Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR 2563

SAR 2563

Published by ขวัญใจ จันทร์คณา, 2021-07-05 06:15:04

Description: SAR 2563

Search

Read the Text Version

ชอ่ื รางวลั ประเภท ระดับ หนว ยงานทมี่ อบรางวัล ปท ี่ได รางวัล รบั สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถม รางวลั รางวัลเหรยี ญทองรองชนะเลิศอันดบั ที่ 2 การแขง ขนั วาดภาพระบายสี ป.1- นักเรียน เขต ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 2562 ป.6 พ้นื ท/่ี จังหวัด สํานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถม 2562 ศึกษากรงุ เทพมหานคร รางวลั เหรียญเงินอนั ดับที่ 37 การแขงขันวาดภาพระบายสี ป.4 - ป.6 เขต 2562 นกั เรยี น พ้ืนท/่ี สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถม ศึกษากรุงเทพมหานคร 2562 จงั หวัด สํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถม 2562 รางวัลเหรยี ญทองอันดบั ท่ี 7 การแขงขันประตมิ ากรรม ป.1-ป.3 เขต ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร นกั เรยี น พน้ื ที่/ 2562 สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถม จังหวดั ศึกษากรงุ เทพมหานคร 2562 รางวลั เหรยี ญทองอนั ดับที่ 7 การแขง ขนั ประตมิ ากรรม ป.4 - ป.6 สถาน เขต สํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถม 2562 ศกึ ษา พื้นท/่ี ศึกษากรุงเทพมหานคร จังหวดั 2562 สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถม รางวลั เหรียญทองอนั ดับที่ 8 การแขงขันขับรอ งเพลงไทยลกู ทุงประเภทชาย นักเรยี น เขต ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 2562 ป.1-ป.6 พื้นท/่ี จังหวัด สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถม 2562 ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร รางวลั เหรยี ญทองอนั ดับท่ี 13 การแขงขนั ขับรอ งเพลงไทยลูกทงุ ประเภท เขต 2562 หญิง ป.1-ป.6 นกั เรียน พน้ื ท/่ี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถม ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร จังหวัด สํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถม รางวัลเหรยี ญเงนิ อนั ดับที่ 14 การแขง ขนั ขบั รองเพลงไทยลูกกรงุ ประเภท นักเรยี น เขต ศึกษากรงุ เทพมหานคร ชาย ป.1-ป.6 พื้นที/่ จังหวัด สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถม ศึกษากรุงเทพมหานคร รางวลั เหรียญเงินอันดับท่ี 21 การแขง ขันขับรอ งเพลงไทยลูกกรุงประเภท นกั เรียน เขต หญิง ป.1-ป.6 พื้นท/่ี สาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถม จงั หวดั ศึกษากรุงเทพมหานคร รางวัลเหรยี ญเงินอันดบั ท่ี 16 การแขง ขันขับรองเพลงสากลประเภทหญงิ เขต ป.1-ป.6 นักเรยี น พื้นที่/ จงั หวดั รางวลั เหรยี ญเงนิ อันดับท่ี 16 การแขงขนั ขบั รองเพลงพระราชนพิ นธ เขต ประเภทชาย ป.1-ป.6 นักเรียน พน้ื ที่/ จังหวดั รางวัลเหรียญทองอันดบั ท่ี 19 การแขงขนั ขบั รองเพลงพระราชนพิ นธ เขต ประเภทหญงิ ป.1-ป.6 นกั เรยี น พน้ื ที่/ จังหวัด รางวัลเหรยี ญทองชนะเลิศอันดบั ที่ 1 การแขง ขนั นาฏศิลปไทยสรางสรรค นักเรียน เขต ป.1-ป.6 พน้ื ที่/ จังหวัด Page 51 of 81

ช่อื รางวลั ประเภท ระดบั หนว ยงานทีม่ อบรางวลั ปทไี่ ด รางวัล รับ รางวัล รางวลั เหรียญเงนิ อันดบั ท่ี 23 การแขงขันพดู ภาษาอังกฤษ(Impromptu เขต สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถม 2562 Speech) ป.1-ป.3 นักเรยี น พื้นที่/ ศึกษากรงุ เทพมหานคร จังหวดั รางวัลเหรียญเงนิ อันดับที่ 34 การแขง ขันพูดภาษาอังกฤษ(Impromptu เขต สํานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถม 2562 Speech) ป.4-ป.6 นกั เรียน พื้นที่/ ศึกษากรงุ เทพมหานคร จงั หวดั รางวัลเหรียญทองอันดบั ท่ี 31 การแขงขันการแขงขนั เลานิทาน (Story เขต สาํ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถม 2562 Telling) ป.4-ป.6 นกั เรยี น พื้นที/่ ศกึ ษากรุงเทพมหานคร จงั หวัด รางวัลเหรียญทองแดงท่ี 71 การแขง ขนั การใชโ ปรแกรมนํา สถาน เขต สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถม 2562 เสนอ(Presentation) ป.4-ป.6 ศึกษา พืน้ ที่/ ศึกษากรงุ เทพมหานคร จงั หวัด รางวัลเหรยี ญเงนิ อนั ดับที่ 12 การแขงขนั ประดษิ ฐของใชจ ากวัสดุธรรมชาติ นกั เรยี น เขต สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถม 2562 ในทองถ่ิน ป.4-ป.6 พ้ืนที่/ ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร จงั หวัด รางวลั เหรยี ญทองรองชนะเลศิ อนั ดับที่ 2 การปนดินนา้ํ มัน ปฐมวัย เขต สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถม 2562 นกั เรยี น พน้ื ที/่ ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร จงั หวัด รางวลั เหรยี ญเงินอันดบั ที่ 28 การสรางภาพดว ยการฉกี ตัด ปะ กระดาษ เขต สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถม 2562 ปฐมวัย นกั เรยี น พ้ืนที่/ ศึกษากรุงเทพมหานคร จังหวัด รางวลั เหรยี ญทองอนั ดบั ที่ 23 การแขงขันเคร่อื งรอ นแบบเดนิ ตาม ป.1-ป.3 นักเรียน ภาค/ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ 2562 ประเทศ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รางวลั เหรยี ญทองอันดบั ท่ี 24 การแขงขันเคร่อื งรอน ประเภทรอนนานยงิ นักเรียน ภาค/ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้น 2562 ยาง ป.4-ป.6 ประเทศ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ รางวัลเหรยี ญเงนิ อนั ดบั ที่ 25 การแขง ขันเครอ่ื งรอน ประเภทรอนนาน สถาน ภาค/ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้น 2562 ปลอ ยดวยมอื ป.4-ป.6 ศกึ ษา ประเทศ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ อนั ดบั ที่ 2 การแขงขันนาฏศิลปไทย นกั เรียน ภาค/ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั 2562 สรางสรรค ป.1-ป.6 ประเทศ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร รางวัลอนั ดับที่ 1 การแขงขันวา ยนา้ํ ประเภท 50 ม. Freestyle สถติ ิ 28.22 นักเรียน เขต กรมพลศกึ ษา 2563 รุนอายุไมเกิน 11 ป พื้นที่/ จงั หวดั รางวลั อนั ดบั ท่ี 2 การแขงขันวา ยนํา้ ประเภท 50 ม. Backstroke สถติ ิ เขต กรมพลศึกษา 2563 33.10 รนุ อายไุ มเกนิ 11 ป นักเรยี น พน้ื ท่ี/ จังหวดั Page 52 of 81

ช่ือรางวลั ประเภท ระดบั หนว ยงานท่ีมอบรางวัล ปท ไ่ี ด รางวลั กรมพลศึกษา รับ รางวลั รางวลั อันดบั ท่ี 3 การแขงขนั วายน้ําประเภท 200 ม. Medley สถติ ิ เขต 2:41.39 รุนอายไุ มเ กิน 11 ป นักเรยี น พื้นท่ี/ 2563 จงั หวัด รางวัลอันดับท่ี 3 การแขง ขันวายนํา้ ประเภท 100 ม. Backstroke สถิติ เขต กรมพลศึกษา 2563 1:11.85 รนุ อายุไมเกิน 11 ป นกั เรยี น พื้นท/ี่ จงั หวดั รางวัลอันดับที่ 1 การแขง ขันวายน้าํ ประเภท 100 ม. Freestyle สถิติ เขต กรมพลศึกษา 2563 1:03.50 รุน อายไุ มเ กิน 11 ป นักเรยี น พื้นท/่ี จงั หวัด รางวลั อันดบั ท่ี 1 การแขงขันวายน้ําประเภท 50 ม. Butterfly สถิติ 30.74 นกั เรียน เขต กรมพลศึกษา 2563 รุนอายุไมเกิน 11 ป พนื้ ท/่ี จงั หวดั ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ภาษาองั กฤษ นกั เรยี น เขต สํานกั ทดสอบการศึกษา 2563 100 คะแนนเต็ม พน้ื ท/่ี จงั หวดั ผลการประเมนิ อา นออกเขยี นได Reading Test : RT ปก ารศึกษา 2563 เขต คะแนนดานการอานออกเสยี งและการอานรูเร่ือง ไดคแนนสงู สดุ 99.00 นักเรยี น พืน้ ท/่ี สํานักทดสอบการศึกษา 2563 คะแนน จงั หวดั 5. ดาํ เนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ปรับตามนโยบายแตละป) ประเด็นตัวช้ีวัด - จดั การศกึ ษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชหลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั การเรยี นรูเชิงรุกและการวัดประเมนิ ผลเพือ่ พัฒนาผูเ รียน ท่ีสอดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ - สง เสริมการพฒั นากรอบหลักสตู รระดับทองถ่ินและหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตองการจาํ เปนของกลมุ เปาหมายและแตกตา งหลากหลายตามบรบิ ทของพืน้ ที่ - พัฒนาผูเรยี นใหม ีทักษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรเู ชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ จรงิ หรือจากสถานการณจาํ ลองผานการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพ่ือเปดโลกทัศนม มุ มองรวมกนั ของผูเรยี นและครูใหม ากขนึ้ - พฒั นาผเู รยี นใหม ีความรอบรูและทักษะชวี ิต เพื่อเปนเครื่องมอื ในการดํารงชีวติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดิจิทลั สขุ ภาวะและทศั นคติทดี่ ีตอ การดแู ล สุขภาพ - พัฒนาครูใหม ที กั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจิทัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทง้ั การจดั การเรียนการสอนเพื่อฝกทักษะการคิด วเิ คราะหอ ยา งเปน ระบบและมเี หตุผลเปนขัน้ ตอน - สง เสรมิ ใหใ ชภ าษาทอ งถิ่นรว มกบั ภาษาไทยเปน สื่อจัดการเรียนการสอนในพืน้ ทีท่ ใี่ ชภ าษาอยางหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานใหผ เู รยี นมพี ฒั นาการดา นการคดิ วเิ คราะห รวมท้งั มีทกั ษะการส่ือสารและใชภาษาทีส่ ามในการตอ ยอดการเรียนรไู ดอยา งมีประสิทธภิ าพ - ปลกู ฝง ผูเรียนใหมหี ลกั คิดที่ถกู ตอ งดานคณุ ธรรม จริยธรรม และเปน ผูมีความพอเพียง วินยั สุจริต จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด - พฒั นาแพลตฟอรม ดจิ ิทัลเพื่อการเรียนรู และใชดจิ ิทลั เปน เคร่อื งมือการเรียนรู - เสรมิ สรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงคด า นสิง่ แวดลอ ม - สงเสริมการพัฒนาส่ิงประดษิ ฐและนวัตกรรมทเ่ี ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอม ใหส ามารถเปนอาชพี และสรา งรายได - สนบั สนนุ กิจกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ Page 53 of 81

- พฒั นาครทู กุ ระดบั ใหม ีทกั ษะ ความรทู ี่จาํ เปน เพือ่ ทําหนา ทวี่ ิทยากรมอื อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผานศนู ยพฒั นาศักยภาพบุคคลเพ่อื ความ เปน เลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC) - ใหผูเรยี น ครู ผบู ริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบคุ คลผานแผนพฒั นารายบุคคลสูความเปน เลิศ (Excellence Individual Development Plan :EIDP) Page 54 of 81

6. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกในรอบของ สมศ. ทผี่ านมา การประเมนิ รอบที่ 3 ระดับ ระดับผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ผลการรบั รอง ระดับปฐมวยั ดมี าก รบั รอง ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ดีมาก รบั รอง การประเมนิ รอบที่ 4 ระดบั ดา นท่ี 1 ดา นที่ 2 ระดบั ผลการประเมิน ดา นที่ 4 ดานที่ 5 - - ดานที่ 3 - - ระดับปฐมวยั - - - - - ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน - 7. หนว ยงานภายนอกท่ีโรงเรยี นเขารวมเปนสมาชกิ - สมาคมคณะกรรมการประสานและสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน - สมาคมอนบุ าลศกึ ษาแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภฯ - สมาชิกเครอื ขายสถานศกึ ษาเอกชนกลมุ 22 - ชมรมพฒั นาเด็ก - สถาบันวิจยั การเรยี นรู Learning Research Institute Page 55 of 81

สว นที่ 4 : การประเมินตนเอง (Self - Assessment) 1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน ระดับปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ จํานวนเดก็ ทงั้ หมด : 262 การปฏิบตั ิงาน เปา จาํ นวนเดก็ ที่ ผลการ ผลการ ผา นเกณฑท ี่ ประเมนิ ประเมิน ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม หมาย/ (รอ ย คณุ ภาพ ปฏบิ ัติ รอยละ โรงเรียน กาํ หนด (คน) ละ) ทไี่ ด 1. มพี ฒั นาดานรา งกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ที่ดี และดูแลความปลอดภยั ของตนองได 75.00 248 94.66 ยอด เยี่ยม 1.1 รอยละของเดก็ มนี า้ํ หนกั สว นสูงตามเกณฑมาตรฐาน √- 205 1.2 รอ ยละของเด็กเคล่ือนไหวรางกายคลอ งแคลว ทรงตัวไดด ี ใชมือและตา √- 262 ประสานสมั พนั ธไดด ี 1.3 รอ ยละของเด็กดูแลรกั ษาสุขภาพอนามัยสวนตนและปฏบิ ตั จิ นเปนนิสยั √ - 262 1.4 รอยละของเด็กปฏิบัตติ นตามขอ ตกลงเกีย่ วกับความปลอดภยั หลกี เลี่ยง สภาวะ ทเ่ี ส่ยี งตอ โรค สิง่ เสพติด และระวงั ภัยจากบุคคล สิ่งแวดลอม และ √- 261 สถานการณทเ่ี สีย่ งอนั ตราย 2. มีพฒั นาการดา นอารมณ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ ด 80.00 262 100.00 ยอด เยย่ี ม 2.1 รอ ยละของเดก็ รา เรงิ แจม ใส แสดงอารมณ ความรสู กึ ไดเ หมาะสม √- 262 2.2 รอ ยละของเดก็ รจู กั ยับยง้ั ช่งั ใจ อดทนในการรอคอย √- 262 2.3 รอ ยละของเด็กยอมรบั และพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเอง √ - 262 และผอู ่ืน 2.4 รอ ยละของเดก็ มีจิตสํานึกและคา นยิ มที่ดี √- 262 2.5 รอยละของเด็กมีความมัน่ ใจ กลาพูด กลาแสดงออก √- 262 2.6 รอยละของเด็กชว ยเหลอื แบงปน √- 262 2.7 รอ ยละของเด็กเคารพสิทธิ รหู นา ทร่ี ับผดิ ชอบ อดทนอดกล้ัน √- 262 2.8 รอ ยละของเด็กซอื่ สัตยสจุ ริต มคี ุณธรรม จริยธรรม ตามทส่ี ถานศึกษา √- 262 กําหนด 2.9 รอยละของเดก็ มคี วามสุขกบั ศิลปะดนตรี และการเคลื่อนไหว √- 262 3. มีพฒั นาการดา นสงั คม ชวยเหลือตนเองและเปน สมาชกิ ทีด่ ขี องสังคม 80.00 262 100.00 ยอด เยย่ี ม 3.1 รอ ยละของเดก็ ชว ยเหลอื ตนเอง ในการปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจาํ วัน มวี นิ ยั ใน √ - 262 ตนเอง Page 56 of 81

การปฏิบัตงิ าน เปา จํานวนเดก็ ท่ี ผลการ ผลการ ผานเกณฑท่ี ประเมิน ประเมิน ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม หมาย/ (รอย คณุ ภาพ ปฏบิ ัติ รอ ยละ โรงเรียน กาํ หนด (คน) ละ) ที่ได 3.2 รอยละของเด็กประหยัดและพอเพยี ง √- 262 3.3 รอ ยละของเดก็ มีสวนรว มดแู ลรักษาสง่ิ แวดลอ มในและนอกหองเรียน √- 262 3.4 รอ ยละของเด็กมมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทย เชน การไหว การย้ิม ทกั ทาย √ - 262 และมีสัมมาคารวะกบั ผใู หญ ฯลฯ 3.5 รอยละของเด็กยอมรบั หรือเคารพ ความแตกตางระหวางบุคคล เชน ความ √ - 262 คดิ พฤติกรรม พน้ื ฐานครอบครัว เชอื้ ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม เปน ตน 3.6 รอ ยละของเดก็ เลนและทาํ งานรว มกับผูอ่ืนได แกไขขอขัดแยง โดย √- 262 ปราศจาก การใชความรนุ แรง 4. มพี ัฒนาการดา นสติปญ ญา สือ่ สารได มที กั ษะการคิดพนื้ ฐาน และแสวงหาความรไู ด 80.00 253 96.56 ยอด เยยี่ ม 4.1 รอ ยละของเด็กสนทนาโตตอบและ เลา เร่ืองใหผ อู ่นื เขาใจ √- 261 4.2 รอยละของเด็กต้งั คําถามในส่ิงท่ี ตนเองสนใจหรือสงสยั และพยายามคนหา √ - 262 คําตอบ 4.3 รอ ยละของเดก็ อานนิทานและเลาเร่ือง ท่ีตนเองอา นไดเ หมาะสมกับวยั √- 220 4.4 รอยละของเดก็ มีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคดิ เชิงเหตุผลทาง 255 คณิตศาสตรแ ละวทิ ยาศาสตร การคดิ แกป ญ หาและสามารถตดั สนิ ใจในเรือ่ ง √ - งาย ๆ ได 4.5 รอยละของเดก็ สรางสรรคผ ลงานตามความคิดและจนิ ตนาการ เชน งาน √ - 261 ศิลปะ การเคล่อื นไหวทา ทาง การเลนอสิ ระ ฯลฯ 4.6 รอยละของเดก็ ใชสอื่ เทคโนโลยี เชน แวน ขยาย แมเ หล็ก กลองดิจิตอล √- 261 ฯลฯ เปนเครอ่ื งมอื ในการเรยี นรูแ ละแสวงหาความรไู ด สรุปผลการประเมนิ 97.81 ยอด เยยี่ ม   จุดเนนและกระบวนการพฒั นาที่สง ผลตอ ระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก กระบวนการพฒั นาท่ีสงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 1           เนื่องจากภาวะการระบาดของโรค Covid -19 ทที่ ําใหตองมมี าตรการการเวน ระยะหา งทางสังคม เพ่ือควบคมุ การระบาดของโรค Covid -19 โรงเรยี นไดจ ดั กิจกรรมการเรยี นรทู ่ีโดยดาํ เนินการจัด รปู แบบการจดั การเรียนการสอนในสถานการณแ พรร ะบาดของโรคติดตอ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามมาตรการปอ งกัน และควบคมุ โรคตดิ ตอ เชือ้ ไวรสั โคโรนา โดยจดั กจิ กรรมในชวงเวลาดังกลาวใน รูปแบบ        1.ON - Site 2.ON - LINE เพอื่ ใหน ักเรียนไมเสียโอกาสในการพฒั นาตามวัย นกั เรยี นไดพฒั นาทางสตปิ ญญาจากการฝก ใหน กั เรียนไดร จู ักคนหาความรูจ ากสงิ่ ตาง ๆ  รอบตัวในรปู แบบท่เี หมาะสมกบั สถานการณ  โดยสรา งชุมชนแหง การเรยี นรูของ เดก็ ผปู กครอง ครู และโรงเรียนขึน้ โดยอาศยั การสื่อสารและปฏิสมั พนั ธแบบออนไลน ดวยวิธนี ีผ้ ูเกย่ี วขอ งทุกคนจะยงั คงสามารถรกั ษาระเบยี บของการเวน ระยะหางทาง สังคมได  โดยทส่ี ําคัญเดก็ กย็ งั คงสามารถดําเนินตอ ไปไดอยางตอ เนือ่ ง  จากการจดั เรยี นรจู ากประสบการณต รงเพ่อื ใหนกั เรยี น รจู กั ซกั ถามในสง่ิ ทีต่ องการเรียนรูแบบมเี หตุ มีผลตามวยั รวมถงึ โรงเรียนมกี ารจดั แหลง เรยี นรูภายในใหนกั เรียนไดศกึ ษาตลอดเวลาภายใตการเวนระยะหางทางสงั คม อาทิเชน โครงการสุขภาพดีชวี มี สี ุข Good think Good health ท่สี ง เสริมทางดานสุขภาพอนามยั สอนใหเ ดก็ รจู ักและรับมือกับโคโรนาไวรสั (โควดิ -19) แสดงวธิ ีการปอ งกันตนเองใหเ ดก็ ดู การเปนตัวอยา งที่ดใี นการ Page 57 of 81

ปอ งกันตวั เองเปน วธิ ีการทดี่ ีที่สุดในการปองกันเดก็ ๆ ใหห างไกลโรค เชน การลา งมือใหเปนประจาํ โดยใหเ ด็กมีสวนรว มไปพรอมกบั ผใู หญท าํ ใหเ ขาไดส นุกสนานในการเรียน รู การสาธิตใหเ ขาดวู า การใชขอ ศอกปอ งปากเวลาไอหรือจามน้นั เปน อยา งไร การสรา งขอ ตกลงในหอ งเรียนแบบ New Normal Stop Covid – 19 โดย สวมหนากากผา หรือหนากากอนามัยทุกคร้งั กอนเขา มาในบรเิ วณโรงเรยี น ,ลา งมอื ดว ยสบูหรอื เจลแอลกอฮอลทกุ ครัง้ กอ นเขาหองเรยี น, เวน ระยะหางจากผูอ่นื อยา งนอย 1-2 เมตร ,ไมใช ส่ิงของรวมกบั ผอู ื่น เชน อุปกรณการเรยี น ชอน - สอ ม ,ไมขย้ีตา แคะ แกะ จมูก และหลกี เลี่ยงการสัมผัสบรเิ วณใบหนา และปาก  ,หากรสู ึกไมสบายหรือพบเห็นเพื่อนท่ไี ม สบาย ไอ - จาม - ตวั รอน แจงใหครูทราบทันที                  จัดกิจกรรมทสี่ งเสรมิ และพฒั นาทางดานสตปิ ญญา อาทิเชน มมุ หนังสือ  มมุ ของเลน ในหองเรยี น ใหนักเรียนไดเ รยี นรูและสรางความเขาใจเกี่ยวกบั ความรูพืน้ ฐานตามสาระ 4 สาระท่คี วรรูในหลกั สูตร  ใหน ักเรียนรจู ักบอกลักษณะ คุณสมบตั ิความเหมอื น  ความแตกตา ง  การจําแนกประเภท  จดั หมวดหมูและบอกความสมั พนั ธ ของสงิ่ ตา ง ๆ ท่เี กดิ จากการเลนโดยผา นกิจกรรมการบรู ณาการการเรียนรูผา นกิจกรรม 6 หลกั และจดั โครงการ SMART KIDS. เพอ่ื สงเสริมการเรยี นรแู กน ักเรยี นโดยมี กิจกรรม ดงั น ี้ กจิ กรรมอา นนทิ านตอยอดเพ่อื การเรียนรู  กจิ กรรมอาขยาน,กลอน,กว ี   กจิ กรรมคลินกิ ภาษา กิจกรรมลายมอื งามแบบไทย   กิจกรรมLanguage for you   กิจกรรม Spelling  bee  กจิ กรรม International Day โครงการเรียนรคู ูโครงงาน กจิ กรรม Class room  Project โครงการเรยี นรูค ูกจิ กรรม  ผลการดาํ เนินงาน           จากการพัฒนาตามขัน้ ตอนดงั กลาวทําใหนักเรยี นมพี ฒั นาการดานสตปิ ญญาดขี น้ึ   เด็กไดเ รียนรูแบบโครงงาน เชน โครงงานเรื่องมือนอยสขุ ภาพดี ,โรงเรียนของ หนู ,กระตา ยนอ ยดุกดกิ๊ ,เตาอบมหัศจรรย,รางกายของหนู ,รอบรูโรคโควดิ -19 ,กรงุ เทพมหานคร ,ปลาแสนสวย ,เปลงประกายหนูนอยนา รกั ,อาชพี ในฝ นกยงู ราํ แพนดนิ แดนไทย ,ดนตรีพาสนุก ซ่งึ จะเหน็ ไดจากนักเรียนรูจกั สังเกต ต้ังคาํ ถามในส่งิ ท่ตี องการรู และทํากิจกรรมรวมกนั   สามารถบอก เลา อธบิ าย เรอื่ งราวตางๆ ท่ีตนเองสนใจให ครู เพือ่ น ผอู ื่นฟง ไดอยางเขา ใจ  นกั เรยี นไดเรยี นรูจ ากการฝก ปฏิบตั จิ รงิ การใชประสาทสมั ผสั ทัง้ 5 การทดลอง การทาํ ซํ้า ๆ หลายครั้ง  เดก็ มีความพรอมและทักษะท่ี จําเปนตามหลักสตู ร           จากการดาํ เนินการตามโครงการและกจิ กรรมที่กลาวขางตนสงผลการพัฒนาคุณภาพเด็กเปนรายดานดงั นี้ มพี ัฒนาการดานรา งกายแข็งแรงมสี ขุ นสิ ยั ทด่ี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนองได ผลการประเมนิ รอยละ 94.46 มพี ัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ ด ผลการประเมินรอ ยละ 100 มีพฒั นาการดานสงั คม ชว ยเหลอื ตนเองและเปน สมาชิกที่ดีของสังคม ผลการประเมินรอ ยละ 100 มพี ฒั นาการดานสติปญญา ส่ือสารได มที ักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรูไ ดผ ลการประเมนิ รอ ยละ 96.63 สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก อยใู นระดับยอดเยีย่ ม Page 58 of 81

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ เปาหมาย 5 ขอ การปฏบิ ตั งิ าน ผลการ ประเดน็ พิจารณา ไม ผล ประเมนิ ปฏิบตั ิ ปฏบิ ัติ สําเร็จ คุณภาพ ท่ีได 1. มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั สด่ี าน สอดคลองกบั บรบิ ทของทองถ่นิ 5.00 ยอด เยี่ยม 1.1 มหี ลักสตู รสถานศกึ ษาทยี่ ืดหยนุ และสอดคลอ งกับหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั √- 1.2 ออกแบบจดั ประสบการณท เ่ี ตรยี มความพรอมและไมเรง รดั วชิ าการ √- 1.3 ออกแบบการจัดประสบการณท ่เี นน การเรียนรูผานการเลน และการลงมือปฏบิ ตั ิ (Active learning) √ - 1.4 ออกแบบการจัดประสบการณทีต่ อบสนองความตอ งการและความแตกตา งของเด็กปกติและกลุมเปา √- หมายเฉพาะท่ีสอดคลองกับวถิ ีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและทองถิน่ 1.5 มีการประเมนิ ตรวจสอบ และปรบั ปรุง / พฒั นาหลักสูตรอยา งตอเน่อื ง √- 2. จัดครูใหเพียงพอกบั ชั้นเรยี น 5.00 ยอด เย่ยี ม 2.1 จดั ครูครบชน้ั เรียน √- 2.2 จดั ครใู หมคี วามเหมาะสมกับภารกจิ การจดั ประสบการณ √- 2.3 จัดครูไมจ บการศกึ ษาปฐมวัยแตผ า นการอบรมการศึกษาปฐมวยั √- 2.4 จัดครจู บการศึกษาปฐมวยั √- 2.5 จัดครจู บการศกึ ษาปฐมวยั และผานการอบรมการศกึ ษาปฐมวัย √- 3. สง เสริมใหค รมู ีความเชย่ี วชาญดา นการจัดประสบการณ 5.00 ยอด เยย่ี ม 3.1 มีการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหมีความรูความสามารถในการวิเคราะหและออกแบบหลักสตู รสถานศกึ ษา √ - 3.2 สงเสรมิ ครูใหม ีทกั ษะในการจดั ประสบการณและการประเมนิ พฒั นาการเดก็ √- 3.3 สงเสรมิ ครใู ชป ระสบการณสาํ คัญในการออกแบบการจดั กจิ กรรม จดั กจิ กรรม สังเกตและประเมนิ √- พฒั นาการเดก็ เปน รายบุคคล 3.4 สงเสริมใหครมู ีปฏสิ มั พนั ธท ี่ดีกบั เดก็ และครอบครัว √- 3.5 สง เสรมิ ใหครูพฒั นาการจัดประสบการณโ ดยใชช ุมชนแหง การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) √- 4. จัดสภาพแวดลอ มและสื่อเพอื่ การเรยี นรอู ยางปลอดภัยและเพียงพอ 5.00 ยอด เยย่ี ม 4.1 จดั สภาพแวดลอมภายในหอ งเรียนท่ีคํานึงถึงความปลอดภัย √- 4.2 จัดสภาพแวดลอ มภายนอกหอ งเรียนที่คาํ นึงถึงความปลอดภัย √- 4.3 สงเสรมิ ใหเ กดิ การเรียนรทู ี่เปนรายบุคคลและกลุม เลน แบบรวมมอื รว มใจ √- Page 59 of 81

การปฏบิ ัตงิ าน ผลการ ประเดน็ พจิ ารณา ไม ผล ประเมนิ ปฏบิ ัติ 4.4 จัดใหม มี มุ ประสบการณหลากหลาย มสี อ่ื การเรยี นรู ท่ีปลอดภยั และเพียงพอ เชน ของเลน หนงั สอื ปฏิบัติ สําเร็จ คุณภาพ นทิ าน สอื่ จากธรรมชาติ ส่ือสาํ หรับเดก็ มุดลอด ปน ปาย สื่อเทคโนโลยีการสบื เสาะหาความรู ทีไ่ ด 4.5 จดั หอ งประกอบทีเ่ ออื้ ตอ การจัดประสบการณและพฒั นาเดก็ √- 5. ใหบริการสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรูเพอ่ื สนบั สนุน การจัดประสบการณ √- 5.1 อาํ นวยความสะดวกและใหบ รกิ ารส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ วสั ดุ อปุ กรณแ ละส่ือการเรียนรู 5.2 พฒั นาครูใหม คี วามรูค วามสามารถในการผลติ และใชส อ่ื ในการจัดประสบการณ 5.00 ยอด 5.3 มกี ารนิเทศตดิ ตามการใชส อ่ื ในการจดั ประสบการณ เยย่ี ม 5.4 มกี ารนําผลการนิเทศตดิ ตามการใชส อื่ มาใชเ ปนขอ มลู ในการพัฒนา 5.5 สงเสริม สนับสนุนการเผยแพรการพัฒนาสอ่ื และนวัตกรรมเพื่อการจัดประสบการณ √- 6. มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปดโอกาสใหผูเก่ียวของทุกฝา ยมสี วนรว ม √- 6.1 กําหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาท่สี อดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั และอัตลักษณ √- ของสถานศึกษา 6.2 จดั ทําแผนพฒั นาการศกึ ษาทส่ี อดรบั กบั มาตรฐานทส่ี ถานศึกษากําหนดและดาํ เนนิ การตามแผน √- 6.3 มกี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 6.4 มีการตดิ ตามผลการดําเนินงาน และจัดทํารายงานผลการประเมนิ ตนเองประจาํ ป และรายงานผลการ √- ประเมินตนเองใหห นวยงานตนสังกัด 6.5 นําผลการประเมินไปปรบั ปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา โดยผูปกครองและผูเ กยี่ วของทกุ ฝายมี 5.00 ยอด สว นรวม เยย่ี ม สรุปผลการประเมิน √- √- √- √- √- 5.00 ยอด เยยี่ ม   จดุ เนนและกระบวนการพฒั นาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ กระบวนการพัฒนาที่สงผลตอ ระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 2                                     โรงเรียนวลีรัตนวทิ ยาไดจัดหลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการทงั้ สีด่ าน สอดคลอ งกับบริบทของทองถน่ิ มีหลักสตู รสถานศึกษาทย่ี ืดหยุน และสอดคลอ งกบั หลกั สตู รการ ศึกษาปฐมวัยโดยการปรับหลักสูตรรปู แบบการจดั การเรียนการสอนใหเ ขากบั สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ออกแบบจดั ประสบการณท ี่เตรยี มความพรอม และไมเรง รัดวชิ าการ จดั กจิ กรรมในชว งเวลาดังกลา วใน รูปแบบ 1.ON - Site 2.ON – LINE ออกแบบการจดั ประสบการณทีเ่ นน การเรียนรูผ า นการเลน และการลงมอื ปฏบิ ัติ (Active learning) ทีต่ อบสนองความตอ งการและความแตกตา งของเดก็ ปกติและกลมุ เปาหมายเฉพาะทีส่ อดคลองกับวถิ ีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและทอ งถน่ิ มี การประเมิน ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ / พฒั นาหลักสูตรอยางตอเน่ือง                   จัดครูเพียงพอกบั ชน้ั เรียนพฒั นาครูใหมคี วามเหมาะสมกับภารกจิ การจัดประสบการณการเรียนรูแบบออนไลนสงเสริมและพฒั นาการใชสอ่ื เทคโนโลยีมาจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของครเู พ่ือใชใ นการตดิ ตอส่ือสารกับผูป กครอง สง เสรมิ พัฒนาครผู า นการอบรมออนไลนเ พ่อื สรางองคความรใู นการจัดการการศึกษาปฐมวยั Page 60 of 81

          สง เสรมิ ใหครูมคี วามเชี่ยวชาญดานการจัดประสบการณพ ฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม ีความรูความสามารถในการวิเคราะหและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู สงเสรมิ ใหครมู ีทกั ษะในการจดั ประสบการณและการประเมินพฒั นาการเดก็ สงั เกตและประเมินพฒั นาการเด็กเปนรายบคุ คล สงเสรมิ ใหค รูมปี ฏสิ มั พันธท ี่ดีกับเดก็ และครอบครวั พฒั นาการจัดประสบการณโ ดยใชชุมชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC)          จัดสภาพแวดลอ มและสือ่ เพื่อการเรยี นรอู ยา งปลอดภยั และเพียงพอจัดสภาพแวดลอ มภายในหองเรียน เพิ่มจาํ นวนช้นั เรียนเพอ่ื ใหน ักเรยี นสามารถเวน ระยะหา งทาง สงั คม เพม่ิ สถานที่อํานวยความสะดวกในการลางมือใหมคี วามเพยี งพอตอ การใชงานตามมาตรการปองกนั การแพรร ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 จดั เตรียมเคร่อื งวดั อุณ ภมู ิเพ่อื คัดกรอง นกั เรยี น ครู ผูปกครองกอ นเขาภายในสถานศึกษา จัดเตรยี ม Face shield ใหกับนกั เรียนและบุคลากรทุกคน คํานงึ ถงึ ความปลอดภยั สง เสริมใหเ กดิ การ เรยี นรทู เ่ี ปน รายบคุ คล มสี ่อื การเรียนรู ทีป่ ลอดภัยและเพยี งพอ เชน ของเลน หนังสือนทิ าน ส่อื เทคโนโลยกี ารสบื เสาะหาความรู                   โรงเรียนวลีรตั นว ทิ ยาไดพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื การเรยี นรูเ พอ่ื สนับสนุนการจดั ประสบการณอํานวยความสะดวกและใหบริการส่อื เทคโนโลยี สารสนเทศ วัสดุ อุปกรณแ ละส่ือการเรียนรูผานชองทางสอื่ อาทิ เชน สรางสอ่ื การเรียนรูโ ดยการบนั ทึกเทปการจัดกิจกรรมการเรียนรผู านโปรแกรม Icecream Screen Recorder, Zoom และส่ือสารใหนกั เรยี นไดเ รียนรผู า นชองทางไลนกลมุ ชน้ั เรยี น ชอง Youtube WLS School และFacebook โรงเรียนวลรี ตั นวิทยา มีการนเิ ทศตดิ ตาม การใชส อื่ ในการจัดประสบการณนาํ ผลการนิเทศติดตามการใชส ื่อมาใชเ ปนขอ มูลในการพัฒนา สงเสริม สนับสนุนการเผยแพรก ารพัฒนาสอื่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการ สอนอยางเพือ่ การจัดประสบการณ                      มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปด โอกาสใหผ ูเกี่ยวขอ งทุกฝายมีสวนรว ม มีการกําหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาท่สี อดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษา ปฐมวยั และอตั ลักษณข องสถานศึกษาจัดทาํ แผนพฒั นาการศกึ ษาทีส่ อดรบั กบั มาตรฐานทสี่ ถานศึกษากาํ หนดและดาํ เนินการตามแผนจัดการประเมนิ ผลและตรวจสอบ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาติดตามผลการดําเนินงานและจัดทํารายงานผลการประเมินตนเองประจําปและรายงานผลการประเมินตนเองใหห นว ยงานตน สังกดั และนาํ ผล การประเมนิ ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาโดยผปู กครองและผูเก่ียวของทุกฝา ยมีสว นรวม                     จากการดาํ เนินการดงั กลาวขา งตนสง ผลใหก ระบวนการบริหารและการจัดการสถานศกึ ษามีหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการท้งั ส่ดี าน สอดคลอ งกับบรบิ ท ของทองถ่นิ จดั ครูใหเ พียงพอกบั ชนั้ เรยี น ครมู ีความเชยี่ วชาญดานการจดั ประสบการณ การจัดสภาพแวดลอมและสือ่ เพื่อการเรียนรมู คี วามปลอดภยั และเพียงพอตอ การใช งาน มกี ารใหบ รกิ ารสื่อเพ่อื สนับสนุนการจัดประสบการณ  ระบบบริหารคุณภาพท่เี ปดโอกาสใหผ ูเกย่ี วขอ งทุกฝายมีสว นรวม สงผลใหก ารประเมินคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยูในระดบั ยอดเยย่ี ม Page 61 of 81

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท่เี นน เดก็ เปนสาํ คัญ จํานวนครทู ัง้ หมด : 17 การปฏิบัตงิ าน เปา จํานวนครทู ่ี ผลการ ผลการ หมาย/ ผา นเกณฑที่ ประเมิน ประเมิน ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม รอ ยละ (รอย คุณภาพ ปฏิบตั ิ โรงเรยี น กาํ หนด (คน) ละ) ทไ่ี ด 1. จดั ประสบการณท ส่ี ง เสริมใหเดก็ มีพฒั นาการทุกดา น อยางสมดุลเต็มศกั ยภาพ 90.00 17 100.00 ยอด เยีย่ ม 1.1 มกี ารวิเคราะหข อมูลเด็กเปนรายบคุ คล √- 17 1.2 จดั ทําแผนและใชแ ผนการจัดประสบการณจ ากการวิเคราะหม าตรฐาน √- 17 คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคใ นหลกั สูตรสถานศึกษา 1.3 จัดกิจกรรมท่ีสง เสรมิ พฒั นาการเด็กครบทกุ ดา น ทงั้ ดานรา งกาย ดานอารมณ √ - 17 จิตใจ ดานสงั คม และดา นสตปิ ญญา โดย ไมมงุ เนน การพฒั นาดานใดดา นหนึง่ เพยี งดา นเดียว 2. สรา งโอกาสใหเดก็ ไดร ับประสบการณตรง เลน และปฏบิ ตั อิ ยา งมีความสุข 90.00 16 94.12 ยอด เยย่ี ม 2.1 จดั ประสบการณทีเ่ ช่อื มโยงกับประสบการณเดมิ √- 17 2.2 ใหเ ดก็ มีโอกาสเลอื กทํากจิ กรรมอยา งอสิ ระ ตามความตองการความสนใจ 16 ความสามารถ ตอบสนองตอวธิ กี ารเรยี นรขู องเด็กเปน รายบุคคล หลากหลายรปู √ - แบบจากแหลง เรยี นรูท ีห่ ลากหลาย 2.3 เด็กไดเลอื กเลน เรียนรลู งมอื กระทาํ และสรา งองคค วามรดู ว ยตนเอง √- 15 3. จัดบรรยากาศทีเ่ อ้อื ตอการเรยี นรู ใชสื่อและเทคโนโลยี ทเ่ี หมาะสมกบั วัย 90.00 17 100.00 ยอด เยยี่ ม 3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมในหองเรียนไดสะอาด ปลอดภัย และ √- 17 อากาศถายเทสะดวก 3.2 จดั ใหม พี นื้ ที่แสดงผลงานเดก็ พนื้ ทีส่ าํ หรับมุมประสบการณและการจดั √- 17 กิจกรรม 3.3 จัดใหเด็กมีสว นรวมในการจดั ภาพแวดลอมในหองเรยี น เชน ปา ยนิเทศ การ √ - 17 ดูแลตนไม เปนตน 3.4 ใชส่อื และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชวงอายุ ระยะความสนใจ และวิถกี าร √- 16 เรยี นรขู องเดก็ เชน กลองดจิ ิตอล คอมพวิ เตอร สําหรบั การเรยี นรกู ลุมยอ ย สอ่ื ของเลนทีก่ ระตนุ ใหค ิดและหาคําตอบ เปน ตน 4. ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนําผลการประเมินพฒั นาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจัด 90.00 17 100.00 ยอด ประสบการณแ ละพฒั นาเดก็ เยย่ี ม 4.1 ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกจิ วัตรประจําวันดว ยเครื่องมอื และ √ - 17 วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย Page 62 of 81

การปฏบิ ัตงิ าน เปา จาํ นวนครทู ี่ ผลการ ผลการ หมาย/ ผานเกณฑท่ี ประเมนิ ประเมิน ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไม รอ ยละ (รอย คณุ ภาพ ปฏิบัติ โรงเรยี น กาํ หนด (คน) ละ) ท่ไี ด 4.2 วิเคราะหผ ลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยผูป กครองและผูเกี่ยวขอ งมสี วน √ - 17 รว ม 4.3 นาํ ผลการประเมินทีไ่ ดไ ปพัฒนาคณุ ภาพเดก็ อยา งเปนระบบและตอเน่ือง √- 17 4.4 นาํ ผลการประเมนิ แลกเปลยี่ นเรยี นรโู ดยใชกระบวนการชมุ ชนแหงการเรียนรู √ - 17 ทางวิชาชีพ สรุปผลการประเมนิ 98.53 ยอด เยยี่ ม   จุดเนน และกระบวนการพฒั นาที่สงผลตอระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท เี่ นน เดก็ เปน สาํ คญั กระบวนการพัฒนาทีส่ งผลตอ ระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 3                                         ครจู ดั ประสบการณท ่สี งเสรมิ ใหเ ดก็ มพี ฒั นาการทุกดานอยางสมดุลเต็มศกั ยภาพ โดยการจดั การเรยี นการสอนโดยการยึดหรอื เนนผูเรยี นเปนสาํ คญั ตามเปา หมายของหลกั สตู ร  จัดทาํ แผนการจดั ประสบการณทเี่ นน ผเู รียนเปนสาํ คญั   ใหเ ดก็ ไดรับประสบการณตรง  เลน และปฏบิ ตั อิ ยา งมีความสขุ จัดบรรยากาศท่ีเอื้อตอการเรยี น รู ภายใตส ถานการณการแพรระบาดของโรคโควดิ -19 โดยใชส อ่ื การสอนผานชองทาง Line กลมุ ช้ันเรยี น ชอ ง Youtube WLS School และFacebook โรงเรยี นวลีรัตน วิทยา โดยจดั สื่อการสอนทเ่ี หมาะสมกบั วัย ครจู ัดทาํ แผนการจดั ประสบการณท ่ีเนน ผเู รียนเปน สําคัญ โดยใชเ ทคนคิ การสอนแบบบรู ณาการสื่อการสอน  ไดแ ก ส่อื บูรณา การสอนเสริมประสบการณก ารเรียนรูที่บา น ส่ือประเภทของจรงิ   ส่ือรปู ภาพ  ส่อื สญั ลักษณ สื่อทเี่ ปน แหลง เรยี นรูใ นโรงเรยี นและภายนอกโรงเรยี น   ประเมนิ พฒั นาการ เดก็ ตามสภาพจริงโดยครูและความรว มมือกับผูป กครองและนาํ ผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณแ ละพฒั นาเด็ก ครจู ดั ระบบงานที่ตนเอง ปฏิบตั เิ พ่ือใหผเู รยี นมีคณุ ภาพ โดยยึดผูเรยี นเปนสาํ คญั โดย ศกึ ษาเอกสาร  วิเคราะหศ ึกษาเดก็ เปน รายบคุ คล การประเมนิ ผล ดว ยวธิ กี ารสังเกต  สัมภาษณ  ตรวจผลงาน  การประเมินผลตามสภาพจริงโดยมี ผูบรหิ าร,รองผูอ ํานวยการฝายตาง ๆ  และคณะครู ฝายอนุบาลเปนผูดําเนนิ การพฒั นา สําหรับการดาํ เนินงานในปการศกึ ษานี้ ได ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานดวยวิธี ใชแบบประเมินแบบสรุปงานมขี อ มูลสรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน กลา วคือ มีการสรุปโครงการหลงั จากเสร็จสน้ิ กิจกรรมทกุ กิจกรรม   ครทู กุ คน เปน ผูมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชพี เปนแบบอยา งที่ดี จะเหน็ ไดจากกจิ กรรมโครงการตาง ๆ ทคี่ รูไดรเิ ร่มิ เพ่อื นอมนําคณุ ธรรม จริยธรรม แนวทางการปฏบิ ัตติ นมาหลอ หลอมจิตใจ ฝกใหผ เู รียนไดฝกปฏบิ ตั ิ และนาํ มาใชในชีวิตประจาํ วัน อบรมนกั เรยี นเปนประจาทุกวนั พรอมท้ังสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการประพฤตติ นท่ดี แี กน กั เรียนตลอดเวลา การสวดมนตไหวพ ระทุกวนั พระ การแผเมตตา การสงบนงิ่ แบบเวนระยะหา งตามช้ันเรียนของตนเอง เคารพธงชาติแบบเวน ระยะหา งและแตง กายดวยผา ไทยทกุ วันพฤหสั บดี และสถานศึกษาไดมงุ เนน การจดั กิจกรรมเพื่อสง เสรมิ สนบั สนุน สัมพันธภาพทดี่ ี ระหวา งครู นกั เรยี น ผูปกครอง และ ชมุ ชน เพ่อื ให ผปู กครองและชมุ ชน ตระหนักและมคี วามเขา ใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเปด โอกาสใหผูปกครอง เขา มารวมกจิ กรรมในหองเรยี น และเปน วิทยากรใหค วามรกู บั นักเรียนในดานตาง ๆ ภายใตกิจกรรม/โครงการตาง ๆ ไดแก โครงการสานสมั พนั ธบ านโรงเรียน มกี ารส่อื สารท่ดี กี ับผปู กครอง โดยการจดั ทาํ สมุด รายงานพฒั นาการ เพือ่ ส่อื สารถึงพัฒนาการของเด็ก และการจัดกจิ กรรมตาง ๆ ภายในโรงเรยี น ตลอดจนใชการส่อื สารโดยตรงคอื ทางโทรศัพท เพอ่ื ประสานความเขาใจอนั ดี และมกี ารประสานงานในการจัดกจิ กรรมตาง ๆ ครูทุกคนมีความมุงม่นั ท่จี ะพัฒนานักเรียน โดยมีการจดั กจิ กรรมอยางหลากหลาย ใหครอบคลุมศักยภาพ ความสนใจ และความถนดั ของนักเรยี น ครูแกไ ขปญหาใหกบั เดก็ และพฒั นาเดก็ ไดอ ยา งสงู สดุ ครูทกุ คนจะใชเวลาวางและหลังเลกิ เรยี นในการเตรียมการสอน วางแผนการสอน จัด เตรียมสอื่ อุปกรณ ประกอบการสอน อยางพรอ มสรรพกอ นการสอน มีการจดั เกบ็ ชน้ิ งานของนกั เรยี น จัดทาํ เปน แฟมสะสมงาน มีการประเมนิ ชิ้นงาน/ผลงาน ของนกั เรียน วเิ คราะหสภาพปญ หาของนักเรยี น บนั ทกึ พฤติกรรมนกั เรยี นเปนรายบุคคล ทาํ ใหส ามารถประเมนิ ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนพรอ มทั้งรูป ญหาและสามารถหาวิธีแกไข ได                    จากการดาํ เนนิ การดังกลา วขา งตนสง ผลใหก ารจัดประสบการณเด็กมีพัฒนาการทุกดานอยา งเต็มศักยภาพ เด็กไดร บั ประสบการณต รง ครจู ัดบรรยากาศ ท่เี อ้อื ตอ การเรยี นรู ใชส ือ่ และเทคโนโลยสี มกับวัย การประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนําผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณและ พฒั นาเดก็ อยางตอเน่อื ง สง ผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐาน อยใู นระดับยอดเยยี่ ม   Page 63 of 81

ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น จาํ นวนเด็กท้งั หมด : 305 การปฏิบตั ิงาน เปา จํานวนเดก็ ที่ ผลการ ผลการ ผานเกณฑที่ ประเมนิ ประเมิน ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม หมาย/ (รอย คุณภาพ ปฏิบัติ รอยละ โรงเรียน กาํ หนด (คน) ละ) ทไ่ี ด ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผูเรยี น 1. มีความสามารถในการอา น การเขยี น การสื่อสาร และ การคิดคาํ นวณ 80.00 294 96.39 ยอด เยย่ี ม 1.1 รอยละของผูเรยี นมที กั ษะในการอานในแตละระดบั ช้ันตามเกณฑทสี่ ถาน √ - 293 ศึกษากาํ หนด 1.2 รอ ยละของผูเรียนมที กั ษะในการเขยี นในแตละระดับชัน้ ตามเกณฑที่สถาน √ - 280 ศึกษากําหนด 1.3 รอยละของผูเรยี นมีทกั ษะในการส่อื สารในแตละระดับชน้ั ตามเกณฑที่สถาน √ - 304 ศึกษากาํ หนด 1.4 รอยละของผูเรียนมที กั ษะในการคิดคาํ นวณในแตล ะดับชั้นตามเกณฑท ี่ √- 300 สถานศึกษากาํ หนด 2. มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห คดิ อยางมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และ 80.00 295 96.72 ยอด แกป ญหา เยีย่ ม 2.1 รอยละของผเู รียนมคี วามสามารถในการคิดจําแนกแยกแยะ ใครครวญ √- 274 ไตรต รองอยา งรอบคอบโดยใชเ หตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจ 2.2 รอ ยละของผเู รยี นมีการอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น √- 305 2.3 รอ ยละของผเู รยี นมกี ารแกปญหาอยา งมเี หตุผล √- 305 3. มคี วามสามารถในการสรางนวัตกรรม 80.00 305 100.00 ยอด เยี่ยม 3.1 รอ ยละของผูเรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดทงั้ ตวั เองและการ √ - 305 ทํางานเปนทมี 3.2 รอ ยละของผเู รยี นสามารถเช่อื มโยงองคความรูแ ละประสบการณม าใชใน √- 305 การสรางสรรคสง่ิ ใหม ๆ อาจเปนแนวความคิด โครงการ โครงงาน ช้ินงาน ผลผลติ 4. มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร 80.00 299 98.03 ยอด เยี่ยม 4.1 รอ ยละของผเู รียนมคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการ √ - 299 ส่อื สาร Page 64 of 81

การปฏบิ ตั งิ าน เปา จาํ นวนเด็กท่ี ผลการ ผลการ ผา นเกณฑท ่ี ประเมิน ประเมิน ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม หมาย/ (รอย คณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิ รอ ยละ โรงเรียน กําหนด (คน) ละ) ทไ่ี ด 4.2 รอ ยละของผูเ รียนมคี วามสามารถในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการ 299 สือ่ สารเพอื่ พฒั นาตนเองและสงั คมในดานการเรยี นรู การสอ่ื สาร การทํางาน √ - อยา งสรางสรรค และมีคุณธรรม 5. มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา 80.00 298 97.70 ยอด เย่ยี ม 5.1 รอ ยละของผเู รียนบรรลกุ ารเรียนรูตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา √- 298 6. มีความรูท ักษะพน้ื ฐาน และเจตคติที่ดตี อ งานอาชพี 90.00 305 100.00 ยอด เยย่ี ม 6.1 รอ ยละของผเู รยี นมีความรู ทกั ษะพนื้ ฐานและเจตคติท่ีดใี นการศกึ ษาตอ √ - 305 6.2 รอยละของผเู รยี นมีความรู ทักษะพน้ื ฐานและเจตคตทิ ่ีดใี นการจดั การ การ √ - 305 ทาํ งานหรืองานอาชพี คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข องผูเรยี น 7. การมีคุณลกั ษณะและคานิยมที่ดตี ามทีส่ ถานศึกษากาํ หนด 90.00 305 100.00 ยอด เยย่ี ม 7.1 รอ ยละของผเู รียนมีพฤตกิ รรมเปน ผูทีม่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎ √- 305 กติกา 7.2 รอ ยละของผูเรียนมคี า นยิ มและจติ สํานกึ ตามทีส่ ถานศกึ ษากําหนด โดยไม √ - 305 ขัดกบั กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม 8. ความภมู ใิ จในทอ งถ่นิ และความเปน ไทย 90.00 305 100.00 ยอด เยี่ยม 8.1 รอยละของผเู รียนมีความภมู ิใจในทองถ่นิ เห็นคณุ คาของความเปน ไทย √- 305 8.2 รอยละของผูเรยี นมีสว นรวมในการอนุรักษวฒั นธรรมและประเพณไี ทยรวม √ - 305 ทัง้ ภูมิปญ ญาไทย 9. การยอมรบั ทจี่ ะอยรู วมกันบนความแตกตางและหลากหลาย 90.00 305 100.00 ยอด เยย่ี ม 9.1 รอ ยละของผเู รียนยอมรบั และอยรู วมกันบนความแตกตา งระหวา งบคุ คลใน √ - 305 ดา นเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 10. สุขภาวะทางรา งกายและจิตสงั คม 75.00 261 85.57 ดีเลิศ 10.1 รอ ยละของผูเ รยี นมีการรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ อารมณแ ละสงั คม √ - 217 และแสดงออกอยา งเหมาะสมในแตล ะชวงวัย 10.2 รอ ยละของผเู รยี นสามารถอยูรว มกับคนอื่นอยา งมคี วามสุข เขา ใจผอู นื่ √- 305 ไมมคี วามขัดแยง กับผูอ น่ื Page 65 of 81

การปฏิบัตงิ าน เปา จาํ นวนเด็กที่ ผลการ ผลการ ผา นเกณฑท ี่ ประเมนิ ประเมิน ประเด็นพิจารณา ปฏิบตั ิ ไม หมาย/ (รอ ย คุณภาพ สรปุ ผลการประเมนิ ปฏิบัติ รอ ยละ โรงเรียน กาํ หนด (คน) ละ) ทไ่ี ด 97.44 ยอด เย่ียม   จดุ เนนและกระบวนการพฒั นาท่สี งผลตอระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น กระบวนการพัฒนาที่สงผลตอ ระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 1           โรงเรียนมีกระบวนการพฒั นาผูเรียนดานผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นดวยวิธกี ารท่หี ลากหลายกาํ หนด นโยบายการพฒั นาไวใ นแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ป 2563 ของ โรงเรียน จดั การเรียนรูใหเ ปนไปตามศกั ยภาพของ ผูเรยี นตามมาตรฐานตัวชวี้ ัดของหลกั สตู ร ดว ยภาวะการระบาดของโรค Covid -19 ทีท่ าํ ใหต องมีมาตรการ  การเวน ระยะหางทางสงั คม เพือ่ ควบคุมการระบาดของโรค Covid -19 โรงเรยี นไดจัดกจิ กรรมการเรยี นรูที่โดยดาํ เนินการจดั รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณแ พร ระบาดของโรคตดิ ตอเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามมาตรการปองกันและควบคมุ โรคติดตอเชอื้ ไวรสั โคโรนา โดยจัดกิจกรรมในชวงเวลาดงั กลาวใน รปู แบบ 1.ON - Site 2.ON - LINE มกี ารบูรณาการและออกแบบจัดการเรยี นรูท ี่เหมาะสมกบั ผเู รียนทัง้ รปู แบบการระดมสมอง ปฏิบตั ิจริง แบบรวมมือใชกระบวนการคดิ การแกปญ หา เปน หลกั ครูทกุ คนมีความสามารถในการนาํ เทคนิควธิ ีสอนใหตรงตามศกั ยภาพผเู รยี นใชส ่ือเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นการสอน มีแหลงเรยี นรูสบื คนขอ มลู ไดแก หองสมดุ หองเรียนOnline มีการวัดประเมินผลแบบบรู ณาการเนนการใช คําถามเพือ่ พฒั นาทักษะการคิดของผูเรยี น           นอกจากนโ้ี รงเรียนมกี ารดําเนินการพฒั นาผเู รียนใหบรรลุเปา หมายตามปรัชญาวสิ ัยทศั นแ ละจุดเนนของการศกึ ษา คือ โครงการศษิ ยด ี ศรี ว.ล.โดยมีวัตถุประสงค สง เสรมิ พัฒนาคณุ ภาพของผเู รียนในทุกดา นใหด ขี ึน้ เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพของผูเ รยี นโดยกาํ หนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องนกั เรียน 8 ดาน  โดยใชรูปแบบ “WALEERAT Model”ท้งั ในระดับหองเรยี น ชน้ั เรียนและโรงเรียน เสริมสรา งภมู ิคมุ กันและรเู ทา ทันสอื่ ที่ไมพงึ ประสงคโดยการ จัดโครงการ/กิจกรรมท่ีเหมาะสม พฒั นา คณุ ธรรมจริยธรรม เนน ผูเรียนมวี นิ ยั ซอ่ื สัตย รบั ผิดชอบ และมจี ิตสาธารณะ มรี ะบบแนะแนวและการดแู ลสขุ ภาวะทางรางกายและทางจิต สง เสรมิ การออกกําลงั กาย  นํา ภมู ปิ ญ ญาทองถน่ิ มาบูรณาการในการเรยี นการสอนรวมทง้ั เรอ่ื งอาชีพ โดยจัดโครงการเรียนรคู ูกจิ กรรม เปน ตน           สถานศึกษามีผลดาํ เนนิ งาน 2 ประเดน็ คือผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน และคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคของ ผูเรียน โดยมผี ลการดาํ เนนิ งานเชิงประจกั ษจากการประเมิน ดงั นี้ 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของโรงเรียน           1.1 ผูเรยี นมีความสามารถในการอาน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคาํ นวณ           ผเู รียนมที ักษะในการอานในแตล ะระดบั ช้ันตามเกณฑท่สี ถานศึกษากําหนด การอา นท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ มีการจดั โครงการโครงการ SMART KIDS. กจิ กรรมอานทกุ วนั ขยันทกุ เวลา ,กิจกรรมอา นนิทานตอยอดเพ่ือการเรียนรู ,กิจกรรมรักอา นกับ The pizza company กิจกรรมอาขยาน, กลอน ,กวี กิจกรรมคลินกิ ภาษา กจิ กรรมนกั พูดรุนเยาวเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นรูใ นการอา นของผเู รยี น          ทักษะในการเขียน จดั กิจกรรมเพ่อื สง เสริมผเู รียนใหม ที กั ษะความสามารถในการเขยี นภาษาไทยถายทอดความรูสึกนกึ คดิ ประสบการณตา ง ๆ สผู อู น่ื ไดตาม มาตรฐานของการเขยี นเพอื่ ฝกทักษะเขยี นสรปุ ความในทุกกลุมสาระการเรียนรูอยางเปนระบบ มีความคดิ ริเรม่ิ และสรางสรรคผ ลงานดวยความภาคภมู ใิ จ โดยจดั โครงการ/ กิจกรรมดังน้ี กิจกรรมลายมืองามแบบไทย  กจิ กรรม Little Idia to Little Writer              ทักษะในดา นการสอ่ื สารภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ,ภาษาจีน) โรงเรียนไดดําเนนิ การพัฒนาความสามารถในการสอื่ สารเพอ่ื ใหผูเรียนถา ยทอดความคิด ความรู ความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองโดยจัด กจิ กรรมการนําเสนอช้นิ งานและตอบคาํ ถามเกีย่ วกับชน้ิ งานท่ปี ฏบิ ัตไิ ด  ดานการสือ่ สารภาษาองั กฤษในชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1-3 สงเสรมิ ใหผูเรยี น มคี วามสามารถในการพดู ใหขอ มูลเกี่ยวกับตนเองและเพื่อน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6 สงเสริมใหผ ูเรียนสามารถโตตอบ ส่ือสาร ระหวางบคุ คล ตอบรบั และปฏิเสธได จดั กิจกรรม กจิ กรรม Language  for you ,กจิ กรรม Spelling  bee ,กจิ กรรม Read  and learn ,กจิ กรรม International Dayเพิ่มเติมในหลกั สูตร เพื่อใหนักเรยี นมที ักษะพ้ืนฐานการฟง และพูดทด่ี นี าํ ไปใชประโยชนในชวี ติ ประจําวนั และการศึกษาตอในระดบั ท่สี ูงขน้ึ           ทกั ษะดา นการคิดคํานวณ จดั กิจกรรม  พัฒนาการคิดคาํ นวณของผูเรยี นผานกิจกรรมคณิตคิดเรว็ และสงเสริมการทองสตู รคูณทกุ วัน ผลการพฒั นาผูเรียนมีความ สามารถในการอา น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคาํ นวณ อยใู นระดับคณุ ภาพยอดเยย่ี ม      1.2 ผเู รียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยา งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและแกป ญหา                   ความสามารถในการจําแนกแยกแยะ ใครค รวญ ไตรตรอง อยางรอบคอบโดยใชเ หตผุ ลประกอบการตัดสินใจ โรงเรียนจัดกิจกรรมเพอ่ื พฒั นาผเู รียนใหม ีความ สามารถในการใชเ หตผุ ล จาํ แนกแยกแยะไดว า ส่งิ ใดเปนความจริง ส่งิ ใดเปนความเทจ็ โดยครูบูรณาการในดา นใชค ําถาม วา ใคร (Who) ทําอะไร (What) ทไ่ี หน (Where) เม่อื ไร (When) ทาํ ไม (Why) อยางไร (How)  (5W 1H ) เพอ่ื ใหผเู รียนสามารถแยกแยะ เรอื่ งราวหรอื เนอื้ หาเปน การกาํ หนดสิ่งทจ่ี ะวเิ คราะห กาํ หนดจุดมงุ หมายในการ Page 66 of 81

วเิ คราะห นาํ ไปสูการตดั สนิ ใจ โดยบรู ณาการ โครงการเรียนรคู ูโครงงาน กิจกรรม Class room  Project สอดแทรกกระบวนการคิดวิเคราะหแบบ Mind Mapping และ การสอนแบบโครงงาน โดยจดั การเรียนการสอนทสี่ งเสรมิ พัฒนาทักษะการคิดไดแก การสรุปความคดิ จากเร่อื งทอี่ า นฟง และดแู ละส่ือสารโดยการพูดหรือเขยี นตามความคิด ของตนเอง           ความสามารถอภิปรายแลกเปลยี่ นความคดิ เห็น สง เสรมิ ใหผ เู รียนมีทักษะการอภปิ ราย แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแกป ญหาไดอยางมเี หตผุ ลดว ยกิจกรรมบูรณ าการอาน คิด เขียน สงเสรมิ ใหนักเรยี นมคี วามสามารถในการคิดอยา งเปนระบบ คดิ สรา งสรรค ตัดสนิ ใจแกป ญหาไดอ ยางสมเหตุสมผล โดยจดั การเรยี นรูแ ละจัดโครงการ พัฒนาศักยภาพทางการคิด  เพอ่ื ใหผูเ รยี นสามารถตัดสนิ ใจแกป ญหาซ่งึ เปน ส่ิงทีม่ ีความสาํ คญั และจาํ เปน อยา งยงิ่ ในการทํางานไดอ ยางถกู ตองเพ่ือสรางหรือผลติ ชนิ้ งาน และการซอ มแซมปรับปรงุ แกไขช้นิ งาน ใหส ามารถใชง านไดเ ปนอยา งดี ตามศกั ยภาพของผเู รยี น           ผลการพฒั นาผูเรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห คิดอยางมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และแกป ญ หา อยูในระดับคุณภาพยอดเย่ยี ม            1.3 ผเู รียนมีความสามารถในการสรางนวัตกรรม               ความสามารถในการรวบรวมความรูไ ดทั้งตัวเองและการทาํ งานเปนทีม นําหลักการ Project Based Learning มาเปนหลักในการจัดการเรียนรูบ ูรณาการ โครงการเรียนรูค โู ครงงาน Classroom Project  กจิ กรรมชมุ นมุ เพือ่ ฝก ทกั ษะการรวบรวมความรูไดท ัง้ ตวั เองและการทาํ งานเปน ทมี                 ความสามารถเชอ่ื มโยงความรแู ละประสบการณม าใชใ นการสรา งสรรคสิ่งใหมๆ โดยผเู รยี นไดด าํ เนนิ กจิ กรรมการเรยี นดว ยตนเองโดยการลงมอื ปฏบิ ัติหรอื สรางงานทตี่ นเองสนใจ ในขณะเดียวกนั กเ็ ปด โอกาสใหส ัมผสั และแลกเปลย่ี นความรกู บั สมาชกิ ในกลุม ผเู รยี นจะสรางองคความรูข ึ้นดว ยตนเองจากการปฏบิ ตั งิ านท่มี คี วาม หมายตอ ตนเองโดยครูเปนทป่ี รกึ ษาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม           ผลการพฒั นาผูเรยี นมคี วามสามารถในการสรางนวตั กรรม อยใู นระดับคณุ ภาพยอดเยีย่ ม 1.4 มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร           ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร มกี ารจดั โครงการ COMPUTER  IT KIDS สงเสรมิ ใหใ หนกั เรยี นมที ักษะในการใชเทคโนโลยี สารสนเทศแสวงหาความรูดวยตนเอง ดว ยการจดั ทําชิ้นงาน นาํ เสนอเรื่องราวของตนเองดวย ผา นโปรมแกรม Microsoft Microsoft  Words , Microsoft  powerpoint ,Microsoft  paint, Microsoft Publisher ,โปรแกรม Scratch การสรา ง e-book  การเขาเรียนในระบบหอ งเรยี น Google Site ,Zoom, Line กลุมช้ันเรียน           มคี วามสามารถในการนําเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อพฒั นาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การส่ือสาร การทาํ งานอยางสรา งสรรค และมี คุณธรรม โดยครูใหคําแนะนําส่งิ ทเี่ ปนประโยชนตอผเู รยี นเพอ่ื สงเสริมผเู รียนสามารถพัฒนาตนเองในการพัฒนาตนเอง            ผลการพัฒนาผูเรยี นมีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร อยใู นระดับคณุ ภาพยอดเย่ียม 1.5 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา             ผูเ รียนบรรลกุ ารเรยี นรตู ามหลักสูตร โรงเรียนยังไดจดั โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุม สาระเพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิของผูเรยี น ผลการพัฒนาผู เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา อยูในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม 1.6 มีความรู ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี อ งานอาชีพ            โรงเรยี นจดั กจิ กรรมนกั ประดิษฐนอย ,กจิ กรรมชมุ นมุ หรรษา ,กิจกรรมเรยี นรูค ูภูมิปญ ญา,ประสานงานดา นการแนะแนว ระหวางสถานศึกษา ชุมชน องคกรภาค รัฐ/เอกชน ในลกั ษณะเครือขา ยแนะแนว เพื่อพัฒนาใหผเู รยี นมคี วามรู มที ักษะพ้นื ฐานและเจตคติท่ดี ี พรอมที่จะศกึ ษาตอ ในระดบั ช้นั ทสี่ ูงขึน้   มีทกั ษะการทํางาน  สงเสรมิ การปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในชวี ิตได  ผลการพฒั นาผเู รยี นมีความรูท กั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ีตอ งานอาชีพ อยูใ นระดับคณุ ภาพยอดเย่ยี ม           2 คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค           2.1 การมีคณุ ลักษณะและคา นยิ มท่ดี ตี ามที่สถานศึกษากาํ หนด           ผเู รียนมพี ฤตกิ รรมเปนผมู ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา โดยโรงเรียนไดสงเสริมผเู รียนใหเ กดิ การการพัฒนาตามศกั ยภาพของผูเ รยี น โดยการจดั สรรเวลา และสง เสรมิ ใหจ ัดกิจกรรมตา ง ๆ อยา งหลากหลาย ท้งั ภายในสถานศกึ ษาและในทองถิน่ หรือสงั คม ตลอดจน กระตนุ ใหผ ูเ รียนไดเขารวมกจิ กรรม          สง เสริมการมีคุณลักษณะและคา นยิ มที่ดตี ามที่สถานศึกษากําหนด และไดด ําเนนิ การพฒั นาสถานศึกษาใหบรรลเุ ปาหมายตามปรัชญาวสิ ัยทัศนแ ละจุดเนน ของการ ศกึ ษา คือ โครงการศษิ ยด ี ศรี ว.ล.โดยมวี ตั ถุประสงคสงเสริมพฒั นาคณุ ภาพของผูเรียนในทุกดา นใหดขี น้ึ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผเู รียนโดยกาํ หนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของนกั เรยี น 8 ดาน  โดยใชร ูปแบบ “WALEERAT Model”ทั้งในระดับหอ งเรียน ชนั้ เรียนและโรงเรยี น            W      : Well known                       : มีความรอบรู             A      : Administrative                  : รจู กั บรหิ ารจัดการตนเอง รูรบั ผิดชอบ             L      : Leadership                         : มีภาวะผนู าํ ทดี่ ี             E      : Ethic                                   : มีคุณธรรม จรยิ ธรรมดี             E      : Emotion  intelligence        : มีสุขภาพจติ ดี คดิ ดี             R      : Relationship                      : มีมนษุ ยส มั พนั ธด ี             A      : Activelearning                  : มีความกระตอื รือรน ตอการเรยี นรู             T      : Technology                      : นาํ เทคโนโลยีมาใชไดอ ยางมีประโยชน Page 67 of 81

            โรงเรียนมุง เนน การพฒั นาผเู รียนใหม คี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค มีความรคู คู ุณธรรมและจรยิ ธรรมทด่ี ี ดว ยโครงการคายคุณธรรมนาํ ความรูรว มกับพระวทิ ยากร เครอื ขายธรรมะอารมณดี กจิ กรรมสวดมนตทกุ วันพระ  กจิ กรรมบนั ทึกความดี กจิ กรรมมารยาทงามตามแบบไทย สงผลใหผ ูเรยี นเปน เดก็ ทค่ี ดิ ด ี พดู ดี ทําดี สามารถปรับ ตัวอยใู นสังคมได  มีความกระตอื รือรน ใฝรู ใฝเรยี น และใชเ ทคโนโลยีในการพัฒนาตนเอง ดังปรัชญาท่ีวา “ กจิ กรรมสรางสรรค กา วทันเทคโนโลยี เกง ดี มคี วามสขุ                   ผลการพฒั นาผเู รียนมคี ุณลกั ษณะและคา นยิ มท่ีดีตามทส่ี ถานศกึ ษากําหนด อยใู นระดบั คุณภาพยอดเยย่ี ม 2.2 ความภมู ใิ จในทองถนิ่ และความเปน ไทย                โรงเรยี นจัดโครงการรักษและสบื สานวัฒนธรรมประเพณไี ทย โครงการเรยี นรคู ูภ ูมิปญญา นักเรียนไดร ับความรูจากวทิ ยากรในทองถนิ่ ดานการเกษตรตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง เรยี นรเู ร่ืองไสเดือน ณ.ฟารม ยงั่ ยืน จ.สมุทรปราการ ,เรือ่ งกลวยไม ณ.สวนกลวยไมลงุ นยิ ม เขตตลงิ่ ชัน จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร,เร่อื งเห็ด ฟารม สานฝน จังหวัดนนทบรุ ี , เรือ่ งบัว  ณ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คลอง 6 ,เรื่องดนิ เบา      ณ.พพิ ธิ ภัณฑหุน ข้ผี งึ้ จ.นครปฐม ,เรือ่ งผา มดั ยอ มตลาดนา้ํ บางกะเจา อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ                  สงผลใหมีความภาคภูมิใจในทองถ่นิ และไดร ับความรูจากภูมิปญ ญาในชุมชน  ภูมิใจในผลงานของตนและสามารถนาํ ความรูไ ปใชในชวี ิตประจําวนั ได  สงเสรมิ นกั เรียนเขา รว มกิจกรรมวันสําคัญทางพระพทุ ธศาสนา การวาดภาพทางพระพุทธศาสนาการทําบุญแหเทยี นจํานาํ พรรษารว มกบั วดั ในชมุ ชน  เขา รว มงานประเพณีทองถิน่ การแสดงศิลปะวัฒนธรรม การแสดงดา นนาฏศลิ ปและการขบั รอง  โดยไดรบั ความรว มมือจากผูป กครอง ชมุ ชนและองคก รหนวยงานอ่ืน ๆ สงเสริมใหน กั เรียนมีทักษะใน การแสวงหาความรูดวยตนเอง รักการเรียนรู และพฒั นาตนเองอยางตอเนื่อง                    ผลการพฒั นาผูเ รียนความภูมใิ จในทองถิน่ และความเปน ไทย อยใู นระดบั คุณภาพยอดเยีย่ ม           2.3 การยอมรบั ทจี่ ะอยรู ว มกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย            ผเู รียนไดรบั การพัฒนาจากกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ลกู เสือ- เนตรนาร ี กจิ กรรมชมุ นมุ กิจกรรมแนะแนว โครงการสง เสริมวินัยและประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น  โดย นกั เรยี นไดร บั การปลูกฝง ใหต ระหนกั รใู นสงิ่ ทาํ รูคุณคาในตนเองใหเ กียรติผอู ่ืน และยอมรบั ความคิดเหน็ และวฒั นธรรมท่ีแตกตา ง  ผลการพฒั นาผเู รียนการยอมรบั ทจี่ ะอยู รวมกนั บนความแตกตางและหลากหลาย  อยูในระดับคุณภาพยอดเยีย่ ม           2.4 สขุ ภาวะทางรางกายและจิตสังคม                  โรงเรียนดําเนินโครงการโครงการสขุ ภาพดีชีวมี ีสขุ   โครงกีฬาพลานามยั สมบรู ณ เพอ่ื สงเสรมิ ใหผเู รียนมสี ุขนิสัยในการดูแลสขุ ภาพ รักการออกกําลังกาย มี การจัดกิจกรรมการออกกําลงั กายยามเชา ศูนยบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ี 47 มาใหคําปรกึ ษาดา นสุขภาพเปนประจาํ   นอกจากนี้ไดม ีการตรวจสขุ อนามัยของผเู รยี น เชน ทรงผม เล็บ  เคร่ืองแตงกาย การดูแลรักษาของใชส ว นตวั มกี ารสอดแทรกและสงเสริมสขุ นิสัยดา นสขุ ภาพใหผ ูเรยี นในการจดั กิจกรรมการเรียนรู จดั กจิ กรรมนกั เรียนแกนนําดา น สขุ ภาพนกั เรยี นทีม่ ีจติ อาสาเปนอาสาสมคั รชว ยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรยี นดวยกนั หรือดแู ลรุน นอ งดว ย เชนสภานกั เรียน เด็กไทยทาํ ได อย.นอ ย. ยุวอาสาสมัครสาธารณสุข (ยวุ อสม.) โดยมีหนา ที่ดังน ้ี 1. ตดิ ตามขอมลู ขาวสารสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรค พนื้ ท่เี สีย่ ง คําแนะนาํ การปอ งกนั ตนเองและลดความเส่ยี งจากการแพรก ระจายของ โรคโควดิ 19 จากแหลงขอมลู ทีเ่ ชอื่ ถือได 2. ชวยครูตรวจคดั กรองวดั อณุ หภมู ริ า งกายของนกั เรยี นทกุ คนที่มาเรยี น ในตอนเชา ทางเขา โดยมีครูดูแลใหค าํ แนะนาํ อยางใกลช ดิ เนน การจดั เวน ระยะหางระหวา งบุคคล อยา งนอย 1-2 เมตร 3. ตรวจดคู วามเรียบรอ ยของนกั เรยี นทุกคนท่มี าโรงเรียน ตอ งสวมหนากากผา หรอื หนากากอนามัยหากพบนกั เรียนไมไ ดสวม ใหแจงครูผูรับผิด ชอบ เพอ่ื จัดหาหนากากผาหรอื หนากากอนามัยสาํ รองให 4. เฝาระวงั สงั เกตอาการของนกั เรียน หากมีอาการไข ไอ มนี า้ํ มูก เจ็บคอ หายใจลาํ บากเหน่อื ยหอบ ไมไดกลนิ่ ไมรรู ส ใหร ีบแจงครูทันที 5. จดั กิจกรรมสอื่ สารใหค วามรูคาํ แนะนําการปอ งกนั และลดความเส่ยี งการแพรกระจายโรคโควดิ 19 แกเ พอ่ื นนักเรียนเชน สอนวิธกี ารลา งมอื ทถี่ กู ตอ ง การทาํ หนากากผา การสวมหนากาก การถอดหนา กากผา กรณเี ก็บไวใ ชต อ การทําความสะอาดหนา กากผา การเวนระยะหางระหวาง บคุ คล จัดทําปา ยแนะนํา ตา ง ๆ 6. ตรวจอปุ กรณข องใชส วนตวั ของเพอ่ื นนักเรียนและรุนนอง ใหพรอ มใชงานเนนไมใชรวมกับผูอื่น 7. จดั เวรทําความสะอาดหองเรียน หองเรียนรวม และบริเวณจุดเสี่ยงทกุ วนั เชน ลูกบดิ ประตู กลอนประตู ราวบันได สนามเดก็ เลน อุปกรณก ฬี า เครอ่ื งดนตรคี อมพิวเตอร 8. เปนแบบอยางท่ดี ใี นการปฏิบัติตัวเพื่อปองกันโรคโควดิ 19 ดวยการสวมหนา กากผาหรือหนา กากอนามยั ลา งมือบอย ๆ กินอาหารใชจ าน ชอน สอม แกวน้าํ ของตนเอง การเวน ระยะหางเปน ตน โดยถอื ปฏบิ ตั ิเปน สขุ นสิ ยั กิจวัตรประจาํ วนั อยางสมํ่าเสมอ          มกี ารจดั กจิ กรรมรณรงคต อตานยาเสพติด รวมกบั สถานีตํารวจนครบาลภาษเี จรญิ เชน การจัดปายนิเทศ การเดินรณรงคตอ ตา นยาเสพติด การเขารว มโครงการ ชุมชนเขมแข็งในการปอ งกันและแกไขปญหายาเสพตดิ ในเขตพ้นื ทภี่ าษเี จริญ โดยผูนําชมุ ชน และสง เสรมิ ใหผเู รียนกลา แสดงออกตามความถนัด และความสามารถของ ตนเอง Page 68 of 81

          การพัฒนาผเู รยี นใหม สี นุ ทรียภาพ จดั โครงการสนุ ทรยี ศิลป  เพื่อสง เสรมิ ใหผเู รียนกลาแสดงออกตามความถนัดและความสามารถของตนเอง ดานศลิ ปะ นาฏศลิ ป ดนตรีและกจิ กรรมนนั ทนาการ   ทัง้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เชน  กจิ กรรมประกวดแขงขนั วาดภาพ กจิ กรรมการจัดการแสดงการเตน การรําในวันสาํ คัญตา ง ๆ จดั ใหมกี จิ กรรมชุมนมุ ศิลปะ ดุรยิ างค นาฏศิลป โดยใหผเู รียนเขา รวมกจิ กรรมตามความสนใจ มีความม่นั ใจกลาแสดงออกอยางเหมาะสมมมี นษุ ยสมั พนั ธท่ดี แี ละใหเ กยี รตผิ ู อ่นื รวมท้ังแสดงออกถึงอารมณแ ละความรสู กึ ซาบซึง้ เห็นคณุ คา ในศลิ ปะอันงดงามความไพเราะนาร่นื รมยข องดนตรีพัฒนาฝก ฝนซมึ ซบั จนเปน นิสัยในชวี ิตประจาํ วนั สามารถสรา งผลงานตามจินตนาการไดตามวัย จดั โครงการลกู เสอื - เนตรนารี โครงการสงเสริมวินัยและประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น มจี ิตอาสา ชวยเหลอื ผอู นื่ ชว ยเหลือ สงั คม  นกั เรียนตระหนักรูใ นสง่ิ ทท่ี ํา รูคณุ คา ในตนเอง ใหเ กยี รตผิ อู น่ื           ผลการพัฒนาผูเรียนดา นสขุ ภาวะทางรา งกายและจิตสังคม  อยใู นระดบั คุณภาพยอดเยย่ี ม           สรุปผลการดําเนนิ งานดานการพัฒนาคณุ ภาพผูเ รยี น 2 ประเด็น คอื ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข องผเู รียน อยใู น ระดับคุณภาพยอดเยี่ยม Page 69 of 81

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ เปาหมาย 5 ขอ การปฏิบัตงิ าน ผล ผลการ สาํ เร็จ ประเมนิ ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบัติ ไม คณุ ภาพท่ไี ด ปฏบิ ัติ 1. มเี ปา หมายวสิ ยั ทัศนและพันธกจิ ที่สถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน 5.00 ยอดเย่ียม 1.1 กาํ หนดเปา หมายทส่ี อดคลองกบั บริบทของสถานศกึ ษา ความตอ งการของชุมชน ทองถิ่น √- วตั ถุประสงคข องแผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตน สงั กดั 1.2 กําหนดวิสยั ทัศน และพันธกิจ ท่สี อดคลอ ง เช่อื มโยง กบั เปา หมาย แผนยทุ ธศาสตรช าติ แผนการ √ - ศกึ ษาแหง ชาติ นโยบายของรัฐบาลและตนสังกัด 1.3 กําหนดเปาหมาย วิสยั ทศั น และพันธกจิ ทนั ตอการเปลยี่ นแปลงของสงั คม √- 1.4 นําเปา หมาย วิสัยทัศน และพนั ธกจิ ผา นความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น √- 1.5 นาํ เปา หมาย วิสยั ทศั น และพนั ธกิจของโรงเรยี นเผยแพร ตอ สาธารณชน √- 2. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 5.00 ยอดเยี่ยม 2.1 มีการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาอยางเปน ระบบ √- 2.2 มีการนาํ แผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเน่อื ง √- 2.3 มีการบรหิ ารอัตรากําลัง ทรัพยากรทางการศึกษาจดั ระบบดูแลชว ยเหลือนกั เรยี น และระบบการ √- นิเทศภายใน 2.4 สถานศกึ ษามกี ารนําขอมูลมาใชในการพัฒนาสถานศึกษา √- 2.5 สถานศึกษาใหบุคลากรและผูทเี ก่ียวขอ งทกุ ฝา ยมสี วนรว มในการวางแผน ปรบั ปรงุ พฒั นา และรวม √ - รบั ผิดชอบตอผลการจดั การศกึ ษา 3. ดาํ เนนิ งานพัฒนาวิชาการท่เี นน คณุ ภาพผเู รียนรอบดา นตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทุกกลมุ เปาหมาย 5.00 ยอดเยี่ยม 3.1 บรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั งานวชิ าการ ในดา นการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา √- 3.2 บริหารจดั การเกีย่ วกับงานวิชาการ ในดา นการพฒั นาหลกั สตู รตามความตอ งการของผูเ รียน ท่ี √- สอดคลองกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ชุมชน และทองถิน่ 3.3 บริหารจดั การเก่ียวกับกจิ กรรมเสริมหลกั สตู รทเี่ นนคณุ ภาพผูเรียนรอบดา นเชื่อมโยงวถิ ีชีวิตจรงิ √- 3.4 กาํ หนดหลกั สูตรสถานศกึ ษาครอบคลุมการจดั การเรียนการสอนทกุ กลุมเปาหมาย √- 3.5 สถานศกึ ษามีการปรบั ปรุง และพัฒนาหลักสตู รใหทนั ตอการเปลีย่ นแปลงของสังคม √- 4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี 5.00 ยอดเยย่ี ม 4.1 สงเสริม สนับสนนุ พฒั นาครู บุคลากร ใหมีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ √- 4.2 จัดใหมชี ุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ √- 4.3 นําชุมชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี เขามาใชในการพัฒนางานและการเรยี นรขู องผเู รียน √- 4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัตงิ านของครู บุคลากร ทมี่ ีผลตอ การเรยี นรขู องผเู รยี น √- Page 70 of 81

การปฏบิ ตั ิงาน ผล ผลการ สําเรจ็ ประเมิน ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม คณุ ภาพทีไ่ ด ปฏิบัติ 4.5 ถอดบทเรียนเพอื่ สรางนวตั กรรมหรือวิธกี ารทีเ่ ปน แบบอยา งทด่ี ที ีส่ ง ผลตอการเรยี นรขู องผเู รยี น √- 5. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทีเ่ ออื้ ตอการจดั การเรยี นรู อยา งมีคุณภาพ 5.00 ยอดเยี่ยม 5.1 จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพภายในหองเรยี น ทเ่ี อื้อตอการเรียนรู และคํานึงถึงความปลอดภัย √ - 5.2 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายนอกหอ งเรยี น ทเ่ี อ้ือตอการเรยี นรู และคํานึงถงึ ความปลอดภัย √ - 5.3 จดั สภาพแวดลอมท่สี งเสรมิ ใหผเู รยี นเกิดการเรียนรูเปน รายบคุ คล และเปน กลุม √- 5.4 จัดสภาพแวดลอ มทางสงั คม ที่เอ้อื ตอการจัดการเรียนรู และมีความปลอดภยั √- 5.5 จดั ใหผเู รยี นไดใชป ระโยชนจากการจัดสภาพแวดลอมตามศกั ยภาพของผเู รียน √- 6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและ การจัดการเรียนรู 5.00 ยอดเยี่ยม 6.1 ไดศ กึ ษาความตอ งการเทคโนโลยีสารสนเทศท่เี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา √- 6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื บรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรทู เี่ หมาะสมกบั สภาพของ √- สถานศึกษา 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ บรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรูทเ่ี หมาะสมกับสภาพของ √ - สถานศกึ ษา 6.4 ใหบ รกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื ใชในการบริการจัดการและการจดั การเรียนรูที่เหมาะสมกบั √- สภาพของสถานศึกษา 6.5 ติดตามผลการใชบ รกิ ารระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของสถานศึกษาเพ่ือใชในการบรกิ ารจัดการและ √ - การจัดการเรยี นรูทเี่ หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอดเยี่ยม   จุดเนนและกระบวนการพฒั นาที่สง ผลตอ ระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ กระบวนการพฒั นาทสี่ ง ผลตอ ระดับคณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 2             โรงเรียนวลรี ัตนวิทยา ไดดําเนินการวเิ คราะหส ภาพบริบทขององคก ร และศกึ ษาขอ มูลสารสนเทศท่ีเกีย่ วของ ไดแก พระราชบัญญตั ิการศึกษา พระราชบัญญตั ิ โรงเรียนเอกชน นโยบายทางการศึกษา ระเบยี บ ขอบังคับของหนว ยงาน นํา ขอ มูล มาวางแผนกลยทุ ธของหนว ยงาน โดยการมสี ว นรวมของผมู สี วนเกี่ยวของทกุ ฝาย รวม กนั กําหนดเปา หมาย วิสยั ทัศน พันธกิจ และจดุ เนน มีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น จดั โครงการ/กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาผูเรียนใหสอดคลอ งกับ แผน พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และไดจ ัดสรรงบประมาณอยา งเหมาะสมในการดําเนนิ โครงการ/กิจกรรมใหบ รรลุตามเปาหมาย ที่กาํ หนดไว มกี ารกํากบั ติดตาม และประเมิน ผลการบริหารจดั การสถานศึกษาโดยเปดโอกาสใหคณะกรรมการบริหาร โรงเรยี น ผูปกครอง ชุมชน เขา มามีสว นรว ม     มเี ปา หมายวสิ ยั ทศั นและพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนดชัดเจน          โรงเรยี นมีการกาํ หนดเปา หมายทีส่ อดคลองกับบริบทของสถานศกึ ษาความตอ งการของชุมชน ทอ งถ่นิ วตั ถปุ ระสงคของแผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและ ตนสงั กัด   โดยการมสี วนรว มของผูมสี วนเก่ยี วของกับสถานศึกษา และสอดคลองกบั พระราชบัญญัตกิ ารศึกษา พระราชบัญญตั ิโรงเรยี นเอกชน นโยบายทางการศึกษา ระเบียบ ขอ บังคบั ของหนว ยงาน และสอดคลอ งกับบริบทของโรงเรยี นในปจจบุ นั ทนั ตอ การเปลี่ยนแปลงของสงั คม   มกี ารปฏบิ ตั ิงานแบบมีสวนรว มตามโครงสรา งการ บริหารโรงเรียน โดยมกี ารนําเปา หมายวสิ ัยทศั น และพนั ธกจิ รวมพิจารณาผานความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรกิ ารโรงเรียนและมีการประชมุ คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนเพ่ือใหร บั ทราบผลการดาํ เนนิ งานและใหค วามเหน็ ชอบตอ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาประชมุ ช้แี จงใหบุคลากรทุกภาคสวนที่เก่ยี วของรับทราบเพอ่ื ใหส ามารถนํา ไปปฏิบัตไิ ดอยา งเปน ระบบ  มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา Page 71 of 81

           โรงเรยี นมีการกํากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดําเนินงานอยางตอเนื่องโดยผมู ีสวนรว ม และนาํ ผลการ ประเมนิ มาวางแผนพฒั นาในปการศึกษาตอ ไป โดยมกี าร รายงานผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจําป มกี ารทาํ แบบ สรปุ ความพงึ พอใจของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น  ผูป กครอง  ชุมชน  ตอ การบรหิ ารงานของ โรงเรยี น  สรุปความพงึ พอใจ ในการจดั จดั การเรียนการสอน  สรปุ ความพึงพอใจในการจดั ประชมุ ผูป กครอง คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นไดมสี ว นรับทราบ และตดิ ตาม งาน มกี ารแตง ต้งั คณะกรรมการนิเทศภายใน กาํ กับ ตดิ ตาม และตรวจสอบ หลกั สูตร เพื่อดําเนนิ งานอยา งเปน ระบบ การวางแผน และจัดสภาพแวดลอ มของโรงเรยี น มี การสรา งและพฒั นาสงิ่ แวดลอมภายในโรงเรียน โดยมโี ครงการ พัฒนาอาคารสถานที่  โครงการพฒั นาแหลง เรียนรใู นโรงเรยี น ทีเ่ ออ้ื ตอการเรียนรขู องผูเรียน เพียงพอตอ การใชงาน และมคี วาม ปลอดภัย มีการจดั ทําขอ มลู พืน้ ฐานทางกายภาพ แผนผงั อาคารเรยี น และการเกบ็ ขอมลู อาคารเรียนทกุ อาคาร จดั ระบบ สาธารณปู โภคทีค่ รบถว น ตดิ ต้ังเครอื่ งตัดไฟ อปุ กรณปองกันอัคคภี ยั ไฟฉุกเฉิน และติดต้ังปายทางออกอยางชดั เจน นอกจากน้ี โรงเรียนยังจัดใหม หี องประชมุ หองประกอบท่ีมสี อื่ อุปกรณอาํ นวย ความสะดวก และมหี อ งเรยี นที่เพียงพอตอ จาํ นวนผเู รียน รวมถึงการสนบั สนุนใหใชแหลงเรยี นรูภายในโรงเรยี น และภายนอกโรงเรยี นเพื่อความหลากหลายมากยิ่งข้ึน ดําเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นนคณุ ภาพผเู รียนรอบดา นตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลุมเปาหมาย           โรงเรยี นไดบรหิ ารจดั การเก่ียวกบั งานวิชาการ ทั้งดานการพัฒนาหลกั สูตร กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรท่ีเนนคณุ ภาพผเู รยี นรอบดานเชอ่ื มโยงวถิ ีชีวติ จริง ภายใตสถาน กาณณก ารแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนากาํ หนดแผนพฒั นาวิชาการปรบั แผนการจัดกิจกิจกรรมการเรยี นทเี่ ทาทันตอ สถานการปจ จบุ นั ทีเ่ นน ผเู รียนทกุ กลุมเปา หมายทุก คนและดําเนนิ การอยา งเปน รูปธรรม พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม คี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ           โรงเรยี นพฒั นาครูและบุคลากรใหมคี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชพี มีความรคู วามสามารถและทกั ษะตามมาตรฐานตาํ แหนง บริหารจัดการขอ มูลสารสนเทศที่มีความ ถูกตอ ง ครบถว นทันสมัยนาํ ไปประยุกตใชไดและสนบั สนนุ ใหบุคลากรทกุ ฝายเขา รับการประชุม/อบรม/สัมมนา เพ่อื ใหม ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ ครูมีการ บันทกึ การ พัฒนาตนเองในสมุดประจําตวั ครู นอกจากน้ีโรงเรยี นยงั สนับสนนุ ใหค รพู ัฒนาในดานการใชส อ่ื เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการสอนในรูปแบบ Online  อบรมหาความรูจากส่ือ และแลกเปลี่ยนเรียนรดู า นการศึกษากับสถาบันอื่น ๆ มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบตั ิงานของครู บุคลากร เพื่อใหเ กดิ ประสทิ ธิภาพในการทํางานและสงผลตอการ เรียนรขู องผูเรียน จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อือ้ ตอ การจดั การเรียนรอู ยา งมีคณุ ภาพ            จดั สภาพแวดลอมของโรงเรยี น และพัฒนาสิ่งแวดลอ มภายในโรงเรียน เชน การจดั ปา ยบอรด ความรูในหองเรยี นทุกหองปรับเปลยี่ นความรูตามเหตกุ ารณว นั สาํ คัญ จัดปา ยบอรดความรเู กยี่ วกบั การแพรระบาดของโรค จดั ทําคมู ือปฏิบัตสิ ําหรบั การปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 แนวปฏิบัตดิ านอนามัยส่งิ แวดลอม ปรับสถานที่ ใหมีความเหมาะสม กับการเวน ระยะหางตามมาตรการการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรค เชน เพ่มิ สถานทีล่ างมอื จัดกลุมหองเรียนแบบเวน ระยะหา ง  จัดเตรียมอุปกรณ เครอื่ งวัดอณุ ภูมริ างกายกอ นเขาอาคารเรยี น จัดเตรียมจดุ ลางมอื ดวยแอลกอฮอลลบรกิ ารใหแ กผูท่ีเขา มาใชบรกิ ารในโรงเรียน รวมท้ังพฒั นาหองประกอบตาง ๆ ใหม ี ครภุ ัณฑ อุปกรณท ่ที ันสมยั และเพยี งพอเชน หองปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร ปรับอพั เดทโปรแกรมการจดั การเรียนการสอนตดิ ตง้ั ระบบสญั ญาณอินเตอรเ น็ต (Wifi) เพอ่ื ใชใน การจัดการเรยี นการสอน ปรบั สภาพสนามสําหรบั การทํากิจกรรมเพ่อื สขุ ภาพและออกกําลงั กายปรบั ปรุงหองประชมุ สาํ หรบั การรองรบั การจัดกจิ กรรมพฒั นาผูเรียนและ เหน็ ความสาํ คญั ของฝายงานสนับสนนุ การสอนโดยการพฒั นาข้ันตอนการดาํ เนินงานใหเ ปนระบบมกี ารจดั งบประมาณและการใชทรัพยากรอยา งเหมาะสม  เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู           ขอ มูลสารสนเทศของโรงเรียนไดใชระบบการบรหิ ารงานแบบบรู ณาการ  มโี ครงการพฒั นาระบบสารสนเทศและนาํ ไปดาํ เนนิ การอยางเปน ระบบและจดั สภาพ แวดลอมทางกายภาพและสรางสงั คมท่ดี ีและกระตนุ ใหผ เู รียนใฝเ รียนรูทั่วถงึ ทุกกลมุ เปาหมายผูมีสว นรว มทุกฝา ยรว มกันพัฒนาการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ บริหารจดั การและการจดั การเรยี นรูการศึกษาของโรงเรียน และมีการตดิ ตามผลการใชบรกิ ารระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของสถานศึกษาเพอ่ื ใชใ นการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู             จากการดาํ เนินการดงั กลา วขางตน สงผลใหกระบวนการบริหารและการจดั การสถานศึกษามีการกาํ หนดเปา หมายและพนั ธกจิ ชัดเจนระบบการบริหารจัดการมี คุณภาพพฒั นาผเู รยี นรอบดานตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ครูมคี วามเชยี่ วชาญในวชิ าชีพ จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือตอ การจดั การเรียนรอู ยางมีคณุ ภาพ และมรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู สง ผลใหก ารประเมินคณุ ภาพมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยใู นระดับยอดเยย่ี ม         Page 72 of 81

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสาํ คญั จํานวนครูทั้งหมด : 20 การปฏบิ ัติงาน เปา จํานวนครทู ี่ผา น ผลการ ผลการ เกณฑท่ีโรงเรยี น ประเมนิ ประเมิน ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ัติ ไม หมาย/ กําหนด (คน) (รอยละ) คณุ ภาพที่ ปฏบิ ตั ิ รอ ยละ ได 1. จดั การเรยี นรผู า นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนําไปประยกุ ตใ ชในชีวิตได 90.00 19 95.00 ยอดเยย่ี ม 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรตู ามมาตรฐานการเรียนรู ตวั ชี้วดั ของหลักสูตร √ - 18 สถานศึกษาทเี่ นนใหผูเ รียนไดเรียนรู โดยผานกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิ จรงิ 1.2 มีแผนการจดั การเรียนรูท ี่สามารถนาํ ไปจัดกจิ กรรมไดจ ริง √- 20 1.3 มรี ูปแบบการจดั การเรยี นรเู ฉพาะสาํ หรับผูท่ีมคี วามจาํ เปน และ √- 18 ตอ งการความชวยเหลอื พเิ ศษ 1.4 ฝกทักษะใหผเู รยี นไดแสดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรุปองคความรู √ - 20 และนําเสนอผลงาน 1.5 สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรใู หผเู รยี นสามารถนําไปประยกุ ตใ ชใน √ - 20 ชีวิตประจาํ วันได 2. ใชส อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรทู ี่เออ้ื ตอ การเรยี นรู 90.00 20 100.00 ยอดเย่ยี ม 2.1 ใชส ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรยี นรู √- 20 2.2 ใชแหลงเรยี นรู และภูมปิ ญญาทองถนิ่ ในการจัดการเรยี นรู √- 20 2.3 สรางโอกาสใหผ เู รียนไดแ สวงหาความรูดวยตนเองจากส่ือทีห่ ลาก √- 20 หลาย 3. มีการบริหารจัดการช้นั เรยี นเชงิ บวก 80.00 20 100.00 ยอดเยยี่ ม 3.1 ผูสอนมีการบริหารจัดการชนั้ เรยี น โดยเนนการมปี ฏสิ ัมพนั ธเชิงบวก √ - 20 3.2 ผูสอนมกี ารบริหารจดั การชน้ั เรียน ใหเ ด็กรักครู ครูรักเดก็ และเดก็ √ - 19 รกั เด็ก เด็กรกั ท่จี ะเรียนรู สามารถเรยี นรูร วมกันอยางมีความสุข 4. ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยา งเปน ระบบ และ นําผลมาพัฒนาผเู รียน 90.00 19 95.00 ยอดเย่ยี ม 4.1 มีการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจัดการเรียนรอู ยางเปน √- 19 ระบบ 4.2 มขี ้ันตอนโดยใชเคร่ืองมอื และวธิ กี ารวดั และประเมินผลทเ่ี หมาะสม √ - 18 กบั เปาหมายในการจดั การเรียนรู 4.3 เปด โอกาสใหผเู รียนและผมู ีสวนเก่ียวของมีสว นรว มในการวัดและ √- 20 ประเมินผล 4.4 ใหขอมลู ยอ นกลบั แกผูเรยี นเพือ่ นําไปใชในการพฒั นาการเรียนรู √- 20 5. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรูแ ละใหขอมูลสะทอนกลบั เพ่ือพัฒนาปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู 90.00 19 95.00 ยอดเยยี่ ม Page 73 of 81

การปฏิบตั งิ าน เปา จาํ นวนครทู ผ่ี าน ผลการ ผลการ เกณฑทโี่ รงเรยี น ประเมนิ ประเมนิ ประเด็นพจิ ารณา ปฏิบัติ ไม หมาย/ กําหนด (คน) (รอ ยละ) คณุ ภาพที่ ปฏบิ ตั ิ รอ ยละ ได 5.1 และผมู ีสว นเกยี่ วของรวมกนั แลกเปล่ยี นความรแู ละประสบการณใ น √ - 18 การจัดการเรียนรู 5.2 นําขอ มลู ปอ นกลบั ไปใชในการปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู √ - 19 ของตนเอง สรุปผลการประเมิน 97.00 ยอดเย่ยี ม   จดุ เนนและกระบวนการพฒั นาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นนผเู รียนเปน สําคญั กระบวนการพฒั นาทีส่ งผลตอระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 3                                ครจู ดั การเรยี นรูผ านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในการดาํ เนนิ ชีวติ ได        ครจู ัดกระบวนการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสาํ คญั จัดกจิ กรรมการเรียนรูตามมาตรฐานการเรยี นรู ตัวช้วี ดั ของหลกั สูตรสถานศึกษาทเ่ี นนใหผ ูเรยี นไดเ รยี นรู โดย ผา นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ ริงโดยการดาํ เนนิ งาน/กจิ กรรมทีห่ ลากหลาย มกี ารจดั ทาํ หลักสตู รสถานศึกษา ตามมาตรฐาน ตวั บงชีต้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551  จัดทาํ โครงสรา งหลักสูตร และจัดตารางเรียนตามโครงสราง มแี ผนการจดั การเรียนรทู ี่สามารถนาํ ไปจัดกิจกรรมไดจริงครูจดั การเรยี นการสอน โดยเนนกระบวนการคดิ และมีการวดั ผล ประเมินผลอยา งเปน ระบบ เพื่อการพฒั นาผูเรียนเปน รายบคุ คล มกี ารพฒั นาสอ่ื การสอนเพ่อื การจัดการเรียนรู จดั การเรียนรตู าม มาตรฐานการเรยี นรตู ัวชวี้ ัดของหลกั สูตรสถานศกึ ษาท่ีเนน ใหผเู รียนไดเ รยี นรูผา นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ มีแผนการจัดการเรียนรทู สี่ ามารถนําไปจดั กจิ กรรม โครงการทส่ี ง เสรมิ กระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนําไปประยกุ ตใ ชในชวี ิตไดมีดังน้ี โครงการเรียนรูคกู ิจกรรม    กิจกรรมชุมนมุ หรรษา  , กิจกรรมเรยี นรูค ู ภมู ปิ ญญา  ใชส อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู ่เี อื้อตอการเรียนรู       ครมู ีการพัฒนาสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการจดั การเรียนการสอน โดยมกี ารจดั การเรยี นรแู บบOnline เพ่อื ใหน ักเรียนไดเรียนรู  ผานโปรแกรม Google site , Zoom , Line ไลนกลุมช้นั เรียน  และใชแ หลง เรยี นรรู วมทัง้ ภมู ิปญญาทอ งถนิ่ มาใชใ นการจัดการเรียนรโู ดยสรา งโอกาสใหผ เู รียนไดแสวงหาความรูด วยตนเองจากส่ือที่ หลากหลายโดยมีปรากฏอยใู นโครงการเรยี นรคู ภู มู ปิ ญญาโครงการโรงเรียนรวมเครือขายพัฒนาคุณภาพ    และโครงการทศั นศึกษา และขอ มูลแหลงเรยี นรภู ายในและ ภายนอกสถานศกึ ษา   มีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก        ครผู สู อนมีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น ปลกู ฝงใหนกั เรียนปฏิบัติตามกติกาของหองเรียน นกั เรยี นสามารถปฏิบัติตนตามขอตกลงกฎเกณฑและระเบียบขอ บังคับของ หอ งเรยี นมจี ิตสาธารณะ ชวยเหลือผอู น่ื เขาใจและเห็นใจผทู ี่มีความเดือดรอ นรว มสรา งสรรคส ิง่ ท่ีดีงามใหเ กดิ ขึ้นในชมุ ชน มจี ติ อาสารูจกั การแบง ปน และเรยี นรวู ิถีชวี ิต วัฒนธรรมทแ่ี ตกตางและสง เสริมใหผูเ รียนไดร บั การพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามคานิยมท่พี ึงประสงคข องสถานศึกษา โดยครทู ุกกลุม สาระการเรยี นรเู ปนผดู าํ เนนิ การ พัฒนา ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รียนอยางเปน ระบบ และนาํ ผลมาพัฒนาผเู รยี น         ครมู กี ารตรวจสอบประประเมนิ คุณภาพการจดั การเรยี นรูอยางเปนระบบ โดยการจัดทาํ โครงการสอนรายบคุ คลใชเ คร่อื งมือและวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลทเี่ หมาะสม กบั เปาหมายในการจดั การเรยี นรู และใหข อมูลยอ นกลบั แกผ ูเ รยี นเพอ่ื นําไปพฒั นาการเรยี นรู โดยระบไุ วใน แผนการจดั การเรียนรู มีการประเมนิ ผลกอ นเรยี น ระหวางเรยี น และหลังเรียน การประเมนิ ผูเรียนจากสภาพจริงดวยเกณฑระดบั คณุ ภาพแบบ rubric และครูทุกคนจดั ทําวจิ ยั ในช้ันเรยี น ปการศึกษาละ 1 เรือ่ ง โดยไดรบั การตรวจใหคาํ แนะนําจากหวั หนา ฝายงานวชิ าการและผูบรหิ าร  ใชว ธิ กี ารประเมินผลทีห่ ลากหลาย มีเกณฑ การประเมินผลทช่ี ัดเจน และมกี ารทาํ บนั ทึกหลังสอน เพือ่ นําไปทําวิจยั เพอื่ พัฒนา มกี ารสรุปผลการประเมนิ ความกา วหนา และวเิ คราะหผ ูเรียนเปน รายบุคคล มกี ารบนั ทึกพฒั นาการ และรายงานผลการเรียนในสมุดรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู เรียนรายบคุ คล (ปพ.6) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอ มูลเพอื่ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนรู         ครูและผมู สี ว นเกย่ี วของรว มกนั แลกเปล่ยี นความรแู ละประสบการณรวมทั้งใหข อ มูลปอ นกลับเพ่ือนําไปใชในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนรู โดยมีการ จัดการเรียนการสอนท่ียึดโยงกับบรบิ ททอ งถน่ิ โดยการเชิญวทิ ยากร/ปราชญชาวบาน/ผทู รงคุณวุฒิ เฉพาะดา นมาใหความรูแกผูเรยี น จัดใหผ เู รียนไดใชแ หลง เรยี นรู ภายนอก ภายในทอ งถนิ่ ทงั้ การจดั กิจกรรมทศั นศกึ ษา เปดโอกาสใหห นวยงานตาง ๆ ภายนอกเขา มามสี ว นรว มในการจดั การศกึ ษาอยา งเปนรูปธรรม และเสริมสราง คุณลกั ษณะอยูอ ยา งพอเพยี ง โดยบรู ณาการลงในแผนการจัดการเรยี นรใู นทุกกลมุ สาระการเรยี นรู Page 74 of 81

          จากการดาํ เนนิ การดังกลา วขางตน สง ผลใหการกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผเู รยี นเปนสาํ คัญโดยครจู ัดการเรยี นรผู า นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ สามารถนาํ ไปประยุกตใชใ นชวี ิตได ใชส อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู ่ีเอือ้ ตอ การเรียนรู มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวก ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี น อยา งเปน ระบบ และนาํ ผลมาพัฒนาผูเรยี น มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ ละใหข อ มูลเพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู อยูใ นระดับยอดเยย่ี ม Page 75 of 81

2. สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับคณุ ภาพ ระดบั ปฐมวัย ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานการศึกษา ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม 1. มพี ัฒนาดา นรางกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั ที่ดี และดแู ลความปลอดภัยของตนองได ยอดเยี่ยม 2. มพี ัฒนาการดา นอารมณ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ ด ยอดเยย่ี ม 3. มีพฒั นาการดานสงั คม ชว ยเหลือตนเองและเปน สมาชิกท่ดี ีของสงั คม ยอดเยย่ี ม 4. มีพฒั นาการดา นสตปิ ญ ญา สื่อสารได มที กั ษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรูได ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีหลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทั้งสดี่ า น สอดคลอ งกับบรบิ ทของทองถ่ิน ยอดเยีย่ ม 2. จดั ครูใหเพยี งพอกับชน้ั เรยี น ยอดเยย่ี ม 3. สงเสริมใหครูมคี วามเชีย่ วชาญดา นการจดั ประสบการณ ยอดเยี่ยม 4. จัดสภาพแวดลอ มและสื่อเพือ่ การเรียนรูอยา งปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 5. ใหบ ริการสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การเรียนรเู พื่อสนบั สนุน การจดั ประสบการณ ยอดเยี่ยม 6. มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทีเ่ ปด โอกาสใหผ ูเ กี่ยวขอ งทกุ ฝา ยมสี วนรว ม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณทเ่ี นน เด็กเปน สําคญั ยอดเยี่ยม 1. จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมพี ฒั นาการทุกดาน อยา งสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยย่ี ม 2. สรา งโอกาสใหเ ด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบตั อิ ยางมีความสขุ 3. จัดบรรยากาศท่เี ออ้ื ตอการเรยี นรู ใชสือ่ และเทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสมกับวยั 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณแ ละพฒั นาเดก็ สรุปผลการประเมนิ ระดบั ปฐมวัย Page 76 of 81

ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ รยี น ยอดเยย่ี ม ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผูเรยี น ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม 1. มีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสาร และ การคดิ คาํ นวณ ยอดเยีย่ ม 2. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห คิดอยา งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแกป ญ หา ยอดเยย่ี ม 3. มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม ยอดเยยี่ ม 4. มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม 6. มคี วามรทู ักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี อ งานอาชพี ยอดเยี่ยม คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคข องผเู รยี น ยอดเยี่ยม 7. การมีคณุ ลกั ษณะและคา นิยมที่ดีตามท่สี ถานศกึ ษากําหนด 8. ความภูมใิ จในทองถนิ่ และความเปนไทย ดเี ลิศ 9. การยอมรับทจี่ ะอยูรว มกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม 10. สขุ ภาวะทางรางกายและจิตสงั คม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยี่ยม 1. มีเปาหมายวสิ ัยทัศนแ ละพนั ธกิจทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน ยอดเยี่ยม 2. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม 3. ดาํ เนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี นนคณุ ภาพผเู รยี นรอบดา นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลมุ เปาหมาย ยอดเย่ียม 4. พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 5. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่เี อ้อื ตอ การจดั การเรยี นรู อยางมีคณุ ภาพ ยอดเย่ียม 6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนนุ การบริหารจดั การและ การจัดการเรยี นรู ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดการเรียนรผู า นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชใ นชีวิตได ยอดเยย่ี ม 2. ใชสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรทู ่เี อือ้ ตอ การเรียนรู ยอดเยย่ี ม 3. มกี ารบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเรยี นอยา งเปนระบบ และ นาํ ผลมาพฒั นาผูเ รยี น ยอดเยย่ี ม 5. มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรูและใหขอมลู สะทอนกลบั เพื่อพฒั นาปรับปรุงการจดั การเรยี นรู สรปุ ผลการประเมินระดับข้นั พน้ื ฐาน Page 77 of 81

3. จดุ เดน ระดับปฐมวยั คณุ ภาพของเดก็ เดก็ มที ักษะการเคลือ่ นไหวตามวยั มีรา งกายแขง็ แรงสามารถใชก ลา มเน้ือมดั เลก็ มัดใหญไ ดคลอ งแคลว รา เริง ยิ้มแยม แจม ใส กลาแสดงออกตามวัย สามารถเลนและ ทํางานรว มกับเพอื่ นไดอยา งมคี วามสขุ ช่ืนชมศลิ ปะ ดนตรี การเคล่อื นไหวประกอบทาทาง มจี นิ ตนาการและความคิดสรางสรรค สนใจเรียนรูส ่ิงตาง ๆรอบตวั ชอบซกั ถาม และคิดแกปญ หาไดตามวัย กระบวนการบริหารและการจัดการ ผบู ริหารมีความตง้ั ใจ มีความมงุ ม่ัน มหี ลกั การบรหิ ารและมวี ิสัยทัศนท ด่ี ีในการบรหิ ารงาน สามารถเปน แบบอยางท่ดี ใี นการทํางานและคณะกรรมการสถานศึกษามีความ ต้ังใจ มีความพรอ มในการปฏบิ ัตหิ นาทต่ี ามบทบาท มีการบริหารและการจัดการอยา งเปน ระบบ ใชเ ทคนคิ การประชมุ ทห่ี ลากหลายวธิ ี เชน การประชุมแบบมีสวนรว ม การ ประชมุ ระดมสมอง การประชุมกลุม เพื่อใหทุกฝายมสี ว นรวมในการกาํ หนดวสิ ัยทศั น พันธกิจ เปา หมายท่ีชัดเจนมกี ารปรบั แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิ การประจาํ ปท ีส่ อดคลอ งกับผลการศกึ ษา สภาพปญ หา ความตองการพัฒนาและนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา ทมี่ ุง เนน การพฒั นาใหเดก็ มคี ุณภาพตามมาตรฐานหลกั สูตร ของโรงเรียน ครผู สู อนสามารถจดั การเรียนรูไ ดอ ยา งมคี ณุ ภาพ มีการดาํ เนนิ การนเิ ทศ กํากบั ตดิ ตามประเมินผล การดําเนินงานและจดั ทาํ รายงานผลการจัดการศึกษาและ โรงเรยี นไดใ ชกระบวนการวิจัยในการรวบรวมขอมูลมาใชเ ปนฐานในการวางแผนพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา เนน การสรางความเขา ใจและใหค วามรูดา นการประกันคุณภาพ การศกึ ษากบั คณะครู บคุ ลากรทกุ ฝา ยที่เก่ยี วขอ งอยางชัดเจน เปนประโยชนใ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาการดาํ เนินงานประกันคณุ ภาพภายในของโรงเรียนเนน การมี สวนรว ม การจดั ประสบการณท ี่เนน เดก็ เปน สําคัญ ครพู ัฒนาตนเองอยูเสมอ มคี วามตัง้ ใจ มุงม่นั ในการปฏบิ ตั หิ นาที่อยา งเต็มเวลาและความสามารถจัดกจิ กรรมใหน ักเรยี นแสวงหาความรูจากส่ือเทคโนโลยีดวยตนเองอยาง ตอเนื่องนักเรียนมีสวนรวมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอมท่ีเอือ้ ตอการเรยี นรูจดั ทาํ แผนการสอนและจัดกจิ กรรมใหน กั เรียนเรียนรูจ ากการคดิ ไดป ฏบิ ัตจิ รงิ ดวยวธิ กี าร และแหลง เรียนรูทห่ี ลากหลาย ระดบั ข้นั พื้นฐาน คณุ ภาพของผเู รียน นักเรยี นมีคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข องผูเ รียนมีคณุ ลักษณะและคานยิ มทดี่ ีตามท่สี ถานศึกษากาํ หนด เปน เด็กที่คดิ ดี พูดดี ทาํ ดี สามารถปรับตวั อยูในสังคมได มคี วาม กระตือรอื รน ใฝรู ใฝเรยี นมคี วามภูมใิ จในทองถิ่นและความเปนไทยภูมใิ จในผลงานของตนและสามารถนําความรไู ปใชในชวี ติ ประจาํ วันไดเ ขา รวมงานประเพณที องถนิ่ การ แสดงศลิ ปะวฒั นธรรมการแสดงดา นนาฏศลิ ปแ ละการขับรอง โดยไดรับความรว มมือจากผูปกครอง ชมุ ชนและองคกรหนว ยงานอื่น ๆ สง เสรมิ ใหน ักเรียนมีทกั ษะในการ แสวงหาความรูด ว ยตนเอง รักการเรยี นรู และพัฒนาตนเองอยา งตอเนอื่ ง สามารถยอมรบั ท่จี ะอยรู ว มกนั บนความแตกตางและหลากหลายรคู ณุ คา ในตนเองใหเ กียรตผิ ูอ น่ื และยอมรบั ความคดิ เหน็ และวฒั นธรรมท่ีแตกตาง กระบวนการบริหารและการจดั การ ผูบริหารมคี วามตั้งใจ มีความมุงมน่ั มหี ลักการบรหิ ารและมวี ิสยั ทัศนทีด่ ีในการบริหารงาน สามารถเปน แบบอยา งทีด่ ีในการทํางานและคณะกรรมการสถานศึกษามีความ ตง้ั ใจ มีความพรอ มในการปฏิบตั ิหนาทีต่ ามบทบาท มีการบริหารและการจัดการอยา งเปนระบบ ใชเทคนิคการประชมุ ท่ีหลากหลายวิธี เชน การประชมุ แบบมีสว นรว ม การ ประชุมระดมสมอง การประชมุ กลุม เพื่อใหท กุ ฝา ยมสี ว นรวมในการกาํ หนดวิสัยทัศน พันธกจิ เปา หมายท่ชี ดั เจนมีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบัติ การประจําปทีส่ อดคลองกบั ผลการศึกษา สภาพปญหา ความตองการพฒั นาและนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา ทมี่ งุ เนนการพฒั นาใหเ ด็กมีคณุ ภาพตามมาตรฐานหลักสูตร ของโรงเรียน ครผู ูสอนสามารถจดั การเรยี นรไู ดอยา งมคี ณุ ภาพ มีการดาํ เนินการนเิ ทศ กํากับ ติดตามประเมนิ ผล การดาํ เนนิ งานและจัดทํารายงานผลการจดั การศกึ ษาและ โรงเรียนไดใ ชก ระบวนการวจิ ยั ในการรวบรวมขอมูลมาใชเปน ฐานในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษาเนนการสรา งความเขาใจและใหความรดู า นการประกนั คุณภาพ การศกึ ษากับคณะครู บคุ ลากรทุกฝา ยทเ่ี ก่ียวของอยางชดั เจน เปนประโยชนในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาการดําเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรยี นเนน การมี สวนรวม กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผูเรยี นเปน สําคัญ ครูพฒั นาตนเองอยเู สมอ มคี วามตง้ั ใจ มงุ ม่ัน ในการปฏิบตั หิ นา ท่อี ยางเตม็ เวลาและความสามารถจัดกจิ กรรมใหน กั เรียนแสวงหาความรจู ากสื่อเทคโนโลยดี วยตนเองอยาง ตอเนื่อง ใหน กั เรยี นมสี วนรวมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอมที่เออ้ื ตอ การเรียนรู 4. จุดควรพฒั นา ระดบั ปฐมวยั คณุ ภาพของเดก็ ควรสง เสริมใหผ เู รียนมคี วามคดิ รวบยอดเกี่ยวกับส่ิงตาง ๆ ทเี่ กิดจากประสบการณการเรยี นรู ควรสงเสรมิ ใหเ ด็กใฝเรยี นรมู ีความพากเพยี ร พยายาม มุงมั่น ตอ การทํางาน และสามารถทาํ งานจนสําเรจ็ เกดิ ความภาคภูมใิ จในผลงานของตนเอง และปลูกฝงนสิ ัย ดานการดาํ เนนิ ชีวติ อยา งพอเพยี ง ใฝเรียนรู มงุ ม่นั ในการทาํ งานและมีจติ สาธารณะ Page 78 of 81

มากข้นึ กระบวนการบริหารและการจดั การ การสรา งเครือขายความรวมมือกบั ผมู ีสว นเก่ียวขอ งในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นใหม ีความเขม แขง็ มสี วนรว มรบั ผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา และการขบั เคลอื่ น คุณภาพการจัดการศึกษา สงเสริมใหค รแู ละบุคลากรนาํ กระบวนการวิจัยมาใชในการพัฒนาผเู รียน การจัดประสบการณทเ่ี นนเดก็ เปนสําคัญ ครูควรจัดกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณดวยวธิ กี ารท่ฝี กใหเ ดก็ ไดคดิ เรยี นรูจากแหลง เรยี นรู ส่อื เทคโนโลยีใหมากขึ้น และพัฒนาส่ือ แหลง เรียนรูใหอ ยูใ นสภาพดีและพรอมใช งาน ระดับขัน้ พ้นื ฐาน คุณภาพของผูเรียน การจัดกิจกรรมทมี่ งุ เนน การยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นระดับชาตขิ องนักเรียน ( O – NET) ควรปฏิบัตอิ ยา งตอ เนื่องจรงิ จงั เพือ่ ใหมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงใหผ ล สมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสูงกวา ระดับประเทศในทกุ กลุมสาระการเรียนรู ควรจดั กิจกรรมดานการอา น การเขียน คดิ คาํ นวณโดย เปรียบเทยี บความกาวหนา และการพฒั นาของ นกั เรียนเปนรายบุคคล พัฒนาความสามารถในการคดิ จาํ แนก แยกแยะ ใครค รวญไตรต รอง พจิ ารณาอยา งรอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ การอภิปรายแลก เปลย่ี นความคิดเห็น และแกป ญ หาอยางมเี หตผุ ล กระบวนการบริหารและการจัดการ การสรา งเครอื ขายความรวมมอื กับผมู ีสวนเกย่ี วขอ งในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นใหมคี วามเขมแข็ง มสี วนรว มรับผิดชอบตอ ผลการจัดการศึกษา และการขับเคลือ่ น คุณภาพการจัดการศกึ ษา สงเสริมใหค รูและบุคลากรนาํ กระบวนการวิจยั มาใชใ นการพัฒนาผูเรียน ควรมีรปู แบบการนเิ ทศ ติดตาม ทห่ี ลากหลาย เพอ่ื การพัฒนางานใหเ ปน ไปอยางรวดเรว็ ทนั ตอเหตกุ ารณ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นนผเู รยี นเปน สาํ คัญ ครคู วรจดั กิจกรรมการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก การจัดกิจกรรมใหน กั เรยี นไดเ รยี นรู และการใหข อมลู ยอ นกลบั แกน ักเรยี นทันทีเพ่ือนกั เรียนนาํ ไปใชพัฒนาตนเอง 5. แนวทางการพฒั นา แนวทางการพัฒนา        สง เสริมใหครูเหน็ ความสาํ คญั ของการจัดการเรียนรูโ ดยเนนเดก็ เปน สาํ คัญ การจัดทาํ การวิจัยในชัน้ เรียนเพอ่ื พัฒนาเด็กปฐมวยั ทั้ง 4 ดา น และเรยี นรูไ ดเ ต็มศกั ยภาพ        สงเสริมใหค รูเห็นความสาํ คญั ของการจัดการเรยี นรโู ดยเนนผเู รยี นเปน สําคญั มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรรู ะหวางกลุม สาระและใหข อมูลสะทอนกลบั แกผูเรยี นเพอื่ การ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู         การออกแบบการตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยางเปนระบบ 6. ความตองการชว ยเหลอื ความตอ งการชวยเหลอื         การพัฒนาครูผูสอนในการนํากระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชพี (PLC) สกู ารปฏบิ ตั ิในสถานศึกษา   7. ความโดดเดนของสถานศกึ ษา(ถามี) Page 79 of 81

รายงานรวบรวมโดย (Prepared by) นางวลีรัตน ฉนั ทศ ริ เิ ดชา    ผูอาํ นวยการ Kwanjai Chankana   เจาหนาที่ Page 80 of 81

ภาคผนวก Page 81 of 81

ประกาศโรงเรียน เรอ่ื ง การกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาและคา เปา หมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (ประกาศโรงเรียนเรือ่ งการกําหนดมาตรฐานการศกึ ษาและคา เปาหมายความสําเรจ็ ของ โรงเรยี นระดับปฐมวยั และระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน)

การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาและค่าเปา้ หมายความสำเรจ็ ของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั ประกาศโรงเรยี นวลีรัตน์วิทยา เรอื่ ง การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาและค่าเป้าหมายความสำเร็จของโรงเรียน ระดับปฐมวยั ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียนเป็นไปอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โรงเรยี นวลีรตั น์วิทยา จึงได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสำเร็จของโรงเรียน ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2563 ไว้ดัง รายละเอียดทแ่ี นบท้ายประกาศ ต่อไปน้ี มาตรฐาน คา่ เปา้ หมายความสำเร็จ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ ระดบั ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั ยอดเยีย่ ม มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคัญ ระดับยอดเยย่ี ม ประกาศ ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (นางวลรี ัตน์ ฉันท์ศริ เิ ดชา) ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรยี นวลีรัตนว์ ิทยา

การกำหนดค่าเปา้ หมายความสำเรจ็ ของมาตรฐานการศกึ ษา คา่ เปา้ หมาย และรายละเอียดของมาตรฐานระดับปฐมวัย ความสำเรจ็ ระดับดีเลิศ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.1 ร้อยละ 75 ของเดก็ มีพัฒนาการด้านร่างกายแขง็ แรง มีสุขนสิ ัยทด่ี ี และดูแลความปลอดภัย ระดับดีเลิศ ของตนเองได้ 1.2 รอ้ ยละ 80 ของเดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ระดบั ดีเลศิ ระดับดีเลิศ 1.3 ร้อยละ 80 ของเดก็ มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ สมาชกิ ที่ดีของสังคม ระดบั ดเี ลศิ 1.3 ร้อยละ 80 ของเดก็ มีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ส่ือสารได้ มที กั ษะการคิดพ้ืนฐานและ แสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดบั ยอดเยย่ี ม 2.1 มีหลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถนิ่ ระดับยอดเยี่ยม 2.2 จัดครใู หเ้ พยี งพอกบั ชัน้ เรยี น ระดับยอดเยี่ยม 2.3 ส่งเสรมิ ให้ครมู คี วามเช่ยี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ระดบั ยอดเยี่ยม 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสือ่ เพือ่ การเรียนรอู้ ยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ ระดบั ยอดเยี่ยม 2.5 ใหบ้ ริการสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนร้เู พ่ือสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปดิ โอกาสให้ผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม ระดบั ยอดเยี่ยม ระดบั ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคญั ระดบั ยอดเย่ยี ม 3.1 ร้อยละ 90 ของครูจัดประสบการณท์ ่สี ่งเสรมิ ให้เด็กมพี ัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดุลเต็ม ระดับยอดเย่ยี ม ศกั ยภาพ 3.2 รอ้ ยละ 90 ของครสู ร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมคี วามสขุ ระดับยอดเยย่ี ม 3.3 ร้อยละ 90 ของครจู ัดบรรยากาศที่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวัย ระดับยอดเย่ยี ม 3.4 รอ้ ยละ 90 ของครปู ระเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพฒั นาการ ระดับยอดเยย่ี ม เดก็ ไปปรบั ปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเดก็

การกำหนดมาตรฐานการศึกษาและคา่ เปา้ หมายความสำเรจ็ ของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ประกาศโรงเรียนวลีรัตน์วทิ ยา เรื่อง การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาและค่าเป้าหมายความสำเรจ็ ของโรงเรียน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เมื่อ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียนเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โรงเรียนวลีรัตน์วิทยา จึงได้ กำหนดมาตรฐานการศึกษาและคา่ เป้าหมายความสำเร็จของโรงเรียน ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปกี ารศกึ ษา2563 ดังรายละเอยี ดทแ่ี นบทา้ ยประกาศ ตอ่ ไปน้ี มาตรฐาน ค่าเปา้ หมายความสำเรจ็ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ระดับดีเลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับยอดเยย่ี ม ระดบั ยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ประกาศ ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 (นางวลีรตั น์ ฉันท์ศริ เิ ดชา) ประธานคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนวลีรัตนว์ ิทยา

การกำหนดค่าเปา้ หมายความสำเร็จของมาตรฐานการศึกษาและรายละเอยี ด ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เป้าหมาย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ความสำเรจ็ ระดับดเี ลศิ 1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รยี น ระดบั ดีเลศิ ระดบั ดเี ลศิ 1) ร้อยละ 80 ของผเู้ รียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ 2) ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ ระดับดีเลศิ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา 3) รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี นมีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ระดบั ดเี ลิศ 4) รอ้ ยละ 90 ของผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ระดับดีเลศิ ระดบั ดเี ลิศ 5) ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ระดบั ยอดเยย่ี ม ระดบั ยอดเยีย่ ม 6) ร้อยละ 90 ของผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชพี 1.2 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผูเ้ รียน 1) ร้อยละ 90 ของผเู้ รียนผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มท่ดี ีเป็นไปตามเป้าหมายท่ี ระดับยอดเยย่ี ม สถานศกึ ษากำหนด 2) รอ้ ยละ 90 ของผู้เรียนมคี วามภมู ิใจในท้องถ่ิน เหน็ คุณค่าของความเป็นไทย มสี ว่ นรว่ มใน ระดบั ยอดเยย่ี ม การอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรม ประเพณี และภมู ิปัญญาไทย ระดับยอดเยี่ยม 3) ร้อยละ 90 ของผู้เรยี นมีการยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ ง และหลากหลาย ระดับดีเลิศ 4) รอ้ ยละ75 ของผ้เู รยี นมีสขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม ระดบั ยอดเยีย่ ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ระดับยอดเยี่ยม 2.2 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ระดับยอดเยย่ี ม 2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษา และ ระดบั ยอดเยีย่ ม ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เปา้ หมาย ความสำเร็จ 2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ระดบั ยอดเย่ยี ม ระดับยอดเยี่ยม 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อตอ่ การจัดการเรยี นรูอ้ ย่างมีคุณภาพ ระดับยอดเยย่ี ม 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ยอดเย่ียม ระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ระดบั ยอดเยี่ยม 3.1 รอ้ ยละ90 ของครจู ดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไป ระดับยอดเยีย่ ม ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้ ระดับยอดเยี่ยม 3.2 รอ้ ยละ 90 ของครใู ช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ระดับยอดเย่ียม 3.3 รอ้ ยละ 90 ของครูมีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 3.4 รอ้ ยละ 90 ของครตู รวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นา ผเู้ รียน 3.5 มีรอ้ ยละ 90 ของครูการแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นาและ ปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ระดับการศึกษาปฐมวัย ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ แปลผล ยอดเยี่ยม ๙๐.๐๐ – ๑๐๐.๐๐ ๕ ดีเลิศ ๗๕.๐๐ – ๘๙.๙๙ ๔ ดี ปานกลาง ๖๐.๐๐ – ๗๔.๙๙ ๓ กำลังพัฒนา ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ ๒ ๐.๐๐ – ๔๙.๙๙ ๑

รายงานการประชมุ หรือการใหความเหน็ ชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น (หนงั สอื ใหค วามเห็นชอบรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปการศกึ ษา 2563)



คาํ ส่ังแตงตงั้ คณะทํางานจดั ทาํ SAR (คาํ สั่งแตง ตั้งคณะทํางานจดั ทํา SAR)

คำสั่งโรงเรยี นวลรี ัตนว์ ทิ ยา ท่ี 1.12 / 2563 เร่อื ง แต่งต้งั คณะกรรมการประกันคุณภาพสถานศึกษา ประจำปกี ารศึกษา 2563 ด้วยการประเมนิ คุณภาพการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ว่าด้วย มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา กำหนดให้โรงเรยี นดำเนินการจัดทำแบบรายงานประเมินตนเอง เพอ่ื การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่งเป็นการรองรับการประเมินคุณภาพจาก สมศ. สำนักงานมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) เพื่อให้การทำงานในการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวลีรัตน์วิทยา มีมาตรฐานหลักเกณฑ์ใน การปฏบิ ตั งิ านท่ชี ัดเจน จงึ ขอแตง่ ตั้งคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพสถานศกึ ษา ตามรายชอ่ื ตอ่ ไปนี้ 1. นางวลีรัตน์ ฉนั ทศ์ ิรเิ ดชา ประธานกรรมการ 2. นางสาวดจุ พิมพ์ พรหมสรุ นิ ทร์ กรรมการ 3. นางสาวธดิ ารัตน์ ชนามยุ า กรรมการ 4. นางสาวทรงพร แสนเรยี น กรรมการ 5. นางสาวธมล เพียรผดุงพร กรรมการ 6. นางสาวอจั ฉรา ครดู งบงั กรรมการ 7. นางสาวพชั รี แตม้ แก้ว กรรมการ 8. นางสาววนิดา โรงออ่ น กรรมการ 9. นางสาวพรรณนิภา จันทรแพ กรรมการ 10. นายกฤษดา สุดสาคร กรรมการ 11. นางสาวเจนจริ า ครองยุติ กรรมการ 12. นางสาวจารุวรรณ พงษส์ ุวรรณ กรรมการ 13. นางสาวสุดารตั น์ ทองทา กรรมการ 14. นางสาววาดไว้ แสวง กรรมการ 15. นางสาวปิยนารถ มงคลพาณชิ ยกิจ กรรมการ 16. นายจกั พงษ์ บุญอุบล กรรมการ 17. นางสาวขวญั ใจ จันทร์คณา กรรมการและเลขานุการ ทั้งนี้ให้คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ของ สถานศกึ ษา เพ่ือเตรยี มการและให้ความร่วมมือในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหนว่ ยงานต้นสังกัด พร้อมทัง้ จัดทำรายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปี สงั่ ณ วันที่ 1 มถิ นุ ายน 2563 ลงชือ่ ………………………………………. (นางวลีรตั น์ ฉนั ท์ศิรเิ ดชา) ผู้อำนวยการโรงเรยี นวลีรัตนว์ ทิ ยา



คาํ ส่งั แตงตงั้ คณะทาํ งานจัดทํา SAR (คาํ ส่ังแตงตงั้ คณะกรรมการติดตาม)

คำสัง่ โรงเรียนวลรี ัตน์วทิ ยา ท่ี 1.10 / 2563 เร่อื ง แตง่ ต้งั คณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 ----------------------- การจดั การศกึ ษาใหเ้ กิดคุณภาพ ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายและความคาดหวังที่ต้องการสถานศึกษา จะตอ้ งวางแผนระบบประกันคุณภาพภายในให้เหมาะสมกบั สภาพและบรบิ ทของการจัดการศึกษา และเพื่อให้สอดรับ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ มาตรา 47 วรรค 2 ทาง โรงเรียนได้แต่งต้ังคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษา เพือ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ จงึ ขอแต่งตง้ั คณะกรรมการดงั มรี ายช่ือดังต่อไปนี้ 1. นางวลีรัตน์ ฉนั ท์ศิริเดชา ประธานกรรมการ 2. นายประเสรฐิ ศกั ดิ์ ฉนั ท์ศิริเดชา รองประธาน 3. นางสาวดจุ พมิ พ์ พรหมสรุ ินทร์ กรรมการ 4. นางสาวธิดารตั น์ ชนามุยา กรรมการ 5. นางสาวทรงพร แสนเรยี น กรรมการ 6. นางสาวธมล เพยี รผดงุ พร กรรมการ 7. นางอรทยั กระจ่างสด กรรมการ 8. นางสาวขวญั ใจ จนั ทร์คณา กรรมการและเลขานุการ สงั่ ณ วันท่ี 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 (นางวลีรตั น์ ฉนั ท์ศริ เิ ดชา) ผรู้ บั ใบอนุญาตโรงเรยี นวลรี ัตน์วทิ ยา

คําส่ังแตงตั้งคณะทาํ งานจัดทํา SAR (คาํ ส่งั แตงต้งั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา )

คำสั่งโรงเรียนวลรี ัตน์วิทยา ท่ี 1.11 / 2563 เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรยี นโรงเรียนวลีรตั นว์ ทิ ยา ปีการศึกษา 2563 ระดบั ปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ………………………………………….. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศกึ ษามาตรา 47 ให้มรี ะบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพอ่ื พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทกุ ระดับ ประกอบด้วยระบบประกันภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกัน คณุ ภาพการศึกษาให้เป็นไปตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ใหห้ น่วยงานตน้ สังกดั และสถานศกึ ษา จัดให้ มรี ะบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา และให้ถอื วา่ การประกนั คุณภาพภายใน เปน็ สว่ นหน่ึงของกระบวนการ บริหารการศกึ ษาท่ีต้องดำเนนิ การอย่างต่อเน่ือง และตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่กำหนดให้มีคณะกรรมการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้ได้ มาตรฐานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ อันส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีการจัดทำรายงาน ประจำปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรบั การประกันคุณภาพภายนอก จึงแต่งตั้งบคุ คลในท้ายคำส่งั นี้เปน็ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพอื่ ทำการประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และมาตรฐาน การศึกษาข้นั พน้ื ฐานให้แลว้ เสร็จ ประกอบด้วย 1 นายประกิต สุขมาก ผทู้ รงคณุ วุฒิและหวั หน้าคณะประเมิน 2 นางจนิ ตนา สขุ มาก กรรมการประเมินระดบั ปฐมวยั 3 นายประเสรฐิ ศกั ดิ์ ฉนั ทศ์ ิรเิ ดชา กรรมการประเมนิ ระดับข้นั พ้นื ฐาน มีหน้าที่ในการดำเนินการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อใหก้ ารดำเนินงานเปน็ ไปด้วยความ เรียบร้อยและมปี ระสิทธภิ าพ ทงั้ นี้ ตง้ั แตบ่ ัดนี้เป็นตน้ ไป สัง่ ณ วนั ที่ 1 มถิ ุนายน พ. ศ. 2563 (นางวลรี ัตน์ ฉันท์ศิริเดชา) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวลรี ัตนว์ ทิ ยา

หลกั ฐานการเผยแพร SAR ใหผูมีสวนเกยี่ วขอ งหรือสาธารณชนรับทราบ (หลักฐานการเผยแพร SAR)

การเผยแพร่ SAR ใหผ้ มู้ สี ่วนเก่ยี วข้องหรอื สาธารณชนรับทราบ การประชมุ ชแ้ี จงคณะผู้บริหาร คณะครู ประชุมผู้ปกครองรายงานผลการจดั การศึกษาแตล่ ะระดับช้นั

ชอ่ งทางการประชาสัมพนั ธ์และการตดิ ต่อสื่อสาร 02-8695211, 02-8695656 02-8695210 [email protected] [email protected] www.Waleeratwittaya.ac.th วลีรตั น์วทิ ยา โรงเรยี นวลีรตั น์วทิ ยา WLS School

แผนผังอาคารสถานท่ี (แผนผงั อาคารสถานท่ี )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook