Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน_1544648776

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน_1544648776

Description: การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน_1544648776

Search

Read the Text Version

การโคช้ เพื่อพฒั นาศักยภาพผเู้ รียน รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ

การโคช้ เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี น รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล

การโคช้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล พิมพค์ ร้ังที่ 1 มกราคม 2562 จานวน 300 เล่ม ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของสานกั หอสมดุ แหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่, รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล. การโค้ชเพื่อพฒั นาศักยภาพผู้เรียน. – กรุงเทพฯ: จรลั สนทิ วงศ์การพมิ พ์, 2562. 113 หนา้ . 1. การโค้ช. I. ชื่อเรอื่ ง ISBN 978-616-478-303-4 ราคา 200 บาท สงวนลิขสทิ ธเิ์ นอ้ื หาและภาพประกอบ ตามพระราชบญั ญตั ิลขิ สทิ ธ์ิ พิมพ์ท่ี บริษทั จรลั สนิทวงศก์ ารพมิ พ์ จากัด 233 ซอยเพชรเกษม 102/2 แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศพั ท์ 02-809-2281-3 แฟกซ์ 02-809-2284 www.fast-book.com e-mail: [email protected]

คานา หนังสือ “การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน” เล่มนี้ ได้นา ผลการวจิ ยั ของผูเ้ ขียนมาเรยี บเรยี งผสมผสานกับประสบการณ์การโค้ช และประสบการณ์การวจิ ัยท่ีผา่ นมาเป็นระยะเวลากว่า 10 ปี มีความมุ่งหมายเพ่ือนาเสนอองค์ความรู้ในเชิงวิชาการและ ผลการวิจัยเก่ียวกับบทบาทการโค้ชของผู้สอนในฐานะท่ีเป็นโค้ช ของผูเ้ รยี น (Teacher as the Coach) ให้กับนสิ ติ นักศึกษา อาจารย์ และผู้สอนท่ีมีความสนใจศึกษาค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาทักษะ การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ซึ่งเป็นกุญแจสาคัญในการ พฒั นาผู้เรียนไปสโู่ ลกอนาคต แนวทางการเขียนหนังสือเล่มนี้ มุ่งนาเสนอสาระสาคัญท่ีเป็น แก่นขององค์ความรู้ โดยยังไมไ่ ด้เขียนขยายรายละเอียดไว้ และผู้เขยี น หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มจะให้แนวคิดแนวทางที่เป็นประโยชน์ ต่อผู้อ่านได้มากพอสมควร และขอขอบคุณคณะครแู ละนักเรียนทุกคน ท่ไี ดร้ ่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเขียนหนังสอื เล่มน้ีด้วยดีตลอดมา รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล

สารบญั หัวข้อ หน้า 1 กระบวนทศั นพ์ ืน้ ฐานของการโคช้ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น........... 1 2 รปู แบบการโคช้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผูเ้ รยี น “3Es”................................. 4 3 บทบาทการโค้ชตามรปู แบบ “3Es”............................................................... 11 4 ศิลปะการโค้ช How to Success:จากบทบาทการโคช้ สแู่ นวปฏบิ ัติ 19 4.1 ศลิ ปะการโคช้ ด้าน Engage....................................................................... 20 4.2 ศลิ ปะการโคช้ ด้าน Empower................................................................ 35 4.3 ศลิ ปะการโคช้ ด้าน Enliven...................................................................... 65 5 สรปุ บทบาทการโคช้ และแนวปฏิบตั กิ ารโคช้ ตามรูปแบบ 3Es............ 83 บรรณานกุ รม........................................................................................................... 91 ดรรชนีคาสาคญั .................................................................................................... 105

บัญชแี ผนภาพ แผนภาพ หน้า 1 รูปแบบการโคช้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน 3Es................................... 8 2 การเลอื กใช้และผสมผสานองคป์ ระกอบของการโคช้ ........................... 9 3 รูปแบบการโคช้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น “3Es” ส่วนขยาย Engage............................................................................................. 12 4 รปู แบบการโค้ชเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผูเ้ รียน “3Es” สว่ นขยาย Empower....................................................................................... 14 5 รปู แบบการโค้ชเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน “3Es” สว่ นขยาย Enliven............................................................................................. 16 6 แนวปฏิบัตกิ ารสร้างความไวว้ างใจใหเ้ กดิ กบั ผเู้ รียน........................... 24 7 แนวปฏิบัตกิ ารสร้างสมั พันธภาพทด่ี บี นพ้ืนฐานของ การยอมรบั นับถอื .............................................................................................. 26 8 แนวปฏิบตั กิ ารปฏิบัตติ อ่ ผเู้ รยี นดว้ ยความเคารพศกั ดศ์ิ รี ความเปน็ มนษุ ย์................................................................................................. 28 9 แนวปฏบิ ตั กิ ารตรงึ ความสนใจ เอาใจใส่ ตดิ ตาม และประคับประคองผเู้ รยี น............................................................................ 30 10 แนวปฏบิ ัตกิ ารฟงั ผเู้ รียนอยา่ งลึกซง้ึ ไม่ดว่ นสรปุ ไมด่ ว่ นตดั สิน ไม่ดว่ นสวนกลบั .................................................................... 32 11 แนวปฏบิ ัตกิ ารกระตุ้นผเู้ รยี นใหม้ ี Growth mindset....................... 39 12 แนวปฏิบตั กิ ารใหผ้ เู้ รยี นกาหนดเปา้ หมายการเรยี นรู้ของตนเอง.... 41

บัญชแี ผนภาพ (ต่อ) แผนภาพ หนา้ 13 แนวปฏิบัตกิ ารกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นมวี ินยั ในการเรยี นรู้ 43 และนาตนเอง....................................................................................................... 45 14 แนวปฏิบัตกิ ารกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ 47 ทห่ี ลากหลาย....................................................................................................... 49 15 แนวปฏิบตั กิ ารกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นใชก้ ระบวนการคิด 51 อย่างหลากหลาย................................................................................................ 54 16 แนวปฏบิ ตั กิ ารใชพ้ ลงั คาถามกระตุน้ การคดิ ข้นั สงู ดา้ นต่างๆ 57 ของผเู้ รยี น............................................................................................................. 60 17 แนวปฏบิ ตั กิ ารใหผ้ เู้ รียนเลือกและตดั สินใจเกย่ี วกับการเรยี นรู้ 69 ด้วยตนเอง............................................................................................................. 18 แนวปฏิบัตกิ ารใหก้ าลงั ใจและเสรมิ พลังความเช่ือมน่ั ในความสามารถของตน.................................................................................... 19 แนวปฏิบตั กิ ารใหผ้ ้เู รียนประเมนิ ตนเองและสะทอ้ นคิด สู่การปรบั ปรงุ และพฒั นา............................................................................... 20 แนวปฏบิ ตั กิ ารประเมนิ และให้ขอ้ มลู ย้อนกลบั ทเี่ นน้ พฒั นา กระบวนการเรยี นร.ู้........................................................................................... 21 แนวปฏิบัตกิ ารกระตุ้นแรงบนั ดาลใจและแรงปรารถนา ในการเรยี นรู้.........................................................................................................

บัญชแี ผนภาพ (ตอ่ ) แผนภาพ หนา้ 22 แนวปฏบิ ตั กิ ารกระตุ้นแรงจงู ใจภายในและความต้องการ 71 เรยี นรูส้ ง่ิ ทท่ี า้ ทาย............................................................................................. 74 23 แนวปฏิบัตกิ ารส่ือสารและสร้างบรรยากาศทก่ี ระตอื รอื รน้ 77 และเอ้อื ตอ่ การเรยี นร.ู้ ...................................................................................... 79 24 แนวปฏบิ ตั กิ ารกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นมีความมงุ่ ม่นั และพยายาม ในการเรียนรู้......................................................................................................... 25 แนวปฏบิ ตั กิ ารแสดงออกถงึ ความกระตือรือรน้ และการเป็นบุคคลแหง่ การเรยี นร.ู้ ..............................................................

การโค้ชเพือ่ พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น 1 การโค้ชเพือ่ พัฒนาศักยภาพผู้เรยี น 1. กระบวนทศั น์พืน้ ฐานของการโคช้ เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพผ้เู รียน การเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละบุคคลเกิดขึ้นจากการลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเองจนมีประสบการณ์ส่วนบุคคลและนาประสบการณ์ เหล่าน้ันมาวิเคราะห์และสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ และเมื่อปฏิบัติ บ่อยๆ ซ้าๆ จะพัฒนาเป็นทักษะ ส่ังสมเป็นความเช่ียวชาญในท่ีสุด ดังที่จอห์นดุย (John Dewey) กล่าวไว้ว่า การเรียนรู้ของแต่ละบุคคล นน้ั เกิดจากการมปี ระสบการณต์ า่ งๆ ของบุคคลน้ันเอง และสามารถ เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (Dewey, 1934) และนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ความคิดและพฤติกรรม โดยเฉพาะด้านความคิดนั้นเป็นพลังที่นาไปสู่ การสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม (Dewey, 1997) ซึ่ ง เ ป็ น ส่ิ ง ส า คั ญ แ ล ะ จ า เ ป็ น ส า ห รั บ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต อ ย่ า ง มี คุ ณ ภ า พ ในโลกปจั จบุ นั และอนาคต ดังน้ันการศึกษาที่แท้จริงจึงมีจุดเน้นที่สาคัญคือ การพัฒนา ผู้เรียนให้มีการเจริญเติบโต (Growth) ในด้านต่างๆ โดยเฉพาะศักยภาพ ในการเรยี นรู้ด้วยตนเองเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้และมที กั ษะการคิดขั้นสูง เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดไตร่ตรอง การคิดสรา้ งสรรค์ เป็นต้น

2 การโคช้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน บทบาทของผู้สอนคือการสร้างแรงปรารถนา แรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ การช้ีแนะให้ผู้เรียนมีจินตนาการสร้างสรรค์ให้ผู้เรียน ใช้ศักยภาพของตนเองในการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ การคิด ไตร่ตรอง และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการ ปรับปรุงและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบทบาทผู้สอนดังกล่าวน้ี เป็นรากฐานทางความคิดเก่ียวกับการโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียน การเรียนรู้อะไรต้องตระหนักถึงคุณภาพ สามารถเข้าถึงการเรียนรู้ เพอื่ สรา้ งความเท่าเทยี ม เป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรแู้ ละเรียนรูต้ ลอดชีวิต การโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียน หมายถึง การท่ีผู้สอน ในฐานะที่เป็นโค้ชของผู้เรียน (Teacher as the Coach) ดาเนินการ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิดขั้นสูง รวมทั้งคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยใช้วิธีการ สร้างกระบวนการทางความคิดเพ่ือการเติบโต (Growth mindset) การสร้างบรรยากาศทางบวก (Affirming) การให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้น การเรียนรู้ (Feed–up) การใช้พลังคาถาม (Power questions) การช้แี นะเพื่อการรคู้ ดิ (Cognitive guide) การเปน็ น่งั ร้านการเรยี นรู้ (Scaffolding) การให้ความเอื้ออาทร (Caring) การกากับติดตาม ความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ (Monitoring) การประเมินเพ่ือการ เ รี ย น รู้ ( assessment for learning) ก า ร ใ ห้ ข้ อ มู ล ย้ อน ก ลั บ (Feedback) และการให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอดด้วยตนเอง

การโคช้ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน 3 ( Feed–forward) (Costa & Gramston, 2002; Downey, 2003; Feather & Aznar, 2011; Kise, 2017; Ellison & Carolee, 2009; Whitmore, 2009; Knight, 2011; DoFour & DoFour, 2012; Morel & Cushman, 2012; Sweeney, 2013) การโค้ชมีประโยขน์ที่สาคัญ คือ ทาให้ผู้เรียนมีกระบวนการ ทางความคดิ เพ่อื การเตบิ โต(Growth mindset) มที กั ษะกระบวนการเรยี นรู้ ด้วยตนเอง มีทักษะการคิดขั้นสูง มีความเช่ือม่ันในตนเอง มีวินัยในการ เรียนรู้ กากับตนเอง มีทักษะในการประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาตนเอง ได้อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นคุณลักษณะที่จาเป็นอย่างมากในโลกอนาคต (Dweck, 2006; Middleton & Perks, 2014; Gregory & Kaufeldt, 2015; Marz& Hertz,2015; Duckworth,2016; Fogarty,2016; Goldberg, 2016; Hildrew, 2018; Smith & Firth, 2018) การโค้ชเป็นบทบาทของผูส้ อนท่จี ะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มตามศักยภาพ เป็นการช่วยทาให้ผู้เรียน เปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มีทักษะในการเรยี นรู้ ซึ่งเป็นพน้ื ฐานท่สี าคญั ของ การสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม อันเป็นทกั ษะจาเป็นท่ีผ้เู รยี นทกุ คนจาเปน็ ตอ้ งมี ในโลกปัจจุบันและอนาคต และเป็น Soft skills ในการโค้ชเพื่อเสริมสร้าง Soft skills ให้เกิดกับผูเ้ รียนซึง่ เปน็ สง่ิ จาเป็นในยคุ ดิจทิ ลั

4 การโคช้ เพื่อพฒั นาศกั ยภาพผ้เู รยี น 2. รปู แบบการโค้ชเพ่อื พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น “3Es” นักวิชาการเก่ียวกับการโค้ชหลายท่าน ได้นาเสนอแนวคิด หลักการและเทคนิคเกีย่ วกับการโค้ชไว้อย่างหลากหลาย โดยรวมแล้วไดใ้ ห้ แนวคิดเก่ียวกับการโค้ชไว้ว่า เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ด้านต่างๆ ตลอดจนทักษะการเรียนรู้ ทักษะการคิด ด้วยการกระตุ้น ใหผ้ ้เู รียนใช้ความสามารถของตนเองในการเรยี นรู้เปน็ สาคญั โดยการใช้วิธีการที่สอดคล้องกับแนวคิดมนุษยนิยม ด้วยการ กร ะตุ้ นให้ ผู้ เรี ยนก าหนด เป้ าหมายและวิ ธี กา รเรี ยนรู้ ด้ วยตนเอง การใช้พลังคาถาม การสร้างแรงจูงใจ สร้างแรงบันดาลใจ แรงปรารถนา การใหค้ าแนะนา คาชแี้ นะทีป่ ราศจากการตดั สนิ และการสง่ั การการใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับ การให้ผู้เรียนสะท้อนคิด ตรวจสอบตนเองประเมินตนเอง กากับตนเอง ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง โดยมีความเชื่อว่าผู้เรียนทุกคน สามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ จากการวิเคราะห์แนวคิดเก่ียวกับการโค้ชของนักวิชาการ รวมทั้งผลการวิจัยต่างๆ ได้ทาให้เห็นว่า การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในบริบทโลกยุคปัจจบุ ันนั้น เน้นการกระตุ้นมติ ิดา้ นใน (inner) ของผเู้ รียน มากกว่าการอบรมสั่งสอนและการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนไปยังผู้เรียน โดยตรง

การโคช้ เพื่อพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียน 5 อันเนื่องมาจากบริบทในปัจจุบันผู้เรียนสามารถเข้าถึงความรู้ ตา่ งๆ ผ่านอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ได้ดว้ ยตนเอง ประกอบกับมีความรใู้ หม่ เกิดข้ึนอย่างรววดเร็วและต่อเน่ือง ประกอบกับความหลากหลายของ ผู้เรียนในด้านวิธีคิด วิธีการเรียนรู้ ลักษณะนิสัย ระดับความสามารถ ท่ีแตกต่างกัน ทาให้ผู้สอนไม่สามารถนาความรู้มาถ่ายทอดให้กับผู้เรียน ได้อีกต่อไป อีกท้ังผู้เรียนยังต้องได้รับการพัฒนาให้มีทักษะการคิดขั้นสูง (higher–order thinking) มีทักษะการเรียนรู้ และการสร้างสรรค์นวตั กรรม เพอื่ ใหส้ ามารถประกอบอาชพี และดารงชีวติ อยไู่ ด้อย่างมคี ุณภาพ เป็นปัจจัย ที่ทาให้ผู้สอนต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสอนหรือการถ่ายทอดความรู้ มาเป็นโค้ช เป็นโค้ชของผู้เรียน (teacher as the coach) เพ่ือให้ผู้เรยี น พัฒนาตนเองเตม็ ตามศกั ยภาพ ด้วยเหตทุ ี่การโค้ชเปน็ วิธีการพัฒนาผู้เรยี นให้สามารถเรยี นรู้ และพัฒนาได้ด้วยตนเอง ผ่านวิธีการโค้ชแบบต่างๆ ซ่ึงมีหลักฐาน จากผลการวจิ ยั ทผ่ี า่ นแสดงให้เหน็ ว่าการโค้ชสามารถพฒั นาผูเ้ รยี นได้อยา่ งมี ประสิทธิผล ดังนั้นจึงเป็นท่ีน่าสนใจว่า รูปแบบการโค้ช บทบาทการโค้ช ท่สี าคญั และจาเปน็ ในการโคช้ น้นั ควรเปน็ อยา่ งไร จากการศึกษาแนวคิดหลักการโค้ชของนักวิชาการหลายท่าน ได้แสดงให้เห็นในเบื้องต้นว่า บทบาทการโค้ชมีหลายประการ เช่น การสร้างความไว้วางใจ (trust) การสร้างบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้

6 การโคช้ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียน การสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผเู้ รยี น การเสริมสร้างกระบวนการทางความคดิ เพื่อการเติบโต (Growth mindset) การกระตุ้นให้ผู้เรียนกาหนดเป้าหมาย และวิธีการเรียนรู้ของตนเอง การใช้พลังคาถามกระตุ้นการคิดขั้นสูง การ สรา้ งแรงจูงใจ การสร้างแรงบนั ดาลใจ การสรา้ งความเชอ่ื มั่นในความสามารถ ของตนเอง การติดตามความก้าวหนา้ ทางการเรียนรู้ การใหค้ าแนะนาชี้แนะ การสง่ เสริมสนับสนุน การกระตุ้นให้จดั การตนเอง การเปดิ โอกาสให้ประเมนิ ตนเอง การกระตุ้นให้ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง การประเมินเพื่อพัฒนา การเรียนรู้ของผู้เรยี น การใหข้ ้อมูลย้อนกลบั อยา่ งสรา้ งสรรค์ เปน็ ต้น อกี ท้ัง ยงั มบี ทบาทอนื่ ๆ ท่ียังไมไ่ ด้กลา่ วถงึ อีกหลายประการ จากการสังเคราะห์เอกสารต่างๆ เช่น Berger, 2003; Downey, 2003; Bossidy, & Charan, 2004; Kauffman, 2006; Stix, Andi, & Hrbex, 2006; Stotzfus, 2008; Ellison, & Hayes, 2009: Whitmore, 2009; Dickson, 2011; Knight, 2011; Duhigg, 2012; Morel, & Cushman, 2012; Sweeney, 2013; Marquardt, 2014; Costa, & Gramston, 2015; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Stone, & Heen, 2015; Campbell, 2016; Fogarty, 2016; Goldberg, 2 0 1 6 ; Markham, 2016; Gill, & Thomson, 2 0 1 7 ; Kise, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Poliner, & Benson, 2017; Sweeney, & Harris, 2017; York – Barr, & others, 2017; Abdulla, 2017; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Knight, 2018 ตลอดจนเอกสารและงานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทาให้พบว่า การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนนั้น ประกอบด้วย

การโค้ชเพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 7 3 องค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ ความยึดม่ันผูกพัน (Engage) การเสริมพลงั การเรียนรู้ (Empower) และการสร้างความกระตือรือรน้ (Enliven) Engage หมายถงึ ความยดึ ม่ันผูกพัน การทาใหเ้ กดิ ความสนใจ ความไว้วางใจ ความดึงดูด ความยึดม่ัน ความผูกพัน การมีส่วนร่วม การยอมรับนับถือ การเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน และปฏิสัมพันธ์ท่ีนาไปสู่ ความสาเรจ็ Empower หมายถงึ การเสรมิ สรา้ งพลงั อานาจ การให้อานาจ การตัดสินใจในการกระทาบางส่ิงบางอย่างเพื่อเสริมสร้างความเป็นตัวตน ของตนเอง มคี วามคิดเป็นของตนเอง กระตนุ้ ให้เห็นความสามารถของตนเอง ทาให้พึ่งพาตนเองได้ ผู้เขียนใช้คาว่า “เสริมพลังการเรียนรู้” แทนคาว่า การเสรมิ สร้างพลงั อานาจ Enlivenหมายถึงความกระตอื รือรน้ ความตื่นเต้นความท้าทาย มีแรงบันดาลใจ ความกระตือรือร้น ความตั้งใจ ความสนุกสนาน กาหนด เป้าหมายการเรยี นรู้ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นพลังในการกระทาส่งิ ต่างๆ ใหส้ าเรจ็

8 การโคช้ เพอ่ื พัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น เรียกองค์ประกอบการโค้ชทั้ง 3 ประการน้ีว่า รูปแบบการโค้ช “3Es” โดยท่ีองค์ประกอบทั้ง 3 ประการ มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โค้ชเลือกใช้วธิ กี ารโคช้ หรือผสมผสานให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ในบริบท ของการโค้ช โดยไม่จากัดว่าจะต้องเริม่ จากองค์ประกอบใด ซ่ึงองคป์ ระกอบ ท้งั สามประการ เปน็ ปัจจัยทีท่ าใหก้ ารโคช้ ของผสู้ อนประสบความสาเรจ็ คือ การพฒั นาศักยภาพของผเู้ รียน สามารถแสดงแผนภาพไดด้ งั นี้ Engage Learner’s potential Empower Enliven แผนภาพ 1 รปู แบบการโคช้ เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน 3Es

การโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพผูเ้ รยี น 9 โดยที่องค์ประกอบท้ัง 3 ประการนี้ มีความเก่ียวข้องและ เช่ือมโยงกัน มีความสัมพันธ์กันในลักษณะท่ีเป็นองค์รวม (Holistic) ท่ีผู้สอนในฐานะของการเป็นโค้ชใช้สาหรับการโค้ชผู้เรียนอย่างเป็น ธรรมชาติสอดคล้องกบั สถานการณ์ที่เกดิ ข้ึนในปจั จุบนั (Here and now) ไม่มขี ัน้ ตอนตายตวั ว่าจะตอ้ งเร่ิมจากองค์ประกอบใดไปสูอ่ งคป์ ระกอบใดหรอื ตอ้ งมที ศิ ทางอยา่ งไร ผู้สอนในฐานะที่เป็นโค้ชจะต้องเลือกใช้หรือผสมผสาน องคป์ ระกอบของการโคช้ ทง้ั 3 องคป์ ระกอบ คือ การสรา้ งความยึดมน่ั ผูกพนั การเสริมสรา้ งพลังการเรยี นรู้และการสรา้ งความกระตือรือร้น ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับธรรมชาตขิ องผู้เรียนและสถานการณป์ ัจจุบันที่เกดิ ขึน้ ไมม่ สี ตู รสาเร็จตายตวั มเี ป้าหมาย คือ การพฒั นาศักยภาพของผ้เู รียน สถานการณ์ 1 Engage / Empower / Enliven สถานการณ์ 2 Engage + Empower สถานการณ์ 3 Engage + Enliven สถานการณ์ 4 Empower + Enliven สถานการณ์ 5 Engage + Empower + Enliven แผนภาพ 2 การเลอื กใชแ้ ละผสมผสานองค์ประกอบของการโค้ช

10 การโค้ชเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี น ผู้สอนเปลีย่ นบทบาทจากการสอน หรือการถา่ ยทอดความรู้ มาเป็นโค้ชของผเู้ รยี น (Teacher as the Coach) เพื่อให้ผูเ้ รียนพัฒนาตนเอง เตม็ ตามศักยภาพ

การโคช้ เพือ่ พัฒนาศักยภาพผูเ้ รยี น 11 3. บทบาทการโคช้ ตามรูปแบบ “3Es” บทบาทการโคช้ คือ แนวปฏิบตั กิ ารโคช้ สาหรับผสู้ อนที่ช่วยทา ใหผ้ ู้เรียนสามารถเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเอง การโคช้ ตามรูปแบบ “3Es” มบี ทบาท การโค้ชในแต่ละด้าน ได้แก่ บทบาทการโค้ชด้าน Engage บทบาทการโค้ช ด้าน Empower และบทบาทการโคช้ ดา้ น Enliven ดังต่อไปน้ี บทบาทการโค้ชด้าน Engage เพอ่ื เสริมสร้าง Soft skills ประกอบด้วย 1. สร้างความไวว้ างใจ (trust) ใหเ้ กิดกบั ผูเ้ รยี น 2. สร้างสมั พนั ธภาพทด่ี ีบนพน้ื ฐานของการยอมรับนบั ถอื 3. ปฏบิ ัตติ อ่ ผเู้ รียนดว้ ยความเคารพศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์ 4. ตรึงความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม และประคบั ประคองผูเ้ รยี น 5. ฟงั ผเู้ รียนอยา่ งลกึ ซึง้ ไม่ดว่ นสรุป ไมด่ ว่ นตดั สนิ ไมด่ ว่ นสวนกลบั แสดงแผนภาพรปู แบบการโค้ชเพอื่ พฒั นาศักยภาพผู้เรียน “3Es” สว่ นขยาย Engage ไดด้ งั นี้

12 การโคช้ เพอื่ พัฒนาศักยภาพผ้เู รียน 4. ตรงึ ความสนใจ เอาใจใส่ ตดิ ตาม และประคับประคองผูเ้ รยี น 5. ฟงั ผู้เรยี นอย่างลึกซ้ึง ไม่ด่วนสรปุ ไมด่ ่วนตดั สิน 2. สรา้ งสัมพนั ธภาพท่ดี ี บนพ้นื ฐานของการยอมรบั นับถือ ไม่ด่วนสวนกลบั 3. ปฏบิ ตั ิต่อผู้เรียนด้วยความ เคารพศกั ด์ศิ รคี วามเปน็ มนุษย์ 1. สรา้ งความไว้วางใจ ใหเ้ กดิ กบั ผูเ้ รยี น Engage Learner’s potential Empower Enliven แผนภาพ 3 รูปแบบการโคช้ เพือ่ พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น“3Es”สว่ นขยายEngage

การโค้ชเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพผ้เู รียน 13 บทบาทการโค้ชด้าน Empower เพอื่ เสรมิ สรา้ ง Hard skills ประกอบด้วย 6. กระตุ้นผู้เรียนใหม้ ี Growth mindset 7. กระตุ้นให้ผเู้ รยี นกาหนดเป้าหมายการเรยี นรขู้ องตนเอง 8. กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนมีวินยั ในการเรียนร้แู ละนาตนเอง 9. กระตุ้นให้ผ้เู รยี นใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย 10. กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รียนใชก้ ระบวนการคิดอย่างหลากหลาย 11. ใชพ้ ลังคาถามกระตุ้นการคดิ ข้ันสงู ดา้ นตา่ งๆ ของผูเ้ รยี น 12. ให้ผู้เรยี นเลอื กและตดั สินใจเก่ยี วกบั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 13. ใหก้ าลังใจและเสริมพลงั ความเช่ือม่ันในความสามารถของตน 14. ให้ผู้เรยี นประเมนิ ตนเองและสะทอ้ นคิดสู่การปรับปรงุ และพัฒนา 15. ประเมินและใหข้ อ้ มลู ย้อนกลบั ท่เี นน้ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ แสดงแผนภาพรูปแบบการโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียน “3Es” สว่ นขยาย Empower ได้ดงั นี้

14 การโคช้ เพ่ือพัฒนาศักยภาพผ้เู รยี น 15. ประเมนิ และใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับ ทเ่ี นน้ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ 14. ให้ผู้เรยี นประเมินตนเองและสะท้อนคิด ส่กู ารปรบั ปรงุ และพฒั นา 13. ให้กาลงั ใจและเสรมิ พลัง ความเชื่อมนั่ ในความสามารถของตน 12. ให้ผู้เรยี นเลือกและตัดสนิ ใจ เก่ียวกบั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 11. ใชพ้ ลังคาถามกระตุ้นการคดิ ขั้นสงู ด้านตา่ งๆ ของผ้เู รยี น 10. กระตุ้นให้ผู้เรยี น ใชก้ ระบวนการคิดอย่างหลากหลาย 9. กระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นใชก้ ระบวนการ เรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย 8. กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นมีวนิ ยั ในการเรยี นรู้และนาตนเอง 7. กระต้นุ ใหผ้ เู้ รียนกาหนดเป้าหมาย การเรยี นรู้ของตนเอง 6. กระตุ้นผู้เรียน ใหม้ ี Growth mindset Empower Learner’s potential Enliven Engage แผนภาพ 4 รปู แบบการโคช้ เพื่อพฒั นาศักยภาพผเู้ รยี น“3Es” สว่ นขยาย Empower

การโค้ชเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผ้เู รยี น 15 บทบาทการโค้ชด้าน Enliven เพ่ือเสริมสร้าง Soft skills และ Hard skills ประกอบดว้ ย 16. กระตุน้ แรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรยี นรู้ 17. กระตุ้นแรงจูงใจภายในและความตอ้ งการเรียนรสู้ ่งิ ทท่ี ้าทาย 18. สอื่ สารและสร้างบรรยากาศทกี่ ระตือรือรน้ และเออื้ ตอ่ การเรียนรู้ 19. กระตุน้ ให้ผู้เรยี นมีความมุ่งมน่ั และพยายามในการเรยี นรู้ 20. แสดงออกถงึ ความกระตือรอื ร้นและการเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ แสดงแผนภาพรูปแบบการโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน “3Es” สว่ นขยาย Enliven ไดด้ ังนี้

16 การโคช้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผ้เู รยี น 19. กระต้นุ ใหผ้ ้เู รยี น มีความมุ่งมั่นและพยายาม 20. แสดงออกถึงความ กระตือรือร้นและการเป็น ในการเรียนรู้ บุคคลแห่งการเรียนรู้ 17. กระตุ้นแรงจงู ใจภายใน และความต้องการเรียนรู้ 18. ส่ือสารและสร้างบรรยากาศ ทีก่ ระตอื รือรน้ สิ่งทท่ี า้ ทาย และเออื้ ตอ่ การเรียนรู้ 16. กระตนุ้ แรงบันดาลใจ และแรงปรารถนา ในการเรยี นรู้ Enliven Learner’s potential Engage Empower แผนภาพ 5 รูปแบบการโค้ชเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียน “3Es” ส่วนขยาย Enliven

การโค้ชเพื่อพัฒนาศกั ยภาพผู้เรยี น 17 จากการสงั เคราะหบ์ ทบาทการโค้ชเพ่อื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพผ้เู รยี น ตามรูปแบบการโค้ช “3Es” ดงั กลา่ วสรปุ ได้ดังน้ี บทบาทการโคช้ ด้าน Engage ประกอบด้วย 1. สรา้ งความไวว้ างใจ (trust) ใหเ้ กดิ กับผเู้ รียน 2. สรา้ งสัมพนั ธภาพทดี่ บี นพน้ื ฐานของการยอมรบั นบั ถอื 3. ปฏบิ ัตติ ่อผู้เรียนดว้ ยความเคารพศักด์ิศรีความเปน็ มนุษย์ 4. ตรงึ ความสนใจ เอาใจใส่ ตดิ ตาม และประคบั ประคองผูเ้ รียน 5. ฟงั ผ้เู รยี นอย่างลึกซ้งึ ไม่ดว่ นสรุป ไม่ดว่ นตัดสิน ไมด่ ่วนสวนกลับ บทบาทการโค้ชด้าน Empower ประกอบดว้ ย 6. กระตุ้นผูเ้ รียนให้มี Growth mindset 7. กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนกาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ของตนเอง 8. กระตุ้นให้ผเู้ รียนมวี ินยั ในการเรยี นรแู้ ละนาตนเอง 9. กระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ที่หลากหลาย 10. กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนใชก้ ระบวนการคิดอยา่ งหลากหลาย 11. ใช้พลงั คาถามกระตุ้นการคดิ ขน้ั สงู ดา้ นต่างๆ ของผ้เู รยี น 12. ให้ผเู้ รียนเลือกและตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 13. ใหก้ าลังใจและเสรมิ พลงั ความเชอ่ื ม่ันในความสามารถของตน 14. ให้ผเู้ รียนประเมนิ ตนเองและสะท้อนคิดสกู่ ารปรับปรงุ และพัฒนา 15. ประเมินและใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับทเี่ น้นพฒั นากระบวนการเรยี นรู้

18 การโค้ชเพอื่ พัฒนาศักยภาพผูเ้ รียน บทบาทการโค้ชด้าน Enliven ประกอบด้วย 16. กระตุ้นแรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้ 17. กระตนุ้ แรงจูงใจภายในและความต้องการเรียนรู้ส่งิ ที่ทา้ ทาย 18. สือ่ สารและสร้างบรรยากาศทก่ี ระตือรอื ร้นและเอื้อต่อการเรยี นรู้ 19. กระตุ้นให้ผู้เรียนมคี วามมุ่งมนั่ และพยายามในการเรยี นรู้ 20. แสดงออกถงึ ความกระตอื รอื รน้ และการเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้

การโคช้ เพอื่ พัฒนาศักยภาพผู้เรยี น 19 4. ศิลปะการโค้ช How to Success: จากบทบาทการโค้ชสแู่ นวปฏบิ ตั ิ จากการผู้เขียนได้สังเคราะห์รูปแบบการโค้ช 3Es เพื่อพัฒนา ศักยภาพผ้เู รียนท่ปี ระกอบด้วย Engage, Empower, Enliven และบทบาท การโค้ช 20 รายการนัน้ โคช้ ควรเลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกับสถานการณ์โดยไม่มี สูตรสาเร็จตายตัวท่ีจะต้องปฏิบัติเนื่องจากเป็น “ศิลปะของการโค้ช (The Art of Coaching)” ท่ีโค้ชจะต้องเรียนรู้และวิเคราะห์สถานการณ์ ท่ีเกิดข้ึนในขณะปัจจุบัน (here and now) และตัดสินใจว่าจะโค้ชผเู้ รียน ให้เกิดการเรียนรู้สูงสุดด้วยบทบาทใด บางสถานการณ์ใช้การโค้ชบทบาท Engage บางสถานการณ์ ใช้ บทบาท Engage ร่ วมกั บ Empower บางสถานการณ์อาจต้องใช้บทบาท Engage, Empower และ Enliven ควบค่กู ัน เพ่อื ใหก้ ารแสดงบทบาทการโคช้ เป็นไปอย่างชัดเจนและมีความ หลากหลายสอดคล้องกับสถานการณ์การโค้ช ผู้เขียนจึงได้ให้แนวทาง การปฏิบัติสาหรับการโค้ชในแต่ละบทบาท (20 บทบาท) บทบาทละ 5 แนวปฏิบัติ เพื่ออานวยความสะดวกในการนาไปใช้งานและไม่มาก จนเกินไป ดังแผนภาพโครงสร้างบทบาทการโค้ชและแนวปฏิบัติการโค้ช ตอ่ ไปน้ี

20 การโคช้ เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพผู้เรียน 4.1 ศลิ ปะการโคช้ ดา้ น Engage Engage หมายถึง ยึดม่ันผูกพันกันระหว่างผู้สอน และผู้เรียนเพอ่ื การไปสูเ่ ปา้ หมายท่กี าหนดรว่ มกัน ผู้สอนในฐานะโคช้ และผู้เรียน จาเป็นต้องมีความยึดมั่นผูกพันร่วมกัน ผู้สอนให้การดูแล เอาใจใส่ผเู้ รียน มองผู้เรียนด้วยใจให้เหน็ ธรรมชาติท่ีแท้จรงิ ของผเู้ รยี น แตล่ ะคน จะทาให้ผูส้ อนเข้าใจผเู้ รยี นได้มากยิง่ ขนึ้ ดงั ท่ี Albert Einstein ไดก้ ล่าวไว้ว่า “LookDeep into Nature,and then you will understand everythingbetter” (Featherand Aznar.2011) ซ่ึงเป็นพื้นฐานที่สาคัญ ที่สุดของการโคช้ เพราะเป็นจุดเริ่มตน้ ในการเรยี นร้แู ละพฒั นาศักยภาพ บนพน้ื ฐานของความไวว้ างใจ การท่ีผู้สอนจะทาให้ผู้เรียนมีความยึดมั่นผูกพัน กบั ผ้สู อนไดน้ ้ัน มีปจั จัยสาคญั คอื การสรา้ งความไว้วางใจใหเ้ กดิ ข้ึนกับ ผู้เรียน เม่ือผู้เรียนมีความไว้วางใจผู้สอนแลว้ จะช่วยทาให้เกิดความยึด ม่ันผูกพันได้ง่ายขึ้น ดังน้ันหากผู้สอนสามารถสร้างความไว้วางใจ ท่ีผู้เรียนจะมอบให้กับผู้สอนได้แล้วความยึดมั่นผูกพันจะเกิดขึ้นได้ ไมย่ าก และเมือ่ ผู้เรยี นได้มอบความไว้วางใจให้ผู้สอนแล้ว การโคช้ ตา่ งๆ จะเป็นไปอย่างราบรื่น ธรรมชาติของความยึดมั่นผูกพันนั้น ต้องมีความ ร่วมมือร่วมใจกันทั้งสองฝ่าย คือทั้งผู้สอนและผู้เรียนเปรียบเสมือน

การโค้ชเพอื่ พัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น 21 คู่รักที่ตกลงปลงใจหมั้นหมายกันไว้เพ่ือเป้าหมายของการแต่งงานกัน ในอนาคต นั่นหมายความว่าทั้งสองจะต้องมีความยึดม่ันผูกพันกัน ตลอดเวลาเพอื่ ไปสเู่ ปา้ หมายรว่ มกนั เม่ือผู้สอนและผู้เรยี นมีความยึดมั่นผกู พนั ในการท่จี ะ พัฒนาศักยภาพร่วมกัน ย่อมทาให้กระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ดาเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข ผู้เรียนมคี วามยึดมัน่ ผกู พันอยกู่ ับ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีนาไปสู่การพัฒนาศักยภาพของตนเองตลอดเวลา มคี วามมงุ่ ม่นั พยามยาม และเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ ง เม่ือผู้สอนและผู้เรียนความยึดมั่นผูกพันต่อกันแล้ว สงิ่ ทีย่ ากยง่ิ กวา่ นนั้ คือ การดารงรกั ษาความยดึ มนั่ ผูกพนั ระหวา่ งผสู้ อน และผู้เรียนให้คงอยู่ตลอดระยะเวลาของปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งการดารงรกั ษาความยดึ ม่ันผูกพนั นี้ เปน็ ทงั้ ศาสตรแ์ ละศิลป์ในตัวเอง ความเป็นศาสตร์ คือ การท่ีผู้สอนมีองค์ความรู้ ทางวิชาการเกี่ยวกับการดารงรักษาความยึดมั่นผูกพัน เช่น ความรู้ เก่ียวกับแรงจูงใจ ความรู้เกี่ยวกับการเสริมแรง ความรู้เกี่ยวกับ การต้ังคาถามกระตุ้นการคิด ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการ เรียนรู้ ความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับการจดั การชั้นเรียน ความรู้เกี่ยวกบั การประเมินผล ความร้เู กีย่ วกับการใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั เป็นต้น

22 การโคช้ เพ่อื พฒั นาศักยภาพผู้เรยี น สว่ นความเป็นศลิ ป์ คือ การนาองค์ความรู้ต่างๆ มาใช้ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่อยู่ตรงหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เลือกใช้วิธีการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับลักษณะ ธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียนแต่ละคน เป็นต้น ซึ่งในความ เป็นศิลป์นี้นับว่าเป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีจะทาให้ผู้สอนประสบ ความสาเร็จในการโค้ชผู้เรยี น การดารงรักษาความยึดม่ันผกู พันนัน้ เป็นสง่ิ ท่ีผสู้ อน จ า เ ป็ น ต้ อ ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต ล อ ด ช่ ว ง ร ะ ย ะ เ ว ล า ข อ ง ก า ร โ ค้ ช เพราะผู้เรียนอาจเกิดความเบ่ือหน่ายกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีปริมาณ มากเกินไปหรือที่เรียกว่า cognitive overload ซ่ึงเป็นสาเหตุทาให้ สูญเสียความยึดม่ันผูกพัน ด้วยเหตุน้ีผู้สอนจึงต้องออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ให้มีความหลากหลายและ ตอบสนองความสนใจ ความตอ้ งการของผ้เู รียนปรับกจิ กรรมการเรียนรู้ใหส้ ามารถดารงรักษา ความยดึ ม่ันผกู พันของผ้เู รยี นไดต้ ลอดเวลา เม่ือผู้เรียนยังคงมีความยึดม่ันผูกพันกับผู้สอนและ กิจกรรมการเรียนรู้แล้ว ผู้เรียนจะมีความมุ่งมั่นและความพยายาม ในการพฒั นาตนเอง บนพน้ื ฐานของความเชอ่ื มั่นวา่ มีผ้สู อนคอยดูแล เอาใจใส่ เป็นนั่งร้านทางการเรียนรู้ ประคับประคองไปส่จู ดุ มุ่งหมาย ดว้ ยความอบอ่นุ และปลอดภัย

การโคช้ เพอื่ พัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น 23 สาหรบั บทบาทการโค้ชด้าน Engage มีแนวปฏิบัติดงั นี้ 1) สรา้ งความไวว้ างใจ (trust) ให้เกิดกับผูเ้ รยี น การสร้างความไว้วางใจ มาจาก Soft skills ของโค้ช หมายถึง การทาให้ผู้เรียนมอบความไว้เน้ือเชื่อใจ ความเช่ือม่ัน การให้ความเช่ือถือท่ีผู้เรยี นมอบให้กับโคช้ (Clarke, 2013; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Campbell, 2016; Fogarty, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Knight, 2018) ความไว้วางใจเกิดจากการท่โี ค้ชมีความจริงใจทงั้ ภาษาพูด และภาษากาย เมื่อโค้ชมีความจริงใจจากภายในแล้วจะแสดงพฤติกรรม ออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ เม่ือผู้เรยี นมีความไว้วางใจจะเอื้อต่อการมีความ ปรารถนาในการเรียนรู้ (passion) ร่วมกับความเมตตา ความเอื้ออาทร (caring) อกี ทงั้ ความรับผิดชอบในสิง่ ทีพ่ ูดและการกระทาท่ีแสดง พฤติกรรมออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ นอกจากนี้การมีอารมณ์มนั่ คง รวมถงึ การควบคุมอารมณ์และความรู้สึก ยังช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนมอบความ ไวว้ างใจใหก้ บั ผู้สอน

24 การโค้ชเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น การสรา้ งความไวว้ างใจใหเ้ กดิ กบั ผเู้ รยี น เปน็ ปจั จัยพ้ืนฐาน ที่สาคัญท่ีสุดของการโค้ช เพราะเป็นการเปิดใจผู้เรียนในการที่จะเรียนรู้ ร่วมกับโค้ช มีแนวปฏิบัติเพ่ือสร้างความไว้วางใจให้เกิดกับผู้เรียนดังนี้ 1) คิด พูด และทาในสิ่งท่ีตรงกัน 2) เห็นอกเห็นใจ ไต่ถามทุกข์สุข 3) ปฏิบัติตามคาม่ันสัญญา 4) ปฏิบัติสิ่งใดๆ อย่างเสมอต้นเสมอปลาย และ 5) แสดงออกทางอารมณ์อย่างมีความมนั่ คง (Clarke, 2013; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Campbell, 2016; Fogarty, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Knight, 2018) แสดงไดด้ ังแผนภาพต่อไปนี้ 1. คิด พูด และทาในส่งิ ทตี่ รงกนั แนวปฏิบตั ิ 2. เหน็ อกเห็นใจ ไตถ่ ามทกุ ข์สขุ การสร้างความไว้วางใจ 3. ปฏิบัติตามคาม่ันสัญญา ให้เกิดกับผเู้ รียน 4. ปฏิบัติส่งิ ใดๆ อย่างเสมอตน้ เสมอปลาย 5. แสดงออกทางอารมณ์ อย่างมีความม่ันคง แผนภาพ 6 แนวปฏบิ ัติการสร้างความไวว้ างใจให้เกดิ กับผู้เรยี น

การโค้ชเพอ่ื พฒั นาศักยภาพผูเ้ รียน 25 2) สรา้ งสมั พนั ธภาพท่ดี ีบนพื้นฐานของการยอมรบั นับถือ การสร้างสมั พันธภาพทด่ี บี นพน้ื ฐานของการยอมรับ นับถือ หมายถึง การมีปฏิสัมพันธที่ดีต่อกนั ในแนวราบ ระหว่างโคช้ และผู้เรียน โค้ชให้การยอมรับนับถือผู้เรียนในฐานะที่มีสามารถ ในการเรียนร้ไู ด้ด้วยตนเอง ผู้เรียนให้การยอมรับนับถือโค้ชในฐานะ ท่ีเป็นผู้กระตุ้นชี้แนะและร่วมเรียนรู้ไปด้วยกัน (Brookhart, 2006; Brower, & Kellr, 2006; Tomlison, & McTighe, 2006; Ellison, & Hayes, 2009; Hattie, 2009; Duckor, 2014; Erickson,& Lanning, 2014; Costa, & Garmston, 2015; Campbell, 2016; Duckworth, 2016; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Yeh, 2017; Bergin, 2018; Boniwell, & Smith, 2019; Knight, 2018) โดยถือเปน็ หน้าท่ีของโค้ชในการสรา้ งสมั พนั ธภาพทด่ี ี กับผู้เรียนบนพื้นฐานของการเคารพนับถือซ่ึงกันและกัน โดย มี แนวปฏิบัติเพื่อสรา้ งสัมพนั ธภาพท่ีดีบนพื้นฐานของการยอมรับนับถือ ดังน้ี 1) ยิ้มแย้มแจ่มใส ทักทาย 2) พูดคุยในเรื่องที่สร้างสรรค์ 3) แลกเปลี่ยน เรียนรู้เร่ืองอ่ืนที่ผู้เรียนสนใจ 4) กล่าวขอบคุณหรือขอโทษ ตามแต่ละ โอกาส และ 5) ยอมรบั ความคิดเหน็ หรอื เหตผุ ลทแ่ี ตกต่างกนั (Brookhart, 2006; Brower, & Kellr, 2006; Tomlison, & McTighe, 2006; Ellison, & Hayes, 2009; Hattie, 2009; Duckor, 2014; Erickson, & Lanning, 2014;

26 การโคช้ เพอื่ พัฒนาศักยภาพผู้เรยี น Costa, & Garmston, 2015; Campbell, 2016; Duckworth, 2016; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Yeh, 2017; Bergin, 2018; Boniwell, & Smith, 2019; Knight, 2018) แสดงได้ ดั ง แผนภาพต่อไปนี้ 1. ยิม้ แยม้ แจม่ ใส ทกั ทาย 2. พูดคยุ ในเรื่องทส่ี ร้างสรรค์ แนวปฏิบตั ิ 3. แลกเปลีย่ นเรยี นรู้เร่อื งอน่ื การสร้างสมั พันธภาพทด่ี ี ทผ่ี เู้ รยี นสนใจ บนพนื้ ฐานของ 4. กล่าวขอบคณุ หรือขอโทษ การยอมรับนับถือ ตามแตล่ ะโอกาส 5. ยอมรับความคดิ เห็น หรือเหตผุ ลท่ีแตกต่างกนั แผนภาพ 7 แนวปฏิบัติการสรา้ งสมั พันธภาพทด่ี ีบนพ้ืนฐานของการยอมรับนบั ถือ

การโค้ชเพ่อื พฒั นาศักยภาพผู้เรยี น 27 3) ปฏบิ ัตติ อ่ ผู้เรียนดว้ ยความเคารพศกั ด์ิศรคี วามเปน็ มนุษย์ ก า ร ป ฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ เ รี ย น ด้ ว ย ค ว า ม เ ค า ร พ ศั ก ด์ิ ศ รี ความเป็นมนุษย์ หมายถึง การกระทาของโค้ชต่อผู้เรียนโดยการ ให้เกียรติ ให้ความยุติธรรม ให้ความเสมอภาคโดยไม่แบ่งแยก ให้ความปลอดภัยในชวี ิตและจิตใจ และมอบสง่ิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์สูงสดุ แก่ผู้เรียน (Hare, 2006; Whitmore, 2009; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Cain, & others, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Yeh, 2017; Patphol, 2018) การปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความเคารพศักด์ิศรีความเป็น มนุษย์นั้นเป็นสิ่งสาคัญมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยท่ีทาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า ในตนเอง รักตนเอง มีความเชื่อมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง ซ่ึงส่ิงเหล่านี้ ล้วนเป็นปัจจัยพ้ืนฐานของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้ โค้ชจึงจาเปน็ ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องของสิทธิและศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ และนามาสู่การประพฤติและปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอจนกลายเป็น คุณลักษณะนิสัยของโค้ชเอง โดยมีแนวปฏิบัติเพ่ือการปฏิบัติต่อผู้เรียน ด้วยความเคารพศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ดังน้ี 1) ให้เกียรติผู้เรียน 2) ให้ความยุติธรรม 3) ให้ความเสมอภาคโดยไม่แบ่งแยก 4) ให้ความ ปลอดภัยทั้งร่างกายและจิตใจ และ 5) มอบสิ่งที่เป็นประโยชน์สูงสุด แก่ผู้เรียน (Hare, 2006; Whitmore, 2009; Gregory, & Kaufeldt, 2015;

28 การโค้ชเพ่ือพฒั นาศักยภาพผ้เู รยี น Cain, & others, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Yeh, 2017; Patphol, 2018) แสดงได้ดังแผนภาพต่อไปน้ี 1. ใหเ้ กยี รติผู้เรียน แนวปฏบิ ัติ 2. ใหค้ วามยตุ ิธรรม การปฏบิ ตั ติ ่อผ้เู รียน ดว้ ยความเคารพ 3. ให้ความเสมอภาค ศักด์ศิ รคี วามเปน็ มนุษย์ โดยไมแ่ บง่ แยก 4. ให้ความปลอดภยั ท้ังร่างกาย และจิตใจ 5. มอบสงิ่ ทเี่ ป็นประโยชนส์ ูงสุด แกผ่ ู้เรียน แผนภาพ 8 แนวปฏิบตั กิ ารปฏบิ ตั ติ ่อผูเ้ รียนด้วยความเคารพศกั ดิ์ศรี ความเป็นมนษุ ย์

การโคช้ เพอื่ พฒั นาศักยภาพผเู้ รียน 29 4) ตรงึ ความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม และประคับประคองผู้เรียน การตรงึ ความสนใจเอาใจใสต่ ิดตามและประคับประคอง ผู้เรียน หมายถึง การปฏิบัติของโค้ชเพ่ือกระตุ้นและตรึงความสนใจ ในการเรียนรู้ มีจิตใจจดจ่อ (mind on) อยู่กับกิจกรรมการเรียนรู้ ดูแลกระบวนการเรียนรู้ ติดตามความก้าวหน้าและเป็นน่ังร้าน ประคับประคองให้เกิดการเรียนรู้ (Clarke, 2013; Dove, Honigsfeld, & Cohan, 2014; Middleton, & Perks, 2014; Sanzo, Myran, & Caggiano, 2014; Blackburn, 2016; Ginsberg, 2015; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Fogarty, 2016; Garrison, 2016; Hazel, 2016; Markham, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Abdulla, 2017; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Smith, & Firth, 2018) การตรึงความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม และประคับประคอง ผู้เรียนน้ี จะช่วยทาให้ผู้เรียนมีสมาธิจดจ่อ และจิตใจที่ยึดม่ันผูกพัน อยู่กับกิจกรรมการเรยี นรูไ้ ด้เป็นเวลานาน ซึ่งเอื้อต่อการบรรลุผลลพั ธ์ การเรียนรู้ (learning outcomes) ส่วนการดูแลเอาใจใส่ ติดตาม จะทาให้โค้ชทราบความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ ตลอดจนปัญหา และอุปสรรคในการเรียนร้ขู องผู้เรียน ช่วยให้สามารถประคับประคอง ผเู้ รยี นใหส้ ามารถเรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเอง

30 การโคช้ เพื่อพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี น โดยมีแนวปฏิบัติเพื่อตรึงความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม และประคับประคองผเู้ รียน ดังนี้ 1) ลาดับกจิ กรรมตามธรรมชาติและความ สนใจ 2) ปรับกิจกรรมให้เหมาะกับสถานการณ์ 3) ดูแลกระบวนการ เรียนรู้ 4) เฝ้าติดตามความก้าวหน้า และ 5) ประคับประคองจนเกิด การเรียนรู้ (Clarke, 2013; Dove, Honigsfeld,& Cohan, 2014; Middleton, & Perks, 2014; Sanzo, Myran, & Caggiano, 2014; Blackburn, 2016; Ginsberg, 2015; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Fogarty, 2016; Garrison, 2016; Hazel, 2016; Markham, 2016; Gill, & Thomson, 2017; Abdulla, 2017; Fogarty, Kerns, & Pete, 2018; Smith, & Firth, 2018) แสดงได้ดัง แผนภาพต่อไปนี้ แนวปฏิบตั ิ 1. ลาดับกิจกรรมตามธรรมชาติ การตรงึ ความสนใจ และความสนใจ เอาใจใส่ ตดิ ตาม และ ประคับประคองผเู้ รียน 2. ปรบั กิจกรรมใหเ้ หมาะกับ สถานการณ์ 3. ดแู ลกระบวนการเรียนรู้ 4. เฝ้าตดิ ตามความกา้ วหน้า 5. ประคับประคองจนเกดิ การเรยี นรู้ แผนภาพ 9 แนวปฏิบัติการตรึงความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม และ ประคับประคองผเู้ รียน

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผเู้ รียน 31 5) ฟงั ผเู้ รยี นอย่างลกึ ซ้งึ ไมด่ ว่ นสรปุ ไม่ด่วนตดั สิน ไม่ด่วนสวนกลับ การฟังผู้เรยี นอย่างลึกซึ้ง ไมด่ ว่ นสรปุ ไม่ดว่ นตัดสิน ไมด่ ่วนสวนกลบั หมายถึง การปฏิบัติของโค้ชในการต้งั ใจฟงั ให้ได้ยิน ความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนซ่ึงแฝงอยู่ด้านใน เข้าใจเหตุผล และสภาพอารมณ์ ไม่ด่วนสรุป หรือตัดสินผู้เรียนตามความคิด ความรู้สึกของโค้ชโดยปราศจากข้อมูลที่เพียงพอ (Ellison, & Hayes, 2009; Clarke, 2013; Abdulla, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Hildrew, 2018; Knight, 2018; Nieuwerburgh, 2017) การฟังอย่างลึกซ้ึงมีความหมายมากกว่าเพียงแค่ การได้ยินเสียงเท่าน้ัน แต่เป็นการได้ยินลึกเข้าไปในจิตใจของผู้เรียน ว่าผูเ้ รยี นกาลงั คดิ อะไร ต้องการอะไร มีความร้สู ึกอย่างไรในขณะนนั้ โค้ชไม่ด่วนสรุปสงิ่ ที่ได้ยินเพียงผวิ เผิน ตามความคดิ และมุมมองของตนโดยปราศจากข้อมูลท่ีเพียงพอ หรือตอบสนองสง่ิ ที่ ไดย้ ินไปยงั ผู้เรยี นโดยทย่ี ังไม่ผ่านการสะท้อนคิดใคร่ครวญ การฟงั อย่าง ลึ ก ซึ้ ง ช่ ว ย ท า ใ ห้ ก า ร โ ค้ ช ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ เ รี ย น ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง

32 การโคช้ เพอ่ื พฒั นาศักยภาพผ้เู รียน โดยมีแนวปฏบิ ตั เิ พ่ือการฟงั ผู้เรียนอย่างลึกซ้ึง ไม่ดว่ นสรุป ไม่ด่วนตัดสิน ไม่ด่วนสวนกลับ ดังนี้ 1) ต้ังใจฟังส่ิงท่ีผู้เรียนต้องการ สื่อสาร 2) สังเกตภาษากายที่ผู้เรียนแสดงออก 3) ซักถามข้อมูล ที่เก่ียวข้องอย่างรอบด้าน 4) ให้โอกาสผู้เรียนเสนอส่ิงท่ีต้องการ และ 5) ตอบสนองผู้เรียนด้วยวิธีการที่นุ่มนวล (Ellison, & Hayes, 2009; Clarke, 2013; Abdulla, 2017; Antonetti, & Stice, 2018; Hildrew, 2018; Knight, 2018; Nieuwerburgh, 2017) แสดงไดด้ ังแผนภาพตอ่ ไปน้ี 1. ตง้ั ใจฟงั สิ่งที่ผเู้ รยี นต้องการสื่อสาร แนวปฏบิ ัติ 2. สงั เกตภาษากายที่ผู้เรียนแสดงออก การฟงั ผู้เรยี นอย่างลึกซ้งึ 3. ซกั ถามข้อมูลทเ่ี กย่ี วขอ้ งอย่างรอบด้าน ไม่ดว่ นสรปุ ไม่ด่วนตดั สนิ 4. ใหโ้ อกาสผเู้ รียนเสนอส่งิ ที่ตอ้ งการ 5. ตอบสนองผู้เรยี นด้วยวิธีการนมุ่ นวล ไมด่ ว่ นสวนกลบั แผนภาพ 10 แนวปฏิบตั กิ ารฟงั ผู้เรียนอย่างลกึ ซง้ึ ไม่ด่วนสรุป ไมด่ ว่ นตัดสิน ไมด่ ว่ นสวนกลับ

การโค้ชเพ่ือพฒั นาศักยภาพผเู้ รียน 33 สรุปศิลปะการโค้ชด้าน Engage ที่ประกอบด้วยบทบาท การโค้ช (coaching roles) และแนวปฏิบัติการโคช้ (guidelines) ตามท่กี ล่าว มาแลว้ ข้างตน้ ไดด้ งั น้ี บทบาทการโค้ชและแนวปฏิบตั ดิ า้ น Engage 1. สร้างความไว้วางใจ (trust) ให้เกดิ กับผเู้ รยี น 1) คดิ พดู และทาในสง่ิ ที่ตรงกัน 2) เห็นอกเหน็ ใจ ไต่ถามทุกข์สขุ 3) ปฏิบตั ติ ามคาม่นั สญั ญา 4) ปฏิบัติส่งิ ใดๆ อย่างเสมอตน้ เสมอปลาย 5) แสดงออกทางอารมณอ์ ยา่ งมีความมั่นคง 2. สร้างสมั พนั ธภาพท่ดี ีบนพนื้ ฐานของการยอมรบั นับถอื 1) ย้ิมแย้มแจม่ ใส ทกั ทาย 2) พดู คยุ ในเรอ่ื งที่สร้างสรรค์ 3) แลกเปลี่ยนเรียนร้เู ร่อื งอื่นทผี่ ้เู รยี นสนใจ 4) กลา่ วขอบคณุ หรอื ขอโทษตามแต่ละโอกาส 5) ยอมรับความคิดเหน็ หรือเหตผุ ลท่แี ตกต่างกัน

34 การโคช้ เพื่อพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น 3. ปฏิบตั ติ อ่ ผูเ้ รยี นด้วยความเคารพศักดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์ 1) ใหเ้ กียรติผูเ้ รยี น 2) ให้ความยตุ ิธรรม 3) ใหค้ วามเสมอภาคโดยไม่แบ่งแยก 4) ให้ความปลอดภัยท้ังรา่ งกายและจติ ใจ 5) มอบสง่ิ ทเี่ ป็นประโยชนส์ งู สดุ แกผ่ เู้ รียน 4. ตรงึ ความสนใจ เอาใจใส่ ตดิ ตาม และประคบั ประคองผูเ้ รยี น 1) ลาดับกจิ กรรมตามธรรมชาตแิ ละความสนใจ 2) ปรบั กิจกรรมให้เหมาะกบั สถานการณ์ 3) ดแู ลกระบวนการเรียนรู้ 4) เฝา้ ติดตามความก้าวหน้า 5) ประคับประคองจนเกดิ การเรียนรู้ 5. ฟงั ผู้เรียนอยา่ งลึกซึ้ง ไมด่ ว่ นสรุป ไมด่ ่วนตดั สนิ ไม่ด่วนสวนกลบั 1) ต้ังใจฟงั สิง่ ทผี่ ูเ้ รียนต้องการส่ือสาร 2) สังเกตภาษากายที่ผูเ้ รียนแสดงออก 3) ซักถามข้อมูลท่เี ก่ยี วข้องอยา่ งรอบดา้ น 4) ใหโ้ อกาสผูเ้ รยี นเสนอสิง่ ทีต่ ้องการ 5) ตอบสนองผ้เู รียนด้วยวธิ กี ารทีน่ ุ่มนวล

การโคช้ เพื่อพฒั นาศักยภาพผเู้ รียน 35 4.2 ศลิ ปะการโคช้ ด้าน Empower Empower หมายถึง เสริมสรา้ งพลงั การเรยี นรู้โดยผู้สอน ในฐานะที่เป็นโค้ชให้เกิดกับผู้เรียน ได้แก่ ความเช่ือมั่นในตนเอง (self-efficacy) การกาหนดเป้าหมายให้กบั ตนเอง (self-direction) การกากบั ตนเอง (self-regulation) และการควบคุมตนเอง (self-control) องค์ประกอบด้านการเสริมพลังการเรียนรู้น้ี เป็นมิติของ การพฒั นาผู้เรียนเพื่อเสรมิ สรา้ ง Hard skills ใหส้ ามารถพึ่งพาตนเอง ทางด้านการเรียนรู้ ผู้เรยี นสามารถเรียนร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง และเปน็ บุคคล แห่งการเรยี นรู้ ผู้สอนในฐานะโคช้ ให้การเสรมิ สรา้ งพลงั ในตนแก่ผเู้ รยี น อยา่ งต่อเนือ่ ง การเสริมพลังการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนน้ัน ผู้สอนสามารถ ทาได้หลายวิธีการ เช่น ด้วยการใช้คาพูด การใช้คาถามกระตุ้นการคิด ขั้นสูง การไตร่ตรองและนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงกระบวนการ ทางความคิด (Transform thinking) จากกระบวนการทางความคิด แบบติดยึด (Fixed mindset) ไปสู่กระบวนการทางความคดิ เพื่อการ เตบิ โต (Growth mindset)

36 การโคช้ เพ่ือพฒั นาศักยภาพผ้เู รยี น เม่ือผู้เรียนเป็นคนที่มี Growth mindset แล้วส่ิงที่จะ เกิดข้ึนตามมาอย่างแน่นอนคือ ผู้เรียนจะมีความคิดว่าการเรียนรู้ สิ่งใหม่เป็นสิ่งที่ท้าทาย รักการเรียนรู้ มุ่งมั่น อดทน พยายาม และรกั การเปลี่ยนแปลงไปสสู่ ง่ิ ที่ดขี ้ึนพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ผู้สอนในฐานะโค้ชควรใหค้ วามสาคัญกบั การเปลย่ี นแปลง กระบวนการทางความคิดเพ่ือการเติบโต หรือ Growth mindset ให้มากที่สุดเท่าทจี่ ะมากได้เนื่องจาก Growth mindset เป็นระบบคดิ ที่ติดตัวผู้เรียน เพราะ Disruption ในโลกปัจจบุ ัน เต็มไปด้วยมีความรู้ ต่างๆ มากมาย ท่ีผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีทที่ ันสมัยเรยี นร้สู งิ่ ต่างๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง โดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานที่ อีกทั้งความรู้ยังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ จนผู้สอน ไมส่ ามารถนาความรมู้ าบอกผเู้ รียนได้อีกตอ่ ไป ดังน้ันผสู้ อนในฐานะโค้ช จึงมีหน้าท่ีสาคัญในการเปล่ียน Fixed mindset ของผู้เรียนให้เปน็ Growth mindset เพ่ือเป็นการสร้างระบบคิดหรือกระบวนทัศน์ ท่ีส่งผลต่อพฤติกรรมในระยะยาวซึ่งนับว่าเป็นการพัฒนาผู้เรียน อย่างย่ังยนื สาหรบั บทบาทการโค้ชด้าน Empower มแี นวปฏบิ ตั ิดงั น้ี

การโค้ชเพือ่ พัฒนาศักยภาพผู้เรียน 37 6) กระตนุ้ ผู้เรียนให้มี Growth mindset การกระตุ้นผู้เรียนให้มี Growth mindset หมายถึง การทาให้ผู้เรียนมีความคิดความเชื่อท่ีถูกต้องต่อการเรียนรู้ ให้เห็น คณุ ค่าของการเรียนรู้ มีจติ ใจที่รกั การเรยี นรู้ มองการเรียนรวู้ า่ เปน็ สิ่ง ท่ี ท้ า ท า ย แ ล ะ น า ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ต น เ อ ง ใ ห้ มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ทาประโยชน์เพื่อส่วนรวมได้มากขึ้น (Clarke, 2013; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Marz,& Hertz,2015; Brock,& Hundley,2016; Fogarty, 2016; Goldberg, 2016; Hildrew, 2018; Smith, & Firth, 2018) ผู้เรียนท่ีมี Growth mindset จะมองตนเองในด้านบวก เชื่อม่ันในความสามารถของตนเอง มองการเรียนรู้ส่ิงใหม่ว่าเป็นโอกาส การพัฒนา เรียนรู้สิ่งใหม่ อย่างสม่าเสมอ มุ่งม่ันและพยายามในการเรยี นรู้ แลกเปลยี่ นเรยี นรูก้ ับบุคคลอ่นื อี ก ทั้ ง ใ ช้ กระบวนก ารเรี ย นรู้ ท่ี หลา กหลา ยและยื ดหยุ่ น เพ่ือการพัฒนาตนเองและผู้อ่ืน สะท้อนคิดเพ่ือนาไปสู่การปรับปรุง และพัฒนาปรับปรุงและพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ตลอดจนนาบุคคลอืน่ ให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา ดังนั้นจึงเป็นหน้าท่ีของโค้ชอีกประการหนึ่ง ทจ่ี ะต้องพฒั นาผู้เรียนให้มี Growth mindset ในการเรยี นรู้

38 การโคช้ เพ่ือพฒั นาศกั ยภาพผ้เู รียน การที่จะพัฒนาผ้เู รียนให้มี Growth mindset ได้นั้น โค้ชจะตอ้ ง มี Growth mindset ก่อน โดยการเรียนรู้และพัฒนาตนเองจากเพื่อน รว่ มวชิ าชพี ปรบั ปรงุ และพัฒนากิจกรรมการเรียนรใู้ ห้ดีทด่ี สี ุดสาหรบั ผเู้ รยี น และเช่ือม่นั วา่ ผู้เรยี นสามารถเรียนรแู้ ละประสบความสาเรจ็ ได้ การกระตุ้นผเู้ รยี นใหม้ ี Growth mindset มีแนวปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) ช้ีแนะให้เหน็ ความสาคัญของการเรยี นรู้ 2) ใหผ้ ู้เรยี นนาสงิ่ ท่ีไดเ้ รียนรู้ ไปใช้ประโยชน์ 3) ยกตวั อย่างบุคคลทม่ี ี Growth mindset 4) ให้ผเู้ รียน ตรวจสอบ Growth mindset ของตนเอง และ 5) ช้ีให้ผู้เรียนเห็นว่า มีพัฒนาการของ Growth mindset (Clarke, 2013; Gregory, & Kaufeldt, 2015; Marz, & Hertz, 2015; Brock, & Hundley, 2016; Fogarty, 2016; Goldberg, 2016; Hildrew, 2018; Smith, & Firth, 2018) แสดงได้ ดั ง แผนภาพตอ่ ไปนี้

การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน 39 แนวปฏิบตั ิ 1. ชแี้ นะให้เหน็ ความสาคัญ การกระตนุ้ ผู้เรียน ของการเรียนรู้ ใหม้ ี Growth mindset 2. ใหผ้ ู้เรยี นนาสิ่งที่ได้เรียนรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ 3. ยกตัวอย่างบุคคลท่ีมี Growth mindset 4. ให้ผเู้ รียนตรวจสอบ Growth mindset ของตนเอง 5. ชีใ้ ห้ผ้เู รยี นเหน็ ว่ามีพฒั นาการ ของ Growth mindset แผนภาพ 11 แนวปฏบิ ัตกิ ารกระตุ้นผู้เรียนให้มี Growth mindset

40 การโคช้ เพ่อื พฒั นาศักยภาพผูเ้ รยี น 7) กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนกาหนดเปา้ หมายการเรยี นร้ขู องตนเอง ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ก า ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ก า ร เ รี ย น รู้ ของตนเอง หมายถึง การกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเปา้ หมาย ในการเรียนของตนเองได้ รู้ว่าตนเองมีความรู้ความสามารถอะไร รู้ความต้องการของตนเองว่าต้องเรียนรู้ส่ิงใดเพ่ิมเติม กาหนด เป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองได้ว่าการเรียนรู้จะมีประโยชน์อะไร (Blackburn, 2016; Campbell, 2016; Duckworth, 2016; Bloomberg, & Pitchford, 2017; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Abdulla, 2017, Knight, 2018; McGuire, 2018; Boniwell, & Smith, 2019) การกระตุ้นให้ผู้เรียนกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง ช่วยทาให้ผู้เรียนมีความผูกพันอยู่กับกิจกรรมการเรียนรู้ รู้สึกว่าตนเอง เป็นเจ้าของการเรียนรู้ อีกทั้งเป็นการทาให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจภายใน ตอ่ การเรียนรูซ้ ึ่งจะสง่ ผลตอ่ ความมุ่งมั่นพยายามอีกด้วย การให้ผูเ้ รียนกาหนดเป้าหมายการเรยี นร้ขู องตนเอง มีแนว ปฏิบัติ ดังนี้ 1) ถามผู้เรียนว่าต้องการเรียนรู้สิ่งใด 2) ถามผู้เรียนว่า มเี ป้าหมายการเรยี นรอู้ ย่างไร 3) ใหผ้ ู้เรียนสะท้อนคิดเปา้ หมายการเรยี นรู้ ของตน 4) ใหผ้ เู้ รียนแลกเปล่ียนเรยี นรเู้ ปา้ หมายของตนกบั บุคคลอน่ื และ

การโค้ชเพอ่ื พัฒนาศักยภาพผเู้ รียน 41 5) ใหผ้ ้เู รียนกาหนดเปา้ หมายการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับตนเอง (Blackburn, 2016; Campbell, 2016; Duckworth, 2016; Bloomberg, & Pitchford, 2017; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Nieuwerburgh, 2017; Abdulla, 2017, Knight, 2018; McGuire, 2018; Boniwell, & Smith, 2019) แสดงไดด้ ังแผนภาพตอ่ ไปน้ี แนวปฏิบัติ 1. ถามผูเ้ รยี นว่าต้องการเรียนรู้ การให้ผู้เรยี นกาหนด สิ่งใด เป้าหมายการเรยี นรู้ 2. ถามผเู้ รยี นวา่ ของตนเอง มีเป้าหมายการเรยี นรู้อย่างไร 3. ใหผ้ ูเ้ รยี นสะทอ้ นคิด เป้าหมายการเรยี นรูข้ องตน 4. ใหผ้ ู้เรยี นแลกเปล่ียนเรยี นรู้ เปา้ หมายของตนกับบุคคลอื่น 5. ใหผ้ ู้เรยี นกาหนดเป้าหมาย การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกับตนเอง แผนภาพ 12 แนวปฏิบัตกิ ารให้ผ้เู รยี นกาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ของตนเอง

42 การโคช้ เพื่อพฒั นาศักยภาพผู้เรียน 8) กระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นมวี นิ ยั ในการเรียนรแู้ ละนาตนเอง การกระตุ้นให้ผู้เรียนมีวินัยในการเรียนรู้และนาตนเอง หมายถึง การทาให้ผู้เรียนสามารถกาหนดทิศทางการเรียนรู้ ของตนเองได้ กากับตนเองให้ปฏิบัติตามทิศทางดังกล่าวได้ และ ควบคุมตนเองไม่ให้ออกนอกทิศทางการเรียนรู้ได้ (Middleton, & Perks, 2014; Costa, & Garmston, 2015; Ginsberg, 2015; Fogarty, 2016; Elickson, Lanning, & French, 2017; Gill, & Thomson, 2017; Abdulla, 2017; Bergin, 2018; Knight, 2018) การมีวินัยในตนเองเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้ประสบความสาเร็จ ในการเรียนรู้ ผู้เรียนท่ีมีวินัยในตนเองจะประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ ได้มากกว่าผเู้ รียนท่ีขาดวินัย การมีวินัยช่วยทาให้ผเู้ รียนควบคุมตนเองและ กากับตนเองไปสู่เป้าหมายได้อย่างตอ่ เนื่อง ไม่ออกนอกลู่นอกทาง ซึ่งการมี วินัยในตนเองเป็นคุณลักษณะที่โค้ชจาเป็นต้องพัฒนาให้เกิดกับผู้เรียน ไปพร้อมกับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งมีแนวปฏิบัติดังนี้ 1) ให้ผู้เรียนวางแผนไปสู่เป้าหมายด้วยตนเอง 2) สอบถามและติดตาม ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ 3) ให้การสะท้อนคิดความมีวนิ ยั ในการเรียนรู้ ของตนเอง 4) ช่ืนชมเมื่อแสดงพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนรู้ และ 5) ยกตัวอย่างบุคคลที่ประสบความสาเร็จจากการมีวินัยในตนเอง (Middleton, & Perks, 2014; Costa, & Garmston, 2015; Ginsberg, 2015;