Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Technology

Technology

Published by nattapon10515, 2020-03-30 04:29:34

Description: Technology

Search

Read the Text Version

-101- รายแรกและมแี ผนท่ีจะผลักดันให้กลายเปน็ มาตรฐานระดบั โลก จะเหน็ ได้ว่าตอนน้ีเหลา่ ผปู้ ระกอบการ โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ และนกั พัฒนาเร่ิมตนื่ ตวั กบั เทคโนโลยใี หม่กนั แล้ว และดูเหมอื นการแข่งขันท่เี กิดขน้ึ จะ รนุ แรงกว่า 3G มาก จนทาให้การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีโทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ครงั้ น้ี อาจจะไม่ใชก่ าร เปลีย่ นแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไปอีกแลว้ แต่นาจะเปน็ ลักษณะการเคลือ่ นไหวแบบก้าวกระโดด จนธุรกิจ สือ่ สารโทรคมนาคมอาจปรับตวั ไมท่ ันกับการเปลย่ี นแปลง คาถามทา้ ยบท 1. คาวา่ สารสนเทศ มีความหมายว่าอย่างไร? 2. คาว่าเทคโนโลยสี ารสนเทศ มีความหมายวา่ อย่างไร? 3. องคป์ ระกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศมีอะไรบา้ ง? 4. ประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาใชใ้ นองค์กร มอี ะไรบา้ ง 5. โปรแกรมระบบปฏบิ ตั กิ ารมี อยา่ งน้อยกโี่ ปรแกรมอะไรบา้ ง 6. ประโยชน์เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีมีตอ่ สิ่งแวดล้อม มีอะไรบา้ ง?

-102- บทที่ 8 เทคโนโลยกี บั การพฒั นาอตุ สาหกรรม การพฒั นาอตสาหกรรมเปน็ การใชค้ วามรู้ ทักษะการบรหิ ารจดั การ รวมทั้งประสบการณท์ างด้าน วิทยาศาสตร์และด้านวศิ วกรรมศาสตร์ เพ่ือการคิดคน้ การประดิษฐ์ การพัฒนา การผลิตสินค้า การบริการ กระบวนการผลติ และการจัดการองคก์ รในรูปแบบใหม่ ซึ่งโลกในปัจจบุ นั น้หี ากองค์กรใดไม่สามารถพัฒนาและ เปล่ียนแปลงตนเองด้วยการพัฒนานวตั กรรมและอตสาหกรรมอย่างต่อเน่ืองแลว้ กย็ ่อมทจี่ ะประสบความสาเร็จ ในระยะยาวไดย้ ากและไมส่ ามารถก้าวขนึ้ ไปสู่การเป็นผู้นาของธุรกจิ ได้ ดังนัน้ การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในระดบั ประเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพและทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงที่รวดเร็ว จะชว่ ย ขบั เคลือ่ นให้ประเทศก้าวไปสู่เศรษฐกิจสังคมฐานความรู้ (knowledge-based society) และเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันระดับโลกได้อย่างยั่งยนื ศกั ยภาพของภาคอุตสาหกรรมในการสรา้ งสรรค์ธุรกิจ นวัตกรรม การทจี่ ะขบั เคลือ่ นภาคอุตสาหกรรมให้มคี วามสามารถในการสรา้ งสรรคธ์ ุรกจิ นวตั กรรม จาเป็นตอ้ ง อาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานทุกฝา่ ยทเ่ี ก่ยี วข้องทง้ั ภาครฐั และโดยเฉพาะภาคเอกชนท่ีตอ้ งมกี ารกาหนด ทิศทางและกลยทุ ธ์ท่ีชดั เจน เพอ่ื กระตนุ้ ให้เกิดการพฒั นานวัตกรรมภายในองค์กร ดังเชน่ สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ซงึ่ เกิดจากการรวมกลุ่มของภาคเอกชนเพอื่ ทาหน้าท่ีเป็นตัวแทนภาคเอกชนในการสะท้อนปญั หา ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ คิดเหน็ เพ่ือพัฒนาอุตสาหกรรมต่างๆ ต่อภาครฐั และประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน ภาครฐั เพือ่ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้เกดิ การกระจายการวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยีและนวตั กรรมเข้าสู่ ภาคอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศอย่างเปน็ ระบบเพ่ือสรา้ งสภาพแวดล้อมทีเ่ อื้ออานวยให้กบั ภาคอตุ สาหกรรมทวั่ ประเทศ ในการสรา้ งสรรค์ธุรกิจนวตั กรรม ความหมายของอตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม (Industry) เป็นคาจากดั ความท่หี มายถึงกิจกรรมท่ใี ช้ทนุ และแรงงาน เพ่ือท่จี ะผลติ สง่ิ ของ หรอื จดั ให้มีบริการ ในปัจจุบนั อุตสาหกรรมถือเป็นกจิ กรรมทจี่ าเปน็ ต่อมนุษย์อย่างย่งิ ดว้ ยว่ามนุษย์ต้องพง่ึ พา การผลิตสิ่งที่จาเปน็ ต่อชวี ติ ประจาวนั หรือเรยี กรวมว่าปจั จัยสี่ โดยสิง่ ทีส่ ามารถผลิตปจั จัยสใี่ ห้ดี มีคุณภาพและ ไม่ก่ออนั ตราย หรอื กอ่ อนั ตรายให้กบั ร่างกายและทรพั ย์สินน้อยทีส่ ดุ คือการผลิตจากระบบอตุ สาหกรรมทไี่ ด้ มาตรฐาน และนอกจากนีอ้ ตุ สาหกรรมยังถือว่าเปน็ พนื้ ฐานของเทคโนโลยดี า้ นอ่ืนๆอกี ดว้ ย

-103- ลักษณะของกิจการอุตสาหกรรม การดาเนนิ ธรุ กิจในปจั จุบนั มีหลายรูปแบบ ไดแ้ ก่ กิจการซอ้ื สนิ ค้ามาเพ่อื จาหน่าย กจิ การใหบ้ ริการ และ กิจการผลิตสนิ ค้าเพื่อจาหนา่ ย ธุรกิจเหลา่ นี้มีวตั ถุประสงค์ในการดาเนินงานเดียวกนั คือมุ่งหวังกาไรสูงสุด กิจการอุตสาหกรรมนับเปน็ กิจการในรปู แบบของกิจการท่ีผลิตสินค้าเพื่อจาหน่าย ซึ่งมีข้อแตกตา่ งจากกิจการ ในรูปแบบอื่นอย่างเหน็ ได้ชัดเจน กิจการค้าโดยทั่วไปท่ีดาเนินธรุ กจิ ในปัจจบุ นั สามารถแบ่งตามรูปแบบธุรกิจ เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ธุรกจิ ให้บรกิ าร (Service Business) หมายถึง ธุรกจิ หรือกจิ การทม่ี ีการดาเนนิ กิจกรรมเกีย่ วกบั การ บริการ เชน่ ธรุ กิจซอ่ มเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า ธุรกจิ เสรมิ สวย ธุรกจิ รับซกั รดี ธุรกจิ ขนส่งสินค้า เป็นตน้ รายได้ของ ธรุ กิจประเภทนค้ี ือ รายไดจ้ ากการใหบ้ ริการ ส่วนค่าใชจ้ ่ายคอื ต้นทนุ เก่ยี วกบั การใหบ้ ริการ และค่าใชจ้ า่ ยใน การดาเนินงาน ภาพท่ี 8.1 แสดงธุรกิจการให้บริการ ประเภท “รา้ นเสรมิ ความงาม” ที่มา : http://www.thai.cri.cn/321/2010/08/31/228s179053.html 2. ธุรกิจเก่ยี วกับสินคา้ หมายถงึ ธุรกจิ ท่ีดาเนนิ กิจกรรมการจาหน่ายสนิ คา้ ซึง่ แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ 2.1 กิจการซื้อขายสินค้า (Merchandising Business) หมายถึง ธุรกิจหรือกิจการท่ซี ื้อสินค้า สาเร็จรูปมาจาหน่ายให้กับลูกค้า เช่น ธรุ กจิ โชวร์ มู ขายรถยนต์ ธุรกจิ รา้ นโชหว่ ย ธุรกิจขายเคร่อื งเขียน เป็นตน้ รายไดข้ องธรุ กจิ ประเภทนี้ คือ รายไดจ้ ากการจาหน่ายสินคา้ สว่ นคา่ ใช้จา่ ยคอื ต้นทนุ ในการซือ้ สินค้ามา จาหน่ายและคา่ ใช้จ่ายในการดาเนินงาน

-104- ภาพท่ี 8.2 แสดงกจิ การซ้อื ขายสินคา้ ประเภท “ร้านขายเสือ้ ผ้า” ทมี่ า : สุพรรณี จนั ทะเกดิ (2551 : 3) 2.2 กิจการอุตสาหกรรม (Manufacturing Business) หมายถงึ ธรุ กิจหรือกจิ การท่ีผลิตสินค้าเพ่ือ จาหน่ายเอง เช่น โรงงานผลิตผลไม้กระปอ๋ ง โรงงานผลิตนา้ แขง็ โรงงานผลติ รถยนต์ เป็นต้น รายไดข้ องธรุ กิจ ประเภทน้ีคือ รายได้จากการจาหน่ายสนิ ค้า สว่ นค่าใชจ้ า่ ยคอื ต้นทุนสาหรับการผลิตสนิ คา้ ไดแ้ ก่ วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จา่ ยในการผลติ รวมถึงค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงาน ภาพท่ี 8.3 แสดงกิจการอตุ สาหกรรม ประเภท “โรงงานตดั เยบ็ เสือ้ ผ้า” ทม่ี า : http://www.groups.google.co.th/group/rocnews/browse_thread/...

-105- จากรปู แบบของธรุ กิจดังกล่าวขา้ งตน้ สามารถสรุปลักษณะของกจิ การอุตสาหกรรมได้ 2 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ลกั ษณะของการประกอบการ กจิ การอตุ สาหกรรมเปน็ กิจการที่ผลติ สินค้าเพื่อจาหนา่ ย โดยการผลิตเริม่ ตงั้ แต่การซ้ือวตั ถุดบิ เข้ามาเพ่ือทาการผลติ หรือแปรสภาพใหเ้ ป็นสนิ คา้ สาเรจ็ รปู พร้อมจาหน่าย ซงึ่ ในกระบวนการผลิตนัน้ จะต้องมี ค่าใชจ้ ่ายอื่นๆ ไดแ้ ก่ คา่ แรงงานสาหรับคนงานทีท่ าการผลิตสนิ คา้ และค่าใช้จา่ ย ในการผลิตทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เชน่ คา่ น้า ค่าไฟฟ้า คา่ เชา่ โรงงาน เปน็ ตน้ กิจการอตุ สาหกรรมสามารถดาเนินกจิ การในหลายรปู แบบ เช่น กิจการเจา้ ของคนเดียว ห้าง ห้นุ ส่วน หรือบริษัทจากดั ท้ังน้ีข้ึนอย่กู ับความเหมาะสม สินคา้ ท่ีผลติ อาจทาการผลิตเพ่ือจาหน่ายให้กับ ผูบ้ รโิ ภคหรอื พ่อคา้ สง่ เชน่ เสื้อผา้ สาเร็จรูป กระเป๋า รถยนต์ เป็นต้น หรืออาจผลิตขึ้นเพ่ือจาหน่ายใหแ้ ก่ กจิ การอุตสาหกรรมอ่นื ๆ เพอ่ื นาไปแปรรปู ให้เปน็ ผลติ ภัณฑช์ นิดใหม่ข้นึ มาอีกก็ได้ เชน่ โรงงานผลติ ไม้แปรรูป จะผลติ สนิ ค้าสาเรจ็ รูปคือ ไม้แปรรูป สง่ ใหก้ บั โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ เพ่ือนาไปเปน็ วตั ถุดบิ สาหรบั การผลิต เฟอรน์ เิ จอร์ เป็นต้น 2. การบันทกึ บัญชี หลกั การบันทึกบัญชีสาหรบั กิจการอุตสาหกรรมนน้ั มีหลักปฏบิ ัติเช่นเดียวกับกิจการ ซอ้ื ขาย สินค้า จะแตกต่างกันในส่วนของกจิ การอุตสาหกรรมจะตอ้ งคานวณหาต้นทุนของการผลติ สนิ ค้าในแตล่ ะครั้ง เพื่อกาหนดราคาขาย ดังน้ันจงึ มีบัญชีเกย่ี วกับต้นทนุ ผลติ แทนบญั ชีซอ้ื สินคา้ ของกิจการซอ้ื ขายสนิ คา้ ประเภทของอตุ สาหกรรม อุตสาหกรรมสามารถจาแนกไดเ้ ป็นหลายขนาดและหลายประเภท ขนึ้ อยู่กบั หลักเกณฑ์ต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. การจาแนกประเภทอตุ สาหกรรมตามขนาด การจาแนกประเภทอตุ สาหกรรมตามขนาดสามารถจาแนกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1 อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ (Large Scale Industry) หมายถงึ อุตสาหกรรมท่ีมี การใช้เงนิ ลงทนุ เป็นจานวนมาก มที รพั ย์สินถาวรต้ังแต่ 100 ล้านบาทขึน้ ไปและมีแรงงานท่ีมีความรู้ ความสามารถเป็นจานวน มาก อตุ สาหกรรมประเภทนจี่ ะมีเครื่องจักรทท่ี ันสมัย และมี เทคโนโลยีในระดับสูง มขี ้นั ตอนในการดาเนินงาน หลายขัน้ ตอน เชน่ อุตสาหกรรมถลงุ เหลก็ กลา้ อตุ สาหกรรมผลิตรถยนต์ โดยในประเทศไทยนั้นไดร้ บั การ คาดหมายว่าจะให้เปน็ เมืองที่มีการ ผลติ รถยนต์ท่ใี หญ่ท่สี ุดในเอเชีย (Detroit of Asia) อุตสาหกรรมผลิต เครือ่ งจักรกล เปน็ ต้น

-106- 1.2 อุตสาหกรรมขนาดกลาง (Medium Scale Industry) หมายถึง อตุ สาหกรรมท่ี มีแรงงานตั้งแต่ 20 คนถึง 50 คนและมีทรัพย์สนิ ถาวรต้ังแต่ 10 - 100 ลา้ นบาท มีเคร่ืองจกั รและ อปุ กรณท์ ่ที ันสมัย เชน่ โรงงานผลิตเคร่อื งใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมทอผา้ และปั่นด้ายเปน็ ตน้ 1.3 อุตสาหกรรมขนาดย่อม (Small Scale Industry) หมายถึง อตุ สาหกรรมท่ีมี แรงงานและจา้ ง งานไม่เกิน 50 คน และมที รัพย์สินถาวรต่ากว่า 10 ลา้ นบาท เช่น อตุ สาหกรรม นา้ ตาลทราย โรงงานโลหะ โรงกลงึ โรงเชื่อมเป็นต้น 2. การจาแนกประเภทของอุตสาหกรรมตามวธิ กี ารดาเนินงาน การจาแนกประเภทของอตุ สาหกรรมตามวิธีการดาเนินงาน สามารถจาแนกได้เป็น 4 ประเภทดังตอ่ ไปน้ี 2.1 อุตสาหกรรมสกัดจากธรรมชาตหิ รอื อุตสาหกรรมเชงิ สกัด (Extractive Industry) หมายถึง การ สกดั เอาทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชป้ ระโยชน์และใหม้ ูลค่าของทรพั ยากร ชนิดนนั้ เพม่ิ สูงขึน้ เชน่ การสกัดน้ามัน จากปาลม์ น้ามัน การหมักอ้อยและมนั สาปะหลงั เพื่อนามาผลิตเป็นเอธานอลใช้ในการผลิตกา๊ ซโซฮอล์ การประมง การปา่ ไม้เป็นต้น ซงึ่ อุตสาหกรรม ประเภทน้ีจัดเปน็ อตุ สาหกรรมข้นั ปฐมภมู ิ 2.2 อตุ สาหกรรมการผลติ (Manufacturing Industry) หมายถึง การนาเอา วตั ถุดิบจาก อตุ สาหกรรมเชิงสกัดมาผลติ เพอ่ื ให้เป็นผลติ ภณั ฑ์ เช่น การนาสนิ แรเ่ หลก็ มาใช้ใน การก่อสร้าง การผลิต กระดาษ การทอผ้าเปน็ ต้น 2.3 อุตสาหกรรมการขนส่ง (Transporting Industry) หมายถงึ การดาเนนิ การ เพื่อเป็นการนา ผลติ ภัณฑท์ ีไ่ ด้จากการผลติ ส่งไปยังผบู้ รโิ ภค เช่น การรถไฟ การเดนิ เรอื การ เดนิ อากาศเป็นตน้ 2.4 อุตสาหกรรมการบริการ (Service Industry) หมายถึง การประกอบธุรกิจ ด้านการให้บรกิ าร หรืออานวยความสะดวก เช่น อตุ สาหกรรมการโรงแรม การทอ่ งเทย่ี วและ ระบบสาธารณูปโภค (Infrastructure) ตา่ งๆ เป็นต้น 3. การจาแนกประเภทของอุตสาหกรรมตามลักษณะวสั ดุท่นี ามาใช้ผลิต ประเภทของอุตสาหกรรมตามลกั ษณะวสั ดทุ ี่นามาใชผ้ ลิต สามารถจาแนกได้แก่ 3.1 อตุ สาหกรรมขัน้ ปฐมภมู ิ (Primary Industry) หมายถงึ อตุ สาหกรรมทีน่ าเอาทรพั ยากร ธรรมชาติหรอื ผลผลติ ทางการเกษตร การประมง ป่าไม้ เลีย้ งสตั ว์ ท่ไี ดม้ าโดยตรงมา ทาเปน็ ผลิตภณั ฑท์ จ่ี ะ นาไปใช้ประโยชน์ต่อไป เชน่ การทาเหมืองแร่ การย่อยหิน การแปรรูปไม้ เป็นต้น 3.2 อุตสาหกรรมข้ันทตุ ยิ ภูมิ (Secondary Industry) หมายถงึ อุตสาหกรรมท่ี นาเอาผลผลติ จาก อตุ สาหกรรมข้นั ปฐมภูมมิ าเป็นวตั ถุดิบเพื่อเปน็ ผลติ ภัณฑ์อ่ืนๆ ตอ่ ไป เชน่ การนาสนิ แรเ่ หลก็ มาทาเครือ่ ง จกั รกล การนาเอธานอลจากการหมักออ้ ยไปผสมกับนา้ มนั เบนซนิ เพอ่ื ทาก๊าซโซฮอล์ การกลัน่ น้ามนั ตามจดุ เดือดไฮโดรคารบ์ อน เพ่ือให้ไดน้ า้ มันประเภทต่างๆ เป็นต้น

-107- 3.3 อุตสาหกรรมขั้นตติยภูมิ (Tertiary Industry) หมายถึง อตุ สาหกรรมที่นาเอา ผลผลติ ของ อุตสาหกรรมในข้นั ทุตยิ ภูมิมาให้บริการ เช่น อตุ สาหกรรมขนส่งอตุ สาหกรรมเหล็กกลา้ เปน็ ต้น 4. การจาแนกประเภทอุตสาหกรรมตามลักษณะผลติ ภัณฑส์ าเรจ็ รปู จาแนกเปน็ การจาแนกประเภทอุตสาหกรรมตามลกั ษณะผลติ ภณั ฑ์สาเรจ็ รูป จาแนกเป็น 4.1 อุตสาหกรรมหนัก (Heavy Industry) หมายถึง อตุ สาหกรรมทีท่ าการผลิต ผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ี น้าหนกั มากและใชท้ ุน แรงงานและวัตถดุ บิ เป็นจานวนมาก 4.2 อตุ สาหกรรมเบา (Light Industry) หมายถงึ อตุ สาหกรรมที่ทาการผลติ ผลิตภณั ฑท์ ่ีมนี ้าหนกั เบา ใช้ทนุ แรงงาน และวัตถุดบิ น้อยกวา่ อตุ สาหกรรมหนัก เช่น อตุ สาหกรรมทอผ้า อุตสาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรมเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เป็นต้น 5. การจาแนกอุตสาหกรรมตามลักษณะการประกอบการ แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คอื 5.1 อุตสาหกรรมครัวเรือน คอื อตุ สาหกรรมการผลติ งา่ ยๆ เลก็ ๆ มกั ทากันในครอบครัวหรือหมูบ่ า้ น ไมใ่ ชแ้ รงงาน ทนุ และปจั จัยมาก แต่มักจะไดก้ าไรตา่ อุตสาหกรรมจาพวกนี้มีตัวอยา่ งเชน่ หตั ถกรรมจกั สาน เซรามกิ ถ้วยโถโอชามตา่ งๆ รวมไปถึงสนิ ค้าประเภทอาหารบรรจถุ ุงหรอื หบี ห่อที่มีย่ีห้อบางชนิด เปน็ ต้นดว้ ย และสนิ ค้าOTOP (หนงึ่ ตาบลหนงึ่ ผลิตภณั ฑ์) บางชนิดเองก็ถือเป็นอตุ สาหกรรมครวั เรือนด้วย 5.2 อตุ สาหกรรมโรงงาน คืออุตสาหกรรมท่ีผลติ ในโรงงาน สินค้ามกั มีมาตรฐานเดยี วกนั ไม่แตกตา่ ง กนั มากนัก พบมากในเขตเมอื งหรือเขตที่มีความเจริญต่างๆ สนิ คา้ พวกนม้ี ักเป็นสง่ิ อุปโภคบริโภคและสนิ ค้า ฟมุ่ เฟอื ยตา่ งๆ เช่น กระดาษทิชชู บะหมี่กงึ่ สาเรจ็ รูป อาหารกระป๋อง เคร่อื งนุง่ ห่ม สุรา บุหรี่ เป็นตน้ และ สนิ ค้าบางประเภทมกี ารโฆษณาส่งเสรมิ การขายด้วย เทคโนโลยกี บั การพฒั นาอุตสาหกรรม เทคโนโลยเี พอื่ การพัฒนาอตุ สาหกรรม หมายถึง การนาเทคโนโลยไี ปใช้ประยุกต์กับงานด้านตา่ งๆ ใน อตุ สาหกรรม รวมถึงการบรหิ ารจัดการ การควบคุมคุณภาพ การวางผังโรงงาน และเป็นการนาเทคโนโลยมี าใช้ ในการผลิต ทาใหป้ ระสทิ ธิภาพในการผลิตเพ่มิ ข้ึน ประหยัดแรงงาน ลดต้นทุนและรักษาสภาพแวดลอ้ ม เทคโนโลยีท่ีมบี ทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย เช่น คอมพวิ เตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ การ สือ่ สาร เทคโนโลยชี วี ภาพและพันธุกรรม วิศวกรรม เทคโนโลยีเลเซอร์ การสือ่ สาร การแพทย์ เทคโนโลยี พลงั งาน เทคโนโลยวี สั ดุศาสตร์ เช่น พลาสติก แก้ว วัสดุก่อสร้าง โลหะ โดยขอบเขตของเทคโนโลยที ี่ใช่ในการ พัฒนาอตุ สาหกรรม แบง่ ออกเปน็ 3 ประเด็นสาคัญ ดังนี้

-108- 1. เทคโนโลยที ี่เกีย่ วข้องกบั เคร่อื งมือ เครื่องจกั ร 2. เทคโนโลยีทเี่ กี่ยวข้องกบั กระบวนการผลิต 3. เทคโนโลยีท่เี กีย่ วขอ้ งกับการจัดการบุคลากร 1. เทคโนโลยที เี่ กยี่ วขอ้ งกับเครื่องมือ เครอื่ งจักร ในปัจจุบนั เทคโนโลยที ีเ่ กีย่ วข้องกบั เครื่องมือ เครอ่ื งจกั ร เพือ่ การพัฒนาอุตสาหกรรม ได้เจรญิ รดุ หนา้ ไป อยา่ งต่อเน่อื ง มีการใชร้ ะบบควบคมุ อตั โนมัติ ยานยนตไ์ ฟฟ้า เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์ขั้นสูงเพอ่ื ควบคมุ การทา งานของเครื่องจักร ตัวอย่างของเทคโนโลยเี หล่าน้ี ได้แก่ CNC (Computerized Numerical Control System) คอื เคร่ืองจกั รกลท่ใี ช้ผลิต หรอื ข้ึนรปู ช้นิ งานที่มมี าตรฐานสูง ผา่ นระบบการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ท่ี ชว่ ยควบคุมการทางานของเครือ่ งซีเอน็ ซี ในขนั้ ตอนตา่ งๆ อย่างอัตโนมตั ิ แทนการใช้แรงงานคนควบคุมเครื่อง ระบบ CNC เปน็ ระบบคอมพิวเตอรท์ ถ่ี ูกสรา้ งขน้ึ โดยมีวัตถุประสงคห์ ลักคอื เพอ่ื เปล่ียนแปลงและควบคุมสภาพ การทางานของเคร่ืองจักรกลพืน้ ฐาน จากเดิมซง่ึ ใชแ้ รงงานคนในการทางานรว่ มกับเคร่ืองจักร ให้เครื่องจักรเห ลานสี้ ามารถทางานได้โดยอตั โนมตั ิด้วยตัวเอง นอกจากนี้ ระบบ CNC ยังช่วยเพิม่ ความสามารถให้เครื่องจักร พน้ื ฐานเหลานี้สามารถทางานลกั ษณะซับซ้อนได้ด้วยความรวดเรว็ และแมน่ ยาในระดบั ที่พ้นความสามารถใน การรับรขู้ องมนุษย์โดยทวั่ ไปหลายสิบเท่าตวั การควบคุมเครือ่ งซีเอ็นซี แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 สว่ นคือ 1. การควบคุมการเคล่ือนท่ีไปยังตาแหน่งทตี่ ้องการ (Movement) 2. การควบคุมความเรว็ ของการเคลื่อนท่ี (Speed) 121 เครอื่ งจักรกลซเี อ็นซี (CNC) จะทางานไดน้ ้ัน ระบบควบคมุ ของเครอื่ งจะต้องได้รับคาสง่ั เป็นภาษาที่ ระบบควบคุมเขา้ ใจได้เสียก่อนว่าจะใหเ้ ครื่องจกั รกลซีเอ็นซที าอะไร ดังนั้นจึงจาเป็นจะตอ้ งป้อนโปรแกรมเข้า ไปในระบบควบคมุ ของเคร่ืองผ่านแผงคยี บ์ อร์ด หรอื ปูนพิมพ์ (Key Board) หรอื เทปแม่เหลก็ (Magnetic Tape) เม่อื ระบบควบคุมอ่านโปรแกรมทป่ี ้อนเข้าไปแลว้ ก็จะนาไปควบคมุ ให้เครอื่ งจกั รกลทางานโดยอาศยั มอเตอรป์ อ้ น (Feed Motor) เพ่ือให้แท่นเล่ือนเคลื่อนท่ีได้ตามท่เี ราต้องการ เชน่ เครอ่ื งกลึงซเี อน็ ซี (CNC Machine) กจ็ ะมีมอเตอรใ์ นการเคล่อื นท่ีอยู่ 2 ตวั หรือเครื่องกัดซเี อ็นซีกจ็ ะมมี อเตอรป์ อ้ น 3 ตวั จากนนั้ ระบบควบคุมอา่ นโปรแกรมเสรจ็ แลว้ ก็จะเปลยี่ นรหสั โปรแกรมนัน้ ใหเ้ ป็นสญั ญาณทางไฟฟ้าเพื่อไปควบคมุ ให้ มอเตอร์ทางาน แต่เนื่องจากสัญญาณท่ีออกจากระบบควบคุมน้มี กี าลังน้อย ไมส่ ามารถไปหมุนขบั ให้มอเตอร์ ทางานได้ดังนน้ั จึงต้องสง่ สญั ญาณนเี้ ข้าไปในภาคขยายสญั ญาณของระบบขับ (Drive amplified) และส่ง

-109- สญั ญาณต่อไปยังมอเตอร์ป้อนแนวแกนทีต่ ้องการเคล่ือนที่ ตามที่โปรแกรมกาหนด ความเร็วและระยะทาง การเคลอื่ นทีข่ องแทน่ เลือ่ นจะตอ้ งกาหนดให้ระบบควบคุมรู้เน่ืองจากระบบควบคมุ ซเี อน็ ซี (CNC) ไมส่ ามารถ มองเห็นได้ ซง่ึ จะแตกต่างกับชา่ งควบคมุ เคร่ืองจักรทอ่ี าศัยสายตามองดูตาแหน่งของคมตดั กับช้ินงาน กจ็ ะร้วู ่า ตอ้ งเลื่อนแท่นเล่ือนไปอีกเปน็ ระยะทางเท่าใดถงึ จะถึงช้นิ งาน ดังนนั้ จงึ ต้องออกแบบอุปกรณ์หรือเครื่องมือทีส่ ามารถจะบอกตาแหนง่ ของแท่นเล่ือนใหร้ ะบบควบคุม ไดร้ ู้ อปุ กรณช์ ุดนี้เรยี กวา่ ระบบวดั ขนาด (Measuring System) ซง่ึ ประกอบดว้ ยสเกลแนวตรง (Liner Scale) มจี านวนเท่ากับจานวนแนวแกนในการเคลือ่ นท่ีของเคร่ืองจักรกล ทาหนา้ ท่สี ่งสัญญาณไฟฟา้ ท่ีสัมพนั ธ์กบั ระยะทางทีแ่ ท่นเลอ่ื นเคลื่อนทีก่ ลบั ไปยงั ระบบควบคุม ทาให้ระบบควบคมุ รวู้ ่าแทน่ เล่อื นเคล่ือนท่ีไปเปน็ ระยะทางเทา่ ใด จากหลักการควบคุมการทางานดังกล่าว ทาให้เครอ่ื งจกั รกลซีเอ็นซีสามารถผลิตชิ้นงานให้มี รูปร่าง และรูปทรงให้มีขนาดตามที่เราต้องการได้ เนอื่ งจากการสร้างและการทางานที่เหนือกวา่ เครื่องจักรกล ท่วั ไป จึงทาให้เครอ่ื งจักรกลซีเอน็ ซเี ป็นปัจจยั หนึง่ ที่มคี วามสาคญั มากในปจั จบุ ันน้ี หากต้องการผลติ สนิ คา้ ใหไ้ ด้ จานวนมากๆ และลดจานวนระยะเวลาการผลิตของสินคา้ เทคโนโลยียานยนตไ์ ฟฟา้ ตัวอย่างของเทคโนโลยี ยานยนตไ์ ฟฟ้าเพ่อื การพฒั นาอุตสาหกรรมท่ใี ชใ้ นปจั จุบนั ไดแ้ ก่ ระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์สาหรับการขบั เคลื่อน และควบคุม 2. เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกบั กระบวนการผลติ การนาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นกระบวนการผลิตของงานอตุ สาหกรรมเพ่ือประยุกตใ์ ช้มากข้ึน จากความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้คอมพิวเตอรม์ ีขนาดเล็กลงและมขี ีดความ สามารถสงู ขนึ้ และท่ีสาคญั คือราคาถกู ลง ทาใหม้ ีการประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ในงานอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ กว้างขวางซง่ึ กก็ ่อใหเ้ กดิ การพัฒนาทัง้ ทางด้านฮารด์ แวร์และซอฟท์แวร์ จนเกิดการนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มา ใช้ในงานอุตสาหกรรมใหม่ๆ เชน่ การควบคมุ กระบวนการผลิตแบบอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรมมักนยิ มใช้ คอมพวิ เตอรเ์ ฉพาะงานอตุ สาหกรรมทเ่ี รยี กว่า Programmable Logic Controller หรือทเี่ รียกย่อๆ ว่า PLC โดยมีการเขียนโปรแกรมสาหรบั ใช้ในงานอุตสาหกรรมเพอ่ื นาไปควบคุมอปุ กรณ์หรือเคร่ืองจักรในงาน อตุ สาหกรรม หรือการใช้คอมพวิ เตอร์ชว่ ยในการออกแบบงานอตุ สาหกรรม (CAD/CAM) PLC (Programmable Logic Controller) เป็นเครื่องควบคุมอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม ที่สามารถจะ โปรแกรมได้ ถูกสร้างและพัฒนาขน้ึ มาเพ่ือทดแทนวงจรรีเลย์ อนั เน่ืองมาจากความต้องการท่ีอยากจะไดเ้ คร่ือง ควบคุมที่มรี าคาถกู สามารถใช้งานไดอ้ ย่างเอนกประสงค์ การใช้ PLC สาหรบั การควบคุมเคร่ืองจักรหรอื อปุ กรณ์ตา่ งๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีข้อไดเ้ ปรียบ กว่าการใชร้ ะบบรีเลย์ (Relay) ซึ่งจาเป็นจะต้องเดนิ สายไฟฟา้ หรือท่ีเรยี กว่า Hard - Wired ฉะนนั้ เม่ือมคี วามจาเปน็ ท่ีตอ้ งเปลี่ยนขบวนการผลิต หรอื ลาดบั การ ทางานใหม่ ก็ตอ้ งเดินสายไฟฟ้าใหม่ ซงึ่ เสียเวลาและเสียค่าใช้จา่ ยสงู แต่เมอ่ื เปลย่ี นมาใช้ PLC แลว้ การเปลี่ยน

-110- ขบวนการผลิตหรอื ลาดบั การทางานใหมน่ ้นั ทาไดโ้ ดยการเปลย่ี นโปรแกรมใหมเ่ ท่าน้ัน นอกจากน้แี ล้ว PLC ยัง ใช้ระบบโซลิด-สเตท ซ่งึ นาเช่ือถือกวา่ ระบบเดมิ การกนิ กระแสไฟฟ้านอ้ ยกว่า และสะดวกกว่าเม่ือตอ้ งการ ขยายขั้นตอนการทางานของเคร่ืองจักร คอมพิวเตอรช์ ่วยในการออกแบบงานอตุ สาหกรรม (CAD/CAM) การขยายตัวทางอุตสาหกรรม กอ่ ให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมการผลติ ให้มีความทนั สมัย และ ช่วยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการผลิต ระบบ CAD/CAM เริ่มต้นจากกระบวนการการผลติ ในโรงงานทต่ี ้องการการ ผลิตแบบอตั โนมตั ิ (Automation Production Systems) มาชว่ ยในการผลิตท่มี ีปรมิ าณมากๆ และตอ้ งการ ความแม่นยาสูง เพื่อลดความเสียหาย ลดข้อบกพรอ่ งในการทางาน และลดจานวนเศษของเสยี CAD (Computer Aided Design) เปน็ การใช้คอมพิวเตอร์มาเปน็ เครื่องมือช่วยในการออกแบบและเขยี นแบบ รวมทัง้ สรา้ ง ภาพสองหรือสามมติ ิได้โดยสะดวก นอกจากจากน้ยี ังชว่ ยวิเคราะหก์ ารออกแบบดว้ ยเชน่ ใช้ ประเมินคาพิกดั เผอื่ (Tolerance) ของการสวมหรือประกอบชิน้ งานเขา้ ด้วยกนั ก่อนนาไปผลิตจรงิ เป็นตน้ CAM (Computer Aided Manufacturing) เปน็ การนาเอาซอฟตแ์ วรม์ าใชใ้ นกระบวนการผลิตตอ่ เนื่องจาก CAD โดยทาการแปลงของมูลท่ปี ้อนเข้าไปใหเ้ ป็นชดุ คาสั่ง และนาไปควบคุมเครื่องจกั รกลทีใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์ ควบคมุ หรือเครือ่ งจักรกลซีเอ็นซีนน่ั เอง ในระบบ CAD/CAM มกั จะมโี ปรแกรมสาหรับควบคุม คุณภาพเปน็ สว่ นหน่ึงเสมอ ทั้งนีก้ เ็ พื่อทาการตรวจสอบหรอื เช็คข้อผดิ พลาดของชิน้ งานท่เี ครื่องผลิตออกมาได้ หาก โปรแกรมควบคุมคณุ ภาพตรวจพบคาผิดพลาดกจ็ ะทาการคานวณ เพือ่ แก้ไขและส่งคาใหมท่ ีถ่ ูกตอ้ งไปยงั ระบบ คอมพวิ เตอร์ของ CAM ทาใหส้ ามารถควบคุมคณุ ภาพของชิ้นงานใหอ้ ยใู่ นคาพิกัดทีถ่ กู กาหนดไว้ 3. เทคโนโลยีที่เกย่ี วข้องกบั การจดั การและการบริหารบคุ ลากร ในระยะกว่า 30 ปีผ่านมา ไดม้ ีการพัฒนาความรดู้ ้านการจัดการอย่างมากมายและสามารถนาความรูเ้ ห ลานี้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารองค์กรได้ ความร้เู รือ่ งการจัดการสมัยใหม่ท่ไี ดร้ ับความนิยมกล่าวถงึ ในการ พฒั นาอตุ สาหกรรม เช่น การบรหิ ารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM), การบรหิ าร ผลิตภาพโดยรวม (Total Productivity Management: TPM), ISO 9000 หรอื แม้แตก่ ารนาระบบ คอมพวิ เตอร์มาใช้งานบัญชี ควบคุมสนิ คา้ คงคลัง การตดิ ต้งั ระบบเครือข่าย (LAN) และการจัดทาเหมืองข้อมลู เพื่อการวางแผนควบคุมการผลติ การบรหิ ารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM) เปน็ ระบบบรหิ ารคุณภาพที่ม่งุ เนน้ การใหค้ วามสาคญั สูงสดุ ต่อลกู ค้าภายใต้ความรว่ มมือของพนกั งานทว่ั ทงั้ องค์กรท่จี ะปรบั ปรุงงานอยา่ งต่อเนอ่ื ง เพื่อให้สามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการได้ TQM จงึ เปน็ แนวทางที่ หลายองค์กรนามาใชป้ รับปรงุ งาน ระบบ TQM เปน็ ระบบท่ีมองภาพรวมทั้งองค์กร ระบบนีล้ ูกค้าจะเป็นผู้ กาหนดมาตรฐานหรือความต้องการ เปน็ ระบบทปี่ รบั ปรุงการวางแผน การจัดองคก์ ร และการทาความเข้าใจ ในกิจกรรมทเี่ ก่ียวข้องกับแตล่ ะบคุ คลในแตล่ ะระดบั เพ่อื ปรับปรุงประสิทธิภาพ ให้มคี วามยืดหยนุ่ เพ่อื ทจี่ ะ สามารถแข่งขันได้ TQM เป็นระบบทสี่ ามารถนาไปใชไ้ ด้กับทุกองค์กร ประสิทธภิ าพของการจัดองค์กรในระบบ

-111- น้ขี นึ้ อยกู่ ับการปฏบิ ตั ิตามบทบาทหน้าทขี่ องทุกคนในการนาองค์กรไปสู่เป้าหมาย การบริหารผลติ ภาพ โดยรวม (Total Productivity Management: TPM) เปน็ ระบบบารุงรักษาเครือ่ งมอื อปุ กรณ์ใน อุตสาหกรรมการผลิต มเี ป้าหมายเพื่อเพิ่มผลผลิตสูงสดุ ขณะเดียวกเ็ พิ่มขวัญกาลงั ใจ และความพึงพอใจในงาน ของคนทางาน กจิ กรรม TPM ยดึ แนวคิดหลกั 2 อย่าง คือ 1) การลดและปูองกันการสญู เสยี ทกุ ประเภท และ 2) ตอ้ งเปน็ การกจิ กรรมท่ีทุกหน่วย ทกุ ฝ่ายในองค์กร และบุคคลทุกระดบั มสี ว่ นร่วม มาตรฐานระบบ บรหิ ารงานคณุ ภาพ ISO 9000 มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐานสากลที่ใชเ้ พ่ือการบรหิ าร หรือจดั การคุณภาพภายในองคก์ าร ซงึ่ ไม่จากัดวา่ เปน็ องค์การธุรกิจ กจิ การอุตสาหกรรมกส็ ามารถทจ่ี ะนาเอา ระบบคุณภาพน้ไี ปใช้ได้ ท้งั น้รี ะบบคณุ ภาพ ISO 9000 จะไม่รับประกนั ว่าผลติ ภัณฑจ์ ะดีท่สี ดุ หรอื มีมาตรฐาน ที่สดุ แตร่ ะบบคณุ ภาพ ISO 9000 จะประกันว่าการบรหิ ารงานขององคก์ ารนน้ั มีคณุ ภาพทั่วท้งั องคก์ ร ซง่ึ อาจจะเปน็ ผลกันว่าเมอื่ มีการบรหิ ารงานทดี่ ีมีคณุ ภาพ ย่อมจะส่งผลไปถงึ ความมีคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์และ บริการด้วย ลกั ษณะสาคัญของมาตรฐานระบบบรหิ ารงานคุณภาพ : ISO 9000 ดังนี้ 1. เป็นการบริหารงานคุณภาพ เพื่อทาให้ลูกคา้ พงึ พอใจ โดยยดึ หลกั ของคุณภาพทม่ี ุ่งเน้นใหม้ กี ารจัดทา ขัน้ ตอนการดาเนินงานและหลักเกณฑต์ ่างๆ ทจี่ ะทาใหผ้ ลิตภัณฑ์ (สนิ ค้าหรือบริการ) เปน็ ไปตามความต้องการ ของลกู ค้าต้ังแตแ่ รกท่ไี ดร้ ับสินคา้ หรือบริการตามขอ้ ตกลง 2. เน้นการบรหิ ารงานคณุ ภาพทกุ ข้ันตอน ต้ังแตเ่ รมิ่ ข้นั ตอนแรกจนขน้ั ตอนสดุ ท้ายในกระบวนการผลติ ของธรุ กิจนนั้ ๆ 3. เน้นการปฏิบตั ิท่เี ป็นระบบอย่างมีแบบแผน เพอื่ ปูองกันปัญหาทจี่ ะเกดิ ข้ึน 4. สามารถตรวจสอบไดง้ ่าย โดยมีหลักฐานทางด้านเอกสารท่เี กบ็ ไว้ ซึ่งจะนาเอาสิง่ ทีป่ ฏบิ ัติมาจดั ทา เปน็ เอกสาร โดยจดั เปน็ หมวดหมู่เพ่ือใหน้ าไปใชง้ านไดส้ ะดวกและก่อให้เกดิ ประสิทธภิ าพ 5. เปน็ ระบบบริหารงานคุณภาพทที่ ุกคนในองคก์ ารมสี ว่ นรว่ ม 6. เป็นแนวทางการบริหารงานคุณภาพทั่วทง้ั องค์การ 7. เป็นระบบบรหิ ารงานคุณภาพทีน่ านาชาติยอมรบั และใชเ้ ปน็ มาตรฐานของประเทศ 8. เปน็ ทยี่ อมรบั ของลูกค้าชน้ั นา เช่น ประเทศในกลุม่ ทวปี ยโุ รป หรอื สหรัฐอเมริกาและเป็นเง่ือนไขของ กล่มุ ประเทศภายใต้การตกลงว่าดว้ ยสิทธกิ ารปกปอู งอัตราภาษศี ุลกากรระหวา่ งประเทศ (General Agreement on Tax and Tariff; GATT) ที่กาหนดให้ประเทศคู่แข่งขนั ทางการคา้ ใช้เปน็ มาตรฐานสากลให้ การยอมรบั ซ่งึ กนั และกนั สาหรับการทดสอบและการรับรอง 9. ระบบคุณภาพ ISO 9000 เปน็ การรับรองในระบบคุณภาพขององค์การ ไม่ใชเ่ ปน็ การรบั รองตวั ผลิตภณั ฑ์เหมอื นกบั มาตรฐานสนิ คา้ อ่นื ๆ 10. ตอ้ งมหี นว่ ยงานท่ี 3 (Third Party) ทไี่ ดร้ ับการรับรองจากองคก์ ารมาตรฐานสากลระหว่างประเทศ (ISO) มาทาการตรวจสอบเพื่อใหก้ ารรับรอง เมือ่ ผา่ นการรับรองแล้วจะต้องไดร้ ับการตรวจซ้าอกี อย่างน้อยปลี ะ 2 ครง้ั ตลอดระยะเวลาของการรับรอง 3 ปี เมอื่ ครบกาหนด 3 ปี แลว้ จะตอ้ งมีการตรวจประเมนิ ใหม่ทั้งหมด

-112- นอกจากเทคโนโลยดี งั กล่าวมาแล้วขา้ งต้น ยงั มเี ทคโนโลยอี ื่นๆ เชน่ เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ กลมุ่ เทคโนโลยี สารสนเทศและระบบส่อื สารคมนาคม ท่ีจัดเป็นโครงสร้างพ้นื ฐานทีส่ าคญั ต่อการพฒั นาอตุ สาหกรรมของ ประเทศ ประเทศที่พฒั นาแล้วจะมีระบบสารสนเทศรวมทงั้ การส่อื สารโทรคมนาคมทท่ี ันสมัย ขณะเดียวกัน พฒั นาการทางเทคโนโลยสี อื่ สารโทรคมนาคมก็ไดก้ า้ วหน้าขึ้นไปอีกมาก มีการให้บรกิ ารระบบส่ือสารสมัยใหม่ อยมู่ ากมาย เทคโนโลยเี หลานี้จึงได้รบั ความสนใจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารถกู นามาใชป้ ระโยชนใ์ นการชว่ ยพฒั นาความก้าวหนา้ ทางด้าน อุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุน่ ยนตเ์ พื่อใช้ทางานบา้ น และหุ่นยนต์เพือ่ งานอุตสาหกรรมท่ตี อ้ งเสีย่ งภัยและเป็น อันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรงงาน สารเคมี โรงผลิตและควบคมุ การจ่ายไฟฟา้ รวมถึงงานท่ตี ้องทาซา้ ๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ และโรงงานแบตเตอร่ี ปัจจุบนั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเขา้ มามีบทบาท อย่างมากในการผลติ และควบคมุ คุณภาพสนิ คา้ การสง่ สนิ ค้าตามใบสางสนิ ค้า การควบคุมวสั ดุคงคลัง และการ คิดราคาตนทนุ สินคา้ ตัวอย่างของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารที่นามาใช้พฒั นางานในดา้ น อุตสาหกรรม สรุป เทคโนโลยกี ับการพัฒนาอุตสาหกรรมเปน็ คาจากัดความทหี่ มายถึงกิจกรรมที่ใชท้ นุ และแรงงาน เพ่ือท่ีจะ ผลติ สิ่งของหรือจัดให้มบี ริการ ในปัจจุบันอตุ สาหกรรมถอื เป็นกิจกรรมท่จี าเป็นต่อมนษุ ย์อย่างย่ิง ดว้ ยวา่ มนษุ ย์ ต้องพ่ึงพาการผลติ สิ่งทจ่ี าเปน็ ต่อชวี ิตประจาวนั หรอื เรียกรวมว่าปจั จัยสี่ โดยสิ่งที่สามารถผลิตปัจจยั สใี่ ห้ดี มี คณุ ภาพและไมก่ ่ออันตราย หรอื ก่ออันตรายใหก้ ับร่างกายและทรพั ยส์ นิ น้อยทส่ี ดุ คือการผลติ จากระบบ อตุ สาหกรรมซ่ึงสามารถแบง่ ประเภทอุตสาหกรรมตามลักษณะตา่ งๆ ไดห้ ลายลักษณะ เทคโนโลยีทใ่ี ชใ้ นระบบ อุตสาหกรรมแบง่ ได้ 3 ลกั ษณะ คอื เทคโนโลยีในลักษณะเครอ่ื งมือ เครื่องจกั ร เทคโนโลยีลกั ษณะกระบวนการ วิธกี าร และเทคโนโลยีในลักษณะนามธรรม คาถามทา้ ยบท 1. คาวา่ อุตสาหกรรม มีความหมายวา่ อยา่ งไร 2. การแบง่ ประเภทของอตุ สาหกรรมสามารถแบ่งได้กลี่ ักษณะ มีอะไรบา้ ง 3. เทคโนโลยที ่ีใช้ในอตุ สาหกรรมมกี ีล่ กั ษณะอะไรบ้าง 4. เทคโนโลยใี นลักษณะกระบวนการของอุตสาหกรรมมีอะไรบ้าง จงบอกมา 2 อยา่ ง 5. เทคโนโลยใี นลกั ษณะเครื่องมือเคร่ืองจักรในอุตสาหกรรมมีอะไรบา้ ง

-113- บทท่ี 9 เทคโนโลยกี บั การพฒั นาธรุ กิจ เทคโนโลยีกับการพัฒนาธรุ กจิ เป็นการบริหารธุรกิจโดยการนาเทคโนโลยีต่างๆ ทม่ี ีอยู่เขา้ มา ประยุกต์ใช้ เพ่ือเสรมิ สรา้ งท้งั ประสิทธภิ าพ คือการกระทาในส่ิงทีถ่ กู ทค่ี วรจะทา และประสิทธผิ ลคอื การกระทา ในสิ่งท่คี วรทาให้ถูกต้อง หมายถงึ เพ่ือการเพ่ิมผลผลิตอย่างมคี ณุ คา่ (Valuable productivity) ให้แก่องค์กร ธรุ กิจ หรอื วิสาหกิจ ในขณะน้มี กี ล่าวถึงแนวความคดิ ทีจ่ ะเพิ่มผลผลติ เพอื่ เพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ไทย การเพิ่มผลผลิตอย่างเดียวไมเ่ พียงพอ ต้องเพมิ่ ผลผลติ อย่างมีคุณค่า มีคุณประโยชน์ตอ่ ผู้ประกอบการและ ประเทศชาติไปพร้อมๆ กนั ด้วย ดงั นัน้ การเพิ่มผลผลิตอย่างมีคุณค่าจะเปน็ การดาเนินการการบริหารการ จัดการในการเพ่มิ ผลผลติ เชิงกลยุทธ์ (Strategic Productivity Management) อกี นยั หน่ึงการเพ่ิมผลผลิต อย่างมีคณุ ค่าคือ การเพม่ิ ทั้งประสิทธภิ าพและประสิทธิผล ตวั อยา่ งเชน่ การเพ่มิ ผลผลิตขา้ ว ถา้ จะดาเนนิ การให้มกี ารเพ่มิ ผลผลิตเพียงอย่างเดียว เกษตรกร อาจจะมรี ายไดเ้ พม่ิ ขึน้ หรอื เท่าเดมิ หรือลดลง ขึ้นอย่กู บั ราคาขายและราคาขายข้ึนอยกู่ ับผลผลิตหรืออุปทาน กบั ความต้องการหรอื อุปสงค์ของขา้ ว ภายในประเทศและในโลก อยา่ งไรก็ตามถ้าหากเกษตรกรมีทง้ั รายได้จาก การขายข้าวเพม่ิ สงู ข้นึ และมีรายไดส้ ุทธิหรอื กาไรสุทธิ (รายได้จากการขายหักคา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ ทั้งหมด) เพม่ิ สูงขึ้นตามไปดว้ ย จงึ จะถือได้ว่าเป็นการเพิ่มผลผลิตอย่างมีคุณคา่ การท่ีจะลงทนุ นาเทคโนโลยตี า่ งๆ มาประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินธรุ กิจก็เชน่ กัน เทคโนโลยนี ้นั ๆ จะตอ้ ง เพิ่มทั้งผลผลิต และผลกาไรให้แก่องค์กร นอกจากน้นั แล้วกอ่ นทจี่ ะนาเทคโนโลยมี าใชจ้ ะตอ้ งแบ่งการพิจารณา ออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ (1) ความตอ้ งการของวิสาหกจิ ท่ีจะนาเทคโนโลยีมาใชเ้ พอื่ วัตถุประสงค์อะไร เช่น ก. เพ่อื แก้ไขปัญหา ปัญหาอะไร จะมีแนวทางในการแก้ไขปญั หาอย่างไร เป็นต้น ข. เพือ่ ต้องการเพ่ิมประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการดาเนินการ ทั้งองค์กรหรอื บางส่วน หรือ หนว่ ยงาน หรือเฉพาะเร่ืองเฉพาะงาน เพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน หรือเพือ่ เพ่มิ มลู ค่า หรอื เพ่อื ลด ต้นทุนในการดาเนนิ การ เปน็ ตน้ ค. เพอ่ื ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า หรือตามกฎหมาย ตามกาหนดกฎเกณฑ์ของ ภาคสาธารณะ หรือให้สอดคล้องกับการแขง่ ขนั หรอื สภาวะแวดลอ้ มต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป การนา เทคโนโลยีมาใชใ้ นข้อนีเ้ พื่อเป็นการต่อต้านหรอื ผสมผสานกับแรงกดดนั จากภายนอก (External Pressure)

-114- (2) เทคโนโลยีท่ีมอี ยใู่ นปัจจุบนั และทีค่ าดว่าจะมีข้ึนในอนาคต เป็นการมองการณไ์ กลว่าเทคโนโลยีท่ี มอี ยูใ่ นขณะน้ี จะสามารถเช่อื มโยงกบั เทคโนโลยีอนาคตได้หรือไม่ อยา่ งไร ถา้ ไม่ได้จะต้องลงทุนใหม่ การ สูญเสียจากการทล่ี งทนุ ในเทคโนโลยี ปจั จุบนั จะมมี ากน้อยเพียงใด และจะต้องลงทนุ ใหม่อีกเท่าไรหรือสามารถ นาเทคโนโลยใี หมเ่ ขา้ มาตอ่ ยอดหรอื ยกระดบั เพ่ิมสมรรถนะในราคาเทา่ ไรและต้องการทรัพยากรอื่นๆ เพ่ิมเติม หรอื ไม่และจะต้องพิจารณาถงึ เวลา ไดแ้ ก่ ระยะเวลาของการปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงและเวลาที่คาดวา่ จะมีการ สญู เสยี ท่จี ะมีผลกระทบต่อการดาเนนิ ธรุ กิจอย่างไรบ้าง นอกจากนนั้ จะต้องพจิ ารณาว่าจะมีทางเลอื กทางอื่นทางใดหรอื ไม่ ในการแกไ้ ขปญั หาหรือเพ่ือเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพของการดาเนินการ การพิจารณาก็จะเหมือนกับการพจิ ารณาตัดสนิ ใจการลงทุนทว่ั ๆ ไป เช่นจะ ลงทุนเองทั้งหมด หรอื ว่าจ้างผ้ใู ห้บรกิ ารรบั ดาเนนิ การทงั้ หมดหรือบางส่วน หรอื จะซือ้ หรือเชา่ หรอื เช่าซอ้ื คา่ ใช้จา่ ยในการออกแบบติดตั้ง เร่มิ ดาเนินการและการให้บรกิ ารในภายหลัง ตลอดจนการสรรหาบุคลากรที่ เหมาะสมมาปฏิบตั งิ านและการรองรบั ต่างๆ เชน่ การฝกึ อบรม ฯลฯ เป็นต้น (3) เทคโนโลยีเพอ่ื พฒั นาธุรกิจ คือการเลือกเทคโนโลยที ี่มอี ยูใ่ นปจั จบุ ันใช้ใหเ้ หมาะสม สามารถ สนองตอบความต้องการ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ ธุรกจิ ตามที่ไดก้ ล่าวไปแลว้ ว่าเทคโนโลยีธุรกิจ จะ เปน็ เทคโนโลยีเฉพาะธรุ กจิ ใดธรุ กิจหนึง่ องค์กรในภาคธรุ กิจใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยใี นการบริหารจดั การ เพื่อชว่ ยเพิ่มความยืดหยนุ่ ให้กบั องค์กรในการทางาน ทาใหก้ ารประสานงานหรอื การทากิจกรรมตา่ งๆ ของแตล่ ะหนว่ ยงานในองค์กรหรือ ระหวา่ งองค์กรเปน็ ไปได้อย่างมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น นอกจากน้ียงั สามารถนามาใช้ปรับปรุงการให้บรกิ ารกบั ลกู คา้ ซ่ึงเปน็ การสร้างภาพพจนท์ ่ีดีขององค์กรต่อลูกค้าทัว่ ไป สิ่งเหลา่ น้ีนบั เปน็ การสรา้ งโอกาสความได้เปรยี บ ในการแข่งขนั กับองค์กร ตัวอยา่ งเช่น การนาเทคโนโลยีมาใชใ้ นดา้ นการพาณชิ ย์ เชน่ การให้บริการชาระค่า สนิ ค้า บริการ การสั่งซื้อสินค้าทางอนิ เทอร์เน็ต และการตรวจสอบราคาสนิ คา้ ผา่ นเครื่องอ่านราคาสินค้า เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาธุรกจิ จากการทีเ่ ทคโนโลยมี กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ทาให้เทคโนโลยสี ารสนเทศมีบทบาทกับธุรกิจ มากข้นึ โดยลาดบั และมีแนวโนม้ วา่ ธุรกิจสว่ นใหญ่จะต้องมีการปรับตัวตามเทคโนโลยเี หล่านนั้ การบริหาร องค์กรธรุ กจิ ในปัจจุบนั จงึ มีลักษณะยืดหยนุ่ เปน็ องค์กรทกี่ ระจายอานาจและแบนราบ การแข่งขันจะมงุ่ ม่ัน

-115- มองไปในระดบั โลก (World Class Competition) ดังนนั้ ธุรกจิ ตอ้ งมคี วามคลอ่ งตัว หลากหลายและ ผสมผสาน การบริหารงานจะเปน็ ลักษณะขา้ มสายงาน (Cross Function) ในอนาคตอนั ใกลเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศจะกลายเป็นโครงสร้างหลักขององคก์ ร ซ่งึ จะต้องสอดคล้อง กบั วัฒนธรรม การเมอื ง กระบวนการทางานและขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ านขององค์กร จะเป็นเครอื่ งมือสาคญั ใน การปรับเปลย่ี นการทางานขององค์กร มีการลดลาดบั ชั้นการบรหิ ารองค์กร การเผยแพร่ข่าวสารในเชงิ ธรุ กิจมี การใชค้ วามรู้เปน็ ตวั นา (Knowledge Based) เพื่อชว่ ยส่งเสรมิ ขดี ความสามารถในการปรับตวั ใหเ้ ข้า สภาพแวดล้อมท่ผี ันผวนและสง่ เสรมิ การกระจายอานาจในการบริหารดว้ ยขา่ วสารทรี่ วดเรว็ ชัดเจน ดว้ ย ววิ ัฒนาการของระบบเครือขา่ ยส่ือสารข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศจะไม่ได้เป็น ระบบเด่ียวๆ (Stand alone) อีกต่อไป แตจ่ ะเปน็ ระบบที่เชอื่ มต่อกนั เปน็ โครงสรา้ งขนาดใหญท่ ่สี ามารถ แลกเปล่ียนข้อมลู กันได้ และมีความอ่อนตวั สงู เหมาะกับยุคสมยั ของการทาธรุ กจิ ทตี่ ้องใช้ข้อมลู ร่วมกัน เกื้อกูลกนั และเป็นพันธมติ รกัน จากเหตุผลที่กล่าวมาแลว้ จะเห็นได้ว่าองค์กรธรุ กิจในปัจจุบันและอนาคตมีการเปลย่ี นแปลง ไปในทศิ ทางทต่ี ่างจากองค์กรธุรกจิ แบบเดิม เหตผุ ลทจี่ าเป็นต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นธรุ กิจ คือ (1) การเปล่ยี นแปลงในเทคโนโลยกี ารส่อื สารข้อมูลและเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์องคก์ รตา่ งๆ ท้ัง องค์กรธรุ กิจและองคก์ รที่ไมใ่ ชธ่ รุ กจิ จงึ ตอ้ งนาเอาเทคโนโลยีเขา้ ไปเปน็ ส่วนหนง่ึ ขององค์กร ตลอดจนขอ้ บังคบั ทางกฎหมายในบางเร่ืองอาจมกี ารบังคบั ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการควบคุม เชน่ การขออนญุ าตจด ทะเบยี นการค้าและการภาษอี ากร ในอนาคตทุกองค์กรการคา้ อาจต้องถกู บังคบั ให้เชื่อมโยงข้อมลู การขายและ สนิ ค้าคงคลงั เพื่อการจัดเก็บภาษีผ่านเครอื่ งบันทึกเงินสด (2) ในอนาคตมีการแขง่ ขันสูง ทุกองค์กรต้องการเข้าถึงผูบ้ รโิ ภคดว้ ยความแตกต่างจากคแู่ ข่งให้มาก ทส่ี ุด ด้วยสินคา้ และบริการท่รี าคาถูกดว้ ยความรวดเร็วและคุณภาพดีเทา่ ท่ีลูกค้าต้องการและระบุได้ดว้ ยตนเอง ซ่งึ ในปจั จุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศเอื้อประโยชนใ์ ห้แต่ละองคก์ รสามารถทาธรุ กิจอเี ล็กทรอนกิ ส์ (e-Business) ได้ เช่น การซ้อื ขายสนิ ค้าและทาธุรกรรมผ่านเว็บไซต์หรือการพาณิชย์อีเลก็ ทรอนิกส์ (e-Commerce) (3) องค์กรตอ้ งมกี ารปรบั ตัวและออกแบบองค์กรใหม่ เพราะถูกผลกระทบจากแรงกดดนั ในหลาย ดา้ น ไดแ้ ก่ แรงกดดันจากเทคโนโลยี แรงกดดนั จากสงั คมและแรงกดดันจากตลาดหรือลูกคา้ (4) องค์กรสมยั ใหมต่ ้องติดตามการเปลีย่ นแปลงของโลก (5) องค์กรจาเป็นต้องใช้ IT เพ่ือชว่ ยเสรมิ กลยุทธ์ในการแขง่ ขันท้งั ในระดับประเทศ ภมู ิภาคและ ระดบั โลก ซง่ึ หมายรวมถึง กลยุทธ์ทางการตลาด กลยทุ ธใ์ นการพัฒนาผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร การกระจายสนิ คา้ หรือส่งมอบสนิ ค้าตามกาหนด การโฆษณาและการส่งเสรมิ การขาย การจดั การทรัพยากรบุคคล การวางแผน การผลิต การวิจยั และพฒั นา เป็นตน้ (6) องค์กรต้องประสานงาน แลกเปล่ยี นข้อมลู ท่จี าเป็น ทงั้ ระหว่างผรู้ ่วมงาน และระดับชั้นงาน

-116- บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในธุรกจิ (1) ช่วยเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการผลิต (2) ชว่ ยเพ่ิมคุณภาพผลิตภัณฑ์และตอบสนองความตอ้ งการลกู ค้าได้ดีข้ึน (3) ชว่ ยสร้างสรรคแ์ ละพฒั นากลยุทธใ์ นการบรหิ ารจัดการใหไ้ ด้เปรียบในการแขง่ ขนั มากขึน้ (4) ชว่ ยใหอ้ งคบ์ รรลุผลสาเรจ็ ในการจดั การเชงิ กลยทุ ธต์ ามแผนที่วางไว้ (5) ช่วยให้เกดิ การปรับโครงสรา้ งองค์กรหรอื ปรบั ร้ือองคก์ รในทศิ ทางท่ีดไี ด้ (6) ช่วยให้ผ้บู ริหารตัดสินใจไดเ้ รว็ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น (7) ชว่ ยใหส้ ามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีคา่ และจาเปน็ ต่อองค์กรได้ดีขึ้น (8) ช่วยให้เกิดนวตั กรรมใหม่ในตัวสินค้าและการบริการ (9) ชว่ ยเปลยี่ นมมุ มองในการบรหิ ารจากหนา้ ทม่ี าเป็นกระบวนการ เทคโนโลยพี าณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Commerce) Electronic Commerce หรอื e-Commerce คอื การซ้ือขายสนิ ค้าหรือบรกิ ารโดยส่งขอ้ มูลด้วยสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ผา่ นทางเครือข่าย และเป็นการผสมผสานระหวา่ งเทคโนโลยี Internet กบั การจาหนา่ ยสินค้า และบริหาร โดยสามารถนาเสนอข้อมลู ที่เก่ียวขอ้ งกับตัวสินคา้ หรือบริหารผา่ นทาง Internet สคู่ นทว่ั โลก ภายในระยะเวลาอนั รวดเร็วทาให้การดาเนนิ การซ้ือขายอย่างมปี ระสิทธภิ าพและก่อใหเ้ กิดรายได้ในระยะเวลา อันส้นั ภาพที่ 9.1 แสดงอีคอมเมิร์ซ (e-Commerce)

-117- ประเภทของอีคอมเมริ ์ซ มกี ารแบง่ ประเภทอีคอมเมริ ์ซกันหลายแบบ เช่น แบง่ อีคอมเมริ ์ซเปน็ 5 ประเภท แบ่งอีคอมเมริ ซ์ เป็น 3 ประเภท แบ่งอีคอมเมริ ์ซเปน็ 6 สว่ น และแบง่ อีคอมเมริ ซ์ ตามประเภทสินค้าเป็น 2 ประเภท เป็นตน้ การแบ่งอคี อมเมิร์ซเป็น 5 ประเภท ดงั ต่อไปนี้ 1. ธรุ กจิ กบั ผซู้ ้ือปลกี หรือบีทูซี (B-to-C = Business-to-Consumer) คือผู้ซ้ือปลีกใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ใน การซอ้ื สินค้าจากธุรกจิ ท่ีโฆษณาอยูใ่ นอินเทอรเ์ นต็ 2. ธรุ กิจกับธุรกิจหรือบีทูบี (B-to-B = Business-to-Business) คอื ธรุ กิจกบั ธุรกิจติดต่อซื้อขายสนิ ค้า กนั ผ่านอินเทอรเ์ นต็ 3. ธรุ กิจกบั รฐั บาลหรือบีทูจี (B-to-G = Business-to-Government) คือธุรกิจติดต่อกับหน่วยราชการ 4. รัฐบาลกับรัฐบาลหรือจีทจู ี (G-to-G = Government-to-Government) คือหนว่ ยงานรัฐบาล หนว่ ยงานใดหน่วยงานหนง่ึ ติดต่อกบั หนว่ ยงานรฐั บาลอีกหน่วยงานหน่ึง 5. ผ้บู ริโภคกบั ผู้บรโิ ภคหรอื ซีทูซี (C-to-C = Consumer-to-Consumer) คอื ผู้บรโิ ภคประกาศขาย สนิ คา้ แล้วผู้บรโิ ภคอีกรายหน่ึงกซ็ ้ือไป เช่นท่ี Ebay เปน็ ตน้ ซ่ึงผ้บู ริโภคสามารถจ่ายเงนิ ใหก้ นั ทางบัตรเครดติ ได้ การแบง่ อคี อมเมิรซ์ เปน็ 3 ประเภท ดังต่อไปนี้ 1. อคี อมเมริ ซ์ ระหว่างผูบ้ รโิ ภคกบั ธุรกิจ หรอื บีทซู ี (B-to-C = Business-to-Consumer) เชน่ (1) การตดิ ตอ่ สื่อสารระหวา่ งผูบ้ รโิ ภคกบั ธุรกิจโดยใชไ้ ปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ วิดโี อคอนเฟอเรนซ์ กล่มุ สนทนา กระดานข่าว เป็นตน้ (2) การจดั การดา้ นการเงิน ชว่ ยใหผ้ บู้ รโิ ภคสามารถจดั การเรอ่ื งการเงินส่วนตวั เชน่ ฝาก-ถอนเงินกับ ธนาคาร ซอ้ื ขายหุ้นกบั ผคู้ า้ หุ้น ไดแ้ ก่อเี ทรด (www.etrade.com) เป็นตน้ (3) ซื้อขายสนิ ค้าและขอ้ มลู ช่วยใหผ้ บู้ ริโภคสามารถซื้อขายสนิ คา้ และข้อมูลผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ตได้ โดยสะดวก 2. อคี อมเมิรซ์ ภายในองค์กรหรือแบบอินทราออรก์ (Intra-Org E-commerce) คือการใช้อี คอมเมริ ซ์ ในการชว่ ยให้บริษัทหรือองค์กรใดองค์กรหน่งึ สามารถปรบั ปรุงการทางานภายในและให้บรกิ ารลูกคา้ ไดด้ ีข้นึ เชน่

-118- (1) การตดิ ตอ่ สื่อสารภายในองค์กรจะสะดวกรวดเร็วจะไดผ้ ลดขี ึน้ โดยใชไ้ ปรษณยี ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ วิดโี อคอนเฟอเรนซ์ และป้ายประกาศ เป็นต้น (2) การจดั พมิ พ์เอกสารทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรืออีพับลิชชิง (Electronic Publishing) ชว่ ยใหบ้ ริษทั สามารถออกแบบเอกสาร จัดพิมพเ์ อกสาร และแจกจา่ ยเอกสารไดส้ ะดวกรวดเรว็ และใช้คา่ ใช้จ่ายน้อยไมว่ า่ จะเป็นค่มู ือข้อกาหนดสนิ ค้า (Product Specifications) รายงานการประชมุ เป็นต้นท้งั น้โี ดยผา่ นเวบ็ (3) การปรบั ปรุงประสิทธภิ าพพนักงานขาย การใช้อคี อมเมิรซ์ แบบนช้ี ว่ ยปรับปรงุ การสอ่ื สาร ระหว่างฝา่ ยผลติ กบั ฝ่ายขาย และระหว่างฝ่ายขายกับลูกคา้ ทาใหไ้ ด้ประสิทธิภาพดีขน้ึ 3. อีคอมเมริ ซ์ ระหวา่ งองค์กรหรอื แบบอินเตอร์ออรก์ (Inter-Org E-commerce) คือแบบเดยี วกับ แบบที่เรยี กว่าบที ูบี (B-to-B = Business-to-Business) เชน่ การจดั ซอื้ (ช่วยใหจ้ ดั ซ้ือได้ดขี ้ึน ทัง้ ดา้ นราคา และระยะเวลาการสง่ ของ) การจดั การสินค้าคงคลงั การจดั สง่ สนิ คา้ การจดั การช่องทางการขายสนิ ค้า และ การจดั การด้านการเงนิ เป็นต้น การแบ่งอคี อมเมริ ์ซเปน็ 6 ส่วน ดังตอ่ ไปน้ี 1. การขายปลกั ทางอเิ ล็กทรอนิกสห์ รืออเี ทลลิ่ง (e-tailing = Electronic Retailing) หรือรา้ นค้า เสมอื นจริง (Virtual Storefront) ยอดขายปลีกอิเล็กทรอนิกสใ์ นอเมรกิ าใน ค.ศ. 1999 มีมูลคา่ เป็นหมืน่ ล้าน บาท 2. การวิจัยตลาดทางอเิ ลก็ ทรอนิกสห์ รือมารเ์ กต็ อรี เี ซิรช์ (Market e-Research) คอื การใช้ อนิ เทอรเ์ น็ตในการวจิ ยั ตลาดแบบเดียวกับท่ีสานักวจิ ัยเอแบค-เคเอสซีอินเตอร์เน็ตทาอยู่ จากการใช้ อนิ เทอร์เนต็ น้ี บริษทั หา้ งร้านสามารถเก็บขอ้ มูลเกีย่ วกบั ลูกค้าปจั จบุ ัน และผ้ทู ่ีอาจจะเป็นลกู ค้าในอนาคต ทงั้ จากการลงทะเบียนเข้าใช้เวบ็ จากแบบสอบถามและจากการสง่ั ซอื้ สินค้าของลูกคา้ การวจิ ัยตลาดอนิ เทอร์เน็ต กถ็ ือวา่ เปน็ สว่ นหน่งึ ของอคี อมเมริ ซ์ 3. อนิ เทอรเ์ น็ตอีดไี ด หรือการส่งเอกสารตามมาตรฐานอีดีได้โดยใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ซงึ่ ทาให้คา่ ใช้จ่าย ตา่ ลงก็ถือวา่ เป็นอีคอมเมริ ซ์ ประเภทหนึ่ง 4. โทรสารและโทรศัพท์อินเทอรเ์ น็ต การใชโ้ ทรสารและโทรศัพท์ทางไกลผา่ นอินเทอรเ์ น็ตหรือวีโอไอ พี (VoIP = Voice over IP) นั้นมีราคาตา่ กว่าการใชโ้ ทรสารและโทรศพั ทธ์ รรมดา และอาจจะใช้เป็นส่วนหน่งึ ของอีคอมเมริ ซ์

-119- 5. การซอื้ ขายระหวา่ งบรษิ ัทกบั บริษทั บรษิ ัทตา่ ง ๆ จานวนมากในปัจจบุ นั ตดิ ต่อซื้อขายสินคา้ กนั โดย ผ่านเวบ็ ในอนิ เทอรเ์ นต็ ซึ่งก็ถือวา่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของอคี อมเมิร์ซ 6. ระบบความปลอดภยั ในอคี อมเมริ ์ซ ถือวา่ เปน็ ส่วนสาคัญของอีคอมเมิร์ซท้ังนี้ในปัจจุบันมกี ารใชว้ ธิ ี ตา่ งๆ เชน่ เอสเอสแอล (SSL = Secure Socket Layer) เซ็ต (SET = Secure Electronic Transaction) อาร์เอาเอ (RSA = Rivest, Shamir, and Adleman) ดีอีเอส (DES = Data Encryption Standard) และ ดี อเี อส 3 ชน้ั (Triple DES) เป็นตน้ การแบง่ อีคอมเมริ ซ์ เปน็ 2 ประเภทสนิ คา้ ดงั ต่อไปนี้ 1. สินคา้ ดจิ ิตอล เชน่ ซอฟแวร์ เพลง วิดีโอ หนังสอื เป็นตน้ ซ่ึงสามารถส่งสนิ ค้าได้โดยผ่านอินเทอร์เน็ต 2. สินค้าทีไ่ มใ่ ช่ดิจติ อล เชน่ สินค้าหัตกรรม สนิ คา้ ศลิ ปะชพี เส้ือผา้ เครื่องนงุ่ ห่ม เคร่ืองหนัง เคร่ืองประดบั เครื่องจกั รอปุ กรณ์ ซง่ึ ตอ้ งสง่ สินคา้ ทางพสั ดุภณั ฑ์ผา่ นไปรษณียห์ รอื บริษทั รบั สง่ พัสดุภณั ฑ์ แม้ว่าพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์และการทาธรุ กจิ อเิ ล็กทรอนิกส์นาเสนอความเจริญร่งุ เรืองแบบใหม่ใหแ้ ก่ องค์กรแต่ในเวลาเดียวกนั กน็ ามาซึง่ ปญั หาความท้าทายดว้ ยเช่นกนั ไมว่ ่าจะเปน็ รูปแบบการดาเนนิ ธรุ กิจบน ระบบอินเทอรเ์ น็ตยังไมไ่ ดร้ ับการพิสจู นว์ ่าจะเปน็ แหล่งท่มี าของรายได้ที่ยั่งยืน การนากระบวนการธรุ กิจบนเว็บ สาหรบั การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละการทาธรุ กจิ อิเลก็ ทรอนิกส์มาใช้งานทาให้ต้องมกี ารเปลยี่ นแปลงองค์กร อยา่ งมาก กฎหมายท่จี ะนามาใชก้ บั การพาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนิกสก์ ็ยงั ไมม่ ีอย่างเพียงพอและองค์กรทท่ี าการ พาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ก็จะต้องระมดั ระวังในเรื่องการรักษาความปลอดภัยและการป้องกันสิทธิส่วนตวั ของ ลูกค้า สาหรบั ระบบการชาระเงินทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Payment System) แบบพิเศษได้รบั การ พฒั นาขน้ึ มาเพื่อจัดการกับวิธกี ารชาระเงินแบบตา่ งๆ สาหรับสนิ คา้ ท่มี ีการซ้ือขายทางอเิ ล็กทรอนิกสบ์ นระบบ อนิ เทอรเ์ นต็

-120- ระบบชาระเงิน คาอธิบาย ตวั อยา่ ง Credit Cards บรกิ ารท่มี ีระบบรักษาความปลอดภยั บน PC Authorize, Web ระบบอนิ เทอร์เน็ตที่ชว่ ยรกั ษาความลบั ของ Authorize, IC Verify ขอ้ มูลท่ีถกู สง่ ระหว่างผู้ใช้ ส่งไปยังเว็บไซต์ ผู้ขายสนิ ค้าและสง่ ไปประมวลผลทธี่ นาคาร Electronic Cash รูปแบบการเงนิ อิเลก็ ทรอนิกส์ทส่ี ามารถใช้ Flooz.com, e-Coin ชาระเงินจานวนเล็กนอ้ ย Person-to-Person Payment ความสามารถส่งเงนิ ผ่านเว็บไปยงั ผ้ทู ีไ่ มร่ ับ Paypal, BillPoint, Systems บัตรเครดติ ในการชาระค่าสนิ คา้ Yahoo payDirect Digital Wallet ซอฟตแ์ วร์ท่ีเกบ็ รักษาหมายเลขบัตรเครดิต Passport, Gator, AOL และข้อมูลส่วนตวั ของเจา้ ของบัตรเพ่ือ Quick Checkout อานวยความสะดวกในการใชบ้ ตั รเครดิต ชาระคา่ สินคา้ และบรหิ ารบนเวบ็ Electronic Check เชค็ เงนิ สดท่ีมกี ารประทับตราด้วยลายเซน็ NetChex อเิ ล็กทรอนกิ ส์ Smart Card ไมโครชพิ ท่ีเกบ็ ข้อมลู e-cash และข้อมลู Mondex อน่ื ๆ ไวส้ าหรบั การชาระเงินท่ีแบบออนไลน์ และแบบทว่ั ไป Electronic Bill Payment สนบั สนุนการชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ CheckFree, สาหรบั การซื้อสินค้าแบบออนไลน์และแบบ Billserve.com ปกติ ตารางท่ี 9.1 แสดงระบบการชาระเงินอิเลก็ ทรอนิกส์สาหรับการพาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ ทม่ี า เลาดอน, เคนเนท, เลาดอน, จีนส์. 2546: 102 (เลาดอน, เคนเนท, เลาดอน, จนี ส.์ (2546). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ. พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ: เพยี ร์ สนั เอด็ ดเู คช่นั อนิ โดไชน่า.)

-121- ประโยชน์ของอคี อมเมริ ์ซ 1. เป็นการค้าท่ไี ร้พรมแดน ไม่มีการแบง่ ทวีปหรือประเทศ ไม่มขี ้อจากัดในเร่ืองระยะทางและการ เดินทาง ท่านสามารถที่จะซื้อสินคา้ จากร้านหนงึ่ และเดนิ ทางไปซ้ือสนิ ค้าจากร้านอีกร้านหนง่ึ ซึ่งอยู่คนละทวปี กันได้ ในเวลาเพยี งไม่กนี่ าที 2. เขา้ ถงึ กลมุ่ ลูกค้าเป้าหมายขนาดใหญ่ทัว่ โลก ฐานผู้ซ้ือขยายกว้างข้ึน 3. สามารถสามารถทาการค้าได้ตลอด 24 ชวั่ โมงและเปิดไดท้ ุกวันโดยไมว่ ันหยดุ 4. ไมม่ ีความจาเป็นต้องจ้างพนกั งานขายเพราะเจา้ e-Commerce จะทาการคา้ แบบอตั โนมัติให้คณุ ไมต่ ้องมสี ินค้าคงคลังหรอื มีก็น้อยมาก 5. ไมม่ ีความจาเปน็ ต้องเสียคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งตึกแถว เพื่อใช้เป็นร้านคา้ เพียงแค่สรา้ ง Web Site ก็ เปรียบเสมอื นร้านค้าของคุณแล้ว ไม่ตอ้ งเสีย่ งกับทาเลทตี่ ั้งของรา้ นค้า 6. e-Commerce สามารถเกบ็ เงนิ และนาเงินฝากเข้าบญั ชี ให้คณุ โดยอตั โนมตั ิ ภาพท่ี 9.2 แสดงประโยชนข์ องอคี อมเมริ ์ซ ท่มี า https://sites.google.com/site/ecommercepa02/home/prayochn-laea-khx-cakad-khxng-e- commerce

-122- เทคโนโลยีคลาวดค์ อมพิวต้ิง (Cloud Computing) คลาวดค์ อมพิวตงิ้ (Cloud Computing) คือแนวคิดการใช้งานทางดา้ นไอทีท่ใี ช้วิธดี ึงพลังและ สมรรถนะจากคอมพิวเตอร์หลายๆ ตัวจากต่างสถานท่ีใหม้ าทางานสอดประสานกนั เพื่อช่วยขับเคล่อื นการ บริการทางดา้ นไอที ประโยชนข์ องคลาวดค์ อมพิวติง้ มีหลายประการเชน่ ชว่ ยให้การนาไอทีไปประยุกตใ์ ช้ในเชิง ธุรกจิ ทาได้ง่ายและประหยดั ข้ึนกว่าในอดตี โดยองค์กรสามารถใชบ้ ริการทางดา้ นไอทีได้ โดยไม่จาเป็นต้อง ลงทุนมากกับโครงสร้างพน้ื ฐานไอที อีกทงั้ ผูใ้ ชง้ านก็สามารถเลือกใช้บริการเฉพาะอย่างและเลือกเสียคา่ ใช้ ใหก้ บั ความต้องการเฉพาะด้านหรอื สอดคล้องกับงบประมาณได้ นอกจากน้ีคลาวดค์ อมพิวต้งิ ยังมีประโยชนใ์ น ดา้ นอื่น ๆ อีกไม่วา่ จะเป็นการชว่ ยองคก์ รประหยัดพลังงานหรือเพิ่มความอุ่นใจในดา้ นความปลอดภยั ของ ระบบไอที เป็นต้น ภาพท่ี 9.3 แสดงระบบคลาวดค์ อมพิวติง้ (Cloud Computing) ในอนาคตอันใกลค้ ลาวด์คอมพิวต้งิ จะกลายเป็นเทคโนโลยที ่สี าคญั และจะเข้ามามบี ทบาทในการ ปรบั เปล่ียนรปู แบบการใชง้ านทางดา้ นไอทีขนาดใหญ่ นอกจากน้นั แนวโนม้ การใช้งานคลาวดค์ อมพวิ ตง้ิ ก็จะ เป็นไปอย่างกวา้ งขวางมากข้นึ ด้วยแรงผลักดนั จากแนวโนม้ สาคญั 5 ประการดงั นี้ (สานกั งานส่งเสริมวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม. เทคโนโลยีคลาวดค์ อมพวิ ตงิ้ กับโอกาสทางธุรกจิ ของ SMEs. Online: www.sme.go.th) 1. แนวโนม้ ของเว็บทีก่ ลายเปน็ สื่อกลางสาหรับการติดต่อสื่อสารของคนทั่วโลก ปัจจบุ นั เว็บ เครอื ข่ายทางสังคม (Social Network) มีการเปลี่ยนแปลงทุกวันโดยผู้ใช้หลายล้านคนจากทว่ั ทกุ มุมโลก เช่น เฟซบุ๊ค (Facebook) วกิ ิพีเดีย (Wikipedia) หรือทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นต้น ดว้ ยความนยิ มใช้งานอยา่ ง

-123- แพรห่ ลายของเว็บโซเชียลเนต็ เวริ ก์ น้ีเอง ทาใหป้ จั จบุ นั เรม่ิ มีการนาเว็บแอพพลเิ คช่ันรปู แบบดงั กล่าวมา ประยกุ ตใ์ ช้ เพ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพการทางานรว่ มกนั ระหวา่ งบุคลากรในองค์กร โดยการเลอื กใช้โซเชียลเน็ตเวริ ก์ ผ่านเทคโนโลยคี ลาวด์คอมพวิ ติ้งในองค์กร เพื่อระดมความคิดของ พนกั งานผ่านระบบออนไลน์ในแบบเรียลไทม์ รปู แบบการใชง้ านคลาวด์คอมพวิ ตง้ิ ดงั กลา่ วนีส้ ามารถรวบรวม ข้อมูลจากพนักงาน 18,000 คน โดยข้อมลู ดงั กล่าวจะถูกนาไปบริหารจัดการและวิเคราะหเ์ พือ่ นาไปใช้งานเพ่ือ ประโยชน์ในเชงิ ธรุ กิจตอ่ ไป นอกจากน้ันการสื่อสารอนิ เทอร์แอคทฟี ในแบบเรยี ลไทม์ หรือทเี่ รียกวา่ เว็บ 2.0 ก็ ถอื เป็นปจั จัยสาคัญทผ่ี ลักดันแนวโนม้ การใช้งานทางด้านคลาวดค์ อมพิวตง้ิ ให้มากยง่ิ ขนึ้ ซึง่ รูปแบบดงั กลา่ ง นอกจากจะตอบสนองการทางานของเวบ็ ไซท์ทเี่ นอื้ หามกี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลาแล้ว การประมวลผลข้อมลู จานวนมหาศาลยงั ทาไดอ้ ย่างรวดเรว็ โดยดึงประโยชน์จากโครงสรา้ งพืน้ ฐานไอทีทีม่ ีอยู่มาใชง้ านได้อีกดว้ ย ภาพที่ 9.4 แสดงส่ือกลางในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร 2. แนวโนม้ ความตอ้ งการประหยัดพลงั งาน ด้วยปัญหาโลกรอ้ นและคา่ ใชจ้ า่ ยของพลงั งานท่ีเพ่ิม สูงขึน้ เร่อื ยๆ องค์กรหลายแห่งในปัจจุบนั ต่างหันมาให้ความสาคญั กบั การลดพลงั งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พลังงานที่ใชใ้ นระบบไอที ท้ังน้ีเพือ่ ชว่ ยองค์กรประหยดั ค่าใชจ้ ่ายและลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ ปล่อยออกสบู่ รรยากาศ ประโยชน์ของคลาวด์คอมพิวติ้งในดา้ นน้กี ค็ ือ การช่วยองค์กรลดการใช้พลังงาน หรือ แมก้ ระท่งั การนาพลงั ประมวลผลส่วนเกนิ ทีเ่ กดิ ขึ้นในระหว่างการทางานในระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ประโยชน์ ในดา้ นอื่นๆ ไดอ้ ีก จากผลการวจิ ยั ล่าสุดพบว่าเครื่องแมข่ า่ ยหรอื เซิร์ฟเวอร์สว่ นใหญท่ ท่ี างานตลอดเวลานน้ั ส่วนใหญม่ ีการใชท้ รัพยากรในระบบเพียงแค่ 10–20 เปอรเ์ ซ็นตเ์ ทา่ นัน้ ด้วยแนวคิดของคลาวด์คอมพิวต้ิงนี้เอง จะช่วยควบรวมทรพั ยากรในระบบใหท้ างานและเกิดความคุ้มคา่ รวมท้ังประโยชน์สูงสดุ จากการใช้ทรัพยากรใน

-124- ระบบ นอกจากนัน้ แล้ววิธกี ารดงั กล่าวยงั เปดิ โอกาสใหอ้ งค์กรสามารถเพ่ิมหรือลดขนาดการใช้งานของระบบได้ ซง่ึ ท้งั หมดนี้ถอื เป็นการช่วยองคก์ รประหยัดพลังงานและคา่ ใช้จ่ายได้อีกทางหน่งึ ภาพที่ 9.5 แสดงช่วยประหยดั พลังงาน 3. ความต้องการสร้างสรรค์นวัตกรรมขององค์กร ด้วยการแข่งขนั อย่างรุนแรงทางธรุ กิจในปจั จุบนั องค์กรช้ันนาหลายแห่งตา่ งให้ความสาคัญกับการสรา้ งสรรค์นวตั กรรม หรอื การนาเทคโนโลยีมาใช้เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ล ลพั ธ์สูงสุด ทัง้ นเ้ี พื่อเปน็ การเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั และสรา้ งความแตกตา่ งขององคก์ รในอีกทาง หนง่ึ แนวโนม้ การใหค้ วามสาคัญต่อการพัฒนาสร้างสรรคน์ วตั กรรมดังกล่าวนเี้ อง ถือเป็นการกระตนุ้ การนา คลาวดค์ อมพิวต้งิ ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อธุรกจิ ท้งั นี้เพราะการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมสามารถทาได้ด้วยการดึง คุณประโยชนข์ องคลาวด์คอมพวิ ต้ิงซงึ่ ให้พลงั การประมวลผลทเ่ี หนอื กว่าแต่ใช้ค่าใชจ้ า่ ยน้อยกวา่ มาใชใ้ ห้เกิด ประโยชนน์ ่นั เอง 4. ความต้องการใช้งานไอทีท่งี ่ายและไม่ซบั ซอ้ น ปัจจุบันแมว้ ่าเทคโนโลยีจะมีความสลับซับซอ้ น เพียงใดก็ตาม สาหรับผูใ้ ช้งานทว่ั ไปแลว้ หลายคนกย็ ังต้องการการใชง้ านทงี่ ่ายและไม่ยุ่งยาก ดว้ ยเหตุดงั กลา่ ว ผู้ใหบ้ รกิ ารทางดา้ นไอทหี ลายรายในปัจจบุ ันจงึ หันมาใช้เทคโนโลยีคลาวดค์ อมพิวติ้ง เพือ่ นาเสนอบรกิ าร ทางด้านซอฟต์แวร์แบบ “จา่ ยเท่าท่ีใช้” (Software as a Service) เพ่ือเป็นทางเลอื กแก่ลกู คา้ โดยเฉพาะ องค์กรขนาดกลางหรือขนาดย่อม (SMEs) ทม่ี ักมีเจ้าหนา้ ท่ีทางด้านไอทีทางานอยู่อย่างจากัด แทนรปู แบบการ ซ้อื ซอฟต์แวร์มาใช้โดยตรงแบบในอดีต การใช้งานในลักษณะดังกล่าวนอกจากจะทาใหก้ ารนาไอทไี ปใช้งานทา

-125- ไดง้ า่ ยยงิ่ ข้ึนแล้ว องค์กรนั้นๆ กจ็ ะได้รบั ประโยชนจ์ ากการใช้ซอฟตแ์ วร์ที่ทันสมยั อยู่เสมอ โดยไมต่ ้องเผชิญกบั ความยงุ่ ยากและค่าใชจ้ ่ายในการบรหิ ารจัดการและการอัพเกรดเวอร์ชั่นของซอฟต์แวรต์ ่างๆ เช่นในอดตี 5. การจดั ระเบยี บขอ้ มูลให้มีประสทิ ธภิ าพดยี ่ิงข้ึน ทุกวนั น้เี ปน็ ทที่ ราบกนั ดวี า่ ข้อมลู ต่างๆ มากมายใน เว็บช่วยใหเ้ ราทางานงา่ ยขึ้นกวา่ ในอดีตมาก อยา่ งไรก็ตามถึงแมป้ ัจจุบันเราจะมีเสริ ์ซเอน็ จ้ินทช่ี ว่ ยเราหาขอ้ มูล ท่ตี อ้ งการอยู่มากมาย แต่กค็ งปฏิเสธไมไ่ ดว้ า่ ด้วยปรมิ าณข้อมลู ในเว็บทเ่ี พิ่มมากมายมหาศาลในแตล่ ะวัน โดยเฉพาะข้อมลู และไฟลต์ ่างๆ ทีผ่ ใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตหลายลา้ นคนส่งข้ึนไปในเวบ็ ในแต่ละวันนน้ั หากไม่มีการจัด ระเบียบอยา่ งเปน็ ระบบท่ีดี การนาคณุ ประโยชน์ของเวบ็ มาพัฒนาต่อยอดให้กลายเปน็ เคร่อื งมือท่ชี ว่ ย สนับสนุน ประสิทธภิ าพในการทางานอยา่ งเต็มรูปแบบก็อาจทาได้ไมด่ เี ท่าท่คี วร คณุ ประโยชน์อนั โดดเดน่ อกี อย่างหนึ่งของคลาวดค์ อมพิวติ้งก็คือ ความสามารถในการจัดระเบยี บสิ่ง ต่างๆ ใหเ้ ป็นระบบดยี งิ่ ขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การบรหิ ารจัดการและจดั เก็บข้อมลู มากมายหลากหลายประเภท ให้เปน็ ระบบ ซงึ่ ชว่ ยให้การค้นหาและเข้าถงึ ข้อมลู ของผู้ใช้ทาได้เรว็ และถูกต้องแม่นยากวา่ เดิม คาถามท้ายบท 1. จงสรุปวา่ “เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพฒั นาธุรกจิ ” คืออะไร จงอธบิ ายพรอ้ มยกตวั อย่าง ประกอบ 2. บทบาทของเทคโนโลยสี ารสนเทศในธรุ กจิ มีอะไรบ้าง จงอธิบาย 3. เทคโนโลยีพาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) คืออะไร มีประโยชน์อยา่ งไร จงอธบิ ายพรอ้ ม ยกตัวอยา่ งประกอบ 4. เทคโนโลยคี ลาวด์คอมพวิ ติ้ง (Cloud Computing) คอื อะไร จงอธบิ ายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

-126- บทที่ 10 เทคโนโลยกี บั การพฒั นาทยี่ ั่งยนื การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของตนเองหรือตอบสนองความต้องการของสงั คมหรือประเทศชาติ ด้านใดๆกต็ าม เทคโนโลยยี ่อมมีสว่ นเกีย่ วข้องสมั พนั ธ์กับความกา้ วหนา้ ดา้ นนั้นๆเสมอหรืออาจกลา่ วไดว้ า่ ความ เจรญิ กา้ วหน้าทางเทคโนโลยีในดา้ นใดๆ ย่อมทาไหค้ วามกา้ วหน้าด้านน้ันๆเกดิ ข้ึนควบคไู่ ปดว้ ย เชน่ ความก้าวหน้าเทคโนโลยกี ารเกษตรก็ทาไห้กิจกรรมด้านการเกษตรก้าวหนา้ ไปดว้ ยหรอื ความกา้ วหน้าทาง เทคโนโลยีทางการศึกษาและทางด้านอุตสาหกรรม ก็ทาไหก้ ิจกรรมทางดา้ นการศึกษาและทางด้าน อุตสาหกรรมกา้ วหนา้ ไปดว้ ยเหล่าน้ีเปน็ ต้น แต่ถงึ กระนน้ั ก็ตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีถึงแมน้ จะทาไห้มี การพฒั นาดา้ นต่างๆมากมาย ก็ยอ่ มสง่ ผลกระทบในดา้ นที่ไม่พึงปรารถนาดว้ ยเชน่ กนั ดังน้ัน การพัฒนาจงึ ต้อง คานึงถงึ ความเปน็ องคร์ วมในทกุ ด้านอย่างสมดลุ เหมาะสมบนพนื้ ฐานของการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู ปิ ญั ญา และวฒั นธรรม ด้วยการมีสว่ นร่วมของประชาชน ทกุ กลมุ่ ด้วยความเอ้ืออาทร เคารพซ่ึงกนั และกัน สามารถที่ จะพึ่งตนเองไดแ้ ละนาไปสู่การพัฒนาท่ยี ั่งยนื ในทส่ี ดุ ความหมาย การพัฒนาที่ยั่งยนื (Sustainable Development) ทีป่ ระชมุ สหประชาชาติว่าดว้ ยส่ิงแวดลอ้ มและการพฒั นา ได้นยิ ามความหมายของการพัฒนาอย่าง ยงั่ ยืนไว้ว่าหมายถงึ การพฒั นาท่สี นองความต้องการของคนในปจั จบุ นั โดยไมท่ าให้อนชุ นรุ่นหลังสูญเสียโอกาส ในการพฒั นาเพื่อสนองความตอ้ งการของเขาเองดว้ ย หรอื กล่าวอีกอยา่ งได้วา่ การพัฒนาท่ตี ้องคานึงถึง ผลกระทบด้านต่างๆ 3 ด้านหลกั คอื ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ด้านส่งิ แวดล้อมท้ัง 3 ดา้ นมคี วามเชือ่ มโยง สมั พันธ์กนั ตามภาพท่ี 10.1 (ปรับปรุงจากคณาจารยม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร.2550)

-127- เปน็ ธรรม สสงั ังคคมม เศรเศษรฐษกฐิจกิจ พึ่งพา สิ่งแสวิ่งดแลวอ้ ดมลอ้ ม เตบิ โต ยงั่ ยนื ภาพที่ 10.1 แสดงความสัมพันธเ์ กี่ยวเนื่องการพัฒนาสงั คม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม องคป์ ระกอบของการพฒั นาอย่างยง่ั ยืน หากวเิ คราะห์องค์ประกอบของการพัฒนาอยา่ งย่ังยนื จากภาพความสมั พันธ์จะเหน็ ได้ว่าองค์ประกอบ ของการพฒั นาอย่างย่ังยนื ประกอบด้วย 3 ดา้ นหลักๆดงั นี้ 1. ความย่ังยืนดา้ นสง่ิ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เปน็ สิ่งทีม่ นษุ ย์ทกุ คนนามาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ แก่ตนเองและสังคมเป็นปัจจยั พื้นฐานในการดาเนนิ ชีวิต ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศยั เครือ่ งนุ่งห่ม ยารักษาโรค ปจั จุบันมนษุ ย์ ยงั ต้องการสง่ิ อานวยความสะดวกอีกมากมาย อันเป็นสาเหตุให้มนุษย์ นาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ อยา่ งมากมายเชน่ กัน ดังนั้นการใช้และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างถูกวิธีมคี วามจาเป็นอยา่ งย่ิง ในการที่มนุษย์จะต้องช่วยกนั ทาไหท้ รัพยากรธรรมชาติ เป็นส่ิงที่เอ้ืออานวยประโยชนใ์ หแ้ ก่มนษุ ย์ ให้มากทีส่ ดุ ยาวนานทส่ี ดุ และในขณะเดียวกันต้องมีความสมดุลกับส่งิ แวดลอ้ มมากท่สี ดุ นน่ั คือต้องมีการเตบิ โตแบบพง่ึ พา ซง่ึ กันและกนั

-128- 2. ความยงั่ ยืนด้านเศรษฐกิจทมี่ ่นั คง ตอ้ งมีการสร้างอาชีพโดยปรบั โครงสร้างการผลติ ใหเ้ หมาะสมกับ ศักยภาพและข้อจากดั ของประเทศ การไห้ความสาคญั กับภาคเกษตรและบริการมากขึน้ โดยเฉพาะในสาขาที่ เราโดดเด่นมากๆ เชน่ การท่องเทยี่ ว บรกิ ารทางการแพทย์ สมุนไพร ฯลฯ ขณะเดยี วกัน เราต้องพยายามสรา้ ง “Value Creation” เพื่อผลกั ดันให้ SMEs เติบโตอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐานและโดนใจผ้บู รโิ ภคทกุ กล่มุ เปา้ หมายมากขึน้ (บทความเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ โดย ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ปี 2012 ตอนท่ี 1/2555) 3. ความยัง่ ยนื ดา้ นสังคมและคุณภาพชวี ติ ทดี่ ี การใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพอื่ ทาให้ คุณภาพ ชีวิตของบคุ คลสังคมและประเทศชาติดขี ้ึนพัฒนาย่งิ ข้นึ จะต้องสรา้ งและเสรมิ ในประเดน็ ต่างๆ ดังน้ี 3.1 การสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวติ ของบุคคลโดยรวม ใหก้ า้ วหน้า กา้ วไกล และก้าวทันโลก ย่ิงๆขน้ึ ต่อไปแมจ้ ะอย่ใู นโลกไร้พรมแดนก็มีคุณภาพที่ดขี ้นึ 3.2 การสร้างสรรค์ และพัฒนาประเทศในทุกดา้ น ท้งั เศรษฐกจิ สงั คม การเมือง และองคค์ วามรู้ ใหม่ๆท่จี ะช่วยให้เกดิ การเรยี นรพู้ ่งึ ตนเองได้และแก้ปญั หาประเทศได้ 3.3 การสรา้ งมูลค่าเพมิ่ ให้แก่ผผู้ ลติ โดยใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาชว่ ยในการดัดแปลง การ สรา้ ง การออกแบบ และพฒั นาสินคา้ และบริการแบบใหม่ๆ ขน้ึ มาได้ เพื่อสรา้ งรายได้และยกระดบั ความ เป็นอยูข่ องคนในประเทศให้มีคุณภาพชวี ติ ทด่ี ีข้ึน 3.4 การศกึ ษา ตลอดชวี ติ มบี ทบาทสาคญั มากขน้ึ เนอ่ื งจากการเปล่ยี นแปลง อย่างรวดเรว็ ทาง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้การศกึ ษา ทวคี วามสาคัญมากย่ิงข้ึน โดยจะเปลี่ยนจากการศึกษาท่ีเกิดขึ้น เฉพาะวยั เด็กและวยั หนุม่ สาว ชว่ งก่อนการทางาน เปน็ การศึกษาตลอดชีวติ ทมี่ ีความจาเปน็ เพ่ือใหส้ ามารถ ปรบั ตัว เขา้ กบั สังคมที่เปลยี่ นแปลง ของเทคโนโลยี ทาให้เกิด การเรยี นรู้ ไดด้ ้วยตนเอง เชน่ อนิ เตอรเ์ น็ต ดาวเทยี ม 3.5 ดา้ นอุตสาหกรรมการบริการ ซง่ึ เปน็ อุตสาหกรรมใหม่ ท่ีใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยี อน่ื ๆ เข้าไปเช่ือมโยงกับ การบรกิ ารมากข้ึน และมีบทบาทสูงยงิ่ ขึ้น ในการสนอง ความต้องการ ของสังคม เช่น ธนาคาร สอื่ สารมวลชน การรกั ษาพยาบาล การท่องเทย่ี วและโรงแรม ด้านการศกึ ษา ชว่ ยใหส้ อื่ การเรียนการ สอนมีรปู แบบและพลังดงึ ดดู มากขน้ึ 3.6 ด้านการชว่ ยอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม และพฒั นาให้ ดีขึน้ เชน่ การลด มลภาวะดว้ ยการผลติ ทีใ่ ชเ้ ทคโนโลยีสะอาด การใช้พลังงานแสงอาทติ ย์พลงั งานลมและการใช้ พลงั งานทดแทน เปน็ ตน้ 3.7 ดา้ นการสาธารณสุข วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีบทบาทสาคญั ท่จี ะชว่ ยสนองความ ต้องการ ของบุคคลและชุมชน ทั้งด้านการปอ้ งกนั การส่งเสริมสุขภาพอนามยั และวทิ ยาการ ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนอยู่ดี กินดี มีมาตรฐานการครองชพี ทีด่ ี มีท่ีอยอู่ าศัยถูกสุขลกั ษณะ ปราศจากมลพิษและขยะ มีการวางแผนการ จัดการในการใช้ทด่ี ินโดยมีการวางผังเมอื ง แยกพน้ื ท่ีที่อยู่อาศยั ออกจากพ้ืนทอ่ี ุตสาหกรรม เปน็ ตน้

-129- ทัง้ 3 ด้านจะเกิดขนึ้ ได้ก็ต่อเม่ือมกี ารสร้าง องคค์ วามร้เู ทคโนโลยีกับการพฒั นาที่เหมาะสมเข้ามา หนนุ เสรมิ อยตู่ ลอดเวลา ขณะเดียวกัน สงั คมต้องมีกระบวนการเรียนรใู้ ห้คนเข้าถงึ องค์ความรแู้ ละนวัตกรรม ต่างๆ เหล่าน้นั ไดส้ ะดวก รวดเร็ว เพื่อใหป้ ระชาชนนาความรทู้ ไ่ี ด้ไปปรับใชใ้ นการประกอบอาชพี ดาเนินธุรกิจ และดารงชีวิตอย่างสมดลุ ตลอดไป เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกบั การพัฒนาท่ยี ั่งยืน คาวา่ เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม หมายถงึ เหมาะสมต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความต้องการของ ประเทศ เทคโนโลยบี างเรอ่ื งเหมาะสมกับบางประเทศ ทง้ั น้ีข้นึ อยู่กับสภาวะของแตล่ ะประเทศองคก์ ารอนามัย โลก กลา่ วถงึ คุณสมบัตขิ องคาว่าเทคโนโลยีที่เหมาะสม ดังนี้ 1. เหมาะสม ถกู ต้องตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ 2. ปรบั ปรงุ ให้เข้ากบั สภาวะท้องถ่นิ ได้ 3. เป็นทย่ี อมรับของประชาชนในท้องถิน่ 4. สามารถนาไปสกู่ ารพึ่งพาตนเองได้ จากคุณสมบตั ดิ งั กล่าวจะเห็นได้วา่ มีความสอดคล้องกบั หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาชถี้ ึงแนว การดารงอยูแ่ ละปฏิบัตติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ตัง้ แต่ครอบครวั ระดับชมุ ชนจนถงึ ระดับรฐั ทั้งในการ พัฒนาและการบรหิ ารประเทศให้ดาเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหก้ ้าวหนา้ ทนั ต่อยคุ โลกาภิวัต ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาเป็นทจ่ี ะต้องมี ระบบภมู ิค้มุ กันในตวั ทด่ี ี พอสมควรตอ่ การมผี ลกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและ ภายใน ทง้ั น้จี ะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมดั ระวังอยา่ งยิ่งในการนาวชิ าการตา่ งๆ มาใช้ใน การวางแผนและการดาเนินการทุกขนั้ ตอน ขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสรมิ สรา้ งพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรมความซ้ือสตั ยส์ ุจริตและให้ ความรอบรทู้ ่ีเหมาะสม ดาเนินชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปัญญาและความรอบคอบ เพ่ือใหส้ มดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ท้ังด้านวตั ถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และ วฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเป็นปจั จัยสาคญั ชนดิ หนง่ึ ที่ก่อใหเ้ กดิ เศรษฐกิจพอเพียง ควรเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีท่ี เหมาะสม เพอ่ื สร้างเสริมความรูใ้ นการทามาหากนิ โดยนาภูมิปัญญาที่ได้รับสบื ทอดกันมาในท้องถน่ิ นามา ประยุกตใ์ ช้ เพราะเทคโนโลยที ่ใี ชใ้ นการผลิต เพ่ือดารงชวี ติ และการจดั การล้วนแตเ่ ริ่มจากความเข้าใจพนื้ ฐานที่ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านท่ีนามาปรับใชต้ ามการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพของ ชมุ ชนและสงั คมแต่ละภูมิภาค

-130- รูปแบบการใช้เทคโนโลยีเพ่อื การพัฒนาความกา้ วหนา้ ในประทศ มีความกา้ วหน้าท่นี ับวา่ เปน็ ความสาเร็จ 3 ประการคือ 1. การสร้างบรรยากาศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. การสง่ เสรมิ การวจิ ัยและพัฒนา 3. การเตรยี มบุคลากรดา้ นวทื ยาสาตรแ์ ละเทคโนโลยี ปญั หาของการพัฒนาเทคโนโลยใี นประเทศ ปญั หาสาคัญทที่ าให้การพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ไมถ่ ึง จดุ ทใ่ี ชง้ านได้ 5 ประการตามความสาคัญคือ 1. การขาดแคลนบุคลากรทม่ี ีศักยภาพ 2. การขาดการวางแผนและนโยบาย 3. การขาดเคร่อื งมือและเงนิ ทุน 4. การขาดองค์กรและระบบวจิ ัยและพฒั นาทสี่ มบรูณ์ 5. การขาดองค์ความรู้อนั เปน็ ฐานของการพฒั นาเทคโนโลยี เป้าหมายในการวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีในอนาคต มดี งั นี้ 1. กาหนดใหม้ มี าตรการเพมิ่ นักวิจัยของประเทศเป็น 3.5 คนตอ่ ประชาชน 10,000 คน ในปสี ุดทา้ ย ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 2. เสรมิ สร้างความเชือ่ มโยงระบบวิจยั และพฒั นาตามความสาคัญ 3. ดาเนินการใหม้ ีการพัฒนาวชิ าชีพนักวจิ ัยให้สามารถยึดเป็นอาชีพทม่ี ีความกา้ วหนา้ 4. เพ่ิมประสิทธภิ าพการปรบั ปรุงการบรกิ ารของภาครฐั 5. กาหนดให้มมี าตรการภาษี การเงิน และการสนบั สนุนเทคนิคอย่างจริงจัง 6. กระตุ้นให้มคี วามร่วมมอื ในการการวจิ ยั และพัฒนาในลักษณะกลุม่ 7. กาหนดเป้าหมายค่าใช้จา่ ยเพ่อื การวจิ ยั และพฒั นาเพื่อการวจิ ัยและพัฒนา 8. กาหนดเป้าหมายการวิจัยและพัฒนาฯ ใน 5 สาขาหลกั 9. กาหนดให้มหี รือปรับปรุงองค์กรและกลไกที่ทาหนา้ ทว่ี ิเคราะห์

-131- นโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต มดี ้งนี้ 1. การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยตี อ้ งอยใู่ นภาคการผลิต 2. การใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี พื่อสง่ เสริมและพัฒนาภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ 3. การใช้วทิ ยาศาสตร์เพอื่ อยรู่ ว่ มกับการเปล่ยี นแปลงของโลก 4. การอาศัยการมสี ่วนร่วมของสงั คมและชมุ ชน ภาครฐั เอกชนและประชาชน 5. บคุ ลากรดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยจี ะตอ้ งได้รบั การพัฒนาอยา่ งจริงจัง แนวทางการพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ่สี าคัญ คือ ประยุกต์ใช้ พฒั นาต่อยอดเทคโนโลยี และ สนับสนนุ การพัฒนานวตั กรรมเพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพในการผลิตสินค้าและบรกิ าร โดยรว่ มมือกบั ภาคเอกชน และเกษตรกรผใู้ ชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีในการกาหนดแนวทางดาเนนิ การเฉพาะสาขาท่ีประเทศไทยมี ศกั ยภาพและเรง่ พฒั นาสังคมไทยให้มีพื้นฐานความรู้ ความคิดทางวิทยาศาสตร์ พัฒนาบุคลากรด้าน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นสาขาทเี่ ปน็ ความตอ้ งการท้ังดา้ นปรมิ าณและคุณภาพอยา่ งพอเพียง รวมทัง้ ยกระดับการใช้และพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ ทาให้เกิดความพร้อมด้านโครงสร้างพืน้ ฐานทางเทคโนโลยี อนั จะเป็นการสรา้ งบรรยากาศการลงทนุ ในกิจการท่ีใชเ้ ทคโนโลยสี ูงในระยะตอ่ ไป ในการน้ีจาเป็นตอ้ งปรับปรงุ การบริหารงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีใหเ้ ป็นไปในเชิงรกุ ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยที ีม่ อี ยู่แลว้ เพอื่ ลด สดั ส่วนการพ่ึงพาเทคโนโลยจี ากต่างประเทศ และสรา้ งกลไกการกระจายความรูแ้ ละบริการดา้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสคู่ นในชนบท เพอื่ ลดช่องว่างทางสังคมและเพิม่ โอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่ประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศ แนวทางในการปฏบิ ัตทิ ี่จะไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อมท่ยี ่ังยนื มีดังนี้ 1. การรกั ษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม ควรดาเนนิ การดงั นี้ 1.1 การอนรุ กั ษส์ สารและวงจรการหมุนเวียน ซง่ึ เป็นความสามารถในการฟ้นื ตวั ของธรรมชาติ 1.2 จากัดการปลอ่ ยของเสีย เพ่ือรักษาความสามารถของธรรมชาตใิ นการจัดการกับของเสยี 1.3 รกั ษาความหลากหลายของระบบนิเวศแบบตา่ งๆ ท่ีมคี วามสัมพนั ธ์กันบนพน้ื ทใี่ ดพนื้ ท่หี น่งึ เพื่อ ควบคุมความสามารถในการสรา้ งผลผลติ ของธรรมชาติไว้ 2. การใชท้ รพั ยากรอย่างมีอยา่ งประสทิ ธภิ าพ ควรดาเนนิ การดังนี้ 2.1 ทาให้เกดิ ความยุตธิ รรม โดยอาศัยหลกั การว่า “ใครทาคนนั้นต้องจ่าย” 2.2 ใหก้ ารชดเชยกับผ้ทู ่ีไดร้ ับผลกระทบจากผู้ทก่ี ่อนใหเ้ กิดปญั หา

-132- 2.3 มมี าตรการชดเชยแก่การผลิตท่ีสรา้ งผลดตี อ่ สง่ิ แวดลอ้ มที่อาจมีกาไรน้อยในระบบธุรกิจ 2.4 กระจายสิทธแิ ละรบั รองสทิ ธใิ นการใช้ทรัพยากรใหแ้ ก่กลุ่มคนในสังคมอย่างเสมอภาค 2.5 ให้ความคุ้มครองทรัพยากรไปพร้อมๆ กบั การรักษาสิ่งแวดล้อม 2.6 ตอ้ งควบคุมอยา่ ให้สงั คมตอ้ งจา่ ยค่าชดเชยเพ่ือปกปดิ ปัญหานเิ วศวิทยาและสงิ่ แวดลอ้ ม 2.7 ดาเนนิ การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพในทางเทคนคิ 2.8 ส่งเสริมและกระตุ้นการหมนุ เวียนผลผลติ ทเี่ ลิกใชแ้ ล้วและหาวิธีการยืดอายผุ ลติ ภัณฑ์ 3. การหลกี เลี่ยงความลม้ เหลวของกลไกรัฐท่เี ก่ยี วข้อง โดยการปฏบิ ตั สิ ่งิ ตอ่ ไปนี้ 3.1 ใชก้ ลไกการตลาดตามระบบปกติ 3.2 สง่ เสริมเจตคตทิ ด่ี ขี องสังคมต่อสิง่ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ 3.3 ยดึ หลกั ความยุตธิ รรมในสังคม ถา้ ใครต้องการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ จะต้องยอมจ่ายเงินตาม มลู ค่าท่เี ป็นจริงของทรพั ยากรนั้นๆ ไมใ่ ช่ระบบผูกขาด 3.4 ถ้านโยบายของรฐั ใดๆ ทจ่ี ะมผี ลกระทบต่อกลุ่มชนต่างๆ ในสังคม รฐั จาเปน็ ตอ้ งตัดสนิ ใจเลือก นโยบายเกอ้ื หนนุ กลุ่มคนท่ดี ้อยโอกาสในสงั คมนั้นๆ เพราะกลุ่มคนท่ดี ้อยโอกาสและยากจนก็ไม่ได้ให้ ความสาคัญต่อสงิ่ แวดลอ้ มอยู่แล้ว 3.5 รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกจิ และการเมอื ง 4. การรกั ษาทางเลือกสาหรับอนาคต โดยวิธกี ารดังน้ี 4.1 หลีกเลีย่ งการทาลายส่ิงแวดล้อม 4.2 เม่อื มคี วามไมแ่ น่ใจเก่ียวกับปัญหาสง่ิ แวดล้อมหรือเทคนคิ ที่อาจจะมผี ลกระทบ ให้เลือกการ ตดั สนิ ใจในทางทีร่ อบคอบ โดยยึดหลกั การปลอดภยั ไว้ก่อนว่า ถ้ามีความไมแ่ นใ่ จก็ให้ระงบั โครงการนัน้ ๆ ไว้ จนกว่าจะได้ขอ้ มลู ทีเ่ พยี งพอ 4.3 เพิ่มความหลากหลายทางนเิ วศวิทยา เศรษฐกจิ และสังคม เนอื่ งจากความหลากหลาย ดงั กล่าวจะเป็นประโยชน์ในการปรบั ตวั ใหต้ อบสนองได้อย่างรวดเรว็ ตอ่ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทีอ่ าจจะมี 4.4 รกั ษามาตรการทางการเงนิ ใหส้ ะท้องความเปน็ จริงของสภาพเศรษฐกจิ ขณะนั้น และใหม้ ี เสถยี รภาพ 5. หยดุ การเจรญิ เติบโตขอประชากร โดยมาตรการตา่ งๆ เช่น การใหก้ ารศกึ ษาหรือการขยายระบบ การศึกษาภาคบังคับ เปน็ ต้น 6. การกระจายความมนั่ คงให้แก่กลุ่มคนทย่ี ากจน 7. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบรโิ ภคทรัพยากรธรรมชาติ ทัง้ ที่แปรรูปแล้วและยงั ไม่แปรรูป แนวทางปฏิบัติมีดงั นี้ 7.1 ลดการใชพ้ ลงั งาน เพ่ือสงวนรักษาทรพั ยากรธรรมชาตริ วมทง้ั การใช้พลงั งานอยา่ งมี ประสิทธิภาพและการแสวงหาแหลง่ พลังงานทดแทน

-133- 7.2 สงวนรกั ษาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ โดยการสรา้ งความรู้ความเชา้ ใจท่ีถกู ต้องให้แก่คนใน ชุมชน เพ่ือให้เหน็ คุณคา่ ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและเกิดจติ สานึกท่ีจะมีส่วนร่วมในการรกั ษา แหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ 7.3 ใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด เพือ่ ให้ได้ทั้งผลผลิตทางอตุ สาหกรรมและรักษาคุณภาพ สงิ่ แวดล้อม 7.4 เปลี่ยนพฤติกรรมในการอุปโภคบรโิ ภคเพ่ือลดปริมาณขยะและของเสยี โดยการลดการ ใช้ (reduce) การใชแ้ ลว้ ใช้อีก (reuse) การแปรใช้ใหม่ (recucle) และการซ่อมแซม (repair) http://student.nu.ac.th/science/webgroup_tong/nawtang.html ผลกระทบของเทคโนโลยี เทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆเพิ่มขึน้ อยา่ งมากมายขณะเดยี วกันก็มรี าคาถูกลง มีการขยายตวั ของเทคโนโลยี เป็นไปอย่างรวดเร็ว ขีดความ สามรถในการประยุกต์ใช้งานเป็นไปอย่างกวา้ งขวาง จนกลา่ วไดว้ ่า เทคโนโลยี เข้ามามีส่วนเกย่ี วขอ้ งกับมนุษยท์ กุ คนไม่ทางตรงกท็ างอ้อมและวิวัฒนาการเปลยี่ นแปลงอยา่ งตอ่ เน่ือง ตลอดเวลา ยกตวั อย่าง ประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการเปลีย่ นแปลงอย่างเหน็ ได้ชดั โดยใน อดีตมผี ลผลติ ดา้ น การเกษตร เปน็ สนิ ค้าหลักเรียกวา่ เปน็ ประเทศเกษตรกรรมและต่อมาเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งการผลติ เป็น ภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเรียกว่าประเทศด้านอตุ สาหกรรมและในปัจจุบัน โครงสร้างการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ิมมากขึ้น ทาใหส้ ัดส่วนการผลิตสนิ ค้า เกษตรลดลงเหลือไมถ่ งึ 5% ของสนิ ค้าทั้งหมด ส่วนสินคา้ อตุ สาหกรรมก็มมี ลู ค่าน้อยกว่าอุตสาหกรรมบรกิ าร ซ่ึงปจั จบุ ันมูลค่า ของสินค้าทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศได้มสี ดั สว่ นมาก จนแทบกล่าวไดว้ ่าบทบาทของเทคโนโลยสี ารสนเทศจะเขา้ มามีส่วนในทกุ บา้ น เพราะเครื่องใชอ้ านวยความสะดวกตา่ งๆ ลว้ น แลว้ แต่มีส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ และระบบสอ่ื สารอยู่ ด้วยเสมอ แต่ในขณะเดียวกนั ส่งิ ท่อี านวยความสะดวกเหล่าน้ี ทาใหส้ งั คมโลกเปน็ สงั คมท่ีชอบความสะดวก สบายซึง่ เปน็ ส่งิ ท่ที าให้เกดิ ผลกระทบตอ่ พฤติกรรมของสงั คมและบุคคล ผลกระทบเหล่าน้ี แบ่งเป็นขอ้ ๆ ดงั น้ี ผลกระทบที่เกิดจากเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลตอ่ ความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ 1.1 การใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือ มีเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการช่วยจาหมายเลขโทรศพั ท์ ทาใหผ้ ู้ใชโ้ ทรศัพท์มอื ถอื มีความรู้สกึ ว่าไมม่ ีความจาเป็นจะตอ้ งทาการจดจาหมายเลขโทรศพั ท์ของผู้ทต่ี ้องการตดิ ตอ่ ด้วยอีกตอ่ ไป 1.2 พฤติกรรมในการซือ้ สนิ ค้า จากเดมิ อาจจะต้องไปซ้ือสนิ คา้ ดว้ ยตนเองทรี่ า้ นค้า กเ็ ปลย่ี นเป็นส่ัง ซื่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต

-134- 1.3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและสงั คมมผี ลกระทบซงึ่ กนั และกัน 1.4 สงั คมมผี ลต่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ มีแรงผลักดันจากสังคมใหเ้ กิดเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น เนื่องจากสถานภาพทางเศรษฐกิจ ทาใหม้ ีการออกแบบให้คอมพิวเตอรส์ ามารถทางานหลายๆ งานได้ใน ขณะเดียวกนั เพื่อทาใหป้ ระหยัดทรพั ยากร 2. เทคโนโลยสี ารสนเทศสง่ ผลกระทบต่อสงั คม เชน่ 2.1 เทคโนโลยสี ารสนเทศทาใหเ้ กดิ รูปแบบสังคมแบบใหมท่ ่ีมีการพบปะพูดคุยในเร่อื งทมี่ ีความสนใจ รว่ มกันผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต 2.2 การตดิ ต่อสื่อสารผา่ นระบบอนิ เทอรเ์ น็ต อาจจะทาให้เกดิ การล่อลวงกัน จนเกดิ เป็นคดตี ่างๆ 3. เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลตอ่ การดาเนนิ ชวี ติ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนินชวี ติ ประจาวนั เช่น คอมพิวเตอรถ์ ูกฝงั อยู่ใน อุปกรณ์เครอื่ งใชภ้ ายในบ้าน อาทิ โทรทัศน์ ต้เู ย็น เครื่องซักผ้า ไมโครเวฟ สภาพชีวิตความเปน็ อยจู่ งึ เปลยี่ นไป เปน็ ต้น ปญั หาสังคมที่เกดิ จากเทคโนโลยีสนเทศ 1. มุมมองวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเครอ่ื งมอื ที่มไี ว้เพื่อให้มนุษยบ์ รรลุวัตถปุ ระสงค์ เม่อื มองว่าเทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เคร่ืองมือบางอย่างก็มีประโยชนม์ าก บางอยา่ งก็มีประโยชน์ นอ้ ยและบางอย่างก็ไมม่ ีประโยชน์ การเลือกใช้เครื่องมือจะสง่ ผลตอ่ วธิ กี ารทางานของมนุษย์ เช่น พฤตกิ รรมใน การเขยี นของผูใ้ ชโ้ ปรแกรมประมวลคาจะแตกต่างไปจากผู้ใช้กระดาษและปากกา เปน็ ต้น ภายใต้มมุ มองใน ลักษณะน้ี เราจะต้องวเิ คราะหแ์ ละทาความเข้าใจถึงผลกระทบทางสงั คมทีจะเกิดขึ้น จากการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศเปน็ เครื่องมือในชวี ติ ประจาวัน ยกตวั อย่าง เชน่ เราอาจตอ้ งการหาคาตอบวา่ การทมี่ นุษย์ใช้ โทรศพั ท์มือถือ ได้ทาให้ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลเปล่ยี นแปลงไปอย่างไร ผู้ใชโ้ ทรศัพท์มอื ถือไม่มีความ จาเป็นจะตอ้ งทาการจดจาหมายเลขโทรศัพทข์ องผ้ทู ตี ้องการตดิ ตอ่ ด้วยอีกต่อไป หรอื เราอาจต้องการหา คาตอบวา่ อินเทอร์เน็ตมผี ลอย่างไรต่อการศึกษา หรือคาตอบจากคาถามที่วา่ โทรทัศนว์ งจรปดิ กระทบกบั สทิ ธิ ส่วนบคุ คลหรอื ไม่ในมุมมองทีวา่ เทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมือทีมีไวเ้ พ่ือใหม้ นุษย์บรรลุวตั ถปุ ระสงค์นี้ ไดถ้ ูกวพิ ากษ์ วา่ เทคโนโลยจี ะเปน็ ตัวกาหนดการคิดและการกระทาของมนษุ ย์ เช่น การใชแ้ ปน้ พิมพ์คอมพิวเตอรจ์ ะส่งผลต่อ ความสามารถในการเขียนตัวหนังสอื ของมนุษย์ เปน็ ตน้

-135- 2. มุมมองวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสงั คมตา่ งก็มผี ลกระทบซึงกนั และกนั มีความเห็นวา่ สังคมส่งผลกระทบตอ่ เทคโนโลยี ท้ังน้ีโดยอาศัยแรงขับเคลื่อนทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกจิ เปน็ เหตุปจั จัยในการออกแบบเทคโนโลยี ยกตวั อยา่ งเช่น การออกแบบให้คอมพิวเตอร์สามารถ ทางานหลายๆ งานในขณะเดียวกันได้ เป็นตน้ ซึ่งเปน็ ผลมาจากประเดน็ ทางเศรษฐกิจเพื่อให้ประหยัด ทรัพยากรของหนว่ ยประมวลผลกลาง หรืออีกตัวอยา่ งหน่ึงได้แก่บทที่ กระแสความตอ้ งการการสื่อสารท่ี รวดเรว็ ทัว่ ถงึ ไดผ้ ลกั ดนั ให้เกดิ อินเทอร์เนต็ ปัญหาสังคมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และกฎหมาย 7 จากในขณะเดยี วกนั เทคโนโลยีสารสนเทศกไ็ ด้สง่ ผลกระทบตอ่ สังคมเชน่ กนั การพัฒนาอย่างรวดเร็วของ เทคโนโลยี เช่น ระบบอินเทอรเ์ น็ต ทาใหร้ ูปแบบการตดิ ต่อส่ือสารของสังคมเปลี่ยนแปลงไป ผู้คนจานวนมาก จะติดต่อกันดว้ ยอีเมล์แทนการเขียนจดหมาย มีการตดิ ต่อขายผ่านระบบอินเทอรเ์ น็ตมากขน้ึ มกี ารใช้ลอ่ ลวง กนั โดยใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเปน็ สื่อมากข้ึน ภายใต้มุมมองในลักษณะนท้ี ังเทคโนโลยสี ารสนเทศและสังคมต่างก็มี อทิ ธพิ ลซงึ กนั และกัน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ การพัฒนาเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีก็เป็นผลมาจากกระบวนการที่ ซับซอ้ นและลึกซงึ ทางสังคมเช่นกนั 3. มุมมองวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน็ กลไกในการดารงชีวิตของมนษุ ย์ ภายใตม้ มุ มองในลักษณะนี้จะมองว่าเทคโนโลยสี ารสนเทศจะเปน็ กลไกสาคัญในการกาหนดชวี ติ ความเปน็ อยู่ของมนษุ ย์ ยกตัวอยา่ งเช่น การติดต่อสื่อสารของมนุษย์ จะถูกกาหนดวา่ เปน็ ส่งิ ที่ตอ้ งพงึ พา เทคโนโลยซี ึง่ ในโลกมีเทคโนโลยีการสอื่ สารอยูห่ ลายรปู แบบ แตเ่ ทคโนโลยที มี ีความเสถียรจะเปน็ ทางเลือกและ มนษุ ยจ์ ะใชเ้ ปน็ กลไกในการดารงชีวติ ดังเชน่ คนทม่ี ีและใช้โทรศัพท์มอื ถือจะแตกตา่ งไปจากคนทีไมม่ ี โทรศัพท์มือถือติดตัว การทีมีโทรศัพท์มือถือแสดงใหเ้ หน็ วา่ เปน็ คนทสี ามารถติดต่อไดส้ ะดวกและเข้าถงึ ไดง้ ่าย กวา่ คนที่ไมม่ ีโทรศพั ท์มือถือติดตวั จะเห็นไดว้ า่ กลไกการดารงชวี ติ ของคนทใี ชโ้ ทรศพั ท์มือถือและไม่ใช้ โทรศัพท์มอื ถือนัน้ แตกตา่ งกัน เชน่ เดียวกัน กลไกในการดารงชีวติ ของสังคมทีใช้อนิ เทอรเ์ นต็ พิจารณาปัญหา สงั คมจากมุมมองต่างๆ ทง้ั สามทกี่ ลา่ วมาแลว้ ข้างตน้ เราสามารถนามาพิจารณาปัญหาสงั คมท่ีอาจจะเกิด ขึน้ กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศได้ ตลอดจนใชส้ ังเคราะหส์ รา้ งความเข้าใจต่อปัญหาทางสังคมต่างๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ แล้ว ในสงั คม ทงั้ นี้ก็เพื่อประโยชนใ์ นการหาทางป้องกัน แก้ไขหรือบรรเทาปัญหาสังคมทเี กิดจากการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศต่อไป อย่างไรก็ตามการท่ีตดั สินวา่ กรณีใดเปน็ สาเหตุของปญั หาสงั คมน้นั ไม่ใชเ้ รอื งงา่ ยเช่นเดยี วกัน กบั วธิ กี ารแก้ปัญหาเหล่าน้นั ในแต่ละกรณนี น้ั จะมีความซบั ซอ้ นทแี่ ตกต่างกนั ไป ยกตัวอย่างเช่น การแก้ปญั หา เดก็ ติดเกมส์ ซึงเปน็ ปัญหาสาคญั อีกปญั หาหนึง่ ในปัจจุบนั วธิ ีการแก้ปญั หาอาจจะมีหลากหลาย แต่วธิ กี ารทย่ี ัง ยืนกวา่ ก็คือการสร้างความเข้มแขง็ ให้กับสมาชกิ ของสงั คมท่ีจะไม่ลมุ่ หลงกับเรื่องหนึ่งเรืองใดมากเกินไป นอกจากน้ันปัญหาของสงั คมเหล่านีย้ งั มีความสมั พนั ธก์ ับเรืองของจรยิ ธรรม วฒั นธรรมและการบงั คบั ใช้ กฎหมายหรือมาตรฐานปฏบิ ัตแิ ห่งสังคมน้นั ๆ อีกดว้ ยกจ็ ะแตกตา่ งจากสังคมอืน่ ทีไม่ใช้อนิ เทอรเ์ น็ต เปน็ ต้น

-136- ปัญหาสงั คมทเ่ี กิดจากเทคโนโลยีสนเทศ 1. ปญั หาเด็กตดิ เกมส์ 2. ปญั หาละเมดิ ลิขสิทธ์ิ 3. ปญั หาสังคมเสื่อมโทรมจากการใช้เทคโนโลยใี นทางทีผดิ 4. ปัญหาอาชญากรรมต่อชวี ิตทเี กดิ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ปญั หาการละเมดิ สิทธิส่วนบคุ คล 6. การนาภาพบุคคลมาตกแตง่ ดัดแปลงเพื่อใหเ้ กิดการเขา้ ใจผิด ฯลฯ แนวทางการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาสังคมทเี่ กดิ จากเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. ใช้แนวทางสรา้ งจรยิ ธรรม (Ethics) ระมัดระวังไม่สร้างความเดอื ดร้อนเสียหายตอ่ ผู้อนื่ ทากิจกรรมท่ี เสรมิ สร้างคุณงามความดี และเป็นประโยชน์อยู่เสมอ ศึกษาหาความร้วู า่ กิจกรรมประเภทใดเป็นสงิ ดีมี ประโยชน์ต่อเพ่ือนมนุษยแ์ ละกจิ กรรมประเภทใดสามารถสรา้ งความเดือดร้อนให้กับผอู้ ืน่ ได้ 2. สร้างความเข้มแข็งให้กับตนเอง พึงราลกึ อยู่เสมอว่า ในสงั คมของเราทุกวนั นี้ยงั มีคนไมด่ ีปะปนอยู่ มากพอสมควร หากผู้ใช้เทคโนโลยีในทางทีไม่ดี เทคโนโลยกี ็สง่ เสรมิ สนับสนุนกจิ กรรมทีไม่ดไี มเ่ ป็นทีพึง ปรารถนาใหร้ ุนแรงขนึ้ ได้ ไมล่ ุ่มหลงต่อกิจกรรมหนงึ่ กจิ กรรมใดจนมากเกนิ ไป 3. ใช้แนวทางการควบคุมสังคมโดยใชว้ ฒั นธรรมทีดี วัฒนธรรมทีดสี ามารถควบคมุ และแก้ปญั หาสงั คม ได้ เชน่ การให้เกียรติซงึ กันและกนั ยกยอ่ งในผลงานของผู้อืน่ ผู้ใชข้ อ้ มลู สารสนเทศของผู้อืน่ พงึ ใหเ้ กยี รติ แหล่งขอ้ มูล ดว้ ยการอา้ งอิงถึง (citation) เมื่อนาผลงานของผู้อื่นมาใชป้ ระโยชน์ 4. การสรา้ งความเข้มแข็งใหก้ ับสงั คมชุมชน พงึ ตระหนักถงึ ภัยอนั ตรายทีมาพร้อมกับเทคโนโลยี สารสนเทศและหาทางปูองกนั ภยั อันตรายเหลา่ นัน้ เชน่ การตดิ ตังระบบเพ่ือกลน่ั กรองข้อมูลทีไม่เหมาะสมกับ เดก็ และเยาวชน การใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง ภยั อนั ตรายจากอินเทอรเ์ นต็ ตอ่ สังคม การเผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารภัย อนั ตรายทม่ี ากับเทคโนโลยสี ารสนเทศ การคน้ ควา้ วจิ ัยเพอื่ หาความรทู้ เี ก่ยี วขอ้ งเพ่ิมเติม 5. ใชแ้ นวทางการเข้าสู่มาตรฐานการบรหิ ารจดั การการให้บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศมาตรฐานที่ เกย่ี วข้องกบั การใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ ช่วยลดภัยอันตรายจากเทคโนโลยีสารสนเทศได้ เช่น มาตรฐานการรกั ษาความมนั คงปลอดภัยในการประกอบธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (ISO/IEC 17799) มีการ กาหนดเร่ืองความมนั คงปลอดภัยทเี กยี่ วขอ้ งกับ บุคลากร ความมันคงปลอดภัยทางด้านกายภาพ สิงแวดล้อม ขององค์กร การควบคมุ การเข้าถงึ การปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนดทางด้านกฎหมาย ฯลฯ 6. ใช้แนวทางการบังคับใช้ดว้ ยกฎ ระเบยี บและกฎหมาย เช่น การปฏิบตั ิตามข้อกาหนดทางลขิ สิทธิ์ (Copyright) ในการใชง้ านทรัพย์สนิ ทางปัญญา–การปอ้ งกันขอ้ มูลสว่ นตวั ของพนักงาน เปน็ ตน้

-137- เทคโนโลยีกบั การเรียนรตู้ ลอดชีวิต พลงั ผลักดันท่ีสาคญั ทางสังคม เศรษฐกิจจานวนมากสนบั สนุนแนวคิดการเรียนรตู้ ลอดชีวติ กระแสโลกา ภิวตั และการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงธรรมชาตขิ องการทางานและตลาดแรงงานและ โครงสร้างอายปุ ระชากร เปน็ แรงผลกั ดนั ทส่ี าคัญตอ่ ความจาเปน็ ท่ีจะต้องมีการยกระดับทักษะการทางานและ การใชช้ วี ติ อย่างต่อเน่ือง ความต้องการกเ็ พ่ือ Threshold ทย่ี กระดับของทักษะเช่นเดียวกบั การเปล่ยี นแปลง มากขึ้นในธรรมชาตขิ องทักษะ แรงกระตุน้ ของกิจการเพือ่ ใหม้ ีความยืดหยุน่ มากขน้ึ สง่ ผลต่อสภาพการทางาน มแี นวโน้มทจี่ ะมีการจา้ งงานระยะสน้ั ในตลาดสนิ คา้ ที่เปล่ียนแปลงไปตามความต้องการของตลาดไดง้ ่าย และ วฎั จักรสนิ คา้ ทีส่ ัน้ ลงงานอาชีพลดลงและบุคคลประสบกับความเปล่ียนแปลงในเรื่องงานดีขน้ึ ในชว่ งชวี ิตทางาน การเปลยี่ นแปลงโครงสร้างอย่างกว้างขวางกาลงั คุกคามข้ัวใหม่ระหว่างสิง่ ท่ีความํรมู ีและสิ่งทคี่ วามรู้ไม่มี ในทางกลบั กันส่งิ น้ีอาจคกุ คามรากฐานของประชาธิปไตยด้วยโอกาสในการฝึกอบรมในภายหลังนน้ั ขน้ึ อยู่กบั คณุ สมบัติของแต่ละบุคคลทเี่ ขา้ มาสกู่ ารจ้างงานและโอกาสการเรยี นรู้เปิดกว้างแก่ ผวู้ า่ งงาน ลกู จ้างในสถาน ประกอบการขนาดเลก็ และกลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมกลับยง่ิ น้อยกว่าลูกจ้างในสถานประกอบการขนาดใหญ่ มาก ความไมเ่ ทา่ เทียมกนั นี้ (Disparities) สะทอ้ นช่องวา่ งรายไดร้ ะหวา่ งผ้มู วี ฒุ ิการศึกษาระดบั มหาวทิ ยาลัย และผู้ทีไ่ มม่ วี ุฒิดงั กลา่ ว และชอ่ งวา่ งนั้นย่งิ กว้างขึน้ เรื่อยๆ การลงทุนในการศึกษาและการฝกึ อบรมทีจ่ ะสนองต่อยุทธศาสตรก์ ารเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตกเ็ พือ่ บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ทางสงั คมและเศรษฐกจิ โดยกอ่ ให้เกิดประโยชนส์ ว่ นบุคคลผูป้ ระกอบการ และเศรษฐกิจและสงั คม ในระยะยาว สาหรับบุคคลแล้วการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ มุ่งเน้นทก่ี ารสรา้ งสรรค์ การรเิ ร่มิ และความรับผิดชอบ ซง่ึ ส่งผลใหเ้ กดิ การตอบสนองตอ่ ตนเอง งานทดี่ ขี นึ้ รายได้ทเี่ พ่ิมขึ้น นวตั กรรมใหม่ๆ และเพิ่มความสามารถในการ ผลิตมากขึ้นดว้ ย ทกั ษะและศักยภาพของแรงงานเป็นปจั จยั หลักในผลงานและความสาเร็จของสถานประกอบ การสาหรับเศรษฐกิจ แลว้ มีความสัมพนั ธ์ท่สี นบั สนนุ กันระหว่างการไดร้ ับการศึกษาและการเติบโตทาง เศรษฐกจิ อะไรคือผลเชิงนโยบายของแนวคดิ น้ี โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเข้าสู่และผลลพั ธข์ องการเรียนรู้ที่เกดิ ขนึ้ นอกเหนือจากสิ่งท่ีเป็นทางการ ดงั นน้ั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องวัยร่นุ และผู้ใหญจ่ ึงอยู่นอกเหนอื ขอบเขตทีม่ กี าร บนั ทึกไว้ นอกจากการวดั เชงิ ปรมิ าณแลว้ ประเด็นเชิงคณุ ภาพและความก้าวหนา้ ของการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ตอ้ ง มกี ารพิสูจน์ใหเ้ หน็ วา่ ระบบโครงสร้างเชงิ สถาบนั เชิงกฎหมายและเชิงนโยบาย เอ้ือต่อการสนบั สนุนการเรยี นรู้ ตลอดชวี ิตได้ดีอยา่ งไร ระบบการศกึ ษาไทยยงั จัดเปน็ ระบบการศึกษาในระบบโรงเรยี น การศึกษานอกระบบโรงเรยี น และ การศึกษาตามอธั ยาศัย ในการจดั ระบบการศึกษาตามแนวพระราชบญั ญัติฉบับนี้ จะไม่พจิ ารณาแบ่งแยก การศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน แตจ่ ะถือว่าการศกึ ษาในระบบ การศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั เปน็ เพียงวธิ ีการเรยี นการสอน หรอื รูปแบบของการเรยี นการสอนท่ี ภาษาองั กฤษใช้คาวา่ \"Modes of learning\" ฉะนนั้ แนวทางใหมค่ ือสถานศึกษาสามารถจดั ไดท้ ้งั 3 รูปแบบ

-138- และใหม้ รี ะบบเทียบโอนการเรียนํรูทง้ั 3 รูปแบบ โดยพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาฯ มาตรา 15 กลา่ วว่าการจัด การศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ (1) การศกึ ษาในระบบ เป็นการศกึ ษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วธิ ีการศึกษา หลักสตู ร ระยะเวลาของ การศึกษา การวัดและการประเมนิ ผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาท่ีแน่นอน (2) การศกึ ษานอกระบบ เปน็ การศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมงุ่ หมาย รูปแบบวธิ ีการจัด การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวดั และประเมนิ ผล ซ่ึงเป็นเงือ่ นไขสาคญั ของการสาเร็จการศึกษา โดย เน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความต้องการของบุคคลแตล่ ะกล่มุ (3) การศกึ ษาตามอัธยาศยั เปน็ การศกึ ษาที่ใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รียนรูด้ ว้ ยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สงั คม สภาพแวดล้อม หรอื แหล่งความรู้อ่นื ๆ สถานศกึ ษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรปู แบบหนึ่งหรอื ทัง้ สามรูปแบบก็ไดใ้ หม้ ีการเทยี บโอนผลการเรยี นท่ี ผู้เรียนสะสมไวใ้ นระหว่างรูปแบบเดียวกนั หรอื ต่างรปู แบบได้ไม่ว่าจะเปน็ ผลการเรียนจากสถานศกึ ษาเดียวกนั หรอื ไม่กต็ าม รวมท้งั จากการเรยี นร้นู อกระบบตามอธั ยาศยั การฝกึ อาชีพหรือจากประสบการณ์การทางาน การสอน และจะสง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ คณุ ลกั ษณะพิเศษของแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 1. มีมมุ มองอย่างเปน็ ระบบ ส่งิ น้คี อื คณุ ลักษณะที่พิเศษทสี่ ุดของการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ กรอบแนวคดิ การ เรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ของอุปสงค์ (Demand) และ อุปทาน (Supply) ของโอกาสการเรียนรู้ ทเี่ ป็นสว่ นหนึ่งของ ระบบที่มีความเชอ่ื มโยงกนั ซึ่งครอบคลมุ วงจรชีวิตทง้ั หมด และประกอบดว้ ยรูปแบบ ตา่ งๆ ของการเรียนรู้ท้งั ทเี่ ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ 2. มผี ู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง มกี ารเปลยี่ นจากมุ่งเนน้ ด้านอุปทาน (Supply) เปน็ ศนู ยก์ ลางในรูปแบบการ จัดการศึกษาเชงิ สถาบันท่ีเป็นทางการไปสูด่ า้ นอุปสงค์ (Demand) ท่ีตอบสนองความต้องการของผู้เรยี นเปน็ หลัก 3. มีแรงจูงใจท่ีจะเรียน ซึง่ เป็นพน้ื ฐานท่จี าเป็นสาหรับการเรียนรทู้ ่ีมคี วามต่อเนื่องตลอดชีวิต ทง้ั นี้ต้อง มงุ่ เนน้ ที่จะพฒั นาขีดความสามารถในการเรียนรทู้ ่ีจะเรียนรู้ดว้ ยตนเองและการเรยี นรทู้ ต่ี นเองเปน็ ผชู้ ี้นา 4. มีวัตถปุ ระสงค์ของนโยบายการศึกษาที่หลากหลาย มุมมองวงจรชวี ติ ทีใ่ หค้ วามสาคัญกับเป้าหมาย การศึกษาที่หลากหลาย อาทิ การพฒั นาบุคลกิ ภาพ การพัฒนาความรู้ วัตถปุ ระสงคท์ างเศรษฐกจิ สงั คมและ วัฒนธรรม และการจดั ลาดบั ความสาคัญของวัตถปุ ระสงคเ์ หล่านีอ้ าจเปลี่ยนไปในแต่ละช่วงชวี ิตของคนหนงึ่ คน

-139- ความสาคัญและหลกั ของการพฒั นาตนเอง ในสภาพการณ์ของสังคมท่ีความรู้เปน็ เร่ืองท่เี ปลยี่ นแปลงไปตลอดและเป็นส่งิ จาเป็นของการเรยี นรู้เพ่ือ สรา้ งความกา้ วหนา้ ให้กบั หน้าทกี่ ารงานและชวี ิต ในฐานะที่ผเู้ ขยี นทางานในสายงานบรหิ ารทรัพยากรบุคคล จึงขอฝากเกร็ดเลก็ น้อยเก่ยี วกับการทางานไวใ้ ห้ได้เรยี นรูก้ ัน แม้การเปล่ยี นแปลง จาเป็นส่ิงท่ไี ม่อาจหลกี เลีย่ ง ได้และการเปลี่ยนแปลงเองก็ยอ่ มสง่ ผลกระทบในทางใดทางหน่งึ ในระยะส้ันหรือระยะยาวหรือไม่ชา้ ก็เรว็ ก็ตาม แต่ส่ิงหนึง่ ท่กี ารเปลีย่ นแปลงนาพ่วงตดิ มาด้วยกค็ ือ สญั ญาณเตอื นเพื่อใหบ้ คุ ลากรในองค์การต้องเร่งปรับตวั บางประการ อนั ได้แก่ 1) ปรบั ใจ โดยต้องเตรยี มตัวให้พรอ้ มสาหรับความไม่มั่นคงในอาชีพขา้ ราชการ ซ่ึงคนทางานภาคเอกชนได้ ประสบมาแล้วในช่วงภาวะวกิ ฤติทางเศรษฐกจิ หมายความว่า บุคลากรในองค์การควรเตรียมพรอ้ มสาหรบั การ ออกจากงาน การโยกย้ายไปประจาหน่วยงานอื่น การเปล่ยี นตาแหน่ง การทางานโดยมเี ปา้ หมายผลงาน การ ปรบั ใหเ้ ปน็ ข้าราชการกง่ึ ประจา หรอื การทางานในรูปของสญั ญาและการทางานบางสว่ นของเวลา ซึ่งลว้ น ส่งผลกระทบถึงรายได้ประจาที่เคยไดร้ ับท้ังสิน้ 2) ปรบั ตัว การทางานยุคใหมต่ ้องการความรู้ความสามารถท่ีแตกต่างกันไปจากเดิมคือตอ้ งมคี วามร้แู ละทักษะ ด้านคอมพิวเตอร์ ภาษาตา่ งประเทศ เทคโนโลยดี ้านโทรคมนาคม ข่าวสารและอเิ ล็กทรอนกิ สร์ วมทงั้ การพัฒนา บคุ ลิกภาพ ความสามารถในการสื่อความ มนุษย์สมั พนั ธแ์ ละความเป็นผูน้ าตลอดจนการติดตามวิทยาการและ เทคโนโลยใี หม่ๆที่ทนั สมยั เก่ยี วกบั งานทรี่ บั ผดิ ชอบอยู่ในลักษณะการพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง 3) ปรับทศั นคติ เช่น ข้าราชการจาเปน็ ต้องเปลย่ี นความคิดทว่ี ่าการทาราชการเป็นงานมั่นคง ขา้ ราชการคือคนที่มี พ้ืนฐานอานาจรฐั สนบั สนนุ การมตี าแหนง่ หนา้ ท่ีเจริญก้าวหน้าในงานเปน็ เปา้ หมายของอนาคตของข้าราชการ หรอื ความคิดเรื่องการทางานในสานกั งานโดยมเี วลากาหนดท่แี น่นอน เชน่ 8.30-16.30 และมสี ถานท่ีทางานท่ี แน่นอน การเตรียมตัวเพ่ือใหเ้ กดิ ความพรอ้ มทจ่ี ะเผชิญกบั การเปลี่ยนแปลงท่ดี ีทส่ี ดุ วิธีหนึ่งกค็ ือการพัฒนาตนเอง (Self-Development) อย่างต้อเนื่องเพื่อให้มลี ักษณะเป็นบคุ คลทส่ี มบูรณ์ และนักวชิ าการไดใ้ ห้ความหมาย ของการพัฒนาตนเองไว้ ดังน้ี 1) การพัฒนาตนเอง เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัตงิ านได้มีการพัฒนาตนเองเพือ่ ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถดีขนึ้ การพฒั นาตนเองเป็นเรื่องท่ีบคุ คลแตล่ ะคนต้องกระทาด้วยตัวเขาเองโดยบุคคลอ่นื มสี ่วน ช่วยเหลือและสนบั สนุนเพียงบางส่วนเพอ่ื ให้ตนเองมคี วามรคู้ วามสามารถดีขึ้น

-140- 2) การพฒั นาตนเอง หมายถงึ การเสริมสร้างความรู้และการปรับปรงุ ตนเองให้มีความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะความชานาญและความสามารถในการปฏิบตั งิ านทต่ี นรับผดิ ชอบอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ท้งั การพัฒนาด้าน รา่ งกายและจิตใจ 3) การพฒั นาตนเอง เปน็ การเรียนรูท้ ผี่ ู้เรียนเรยี นดว้ ยตนเองและสามารถปรับปรุงตนเองใหเ้ จริญงอก งาม ทง้ั ดา้ นประสทิ ธิภาพในการทางาน ด้านปัญญาและด้านคณุ ธรรมด้วย ทาใหก้ ารทางานหรือการดารงชวี ิต อย่างมีความหมาย การศึกษาดว้ ยตนเองหรือการพฒั นาตนเองเปน็ ปัจจัยที่สาคัญต่อการพัฒนาท้งั ปวง คนท่ี ต้องการพฒั นาต้องหาทางเรียนร้แู ละปรบั ปรุงตนเองใหม้ ีคุณภาพและประสิทธภิ าพในการดารงชีวิตและหนา้ ที่ การงาน 4) การพัฒนาตนเอง หมายถึง ความกระตือรือรน้ ส่วนบุคคลทีจ่ ะเรียนรูร้ บั ส่ิงแปลกใหม่ลองปฏิบตั ิใน สงิ่ ทแ่ี ตกตา่ ง ขวนขวายไมห่ ยุดน่งิ ซึ่งจะช่วยเสริมความเจริญเติบโตตามธรรมชาตใิ ห้เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และจะช่วยตอบสนองโอกาสการพัฒนารปู แบบอื่นๆ ให้ได้ผลดียิง่ ข้นึ สรปุ ไดว้ า่ การพฒั นาตนเองเป็นหนา้ ทห่ี ลกั ของมนุษย์ ซงึ่ การจะบรรลคุ วามสาเร็จในการพฒั นาตนเอง ไดย้ ่อมต้องอาศยั องคป์ ระกอบหลายประการ รวมท้ังการจัดหรอื ควบคมุ ตนเองอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ บคุ คลท่มี ี ความเชอ่ื ในตนเองว่ามีความสามารถในการควบคุมตนเองให้ดาเนนิ ชีวิตไปตามเป้าหมายประสงคห์ รือ อุดมการณแ์ หง่ ตนได้ย่อมจะพบกับความเจริญงอกงามไดไ้ ม่ยากนัก การพฒั นาตนเอง ไมใ่ ชเ่ พยี งแต่การทาให้พฤติกรรมท่มี ปี ญั หาหมดไปเท่านัน้ แตเ่ พ่อื ประโยชน์ในการ จดั การกับปญั หาท่ีจะเกดิ ข้ึนในอนาคตให้มีประสิทธภิ าพมากกว่าในอดีต เปน็ การเตรยี มตัวใหพ้ ร้อมเพ่ือท่ีจะมี อิสระท่ีจะเลือกทาพฤติกรรมเพอ่ื สงิ่ ทีส่ ุดของตน โดยการพัฒนาตนเองมีความสาคัญที่พอสรุปไดด้ ังน้ี 1) เพื่อที่จะได้รู้จักตนเองตรงตามความเป็นจริง ทั้งส่วนที่เป็นจดุ อ่อนและจุดแขง็ อนั จะนาไปสกู่ าร ขจัดความรู้สกึ ท่ขี ดั แย้งภายในตวั บุคคลออกไป กา้ วมาสู่การยอมรับตนตามสภาพความเป็นจรงิ 2) เพื่อพร้อมทจี่ ะปรบั ตัวไปในทางทด่ี ีขน้ึ โดยการสรา้ งคุณลกั ษณะท่มี ีประโยชน์และลดหรอื ขจัด คณุ ลักษณะทเี่ ป็นโทษกบั ชีวติ และสังคม ทัง้ นเี้ ป็นการกระทาด้วยความสมัครใจ 3) เพ่ือวางแนวทางในการท่จี ะพัฒนาชวี ติ ไปสู่เป้าหมายท่ีต้องการได้อยา่ งเปน็ ระบบและมคี ุณภาพ ความเชอ่ื พื้นฐานของบุคคลในการพัฒนาตนเองเปน็ สิ่งสาคัญที่ชว่ ยส่งเสริมให้การพฒั นาตนเองประสบ ความสาเรจ็ ซงึ่ มแี นวคดิ ดังต่อไปนี้ 3.1) มนษุ ย์ทุกคนมเี อกลักษณ์ มศี กั ยภาพท่ีมีคณุ คาเปน็ ของตนเอง และทกุ คนสามารถฝกึ หัด พัฒนาได้ในทุกขเ์ รอ่ื ง 3.2) ไม่มีใครท่ีมคี วามสมบูรณ์ไปหมดทุกดา้ น จนไมส่ ามารถจะได้พฒั นาได้อีก 3.3) แมจ้ ะไม่มใี ครรู้จักตัวเองไดด้ ีเทา่ ตวั เอง แต่ในบางเร่ืองตนเองก็ไม่สามารถจดั การปรับเปลี่ยน ไดด้ ้วยตนเอง

-141- 3.4) การควบคุมสงิ่ แวดล้อมทางกายภาพ และทางสังคม กับการควบคมุ ความคิดความรู้สกึ และ การกระทาของตนเอง มีผลกระทบซงึ่ กนั และกนั 3.5) อปุ สรรคสาคัญของการปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองคือ การทบ่ี ุคคลไมย่ อมปรับเปล่ยี นวธิ ีคดิ วธิ ีการปฏิบัติ ไมส่ ร้างนสิ ัยและฝกึ ทักษะใหมๆ่ ท่ีจาเป็น 3.6) การพัฒนาตนเองดาเนนิ การได้ทกุ เวลา เมอ่ื ตอ้ งการหรอื พบปัญหาข้อบกพรอ่ งหรือพบ อปุ สรรค ยกเวน้ คนทปี่ ระกาศวา่ ตนมีความสมบูรณ์ไปหมดทุกด้านแลว้ หลักของการพัฒนาตนเอง มีสาระ ดงั นี้ 1) การพฒั นาตนเองต้องเกดิ จากความเต็มใจและสมคั รใจ ผทู้ พี่ ฒั นาตนจะตอ้ งมีความต้องการทจ่ี ะ เปลย่ี นแปลงตนเองดว้ ยตัวบุคคลน้ันเอง โดยปราศจากความรสู้ กึ ว่าถูกบังคบั ซึ่งความเต็มใจนีเ้ กดิ ขึ้นจากปจั จยั สาคญั ประการหนงึ่ คอื การตระหนกั รถู้ งึ ปญั หาและความจาเปน็ ในการเปล่ียนแปลงตนเอง หมายถึง ผู้ทีจ่ ะ พฒั นาตนเองจะต้องมีความใส่ใจมกี ารติดตามสงั เกตตนเองในแงพ่ ฤตกิ รรมการแสดงออกความคิดและอารมณ์ ความรสู้ กึ ในสถานการณต์ ่างๆ อยา่ งเป็นปัจจบุ ัน ซึ่งจากการรู้ตนเองเกีย่ วกบั พฤตกิ รรมการแสดงออก ความคดิ และอารมณค์ วามรู้สกึ เหล่าน้ี จะทาใหบ้ ุคคลเกิดการตระหนักรถู้ งึ ปัญหาและความจาเปน็ ของการเปลย่ี นแปลง ตนเอง พรอ้ มทัง้ มีความมุ่งมันท่ีจะฝา่ ฟันอุปสรรคและการผลักดันตนเองเพ่ือให้ไปถึงเปา้ หมายได้ 2) ผู้ทีต่ อ้ งการพฒั นาตน ต้องเป็นผูท้ ่ีมบี ทบาทหลกั ในการลงมือพฒั นาตนดว้ ยตนเอง หมายถึง ผู้จะ พัฒนาตนตระหนักถึงความรับผดิ ชอบตอ่ ชีวติ ตนเองวา่ ไม่มีใครมาลงมือแทนตนเองได้ ถึงแมว้ า่ ในการ เปลีย่ นแปลงตนเองอาจจะได้รับความช่วยเหลือจากเพอื่ น พ่อแม่ หรอื ครอู าจารย์ร่วมด้วยแตอ่ ยา่ งไรกต็ ามผ้ทู มี่ ี บทบาทหลัก คอื ผู้ทต่ี ้องการพฒั นาตนเองนน่ั คือ การพฒั นาตนเปน็ ความรบั ผดิ ชอบของบุคคลผูจ้ ะพัฒนาหรอื เปลีย่ นแปลงตนเอง 3) มนษุ ยท์ ุกคนมีความสามารถท่จี ะควบคมุ และจดั การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดล้อมและปัจจยั ภายใน ตนเองเพือ่ การพัฒนาตนเองได้ แม้ว่าสภาพแวดล้อมภายนอกและความคดิ ความรสู้ ึกซ่ึงเป็นสภาวะภายในตัว บุคคลจะสง่ ผลรวมกนั ต่อพฤติกรรมมนุษย์ แตผ่ ทู้ จ่ี ะควบคุมและจดั การให้ตวั เรามกี ารพัฒนาคนหรอื มี พฤติกรรมทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปจากเดิมก็คือ ตัวเราเอง 4) การพฒั นาตนเอง เปน็ การเปลีย่ นแปลงตนเองทมี่ ขี อบเขตของจุดมุ่งหมายครอบคลมุ ท้ัง 3 ดา้ น คอื เพ่ือการแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในปัจจุบัน เพื่อการปอ้ งกนั การปัญหาที่อาจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต และเพ่ือการสร้าง เสรมิ ศักยภาพของตนให้สงู ข้นึ 5) การพฒั นาตนเป็นกระบวนการเรยี นรู้ท่ีต่อเนื่องตลอดชีวิตเพ่อื ความสุขและความงอกงามของตนเอง ซงึ่ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ ความสุขและความงอกงามของสงั คมส่วนรวมด้วยเช่นกัน

-142- สรุป ทปี่ ระชุมสหประชาชาตวิ ่าด้วยส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา ได้นยิ ามความหมายของการพัฒนาอย่าง ยง่ั ยนื ไว้วา่ หมายถงึ การพฒั นาทส่ี นองความต้องการของคนในปจั จุบัน โดยไม่ทาให้อนชุ นร่นุ หลงั สญู เสีย โอกาสในการพัฒนาเพ่อื สนองความต้องการของเขาเองด้วยหรอื กลา่ วอีกอยา่ งไดว้ ่า การพัฒนาทีต่ ้องคานึงถึง ผลกระทบดา้ นต่างๆ 3 ดา้ นหลกั คือ ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสังคม ด้านส่งิ แวดลอ้ มท้ัง 3 ด้านมีความเชือ่ มโยง สมั พันธ์กนั และขณะเดียวกันควรใชเ้ ทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมต่อสภาพเศรษฐกิจสงั คมและความต้องการของ ประเทศ เทคโนโลยีบางเรื่องเหมาะสมกับบางประเทศ ทั้งนี้ขนึ้ อยู่กับสภาวะของแตล่ ะประเทศองค์การอนามยั โลก กล่าวถึงคณุ สมบัติของคาวา่ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมคอื เหมาะสม ถูกต้องตามหลักวทิ ยาศาสตร์ ปรับปรุง ใหเ้ ขา้ กบั สภาวะทอ้ งถน่ิ ได้ เป็นทย่ี อมรับของประชาชนในทอ้ งถิน่ สามารถนาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ตลอด จนถึงการตรหนักรกู้ ารใชเ้ ทคโนโลยแี ละการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตเพ่อื ให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยง่ั ยนื ตอ่ ไป

-143- คาถามท้ายบท 1. จงอธิบายความหมายของคาว่า “การพัฒนาทีย่ ่ังยนื ” (Sustainable Development) 2. จงอธิบายความสมั พันธเ์ กีย่ วเนอ่ื งการพฒั นาสังคม เศรษฐกจิ ส่งิ แวดล้อม เปน็ ธรรม สสงั งั คคมม เศรเศษรฐษกฐิจกิจ พ่ึงพา ส่ิงแสวง่ิ ดแลวอ้ ดมล้อม เตบิ โต ยั่งยนื 3. จงอธิบายวา่ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน มคี วามสอดคล้องกับ หลักเศรษฐกิจ พอเพยี ง อย่างไร พร้อมท้ังยกตวั อย่างประกอบ 4. แนวทางในการปฏบิ ัตทิ ่ีจะไปสกู่ ารพัฒนาสง่ิ แวดล้อมทีย่ ง่ั ยืน มีกแ่ี นวทาง อะไรบา้ ง 5. จงอธิบายถึงผลกระทบและปัญหาสงั คมที่เกิดจากเทคโนโลยีสนเทศ ได้แก่อะไรบ้าง และแนวทางการ แก้ไขเป็นอย่างไร

-144- บรรณานุกรม กติ ตพิ นั ธ์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา. 2552. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวจิ ยั ปฏบิ ตั ิการเสรมิ พลงั ความม่นั ค ของชาตมิ ิตสิ งั คมและความม่นั คงของมนุษย์ ตามรอยพระยุคลบาทเรอื่ งปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง : ธรรมาธปิ ไตย ในพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช . ปตั ตานี : ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาธรรมาธปิ ไตย. กิตติพันธ์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา. 2554. ขอ้ เสนอโครงการวิจยั ปฏิบตั ิการ : “บูรณาการพลังชีวติ ธรรมาธิปไตย เด็ก เยาวชน และครอบครวั ในพื้นทีภ่ าคใตต้ ามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง”. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษา-และพัฒนาธรรมาธิปไตย. กติ ตพิ ันธ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:\\ \\Administrator\\Desktop\\3detail_php.mht. บงกช นพวงศ์ ณ อยธุ ยาและคณะ. 2554. รายงานวจิ ยั ประเมนิ ผลเชิงระบบเร่ือง : งานบูรณาการการพฒั นา เกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลยั (2543) สง่ิ แวดลอ๎ มเทคโนโลยีและชวี ติ (พิมพ์ครั้งท่ี 4) กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 1. เกษม จนั ทรแ์ กว้ (2540) วิทยาศาสตร์ส่งิ แวดล้อม กรงุ เทพมหานคร: โครงการสหวทิ ยากรบัณฑิตศกึ ษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ส่งิ แวดลอ๎ ม ภาควิชา อนุรกั ษว์ ิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ขบวน พลตรี (2530) ตารา-เอกสารวชิ าการฉบบั ที่ 7 ภาคพัฒนาตาราและเอกสารวชิ าการกรมการฝึกหดั ครู คณาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร. (2550). เอกสารประกอบการสอนมนษุ ย์กับสง่ิ แวดล้อม. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร กรุงเทพฯ. ครรชติ มาลยั วงศ.์ (2538). เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ. จารวุ รรณ วโิ รจน์ และจรัมพร ยคุ ะลัง ปัญหาการติดเกมคอมพวิ เตอร์ต่อสุขภาพของนสิ ิต คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ชัยพจน์ รักงาม.(2540). เทคโนโลยสี ารสนเทศ. วารสารวทิ ยบริการ. ซ้ายขวญั (2536) วิทยาศาสตร์กับสังคม (SCIENCE AND SOCIETY) หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ กรมการฝกึ หดั ถนอมพร เลาหจรสั แสง.(2542). อินเทอรเ์ นต็ เพ่ือการศกึ ษา.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร. ทักษิณา สวนานนท์.(2530). คอมพวิ เตอรเ์ พื่อการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารคา้ ของครุ ุสภา. ปทีป เมธาคุณวฒุ ิ.(2544). เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การบริหารสถาบนั อุดมศกึ ษา.กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .ครู ณรงค์ เสง็ ประชา (2532) มนุษยก์ ับสังคม (ฉบบั ปรับปรุงใหม)่ กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์โอเดียนสโตร์. ดลฤดี เพชรสวุ รรณ และศริ ิไชย หงษส์ งวนศรี พฤตกิ รรมการเลน่ เกมและภาวะการติดเกมคอมพิวเตอร์ในเด็ก และวัยรนุ ทีม่ ารับการรกั ษา

-145- นิพนธ์ พังพงศกรและคณะ. 29-30 พฤศจกิ ายน 2546. สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม แหง่ ชาต.ิ 24 พฤศจิกายน 2546 ปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล้อม สถาบนั สิง่ แวดล้อมไทย กรงุ เทพมหานคร (แผ่นพับ เผยแพร่) . มณจนั ทร์ เมฆธน, พุทธพร สว่างศรี และวรี ภาพ เจรญิ วริ ิยะภาพ (2543) สง่ิ แวดล๎อม เทคโนโลยีและชวี ติ กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. ราตรี ภารา (2538) ทรพั ยากรธรรมชาติสิง่ แวดลอ๎ ม กรุงเทพมหานคร: ทพิ ย์วิสุทธิ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรงุ เทพมหานคร : นานมีบคุ พับลิคเคช่นั . วิชัย เทยี นน้อย (2539) การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ กรงุ เทพมหานคร: อักษรวฒั นา. ศนู ย์เครอื ขา่ ยการดาเนินงานด้านนิเวศเศรษฐกจิ และการผลิตทีส่ ะอาด (ม.ป.ป.) เครือข่ายการดาเนินงานด้าน นิเวศเศรษฐกจิ และการผลติ ที่สะอาด : Thailand Network of Eco-efficiency and Cleaner Production. สานักงานสานักมาตรฐานการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนษุ ย.์ 2548. เสถียร โกเศศ (2515) วฒั นธรรมเบ้อื งตน้ พระนคร : ไทยวฒั นาพานิช. สพุ ิศวง ธรรมพนั ทา (2540) เอกสารคาสอนมนุษย์กับสังคม (MAN & SOCIETY). กรงุ เทพมหานคร : ดี.ดี. บคุ สโตร์. ศูนย์เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์แห่งชาติ.(2539).ไอที 2000 นโยบาย เทคโนโลยีสารสนเทศ แหง่ ชาติ.กรงุ เทพฯ : สานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาต.ิ สานกั นายกรัฐมนตร.ี (2535). ระเบียบวา่ ดว้ ยการส่งเสรมิ การพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ พ.ศ. 2535. กรุงเทพฯ : สานักนายกรฐั มนตร.ี สชุ าดา กีระนันท.์ (2541). เทคโนโลยสี ารสนเทศสถิติ: ขอ้ มูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ :โรงพมิ พ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สเุ มธ วงค์พานิชเลิศ.(สิงหาคม-กนั ยายน 2538) 80-82. “เทคโนโลยสี ารสนเทศ” วารสาร สสท. สนธยา พลศรี (2547) ทฤษฏแี ละหลักการพัฒนาชมุ ชน กรงุ เทพมหานคร : โอ.แอส. พร้ินต้ิง เฮาส์ สานกั คณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติสานักนายกรฐั มนตรี บทสรุปยทุ ธศาสตร์การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต อสิ มาอีล เจ๊ะนิ ศูนย์ศึกษาและพฒั นาธรรมาธิปไตย Zander, James W. Vander. (1990). Sociology : The Core. 2nd ed. New York McGraw-Hill. ภัยจากเทคโนโลยี.[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ได้จาก http://sunnyjaa.blogspot.com/. Ellington, H. and Harris, D.(1986). Dictionary of Instruction Technology.N.Y. Micholspublisings. UNESCO.(1974). Population education in Asia : Population quality-of-life themes. Bangkok : UNESCO Regional Office for Educational in Asia. https://sites.google.com/site/2200405muthita/e-book/bth-thi-7

-146- การศึกษาตลอดชวี ติ [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ได้จาก http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/liciti/longlife.html Lifelong Learning [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก http://www.learners.in.th/blogs/posts/388092 http://www.wikipedia.org EDUCATION TECHNOLOGY [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก http://bussabong.blogspot.com. โลกปจั จุบันกบั เทคโนโลยเี พื่อการสอนในอนาคต [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก http://blog.eduzones.com/futurecareerexpo/94488 ความหมายของนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ได้จาก http://54540044.blogspot.com/2012/06/2_19.html www.dhamma4u.com http://www.thidarath.myreadyweb.com/article/topic-8095.html http://www.youngmea.com/page_bx.php?cid=23&cno=468 http://hilight.kapook.com/view/45580 http://www.247friend.net/blog/Anatomii/2011/01/06/entr


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook