 4) ครจู ัดหอ้ งสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มพี ืน้ ทแี่ สดงผล งานเด็ก พ้นื ท่สี ําหรับมมุ ประสบการณแ์ ละครูใช้สือ่ ห้องเรียนมี ป้ายนเิ ทศ มสี อ่ื และเทคโนโลยี มคี อมพิวเตอร์ ทีวี สือ่ ของเล่นที่ กระต้นุ ให้คิดและหาคาํ ตอบ

27    จุดควรพฒั นา จดุ เดน่ 5) ครปู ระเมินพฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและกจิ วตั ร ประจาํ วันดว้ ยเครื่องมือและวิธีการท่หี ลากหลาย ไมใ่ ช้ แบบทดสอบ เนน้ การประเมินจากสภาพจรงิ จากกิจกรรมที่ เด็กปฏบิ ัติในกิจกรรมประจําวัน วเิ คราะห์ผล การประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยผู้ปกครองและผู้เกยี่ วข้องมีส่วนรว่ ม และ นาํ ผลการประเมนิ ไปพฒั นาเด็กและแลกเปลยี่ นเรียนรู้ 6) ครู จาํ นวนรอ้ ยละ 100 เขา้ รบั การพฒั นาตนเองและมี ช่วั โมงการพัฒนาตนเอง ผ่านเกณฑท์ ่ี กคศ. กําหนด และใช้ กระบวนการ PLC มาดาํ เนินการพฒั นาขับเคลอ่ื นการแก้ไข ปญั หาท่เี กดิ จากกิจกรรมการเรยี นการสอนได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง แผนพัฒนาเพอื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานทส่ี ูงขน้ึ แผนปฏิบตั งิ านท่ี 1 โครงการส่งเสรมิ พฒั นาการทั้ง 4 ดา้ นของเด็กปฐมวยั แผนปฏิบัตงิ านที่ 2 โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย แผนปฏิบตั ิงานท่ี 3 โครงการสง่ เสรมิ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาํ คญั แผนปฏบิ ัติงานท่ี 4 โครงการพฒั นาวชิ าการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผ้เู รียนอย่างรอบดา้ นตามหลักสตู ร สถานศึกษา แผนปฏิบัติงานท่ี 5 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนร้ทู ง้ั ในและนอกสถานศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 6 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ต่อการจัดการเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 7 โครงการขับเคล่อื นคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยกระบวนการ PLC

28    ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ..... สรปุ ผล จุดเดน่ จดุ ควรพัฒนา คุณภาพของเดก็ คุณภาพของเดก็ 1) ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร 1) ควรสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี วามรคู้ วามสามารถ และการคดิ คํานวณ สงู กว่าเปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษากําหนด ในการสร้างนวตั กรรม โดยใหม้ ีการนาํ ไปใช้ 2) ผเู้ รยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา และเผยแพรด่ ว้ ย สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาํ หนด มีผลสอบ NT , RT 2) ควรพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและผล ,O-NET สูงกวา่ ปกี ารศึกษาที่ผา่ นมา การทดสอบระดับชาตใิ ห้มคี ่าเฉล่ียสงู ขน้ึ หรอื 3) ผูเ้ รียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมี สูงกว่าระดับประเทศทกุ กลมุ่ สาระ วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ โดยใช้เหตผุ ล ประกอบการาตดั สินใจ และแก้ปัญหาได้ 4) ผูเ้ รยี นมคี วามสนใจในการสรา้ งนวัตกรรมจากการทไ่ี ด้ เรยี นรใู้ นชน้ั เรยี น 5) ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การส่อื สารและการทาํ งาน 6) ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ดี พี รอ้ มที่จะ ศึกษาตอ่ ในระดับท่สี ูงขึ้น และการทํางานหรืออาชีพสุจริต 7) ผู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีสงู กวา่ เป้าหมายท่ี สถานศกึ ษากําหนด กระบวนการบริหารและการจดั การ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1) สถานศึกษามเี ป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจที่ 1) ควรพฒั นาระบบการจัดการคุณภาพของ สถานศึกษากําหนดทช่ี ัดเจน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ สถานศกึ ษาทีช่ ดั เจน มปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลต่อ สถานศึกษา ความตอ้ งการของชุมชน นโยบายของรัฐบาล คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ แผนการศึกษาชาติ และเปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบัติ สถานศึกษา โดยความรว่ มมือของผู้เกี่ยวขอ้ ง 2) สถานศึกษามีระบบการจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาท่ี ทกุ ฝ่าย และให้มกี ารนาํ ข้อมลู มาใชใ้ นการ ชดั เจน มปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน ปรับปรุง พฒั นางานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง และ การศกึ ษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมือของผู้เกย่ี วขอ้ ง สามารถพัฒนาใหเ้ ป็นแบบอย่างที่ดไี ด้ ทุกฝ่าย และมกี ารนาํ ข้อมลู มาพฒั นางานอยู่เสมอ 2) ควรพัฒนางานวิชาการให้มีความโดดเด่น 3) สถานศกึ ษาดําเนนิ การพัฒนาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพ เพ่มิ มากขนึ้ จนสามารถเปน็ แบบบอย่างทดี่ ไี ด้ ผู้เรียนรอบดา้ น เช่อื มโยงกบั ชีวติ จรงิ ตามหลกั สตู ร สถานศึกษา ครอบคลุมผ้เู รยี นทุกกลุ่ม

29    จดุ เดน่ จุดควรพัฒนา 4) สถานศกึ ษาพฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญ 3) ควรพฒั นาสภาพแวดลอ้ มท้งั ทางกายภาพ ทางวชิ าชพี ตรงกบั ความต้องการของครแู ละสถานศกึ ษา และ และทางสงั คมให้หลากหลาย เพียงพอ จัดให้มีชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นางาน เหมาะสม และเปน็ ปจั จุบนั อยา่ งตอ่ เนื่อง และการเรียนรขู้ องผู้เรยี น โดยครทู ุกคนผา่ นการอบรมและมี เพม่ิ ขน้ึ ชัว่ โมงการอบรมผา่ นตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กําหนด 5) สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ี เอื้อต่อการจดั การเรียนรู้อย่างมคี ณุ ภาพและมคี วามปลอดภยั 6) สถานศกึ ษาจดั ระบบสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ าร จดั การและการจดั การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของ สถานศึกษา การจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเปน็ สาํ คญั การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เดก็ เป็นสาํ คญั 1) ผลจากการท่ีครูผสู้ อนใชก้ ารบริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ 1) ควรพฒั นาจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ าม บวก ทาํ ให้เด็กรักทจี่ ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกันได้อยา่ งมี มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตร ความสขุ และเดก็ มีพฤตกิ รรมรกั ครู รักเพื่อน รักโรงเรียน สถานศึกษาทเ่ี นน้ ผู้เรยี นได้เรียนรูผ้ า่ น กระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ ให้เปน็ รูปแบบ ที่สามารถเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี หรอื เปน็ นวัตกรรมของครหู รอื ของโรงเรยี นใหไ้ ด้ 2) มชี ุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพครเู พ่ือพัฒนาและ 2) ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพครู ควรมี ปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ การเชญิ ผเู้ กีย่ วขอ้ งอ่ืนๆ เช่น ศกึ ษานเิ ทศก์ หรอื ผเู้ ช่ยี วชาญในดา้ นนัน้ ๆ นอกโรงเรยี น มา เปน็ สว่ นหนงึ่ ในชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ เพอ่ื การแลกเปลยี่ นเรยี นร้แู ละใหข้ ้อมูล สะทอ้ นกลบั เพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การ จัดการเรียนรู้ทมี่ ีความหลากหลายมากยิ่งข้นึ แผนพฒั นาเพอื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานทส่ี ูงขนึ้ แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 1 โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 2 โครงการส่งเสริมและพฒั นาคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รยี น แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 3 โครงการพัฒนาครแู ละบคุ ลากร แผนปฏบิ ัติงานที่ 4 โครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมทเี่ อ้อื ต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมีคุณภาพ แผนปฏิบตั งิ านท่ี 4 โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจดั การและการเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 5 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็น สาํ คญั แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 6 โครงการพฒั นาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ นตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏิบตั ิงานท่ี 7 โครงการขบั เคลือ่ นคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏิบตั ิงานที่ 8 โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรทู้ ัง้ ในและนอกสถานศกึ ษา

30    ส่วนท่ี 4 ภาคผนวก - ประกาศโรงเรียนชุมชนบ้านโพธต์ิ าก เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย และ ระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน - มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั - แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโพธิ์ตากเรื่อง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั และระดับ การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ฉบบั ลงวันท่ี 24 สิงหาคม 2563 - มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน - แนบท้ายประกาศโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโพธต์ิ าก เรอ่ื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ฉบบั ลงวันท่ี 24 สิงหาคม 2563 - ประกาศโรงเรียนชุมชนบา้ นโพธติ์ าก เรื่อง คา่ เปา้ หมายมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั และระดับขนั้ พน้ื ฐาน เพือ่ การประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษา - คาํ สงั่ โรงเรียนชมุ ชนบ้านโพธิ์ตาก ที่ 63 / 2563 เรอ่ื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพ ภายในของสถานศกึ ษา โรงเรยี นชุมชนบ้านโพธิ์ตาก ปกี ารศึกษา 2563 ระดับปฐมวยั และระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน - รอ่ งรอยหลกั ฐานประเด็นการประเมนิ ตามมาตรฐาน - แบบสรปุ การเขา้ รับการอบรมของขา้ ราชการครูโรงเรยี นชุมชนบา้ นโพธิ์ตาก - แบบสรปุ ผลงาน-กิจกรรม - บนั ทึกการใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานประจาํ ปี ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

31    ประกาศโรงเรียนชุมชนบ้านโพธต์ิ าก เร่อื ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั และ ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ………………………………………………… โดยที่มีประกาศใชก้ ฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษาในทศวรรษท่สี องทก่ี าํ หนดเปา้ หมายและยุทธศาสตร์ในการพฒั นา คุณภาพคนไทยและการศกึ ษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายใหป้ ฏิรูประบบการประเมินและการประกัน คณุ ภาพทัง้ ภายในและภายนอกของทกุ ระดบั กอ่ นจะมีการประเมินคุณภาพในรอบตอ่ ไป จาํ เป็นต้องปรับปรงุ มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานให้สอดคลอ้ งกนั จงึ ยกเลิกประกาศโรงเรียนชมุ ชนบา้ นโพธิ์ตากเรอื่ งให้ใช้ มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ลงวนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2560 พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทีแ่ กไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 มาตรา 9(3) ได้กําหนดการจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจดั การศกึ ษา ใหย้ ึดหลักท่สี ําคญั ข้อหนึ่งคือมกี าร กาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษา และจดั ระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาทุกระดบั และประเภทการศกึ ษา โดย มาตรา 31 ให้กระทรวงมอี ํานาจหน้าทีก่ ํากับดแู ลการศกึ ษาทุกระดับ และทกุ ประเภท กาํ หนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา และมาตรา 48 ใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั และสถานศกึ ษาจัดใหม้ รี ะบบประกนั คุณภาพ ภายในสถานศึกษา และใหถ้ อื วา่ การประกันคณุ ภาพภายในเปน็ ส่วนหน่งึ ของการบรหิ ารการศึกษาทต่ี ้อง ดําเนนิ การอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยมกี ารจัดทาํ รายงานประจาํ ปเี สนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้อง และเปดิ เผยตอ่ สาธารณชน เพ่ือนไปสูก่ ารพฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาและเพอื่ รองรบั การประกนั คุณภาพภายนอก ฉะนนั้ อาศัยอาํ นาจความในมาตรา 5 มาตรา 9(3) มาตรา 31 และมาตรา 48 แหง่ พระราชบัญญตั ิ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ประกอบกบั มติคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ในการประชมุ ครง้ั ท่ี 5/2561 เมื่อวนั ศกุ ร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 รัฐมนตรวี า่ การ กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ประกาศใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน และระดับ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ เพือ่ เปน็ หลกั ในการเทยี บเคยี งสําหรบั สถานศกึ ษา หน่วยงานต้น สงั กัด และสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ประกอบกบั มติคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรยี นชุมชน บ้านโพธิต์ ากในการประชุมคร้ังที่ 8 /2563 เม่ือวันท่ี 21 สงิ หาคม 2563 จึงประกาศใหใ้ ช้มาตรฐาน การศึกษาระดบั ปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี น ชุมชนบ้านโพธิ์ตากในการพฒั นา สง่ เสริม สนบั สนุน กํากับดูแลและตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ตาม เอกสารแนบทา้ ยประกาศฉบบั น้ี ประกาศ ณ วนั ที่ 24 สิงหาคม 2563 (นายชยั ณรงค์ วงศส์ งา่ ) ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นชุมชนบา้ นโพธิต์ าก

32    มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย แนบท้ายประกาศโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโพธต์ิ ากเรือ่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ฉบบั ลงวนั ท่ี 24 สงิ หาคม 2563 ………………………………………………………………………….. มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย พ.ศ. 2563 เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรียนชมุ ชน บ้านโพธิต์ ากมีจาํ นวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เป็นสําคัญ แตล่ ะมาตรฐาน มรี ายละเอียด ดงั นี้ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ 1.1 มีพฒั นาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัยทด่ี ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ 1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 1.3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คม 1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสติปญั ญา ส่อื สารได้ มที ักษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ 1.5 มพี ฤติกรรมท่ีพึงประสงคต์ ามคุณธรรมเปา้ หมายของสถานศกึ ษา 1.6 มพี ฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคต์ ามอตั ตลักษณข์ องสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มหี ลักสูตรครอบคลมุ ทง้ั 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถนิ่ 2.2 จัดครูให้เพยี งพอกบั ช้นั เรียน 2.3 สง่ เสริมใหค้ รูมคี วามเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพ่อื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ 2.5 ให้บริการสื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอ่ื การเรียนรู้เพ่อื สนับสนุนการจัด ประสบการณ์ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปิดโอกาสใหม้ ีผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเปน็ สาํ คญั 3.1 จดั ประสบการณท์ ่ีสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทกุ ดา้ น อยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสขุ 3.3 จัดบรรยากาศทเ่ี ออื้ ต่อการเรียนรู้ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนําผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ไปปรบั ปรุง การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

33    มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนชุมชนบา้ นโพธต์ิ าก เรือ่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั และระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ฉบับลงวันที่ 24 สงิ หาคม 2563 ………………………………………………………………………….. มาตรฐานการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. 2563 เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรียนบ้าน มี จํานวน 3 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รียน 1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สําคญั แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียด ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รยี น 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผ้เู รยี น 1) ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สารและการคิดคาํ นวณตาม เกณฑข์ องแตล่ ะระดบั ชนั้ 2) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปญั หา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ช้นั 4) มีความสามารถในการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเหมาะสมตามวัย 5) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา 6) มีผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET ช้นั ป.6 มพี ัฒนาการสงู ขึน้ 7) มีความรทู้ ักษะพ้นื ฐาน และเจตคติท่ดี ีต่องานอาชพี 1.2 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น 1) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทีด่ ตี ามที่สถานศกึ ษากําหนด 2) มพี ฤติกรรมท่พี งึ ประสงค์ตามคณุ ธรรมเปา้ หมายของสถานศกึ ษา 3) มพี ฤตกิ รรมท่ีพึงประสงคต์ ามอตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา 4) ความภมู ิใจในทอ้ งถ่นิ และความเป็นไทย 5) การยอมรับทีจ่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 6) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา 2.1 การมีเป้าหมาย วสิ ัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากําหนดอย่างชัดเจน 2.2 ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 2.3 ดาํ เนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่ีเนน้ คณุ ภาพของผู้เรียนรอบด้าน ตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา ทกุ กลุ่มเป้าหมาย และดาํ เนนิ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม 2.4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

34    2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อื้อต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาํ คญั 3.1 จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสารมารถนาํ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้ 3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 3.3 มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนําผลมาพฒั นาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลับเพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การ เรยี นรู้

35    ประกาศโรงเรียนชมุ ชนบ้านโพธิ์ตาก เรอื่ ง คา่ เปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั และระดบั ข้นั พน้ื ฐาน เพื่อการประกันคณุ ภาพ ภายในสถานศึกษา ………………………………………………… อาศัยอํานาจความในมาตรา 5 มาตรา 9(3) มาตรา 31 และมาตรา 48 แหง่ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2561 และประกาศสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั ิการดําเนินงานประกนั คณุ ภาพการศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี 16 สิงหาคม 2561 ประกอบกับมติคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานโรงเรียนชมุ ชนบ้านโพธติ์ าก ในการ ประชมุ ครัง้ ที่ 2/2563 เม่อื วันที่ 24 สงิ หาคม 2563 จงึ ประกาศคา่ เป้าหมายมาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน เพอื่ การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนชมุ ชนบา้ นโพธิต์ ากในการพฒั นา สง่ เสริม สนบั สนนุ กาํ กบั ดูแลและตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา ดงั นี้ ระดบั ปฐมวัย มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ เป้าหมาย มาตรฐาน/ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ประเดน็ การ 1.1 มีการพฒั นาดา้ นร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัยของ พจิ ารณา ตนเองได้ 1.2 มกี ารพัฒนาดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ ดเี ลศิ 1.3 มีการพฒั นาการด้านสังคม ช่วยแหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสังคม ดเี ลศิ 1.4 มพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มที กั ษะการคดิ พื้นฐานและแสวงหาความร้ไู ด้ 1.5 มีพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค์ตามคณุ ธรรมเปา้ หมายของสถานศกึ ษา ดีเลิศ  1.6 มพี ฤติกรรมทพี่ ึงประสงคต์ ามอัตลักษณข์ องสถานศกึ ษา ดีเลศิ   มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจัดการ ดเี ลิศ  2.1 มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบท ดเี ลศิ   ของทอ้ งถน่ิ ดเี ลิศ  2.2 จัดครูให้เพยี งพอกบั ชน้ั เรยี น ยอดเย่ยี ม  2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู ีความเชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ดีเลศิ   2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพอื่ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ 2.5 ให้บริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การเรยี นรเู้ พ่ือสนับสนนุ การจดั ดเี ลศิ   ดีเลศิ   ดีเลิศ  ดีเลศิ  

  36  ประสบการณ์ ดเี ลศิ   2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู กีย่ วข้องทุกฝ่ายมีสว่ นร่วม ดเี ลศิ   มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเปน็ สาํ คญั ดเี ลศิ   3.1 จัดประสบการณท์ สี่ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมกี ารพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพ ดีเลิศ  3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติอยา่ งมคี วามสขุ ดีเลิศ  3.3 จัดบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรียนรใู้ ชส้ อื่ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วัย ดีเลศิ   3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงแลละนําผลประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรุง การจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก ดีเลศิ   สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา การกําหนดค่าเป้าหมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมนิ ต่าง ๆ ทผี่ า่ นมา เพื่อเป็นข้อมลู ฐานในการกาํ หนดคา่ เป้าหมาย 2. การกําหนดคา่ เปา้ หมาย แตล่ ะมาตรฐาน ควรกําหนดเป็น ระดับคณุ ภาพ 5 ระดับ เพื่อให้สอดคลอ้ งกับการประเมนิ ดังนี้ ระดบั ยอดเยีย่ ม ระดบั ดเี ลศิ ระดบั ดี ระดบั ปานกลาง ระดบั กาํ ลงั พฒั นา 3. การกําหนดค่าเปา้ หมาย ในแต่ละประเดน็ พิจารณา จะกาํ หนดเปน็ ระดบั คุณภาพ หรือ เปน็ รอ้ ยละ ตามความเหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา

  37  ระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ค่าเปา้ หมาย มาตรฐาน/ มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ประเดน็ การ พจิ ารณา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน ดิ ดิ 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สารและการคดิ คาํ นวณ ดี 2) มคี วามสามารถในการวิเคราะห์และคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย ดี แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ด ี 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร ด ี 5) มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ด ี 6 ) มผี ลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET ช้นั ป.6 มพี ัฒนาการสงู ขึ้น ด ี 7) ) มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชพี ด ี 1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น ด ี 1) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ตี ามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด ด ี 2) มพี ฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ตามคุณธรรมเปา้ หมายของสถานศึกษา ด ี 3) มีพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงคต์ ามอตั ลักษณข์ องสถานศึกษา ด ี 4) ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย ด ี 5) การยอมรับท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ด ี 6) สุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สังคม ดี  มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ดี 2.1 การมีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน ด ี 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดี  2.3 ดําเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผ้เู รียนรอบดา้ นตามหลักสุตรสถานศกึ ษา ด ี และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลกรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ ด ี 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้อย่างมีคูณภาพ ด ี 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ดี  มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาํ คัญ ดี 3.1 จัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนําไปประยกุ ต์ใชใ้ น ดี  ชวี ิตได้ 3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ด ี 3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก ดี  3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนําผลมาพัฒนาผู้เรียน ด ี 3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ด ี ดี สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา

38    การกาํ หนดคา่ เป้าหมาย 4. ศึกษาขอ้ มูลเดมิ ผลการประเมินต่าง ๆ ทผ่ี ่านมา เพื่อเปน็ ข้อมูลฐานในการกําหนดคา่ เปา้ หมาย 5. การกาํ หนดคา่ เป้าหมาย แตล่ ะมาตรฐาน ควรกาํ หนดเป็น ระดบั คุณภาพ 5 ระดบั เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับการประเมิน ดังนี้ ระดบั ยอดเย่ียม ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดี ระดับ ปานกลาง ระดับ กาํ ลงั พฒั นา 6. การกําหนดคา่ เปา้ หมาย ในแตล่ ะประเดน็ พจิ ารณา จะกาํ หนดเปน็ ระดบั คณุ ภาพ หรอื เป็นร้อยละ ตามความเหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา

39    คาํ ส่ังโรงเรียนชุมชนบา้ นโพธ์ติ าก ท่ี 63 / 2563 เรื่อง แต่งตงั้ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรยี นชุมชนบา้ นโพธ์ติ าก ปีการศกึ ษา 2563 ระดบั ปฐมวยั และระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ……………………………………………………….. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษามาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดับประกอบด้วยระบบประกันภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้ หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกัน คุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดําเนินการอย่างต่อเน่ือง และตาม กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 การประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ีกําหนดให้มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นกลไก หลักในการขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ อันส่งผล ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีการจัดทํารายงานประจําปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่ เก่ียวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ การประกันคุณภาพภายนอก โรงเรียนชุมชนบ้านโพธิ์ตากจึงแต่งตั้งบุคคลในท้ายคําสั่งน้ีเป็นคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือทําการประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และมาตรฐานการศึกษา ข้นั พ้นื ฐานใหแ้ ล้วเสรจ็ ดงั ต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการอาํ นวยการ ประกอบดว้ ย 1. 1 นายชยั ณรงค์ วงศส์ งา่ ผู้อาํ นวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ 1. 2 นางนติ ิพร ศรโี นนยาง ศึกษานเิ ทศกช์ าํ นาญการพิเศษ กรรมการ 1. 3 นายสมศกั ด์ิ เสียงใส ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ กรรมการ 1. 4 นายสุรยิ ันต์ สง่าพันธ์ คณะกรรมการสถานศึกษา กรรมการ 1. 5 นางพิศมัย ฝ่ายรยี ์ ครูชํานาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร มีหน้าท่ี ให้คําแนะนํา ปรึกษา อํานวยความสะดวก แก้ไขปัญหาในการดําเนินการประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษา แก่คณะกรรมการดําเนินงาน เพ่ือให้การดําเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมี ประสิทธภิ าพ 2. คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย ประกอบด้วย 2. 1 นางเพญ็ ประภา นารนิ รักษ์ ครูชาํ นาญการพิเศษ ประธานกรรมการ 2. 2 นางนติ ิพร ศรโี นนยาง ศกึ ษานิเทศกช์ าํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ 2.2 นางขวญั ใจ ไลยะรตั น์ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ 2.3 นางสาวจันจริ า เพรศิ แก้ว ครูอตั ราจา้ ง (วกิ ฤต)ิ กรรมการและเลขานุการ 3. คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ประกอบดว้ ย

  40  3.1 นางพิศมยั ฝ่ายรีย์ ครูชํานาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ 3.2 นางนติ ิพร ศรโี นนยาง ศกึ ษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ 3.3 นางลัดดาวลั ย์ ทาพิมพ์ ครชู ํานาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ 3.4 นางเกษา พลขอ้ ครชู ํานาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ 3.5 นางถาวร ศรลี ะคร ครูชาํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 3.6 นางสาวไก่แก้ว ศรสี ร้อย ครูชาํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 3.7 นางภิรมย์ คชพล ครูชาํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 3.8 นายสารี อ่อนสุระทุม ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ 3.9 นายไพศาล สวัสดวิ งศ์ไชย ครชู ํานาญการพเิ ศษ 3.10 นางบปุ ผา วงศส์ งา่ ครูชาํ นาญการพิเศษ 3.12 นายสาวพิชญธ์ เนศ นรบตุ ร ครชู าํ นาญการ 3.13 นายณรงค์ชยั สายเนตร ครผู ู้ช่วย 3.14 นายสนิท คะแก้ว ครผู ู้ชว่ ย 3.15 นายจักราชยั ปลมื้ สุด ครพู ี่เลย้ี งเดก็ พิการ 3.16 นางจิรติกาล อภิวัชรกุล ครูชาํ นาญการพิเศษ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มหี นา้ ทด่ี ังนี้ 1. วางแผนกําหนดแนวทางและวธิ กี ารดาํ เนินการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน 2. กํากบั ตดิ ตาม และใหข้ ้อเสนอแนะเกีย่ วกับการดําเนินการประกันคณุ ภาพการศึกษา ภายในสถานศกึ ษา 3. เสนอแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินคุณภาพฯจากตัวแทนในคณะกรรมการประกัน คุณภาพการศกึ ษาภายในโรงเรียน และทําหน้าท่ีตรวจสอบ ทบทวน รายงานคุณภาพการศกึ ษาภายใน สถานศึกษา 4. ให้โรงเรยี นจัดระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในโรงเรยี นเปน็ ส่วนหนง่ึ ของ การบริหารการศกึ ษาท่ีประกอบด้วย 8 ประการคือ 1) การกําหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 2) จดั ทาํ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาทม่ี ุ่งคณุ ภาพมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษา 3) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ 4) การดําเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา 5) จัดใหก้ ารตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา 6) จดั ให้มกี ารประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) จัดทาํ รายงานประจําปีที่เปน็ รายงานการประเมนิ คุณภาพภายใน 8) จดั ให้มกี ารพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เนอื่ ง 5. กาํ กับ ติดตาม ตรวจสอบและใหข้ อ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั การดาํ เนินการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ภายในของสถานศกึ ษา

41    6. คณะกรรมการจดั ทํารายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2563 ประกอบด้วย 6.1 นางพศิ มยั ฝา่ ยรีย์ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ 6.2 นางเพญ็ ประภา นารินรักษ์ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ 6.3 นางเกษา พลข้อ ครูชํานาญการพเิ ศษ กรรมการ 6.4 นายสนทิ คะแกว้ ครผู ู้ช่วย กรรมการ 6.5 นางขนิษฐา โชตแสง ครธู รุ การ กรรมการและเลขานกุ าร มีหน้าที่ ดําเนินการรวบรวมข้อมูล จัดทํารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2563 เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ดําเนินการประเมิน ตรวจสอบตามรูปแบบการ ประเมิน ให้ได้ข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริงที่สุด จัดส่งหน่วยงานต้นสังกัด จํานวน 1 เล่ม เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย อันจะยังส่งผลให้เป็นไปตามทิศทางและวัตถุประสงค์การพัฒนาการศึกษาสู่ มาตรฐานการศกึ ษาต่อไป ท้งั นี้ ต้ังแตบ่ ดั นีเ้ ปน็ ต้นไป สั่ง ณ วนั ที่ 30 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2563 (ลงชอ่ื ) ( นายชัยณรงค์ วงศ์สง่า ) ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นชุมชนบ้านโพธต์ิ าก

  ตวั บง่ ช้ี ประเดน็ การพิจารณา มาตรฐาน 1.1 มีพัฒนาการดา้ น นกั เรยี นมีรา่ งกายแขง็ แรง รา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัย มสี ุขนสิ ยั ทดี่ ี และดูแลความ ที่ดี และดูแลความปลอดภัย ปลอดภยั ของตนเองได้ - รายงา ของตนเองได้ - บนั ทกึ ก - บนั ทกึ ก - บนั ทึกน - รูปภาพ - แบบสังเ มาตรฐาน ่ีท 1 คุณภาพของเ ็ดก 1.2 มพี ฒั นาการด้าน นักเรยี นมพี ัฒนาการอารมณ์ - รายงาน อารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออก - รปู ภาพ แสดงออกทางอารมณ์ได้ ทางอารมณ์ได้ - แบบสงั เ ดําเนินกา 1.3 มีพัฒนาการดา้ นสงั คม นกั เรียนชว่ ยเหลอื ตนเองได้ - รายงาน ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ และเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของ - รูปภาพ สมาชิกท่ีดีของสังคม สงั คม - แบบบนั - แบบบัน - แบบบัน - แบบสังเ

รอ่ งรอยหลกั ฐาน 42  านกจิ กรรมตามโครงการ การดื่มนม แหลง่ ขอ้ มลู /ผรู้ ับผิดชอบ การแปรงฟัน - โครงการสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทง้ั 4 ดา้ น น้าํ หนักสว่ นสงู /ภาวะโภชนาการ พการจัดกจิ กรรม - กิจกรรมหนูนอ้ ยวัยใสใสใ่ จสขุ ภาพ เกตพฤตกิ รรม - กิจกรรมหนนู อ้ ยฟนั สวย - กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย นกจิ กรรมตามโครงการ - กิจกรรมสง่ เสริมกฬี า พการจดั กิจกรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ เกตพฤตกิ รรมตามกจิ กรรม - นางเพญ็ ประภา นารนิ รกั ษ์ าร - นางสาวจันจิรา เพรศิ แกว้ - นางขวญั ใจ ไลยะรตั น์ นกจิ กรรมตามโครงการ - โครงการส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั ทงั้ 4 ด้าน พการจดั กิจกรรม - กิจกรรมการแสดงบนเวทใี นวันสําคัญ นทกึ กจิ กรรมการเยย่ี มบา้ น - กจิ กรรมฝกึ สมาธิกอ่ นนอน . - กจิ กรรมหนูน้อยไปวดั นทึกออมทรัพย์ - กิจกรรมคณุ หนูค่คู ณุ ธรรม นทกึ ของหายไดค้ ืน ผ้รู บั ผดิ ชอบ เกตพฤตกิ รรมนักอนรุ ักษน์ อ้ ย - นางเพ็ญประภา นารินรักษ์ - นางสาวจันจริ า เพริศแกว้ - นางขวญั ใจ ไลยะรัตน์ - โครงการสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ทง้ั 4 ดา้ น - กิจกรรมการเยี่ยมบ้าน - กจิ กรรมออมทรพั ย์ - กิจกรรมของหายได้คนื - กจิ กรรมนักอนุรักษน์ อ้ ย ผูร้ บั ผดิ ชอบ - นางเพญ็ ประภา นารนิ รักษ์

  1.4 มีพฒั นาการดา้ น นกั เรยี นมีทักษะพนื้ ฐาน - รายงาน สติปัญญา ส่อื สารได้ มี สอ่ื สารไดแ้ ละแสวงหา - รปู ภาพ ทักษะการคิดพ้นื ฐาน และ ความรไู้ ด้ - ผลงาน แสวงหาความรไู้ ด้ - แฟม้ สะส - โครงงา 1.5 มีพฤตกิ รรมทพี่ ึง นกั เรียนมีพฤตกิ รรมทพี่ ึง - แบบสงั เ ประสงค์ตามคุณธรรม ประสงคต์ ามคุณธรรม - แบบบัน เป้าหมายของสถานศึกษา เป้าหมายของสถานศึกษา - แบบสงั เ เทคโนโลย - แบบบัน วชิ าการ - คู่มือโคร - โครงงาน - กจิ กรรม - กิจกรรม - กิจกรรม - กิจกรรม - กิจกรรม - กิจกรรม มนต์ไหวพ้ - การจัดก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook