Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พืชสมุนไพร

พืชสมุนไพร

Published by Phonnatcha Thiauthit, 2022-08-25 03:57:21

Description: พืชสมุนไพร

Search

Read the Text Version

เอกสารคำ� แนะน�ำท่ี 8/2557 พชื สมุนไพร ภมู ิปัญญาไทย พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 : ปี 2557 จำ� นวน 1,000 เลม่ พิมพ์ที่ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั





ค�ำนำ� สมุนไพรเป็นส่ิงที่อยู่คู่กับคนไทยมาตั้งแต่โบราณ ภูมิปัญญาไทย แสดงใหเ้ ห็นถึงการนำ� สมนุ ไพรไปใชใ้ นรูปแบบต่างๆ ทง้ั เป็นอาหาร เป็นยา หรือ เป็นเครื่องใช้ต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวัน ปัจจุบันการใช้สมุนไพรก็ได้รับความนิยม จากประชาชนมากข้ึน ซึ่งการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรด้วยองค์ความรู้ ที่ถูกต้องน้ันมีความส�ำคัญเช่นเดียวกันกับการส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพรอย่าง ถูกต้อง ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสมุนไพร การแปรรูปให้สะอาด ปลอดภัย รวมถึงควบคุมคุณภาพ มาตรฐาน เป็นสิ่งจ�ำเป็นท่ีจะต้องรวบรวมและเผยแพร่ สู่ประชาชน ผูส้ นใจใหก้ วา้ งขวาง เอกสารค�ำแนะน�ำพืชสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยฉบับน้ี  ได้รวบรวม องค์ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับการผลิตพืชสมุนไพร ทั้งในเร่ืองลักษณะพืช สรรพคุณ การน�ำไปใช้ประโยชน์ การปลูกและการแปรรูปที่ถูกต้อง รวมท้ังข้อมูลด้าน มาตรฐานการผลิตสมุนไพร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ เป็นแนวทาง ในการปฏิบัตหิ รือสามารถนำ� ไปปรบั ปรุงการผลิต แกเ่ กษตรกร เจ้าหน้าที่สง่ เสริม การเกษตร และผู้สนใจ กรมส่งเสริมการเกษตรหวังอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับน้ีจะก่อให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ และความสนใจในการปลูกและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา พืชสมนุ ไพรของประเทศตอ่ ไป กล่มุ สง่ เสริมพืชสมนุ ไพรและเครื่องเทศ ส�ำนกั ส่งเสริมและจดั การสินคา้ เกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร 2557 พชื สมนุ ไพร ภมู ิปัญญาไทย iกii



สารบญั พืชสมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย หนา้ รชู้ ่อื ร้ตู น้ รปู้ ระโยชน ์ 1 ปลกู และดูแล 5 เก็บเกยี่ วดี มสี ารสำ� คญั สูง 29 ท�ำแหง้ ดี มีคณุ ภาพ 49 สมุนไพรอินทรยี ว์ ถิ ีธรรมชาต ิ 57 รูม้ าตรฐานสมนุ ไพร 69 สมนุ ไพรน่าร ู้ 83 ✤ เจตมูลเพลิงแดง 89 89 ✤ ดีปลี 93 98 ✤ เพชรสงั ฆาต 102 ✤ รางจดื 106 109 ✤ ว่านชกั มดลกู 113 117 ✤ หญา้ หวาน 121 122 ✤ อัญชัน บรรณานกุ รม ภาคผนวก ฤดูกาลเกบ็ เกย่ี วผลผลติ พืชสมุนไพร พชื สมนุ ไพร ภมู ิปญั ญาไทย ขv

ผักคราดหวั แหวน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Acmella oleracea (L.) R.K.Jansen.

หนอนตายหยาก ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Stemona collinsae Craib.



พืชสมุนภไพมู ปิร ัญญาไทย พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของค�ำว่า “สมุนไพร” ว่า ผลผลิตธรรมชาติที่ได้จากพืช สัตว์ และแร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอ่ืนตามต�ำรับยา เพื่อ บำ� บัดโรค บำ� รุงรา่ งกาย หรอื ใชเ้ ปน็ ยาพิษ พระราชบัญญัติยา พุทธศักราช 2510 ให้ ความหมายของ “ยาสมุนไพร” ว่า ยาที่ได้จาก พืช สัตว์ หรือแร่ ซึ่งมิได้ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ หากยาสมุนไพรถูกผสม ปรุง หรือแปรสภาพ ก็จะ กลายเป็น “ยาแผนโบราณ” ซึง่ ในพระราชบญั ญตั ิยา พุทธศักราช 2510 ให้นิยามว่า ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่มุ่งหมายส�ำหรับใช้ในการประกอบโรค ศิลปะแผนโบราณ หรือการบ�ำบัดโรคสัตว์ ซึ่งอยู่ใน ต�ำราแผนโบราณท่ีรัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่ได้รับ อนญุ าตให้ขึ้นทะเบียนตำ� รับยาเป็นยาแผนโบราณ พืชสมุนไพร ภมู ปิ ัญญาไทย 1

ดังน้ันสมุนไพรจึงอาจได้ท้ังจากพืช สัตว์ และ แร่ธาตุ สมุนไพรท่ีได้จากพืช เรียกว่า พืชสมุนไพร หรือเคร่ืองยาพฤกษวัตถุ พืชสมุนไพรที่ใช้มากในการแพทย์ แผนไทย ส่วนใหญ่ได้จากธรรมชาติ บางส่วนมีการปลูก เพื่อเป็นวัตถุดิบทางยาและการใช้ประโยชน์อ่ืนๆ อย่าง กว้างขวาง ประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนช้ืนที่มีความหลากหลาย ของพันธุ์พืชแห่งหน่ึงของโลก คนไทยใช้ประโยชน์จาก พืชสมุนไพรเป็นท้ังยารักษาโรค และเป็นอาหาร ปัจจุบัน พชื สมุนไพรพัฒนาไปสธู่ รุ กจิ สขุ ภาพทที่ ันสมยั มากมาย 2 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย

พืชสมุนไพรมีประโยชน์ต่อชุมชนในการดูแล สขุ ภาพในครัวเรือน อาหาร ลดค่าใชจ้ า่ ยในการดูแลสขุ ภาพ เพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้แก่ท้องถ่ิน การปลูก การใช้สมุนไพรก่อให้เกิดการพ่ึงตนเอง และการพัฒนา ความสามารถในการผลิตพชื ท่ีมคี ณุ ภาพ การปลูกพืชสมุนไพร มขี อ้ ควรคำ� นงึ ดังน้ี 1. พืชสมุนไพรมีความต้องการใช้หลากหลาย นับพันชนิด แต่มีความต้องการในปริมาณไม่มากเหมือน พืชเศรษฐกิจ การปลูกพืชสมุนไพรส่วนใหญ่ จึงควรปลูก แบบผสมผสานและมีการวางแผนการปลูกท่ีดี เพ่ือให้มี รายได้หมุนเวียน 2. การปลูกพืชสมุนไพรท่ีดีน้ัน ผลผลิตท่ีได้ต้อง ค�ำนงึ ถึงคณุ ภาพภายในของผลผลิตด้วย กล่าวคือ สมุนไพร ท่ีมีคุณภาพดี จะต้องมีสารส�ำคัญ หรือตัวยาออกฤทธิ์สูงหรือ ได้มาตรฐานดว้ ย เพื่อใหเ้ กิดประสิทธผิ ลในการใช้หรือรักษา นอกจากน้ียังต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัย คือ ไม่มีสารเคมี ตกค้าง ไมม่ เี ชือ้ รา จลุ นิ ทรยี ์ หรอื โลหะหนกั ปนเป้ือน 3. การปลูกพืชสมุนไพรแบบอินทรีย์ในชุมชน เป็นแนวทางการผลิตพืชสมุนไพรที่จะสามารถสร้าง คุณภาพผลผลิตสมนุ ไพร และสร้างความเชอ่ื ถอื แกผ่ ้บู รโิ ภค เน่ืองจากพืชสมุนไพรใช้ประโยชน์เป็นยา และประโยชน์ อืน่ ๆ ที่เก่ียวข้องกับการดแู ลสขุ ภาพ พชื สมนุ ไพร ภมู ิปญั ญาไทย 3

4. การบรหิ ารจดั การการผลติ สมนุ ไพรควรรวมกลมุ่ และเครือข่ายท่ีเข้มแข็ง กลุ่มสมุนไพรท่ีเข้มแข็ง มีความ มุ่งม่ัน มีความร่วมมือร่วมใจของชุมชน มีผู้รู้ มีองค์ความรู้ ใช้ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ และยดึ ม่ันในหลักการเศรษฐกิจพอเพียง ✤ มีเหตุผล ผลิตตามสภาพพ้ืนท่ี ตามความ ต้องการบรโิ ภค ใชภ้ ูมิปญั ญาผสมผสานเทคโนโลยี ✤ มีความพอดีพอประมาณ รวมกลุ่มกัน ไม่ใหญ่ไม่เล็กเกินไป เติบโตเป็นข้ันตอน มีการจัดสรร ทรพั ยากร การลงทนุ และการออมที่ลงตัว ✤ มีการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี คือ ผลิตอย่าง หลากหลาย ลดความเสี่ยงภัยธรรมชาติและเศรษฐกิจ โดยมกี ลุ่มคอยช่วยเหลอื กันและกนั การปลูกพืชสมุนไพรนับเป็นทางเลือกท่ีดีส�ำหรับ เกษตรกรที่จะได้ปรับเปล่ียนไปสู่การผลิตท่ีย่ังยืน ชุมชน มีสขุ ภาพดี และมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ีดี แปลงปลกู สมุนไพรมะแวง้ -ฟ้าทะลายโจรแบบผสมผสาน 4 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย

ฟกั ขา้ ว ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng.



รู้ชอ่ื ร้ตู น้ รพู้ปรชื ะโสยชมนนุ.์ ..ไพร พืชสมุนไพรเป็นทรัพยากรท่ีมีอยู่มากมายในประเทศไทย มีความ หลากหลายของชนิดพืชและสายพันธุ์ การจ�ำแนกพืชสมุนไพร มีความจ�ำเป็น ต่อการน�ำไปใช้เป็นอย่างย่ิง เนื่องจากการน�ำพืชสมุนไพรไปใช้นั้น จะต้องใช้ ให้ถูกต้อง ตรงตามคุณสมบัติหรือสรรพคุณของพืชชนิดน้ัน และการน�ำไปใช้ แต่ละครง้ั ต้องรู้วา่ พชื ชนดิ นนั้ คืออะไร มีลกั ษณะอยา่ งไร และน�ำไปใชไ้ ดอ้ ย่างไร การจ�ำแนกพชื สมนุ ไพรสามารถจำ� แนกได้หลายรูปแบบ ดงั นี้ จำ� แนกพชื สมนุ ไพรตามลกั ษณะของพืช ไม้ยืนต้น (tree) เป็นต้นไม้ท่ีเป็นไม้เนื้อแข็ง มีล�ำต้นเด่ียว มีท้ัง ขนาดใหญ่และขนาดเลก็ เจรญิ เติบโตตั้งตรงขนึ้ ไป มีอายุหลายปี ไมพ้ มุ่ (shrub) เป็นต้นไม้ท่ีมเี นือ้ ไม้แข็ง ขนาดเล็กและเตี้ย มลี ำ� ต้นหลกั ไม่ชัดเจน หลายล�ำต้นที่แยกจากดินหรือล�ำต้นแตกกิ่งก้านใกล้โคนต้น หรือ มีลำ� ต้นเลก็ ๆ หลายต้นจากโคนเดียวกนั ท�ำให้ดเู ปน็ กอหรือเปน็ พุ่ม ไม้ล้มลุก (herb) เป็นพืชที่มีล�ำต้นอ่อน ไม่มีเนื้อไม้ หักงา่ ย มีอายุ 1 ปี หรือหลายปี ไม้เลื้อยหรือไม้เถา (climber) เป็นพืชที่มีล�ำตน้ ยาว ไมส่ ามารถต้งั ตรงได้ ต้องอาศัยสิ่งยึดเกาะตามก่ิงไม้หรือส่ิงพาดพิง อาศัยส่วนของพืชซ่ึงอาจเป็นล�ำต้น หนวดหรอื หนามก็ได้ยดึ เกาะ พชื สมุนไพร ภมู ปิ ญั ญาไทย 5

ตารางแสดงการจำ� แนกพชื สมนุ ไพรตามลกั ษณะภายนอกของพืช ไมย้ นื ตน้ ไม้พมุ่ ไมล้ ้มลุก ไมเ้ ถา ขเี้ หล็ก หญ้าหนวดแมว ฟา้ ทะลายโจร ดปี ลี ทเุ รยี นเทศ ขลู่ ขมิ้นชนั มะแว้งเครอื ส้มแขก ไพล หางไหลแดง ทองพันชั่ง ตะไครห้ อม บอระเพด็ การบูร ชุมเห็ดเทศ เปราะหอม กานพลู มะแวง้ ต้น แมงลกั ฟกั ข้าว จนั ทนเ์ ทศ กระเจีย๊ บแดง เร่ว พลู ฝาง เจตมลู เพลงิ ลำ� โพง อัญชัน เพกา พมิ เสนตน้ ว่านน�ำ้ มะรุม ระยอ่ ม โสมไทย กวาวเครือ มะค�ำดีควาย สม้ ป่อย หญา้ ปกั ก่ิง ข้าวเย็นเหนือขา้ วเยน็ ใต้ มะขามแขก พญายอ หญา้ หวาน มะขามปอ้ ม เสลดพังพอนตวั ผู้ โคคลาน สมอพเิ ภก หนุมานประสานกาย ว่านหางจระเข้ เถาวัลย์เปรียง อบเชย ทองพันช่งั กระวาน บอระเพด็ พุงช้าง พุงทะลาย กระดกู ไก่ดำ� สำ� โรง เนระพูสไี ทย รางจดื สม้ มือ วา่ นชกั มดลูก หนอนตายหยาก สะค้าน เพชรสงั ฆาต ชุมเหด็ เทศ 6 พืชสมนุ ไพร ภมู ิปญั ญาไทย

จ�ำแนกพชื สมนุ ไพรตามส่วนที่น�ำมาใชป้ ระโยชน์ พชื สมุนไพรจากราก พืชสมุนไพรจากส่วนราก มีมากมาย เช่น รากเจตมูลเพลิงแดง รากเจตมูลเพลิงขาว รากหนอน- ตายหยาก รากแฝกหอม รากกระชาย รากหญา้ คา รากยา่ นาง เปน็ ตน้ หนอนตายหยาก พชื สมนุ ไพรจากลำ� ตน้ ใต้ดนิ พืชสมุนไพรจากส่วนล�ำต้น ใตด้ นิ เช่น ขา่ ไพล ขม้ินชัน ขมนิ้ ออ้ ย บุก เป็นต้น ขมิน้ ชัน พชื สมุนไพรจากเปลือกต้น พืชสมุนไพรจากส่วนเปลือก ตน้ อาจเป็นทั้งเปลอื กช้ันนอก เปลอื ก ชั้นใน หรือแก่น ได้แก่ เปลือกอบเชย แก่นจันทน์ แกน่ ฝาง เปน็ ตน้ ฝาง พืชสมนุ ไพร ภมู ปิ ญั ญาไทย 7

พชื สมุนไพรจากใบ พื ช ส มุ น ไ พ ร จ า ก ส ่ ว น ใ บ ได้แก่ กะเพรา ข้ีเหล็ก บัวบก พลู พญายอ ผักบุ้งทะเล ตำ� ลึง ทองพนั ช่ัง ตะไครห้ อม เป็นต้น พญายอ พืชสมุนไพรจากสว่ นดอก พืชสมุนไพรจากส่วนดอก อาจใช้ทง้ั ดอก อาจเปน็ ดอกตูมกอ่ นบาน เชน่ กานพลู หรือดอกบานเต็มท่ี เชน่ อัญชัน สารภี หรอื ใชบ้ างส่วนของดอก เชน่ เกสรดอกบวั หลวง หญ้าฝร่นั กานพลู พืชสมุนไพรจากสว่ นของผล และเมลด็ พืชสมุนไพรจากส่วนของผล และเมลด็ ไดแ้ ก่ มะแว้งเครอื กระวาน สม้ แขก ยอ มะขามป้อม เป็นต้น ดปี ลี 8 พชื สมนุ ไพร ภมู ิปญั ญาไทย

จำ� แนกพืชสมุนไพรตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ การน�ำพืชสมุนไพรไปใช้ประโยชน์ให้ถูกต้องเป็นส่ิงส�ำคัญ เน่ืองจาก สมุนไพรแต่ละชนิดมีสรรพคุณ ประโยชน์ รวมทั้งการน�ำไปใช้แตกต่างกัน จะอธิบายถึงการจ�ำแนกสมุนไพรตามการใช้ประโยชน์ ดงั นี้ สมุนไพรทม่ี นี ้�ำมนั หอมระเหย (Essential Oil) พืชหลายชนิดสามารถน�ำมาสกัดน�้ำมันหอมระเหยได้ โดยวิธีการกล่ัน ซ่ึงจะได้น้�ำมันหอมระเหยมีกล่ิน หอมแตกต่างกันไปตามชนิดของพืชสมุนไพร น้�ำมัน หอมระเหยน้ีมีสารส�ำคัญที่สกัดออกมา ซ่ึงจะใช้ ประโยชน์ได้ตรงตามวัตถุประสงค์มากกว่า รวมทั้ง การใช้ในปริมาณที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับการน�ำ พืชสมุนไพรมาใช้ในรูปอื่น เช่น น�้ำมันตะไคร้หอม น�ำมาใช้เป็นส่วนผสมในแชมพู หรือใช้ท�ำสาร ไล่แมลง เปน็ ตน้ สมนุ ไพรทีใ่ ช้เปน็ ยารับประทาน พืชสมุนไพรหลายชนิดสามารถน�ำไปใช้รับประทานเพ่ือรักษาอาการ ของโรคได้ อาจใช้สมุนไพรชนิดเดียว หรือ หลายชนิดรวมกันก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ สารส�ำคัญท่ีมีอยู่ในพืชสมุนไพรชนิด น้ันๆ ท่ีออกฤทธ์ิเพื่อการบ�ำบัดรักษา เช่น บอระเพ็ดและฟ้าทะลายโจร แก้ไข้, กะเพรา ไพล ขิง แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ เปน็ ต้น ขิง พชื สมุนไพร ภูมิปญั ญาไทย 9

สมนุ ไพรทใ่ี ช้เปน็ ยาสำ� หรับใช้ ภายนอก เป็นพืชสมุนไพรท่ีสามารถน�ำ มาบ�ำบัดโรคที่เกิดขึ้นตามผิวหนัง แผลที่ เกิดขึ้นตามร่างกายรวมทั้งแผลในปาก อาจใช้สมุนไพรชนิดเดียวหรือหลายชนิด รวมกันก็ได้ ลักษณะของการน�ำมาใช้ มีหลายลักษณะ มีท้ังใช้สด บดเป็นผง ครีม ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับสารส�ำคัญท่ีมีอยู่ใน พืชสมุนไพร และความสะดวกในการน�ำ มาใช้ ตัวอย่างพืชสมุนไพรท่ีน�ำมาใช้เป็น ยาส�ำหรับใช้ภายนอก เช่น บัวบก หว้า โทงเทง ใช้รักษาแผลในปาก, ฝร่ัง กานพลู บัวบก ใชร้ ะงบั กลิ่นปาก เปน็ ตน้ สมุนไพรเสรมิ อาหาร สม้ แขก และเคร่อื งดมื่ พชื สมนุ ไพรหลายชนดิ สามารถ น�ำมาท�ำเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพอ่ื บ�ำรงุ สขุ ภาพไดเ้ ปน็ อย่างดี เช่น บกุ ดูดจับไขมันจากเส้นเลือด ลดน�้ำหนัก, ส้มแขก เปลี่ยนไขมันเป็นพลังงาน ลดนำ้� หนัก เป็นตน้ บุก 10 พืชสมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย

สมนุ ไพรเครอื่ งสำ� อาง เป็นการน�ำพืชสมุนไพรมาใช้อีกลักษณะหน่ึง การน�ำพืชสมุนไพรมาใช้ เป็นเครอื่ งสำ� อางมีมานานแล้ว และในปัจจบุ นั ได้รบั การยอมรับมากขนึ้ เน่อื งจาก ปลอดภัยกว่าการใช้สารสังเคราะห์ทางเคมี ท�ำให้มีผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นโดยมี สว่ นผสมของสมนุ ไพรเกิดขน้ึ มากมาย เช่น แชมพู ครมี นวดผม สบู่ โลช่ัน เปน็ ตน้ สมุนไพรป้องกันกำ� จดั ศัตรูพชื เป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์เบ่ือเมาหรือมีรสขม ซ่ึงมีคุณสมบัติในการปราบ หรือควบคุมปริมาณการระบาดของแมลงศัตรูพืช โดยไม่มีพิษตกค้างในผลผลิต ไม่มีพิษต่อผู้ใช้และสภาพแวดล้อม เช่น สะเดา หนอนตายหยาก ตะไคร้หอม ฟา้ ทะลายโจร ไพล เป็นต้น ต้นสะเดา พชื สมนุ ไพร ภูมปิ ัญญาไทย 11

12 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ตารางพชื สมนุ ไพรจำ� แนกตามการใชป้ ระโยชน์ ช่อื ช่อื อน่ื ๆ สว่ นท่ีใช้ประโยชน์ ลกั ษณะของพืช การน�ำไปใช้ประโยชน์ นำ้� มนั หอมระเหย (Essential Oil) ต้น, ใบ ตะไคร้หอม ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : เป็นพชื ตระกลู หญ้าชนิดหนึง่ • สกัดเปน็ น�้ำมนั ใช้ฉีดพน่ ไล่ยงุ Cymbopogon nardus (Linn.) เหงา้ มีชอ่ ดอกยาวโน้มลง ลกั ษณะ หรือน�ำตน้ มาทุบวางไวต้ าม Rendle ทั่วไปคล้ายกบั ตะไครแ้ กง แต่ มุมห้อง วงศ์ : Gramineae มีลักษณะล�ำตน้ ออกสีม่วงและ • ใชใ้ นอุตสาหกรรมสบู่ แชมพู ชือ่ สามญั : แข็ง ล�ำต้นและใบใหญย่ าว น้ำ� หอม Citronella grass มีกล่ินแรงกวา่ ตะไคร้แกง ชอ่ื ท้องถิน่ : จะไครมะขูด, ตะไคร้แดง ไพล ชื่อวิทยาศาสตร์ : ไมล้ ม้ ลกุ อายุหลายปี มเี หง้า • ใช้นำ้� มันหอมระเหยเปน็ ส่วน Zingiber cassumunar Linn. ใตด้ ินขนาดใหญ่ เนอ้ื ในสเี หลอื ง ประกอบของครีมทาภายนอก วงศ์ : Zingiberaceae อมเขยี วและมีกลิ่นหอมเฉพาะ ลดอาการอักเสบฟกชำ�้ ชอื่ สามัญ : ลำ� ตน้ แทงขน้ึ มาจากดิน มใี บ Cassumunar ออกตรงข้ามกนั ใบยาวเรียว ชือ่ ทอ้ งถน่ิ : ปลายใบแหลม โคนใบแผ่เป็น วา่ นไฟ ปูเลย ปลู อย กาบหุม้ ล�ำต้น ดอกออกเปน็ ช่อ สีเหลือง แทงจากดิน

ชอ่ื ช่อื อน่ื ๆ ส่วนทีใ่ ช้ประโยชน์ ลกั ษณะของพชื การนำ� ไปใช้ประโยชน์ กระวาน ชอื่ วิทยาศาสตร์ : ผล ลำ� ตน้ เป็นเหงา้ หรือหวั อยูใ่ ตด้ นิ • นำ� นำ้� มันหอมระเหยไปใช้ Amomum krervanh Pierre. ก้านใบโคง้ มกี าบใบติดกนั แตง่ กล่ินเหลา้ เครื่องดื่มตา่ งๆ ทีม่ าภาพ : http://www.biogang.net/ วงศ์ : Zingiberaceae ใบออกสลบั กนั ทโี่ คนต้น รวมทั้งการทำ� น้ำ� หอม biodiversity_view.php?menu=biodiversi ช่อื สามญั : ใบมีสเี ขยี วเข้มเป็นมัน ปลายใบ ty&uid=5345&id=20065 Camphor Seeds, Round เรยี วแหลมโคนใบมน ผวิ ใบเรียบ Siam Cardarnon ใบสูงจากพืน้ ดินประมาณ ชอ่ื ท้องถ่นิ : 2-12 ฟุต ดอกออกเปน็ ชอ่ กระวานด�ำ กระวานแดง อยใู่ กลโ้ คนตน้ บรเิ วณดิน กระวานขาว กระวานจันทร์ กลีบดอกสเี หลือง ออกผลเปน็ ช่อ กระวานโพธิสัตว์ ผลกลม ชอ่ หนึ่งๆ มผี ลประมาณ 10-20 ผล เมลด็ มีกลน่ิ หอมฉุน คลา้ ยการบูร มรี สเผ็ด พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 13

14 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ชอื่ ชือ่ อืน่ ๆ ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ลกั ษณะของพืช การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ ยารบั ประทาน บอระเพด็ ช่อื วิทยาศาสตร์ : เถาสด, ล�ำต้น ไมเ้ ถาเลื้อยพัน เถาขนาดเท่า • ตน้ สดยาว 10 น้วิ ต้มคัน้ Tinospora crispa (L.) Miers นว้ิ กอ้ ย มีปุ่มปมตามเถากระจาย เอานำ้� ดื่ม ex Hook.f.& Thomson ท่วั ไป ใบเดี่ยวเหมือนใบโพธิ์ • เถาแกส่ ดหรอื ต้นสดต้มกบั น�้ำ วงศ์ : Menispermaceae เรียงตวั แบบสลับ ดอกมขี นาด 3 ส่วน เค่ยี วเหลือ 1 ส่วน ชอ่ื สามญั : เลก็ สเี ขยี วอมเขยี ว ผลรปู ไข่ • มีฤทธ์ชิ ่วยบรรเทาอาการไข้ Heart-Leaved Moonseed สีเหลืองหรอื สม้ เถามรี สขมจัด ช่อื ทอ้ งถิ่น : เครือเขาฮอ จุ่งจิง เจตมลู ย่าน จงุ่ จิงตัวแม่ (เหนอื ) เจตมลู หนาม (หนองคาย) หางหมู (อบุ ลราชธานี สระบุรี) ตวั เจตมลู ยาน เถาหวั ดว้ น (สระบรุ )ี เจด็ หมุนปลกู (ภาคใต้)

ชือ่ ชือ่ อื่นๆ ส่วนที่ใชป้ ระโยชน์ ลักษณะของพืช การน�ำไปใช้ประโยชน์ ฟา้ ทะลายโจร ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : ใบ, ลำ� ต้น ไมล้ ม้ ลุก สงู 30-60 เซนติเมตร • ท�ำแหง้ บดเป็นผงปั้นกับนำ้� ผึง้ ย่านาง Andrographis paniculata ท้งั ต้นมีรสขม ล�ำตน้ เป็นสี่เหลยี่ ม กินกอ่ นอาหาร (Burm.f.) Wall.ex Nees แตกก่ิงเลก็ ดา้ นขา้ งจำ� นวนมาก • ใบสดต้มน�้ำด่ืมก่อนอาหาร วงศ์ : Acanthaceae ใบสีเขียวเข้ม ตวั ใบเรยี ว • มีฤทธ์ิบรรเทาอาการไข้ ชอ่ื สามญั : ปลายแหลม ดอกขนาดเลก็ สีขาว และอาการเจ็บคอ Kariyat, The creat ประสีมว่ งแดง ฝักคล้ายต้อยต่งิ ชื่อทอ้ งถน่ิ : เมล็ดในสนี �้ำตาลออ่ น ฟา้ ทะลายโจร น้�ำลายพงั พอน หญา้ กนั งู ใบสด, ราก ไมเ้ ลอ้ื ย กงิ่ อ่อนมีขนปกคลุม • ใช้รากแหง้ 1 กำ� มอื ตม้ น้ำ� ดม่ื ชือ่ วิทยาศาสตร์ : กิง่ แก่ผวิ จะคอ่ นขา้ งเรียบ • น�ำใบยา่ นางสดโขลกให้ Tiliacora triandra (Colebr.) ใบเป็นใบเดีย่ วรปู รา่ งคลา้ ยรูปไข่ ละเอยี ดแล้วเติมน�ำ้ หรือ Diels. ปลายใบเรยี ว ฐานใบมน ขนาดใบ ขย้ใี บย่านางกับนำ้� กรองผ่าน วงศ์ : Menispermaceae ยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร กระชอนเอาแต่น้ำ� ชอ่ื สามญั : ใบอยตู่ ิดกบั ลำ� ต้นออกแบบสลบั ดื่มครงั้ ละครง่ึ ถึงหนง่ึ แก้ว พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 15 Bamboo grass ดอกเป็นดอกชอ่ สีเหลือง วนั ละ 2-3 เวลาก่อนอาหาร ชือ่ ท้องถน่ิ : ออกตามซอกใบ ผลของย่านาง หรือตอนทอ้ งว่าง จ้อยนาง เถาวลั ยเ์ ขียว ยาดนาง เป็นรปู รา่ งกลมรี ขนาดเลก็ • มีฤทธบ์ิ รรเทาอาการไข้ วันยอ เถารอ้ ยปลา เถาย่านาง เม่ือแก่จะเปลี่ยนเปน็ สเี หลอื ง ย่านางขาว ยา่ นนาง หญ้าภคนิ ี อมแดง

16 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ช่ือ ชอ่ื อนื่ ๆ สว่ นท่ใี ช้ประโยชน์ ลักษณะของพชื การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ดีปลี ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : ชอ่ ผลแก่ ไมเ้ ถาเลอ้ื ย ล�ำตน้ เป็นข้อและ • ใช้ครงึ่ ผล ตำ� ให้ละเอยี ด มะขามปอ้ ม Piper retrofractum Vahl. ผลสด/แห้ง มีรากออกตามข้อ เพ่อื ใช้ยดึ เกาะ เตมิ น�ำ้ มะนาวและเกลอื วงศ์ : Piperaceae กับหลกั หรอื เก่ยี วพันไมอ้ ่นื เลก็ นอ้ ย กวาดคอหรอื ช่ือสามัญ : ดอกดปี ลีเปน็ ดอกช่อ ดอกย่อย จบิ บ่อยๆ Indian Long Pepper ไม่มกี า้ น อัดตดิ แน่นอยู่ในช่อ • มฤี ทธิ์บรรเทาอาการไอ ชือ่ ทอ้ งถน่ิ : ซงึ่ มีรปู ร่างคล้ายกระบอง ดปี ลเี ชอื ก ประดงขอ้ ปานนุ มปี ลายเรยี วมน ผลเปน็ ผลรวม พษิ พญาไฟ ปีกผวั ะ ฝงั อย่กู บั แกนรูปทรงกระบอง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : เม่อื ออ่ นมีสีเขยี วและเมื่อแก่ Phyllanthus emblica Linn. มสี สี ม้ แดง วงศ์ : Euphorbiaceae ไมย้ ืนต้น สูง 8-20 เมตร • ใช้ผลสดตำ� ค้ันน�้ำด่ืม ชื่อสามญั : ผวิ ของลำ� ต้นเป็นสีหมน่ หรอื • กัดเนือ้ เค้ยี วอมบ่อยๆ Emblic Myrobalan, ดา่ งเทา ค่อนขา้ งเรียบเกล้ียง ใบ • มีฤทธ์บิ รรเทาอาการไอ Malacca tree คลา้ ยใบมะขาม แต่เล็กกว่า ชอ่ื ท้องถนิ่ : ผลกลมผิวเรียบใส สีเขียวอ่อน กำ� ทวด กันโตด สันยาสา่ มัง่ ลู มรี อยแบ่งเปน็ 6 ซีก

ชอ่ื ชื่ออ่นื ๆ ส่วนทใี่ ชป้ ระโยชน์ ลักษณะของพชื การนำ� ไปใช้ประโยชน์ มะแวง้ เครือ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : ผลสด/แห้ง ไมเ้ ลอื้ ยมีหนาม ใบคลา้ ยตำ� ลงึ • ผลสด 5-6 ผล เคี้ยวอมไว้ ขมน้ิ ชนั Salanum trilobatum Linn. ผวิ ใบอาจเรยี บหรอื มหี นามเล็กๆ กลืนเฉพาะนำ้� จนหมดรสขม วงศ์ : Solanaceae ดอกสีม่วงคลา้ ยดอกมะเขือ คายกากทิ้ง ชือ่ สามัญ : ลกู ดบิ กลม เล็กๆ สีเขียว • ผลสด 5-10 ผล โขลกพอแตก - เป็นลาย ลูกสกุ เปล่ียนเป็นสีแดง คั้นน้ำ� ใสเ่ กลือ จิบบอ่ ยๆ ชอ่ื ท้องถ่นิ : มะแวง้ เถา แขวง้ เควีย • มฤี ทธบ์ิ รรเทาอาการไอ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : เหง้าสดและแห้ง พชื ลม้ ลกุ อายุหลายปี • หน่ั ขมิน้ บางๆ (ไม่ปอกเปลอื ก) Curcuma longa Linn. มีเหงา้ ใต้ดิน เนอื้ ในของเหงา้ ตากแดด 1-2 วัน บดละเอยี ด พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 17 วงศ์ : Zingiberaceae มีสีเหลืองเข้มจนถงึ สีแสดเขม้ ผสมน้�ำผง้ึ ปนั้ กินหลงั อาหาร ชอ่ื สามัญ : มีกลนิ่ หอมเฉพาะตัว ใบเปน็ และกอ่ นนอน Turmeric ใบเด่ียว แทงออกมาจากเหงา้ • ห่ันขมน้ิ ตากแดดหรอื ช่ือทอ้ งถิน่ : เรียงเป็นวงซ้อนทบั กัน อบ บดเปน็ ผงบรรจแุ คปซูล ขม้ิน ขมน้ิ แกง ขมิ้นหยอก ใบรูปหอก ก้านยาว ใบเหนียว • มฤี ทธิบ์ รรเทาอาการทอ้ งอดื ขม้ินหวั ขี้มิ้น หมิ้น เรียวและปลายแหลม ดอกเป็น ทอ้ งเฟ้อ ช่อทรงกระบอก ก้านช่อดอก แทงจากเหง้าโดยตรง ดอกฝอย มสี ีเหลืองอ่อน กลบี ประดบั สีเขยี วอมชมพู

18 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ช่อื ชื่ออน่ื ๆ สว่ นทใี่ ช้ประโยชน์ ลกั ษณะของพชื การน�ำไปใช้ประโยชน์ พรกิ ไทย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : ผลแกจ่ ดั ตากแห้ง ไม้เลอ้ื ย มีท้งั ต้นตวั ผแู้ ละตวั เมยี • ผลแก่บดเปน็ ผง ป้ันเป็น Piper nigrum Linn. ล�ำต้นมีข้อปลอ้ งชดั เจน และ ลกู กลอน วงศ์ : Piperaceae มรี ากเกาะพนั กบั ไมค้ ้างหรอื • ใชเ้ ป็นเครื่องเทศประกอบ ชื่อสามญั : พืชอื่น คล้ายรปู ไขห่ รือรี ดอก อาหาร Pepper, Black pepper, ออกเป็นช่ออย่ตู ามข้อใน • มีฤทธบ์ิ รรเทาอาการทอ้ งอดื White pepper ทิศทางตรงกนั ข้ามกบั ใบ ท้องเฟ้อ ชอ่ื ท้องถิน่ : ชอ่ ดอกตัวเมียมีกลบี ประดับ พริกน้อย รูปเกอื บกลม 3-5 แฉก ช่อดอกตัวผูม้ ีเกสรตวั ผู้ 2 อัน ผลรวมอยกู่ นั เป็นชอ่ ยาว 5-15 เซนติเมตร ผลรูปทรงกลม แกแ่ ลว้ มสี ดี ำ� ภายในมี 1 เมล็ด ขา่ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : เหง้าแก่สดหรอื แห้ง ไมล้ ้มลุกมเี หง้าใตด้ นิ สนี ำ้� ตาล • ใช้เหงา้ สด 5 กรัม หรอื แห้ง Alpinia galanga (L.) Willd. อมแสด มีกล่ินหอมเฉพาะ 2 กรมั ตม้ น�ำ้ ดมื่ วงศ์ : Zingiberaceae มขี อ้ ปล้องสั้น ก้านใบแผ่เปน็ • มีฤทธิ์บรรเทาอาการท้องอดื ช่อื สามัญ : กาบหุ้มซอ้ นกนั ดูคล้ายล�ำตน้ ท้องเฟ้อ Galanga แตกกอ ใบเดยี่ ว เรียงสลับ ชื่อทอ้ งถน่ิ : รอบลำ� ต้น เหนือดนิ ขา่ หยวก ข่าหลวง ใบรปู ใบหอก ดอกชอ่ แยกแขนง ต้งั ขนึ้ ขนาดใหญ่ ออกท่ปี ลายยอด ทม่ี าภาพข่า : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=klongrongmoo&month=04-2012&group=24

ชอื่ ช่อื อนื่ ๆ สว่ นท่ใี ชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะของพชื การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ เพชรสังฆาต ช่ือวิทยาศาสตร์ : ลำ� ตน้ สดหรอื แห้ง ไม้เล้ือย เถารปู ส่ีเหลย่ี ม • ใชล้ �ำตน้ ยาว 6-9 เซนติเมตร หญา้ หนวดแมว Cissus quadrangularis Linn. ใบและยอด เปน็ ปล้องๆ สเี ขยี วออ่ น อวบน�้ำ ห่ันบางๆ ห่อดว้ ยกล้วย วงศ์ : Vitaceae ตรงขอ้ เล็ก รัดตวั ลง มมี อื ยดื ออก กลืนทั้งหมด ชื่อสามญั : จากขอ้ ใบเป็นรปู สามเหลีย่ ม • ลำ� ตน้ ดองเหล้า 7 วัน - ปลายมน ออกทีข่ ้อๆ ละ 1 ใบ • มีฤทธิช์ ่วยบรรเทาอาการ ช่ือทอ้ งถิน่ : ผิวใบเรียบ ดอกกลมเล็ก รดิ สีดวงทวาร ขั่นข้อ สนั ชะควด สามร้อยตอ่ สแี ดงเขียว เป็นชอ่ เล็ก ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : ออกตามข้อ Orthosiphon grandiflorus ไมพ้ ุ่ม สงู 0.5-1.0 เมตร • น�ำหญา้ หนวดแมวทงั้ กา้ น พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 19 Boldingh ล�ำต้นเป็นสเี่ หลย่ี ม ใบเด่ยี ว และใบตากแหง้ ประมาณ วงศ์ : Lamiaceae (Labitaea) รปู ไข่ ปลายและโคนแหลม 1 หยิบมือ ชงกบั นำ้� ร้อน ชอ่ื สามัญ : ขอบใบหยกั แบบฟันเล่ือย 3 แกว้ รอให้อนุ่ ด่มื ต่างนำ้� Cat’s Whisker ดอกออกเป็นชอ่ สวยงาม หรอื ดมื่ ครงั้ ละ 1 แก้ว ชื่อท้องถิ่น : ลกั ษณะคลา้ ยฉตั ร เปน็ ชนั้ ๆ วนั ละ 3 เวลา พยับเมฆ สขี าวหรือม่วง มีเกสรตัวผู้ยาว • มีฤทธิช์ ว่ ยแกอ้ าการนวิ่ คลา้ ยหนวดแมว ขับปสั สาวะ บำ� รงุ ไต

20 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ช่อื ช่อื อน่ื ๆ ส่วนท่ใี ช้ประโยชน์ ลักษณะของพชื การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ชมุ เหด็ เทศ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : ดอกสด ใบสดหรอื แห้ง ไม้พมุ่ สูง 1-3 เมตร แตกกง่ิ • ใชด้ อกชมุ เห็ดเทศ 1 ช่อ มะขามแขก Cassia alata Linn. ใบแห้ง และฝกั แหง้ ออกดา้ นขา้ ง ใบรปู ไข่ ออกเป็นคู่ ตม้ กินกบั นำ้� พรกิ วงศ์ : Caesalpiniaceae ตรงกันขา้ ม ตัง้ ฉากกับก่ิง • น�ำใบชุมเห็ดเทศ 12 ใบ ชอ่ื สามญั : ดอกออกเปน็ ชอ่ ใหญต่ ามซอกใบ หัน่ ตากแห้ง ใช้ตม้ น�้ำดมื่ Ring Worm Cassia ใกล้ปลายก่ิง กลีบดอกสีเหลอื ง • มีฤทธเิ์ ปน็ ยาระบาย ชือ่ ท้องถิน่ : ผลเปน็ ฝกั แบนและยาวคลา้ ยไม้ ช่วยบรรเทาอาการทอ้ งผกู ชมุ เหด็ ใหญ่ ขคี้ าก ลบั มนื หลวง ถ่ัวพู ฝักแก่สดี ำ� เมล็ดเป็นรปู หมากกะลิงเทศ สามเหลี่ยม ผวิ ขรขุ ระสดี �ำ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : เป็นไมพ้ มุ่ ใบคลา้ ยมะขามไทย • ใชใ้ บแหง้ 1-2 ก�ำมือ Cassia angustifolia Vahl. แต่ยาวและปลายใบแหลมกว่า ตม้ กบั น้ำ� ดื่ม วงศ์ : Caesalpiniaceae ดอกออกเป็นช่อสเี หลือง • ฝักแหง้ 10-15 ฝัก ชอ่ื สามัญ : ฝกั คลา้ ยถวั่ ลันเตา ขงิ 1 กรัม กานพลู 1-2 ดอก Indian Senna แต่ปอ้ ม และแบนกว่า ตม้ กบั น้�ำ 1 แกว้ ชื่อท้องถ่นิ : • มีฤทธ์เิ ปน็ ยาระบาย - ชว่ ยบรรเทาอาการท้องผูก ท่ีมาภาพมะขามแขก : http://www.monmai.com/มะขามแขก/

ช่อื ชื่ออนื่ ๆ สว่ นท่ใี ชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะของพชื การน�ำไปใช้ประโยชน์ ข้ีเหลก็ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : ใบและยอด ไมย้ นื ตน้ ขนาดกลาง • ใบสด 50 กรัม หรอื ใบแห้ง เถาวัลย์เปรียง Cassia siamea Lamk. จนถึงใหญ่ ใบเปน็ ใบประกอบ 30 กรัม ใสเ่ หล้าขาว วงศ์ : Leguminosae ออกเรียงตรงขา้ มกนั ใบย่อย แช่ไว้ 7 วนั ดื่มกอ่ นนอน ชอ่ื สามัญ : มรี ูปรา่ งมนขนาดเลก็ • ใชป้ ระกอบอาหาร Cassod tree, Siamese Cassia ดอกช่อสีเหลอื ง ฝกั แบนยาว • มฤี ทธชิ์ ว่ ยแกอ้ าการ ช่ือทอ้ งถิ่น : นอนไมห่ ลับ ขเ้ี หล็กบ้าน ข้เี หลก็ ใหญ่ ขเ้ี หลก็ หลวง ผกั จีล้ ้ี และยะหา พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 21 ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : เถา ไม้เถาขนาดใหญ่ เถาใหญ่ • นำ� เถามาสับเป็นช้ินๆ Derris scandens Benth. มักจะบดิ เนอื้ ไม้มีวงสเี ขม้ ตากแดดให้แหง้ นำ� มา วงศ์ : Leguminosae มี 2 ชนิด คือชนดิ แดง เน้อื สีแดง ต้มดมื่ ตา่ งน�้ำจนยาจดื ชือ่ สามัญ : และวงสแี ดงเข้ม ชนดิ ขาว • แก้ปวดเมื่อย Jewel Vine เน้ือออกสีนำ้� ตาลออ่ นๆ ชอื่ ทอ้ งถิน่ : วงสนี �ำ้ ตาลไหม้ ใบเปน็ รปู ไข่กลับ เครือตาปลา เครอื ตบั ปลา ผวิ เรียบมัน ขอบเรียบ ดอกเล็ก เครือเขาหนัง ย่านเหมาะ เปน็ ชอ่ พวงระยา้ สขี าว ฝกั แบน ยาว ออกเปน็ พวง

22 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ชือ่ ชื่ออนื่ ๆ สว่ นท่ใี ชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะของพชื การน�ำไปใช้ประโยชน์ ยาใช้ภายนอก วา่ นหางจระเข้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : กาบใบ เปน็ พชื ลม้ ลกุ ลำ� ต้นส้ัน • ตัดกาบใบว่านหางจระเข้ พญายอ Aloe barbadensis Mill. ใบงอกใกล้พ้นื ดนิ เรยี งสลบั มาล้างให้สะอาด แล้วแช่นำ�้ ไว้ วงศ์ : Liliaceae ซ้อนกันอยู่ ใบหนา อวบน้ำ� 5 นาที เพอื่ ให้ยางไหล ชื่อสามัญ : ยาว 30-50 เซนตเิ มตร ออกจนหมด น�ำว่านหางจระเข้ Aloe, Star cactus, Barbados ริมใบหยกั และมหี นามเล็กๆ มาเฉอื นหนามทงั้ สองข้างออก ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ : ภายในใบมีวนุ้ ใสๆ แลว้ ใชม้ ดี ผ่าเน้ือว้นุ ออก วา่ นไฟไหม้ หางตะเข้ ระหวา่ งเปลอื กและวนุ้ เป็น 2 ช้ิน นำ� วุน้ วา่ นหาง มยี างสีเหลือง จระเข้มาทาแผล ดอกออกเป็นช่อสสี ม้ แดง • มฤี ทธช์ิ ่วยรักษาแผลไฟไหม้ ดอกยาว 50-100 เซนติเมตร นำ้� ร้อนลวก แผลเรอ้ื รัง บำ� รงุ ผวิ บ�ำรุงเส้นผม ช่ือวิทยาศาสตร์ : ใบสด ไมพ้ ่มุ กึง่ เลอื้ ย สงู 1-3 เมตร • ใบสด 5-10 ใบ ต�ำหรอื ขยี้ Clinacanthus nutans ลำ� ตน้ มีผวิ เรียบสีเขยี ว ใบเดย่ี ว (อาจผสมเหล้าขาว) ทาบริเวณ (Burm.f.) Lindau ออกเปน็ ค่ตู รงขา้ ม ใบรูรยี าว ทถ่ี ูกแมลงกัด วงศ์ : Acanthaceae ปลายใบและยอดโคนใบแหลม • มฤี ทธิ์ช่วยรกั ษาอาการ ชื่อสามญั : ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด แมลง สตั วก์ ดั ตอ่ ย - กลบี ดอกสีแดงส้ม โคนกลบี ดอก ชอื่ ทอ้ งถน่ิ : ติดกันเป็นหลอด ปลายแยก เสลดพังพอนตวั เมีย เป็น 2 ส่วน พญาปลอ้ งทอง พญาปล้องดำ� ผักล้นิ เขียด ผกั มันไก่ ล้ินมงั กร

ชอื่ ชือ่ อ่ืนๆ ส่วนทีใ่ ชป้ ระโยชน์ ลักษณะของพชื การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ทองพันช่งั ชือ่ วิทยาศาสตร์ : รากและใบ ไมพ้ ่มุ สูง 1-2 เมตร กิง่ ออ่ น • นำ� รากหรือใบ มาหน่ั เป็นชิ้นๆ Rhinacanthus nasutus (L.) มักเป็นสนั สี่เหลยี่ ม ใบรยี าว ตากแดดให้แห้ง แช่เหลา้ Kurz ปลายแหลมท้ายแหลม ใบงอก หรอื แอลกอฮอล์ใหท้ ่วมยา วงศ์ : Acanthaceae ออกจากก่งิ เปน็ คู่ๆ ลักษณะเดน่ เกบ็ ไว้ 7 วัน กรองน�้ำยาไวใ้ ช้ ช่อื สามญั : อยู่ท่ดี อกออกเปน็ ชอ่ มีสีขาว ใชส้ ำ� ลชี บุ ทาแกโ้ รคผิวหนงั White crane flower คลา้ ยนกกระยาง วนั ละ 4 คร้งั เช้า กลางวัน ชือ่ ทอ้ งถน่ิ : เยน็ และก่อนนอน หญ้ามันไก่ ทองคนั ช่ัง • มฤี ทธแ์ิ กก้ ลากเกล้อื น ผืน่ คัน พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 23

24 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ชือ่ ชือ่ อ่ืนๆ ส่วนที่ใช้ประโยชน์ ลักษณะของพืช การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ อาหารเสรมิ และเคร่อื งดม่ื กระเจี๊ยบแดง ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : ดอกกระเจี๊ยบ ไมพ้ มุ่ ลำ� ตน้ สีแดงอมมว่ ง • นำ� ไปท�ำชากระเจ๊ยี บ Hibiscus sabdariffa Linn. ใบแยกเปน็ 3-5 แฉก แฉกเป็น • ช่วยขบั ปสั สาวะ ขบั น่วิ ในไต วงศ์ : Malvaceae รูปหอก ดอกสีเหลืองออ่ น และกระเพาะปสั สาวะ และ ชื่อสามัญ : หรือชมพอู ่อน กลางดอกเปน็ แก้กระหายน้�ำ Rosella, Jamaican Sorrel สแี ดงเลอื ดนก ผลกลม ชื่อท้องถนิ่ : ปลายแหลม มกี ลบี เลีย้ งสแี ดง ส้มเกง็ ส้มปู สม้ พอเหมาะ ยืน่ ยาวแนบกบั ผลอกี ที ส้มพอดี ค�ำฝอย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : ดอก พืชลม้ ลุก ฤดเู ดียว • กลีบดอกน�ำไปตากแหง้ ทำ� ชา Carthamus tinctorius Linn. สูง 40–130 เซนติเมตร • ช่วยลดระดบั ไขมนั ในเลือด วงศ์ : Compositae ลำ� ตน้ เปน็ สนั มใี บเด่ยี วรปู หอก ชอ่ื สามญั : ขอบใบหยกั ปลายเป็น Safflower, American หนามแหลม ดอกชอ่ มีดอกยอ่ ย Saffron, False Saffron, เล็กๆ เมอื่ บานใหมๆ่ มีสีเหลอื ง Saffron Thistle แลว้ คอ่ ยเปลี่ยนเปน็ สม้ แดง ชอ่ื ท้องถ่ิน : ดอกคำ� ค�ำหยุม ค�ำหยอง ดอกค�ำ

ช่อื ชอ่ื อ่ืนๆ สว่ นที่ใชป้ ระโยชน์ ลักษณะของพืช การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ บกุ เน้อื ทราย ชอื่ วิทยาศาสตร์ : หัว พชื ลม้ ลกุ หัวใตด้ ิน มลี ักษณะ • แปรรูปเป็นผลติ ภัณฑต์ ่างๆ Amorphophallus กลมแป้น ผิวเรียบขรุขระ เช่น เส้นวุน้ แทง่ วุ้น ผงชงดม่ื oncophyllus Prain. เลก็ น้อย ล�ำต้นรปู ทรงกระบอก กลูโคแมนแนนบรรจแุ คปซูล วงศ์ : Araceae ปลายเรียวเลก็ กว่าส่วนโคน และเป็นสว่ นผสมในอาหาร ชื่อสามัญ : เลก็ น้อย ลกั ษณะอวบน�้ำ • กลูโคแมนแนนในบกุ Elephant Yam, ผวิ เรยี บ มีสีและลายสขี องตน้ ชว่ ยขดั ขวางการดดู ซึมน้ำ� ตาล Elephant Bread หลายลักษณะ ใบเกิดบนก้านใบ คอเลสเตอรอล และ ชอ่ื ท้องถ่ิน : ที่สว่ นปลายสดุ ของตน้ มีหัว ไตรกลีเซอไรด์ ทจ่ี ะ บกุ ไข่ บนใบเกิดขึ้นตรงแยกกา้ นใบ เขา้ สู่กระแสเลอื ด ทป่ี ลายสุดของต้นตรงจุดแยก ระหวา่ งใบยอ่ ย พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 25

26 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ชือ่ ชอื่ อืน่ ๆ ส่วนทใี่ ชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะของพืช การน�ำไปใช้ประโยชน์ เครื่องส�ำอาง อัญชัน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : ดอก ไม้เลอ้ื ย ใบเป็นใบประกอบ • ใช้เป็นส่วนผสมในแชมพู มะค�ำดคี วาย Clitoria ternatea Linn. ใบยอ่ ยออกเป็นคๆู่ ตดิ กับลำ� ตน้ • ชว่ ยให้เสน้ ผมดำ� เงางาม วงศ์ : Leguminosae ใบยอ่ ย รูปร่างรหี รอื ขอบขนาน ชอ่ื สามัญ : ปลายใบมน เน้อื ใบค่อนขา้ งเรยี บ Butterfly Pea หรอื มขี นอ่อนทัง้ ดา้ นบนและ ชอ่ื ท้องถ่ิน : ดา้ นลา่ ง ดอกมีหลายสี คือ แดงชัน เอ้ืองชนั บงั จัน สีขาว ชมพู มว่ ง นำ�้ เงนิ กลบี ดอกตดิ กนั มที ั้งชนดิ ช้นั เดยี ว หรือหลายช้นั ซอ้ นกัน ฝักแบนยาวมีขนทว่ั ไป ช่อื วิทยาศาสตร์ : เน้อื ผล ไมย้ ืนตน้ สูง 10-30 เมตร • ใชเ้ ป็นส่วนผสมในแชมพู Sapindus emarginatus Wall. แผ่กิ่งกา้ นและแตกใบสว่ นบน • นำ� เน้ือผลมะค�ำดีควาย วงศ์ : Sapindaceae ของลำ� ต้น ใบเป็นใบประกอบ 1-2 ผล มาแกะแลว้ ตกี บั ชอ่ื สามญั : มีใบย่อยออกตรงข้ามกันหรือ น�ำ้ สะอาด จะใหฟ้ อง Soap Nut Tree ทะแยงกันเลก็ นอ้ ย รูปรา่ งใบ น�ำฟองไปลา้ งสระผม ชอื่ ทอ้ งถิ่น : เรียวยาว ดอกสีขาวหรือ สระทกุ วันประมาณ 4-5 วนั ประคำ� ดคี วาย มะซัก หวกั ซกั สีเหลอื งออ่ น ผลกลมเปน็ พวง แผลท่ีศีรษะจะดีข้ึน ส้มป่อยเทศ สีสม้ เมื่อสุกกลายเปน็ สดี �ำ • ช่วยรกั ษาชันนะตุ ศีรษะ เปน็ เม็ดผน่ื คนั ท่ีมาภาพมะค�ำดีควาย : http://www.samunpri.com/wp-content/uploads/2013/05/ประค�ำดีควาย.jpg

ชื่อ ชื่ออ่ืนๆ ส่วนทใ่ี ชป้ ระโยชน์ ลักษณะของพชื การน�ำไปใช้ประโยชน์ บัวบก ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : ใบ ไม้ล้มลุก เลื้อยแผ่ไปตามดนิ • ใช้เป็นส่วนผสมในสบู่ Centella asiatica (Linn.) ราก เป็นไหล มีรากงอกออกตาม • ช่วยบำ� รุงผวิ และระงบั เช้อื Urban ขอ้ ของล�ำต้น ก้านใบงอกตรง แบคทีเรยี วงศ์ : Umbelliferae จากดิน ใบสีเขียว รปู ร่างกลม ชอ่ื สามัญ : ฐานใบโค้งเวา้ เข้าหากัน Asiatic Pennywort, ขอบใบเปน็ คลื่นหยัก Tiger Herbal ดอกขนาดเลก็ สมี ว่ งเข้ม ชื่อทอ้ งถน่ิ : ผกั แวน่ ผกั หนอก ป้องกันกำ� จัดศัตรูพชื หนอนตายหยาก ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : ไม้เล้อื ยมีรากใต้ดนิ จ�ำนวนมาก • น�ำรากหนอนตายหยาก Stemona collinsae Craib. มีรูป ลกั ษณะคลา้ ยกระสวยหรือ ประมาณ 1 กิโลกรมั พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 27 วงศ์ : Stemonaceae ทรงกระบอก อยกู่ ันเปน็ พวง ตำ� ให้ละเอียด แช่ใน ชอ่ื สามญั : ยาวได้ถึง 10-30 เซนตเิ มตร ใบเดย่ี ว น้ำ� มะพร้าวหรือน�้ำเปล่า 1 ป๊บี - ตดิ อยกู่ บั ลำ� ต้นแบบตรงกันข้าม หมกั ทิง้ ไว้ 1 คนื นำ� มาฉีดพ่น ชอื่ ท้องถิ่น : ใบมลี กั ษณะเปน็ รูปหวั ใจคลา้ ย เพ่อื ก�ำจดั แมลง ปงมดงา่ ม โปง่ มดง่าม ปงช้าง ใบพลู ก้านใบยาว เสน้ ใบมีหลาย ฮากสามสบิ รากลิง สลอดเชียงคำ� เส้นออกในแนวขนานกบั ขอบใบ กะเพยี ด ดอกออกเปน็ ชอ่ ประกอบคล้าย ดอกย่อยๆ สขี าวหรอื ม่วงอ่อน จ�ำนวนมาก ผลค่อนข้างแขง็ สนี ้ำ� ตาลขนาดเล็ก

28 พชื สมนุ ไพร ภมู ปิ ัญญาไทย ชอ่ื ช่อื อนื่ ๆ สว่ นทใ่ี ชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะของพืช การนำ� ไปใช้ประโยชน์ หางไหลแดง ชือ่ วิทยาศาสตร์ : ราก ไม้เล้อื ยชนิดเนอ้ื แข็ง • น�ำรากหางไหลอายุประมาณ สะเดา Derris elliptica (Roxb.) ใบ,เมลด็ มใี บประกอบแบบขนนก 2 ปมี าบด หรอื ทบุ ใหแ้ หลก Benth. มใี บย่อย 7 ใบ ข้ึนไป ใบออ่ น แช่น�้ำในอตั รารากหางไหล วงศ์ : Leguminosae มสี ีแดง ออกดอกเปน็ ช่อ 0.5-1 กิโลกรัม ตอ่ น�้ำ 20 ลติ ร ชอ่ื สามญั : มีขนาดเลก็ และสีแดงอ่อน หมกั ประมาณ 2 วัน โดย Derris (tuba root) รูปรา่ งของดอกคล้ายดอกถว่ั ใช้ไมก้ วนระหวา่ งการหมกั ช่อื ทอ้ งถิ่น : ผลเป็นฝกั ฝักแบนไมย่ าวมาก 3-4 คร้งั ครบ 2 วนั โลต่ ๊นิ อวดน้ำ� ไหลน้�ำ กะพำ� คลา้ ยฝักอญั ชนั กรองเอากกากออก เพาะ เครอื ไหลน้ำ� โพตะโกซ่า ไม้ยืนต้น สูง 5-10 เมตร • ใชก้ �ำจดั หนอนไดด้ ี ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : เปลอื กตน้ แตกระแหงเปน็ ร่อง • น�ำเมล็ดสะเดามาบด แล้วนำ� Azadirachta indica A.Juss. เล็กๆ ใบเลก็ ยาว ขอบใบ ผงสะเดาจ�ำนวน 1 กิโลกรมั var. siamensis Valeton เป็นจกั เลก็ ๆ ทกุ ส่วนของต้น แช่ผสมน�ำ้ 20 ลติ ร วงศ์ :Meliaceae มีรสขม กวนเป็นครงั้ คราว แช่ทิง้ ชื่อสามญั : ค้างคนื กรองดว้ ยผ้าขาวบาง Siamese neem tree, Nim, เมื่อน�ำไปฉดี ควรผสมกบั Mrgosa, Quinine น้�ำยาจบั ใบ ใชต้ ดิ ตอ่ กนั ชอ่ื ทอ้ งถิ่น : กะเดา สะเลยี ม 2-3 ครง้ั ห่างกัน 5-7 วัน • ใช้ปอ้ งกันหนอนกดั ใบต่างๆ และเพลยี้ ไดด้ ี ท่ีมาภาพสะเดา : http://frynn.com/สะเดา/

พญายอ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau



ปลกู และดูแล สภาพแวดลอ้ มและพนื้ ทป่ี ลกู พืชสมุนไพร เลือกสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมกบั ชนิดสมนุ ไพรดงั นี้ แสง พืชสมุนไพรบางชนิดสามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีเม่ือปลูก ในสภาพกลางแจ้ง เช่น กระเจ๊ียบแดง มะแว้งเครือ ว่านหางจระเข้ เป็นต้น แต่บางชนิดต้องการแสงน้อย เช่น กระวาน วานิลลา ปัญจขันธ์ เป็นต้น จึงต้องมีการดูแลให้เหมาะสม เพื่อให้พืชมีการเจริญเติบโตเต็มที่ซ่ึงจะมีผล ตอ่ ปรมิ าณสารส�ำคญั อีกด้วย แปลงปลกู ปัญจขันธ์ พืชสมุนไพร ภมู ิปญั ญาไทย 29

อุณหภูมิ การท่ีพืชได้รับอุณหภูมิที่เหมาะสมมีผลต่อการเจริญเติบโตและออกดอก ติดผล โดยทั่วไปสมุนไพรหลายชนิดขึ้นได้ในทุกสภาพอากาศ อุณหภูมิที่เหมาะสม ต่อการเจริญเตบิ โต คือ 18-35 องศาเซลเซียส ปรมิ าณน้�ำและความชนื้ ปลูกในพ้ืนที่ที่มีปริมาณน้�ำฝนเพียงพอตามแต่ละชนิด หรือมีแหล่งน�้ำ เพียงพอในช่วงฤดูแล้งแต่มีพืชสมุนไพรหลายชนิดท่ีพักตัวในฤดูแล้ง เช่น บุก ขม้นิ บางชนดิ เจรญิ เติบโตและทนแลง้ เชน่ กระเจยี๊ บแดง นอกจากความชมุ่ ชน้ื ในดินแล้วความชุ่มช้ืนในอากาศก็เป็นสิ่งจ�ำเป็น พืชบางชนิดต้องการความชื้น ในอากาศสงู เชน่ กระวาน กานพลู เปน็ ต้น การให้น�้ำพญายอ 30 พชื สมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย

แปลงวา่ นหางจระเข้ พ้นื ท่ี การเลือกสภาพพ้ืนที่แวดล้อมให้เหมาะสมกับการปลูกพืชสมุนไพร แต่ละชนิด จะช่วยให้พืชนั้นๆ เจริญเติบโตดี ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ ท้ังยัง ลดค่าใช้จ่ายในการจัดการและการดูแลรักษา ดินร่วนซุยเป็นดินท่ีเหมาะกับ พืชสมุนไพรเกือบทุกชนิด ยกเว้นบางชนิดชอบดินเลนชายน้�ำ เช่น ว่านน้�ำ หรอื ว่านหางจระเข้ ชอบดนิ ร่วนปนทราย เป็นตน้ พื้นที่ปลูกสมุนไพรควรหลีกเลี่ยงพ้ืนท่ีที่มีความเส่ียงจากการปนเปื้อน อันเนื่องมาจากมลภาวะของดิน อากาศ และน�้ำท่ีเกิดจากสารเคมีอันตราย ประเมนิ ผลกระทบของการใชผ้ นื ดินที่ผ่านมาในอดตี พ้ืนท่ีปลูกสมุนไพรควรตรวจสอบดินและน้�ำ เพ่ือน�ำผลมาปรับปรุงดิน และหลกี เลี่ยงแปลงขา้ งเคยี งทใ่ี ชส้ ารเคมีอนั ตรายท่ีอาจทำ� ใหม้ กี ารปนเป้อื นได้ พื้นที่ปลูกควรเป็นพื้นท่ีที่มีความสูงจากระดับน�้ำทะเลเหมาะสมกับ พืชแต่ละชนิด เพราะจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกติดผล ความลาดเอียงของพ้ืนท่ีเหมาะสมไม่มากจนหน้าดินถูกชะล้างได้ง่าย ลักษณะ ดิน ควรเป็นดินท่ีอุดมสมบูรณ์ มีอินทรียวัตถุสูง และมีการระบายน�้ำที่ดี ยกเว้น สมนุ ไพรทช่ี อบท่ีชื้นแฉะ พชื สมุนไพร ภูมปิ ัญญาไทย 31

รางจดื ชนิดพชื สมนุ ไพรทจ่ี ะปลูก การปลูกพืชสมุนไพร ก่อนปลูกควรรู้จักชนิดและรายละเอียดเก่ียวกับ สมุนไพรที่จะปลูกให้ถูกต้อง เช่น รู้ชื่อท้องถิ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ ถิ่นที่อยู่ ลักษณะทั่วไปของพืชสมุนไพร ส่วนท่ีใช้เป็นยา เกษตรกรควรตรวจสอบความ ถูกต้องของช่ือ ช่ือท้องถิ่น ให้ถูกชนิดท่ีจะปลูก บางคร้ังมีชื่อพ้องกันแต่ เป็นคนละชนิดกัน เช่น หญ้าใต้ใบและลูกใต้ใบ หากผิดชื่อ ผิดต้น เมื่อสมุนไพร แห้งและจ�ำหน่ายในท้องตลาดจะยากในการจ�ำแนก ส่งผลต่อประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยตอ่ ผ้บู ริโภค มะแวง้ ฟ้าทะลายโจร 32 พืชสมนุ ไพร ภมู ิปัญญาไทย

เลอื กพนั ธุพ์ ชื สมุนไพรท่ีดี ต้นกลา้ วานิลลา ชนดิ หรอื พนั ธท์ุ ค่ี ดั เลอื กมาปลกู ควรเปน็ สายพนั ธ์ุ ทด่ี ที ใี่ ห้สารออกฤทธ์ิสูง ชนิดหรือพนั ธ์ุ เปน็ ท่ตี ้องการของผซู้ ื้อ พชื สมนุ ไพรจำ� นวนมากยงั มกี ารศกึ ษาพฒั นาพนั ธ์ุ ไม่มากนัก จึงควรใช้พันธุ์ท่ีมาจากแหล่งปลูกท่ีดี หรือ เป็นแหลง่ ทเ่ี ป็นถ่นิ ก�ำเนิดและกระจายพนั ธุข์ องพชื น้ัน วิธีการขยายพันธุแ์ บบไม่อาศัยเพศ เชน่ การตอน การทาบกิง่ จะทำ� ใหไ้ ด้ตน้ พนั ธทุ์ ไ่ี มก่ ลายพนั ธจ์ุ ากตน้ แม่ ท่ีดมี ีสารส�ำคัญ ส่วนที่ใช้ท�ำพันธุ์ต้องมีคุณภาพดี ปราศจากโรค แมลง และเหมาะสำ� หรบั ทำ� พันธุ์ เชน่ เหง้าแกร่ง เมล็ด หรอื ตน้ พันธสุ์ มบูรณ์ หลีกเล่ียงการใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่มีการปนเปื้อน ของพืชสมุนไพรชนิดอนื่ ๆ ตดิ มาระหว่างการผลติ ตน้ กลา้ ปัญจขันธ์ พืชสมุนไพร ภูมปิ ญั ญาไทย 33

การปรับปรุงดนิ แปลงปลูก การปลูกพืชสมุนไพรไม่ควรใช้สารเคมี หรือใช้เพียงเล็กน้อยท่ีจ�ำเป็น ดังน้ันการปรับปรุงดินปลูกสมุนไพรให้มีความอุดมสมบูรณ์ มีอินทรียวัตถุสูง มีหน้าดินลึกใกล้เคียงกับระบบรากพืช เพ่ือประกันการเจริญเติบโตและคุณภาพ ของพชื สมนุ ไพร โดยไมใ่ ช้ปุ๋ยเคมีจึงเป็นส่งิ ทจ่ี �ำเปน็ มาก การปลูกพืชสมุนไพร เน้นการใช้ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกจากมูลสัตว์ท่ีผ่าน การหมกั อยา่ งทว่ั ถงึ สมบูรณ์ การปรับปรุงดินแปลงปลูก ให้ไถเตรียมดินและท�ำให้ดินร่วนซุย ตากดิน อย่างน้อย 2 สัปดาห์เพื่อก�ำจัดวัชพืช โรค และแมลง ข้อนี้จ�ำเป็นมากเนื่องจาก ไม่ควรใชส้ ารเคมกี ำ� จดั วชั พืช โรค แมลง หลงั จาก ตากดินแล้วเป็นการเตียมดินคร้ังที่สอง เพื่อ พรวนดินและย่อยดินให้มีขนาดเล็กลง ท�ำความ สะอาด เพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ของดินและ ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมักชีวภาพ และน้�ำหมักชีวภาพพร้อมยกแปลงให้มีการ ระบายน้ำ� ทีด่ แี ละพ้นื ทร่ี าบเรยี บไมเ่ ปน็ หลมุ เกษตรกรผู้ปลูกพืชสมุนไพรควรผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมักชีวภาพ และน้�ำหมักชีวภาพ ไวใ้ ชเ้ อง 34 พืชสมนุ ไพร ภูมปิ ญั ญาไทย

การปลกู การเพาะเมล็ด พชื สมนุ ไพรที่ขยายพนั ธดุ์ ้วยวธิ ีน้ี ไดแ้ ก่ ฟ้าทะลายโจร มะขามแขก ชมุ เห็ดเทศ ค�ำฝอย มะแวง้ เครือ กระเจ๊ยี บแดง กานพลู จันทนเ์ ทศ เป็นต้น สามารถเพาะกล้า แล้วย้ายปลูก หรืออาจหว่านลงแปลงโดยตรง ถอนแยกให้มีระยะห่างต้นพอควรในภายหลัง เมล็ดใหญ่ควรหยอดลงหลุมโดยตรง การแยกหนอ่ พืชสมุนไพร เชน่ ว่านหางจระเข้ เตยหอม ขยายพันธุ์ ดว้ ยวิธีน้ี โดยการเลือกหนอ่ ท่แี ขง็ แรง มใี บประมาณ 2-3 ใบ ใช้ของมคี มขดุ แยก ออกมาจากต้นแม่อย่างระมัดระวังอย่าให้หน่อช้�ำ กลบโคนต้นแม่ น�ำหน่อที่ แยกปลกู ในถงุ หรือพน้ื ทีท่ เี่ ตรยี มไว้ รดน้ำ� และบังร่มเงาให้แขง็ แรงจึงย้ายปลูก การปลูกด้วยหัวเหง้า พืชท่ีขยายพันธุ์ด้วยวิธีนี้ ได้แก่ ขมิ้น ไพล ขิง ใช้หัวหรือแง่งพันธุ์จุ่มน�้ำยาฆ่าเชื้อ ฝังลึกพอประมาณ กดดินให้แน่นพอควร คลุมแปลงรกั ษาความชน้ื การช�ำนิยมใช้ในพืชสมุนไพรหลายชนิด เช่น พญายอ ปัญจขันธ์ เจตมูลเพลิง หญ้าหนวดแมว เป็นต้น เลือกกิ่งท่ีสมบูรณ์แข็งแรง ก่ึงอ่อนกึ่งแก่ ตัดยาวประมาณ 6 น้ิว เหลือใบไว้เล็กน้อย ทาปูนแดงที่รอยเฉียงเพ่ือกันเชื้อรา ปักในดินที่เพาะช�ำท่ีไม่ถูกแสงโดยตรง และควบคุมความชื้นให้เหมาะสม ลด การคายนำ้� แปลงปลกู พญายอ พืชสมุนไพร ภูมิปัญญาไทย 35

การก�ำหนดวธิ ีปลูก ก�ำหนดวิธีปลูก ระยะปลูก และการเตรียมต้นพันธุ์ให้เหมาะสมกับ พชื สมุนไพรแต่ละชนิด ตารางตวั อยา่ งการปลกู พืชสมนุ ไพรบางชนดิ พชื วธิ ีปลกู ระยะปลกู การเตรียมพันธป์ุ ลกู (ตน้ x แถว) 1. กระเจีย๊ บแดง เพาะเมล็ด 1 x 1.2 ม. หยอดหลุมละ 3-5 เมล็ดแล้วถอนแยก 2. กานพลู เพาะเมลด็ 4.5 x 6 ม. เม่อื ต้นสงู 20-25 เซนติเมตร 3. กระเพราแดง เพาะเมล็ด 5 x 15 ซม. เลอื กเมลด็ สุกซึ่งมีสดี ำ� เพาะเมล็ดทนั ที เพราะจะสญู เสียอัตรางอกภายใน 1 สปั ดาห์ ใชว้ ธิ หี ว่าน 4. ข้ีเหลก็ เพาะเมลด็ 2 x 2 ม. แชเ่ มลด็ ในนำ้� อุ่น 50 องศาเซลเซยี ส 5. คำ� ฝอย เพาะเมล็ด 30 x 30-50 ซม. 3-5 นาที 6. ชมุ เหด็ เทศ เพาะเมลด็ ต้องการความชื้นแต่อย่าใหแ้ ฉะ 7. มะขามแขก เพาะเมล็ด 3 x 4 ม. เมลด็ จะเน่า 8. ฟา้ ทะลายโจร เพาะเมลด็ 50 x 100 ซม. เพาะเมลด็ จากฝักแก่จัดเมลด็ สีเทา 15 x 20 ซม. อมน้�ำตาล 9. มะแว้งเครือ เพาะเมลด็ หยอดหลุมละ 2-3 เมลด็ แลว้ ถอนออก 1 x 1 ม. ใหเ้ หลือหลมุ ละต้น เลือกเมลด็ แก่สีน้�ำตาลแดง แช่นำ้� อุ่น 3-5 นาที โรยเมล็ดบางๆ ใหน้ ้ำ� ใน แปลงเพาะอย่างสม�่ำเสมอ แชเ่ มลด็ ในน�ำ้ อุ่น 50 องศาเซลเซยี ส 3-5 นาที เพาะในกระบะ 1 เดอื น จงึ ย้ายปลูก 36 พชื สมนุ ไพร ภูมปิ ญั ญาไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook