Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน_1544648776

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน_1544648776

Description: การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน_1544648776

Search

Read the Text Version

การโคช้ เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 43 Fogarty, 2016; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Abdulla, 2017; Bergin, 2018; Knight, 2018) แสดงได้ดังแผนภาพ ต่อไปนี้ 1. ใหผ้ เู้ รียนวางแผน ไปสเู่ ปา้ หมายด้วยตนเอง แนวปฏบิ ัติ 2. สอบถามและติดตาม การกระตุ้นให้ผู้เรียน ความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ มวี ินัยในการเรยี นรู้ 3. ให้การสะท้อนคดิ ความมีวนิ ยั และนาตนเอง ในการเรียนรขู้ องตนเอง 4. ช่ืนชมเม่ือแสดงพฤตกิ รรม การมีวนิ ยั ในการเรยี นรู้ 5. ยกตัวอย่างบุคคล ท่ีประสบความสาเร็จ จากการมวี ินยั ในตนเอง แผนภาพ 13 แนวปฏบิ ัตกิ ารกระตุน้ ให้ผเู้ รียนมีวินัยในการเรยี นรู้และนาตนเอง

44 การโค้ชเพ่อื พัฒนาศักยภาพผเู้ รียน 9) กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นใช้กระบวนการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย การกระตุ้น ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้กระบวนการเรียนรู้ ท่ีหลากหลาย หมายถึง การทาให้ผู้เรียนสามารถเลือกใช้วิธีการ เรียนรู้ต่างๆ ที่นาไปสู่การบรรลุเป้าหมายของการเรียนรู้ ประเมิน ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้ ตลอดจนปรับปรุง กระบวนการเรียนรู้ของตนเองได้ (Clarke, 2013; Costa, & Garmston, 2015; Goldberg, 2016; Fletcher, & Speirs, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Abdulla, 2017; McCrudden, & McNamara, 2018; Smith, & Firth, 2018) กระบวนการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มีความสาคัญที่สุด สาหรับ การเรียนรู้ส่ิงต่างๆ อย่างไร้ขีดจากัด เพราะกระบวนการเรียนรู้คือหนทาง ท่ีนาไปสู่องค์ความรู้ ความรู้ล้าสมัยได้ แต่กระบวนการเรียนรู้จะไม่ล้าสมัย ผู้เรียนจาเป็นต้องได้รับการโค้ชให้มีทักษะกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งสามารถ ปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์อีกด้วย ซ่ึงเม่ือ ผู้เรยี นมเี ปา้ หมายในการเรยี นร้แู ล้ว มแี นวปฏิบตั สิ าหรบั กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นใช้ กระบวนการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย ดงั น้ี 1) ให้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ของตนเอง 2) ให้นาเสนอกระบวนการเรียนรู้ของตนกับบุคคลอ่ืน 3) ติดตามใหป้ ฏิบัติตามขนั้ ตอนของกระบวนการเรียนรู้ 4) ใหก้ ารสะทอ้ นคดิ

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรยี น 45 ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้ และ 5) เปิดโอกาสให้ปรับปรุง กระบวนการเรียนรู้ท่ีดีกว่าเดิม (Clarke, 2013; Costa, & Garmston, 2015; Goldberg, 2016; Fletcher, & Speirs, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Abdulla, 2017; McCrudden, & McNamara, 2018; Smith, & Firth, 2018) แสดงไดด้ งั แผนภาพตอ่ ไปน้ี แนวปฏิบตั ิ 1. ให้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ การกระตุน้ ให้ผูเ้ รยี น ของตนเอง ใช้กระบวนการเรยี นรู้ 2. ให้นาเสนอกระบวนการเรียนรู้ ท่หี ลากหลาย ของตนกบั บุคคลอนื่ 3. ตดิ ตามให้ปฏิบัติตามข้ันตอน ของกระบวนการเรยี นรู้ 4. ให้การสะท้อนคิดประสทิ ธิภาพ ของกระบวนการเรยี นรทู้ ใ่ี ช้ 5. เปดิ โอกาสใหป้ รับปรุง กระบวนการเรียนรทู้ ่ดี ีกว่าเดิม แผนภาพ 14 แนวปฏบิ ตั กิ ารกระตุน้ ให้ผูเ้ รียนใช้กระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย

46 การโค้ชเพ่อื พัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 10) กระต้นุ ใหผ้ ู้เรียนใชก้ ระบวนการคิดอยา่ งหลากหลาย การกระตุ้นให้ผูเ้ รียนใชก้ ระบวนการคิดอย่างหลากหลาย หมายถึง การพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด และใช้ กระบวนการคิดต่างๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิด อย่างมีวิจารณญาณ การคิดไตร่ตรอง การคิดเชิงบูรณาการ การคิด สร้างสรรค์ ซ่ึงเป็น Hard Skills ของผู้เรียน และนาการคิดไปสู่การ ลงมือปฏิบัติ เพ่ือนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้ (Costa, &Garmston, 2015; Boyle, & Charles, 2016; Cain, &others, 2016; Fogarty, 2016; Collins, 2017; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Boyatzis, & Jack, 2018; Hildrew, 2018; Smith, & Firth, 2018) การพัฒนาใหผ้ เู้ รียนมที ักษะกระบวนการคิดน้ัน นอกจากจะเป็น หน้าที่สาคัญของโคช้ ยังเป็นเป้าหมายของการโค้ชอีกด้วย ผู้เรียนควรไดร้ ับ การพัฒนาให้มีกระบวนการคิดในลักษณะของการบูรณาการไปกับกิจกรรม การเรียนรู้ และควรพัฒนาอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไป เวียน ย้า ซ้า ทวน เพราะทักษะกระบวนการคิดเป็น Hard Skills ของผู้เรียน ที่ต้องกระตุ้นและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้แบบ Active learning จะช่วยพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียนได้ดีกว่าการเรียนรู้แบบ Passive learning นอกจากนี้การใช้พลังคาถาม (power question) ยังเป็นอีกวิธีการ หนึง่ ท่ีชว่ ยกระตุ้นการคิดของผู้เรียนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพมีแนวปฏบิ ัติดังน้ี

การโค้ชเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน 47 1) ต้ังคาถามใหค้ ดิ 2) ใหว้ างแผนการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง 3) ให้แลกเปล่ยี น กระบวนการคิดกับเพื่อน 4) จาลองสถานการณใ์ ห้สร้างสรรค์นวัตกรรม และ 5) ให้การสะท้อนคิดถึงกระบวนการคิดของตนเอง (Costa, & Garmston, 2015; Boyle, & Charles, 2016; Cain, & others, 2016; Fogarty, 2016; Collins, 2017; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Boyatzis, & Jack, 2018; Hildrew, 2018; Smith, & Firth, 2018) แสดงได้ดัง แผนภาพต่อไปนี้ 1. ตง้ั คาถามใหค้ ิด แนวปฏบิ ัติ 2. ใหว้ างแผนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง การกระต้นุ ใหผ้ เู้ รียน 3. ให้แลกเปลย่ี นกระบวนการคดิ กบั เพ่ือน ใช้กระบวนการคดิ 4. จาลองสถานการณใ์ หส้ รา้ งสรรค์นวตั กรรม ทีห่ ลากหลาย 5. ให้การสะท้อนคดิ ถึงกระบวนการคิด ของตนเอง แผนภาพ 15 แนวปฏิบตั กิ ารกระตนุ้ ใหผ้ ้เู รยี นใช้กระบวนการคดิ อยา่ งหลากหลาย

48 การโคช้ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียน 11) ใชพ้ ลังคาถามกระตนุ้ การคดิ ขั้นสงู ดา้ นต่างๆ ของผเู้ รียน การใชพ้ ลงั คาถามกระต้นุ การคิดข้นั สูงดา้ นตา่ งๆ ซง่ึ เป็น Hard Skills ของผู้เรียน หมายถึง การทาให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ขั้นสูง (higher–order thinking) ด้วยการใช้คาถามเป็นส่ิงกระตุ้น การคิดขั้นสูงของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีกระบวนการคิดเป็นของ ตนเอง และพึ่งพาตนเองทางความคิดได้ (McTighe, & Wiggins, 2013; Costa, & Garmston, 2015; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Adams, 2016; Blackburn, 2016; Cain, & others, 2016; Markham, 2016; Crockett, & Churches, 2017; Elickson, Lanning, & French, 2017; Poliner, & Benson, 2017; Abdulla, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Fogarty,Kerns, & Pete, 2018; Hildrew, 2018; McCrudden, & McNamara, 2018) การคิดข้ันสูงเป็นส่งิ สาคัญและจาเปน็ สาหรับผเู้ รยี นทกุ คน ตัวอยา่ งการคดิ ข้ันสูง เช่น การคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดไตร่ตรอง การคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น ผู้เรียนต้องได้รับการกระตุ้นและพัฒนาอย่างบูรณาการ อย่างต่อเน่ือง ดว้ ยวธิ กี ารที่สรา้ งสรรคแ์ ละเหมาะสมกบั ธรรมชาติของผ้เู รยี นแต่ละคน ซ่ึงมีแนวปฏิบัติดังนี้ 1) ใช้คาถามปลายเปิด 2) ถามทีละคาถามและ ให้เวลาให้คดิ 3) ถามคาถามที่สัมพันธ์กับความคิดรวบยอด 4) ถาม ให้ผู้เรียนให้เหตุผลสนับสนุนคาตอบของตน และ 5) ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั

การโค้ชเพื่อพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน 49 ท่ีไม่เฉลยคาตอบ แต่จูงใจให้คิดต่อ (McTighe, & Wiggins, 2013; Costa, & Garmston, 2015; Gregory,& Kaufeldt, 2015; Adams, 2016; Blackburn, 2016; Cain, & others,2016; Markham,2016; Crockett, & Churches, 2017; Elickson, Lanning, & French, 2017; Poliner, & Benson, 2017; Abdulla, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Hildrew, 2018; McCrudden, & McNamara, 2018) แสดงได้ดังแผนภาพตอ่ ไปน้ี 1. ใช้คาถามปลายเปดิ แนวปฏิบตั ิ 2. ถามทีละคาถามและใหเ้ วลาใหค้ ดิ การใชพ้ ลังคาถามกระตุ้น การคิดข้นั สูงด้านตา่ งๆ 3. ถามคาถามที่สัมพันธ์ กบั ความคดิ รวบยอด ของผูเ้ รยี น 4. ถามให้ผเู้ รียนให้เหตุผล สนบั สนนุ คาตอบของตน 5. ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับทีไ่ มเ่ ฉลยคาตอบ แต่จูงใจให้คดิ ต่อ แผนภาพ16 แนวปฏบิ ตั กิ ารใช้พลงั คาถามกระตนุ้ การคดิ ขั้นสูงด้านต่างๆ ของผ้เู รยี น

50 การโค้ชเพือ่ พัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียน 12) ให้ผูเ้ รียนเลือกและตดั สินใจเกยี่ วกับการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ก า ร ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ ลื อ ก แ ล ะ ตั ด สิ น ใ จ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร เ รี ย น รู้ ด้วยตนเอง หมายถึง การให้ผู้เรียนได้เลือกวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียน สนใจและถนัด เพ่ือไปสู่ผลลัพธ์ของการเรียนรู้ ตลอดจนมีโอกาส ในการตัดสินใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ของตนเอง โดยโค้ชให้คาแนะนา ชแ้ี นะและแลกเปล่ียนประสบการณ์ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมขี ้อมลู เพยี งพอสาหรบั การเลือกและตัดสินใจ (Gregory, & Kaufeldt, 2015; Blackburn, 2016; Cain, & others, 2016; Goldberg, 2016; Nieuwerburgh, 2017; Abdulla, 2017; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Harris, Jones, & Huffman. 2018; Knight, 2018) การที่ผู้เรียนมีโอกาสและสิทธิในการเลือกวิธีการเรียนรู้ และตดั สนิ ใจด้วยตนเองน้ัน เป็นการเสริมสร้าง Soft Skills ช่วยทาให้ เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของการเรียนรู้ได้มาก เป็นการเรียนรู้ที่มี อสิ รภาพ มีแรงจงู ใจภายใน อีกทง้ั ชว่ ยส่งเสริมคณุ ลกั ษณะท่เี อื้อต่อการ เรียนรู้หลายประการ เช่น ความรับผิดชอบ ความมีวินัย ความมุ่งมั่น นิสัยรักการเรียนรู้ ตลอดจนช่วยปลดล๊อกศักยภาพของผู้เรียน ให้ผู้เรียน ได้ใช้ศักยภาพของตนเองในการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ เปิดโอกาส ให้ความคิดสร้างสรรค์เกิดข้ึนได้ง่ายมากกว่าการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ไม่มีโอกาสเลือกและตดั สนิ ใจ

การโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียน 51 การให้ผู้เรียนเลือกและตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีแนวปฏิบัติ ดังนี้ 1) ถามความต้องการของผู้เรียน 2) เปดิ โอกาสใหเ้ ลือก และตัดสินใจ 3) ให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจท่ีถูกต้อง 4) แลกเปลี่ยน ประสบการณ์การตัดสินใจกับผู้เรียน และ 5) ให้ผู้เรียนสะท้อนคิดการ เลือกและตัดสินใจของตนเอง (Gregory, & Kaufeldt, 2015; Blackburn, 2016; Cain, & others, 2016; Goldberg, 2016; Nieuwerburgh, 2017; Abdulla, 2017; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Harris, Jones, & Huffman. 2018; Knight, 2018) แสดงได้ดังแผนภาพต่อไปนี้ แนวปฏิบัติ 1. ถามความต้องการของผู้เรียน การใหผ้ เู้ รยี นเลือก และตดั สินใจเกีย่ วกับ 2. เปิดโอกาสให้เลือกและตดั สินใจ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 3. ให้ขอ้ มูลเพื่อการตัดสนิ ใจท่ถี กู ต้อง 4. แลกเปล่ยี นประสบการณ์ การตัดสนิ ใจกบั ผู้เรียน 5. ใหผ้ ู้เรยี นสะท้อนคดิ การเลือก และตัดสินใจของตนเอง แผนภาพ 17 แนวปฏิบตั ิการให้ผู้เรยี นเลอื กและตัดสนิ ใจเกี่ยวกับการเรยี นรู้ด้วยตนเอง

52 การโคช้ เพื่อพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น 13) ให้กาลงั ใจและเสริมพลังความเชอ่ื มนั่ ในความสามารถของตน การให้กาลังใจและเสริมพลังความเชื่อมั่นในความสามารถ ของตนหมายถึง การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีพลังทางใจในการใช้ความ พยายาม เพ่ือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมี ความซับซ้อน (complexity) ที่ต้องใช้พลังทางความคิด ความอดทนในการกากับ ตนเองให้มีวินัยในการเรียนรู้ รวมท้ังการทาให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ ในตนเอง ว่ามีความสามารถท่ีจะเรียนรู้สิ่งใดๆ ได้ด้วยตนเอง และ การเรียกคืนความเช่ือม่ันในตนเองให้กับผู้เรียนในกรณีท่ีเกิดการ สูญเสียความเช่ือม่ัน (Middleton, & Perks, 2014; Truebridge, 2014; Bartlett, 2015; Costa, & Garmston, 2015; Ginsberg, 2015; Blackburn, 2016; Calfee, & Wilson, 2016; Fogarty, 2016; Renninger, & Hidi, 2016; Bloomberg, & Pitchford, 2017; Yeh, 2017; Abdulla, 2017; Boyatzis, & Jack, 2018) กาลงั ใจและความเช่อื มน่ั ในความสามารถของตน ชว่ ยเป็น แรงผลักดันให้ผู้เรียนดึงศักยภาพสูงสุดของตนเองออกมาใช้ในการ เรียนรู้สิง่ ใหม่ที่ท้าทาย ผ้เู รียนทกุ คนตอ้ งการกาลังใจและความเช่ือมนั่ เพื่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆ บทบาท Soft Skills ของโค้ชจะต้องทาทุกวิถีทางท่ีจะให้ผู้เรียนมีกาลังใจและความเชื่อมัน่ ในความสามารถของตนเองอยตู่ ลอดเวลา และยังตอ้ งคอยสังเกตผเู้ รียน

การโค้ชเพ่ือพฒั นาศักยภาพผู้เรยี น 53 วา่ เกดิ การสญู เสยี กาลังใจหรอื ความเชอื่ มัน่ หรือไม่ หากพบสถานการณ์ เช่นนี้ ต้องรีบทาการเรียกคืนกาลังใจและความเชื่อมั่นทันที หากปล่อยไว้จะทาให้ยากต่อการแก้ไขและส่งผลเสียต่อเจตคติท่ีดี ตอ่ การเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น การให้กาลังใจและเสริมพลังความเช่ือมั่นในความสามารถ ของตน มีแนวปฏิบัติ ดังนี้ 1) พูดให้กาลังใจผู้เรียน 2) ชี้ให้ผู้เรียน เห็นความเก่งของตนเอง 3) ชี้ให้ผู้เรียนเหน็ พัฒนาการเรียนรูข้ องตนเอง 4) ไม่พูดถึงความล้มเหลวแต่ให้มองความสาเร็จท่ีอยู่ข้างหน้า และ 5) ให้ผู้เรียนสะท้อนคิดกาลังใจและความเชื่อมั่นของตน (Middleton, & Perks, 2014; Truebridge, 2014; Bartlett, 2015; Costa, & Garmston, 2015; Ginsberg, 2015; Blackburn, 2016; Calfee, & Wilson, 2016; Fogarty,2016; Renninger,& Hidi,2016; Bloomberg,& Pitchford, 2017; Yeh, 2017; Abdulla, 2017; Boyatzis, & Jack, 2018) แสดงได้ดังแผนภาพ ตอ่ ไปน้ี

54 การโคช้ เพือ่ พัฒนาศักยภาพผูเ้ รียน 1. พดู ให้กาลงั ใจผูเ้ รยี น แนวปฏบิ ัติ 2. ช้ีใหผ้ ู้เรียน การใหก้ าลงั ใจ เหน็ ความเกง่ ของตนเอง และเสริมพลงั ความเชอื่ ม่นั ในความสามารถของตน 3. ชใ้ี ห้ผเู้ รียนเห็นพฒั นาการ การเรยี นรขู้ องตนเอง 4. ไมพ่ ดู ถงึ ความล้มเหลว แต่ใหม้ องความสาเรจ็ ทอี่ ยู่ข้างหนา้ 5. ใหผ้ ู้เรียนสะท้อนคิดกาลังใจ และความเช่ือม่ันของตน แผนภาพ 18 แนวปฏิบตั กิ ารใหก้ าลงั ใจและเสรมิ พลงั ความเชื่อม่ัน ในความสามารถของตน

การโคช้ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น 55 14) ให้ผู้เรียนประเมนิ ตนเองและสะท้อนคิดสกู่ ารปรับปรุงและพัฒนา การให้ผู้เรียนประเมินตนเองและสะท้อนคิดสู่การปรับปรุง และพัฒนา หมายถึง การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการ สารวจตรวจสอบตนเอง เหน็ จดุ แขง็ ทีต่ อ้ งดารงรักษาไว้และจุดที่ต้อง พัฒนาให้ดีขึ้น อีกท้ังสามารถนาผลการสารวจตรวจสอบมาคิด ใคร่ครวญและนาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาตนเองได้ (Dweck, 2006; Costa, & Kallick, 2008; Ellison, & Hayes, 2009; Moss, & Brookhart, 2009; Hefferon, & Boniwell, 2011; Knight, 2011; Hattie, 2012; Quinn, & others, 2014; Costa, & Garmston, 2015; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Marz, & Hertz, 2015; Blackburn, 2016; Cain, & others, 2016; Bloomberg, & Pitchford, 2017; Nieuwerburgh, 2017; York – Barr, & others, 2017; Abdulla, 2017; Harris, Jones, & Huffman, 2018; Knight, 2018) การเรียนรู้และเติบโตอย่างย่ังยนื ของผูเ้ รยี น คอื ความสามารถ ในการประเมินตนเองด้วยใจเป็นธรรมและสะท้อนคิดจนเห็นประเดน็ และแนวทางการพัฒนาตนเองต่อไปในอนาคต ซึ่งเป็นสิ่งที่เหนือกว่า ความรู้ การมีความเห็นความเข้าใจท่ีถูกต้อง จะพัฒนาไปสู่ปัญญา สูงสุดที่ผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองตลอดชีวิต โค้ชควร ตระหนกั รอู้ ยตู่ ลอดเวลาว่าในความเปน็ จรงิ ของชวี ิตนั้น โคช้ ไมส่ ามารถ ทาการโค้ชผู้เรยี นได้ตลอดเวลา สิ่งที่ต้องเร่งสรา้ งให้เกิดกบั ผู้เรียน คือ

56 การโค้ชเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพผูเ้ รยี น การให้ผู้เรียนโค้ชตนเองได้ มีปัญญาในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีเครื่องมือในการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง น่ันคือการสะท้อนคิด และนับว่าบทบาทการโค้ชด้านน้ีทาได้ยากในบริบทของการเรียนรู้ ท่ามกลางการแข่งขันท่ีมิใช่ความร่วมมอื ผนวกกับ mindset ของโค้ชเอง ที่มีต่อการประเมินตนเองของผ้เู รียนด้วย ด้วยเหตุนี้ การแสดงบทบาทในด้าน นี้โค้ชจาเป็นต้องมี Growth mindset ต่อความหมาย ที่แท้จริงของการ เรียนรู้ ซ่ึงจะช่วยทาให้สามารถทาบทบาทการโค้ชด้านนี้ได้ตาม เจตนารมณข์ องการโคช้ เพอื่ พัฒนาศักยภาพผูเ้ รยี น แนวปฏิบัติการโค้ชสาหรับการให้ผู้เรียนประเมินตนเองและ สะท้อนคิดสู่การปรับปรุงและพัฒนา มีดังน้ี 1) ให้ผู้เรียนทบทวน ความก้าวหน้าของตนเอง 2) ถามผู้เรียนถึงจดุ เด่นและจุดท่ีต้องปรับปรุง ผลงาน 3) ให้ผู้เรียนประเมินผลงานของตนด้วยเกณฑ์ที่กาหนดร่วมกัน 4) ให้ผู้เรียนวเิ คระหแ์ ละกาหนดประเด็นท่ตี ้องปรับปรุงพฒั นาตนเอง และ 5) ให้ผู้เรียนสะท้อนคิดถึงกระบวนการและผลลัพธ์ของการปรับปรุง พัฒนาตนเอง (Dweck, 2006; Costa, & Kallick, 2008; Ellison, & Hayes, 2009; Moss, & Brookhart, 2009; Hefferon, & Boniwell, 2011; Knight, 2011; Hattie, 2012; Quinn, & others, 2014; Costa, & Garmston, 2015; Gregory,& Kaufeldt,2015; Marz,&Hertz,2015; Blackburn, 2016; Cain, & others, 2016; Bloomberg, & Pitchford, 2017; Nieuwerburgh, 2017;

การโคช้ เพือ่ พฒั นาศักยภาพผ้เู รยี น 57 York – Barr, & others, 2017; Abdulla, 2017; Harris, Jones, & Huffman, 2018; Knight, 2018) แสดงได้ดังแผนภาพต่อไปน้ี 1. ใหผ้ ู้เรยี นทบทวน ความกา้ วหน้าของตนเอง แนวปฏิบตั ิ 2. ถามผู้เรียนถึงจุดเดน่ การให้ผู้เรยี น และจุดที่ต้องปรับปรุงผลงาน ประเมินตนเอง และสะท้อนคดิ 3. ให้ผเู้ รียนประเมนิ ผลงานของตน ส่กู ารปรับปรงุ ดว้ ยเกณฑท์ กี่ าหนดร่วมกนั และพัฒนา 4. ใหผ้ ้เู รยี นวเิ คระหแ์ ละกาหนด ประเดน็ ท่ตี อ้ งปรบั ปรุงพัฒนา 5. ให้ผู้เรยี นสะทอ้ นคดิ ถึงกระบวนการและผลลัพธ์ ของการปรับปรงุ พัฒนาตนเอง แผนภาพ 19 แนวปฏบิ ัตกิ ารใหผ้ ูเ้ รยี นประเมินตนเองและสะทอ้ นคดิ สู่การปรับปรุงและพัฒนา

58 การโคช้ เพื่อพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียน 15) ประเมินและให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับท่ีเน้นพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น และใ ห้ ข้ อมู ลย้ อนก ลั บที่ เ น้ น ก ารพั ฒนา กระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การท่ีโค้ชดาเนินการประเมินการเรยี นรู้ ของผู้เรียนตามแนวทางการประเมินเพื่อพัฒนา (assessment for learning) ท้ังด้านกระบวนการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ และ ความก้าวหน้าของการเรียนรู้ ตลอดจนให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรยี น บนพื้นฐานสารสนเทศจากการประเมิน โดยเน้นการให้ข้อมูล ย้อนกลับท่ีช่วยให้ผู้เรียนใช้กระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ มากข้ึน และนาไปสู่การปรับปรุงกระบวนการการเรียนรู้ที่เข้าใกล้ เ ป้ า ห ม า ย ม า ก ขึ้ น ไ ด้ ด้ วย ต น เ อ ง (Blum, 2016; Dirksen, 2016; Duckworth, 2016; Fogarty, 2016; Goldberg, 2016; Blackburn, 2017; Bloomberg, & Pitchford, 2017; Blackburn, 2017; Crockett, & Churches, 2017; Delaney, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Abdulla, 2017; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Hildrew, 2018) การประเมินผู้เรียนเป็นส่ิงที่ขาดไม่ได้สาหรับการโค้ช เนื่องจากการประเมินทาให้โค้ชมีข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้องแม่นยา สาหรับการให้ข้อมูลย้อนกลับ แนวทางการประเมินที่ช่วยเสริมสร้าง ศักยภาพของผู้เรียน คือการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรยี น 59 ตามแนวทางของการประเมินท่ีเสริมพลังตามสภาพจริง ด้วยการใช้ วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมินที่หลากหลาย และประเมินหลาย ช่วงเวลาอย่างตอ่ เนือ่ ง เน้นการประเมินเพอื่ พฒั นา ไมเ่ น้นการตดั สิน สาหรับการสะท้อนผลการประเมนิ น้ัน ใช้วิธีการที่นมุ่ นวล และสร้างสรรค์ โดยให้ความสาคัญกบั ข้อมูลย้อนกลับที่เป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยช้ีประเด็นให้ผู้เรียน เห็นว่าจุดแข็งและจุดอ่อนของกระบวนการเรียนรู้ที่นามาสู่ผลลัพธ์ ในปัจจุบันคืออะไร และกระตุ้นให้ผู้เรยี นแสวงหากระบวนการเรียนรู้ ทดี่ กี ว่าเดมิ ท่ีคาดวา่ จะนามาซงึ่ ผลลัพธก์ ารเรยี นรทู้ ่ีต้องการ แนวปฏิบัติสาหรับการประเมินและให้ข้อมูลย้อนกลับที่เน้น การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มีดังน้ี 1) ใช้วิธีการประเมินท่ีหลากหลาย 2) ใชเ้ ครื่องมือประเมนิ ทม่ี คี ณุ ภาพ 3) ประเมนิ อย่างต่อเน่ือง 4) ใหข้ ้อมูล ยอ้ นกลับทเ่ี นน้ กระบวนการเรยี นรู้ และ 5) ใชถ้ อ้ ยคาสุภาพนมุ่ นวลในการ ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Blum, 2016; Dirksen, 2016; Duckworth, 2016; Fogarty, 2016; Goldberg, 2016; Blackburn, 2017; Bloomberg, & Pitchford, 2017; Blackburn, 2017; Crockett, & Churches, 2017; Delaney, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh,2017; Abdulla, 2017; Fogarty,Kerns, & Pete, 2018; Hildrew, 2018) แสดงได้ดังแผนภาพ ตอ่ ไปน้ี

60 การโคช้ เพอื่ พัฒนาศักยภาพผเู้ รียน แนวปฏิบตั ิ 1. ใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย การประเมนิ และใหข้ ้อมูล ยอ้ นกลบั ทเี่ น้นพฒั นา 2. ใชเ้ ครอื่ งมือประเมนิ ท่มี คี ณุ ภาพ กระบวนการเรยี นรู้ 3. ประเมนิ อยา่ งต่อเน่ือง 4. ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ ที่เน้นกระบวนการเรยี นรู้ 5. ใช้ถ้อยคาสภุ าพนุ่มนวล ในการให้ข้อมูลย้อนกลับ แผนภาพ 20 แนวปฏิบตั กิ ารประเมนิ และใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับท่ีเน้นพฒั นา กระบวนการเรยี นรู้

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น 61 สรุปศิลปะการโค้ชด้าน Empower ท่ีประกอบด้วยบทบาท การโคช้ และแนวปฏบิ ตั ิการโคช้ ตามที่กล่าวมาข้างต้นได้ดังนี้ บทบาทการโคช้ และแนวปฏบิ ตั ดิ า้ น Empower 6. กระตนุ้ ผู้เรยี นให้มี Growth mindset 1) ชี้แนะใหเ้ ห็นความสาคัญของการเรยี นรู้ 2) ใหผ้ เู้ รยี นนาสง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 3) ยกตวั อยา่ งบคุ คลทมี่ ี Growth mindset 4) ใหผ้ เู้ รียนตรวจสอบ Growth mindset ของตนเอง 5) ชใ้ี หผ้ เู้ รียนเหน็ ว่ามีพัฒนาการของ Growth mindset 7. กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนกาหนดเปา้ หมายการเรียนรูข้ องตนเอง 1) ถามผเู้ รยี นว่าตอ้ งการเรยี นรู้สง่ิ ใด 2) ถามผู้เรยี นวา่ มีเป้าหมายการเรียนรอู้ ย่างไร 3) ใหผ้ เู้ รยี นสะท้อนคิดเปา้ หมายการเรียนรขู้ องตน 4) ใหผ้ ู้เรียนแลกเปลีย่ นเรยี นรูเ้ ป้าหมายของตนกับบุคคลอ่นื 5) ให้ผเู้ รียนกาหนดเปา้ หมายการเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมกบั ตนเอง

62 การโค้ชเพื่อพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 8. กระต้นุ ใหผ้ ้เู รียนมีวนิ ัยในการเรียนรู้และนาตนเอง 1) ใหผ้ ้เู รียนวางแผนไปสูเ่ ป้าหมายดว้ ยตนเอง 2) สอบถามและติดตามความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ 3) ใหก้ ารสะท้อนคิดความมีวนิ ยั ในการเรยี นรู้ของตนเอง 4) ช่นื ชมเม่อื แสดงพฤติกรรมการมีวนิ ัยในการเรียนรู้ 5) ยกตัวอย่างบุคคลที่ประสบความสาเร็จจากการมวี นิ ัยในตนเอง 9. กระตุน้ ใหผ้ ้เู รยี นใช้กระบวนการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย 1) ใหอ้ อกแบบกระบวนการเรยี นรู้ของตนเอง 2) ใหน้ าเสนอกระบวนการเรียนรขู้ องตนกบั บคุ คลอ่นื 3) ติดตามใหป้ ฏิบตั ิตามข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้ 4) ใหก้ ารสะท้อนคดิ ประสทิ ธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ท่ีใช้ 5) เปิดโอกาสใหป้ รบั ปรุงกระบวนการเรียนรทู้ ีด่ กี วา่ เดิม 10. กระตนุ้ ให้ผู้เรียนใชก้ ระบวนการคดิ อยา่ งหลากหลาย 1) ตั้งคาถามใหค้ ดิ 2) ให้วางแผนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง 3) ให้แลกเปลย่ี นกระบวนการคดิ กับเพอ่ื น 4) จาลองสถานการณ์ใหส้ รา้ งสรรค์นวัตกรรม 5) ให้การสะทอ้ นคิดถึงกระบวนการคิดของตนเอง

การโคช้ เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 63 11. ใช้พลงั คาถามกระตุน้ การคดิ ขั้นสูงดา้ นตา่ งๆ ของผู้เรียน 1) ใชค้ าถามปลายเปิด 2) ถามทีละคาถามและให้เวลาให้คดิ 3) ถามคาถามที่สมั พนั ธก์ บั ความคิดรวบยอด 4) ถามใหผ้ ้เู รียนใหเ้ หตผุ ลสนบั สนุนคาตอบของตน 5) ใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับทีไ่ มเ่ ฉลยคาตอบ แต่จงู ใจใหค้ ิดต่อ 12. ใหผ้ ู้เรียนเลอื กและตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง 1) ถามความต้องการของผูเ้ รียน 2) เปิดโอกาสให้เลือกและตัดสินใจ 3) ให้ข้อมลู เพ่อื การตดั สินใจท่ถี ูกตอ้ ง 4) แลกเปล่ยี นประสบการณก์ ารตัดสินใจกับผูเ้ รยี น 5) ให้ผู้เรียนสะท้อนคดิ การเลือกและตดั สนิ ใจของตนเอง 13. ใหก้ าลงั ใจและเสริมพลังความเช่อื มน่ั ในความสามารถของตน 1) พดู ใหก้ าลงั ใจผู้เรียน 2) ชีใ้ ห้ผ้เู รียนเห็นความเกง่ ของตนเอง 3) ช้ใี ห้ผเู้ รียนเหน็ พฒั นาการเรียนรูข้ องตนเอง 4) ไม่พดู ถึงความลม้ เหลวแต่ใหม้ องความสาเรจ็ ทอ่ี ยู่ข้างหนา้ 5) ใหผ้ เู้ รยี นสะท้อนคดิ การมกี าลงั ใจและความเช่ือมน่ั ของตน

64 การโคช้ เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น 14. ให้ผ้เู รียนประเมนิ ตนเองและสะทอ้ นคิดสู่การปรับปรงุ และพัฒนา 1) ให้ผเู้ รียนทบทวนความกา้ วหน้าของตนเอง 2) ถามผเู้ รยี นถงึ จดุ เดน่ และจดุ ทตี่ ้องปรบั ปรงุ ผลงาน 3) ใหผ้ ูเ้ รยี นประเมินผลงานของตนดว้ ยเกณฑ์ทก่ี าหนดร่วมกนั 4) ให้ผูเ้ รยี นวเิ คระหแ์ ละกาหนดประเดน็ ทต่ี ้องปรบั ปรงุ พัฒนาตนเอง 5) ให้ผ้เู รียนสะทอ้ นคิดถงึ กระบวนการและผลลพั ธ์ ของการปรับปรุงพฒั นาตนเอง 15. ประเมนิ และใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั ที่เน้นการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ 1) ใชว้ ธิ ีการประเมนิ ท่ีหลากหลาย 2) ใช้เคร่อื งมือประเมนิ ที่มีคณุ ภาพ 3) ประเมินอย่างต่อเนอื่ ง 4) ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับที่เนน้ กระบวนการเรียนรู้ 5) ใช้ถอ้ ยคาสุภาพนุ่มนวลในการใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั

การโค้ชเพอ่ื พัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น 65 4.3 ศิลปะการโคช้ ด้าน Enliven Enliven หมายถึง ความกระตือรือร้นของผู้เรียนในการ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนในฐานะที่เป็นโค้ชมีหน้าท่ีสร้าง ความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ โดยแบ่งออกเปน็ 2 มิติ คือ 1) ความ กระตือรือร้นในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองของผ้สู อนเองในฐานะท่ี เป็นโค้ช และ2) การสร้างความกระตือรือร้นเมื่ออยู่ต่อหน้าผู้เรียน หรือความกระตือรน้ ในระหว่างทีท่ าการโค้ช สาหรับมติ ิด้านความกระตือรือร้นในการเรียนร้แู ละพฒั นา ตนเองนั้น หมายถึง การเรียนรดู้ ้วยตนเองอย่างต่อเนอื่ ง การสบื เสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ๆ ที่ทันสมัย รวมท้ังการฝึกฝนทักษะการโค้ช ตลอดจนทักษะอ่ืนท่ีเก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการแสดงบทบาท การโคช้ ของตนเอง เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร ที่ ผู้ ส อ น มี ค ว า ม รู้ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ทั น ส มั ย มีความสามารถในเร่ืองที่โค้ชอยา่ งแท้จริงน้ัน นอกจากจะช่วยใหก้ าร โค้ชมปี ระสทิ ธภิ าพแล้ว ยงั ช่วยเสริมสร้างให้ผเู้ รียนมีความยึดมั่นผูกพัน อย่กู ับการโคช้ อกี ด้วย เมอ่ื ผู้สอนมคี วามกระตอื รอื รน้ จนเปน็ คณุ ลักษณะ นสิ ัยหรือเป็น habit of mind แล้วยอ่ มจะส่งผลออกมาเป็นพฤตกิ รรม ที่แสดงออกตอ่ ผูเ้ รียนในขณะที่ปฏิบตั ิบทบาทการโคช้ ซึ่งเป็นมิตทิ ีส่ อง ของความกระตือรอื ร้นหรอื Enliven

66 การโคช้ เพื่อพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียน สาหรับมิติที่สองของ Enliven หมายถึง ความกระตือรือร้น ของผู้สอนในขณะท่ีทาบทบาทการโค้ชต่อผู้เรียน เมื่อใดก็ตามที่ผู้เรียน อยู่ตรงหน้า เมื่อนั้นผู้เรียนคือบุคคลที่มีความสาคัญมากที่สุดผสู้ อน ในฐานะโค้ชควรแสดงออกถึงการเป็นบุคคลท่ีมีความจริงใจ มีความ กระตอื รอื ร้นกระฉับกระเฉง มีชวี ิตชวี าและมคี วามสุข การแสดงออกทางพฤติกรรมของผู้สอนส่งผลโดยตรง ต่อการเรียนรู้ของผเู้ รียนเปรยี บเสมอื นผูส้ อนนัน้ เป็นกระจกเงาของ ผู้เรียนในทางทฤษฎี คือ ตัวแบบของการเรียนรู้ เป็นตัวแบบหรือ role model ที่ดีทางการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน กล่าวคือ เมื่อผู้สอน แสดงออกถึงความกระตือรอื รน้ และมคี วามสุขในการเรยี นรู้แล้ว ย่อมมี แนวโน้มว่าผู้เรียนจะมีพฤติกรรมความกระตือรือร้นและมีความสุข ในการเรยี นรู้ตามไปด้วย ในทานองเดยี วกนั ถ้าผสู้ อนแสดงออกถงึ การ เป็นคนท่ีมนี ิสยั ชอบคดิ ชอบวเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์ จะเปน็ การกระตนุ้ ให้ผู้เรียน มีนิสัยในการคิดวิเคราะห์ และคิดสร้างสรรค์เช่นเดียวกัน เพราะผูเ้ รยี นไดเ้ รียนรูแ้ ละสัมผัส สาหรับบทบาทการโคช้ ดา้ น Enliven มแี นวปฏิบัติดงั น้ี

การโคช้ เพื่อพฒั นาศักยภาพผู้เรียน 67 16) กระตนุ้ แรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้ การกระตนุ้ แรงบนั ดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้ หมายถึง การทาให้ผู้เรียนมีจุดประกายทางความคิดที่ส่งผลต่อ แรงผลักดันในการเรียนรู้เพื่อประโยชน์ท้ังส่วนตนและส่วนรวม รวมถึงการทาให้ผู้เรียนมีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะเรียนรู้ ส่ิงต่างๆ ด้วยจิตท่ีรักในการเรียนรู้ (Coyle, 2009; Middleton, & Perks, 2014; Duckworth, 2016; Fogarty, 2016; Garrison, 2016; Hazel, 2016; Markham, 2016; Delaney, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Boyatzis, & Jack, 2018; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Maiers, & Sandvold, 2018) แรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้เป็นปัจจัย ภายในที่ทาให้ผู้เรยี นมีจินตนาการในการคดิ และการเรยี นรู้ของตนเอง มคี วามตอ้ งการอนั แรงกล้าทีจ่ ะทาสง่ิ ต่างๆ ให้ประสบความสาเรจ็ ซง่ึ มา จากความต้องการเติมเต็มมิติความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ในด้าน การเป็นบุคคแห่งการเรียนรู้ ซึ่งบางคร้ังอาจไม่สามารถหาเหตุผล มาอธิบายถึงสาเหตุของความต้องการเรียนรู้นั้นๆ ก้าวข้ามการเรียนรู้ เพือ่ ให้ได้รับสิ่งของรางวลั หรือคะแนนจากผลการประเมนิ

68 การโค้ชเพ่อื พฒั นาศักยภาพผเู้ รียน ผู้เรียนที่มีแรงบันดาลใจและความปรารถนาในการเรยี นรู้ สิ่งใดแลว้ ผ้เู รยี นจะใช้ศกั ยภาพของตนเองท้งั ด้านกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิด คุณลักษณะต่างๆ อย่างเต็มท่ี เพ่ือตอบสนองแรง บันดาลใจและความปรารถนาของตน และจะทาให้ผู้เรียนปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้อยา่ งกระตอื รือรน้ และมคี วามสขุ การกระตุ้นแรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้ มีแนวปฏิบัติดังน้ี 1) พูดกระตุ้นให้คิดทางบวกต่อตนเอง 2) ช้ีให้เห็น คุณค่าของตนเองท่ีมีต่อบุคคลอื่น 3) ช้ีให้เห็นคุณค่าของส่ิงท่ีผเู้ รียน กาลังกระทา 4) เปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นทบทวนจุดม่งุ หมายในชีวิตของ ตนเอง และ 5) แลกเปล่ียนเรียนรู้แรงบันดาลใจและแรงปรารถนา ในการเรียนรู้ระหว่างโค้ชกับผู้เรียน (Coyle, 2009; Middleton, & Perks, 2014; Duckworth, 2016; Fogarty, 2016; Garrison, 2016; Hazel, 2016; Markham, 2016; Delaney, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Boyatzis, & Jack, 2018; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Maiers, & Sandvold, 2018) แสดงได้ ดังแผนภาพต่อไปนี้

การโค้ชเพ่อื พัฒนาศักยภาพผ้เู รียน 69 แนวปฏบิ ัติ 1. พดู กระตุ้นใหค้ ิดทางบวก การกระตนุ้ แรงบันดาลใจ ต่อตนเอง และแรงปรารถนา 2. ชี้ให้เห็นคณุ คา่ ของตนเอง ในการเรยี นรู้ ท่มี ีต่อบุคคลอนื่ 3. ชใ้ี ห้เหน็ คุณค่า ของสิง่ ทผี่ ้เู รียนกาลงั กระทา 4. เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนทบทวน จุดมงุ่ หมายในชีวิตของตนเอง 5. แลกเปลีย่ นเรยี นรู้แรงบันดาลใจ และแรงปรารถนาในการเรียนรู้ ระหว่างโค้ชและผู้เรียน แผนภาพ 21 แนวปฏิบตั กิ ารกระต้นุ แรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรยี นรู้

70 การโคช้ เพื่อพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน 17) กระตนุ้ แรงจูงใจภายในและความตอ้ งการเรยี นรูส้ ิง่ ท่ีทา้ ทาย การกระตุ้นแรงจูงใจภายในและความต้องการเรียนรู้ สิง่ ทที่ า้ ทาย หมายถงึ การทาใหผ้ เู้ รียนมคี วามต้องการเรียนรสู้ งิ่ ใหมๆ่ ท่ีท้าทายความสามารถของตนเอง ด้วยเล็งเห็นว่าจะทาให้ตนเอง เกิดการพัฒนา ไม่เบ่ือหน่ายท่ีจะตอ้ งปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นรตู้ า่ งๆ แต่ร้สู กึ ต่ืนเตน้ กระตอื รอื ร้น กระชุม่ กระชวยท่ีจะได้ทากิจกรรมต่างๆ ร่ ว ม กั บ เ พื่ อ น แล ะ โ ค้ ช (Dweck, 2006; Odden, & Archibald, 2009; Schaffer,2013; Fredrick,2014; Middleton,& Perks, 2014; Ferlazzo,2015; Ginsberg, 2015; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Fogarty, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Abdulla, 2017; Antonetti, & Stice, 2018) แรงจูงใจภายในและความต้องการเรียนรู้สิ่งที่ท้าทาย ความสามารถ เป็นคุณลักษณะภายในท่ีทาใหผ้ เู้ รียนไมต่ ิดยึดอยกู่ บั ส่งิ เดิมๆ (mindset) แต่จะเป็นคนที่แสวงหาสงิ่ ใหม่ที่ดกี ว่าอย่ตู ลอดเวลา คุณลักษณะนี้เอื้อต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรม ถ้าขาดคุณลักษณะ ดังกล่าวน้ีจะเป็นการยากอย่างยิ่งที่ผู้เรียนจะมีความคิดสร้างสรรค์ ทน่ี าไปสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรมซ่งึ เป็นจดุ เนน้ ของโลกในศตวรรษท่ี 21 แนวปฏิบัติสาหรับการกระตุ้นแรงจูงใจภายในและความ ต้องการเรยี นรู้ส่งิ ทีท่ า้ ทายมีดังน้ี 1) ชี้แนะให้เห็นว่าทกุ คนสามารถเรียนรู้ได้ 2) ชี้แนะให้เห็นความสาเร็จในอดีตของผู้เรียน 3) ชี้แนะให้เห็นผลลัพธ์

การโคช้ เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น 71 ในอนาคตหลังการเรียนรู้ 4) ชีใ้ ห้เหน็ ความท้าทายของสง่ิ ที่กาลงั เรียนรู้ และ 5) แลกเปล่ยี นประสบการณ์การเรยี นรสู้ ่งิ ทที่ า้ ทายกบั ผเู้ รยี น(Dweck, 2006; Odden, & Archibald, 2009; Schaffer, 2013; Fredrick, 2014; Middleton, & Perks, 2014; Ferlazzo, 2015; Ginsberg, 2015; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Fogarty,2016; Gill, & Thomson, 2017; Abdulla, 2017; Antonetti, & Stice, 2018) แสดงไดด้ งั แผนภาพต่อไปน้ี แนวปฏบิ ัติ 1. ชแ้ี นะให้เหน็ ว่า การกระตนุ้ แรงจูงใจภายใน ทุกคนสามารถเรยี นรไู้ ด้ และความต้องการเรยี นรู้ 2. ชแี้ นะใหเ้ หน็ ความสาเรจ็ ในอดตี สง่ิ ท่ีทา้ ทาย ของผู้เรยี น 3. ชแี้ นะให้เหน็ ผลลัพธใ์ นอนาคต หลงั การเรียนรู้ 4. ชใี้ ห้เห็นความทา้ ทาย ของส่งิ ที่กาลังเรียนรู้ 5. แลกเปลย่ี นประสบการณ์ การเรียนรู้ส่งิ ทที่ า้ ทายกับผ้เู รยี น แผนภาพ 22 แนวปฏบิ ัติการกระตุ้นแรงจงู ใจภายในและความตอ้ งการ เรยี นรู้ส่ิงท่ีท้าทาย

72 การโค้ชเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพผู้เรยี น 18) สื่อสารและสร้างบรรยากาศทีก่ ระตือรือรน้ และเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ การส่ือสารและสรา้ งบรรยากาศท่กี ระตือรอื รน้ และเอ้ือต่อ การเรียนรู้ หมายถึง การแสดงออกทางภาษาพูดและภาษากาย ที่ทาให้ผู้เรียนมีจิตใจท่ีกระตระตือรือร้น กระฉับกระเฉง ตื่นตัว พร้อมท่ีจะเรียนรู้และปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ โดยไม่เฉือ่ ยชา ไม่ซึมเซา ภายใต้บรรยากาศทางกายภาพ บรรยากาศทางสังคม และ บรรยากาศทางจติ วิทยาท่ีสนับสนนุ การคิดและการเรยี นร้ขู องผู้เรียน (Costa, & Garmston, 2015; Fogarty, 2016; Blackburn, 2017; Gill, & Thomson,2017; Antonetti,&Stice,2018;Boyatzis,&Jack,2018; Hildrew, 2018; Knight, 2018; McGuire, 2018) จิตใจทก่ี ระตอื รือร้น กระฉบั กระเฉงและตนื่ ตวั ทาให้เรียนรู้ สิ่งต่างๆ ได้รวดเรว็ กว่าจิตใจทีเ่ หงาหงอย ซึมเซา โค้ชมีบทบาทในการ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีมีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง กระตือรือร้น แคล่วคล่องว่องไว ด้วยการจัดสงิ่ แวดล้อมทางกายภาพ ให้เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศความเป็น กัลยาณมิตรระหว่างโค้ชกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้เรียน และสภาพ จิตใจท่ีปราศจากความหวาดกลัว ระหวาดระแวง มีความอบอุ่น ปลอดภยั

การโค้ชเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น 73 นอกจากน้ีพฤติกรรมการแสดงออกของโค้ชยังเป็นส่ิง กระตุ้นความกระตือรือร้นของผู้เรียนได้อีกด้วย การเรียนรู้ที่มีความ กระตือรือร้น (active learning) ช่วยให้ผู้เรียนมีความจาระยะยาว และมคี วามสขุ ในการเรยี นรู้ แ น ว ป ฏิ บั ติ ส า ห รั บ ก า ร ส่ื อ ส า ร แ ล ะ ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ท่ีกระตือรือร้นและเอ้ือต่อการเรียนรู้ มีดังน้ี 1) พูดแสดงความสนใจ และตื่นเต้นต่อความคิดเห็นของผู้เรียน 2) พูดชื่นชมพฤติกรรมที่ดี ของผู้เรียนด้วยสีหน้าท่าทางต่ืนเต้น 3) แสดงพฤติกรรมที่ตื่นเต้น อย่างคาดไม่ถงึ ในคุณภาพผลงานของผ้เู รยี น 4)แสวงหาจุดเด่นในผลงาน ของผู้เรียนและกล่าวช่ืนชมด้วยความจริงใจ และ 5) สร้างอารมณ์ ขันสอดแทรกกิจกรรมและสมั พันธ์กับสง่ิ ที่ผู้เรียนกาลงั เรียนรู้ (Costa, & Garmston, 2015; Fogarty, 2016; Blackburn, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Boyatzis, & Jack, 2018; Hildrew, 2018; Knight, 2018; McGuire, 2018) แสดงได้ดงั แผนภาพตอ่ ไปน้ี

74 การโคช้ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพผ้เู รยี น แนวปฏบิ ตั ิ 1. พูดแสดงความสนใจและตืน่ เต้น การสื่อสารและสร้าง ต่อความคิดเหน็ ของผเู้ รียน บรรยากาศที่กระตอื รือรน้ และเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 2. พดู ชื่นชมพฤตกิ รรมที่ดขี องผู้เรียน ด้วยสหี น้าท่าทางตนื่ เต้น 3. แสดงพฤตกิ รรมทตี่ ่ืนเต้นอยา่ งคาดไม่ถึง ในคุณภาพผลงานของผู้เรียน 4. แสวงหาจุดเดน่ ในผลงานของผู้เรยี น และกลา่ วช่นื ชมด้วยความจริงใจ 5. สร้างอารมณข์ ันสอดแทรกกิจกรรม และสัมพนั ธก์ ับส่งิ ท่ีผ้เู รียนกาลงั เรยี นรู้ แผนภาพ 23 แนวปฏิบัตกิ ารสื่อสารและสร้างบรรยากาศทก่ี ระตือรือรน้ และเออื้ ต่อการเรียนรู้

การโค้ชเพื่อพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 75 19) กระตุ้นให้ผเู้ รียนมีความมุ่งม่นั และพยายามในการเรียนรู้ การกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความมุ่งม่ันและพยายามในการ เรียนรู้ หมายถึง การทาให้ผู้เรียนมสี มาธิ มีจิตใจจดจ่อกับเปา้ หมาย ของการเรยี นรู้และปฏิบตั ิกิจกรรมเพอื่ การบรรลุเปา้ หมายด้วยความ บากบั่นอุตสาหะ ท้ังที่เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีปฏิบัติร่วมกับโค้ช ใ น ชั้ น เ รี ย น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ที่ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ต น เ อ ง ต า ม ล า พั ง (Middleton, & Perks, 2014; Rechtschaffen, 2014; Sanzo, Myran, & Caggiano, 2014; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Stone, & Heen, 2015; Blackburn, 2016; Cain, & others, 2016; Markham, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Hildrew, 2018) ความมุ่งม่ันพยายามเปน็ กญุ แจแหง่ ความสาเรจ็ ผู้เรียนทมี่ ี ความมุ่งม่ันพยายามจะประสบความสาเร็จในการเรียนรู้และชีวิต ในอนาคต โค้ชวิเคราะห์ระดับความสามารถของผู้เรียน และลาดับ ความซบั ซอ้ นของกจิ กรรมการเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสม ชว่ ยกระตนุ้ ให้ผเู้ รยี น ใช้ความมุ่งมั่นพยายามแล้วประสบความสาเร็จ เกิดเป็นการเรียนรู้วา่ “ถา้ ตอ้ งการประสบความสาเรจ็ ตอ้ งใชค้ วามม่งุ มั่นพยายาม” ซ่ึงเป็น ความคิดท่ีถูกต้องเป็น “ฉันทาคติ” เป็นการโปรแกรมความคิดน้ี ติดตัวไปจนเติบโตเป็นผใู้ หญ่

76 การโคช้ เพือ่ พฒั นาศักยภาพผเู้ รยี น แนวปฏิบัติสาหรับการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความมุ่งม่ันและ พยายามในการปฏบิ ัติกิจกรรม มีดังน้ี 1) ช้ีแนะให้เห็นว่าความสาเร็จ เกิดจากความมุ่งม่ันพยายาม 2) ชี้แนะให้เห็นความก้าวหน้าหลังใช้ ความมุ่งมั่นพยายาม 3) ช่ืนชมเม่ือผู้เรยี นแสดงออกถึงการใช้ความ มุ่งม่ันพยายาม 4) ออกแบบกิจกรรมให้ท้าทายความสามารถของ ผู้เรียนอย่างพอดี และ 5) ให้สะท้อนคิดถึงผลลัพธ์ของการมีความ มงุ่ มัน่ พยายาม(Middleton,& Perks,2014; Rechtschaffen,2014; Sanzo, Myran, & Caggiano, 2014; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Stone, & Heen, 2015; Blackburn, 2016; Cain, & others, 2016; Markham, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Hildrew, 2018) แสดงได้ดัง แผนภาพตอ่ ไปน้ี

การโคช้ เพ่ือพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน 77 แนวปฏิบตั ิ 1. ช้ีแนะใหเ้ ห็นว่าความสาเร็จ การกระตุ้นให้ผู้เรยี น เกิดจากความมงุ่ ม่ันพยายาม มีความมงุ่ มั่นและพยายาม 2. ชี้แนะใหเ้ หน็ ความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ หลงั ใชค้ วามมุ่งม่นั พยายาม 3. ชน่ื ชมเม่ือผเู้ รยี นแสดงออก ถงึ การใชค้ วามมุ่งมั่นพยายาม 4. ออกแบบกจิ กรรม ใหท้ า้ ทายความสามารถ ของผู้เรยี นอยา่ งพอดี 5. ให้สะท้อนคิดถงึ ผลลัพธ์ ของการมีความมุ่งมั่นพยายาม แผนภาพ 24 แนวปฏบิ ตั กิ ารกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนมคี วามมงุ่ มั่นและพยายาม ในการเรยี นรู้

78 การโค้ชเพือ่ พัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 20) แสดงออกถึงความกระตือรือรน้ และการเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ การแสดงออกถึงความกระตือรือร้นและการเป็นบุคคล แห่งการเรียนรู้ หมายถึง การท่ีโค้ชแสดงพฤติกรรมต่างๆ ที่สะท้อน ถึงการเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเน่ือง เป็นตัวแบบที่ดีด้านการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ซึมซับ พฤติกรรมเหล่านั้น (Cozolino, 2014; Hall, Curtin, & Rutherford, 2014; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Cain, & others, 2016; Boyatzis, & Jack, 2018) การกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นบุคคลท่ีมีความกระตือรือร้นในการ เรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง สง่ิ หน่ึงที่ขาดไมไ่ ดค้ ือ ผเู้ รียนต้องอยู่ ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมท่ีมีความกระตือรือร้น ซึ่งน่ันก็คือพฤติกรรม การแสดงออกของโคช้ กล่าวคือถา้ ผ้เู รยี นได้อยู่ใกล้ชิดกบั โคช้ ที่มคี วามกระตือรืนร้น กระฉับกระเฉง ตื่นตัว รักการเรยี นรู้ สืบเสาะแสวงหาความรู้ ชอบแกป้ ญั หา ด้วยวิธีการท่ีสรา้ งสรรค์แล้ว มีแนวโน้มว่าผู้เรียนจะเกิดการเรยี นรดู้ ้วยการ ซึมซับพฤติกรรมของโค้ชในทส่ี ดุ เปรียบเสมือนโค้ชคอื ตัวแบบของผเู้ รียน โคช้ มพี ฤติกรรมอย่างไร มีแนวโนม้ ทผี่ ูเ้ รียนจะมพี ฤตกิ รรมอย่างนั้น แนวปฏิบัติสาหรบั การแสดงออกถึงความกระตือรือร้นและ การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีดังน้ี 1) พูดคุยเหตุการณ์ที่น่าสนใจ

การโคช้ เพ่ือพฒั นาศักยภาพผ้เู รียน 79 ในปัจจุบัน 2) นาความรู้ใหม่ๆ มาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้เรียน 3) update ข่าวสารที่เปน็ ประโยชน์ต่อการดารงชวี ิต4) เลา่ ประสบการณ์ ของโค้ชที่ผู้เรียนสนใจอยากเรียนรู้ และ 5) สืบเสาะแสวงหาความรู้ รว่ มกบั ผู้เรยี น (Cozolino,2014; Hall, Curtin,&Rutherford,2014; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Cain, & others, 2016; Boyatzis, & Jack, 2018) แสดงได้ ดังแผนภาพต่อไปน้ี แนวปฏบิ ตั ิ 1. พูดคุยเหตกุ ารณ์ทนี่ ่าสนใจในปัจจุบัน การแสดงออกถึงความ กระตือรอื ร้นและการเปน็ 2. นาความรใู้ หมๆ่ บุคคลแห่งการเรียนรู้ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผูเ้ รยี น 3. update ขา่ วสารท่เี ป็นประโยชน์ ต่อการดารงชีวติ 4. เลา่ ประสบการณข์ องโค้ช ทีผ่ เู้ รียนสนใจอยากเรยี นรู้ 5. สืบเสาะแสวงหาความรู้ร่วมกัน ระหว่างโคช้ กับผเู้ รียน แผนภาพ 25 แนวปฏิบตั กิ ารแสดงออกถงึ ความกระตือรือร้นและการเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้

80 การโค้ชเพ่อื พฒั นาศักยภาพผ้เู รยี น สรุปศิลปะการโค้ชด้าน Enliven ท่ีประกอบด้วยบทบาท การโคช้ และแนวปฏบิ ัติการโคช้ ตามที่กลา่ วมาขา้ งตน้ ได้ดงั น้ี บทบาทการโค้ชและแนวปฏบิ ัตดิ ้าน Enliven 16. กระตุน้ แรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้ 1) พูดกระตุ้นใหค้ ดิ ทางบวกตอ่ ตนเอง 2) ชี้ให้เหน็ คุณคา่ ของตนเองทมี่ ีตอ่ บคุ คลอนื่ 3) ชใ้ี หเ้ หน็ คณุ ค่าของสง่ิ ท่ผี ้เู รยี นกาลังกระทา 4) เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนทบทวนจดุ ม่งุ หมายในชีวติ ของตนเอง 5) แลกเปล่ียนเรยี นรู้แรงบนั ดาลใจและแรงปรารถนา ระหว่างโค้ชกับผเู้ รียน 17. กระตุ้นแรงจงู ใจภายในและความตอ้ งการเรียนรูส้ ่ิงท่ที า้ ทาย 1) ชี้แนะใหเ้ หน็ ว่าทุกคนสามารถเรยี นรไู้ ด้ 2) ชี้แนะใหเ้ ห็นความสาเรจ็ ในอดตี ของผู้เรยี น 3) ชแ้ี นะใหเ้ ห็นผลลัพธใ์ นอนาคตหลังการเรยี นรู้ 4) ชี้ใหเ้ หน็ ความทา้ ทายของสิ่งท่กี าลังเรียนรู้ 5) แลกเปลยี่ นประสบการณ์การเรียนร้สู งิ่ ทท่ี า้ ทายกบั ผ้เู รยี น

การโค้ชเพื่อพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น 81 18. ส่ือสารและสร้างบรรยากาศท่กี ระตอื รือรน้ และเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ 1) พูดแสดงความสนใจและต่นื เต้นตอ่ ความคดิ เห็นของผเู้ รยี น 2) พูดช่นื ชมพฤติกรรมที่ดีของผู้เรียนดว้ ยสหี นา้ ท่าทางตืน่ เต้น 3) แสดงพฤตกิ รรมทีต่ น่ื เตน้ อยา่ งคาดไม่ถงึ ในคณุ ภาพผลงานของผู้เรยี น 4) แสวงหาจดุ เดน่ ในผลงานของผู้เรยี นและกล่าวชนื่ ชมดว้ ยความจริงใจ 5) สร้างอารมณข์ นั สอดแทรกกิจกรรมและสัมพนั ธก์ บั สิง่ ท่ีผูเ้ รียน กาลงั เรยี นรู้ 19. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามมุ่งมนั่ และพยายามในการเรียนรู้ 1) ชแ้ี นะใหเ้ ห็นวา่ ความสาเรจ็ เกดิ จากความม่งุ มัน่ พยายาม 2) ช้ีแนะให้เห็นความก้าวหน้าหลงั ใช้ความมงุ่ ม่นั พยายาม 3) ชน่ื ชมเมอ่ื ผูเ้ รียนแสดงออกถึงการใช้ความมงุ่ มนั่ พยายาม 4) ออกแบบกิจกรรมให้ทา้ ทายความสามารถของผู้เรียนอยา่ งพอดี 5) ให้สะท้อนคิดถงึ ผลลัพธ์ของการมีความมุ่งมน่ั พยายาม 20. แสดงออกถงึ ความกระตอื รือรน้ และการเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ 1) พดู คยุ เหตกุ ารณ์ทีน่ ่าสนใจในปจั จุบัน 2) นาความร้ใู หมๆ่ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เรยี น 3) update ข่าวสารทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การดารงชวี ิต 4) เล่าประสบการณ์ของโค้ชทผ่ี ู้เรยี นสนใจอยากเรยี นรู้ 5) สืบเสาะแสวงหาความร้รู ว่ มกบั ผู้เรยี น

82 การโคช้ เพ่ือพฒั นาศักยภาพผู้เรยี น โค้ชจะต้องเลอื กใชห้ รอื ผสมผสาน การสรา้ งความยึดมน่ั ผูกพนั (Engage) การเสรมิ พลงั (Empower) และการสร้างความกระตือรอื ร้น (Enliven) ใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั ธรรมชาติของผู้เรยี น

การโค้ชเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน 83 5. สรปุ บทบาทการโคช้ และแนวปฏิบัตกิ ารโคช้ ตามรปู แบบ 3Es จากท่ีได้นาเสนอรูปแบบการโค้ช 3Es บทบาทการโค้ชด้าน Engage, Empower และ Enliven ตลอดจนแนวปฏิบัติการโค้ช สามารถ สรปุ รวบยอดอีกครั้งไดด้ งั น้ี Engage 1. สรา้ งความไว้วางใจ (trust) ให้เกดิ กบั ผเู้ รยี น 1) คดิ พดู และทาในสิ่งท่ตี รงกนั 2) เหน็ อกเห็นใจ ไตถ่ ามทกุ ขส์ ุข 3) ปฏิบัตติ ามคามนั่ สัญญา 4) ปฏิบตั สิ งิ่ ใดๆ อยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย 5) แสดงออกทางอารมณ์อย่างมีความมน่ั คง 2. สรา้ งสมั พนั ธภาพที่ดีบนพนื้ ฐานของการยอมรบั นบั ถือ 1) ยิ้มแย้มแจม่ ใส ทักทาย 2) พดู คุยในเรอื่ งท่ีสรา้ งสรรค์ 3) แลกเปลย่ี นเรียนร้เู รื่องอนื่ ทีผ่ เู้ รยี นสนใจ 4) กล่าวขอบคุณหรอื ขอโทษตามแตล่ ะโอกาส 5) ยอมรับความคิดเห็นหรือเหตผุ ลทแี่ ตกต่างกัน

84 การโค้ชเพอื่ พฒั นาศักยภาพผเู้ รียน 3. ปฏิบตั ติ อ่ ผ้เู รยี นด้วยความเคารพศักดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์ 1) ใหเ้ กียรตผิ ู้เรยี น 2) ให้ความยตุ ธิ รรม 3) ให้ความเสมอภาคโดยไม่แบ่งแยก 4) ให้ความปลอดภยั ท้ังรา่ งกายและจติ ใจ 5) มอบสิ่งท่ีเปน็ ประโยชนส์ งู สดุ แกผ่ เู้ รียน 4. ตรึงความสนใจ เอาใจใส่ ตดิ ตาม และประคบั ประคองผูเ้ รยี น 1) ลาดับกจิ กรรมตามธรรมชาตแิ ละความสนใจ 2) ปรบั กจิ กรรมให้เหมาะกบั สถานการณ์ 3) ดูแลกระบวนการเรียนรู้ 4) เฝา้ ตดิ ตามความก้าวหน้า 5) ประคับประคองจนเกดิ การเรียนรู้ 5. ฟังผเู้ รียนอย่างลึกซึ้ง ไมด่ ว่ นสรุป ไมด่ ่วนตดั สนิ ไม่ด่วนสวนกลบั 1) ต้งั ใจฟงั ส่ิงที่ผู้เรียนต้องการส่ือสาร 2) สงั เกตภาษากายทผ่ี ู้เรียนแสดงออก 3) ซกั ถามขอ้ มลู ท่เี ก่ียวข้องอยา่ งรอบดา้ น 4) ใหโ้ อกาสผู้เรียนเสนอสิง่ ทีต่ ้องการ 5) ตอบสนองผเู้ รยี นด้วยวธิ กี ารทีน่ ุ่มนวล

การโคช้ เพ่อื พฒั นาศักยภาพผเู้ รยี น 85 Empower 6. กระตุน้ ผู้เรียนให้มี Growth mindset 1) ชแ้ี นะให้เห็นความสาคัญของการเรยี นรู้ 2) ให้ผู้เรียนนาสิ่งทไ่ี ด้เรียนรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 3) ยกตัวอย่างบคุ คลท่ีมี Growth mindset 4) ใหผ้ เู้ รยี นตรวจสอบ Growth mindset ของตนเอง 5) ชใ้ี หผ้ ูเ้ รียนเหน็ วา่ มีพฒั นาการของ Growth mindset 7. กระต้นุ ใหผ้ ้เู รยี นกาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ของตนเอง 1) ถามผู้เรียนว่าตอ้ งการเรียนรู้สิง่ ใด 2) ถามผเู้ รียนว่ามเี ป้าหมายการเรียนรอู้ ย่างไร 3) ใหผ้ ้เู รยี นสะท้อนคิดเป้าหมายการเรยี นร้ขู องตน 4) ใหผ้ ู้เรียนแลกเปลย่ี นเรียนรเู้ ป้าหมายของตนกบั บคุ คลอืน่ 5) ใหผ้ ูเ้ รยี นกาหนดเป้าหมายการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั ตนเอง 8. กระตุ้นใหผ้ ูเ้ รยี นมีวนิ ัยในการเรียนรูแ้ ละนาตนเอง 1) ใหผ้ เู้ รยี นวางแผนไปสเู่ ปา้ หมายด้วยตนเอง 2) สอบถามและติดตามความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรู้ 3) ใหก้ ารสะท้อนคดิ ความมีวินยั ในการเรียนรู้ของตนเอง 4) ชน่ื ชมเมือ่ แสดงพฤติกรรมการมีวินัยในการเรยี นรู้ 5) ยกตวั อย่างบุคคลท่ปี ระสบความสาเรจ็ จากการมวี ินัยในตนเอง

86 การโคช้ เพ่อื พัฒนาศักยภาพผ้เู รียน 9. กระตุ้นใหผ้ ้เู รยี นใชก้ ระบวนการเรียนร้ทู ่หี ลากหลาย 1) ให้ออกแบบกระบวนการเรยี นรขู้ องตนเอง 2) ใหน้ าเสนอกระบวนการเรยี นรูข้ องตนกบั บุคคลอนื่ 3) ติดตามใหป้ ฏบิ ัติตามข้ันตอนของกระบวนการเรยี นรู้ 4) ใหก้ ารสะท้อนคิดประสทิ ธภิ าพของกระบวนการเรยี นรู้ทใ่ี ช้ 5) เปิดโอกาสให้ปรับปรงุ กระบวนการเรียนรทู้ ี่ดีกว่าเดิม 10. กระตุน้ ใหผ้ ้เู รยี นใชก้ ระบวนการคิดอยา่ งหลากหลาย 1) ต้งั คาถามใหค้ ดิ 2) ให้วางแผนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 3) ใหแ้ ลกเปลย่ี นกระบวนการคิดกบั เพอ่ื น 4) จาลองสถานการณใ์ ห้สร้างสรรค์นวตั กรรม 5) ให้การสะท้อนคดิ ถงึ กระบวนการคิดของตนเอง 11. ใชพ้ ลงั คาถามกระตุน้ การคดิ ขัน้ สงู ดา้ นต่างๆ ของผเู้ รียน 1) ใชค้ าถามปลายเปิด 2) ถามทลี ะคาถามและใหเ้ วลาให้คดิ 3) ถามคาถามทีส่ ัมพันธก์ บั ความคิดรวบยอด 4) ถามให้ผู้เรยี นให้เหตผุ ลสนบั สนนุ คาตอบของตน 5) ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับทีไ่ ม่เฉลยคาตอบ แตจ่ ูงใจใหค้ ดิ ต่อ

การโค้ชเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน 87 12. ใหผ้ ู้เรยี นเลอื กและตัดสินใจเกี่ยวกับการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 1) ถามความตอ้ งการของผู้เรียน 2) เปดิ โอกาสให้เลอื กและตัดสนิ ใจ 3) ให้ข้อมูลเพือ่ การตดั สินใจที่ถกู ตอ้ ง 4) แลกเปลย่ี นประสบการณ์การตดั สินใจกบั ผูเ้ รียน 5) ให้ผู้เรยี นสะท้อนคดิ การเลอื กและตัดสินใจของตนเอง 13. ใหก้ าลงั ใจและเสรมิ พลังความเชื่อม่นั ในความสามารถของตน 1) พดู ใหก้ าลังใจผ้เู รียน 2) ช้ใี ห้ผูเ้ รียนเห็นความเกง่ ของตนเอง 3) ชี้ใหผ้ ู้เรียนเหน็ พัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง 4) ไมพ่ ูดถงึ ความล้มเหลวแต่ใหม้ องความสาเร็จท่อี ยู่ขา้ งหนา้ 5) ให้ผู้เรยี นสะท้อนคิดการมกี าลังใจและความเชอ่ื ม่ันของตน 14. ให้ผูเ้ รยี นประเมินตนเองและสะทอ้ นคิดสู่การปรบั ปรงุ และพัฒนา 1) ใหผ้ ู้เรียนทบทวนความกา้ วหนา้ ของตนเอง 2) ถามผ้เู รยี นถงึ จุดเดน่ และจดุ ที่ต้องปรับปรุงผลงาน 3) ให้ผู้เรยี นประเมนิ ผลงานของตนดว้ ยเกณฑ์ทกี่ าหนดรว่ มกัน 4) ให้ผ้เู รียนวิเคระหแ์ ละกาหนดประเดน็ ทต่ี อ้ งปรบั ปรงุ พฒั นาตนเอง 5) ใหผ้ เู้ รียนสะท้อนคิดถงึ กระบวนการและผลลัพธ์ ของการปรับปรงุ พัฒนาตนเอง

88 การโคช้ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รยี น 15. ประเมนิ และให้ข้อมูลยอ้ นกลับทเี่ น้นการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ 1) ใชว้ ิธกี ารประเมนิ ทีห่ ลากหลาย 2) ใช้เคร่ืองมือประเมินที่มคี ณุ ภาพ 3) ประเมนิ อย่างตอ่ เนื่อง 4) ใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับทเี่ น้นกระบวนการเรยี นรู้ 5) ใช้ถ้อยคาสุภาพนุ่มนวลในการใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั Enliven 16. กระต้นุ แรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้ 1) พูดกระตุ้นใหค้ ดิ ทางบวกต่อตนเอง 2) ชี้ให้เห็นคุณค่าของตนเองท่มี ีตอ่ บคุ คลอืน่ 3) ชใ้ี ห้เห็นคุณค่าของสงิ่ ท่ผี ูเ้ รียนกาลงั กระทา 4) เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนทบทวนจดุ มุง่ หมายในชีวิตของตนเอง 5) แลกเปลย่ี นเรียนรู้แรงบันดาลใจและแรงปรารถนา ระหวา่ งโคช้ กับผู้เรียน 17. กระต้นุ แรงจูงใจภายในและความต้องการเรียนรสู้ ่ิงทีท่ ้าทาย 1) ชแ้ี นะใหเ้ ห็นวา่ ทกุ คนสามารถเรียนรไู้ ด้ 2) ช้แี นะใหเ้ หน็ ความสาเร็จในอดีตของผู้เรยี น 3) ชีแ้ นะให้เห็นผลลัพธใ์ นอนาคตหลงั การเรยี นรู้ 4) ชี้ใหเ้ ห็นความท้าทายของสงิ่ ที่กาลังเรียนรู้ 5) แลกเปลีย่ นประสบการณ์การเรยี นรู้ส่งิ ทีท่ ้าทายกบั ผ้เู รยี น

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น 89 18. ส่ือสารและสร้างบรรยากาศท่กี ระตอื รือรน้ และเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ 1) พูดแสดงความสนใจและต่นื เต้นตอ่ ความคดิ เห็นของผเู้ รยี น 2) พูดช่นื ชมพฤติกรรมที่ดีของผู้เรียนด้วยสีหนา้ ท่าทางตืน่ เต้น 3) แสดงพฤตกิ รรมทีต่ น่ื เตน้ อยา่ งคาดไม่ถึงในคณุ ภาพผลงานของผู้เรยี น 4) แสวงหาจดุ เดน่ ในผลงานของผู้เรยี นและกล่าวชื่นชมด้วยความจริงใจ 5) สร้างอารมณข์ นั สอดแทรกกิจกรรมและสมั พนั ธก์ บั ส่งิ ท่ีผูเ้ รียน กาลงั เรยี นรู้ 19. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามมุ่งม่นั และพยายามในการเรยี นรู้ 1) ชแ้ี นะใหเ้ ห็นวา่ ความสาเรจ็ เกิดจากความมงุ่ มัน่ พยายาม 2) ช้ีแนะให้เห็นความก้าวหน้าหลงั ใช้ความมงุ่ มน่ั พยายาม 3) ชน่ื ชมเมอ่ื ผูเ้ รียนแสดงออกถึงการใช้ความมุ่งมนั่ พยายาม 4) ออกแบบกิจกรรมให้ทา้ ทายความสามารถของผู้เรยี นอยา่ งพอดี 5) ให้สะท้อนคิดถงึ ผลลพั ธข์ องการมคี วามมุ่งม่นั พยายาม 20. แสดงออกถงึ ความกระตอื รือรน้ และการเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ 1) พดู คยุ เหตกุ ารณ์ทีน่ ่าสนใจในปจั จุบนั 2) นาความร้ใู หมๆ่ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เรยี น 3) update ข่าวสารทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การดารงชีวิต 4) เล่าประสบการณ์ของโค้ชทผ่ี ู้เรยี นสนใจอยากเรยี นรู้ 5) สืบเสาะแสวงหาความรรู้ ว่ มกบั ผู้เรยี น

90 การโคช้ เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น ผู้สอนยุคใหม่ในฐานะท่ีเป็นโค้ชของผเู้ รียนควรสร้างความ ยึดม่ันผูกพัน (Engagement)เสริมพลังการเรียนรู้ (Empowerment) และ สร้างความกระตือรือร้น (Enliven) ที่สอดคล้องกับบทบาทการโค้ชและ แนวปฏบิ ตั กิ ารโค้ชท่ไี ดส้ ังเคราะห์มาดังกล่าวให้เหมาะสมสอดคล้องกับ สถานการณก์ ารโคช้ และต้องเรียนรู้ดว้ ยตนเองวา่ สถานการณ์ใดควรใช้ บทบาทการโค้ชและแนวปฏิบัติการโค้ชใดจงึ จะมีประสทิ ธิภาพ เพราะ สถานการณ์ท่ีแตกต่างกัน สภาพเง่ือนไขที่แตกต่างกัน คุณลักษณะ ของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน สิ่งต่างๆ เหล่านี้ คือปัจจัยกาหนด ของศิลปะการโคช้

การโคช้ เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน 91 บรรณานุกรม Abdulla, A. (2017). CoachingStudents in SecondarySchools:Closing The Gap Between Performance and Potential. New York, NY: Routledge. Adams, M. (2016). Change Your Questions Change Your Life: 12 Powerful Tools for Leadership, Coaching and Life (3rd ed.). Oakland, CA: Berrett - Koehler. Antonetti, J., & Stice, T. (2018). Powerful Task Design: Rigorous and EngagingTasks to Level Up Instruction. Thousand Oaks, CA: Corwin. Bartlett, J. (2015). Outstanding Assessment for Learning in the Classroom. New York, NY: Routledge. Berger, R. (2003). An Ethic of Excellence. Portmouth, NH: Heinemann. Bergin, C. (2018). Designing a Prosocial Classroom: Fostering Collaboration in Students from Pre-K-12 with the Curriculum You Already Use. New York, NY: W.W. Norton & Company. Blackburn, B. R. (2016). Motivating Struggling Learners: 10 Ways to Build Student Success. New York, NY: Routledge.

92 การโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพผเู้ รียน Blackburn, R. B. (2017). Rigor and Assessment in the Classroom. New York, NY: Routledge. Bloomberg, P., & Pitchford, B. (2017). Leading Impact Teams: Building a Culture of Efficacy. Thounsand Oaks, CA: Corwin. Blum, D. S. (2016). I Love Learning I Hate School: An Anthropology of College. New York, NY: Cornell University. Boniwell, I., & Smith, W. A. (2018). Positive Psychology Coaching in Practice. London: Routledge. Bossidy, L., & Charan, R. (2004). Confronting Reality: Doing What Matters to Get Things Right. New York, NY: Random House. Boyatzis, R. E., & Jack, A. I. (2018). The Neuroscience of Coaching, Consulting Psychology Journal: Practice and Research, 70(1), 11-27. DOI: 10.1037/cpb0000095 Boyle, B., and Charles, M. (2016). Curriculum Development. Thounsand Oaks, CA: SAGE. Brock, Annie. and Hundley, H. (2016). The Growth Mindset Coach: A Teacher’s Month–by–Month Handbook for Empowering Students to Achieve. Berkeley, CA: Ulysses Press. Brookhart, S. M. (2006). Formative Assessment Strategies for Every Classroom: An ASCD Action Tool. Alexandria, VA: ASCD.