Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Technology

Technology

Published by nattapon10515, 2020-03-30 04:29:34

Description: Technology

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยแี ละการพัฒนา ประเทศทไ่ี ดช้ ื่อวา่ เป็นประเทศท่พี ฒั นาแล้วทงั้ หลายส่วนใหญ่ ล้วนเปน็ ประเทศท่ีมีความสามารถ มศี ักยภาพ เจรญิ กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยแี ทบทง้ั สิน้ เปน็ ผูผ้ ลิตคิดค้นเทคโนโลยีขน้ึ ใชเ้ พอ่ื ตอบสนองความ ต้องการภายในประเทศและจัดจาหน่ายถา่ ยทอดไปยังต่างประเทศซงึ่ ทารายไดน้ าเงนิ ตราเข้าประเทศอย่าง มากมายเม่อื เปรยี บเทยี บกับประเทศทตี่ ้องอาศยั การนาเขา้ หรอื บรโิ ภคเทคโนโลยีหรอื ประเทศทีก่ าลังอยูใ่ นชว่ ง ของการพัฒนา ทัง้ นีเ้ ทคโนโลยีนับวา่ เปน็ ปจั จัยสาคญั มีบทบาทอยา่ งย่ิงในการพัฒนาประเทศในภาพรวม ทางด้านการเมือง เศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มเปน็ ตน้ ถือไดว้ ่าเทคโนโลยีเปน็ เครอื่ งมือ ในการขจดั ความยากจนยกระดบั คุณภาพชีวิตของประชาชนให้สูงข้นึ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ประเทศไทยได้พัฒนา ประเทศมาอย่างต่อเนื่องและยังมคี วามต้องการความเจรญิ ก้าวหนา้ ให้เปน็ ไปอยา่ งรวดเร็วเพอ่ื ความเท่าเทยี ม อารยะประเทศหรอื ประเทศท่ีพัฒนาแล้วทั้งหลาย ซึง่ ประเทศไดใ้ ห้ความสาคัญการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เปน็ ปจั จัยหลักของการพัฒนา โดยเมื่อวันท่ี 24 มนี าคม 2522 รัฐบาลได้ต้ังกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและพลงั งานเพ่ือเป็นกลไกบริหารการพฒั นาประเทศและไดบ้ รรจุแผนพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ต้ังแตฉ่ บับท่ี 5 (พ.ศ. 2525- 2529) ตลอดจนหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องอนื่ ๆเรื่อยมาจนถึงปัจจุบนั เพอ่ื ให้เกดิ ความเข้าใจในเน้ือหาทางด้านเทคโนโลยี กบั การพัฒนาใหช้ ัดเจนย่งิ ขนึ้ ผ้ศู กึ ษาควรทาความเข้าใจเก่ยี วกบั ความหมาย ความสาคญั องค์ประกอบ ประเภท ระดบั วิวฒั นาการและความสัมพนั ธ์ระหว่างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรม วศิ วกรรมศาสตร์ และการนาเทคโนโลยไี ปใชเ้ พื่อการพฒั นาประเทศท่ยี งั่ ยืนดังนี้ ความหมาย เทคโนโลยี การพัฒนา วทิ ยาศาสตร์ นวตั กรรม และวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี (Technology) มาจากภาษากรกี วา่ Technologia แปลว่า การกระทาอย่างมรี ะบบ หมายความวา่ การนาเอาความรู้ แนวความคดิ ประสบการณ์ วธิ กี ารทเ่ี ปน็ ระบบระเบียบ รวมทง้ั ผลติ ผลด้าน วทิ ยาศาสตร์ และ ผลิตผลด้านวิศวกรรม พจนานกุ รมไทย ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 538) ได้อธิบายไว้วา่ เทคโนโลยี หมายถงึ วทิ ยาการที่เกย่ี วกับศลิ ปะในการนาเอาวทิ ยาศาสตรม์ าประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกิด ประโยชน์ในทางปฏิบตั ิและอุตสาหกรรมหรือหมายถึงการประยุกต์ความร้ดู ้านวิทยาศาสตรม์ าใชเ้ พื่อแก้ปัญหา ตา่ ง ๆและก่อใหเ้ กดิ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครอ่ื งจักร แมก้ ระทัง่ องคค์ วามรนู้ ามธรรมใหม่ๆ เพ่อื ให้การดารง ชวี ติ ของมนษุ ย์ง่ายและสะดวกย่ิงขนึ้

-2- การพัฒนา (Development) พจนานุกรมไทย ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 779) ได้ อธิบายไว้วา่ การทาให้เจริญขึ้น หรือ หมายถงึ การเปล่ียนแปลงเป็นไปในทศิ ทางที่ดีขึน้ ถ้าเปลย่ี นแปลงไป ในทางท่ีไม่ดีก็ไม่เรียกว่ากาพัฒนา ขณะเดียวกันการพฒั นามิได้หมายถึงการเพ่ิมขน้ึ ของสิ่งอานวยความสะดวก หรือรายได้ของประชาชนเทา่ นนั้ แต่หมายความรวมไปถึงการเพิ่มความพงึ พอใจและเพิ่มความสุขของ ประชาชนด้วย วทิ ยาศาสตร์ (Science) พจนานกุ รมไทย ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 1075) ได้ อธิบายไว้วา่ ความรูท้ ี่ไดโ้ ดยการสงั เกตและค้นควา้ จากปรากฏการณ์ธรรมชาตแิ ลว้ จดั บันทึกเขา้ อย่างเปน็ ระเบียบ หรือ วชิ าทีส่ ืบค้นหาความจรงิ เก่ียวกบั ธรรมชาตโิ ดยใชก้ ระบวนการแสวงหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ วิธกี ารทางวิทยาศาสตรแ์ ละเจตคตทิ าวทิ ยาศาสตร์ โดยอาศยั การสงั เกต การทดลอง รวบรวมขอ้ มูล แปล ความหมายข้อมูลและสรุปผลขอ้ มลู ซึง่ นักการศึกษาวทิ ยาศาสตร์มองสว่ นประกอบทม่ี ีอยู่ในวิทยาศาสตร์ วา่ ประกอบดว้ ย 3 องค์ประกอบ ดงั น้ี องคป์ ระกอบดา้ นความรู้องค์ประกอบด้านกระบวนการและองค์ประกอบ ดา้ นเจตคติ นวัตกรรม (Innovation) พจนานุกรมไทย ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 565) ได้ อธบิ ายไว้ว่านวัตกรรม เป็นสิง่ ท่ที าขน้ึ ใหมห่ รือแปลกจากเดิมซ่งึ อาจจะเปน็ ความคดิ วิธีการ หรืออุปกรณต์ า่ งๆ ท่มี นุษย์สร้างขึน้ หรอื หมายถึง การนาส่งิ ใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด หรือ สงิ่ ประดษิ ฐ์ใหมๆ่ ทย่ี ังไมเ่ คยมใี ช้ มาก่อนหรอื เปน็ การพัฒนาดดั แปลงจากของเดิมที่มีอยูแ่ ล้วใหท้ ันสมยั และไดผ้ ลดีมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลสูงกว่าเดมิ ทั้งยงั ช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย วิศวกรรมศาสตร์(Engineering) พจนานุกรมไทย ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 1081) ไดอ้ ธบิ ายไว้วา่ วิชาทเ่ี กย่ี วกบั การนาความรู้ทางคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ธรรมชาตมิ าประยุกต์ใช้ หรอื Encyclopedia Americana ไดใ้ ห้คาจากัดความไวว้ ่า “Engineering” เปน็ อาชพี ท่ีเกีย่ วขอ้ งโดยชดั เจน กับวิทยาศาสตร์ของการวางแผนการออกแบบการสรา้ ง และการใช้งานอย่างถกู หลกั เศรษฐศาสตร์ของ ส่ิงกอ่ สรา้ งหรือเครื่องจักร หรือการคดิ ประดิษฐ์ส่งิ ใหมๆ่ การ สรา้ ง หรือทาให้เกดิ ขึน้ จะเห็นได้วา่ การใหค้ วามหมายของคาแตล่ ะคาท่ีกลา่ วมาท้ังหมดน้ัน จะเก่ยี วขอ้ กับการใช้องค์ ความรู้เพื่อการสบื ค้น การค้นหา การออกแบบ การสรา้ ง การประดิษฐค์ ิดคน้ เพ่อื ใหไ้ ด้ส่งิ ทต่ี อบสนอง ความต้องการของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างย่ิง เมื่อนาคาว่า เทคโนโลยกี ับการพัฒนา มาใช้ร่วมกนั ก็จะได้ ความหมายวา่ การนาวิทยาการศลิ ปะมาประยกุ ตค์ วามรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์ ใช้เพ่ือแกป้ ัญหาต่างๆ และกอ่ ให้เกดิ วสั ดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เคร่อื งจักร แม้กระทั่งองค์ความร้นู ามธรรมใหมๆ่ เพ่อื ให้การดารงชีวติ ของมนุษย์มี ความสะดวกและมีการเปลยี่ นแปลงไปในทางท่ีดีขึ้นหรือเจริญย่ิงขนึ้ เปน็ ที่พึงพอใจและเพิ่มความสขุ ให้กบั มนุษย์

-3- ความสัมพนั ธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม จากความหมายของวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ข้างตน้ จะเหน็ ได้ว่ามีสว่ น ทีเ่ ปน็ ขอ้ แตกต่างและสว่ นท่มี ีความสมั พนั ธเ์ กี่ยวเนอ่ื งกัน ซึ่งสามารถอธิบายและแสดงภาพความสัมพนั ธไ์ ด้ตาม ภาพท่ี1 Both apply scientific principle to research and development Science Engineering Applies the Applies scientific scientific method principles to solve to explore the problems or nature world develop products Practical applications Technology Practical of scientific applications of knowledge and Products and processes engineering designs discoveries that serve society and products wants and needs Technology Innovation ภาพท่ี 1.1 แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ ง วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

-4- ความสาคญั เทคโนโลยีและการพฒั นา จากความหมายของ เทคโนโลยีและการพัฒนา ดังกลา่ วทาให้เขาใจได้วา่ เป็นสิง่ ที่มีความจาเปน็ และมี ความสาคญั อยา่ งย่ิงต่อการดารงชวี ติ เพราะเทคโนโลยไี ด้เข้ามาเสรมิ ปจั จยั พ้ืนฐานการดารงชวี ติ อยา่ ง มากมาย เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ดังนน้ั การกล่าวถึงความสาคญั ของเทคโนโลยสี ามารถบอก เปน็ ด้านๆได้ดังน้ี 1. เทคโนโลยชี ว่ ยสร้างทพี่ กั อาศัย ทาให้มีความสะดวกสบายน่าอยู่ ได้ส่ิงปลูกสร้างเปน็ ไปตามความ ต้องการ 2. เทคโนโลยชี ว่ ยสง่ เสริมคณุ ภาพชวี ิต 3. เทคโนโลยชี ่วยพฒั นาสงั คม 4. เทคโนโลยชี ว่ ย รักษาคณุ คา่ ทางโภชนาการดา้ นอาหาร แปรรูปอาหาร ผลติ อาหารได้ตามความ ตอ้ งการ 5. เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลติ สินค้าไดเ้ ป็นจานวนมาก มีราคาถูกลง สินค้าไดค้ ุณภาพ 6. เทคโนโลยีทาให้มีการตดิ ต่อสื่อสารกนั ไดส้ ะดวก รวดเร็วตลอดเวลา 7. เทคโนโลยที าไหก้ ารศึกษามสี ่ือ อปุ กรณ์ รปู แบบ วิธีการ และช่องทางการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย 8. เทคโนโลยีชว่ ยเผยแผส่ รา้ งเสริมและดารงไวด้ า้ นศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม และ 9. เทคโนโลยีชว่ ยอานวยความสะดวกในการประกอบอาชพี และทาธุรกิจ เป็นต้น อย่างไรก็ตามความสัมพนั ธ์ในทกุ ๆดา้ นที่ไดก้ ล่าวมานนั้ มที งั้ คุณประโยชน์และผลกระทบต่อการ ดารงชีวิต จากเทคโนโลยีท้ังสิน้ ดังนนั้ การใหค้ วามสาคัญในการเรียนรู้ในแตล่ ะดา้ นเป็นสิ่งทีม่ คี วามจาเป็นอย่าง ย่ิง ในทีน่ ี้จะอธิบายในหน่วยเน้อื หาบทต่อๆไป ลกั ษณะประกอบของเทคโนโลยี การอธบิ ายลกั ษณะประกอบของเทคโนโลยหี ากพจิ ารณาวิเคราะหจ์ ากความหมายสามารถอธบิ าย ลักษณะประกอบของเทคโนโลยีได้ 3 ลกั ษณะดังน้ี 1. เทคโนโลยีในลกั ษณะเคร่อื งมือ เคร่ืองจักร อปุ กรณ์ต่างๆ เปน็ เทคโนโลยีเพ่ืออานวยความสะดวกใน การประกอบการงานอาชพี หรือการดาเนินชีวิตมนุษย์เช่น เครือ่ งมือ เครื่องจกั ร อุปกรณ์ทางด้านการเกษตร ดา้ นอุตสาหกรรม ด้านการส่ือสาร ด้านการศึกษา ดา้ นการแพทย์ เปน็ ตน้

-5- 2. เทคโนโลยใี นลกั ษณะท่เี ป็นนามธรรม วิธกี ารและกระบวนการ เป็นความรูต้ า่ งๆท่ีไดร้ วบรวมไวอ้ ยา่ ง เป็นระบบ เพ่ือนาไปสผู่ ลในทางปฏิบตั โิ ดยเชื่อวา่ เปน็ กระบวนการท่นี า่ เชื่อถือและนาไปสู่การแก้ปัญหาตา่ งๆได้ เช่นวธิ กี ารและกระบวนการถนอมอาหา การแปรรปู อาหาร การทายาสมนุ ไพร กระบวนการในการจดั การ เรียนรู้ ทีม่ คี ุณภาพหรอื กระบวนการบริหารจดั การเป็นต้น 3. เทคโนโลยใี นลักษณะโปรแกรมตา่ งๆ เป็นเทคโนโลยที ่ีตอ้ งใช้ระบบคอมพวิ เตอร์ซึ่งมกี ารทางานเป็น ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งตัวเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ (Hardware) กับโปรแกรม (software) วิวัฒนาการและความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเทคโนโลยกี บั มนุษย์ ววิ ัฒนาเทคโนโลยี (Evolution of Technology) เทคโนโลยีมกี ารเปลี่ยนแปลงหรอื พัฒนาเมื่อเวลา ผ่านไป ข้ันตอนการเปลี่ยนแปลงข้ึนอยู่กับกระบวนการทางวิวัฒนาการ (Evolution) ของระบบหรอื เคร่อื งมือ นนั้ ๆ ดังน้นั คาวา่ ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี (Evolution of Technology ) จงึ หมายถึง ความเปล่ยี นแปลงท่ี เกิดขึน้ ในระบบหรือเคร่ืองมือท่ีเกิดขน้ึ อยา่ งซับซอ้ นและมีการเปล่ยี นแปลงตามลาดับอย่างต่อเน่ืองอันมีสาเหตุ มาจากปัจจยั ตางๆ ววิ ัฒนาการสามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค ดงั น้ี 1. ยุคหนิ (Stone Age) เปน็ ยุคแรกของมนษุ ย์ท่ีมีการใชเ้ คร่ืองมือซ่งึ ทามาจากหนิ ทง้ั สน้ิ เชน่ อาวธุ ทใ่ี ช้ ในการต่อสู้หรอื เครื่องใช้ภายในครวั เรือนชนดิ ตา่ งๆ เครื่องมือตา่ งๆ เหลา่ นท้ี ามาจากหนิ ก่อนท่จี ะมกี ารใชโ้ ลหะ ในเวลาตอ่ มา ระยะเวลาของยคุ หินในแตล่ ะทวปี บนพน้ื โลกมีความแตกต่างกนั ดังได้กลา่ วมาแล้วและระยะเวลา การเกิดของยุคหินในแต่ละที่ก็มีอิทธิพลโดยตรงตอ่ มนุษยด์ ว้ ยเชน่ กัน ดังนั้นจงึ ไดแ้ บ่งยุคหินออกเป็น 3 ระยะ ระยะพาลีโอลคิ (Paleolitthic) หรอื Old Stone Age เปน็ ช่วงท่มี คี วามยาวนานมากที่สุดของยุคหนิ โดยไดเ้ รมิ่ ขนึ้ เมือ่ ประมาณ 2 ล้านปีท่ีผา่ นมาแลว้ และส้ินสุดเม่ือยุคน้าแขง็ ไดส้ ิ้นสุดลงเมื่อประมาณ 13,000 ปี ก่อนครสิ ต์ศักราช มนุษย์ยุคนี้ได้นาหินมาทาเป็นอาวธุ และไดพ้ บหลักฐานว่ามนุษย์ถา้ โครมันยอง (Cro- Magnon) ในทวีปยุโรปได้วาดภาพซง่ึ แสดงถงึ วฒั นธรรมความเป็นอยูต่ า่ งๆ ในชว่ งปลายของระยะนี้ ภาพท่ี 1.2 แสดงวฒั นธรรมความเปน็ อยู่ต่างๆ ในช่วงปลายของระยะ

-6- ระยะมโี ซลติ ิค (Mesolithic) หรือ Middle Stone Age เปน็ ช่วงหลัง 13,000 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช ระยะน้ีมีการเปลย่ี นแปลงมากขึน้ บนพ้นื โลกสง่ ผลให้มีความอุดมสมบูรณข์ องอาหารเพิ่มมากขน้ึ จึงมเี คร่อื งมอื เคร่อื งใชห้ ลายชนิดที่ทาด้วยก้อนกรวด ก้อนหินที่ไดม้ าใชช้ วี ิตประจา ภาพที่ 1.3 แสดงเครอ่ื งมือเครื่องใชห้ ลายชนดิ ท่ีทาด้วยก้อนกรวด ก้อนหิน ระยะนโี อลิติต (Neolithic) ระยะน้ีไดเ้ ริ่มขึน้ เม่ือประมาณ 8,000 ปีก่อนครสิ ต์ศักราช มนษุ ยย์ คุ นีไ้ ดน้ า สังคมเกษตรกรมเขา้ มาใชใ้ นชวี ิตประจาวัน เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นครวั เรือนบางชนิดไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงและไดม้ ี การเริม่ ใชโ้ ลหะบางชนดิ ใน ได้มีการเปลีย่ นแปลงและไดม้ ีการเรมิ่ ใช้โลหะบางชนดิ ในชว่ งปลายของระยะนี้ ภาพท่ี 1.4 แสดงการเปลย่ี นแปลงและได้มกี ารเรม่ิ ใช้โลหะบางชนดิ ในช่วงปลายของระยะ 2. ยคุ ทองสัมฤทธิ์ (Bronze Age) ได้เร่มิ ขนึ้ เมื่อประมาณ 3,000 ปี กอ่ นครสิ ตศ์ ักราช และส้ินสดุ เม่ือประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสต์ศกั ราช เชื่อกนั ว่าเคร่อื งไม้ เครื่องมือที่ทาจากทองสาเริดได้เร่มิ มขี ้ึนคร้ังแรกในแถบตะวันออกกลาง (Middle East) และในทวีปยุโรปโดย เริม่ ท่ปี ระเทศกรซี ในทวปี เอเชยี ยคุ ทองสารดิ ได้เร่มิ ขน้ึ ทีประเทศจนี เมอ่ื ประมาณ 1,800 ปกี อ่ นคริสต์ศักราช ส่วนในทวปี อเมรกิ ายุคทองสาริดได้เรมิ่ ข้ึนเมอ่ื 1,000 ปี กอ่ นครสิ ตศ์ กั ราชในประเทศไทย ไดม้ ีการค้นพบ เครอ่ื งมือบ่างชนิดที่ทาด้วยทองสารดิ เชน่ ใบหอก ขวาน กาไล และเบด็ ตกปลา เปน็ ต้น ท่ตี าบลบ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุบลราชธานี และท่ตี าบลแวง อาเภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนครและจากการ ค้นพบวัตถโุ บราณชนดิ นี้ทาให้เช่อื วา่ ยุคทองสาริดเกดิ ข้นึ มานานแลว้ ประมาณ 4,500 ปี ก่อนครสิ ต์ศกั ราช ยุคทองสาริดในตะวนั ออกกลางและแถบเมดเิ ตอร์เรเนยี นแบง่ ออกเป็น 3 ระยะดังน.้ี

-7- ระยะต้น (Eaarly Bronze age) โลหะถูกนามาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในชวี ติ ประจาวนั มากข้ึนซงึ่ เป็นยุคของ ชบู าเรียน ซวิ ิไลเซซัน (Sumaian Civilzation) ภาพท่ี 1.5 แสดงโลหะถูกนามาใช้เป็นเครอ่ื งมือในชีวติ ประจาวัน ยคุ ของชูบาเรียน ซิวิไลเซซัน (Sumaian Civilzation) ระยะกลาง (Middle Brone age) เป็นยคุ ของบาบิโลน (Babylon) ชาวบาบิโลนนอกจากรูจ้ ักใชโ้ ลหะ แลว้ ยงั เป็นผู้ใหก้ าเนดิ วธิ ีการทานายชะตาชีวิตมนษุ ยโ์ ดยดูจากอิทธิพลของดวงดาวหรือโหราศาสตร์ โดยมี หลกั ฐานหินปักเขตรูปเทพเจา้ ตา่ งๆ ทคี่ ้นพบ ระยะสุดทา้ ย (Late Bronze age) เป็นยุคของไมโนแอน ครที (Minoan Crete) และ ไมซีนาเอน ครซี (Mycenaean Creece) 3. ยคุ เหลก็ (Iron Age) เป็นยุคทม่ี ีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีมากขึน้ เร่ือยๆ มีการนาเอา เหล็กเข้ามาใชเ้ ปน็ เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์และอาวธุ ยุทโธปกรณแ์ ทนทองสมั ฤทธ์ิซึ่งมีการใช้แพรห่ ลายกนั ในยุค ทองสัมฤทธ์ิ ยุคนี้ได้นาเหล็กมาใชม้ ากข้ึนเม่อื มีการนาเตาเผาซงึ่ มปี ระสิทธภิ าพสงู ในการหลอมโลหะบางชนิด จนทาใหเ้ หลก็ กลายเป็นวสั ดุท่ีสาคัญที่ใชใ้ นการผลติ วสั ดุ อปุ กรณ์ เครื่องใชต้ ่าง ๆ ของมนุษย์ ภาพท่ี 1.6 แสดงยคุ เหลก็ (Iron Age) ท่ีมีการพฒั นาเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ

-8- 4.ยคุ การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม ในยุคน้ีเทคโนโลยีเจริญรุดหน้ามาก คือ เทคโนโลยดี า้ นพลังงาน (Energy Technology) มีการสร้าง กงั หนั ลมและใชพ้ ลังงานไอน้าสาหรับการทางานของเครอ่ื งจกั รกล และการค้นพบความรู้เรื่องไฟฟา้ เป็นผลให้ คิดคน้ สรา้ งเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า ความรกู้ ารถลงุ แร่ทาให้เกิดโลหะวิทยาและเกดิ เทคโนโลยีตา่ งๆ มากขึ้น นอกจากนี้มกี ารสร้างโรงงานทอผ้าที่ใช้ความร้ทู างเคมีกับเร่อื งส่ิงทอ ในตอนปลายของยุค วศิ วกรโรงงานต่างๆ พัฒนาส่งิ ก่อสรา้ งตา่ งๆ เช่น สะพาน เข่ือน ท่อ การสื่อสารและคมนาคม เชน่ ก่อสรา้ งถนน ขุดคลอง กจิ การ รถไฟ การส่ือสาร ระบบการพิมพ์ การถา่ ยภาพ โทรเลข โทรศพั ท์ เทคโนโลยใี นยคุ นก้ี า้ วหน้ารวดเรว็ มาก สว่ น ใหญ่เปน็ เทคโนโลยีตามความต้องการของสังคมอตุ สาหกรรมขณะนั้น ภาพท่ี 1.7 แสดงยุคการปฏวิ ัติอตุ สาหกรรม 5. ยคุ ศตวรรษที่ 20 (The 20th Century) ยคุ นี้ถือเปน็ การเจริญเติบโตอยา่ งมากหรือยุคทอง ทางด้านเทคโนโลยีอยา่ งมากกระบวนการผลติ ทางเทคโนโลยีได้เพมิ่ มากขึ้นในชว่ งศตวรรษที่ 20 กระบวนการ ตา่ งๆ ท่ีนาไปสู่การเจริญเติบโตแบ่งออกเปน็ 4 ข้นั ตอน 1. ความเขา้ ใจพน้ื ฐาน (Basic information) 2. การให้ความรู้ดา้ นเทคนคิ (Technical education) 3. การประเมนิ ผลดา้ นเทคโนโลยี (Assessment of technology) 4. อนาคตของเทคโนโลยี (Outlook)

-9- ภาพที่ 1.8 แสดงยคุ ศตวรรษท่ี 20 (The 20th Century) ยุคน้ีเร่มิ จากการบนิ การส่งจรวด ความรู้ทางอเิ ล็กทรอนิกส์และระเบดิ ปรมาณู การประดิษฐค์ ดิ คน้ วัสดุ ใหม่ ๆ ซึงมีทั้งสรา้ งสรรค์และทาลายสงั คม การพัฒนาวิทยาการการบนิ และเทคโนโลยที างอวกาศกา้ วหนา้ มาก เกิดความรทู้ างวิทยาศาสตรห์ ลายแขนง ทาให้มีการคดิ คน้ สร้างเทคโนโลยีใหม่ ๆ อยา่ งไม่มขี ีดจากัด ระดบั ของเทคโนโลยี (Level of Technology) จากการสังเกตและวิเคราะห์ เทคโนโลยีท่มี อี ยูม่ ากมายในปัจจุบนั นนั้ สามารถที่จะแบ่งระดับของ เทคโนโลยไี ด้ 3 ระดับดงั น้ี 1.เทคโนโลยรี ะดับพื้นฐาน (Basic Technology) ส่วนมากเป็นเทคโนโลยที ม่ี อี ยตู่ งั้ แต่ยคุ โบราณซ่ึงแต่ ละประเทศจะมีลกั ษณะท่แี ตกต่างกนั เปน็ ไปตามวถิ ชี วี ิต ประเพณี และวฒั นธรรมของแต่ละประเทศและแตล่ ะ ท้องถ่ินของประเทศนั้นๆ ทจ่ี ะคิดค้นสร้างสรรค์เทคโนโลยขี ้นึ มาเพอ่ื แกป้ ญั หาและอานวยความสะดวกในการ ดาเนนิ ชวี ติ เช่น ครกตาขา้ ว ยาสมนุ ไพร เรือพาย กระต่ายขูดมะพรา้ ว เป็นตน้ ภาพท่ี 1.9 แสดงเทคโนโลยรี ะดับพน้ื ฐาน (Basic Technology)

-10- 2. เทคโนโลยรี ะดับกลาง (Intermediate Technology) เกิดจากการปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยี ระดบั ต่าเพ่ือให้ไดป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีมากข้ึน เช่นเครื่องพน่ สารเคมี รถเกี่ยวข้าว เครื่องขดู มะพร้าว กล้อง ถ่ายรปู เครื่องตัดหญ้าเปน็ ต้น ภาพท่ี 1.10 แสดงเทคโนโลยีระดบั กลาง (Intermediate Technology) 3.ระดับสงู (High Technology) เป็นเทคโนโลยีที่จะตอ้ งอาศยั องค์ความรรู้ ะดับสูงและประสบการณ์ อนั ยาวนานมคี วามสลบั ซ้อน เพราะเปน็ ความสามารถในการปรับปรุงแกไ้ ข เชน่ ยารักษาโรคแผนปัจจุบัน การ ตัดตอ่ พันธุกรรม การโคลน เครอื่ งบิน รถไฟความเร็วสงู เครื่องมือสือ่ สาร อาวุธทางการทหารเป็นต้น ภาพท่ี 1.11 แสดงเทคโนโลยีระดบั สูง (High Technology)

-11- การนาเทคโนโลยีไปใช้ในการพัฒนาประเทศ ดงั ท่ีกลา่ วมาแล้วข้างต้นเทคโนโลยีเปน็ ปัจจัยท่สี าคัญอย่างหน่ึงในการพฒั นาประเทศ การนาเทคโนโลยี ไปใช้ในการพฒั นาประเทศนั้นขึ้นอยกู่ ับความต้องการ ความเหมาะสมและความจาเปน็ ในแต่ละยคุ สมยั ว่า ประเทศมีกิจกรรมโครงการทางดา้ นใดทีต่ ้องการพัฒนา และพิจารณาเทคโนโลยใี ดทีเ่ หมาะสมควรแก่การ นามาใช้ ซ่งึ เทคโนโลยีแตล่ ะด้านมีระดบั ทีแ่ ตกต่างกนั มีต้นทุนท่ตี า่ งกัน ดงั นนั้ การนาเทคโนโลยี ไปใชค้ วร พิจารณาความเหมาะสมอยา่ งรอบคอบ ความสาเรจ็ ในการพัฒนาและการใชเ้ ทคโนโลยคี วรคานึงและ ดาเนนิ การดา้ นตา่ งๆดงั นี้ 1. มีการให้การศึกษาเตรียมบคุ ลากรให้มคี วามสามารถทางดา้ นเทคโนโลยี 2. ส่งเสริมให้มีการวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยใี นทุกๆด้าน 3. สร้างบรรยากาศในสงั คมให้มีบรรยากาศทางเทคโนโลยี 4. กระตนุ้ ให้มจี ติ สานกึ และมีความตระหนักในการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งรู้เทา่ ทัน การให้การศกึ ษาทางด้านเทคโนโลยีควรเร่ิมตน้ ท่คี วามเขา้ ใจพืน้ ฐาน ความรทู้ างเทคนคิ ความสาคัญ ววิ ตั นาการ องค์ประกอบ ระดบั ความเหมาะสม ตลอดจนการนาเทคโนโลยไี ปใช้อยา่ งรูเ้ ท่าทันและการพัฒนา ทย่ี ง่ั ยนื อยา่ งไรก็ตามเน่ืองจากปัจจบุ ันเทคโนโลยีมีหลายประเภทแต่ละประเภทมีความเจริญก้าวหนา้ เปน็ อยา่ งมาก ไม่สามารถจะรวบรวมเรียบเรยี งเน้อื หาทางเทคโนโลยีมาไดท้ ง้ั หมด ดังนัน้ ในที่นจี้ ะขอกลา่ วถึง เทคโนโลยีกบั การพฒั นาดา้ นคณุ ภาพชวี ติ ดา้ นสังคม ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ด้านศาสนาและ วฒั นธรรม ดา้ นการศกึ ษา ดา้ นการสื่อสาร ดา้ นอตุ สาหกรรม ด้านธรุ กจิ และการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื เปน็ ต้น ซึ่ง จะได้อธิบายในแตล่ ะบทต่อไป สรปุ ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีและการพฒั นาเปน็ หนว่ ยเน้อื หาท่อี ธบิ ายความหมายของเทคโนโลยีและ การพัฒนาคอื การนาวิทยาการศลิ ปะมาประยกุ ต์ความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ใช้เพื่อแก้ปัญหาตา่ ง ๆ และก่อให้เกิด วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครอ่ื งจกั ร แม้กระท่ังองค์ความรู้นามธรรมใหม่ๆ เพ่อื ให้การดารงชวี ติ ของมนุษย์มี ความสะดวกและมีการเปลีย่ นแปลงไปในทางทด่ี ีข้ึนหรอื เจริญย่งิ ข้นึ เปน็ ท่ีพงึ พอใจและเพิ่มความสขุ ให้กับ มนษุ ย์ ความสาคัญของเทคโนโลยดี า้ นต่างๆ ลักษณะของเทคโนโลยมี ี 3 ลกั ษณะคือ เทคโนโลยีลกั ษณะ เคร่ืองมอื เคร่ืองจกั ร อุปกรณ์ ลักษณะความรูท้ ่เี ป็นนามธรรม และลักษณะโปรแกรมคอมพิวเตอรต์ า่ งๆ ววิ ตั นาการทางเทคโนโลยสี ามารถแบ่งได้ 5 ยคุ คอื ยุคหิน ยคุ ทองสัมฤทธ์ิ ยุคเหล็ก ยุคปฏิวตั ิอุตสาหกรรม และยุคศตวรรษท่ี 20 การแบ่งระดับเทคโนโลยแี บง่ ได้ 3ระดบั ระดบั พืน้ ฐาน ระดบั กลางและระดบั สูง ตลอดจนการนาเทคโนโลยีไปใชพ้ ฒั นาดา้ นตา่ งๆ เชน่ เทคโนโลยกี บั การพฒั นาดา้ นคุณภาพชวี ติ ดา้ นสงั คม ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ด้านศาสนาและวัฒนธรรม ดา้ นการศึกษา ด้านการสอ่ื สาร ด้าน อตุ สาหกรรม ด้านธรุ กจิ และการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนเป็นต้น

-12- คาถามท้ายบท ความเข้าใจเทคโนโลยกี ับการพัฒนา 1. ความเข้าใจของทา่ นเทคโนโลยกี บั การพัฒนามีความหมายว่าอย่างไร ? 2. คาว่า วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และนวัตกรรมมคี วามหมายว่าอยา่ งไร ? อธบิ าย 3. คาวา่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยมี ีความสมั พนั ธ์กนั อย่างไร ? อธิบาย 4. วิวตั นาการของเทคโนโลยแี บง่ ออกเป็นกย่ี ุค มีอะไรบา้ ง ? 5. การแบง่ ระดับของเทคโนโลยี แบ่งได้เปน็ กรี่ ะดับ มีอะไรบ้าง ? 6. การนาเทคโนโลยไี ปใช้ในการพัฒนาประเทศควรคานงึ และดาเนนิ การด้านไดบา้ ง 7. ลักษณะของเทคโนโลยสี ามารถอธิบายได้ก่ีลักษณะ อะไรบ้าง ? อธิบายพร้อมยกตัวอย่าง

-13- บทท่ี 2 เทคโนโลยกี ับการพฒั นาคุณภาพชีวติ โดยธรรมชาติรา่ งกายของคนเราตอ้ งมกี ารเจริญเตบิ โต มีความแข็งแรง เพื่อต่อสู้กับโรคภัยไข้เจบ็ ตา่ งๆ และจะต้องมชี ีวิตท่ียนื ยาวพอสมควร ซง่ึ ร่างกายจะต้องได้รับสิ่งจาเป็นในการดารงชวี ติ ไดแ้ ก่ อาหาร น้า อากาศ การพักผ่อนการออกกาลังกายและการไม่มโี รคภัยไข้เจบ็ ชวี ิตเปน็ สง่ิ มีค่าย่ิงกวา่ ทรัพย์สินใดๆ ทกุ คน ยอ่ มรกั ษาและหวงแหนชวี ติ ของตนเองปรารถนาใหต้ นเองมีชวี ิตท่ผี าสกุ จึงจาเปน็ ต้องรักษาสุขภาพอนามัยให้ แขง็ แรงสมบูรณ์อยู่เสมอสิ่งที่ประเมนิ ค่ามิได้ของมนุษยก์ ค็ ือ การมสี ขุ ภาพทางกายดีปราศจากโรคภยั ไข้เจ็บ หรอื การบาดเจบ็ จากอบุ ัตเิ หตุตา่ งๆ มีกลา้ มเน้ือทีท่ างานได้ดีสามารถแบกภาระงานในหน้าท่ีได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพรา่ งกายสามารถปรบั ตัวเขา้ กับส่งิ แวดล้อมได้ดีสาหรบั ทางด้านจติ ใจน้ันกส็ ามารถทางานสัมพนั ธ์ กับด้านรา่ งกายได้อย่างแนน่ แฟน้ จะแยกออกจากกนั เป็นสดั สว่ นมิไดไ้ ม่มคี วามวิตกกงั วล ไม่ถูกความเครียดมา รบกวนและเราจะต้องยอมรับถงึ สภาพชีวิตทตี่ นเองเปน็ อยู่ได้เป็นอยา่ งดีไมว่ า่ จะเป็นการเรียนการเลน่ การ ทางานความรับผดิ ชอบต่อครอบครวั นอกจากนี้ยังเปน็ ผทู้ ่ีดารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมอยา่ งมีความผาสขุ ไม่สร้างความ เดือดร้อนให้แก่ผู้อ่ืนดังนัน้ การที่บคุ คลใดมสี ุขภาพดีย่อมเป็นแนวทางในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ท่ีดตี ามไปด้วย แนวคดิ คุณภาพชวี ิต จากกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเกยี่ วกับทฤษฎคี ุณภาพชีวติ บุคคล (theoretical framework) พบวา่ พัฒนา มาจากผลงานของนักปรชั ญา 2 คนคือมาสโลว์ (Maslow, 1954) และชาร์มา (Sharma, 1988) อา้ งใน อจั ฉรา นวจนิ ดา, 2549 .โดยมกี รอบแนวคิดการศึกษาดังนี้คือ“ชีวิต”ประกอบด้วย“ร่างกาย”และ“จิตใจ” ชีวิตจะเจรญิ เติบโตไดด้ ว้ ยมปี ัจจัยมาหล่อเลย้ี งท้ังรา่ งกายและจิตใจ มาสโลวไ์ ดเ้ สนอทฤษฎี Maslow’s Hierarchy Needs แสดงให้เห็นว่ามนษุ ย์จะมีความต้องการเปน็ แรงผลกั ดนั หรอื เปน็ แรงจงู ใจอยู่ภายในทจ่ี ะใช้ พลังความรคู้ วามสามารถเพ่ือนาตนเองไปสู่จุดม่งุ หมายตามความตอ้ งการนน้ั และมาสโลว์ได้ลาดับข้นั ของความ ตอ้ งการ 5 ระดบั ทีก่ อ่ ให้เกิดแรงจงู ใจท่ลี ะขนั้ จากระดับต่า สู่ระดบั สูงให้เกิดการปฏบิ ัติเพื่อให้ได้รับหรือสนอง ความต้องการตามลาดับคือ ระดับ 1 ความต้องการพนื้ ฐานด้านร่างกาย (Physiological Needs) เปน็ ความตอ้ งการปัจจยั ท่ี จาเปน็ ตอ่ การอยรู่ อดของชีวิตดา้ นรา่ งกายขาดไม่ได้ไดแ้ ก่ความตอ้ งการในปัจจัยสี่คืออาหารท่อี ยู่อาศยั เคร่อื งนุ่งห่มและยารักษาโรคการได้รบั การตอบสนองต่อสงิ่ ท่ตี ้องการดา้ นปจั จยั ส่แี ละทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อ รา่ งกายจะทาให้เกิดสุขภาพกายดี

-14- ระดับ 2 ความตอ้ งการความปลอดภยั มั่นคงทง้ั ร่างกายและจติ ใจ (Safety and Security of Physical and Mental Needs) ไดแ้ ก่การท่ีรา่ งกายและจติ ใจไมต่ ้องเผชญิ หรือหวนั่ ไหวหวาดระแวงตอ่ อนั ตรายหรอื ความไม่แนน่ อนที่ไม่พงึ ปรารถนา จากสภาพแวดลอ้ มหรือจากกิจกรรมการดาเนินชวี ิตทาให้ สขุ ภาพจติ ดี ระดับ 3 ความต้องการความรกั ความเปน็ ท่ียอมรับของสังคม (Love and Belonging Needs) ไดแ้ ก่ความต้องการทจี่ ะไดเ้ ป็นท้งั ผู้ให้และผู้รบั ในปัจจัยทีพ่ ึงพอใจและนามาซ่ึงการมสี ขุ ภาพจิตดี ระดับ 4 ความต้องการความนบั ถอื และความต้องการความสนุ ทรียภาพ (Esteem and Esthetic Needs) เปน็ ความตอ้ งการ ท่จี ะได้รับการเหน็ คณุ ค่าของตน(คอื ความนบั ถือ) หรือไดเ้ ห็นคุณคา่ ของสิ่งอ่ืน (ความงามของธรรมชาติหรอื ความไพเราะของบทเพลงหรือบทกวี) ทาให้สขุ ภาพจิตดี ระดับ 5 ความตอ้ งการบรรลุศักยภาพแห่งตน (Self - Actualization Needs) เปน็ ความตอ้ งการ ท่จี ะบรรลคุ วามสามารถของบุคคลตามทต่ี นตระหนักในศักยภาพดังนั้นการท่บี คุ คลสมประสงคใ์ น ความสามารถของตนในเรื่องตา่ งๆทาให้สุขภาพจติ ของบุคคลดี 5 ความต้องการบรรลศุ ักยภาพแห่งตน 4 ความตอ้ งการความนับถือและสุนทรยี ภาพ 3 ความต้องการความรักเปน็ ท่ียอมรับของสงั คม 2 ความต้องการความปลอดภยั 1 ความต้องการพ้นื ฐานด้านร่างกาย ภาพท่ี 2.1 แสดงระดบั ขนั้ ความต้องการของบุคคลตาม ทษฎขี อง Maslow ความหมายคุณภาพชีวิต จากความเปน็ มาดงั กล่าวนักวชิ าการได้ประมวลแนวคิดและให้ความหมายคุณภาพชีวิตไวว้ ่า หมายถึง สภาวะความพร้อมของบคุ คลทั้งในด้านรา่ งกาย จติ ใจ และดา้ นอ่ืนๆ ท่จี าเปน็ ต่อการดารงชวี ิตท่ีจะ สามารถสง่ ผลใหเ้ ขาดารงชวี ติ อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ให้ความหมายของคุณภาพ ชีวติ ว่า คณุ ภาพชวี ิต หมายถงึ ชวี ิตที่มสี ขุ ภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวให้เข้ากบั สภาวะ

-15- แวดลอ้ มและสังคมทต่ี นอยู่ได้อย่างดี ในขณะเดยี วกันก็สามารถดารงชวี ิตท่เี ปน็ ประโยชน์ให้ตนเอง สังคม และ ประเทศชาติได้ดว้ ย องคป์ ระกอบคุณภาพชวี ติ คุณภาพชืวิตประกอบด้วยองค์ประกอบหลกั 3 ดา้ น 1. ด้านความเปน็ อยู่ (being) 2. ดา้ นความเป็นเจา้ ของ (belonging) 3. ดา้ นส่งิ ที่จะเกิดข้นึ (becoming) ความเปน็ อยู่ (Being) สิง่ ทีบ่ ุคคลควรไดร้ บั (who one is) - ความเปน็ อยดู่ ้านกายภาพ - สขุ ภาพกาย - อนามยั ส่วนบคุ คล - ความเปน็ อยูด่ ้านจิตใจ - โภชนาการ - การออกกาลังกาย - ความเปน็ อย่ดู ้านจติ วญิ ญาณ - การแต่งกายและเสือ้ ผา้ - สภาพกายภาพทัว่ ไปทปี่ รากฏ - ความเป็นเจา้ ของ (Belonging) - สุขภาพจิตและการปรบั ตัว - ความเป็นเจ้าของด้านกายภาพ - การรับรู้ - ความรู้สกึ - ความภาคภมู ิใจ การมองตนเอง การ ควบคุมตนเอง - การให้คุณค่าบุคคล - การใหค้ ุณคา่ กับมาตรฐานความ ประพฤติ - ความเช่ือด้านจติ วญิ ญาณ - การตดิ ต่อกบั บุคคลที่แวดล้อม - บา้ น - ทที่ างาน/โรงเรยี น - เพือ่ นบา้ น - ชุมชน

-16- ความเปน็ อยู่ (Being) สง่ิ ทบี่ ุคคลควรได้รับ (who one is) ความเปน็ เจา้ ของดา้ นสงั คม - ความใกลช้ ดิ กับผู้อน่ื - ครอบครวั ความเปน็ เจ้าของ (Belonging) - เพ่อื น ความเปน็ เจา้ ของด้านชมุ ชน - ผรู้ ว่ มงาน - เพื่อนบ้านและชมุ ชน สง่ิ ทจี่ ะเกิดขนึ้ (becoming) การปฏบิ ัตทิ ่จี ะเกิดขึ้น ส่งิ ทีบ่ คุ คลควรได้รบั (who one is) - รายไดพ้ อเพียง การใช้เวลาว่างทจี่ ะเกิดขนึ้ - บรกิ ารสขุ ภาพและบริการสงั คม ความเจรญิ เติบโตทจี่ ะเกดิ ขึน้ - การจา้ งงาน - การจดั การศึกษา - การจัดนนั ทนาการ - การจดั งานและกิจกรรมของชุมชน เปา้ หมายส่วนบคุ คลและความคาดหวังท่ี จะเกิดขึน้ - กจิ กรรมภายในบ้าน - งานท่ีจา่ ยค่าตอบแทน - กิจกรรมโรงเรยี นหรืออาสาสมัคร - การดแู ลสขุ ภาพหรือความตอ้ งการทางสงั คม - กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมใหเ้ กดิ การผ่อนคลายและ ลดความเครียด - กจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมให้เกิดการบารงุ รกั ษาหรือ การปรบั ปรงุ ความรู้และทักษะ - การปรบั ตัวเพื่อการเปล่ยี นแปลง ตารางท่ี 2.1 องค์ประกอบของคณุ ภาพชวี ติ ระดับบุคคล

-17- มิติคุณภาพชวี ิตองคร์ วม วารสารการสง่ เสริมสุขภาพของอเมรกิ า ระบุสุขภาพไว้ 5 มิติ ได้แก่ 1. มติ ิทางกาย (Physical dimension) เปน็ มิติทางรา่ งกายที่สมบูรณ์ แขง็ แรง ปราศจากโรคหรอื ความเจบ็ ปว่ ย มีปัจจัยสาคัญในมติ ิน้ี คือ อาหารและโภชนาการ สมรรถนะทางกายสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ตา่ งๆ ทีอ่ ยู่อาศยั สภาวะทางเศรษฐกิจทเี่ พียงพอ ส่งเสรมิ ภาวะสุขภาพ ฯลฯ 2. มติ ทิ างจติ ใจ (Psychological dimension) เป็นมติ ิของสภาวะทางจติ ใจหรอื อารมณ์(Emotion) เชน่ อารมณ์แจ่มใส ปลอดโปรง่ ไม่มีความกังวล มีความสุข ปจั จัยสาคญั ในมิตนิ ้คี ือ การจดั การกบั ความเครยี ด การดูแลไม่ให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ 3. มิตทิ างสังคม (Social dimension) เป็นความผาสุกของครอบครัว สังคม และชุมชน โดยการมี ความสมั พนั ธ์ทด่ี ีต่อกนั สามารถให้การดแู ลชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกนั มคี วามเอือ้ อาทรเสมอภาค มีความยุติธรรม สนั ติสขุ วัฒนธรรมชุมชน และมรี ะบบบริการทด่ี แี ละทว่ั ถึง 4. มิตทิ างจิตวญิ ญาณ (Spiritual dimension) เปน็ ความผาสุกที่เกดิ จากการมคี วามหวังในชีวติ มี ความรกั ความอบอ่นุ ความเชือ่ มนั่ ศรัทธา มีสิ่งยดึ มนั่ และเคารพ มกี ารปฏิบตั ิในสิง่ ท่ดี ีงาม ดว้ ยความมเี มตตา กรุณา ไมเ่ หน็ แก่ตัว มคี วามเสียสละ และยนิ ดีในการท่ีไดม้ องเห็นความสขุ หรอื ช่วยเหลอื ผูอ้ ื่นใหป้ ระสบ ความสาเร็จ (Transcendence) มติ ินเี้ ป็นเร่ืองเกย่ี วกับคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของคน สามารถสรา้ งไดใ้ นครอบครัว และชุมชน สรา้ งด้วยความรักความอบอุ่น ความเขา้ ใจกนั และกัน เห็นใจกัน ยอมรบั กัน เคารพในศกั ดิศรีของ กนั และกนั ในฐานะทเ่ี ปน็ มนุษยเ์ ช่นเดยี วกัน ไมร่ งั เกยี จเดยี ดฉันท์ ไม่แบง่ พวกและเขน่ ฆ่าราวี แตช่ ่วยเหลือ เกื้อกลู กนั อยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันติ ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คมที่มีสุขภาวะทางจติ วญิ ญาณดี ไม่ได้แปลว่าไม่มี ปัญหาแต่สามารถจดั การปัญหาได้ถ้าแก้ไขไม่ได้กส็ ามารถสร้างความสมดลุ จัดการใหค้ นอยกู่ บั ปญั หาทีแ่ กไ้ ข ไมไ่ ด้นั้นโดยไม่ทกุ ข์และเดือดร้อนจนเกินไป 5. มิตทิ างปัญญา (Intellectual dimension) เป็นสขุ ภาพในดา้ นการเปน็ ผูม้ ีการศึกษา มี ความรู้ เฉลยี วฉลาด รู้เทา่ ทันการเปลี่ยนแปลง เป็นภูมิค้มุ กันทางสงั คม สามารถประกอบอาชพี และ ประสบความสาเรจ็ ในชวี ติ นอกจากน้นั The American University’s National Center for Health Fitness ยังได้เพ่ิม สขุ ภาพอีกหนึง่ มติ ิ คือ มิติสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ (Environmental dimension) เช่น การปราศจาก มลภาวะในอากาศ นา้ ดนิ เป็นตน้ สังคมมนุษย์เป็นสังคมท่ีต้องการความเจริญกา้ วหน้า ต้องการชอ่ื เสียง เกียรตยิ ศ เงินทอง การยอมรบั จากวงสังคม และประสบความสาเรจ็ ในหนา้ ท่ีการงาน ซึ่งไมม่ ีใครเลยจะ สามารถปฏิเสธได้วา่ ในแต่ละวนั นนั้ มนุษย์ต้องดิน้ รนขวนขวาย ไขว่คว้าหาสิง่ ทต่ี นพงึ ปรารถนาเพื่อให้ได้มา

-18- ดงั นัน้ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต จงึ เป็นการพฒั นาตนเองเพื่อใหม้ ีชีวติ ความเป็นอยูท่ ี่ดีข้ึน ปรับปรงุ การดา เนินชีวติ ให้คล้องและรองรับกับการเปลยี่ นแปลงที่จะเกิดขนึ้ ในอนาคต การวดั คุณภาพชีวติ ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้มีองคก์ รและประเทศต่างๆแต่ละประเทศมีเคร่ืองมือวดั คณุ ภาพชวี ติ ในแต่ ละดา้ นที่แตกต่างกันเชน่ 1) แบบจาลองการสารวจคณุ ภาพชวี ติ ของ ESCAP คอื คณะผแู้ ทนท่ีทางานเกย่ี วข้องกับการกาหนด นโยบายและวางแผนพัฒนาของคณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกจิ และสงั คมสาหรับเอเชียและแปซฟิ กิ จาก 54 ประเทศ พรอ้ มกับสมาชิกอีก 5 เขตการปกครอง ไดร้ ว่ มกันสร้างแบบจาลองการสารวจคุณภาพชวี ติ ของ ประชากรในภาคพน้ื เอเชยี และแปซิฟกิ โดยมีส่วนประกอบ 7 ด้าน คอื 1) ดา้ นสภุ าพ 2) ดา้ นการศึกษา 3) ดา้ นชวี ติ การทางาน 4) ดา้ นสงิ่ แวดล้อมทางกายภาพ5) ด้านชีวิตครอบครัว 6) ด้านชวี ิตชุมชนและ 7) ดา้ นชวี ิต วัฒนธรรม ชวี ติ จติ ใจและชวี ติ เวลาเสรี 2) เครื่องมือวดั คุณภาพชวี ติ ขององค์การอนามัยโลก องค์การอนามยั โลกโดยทมี งาน WHOQOLซง่ึ ประกอบด้วยศนู ยป์ ฏิบัตงิ านภาคสนามจานวน 15 ประเทศ ได้พัฒนาและนาเสนอเคร่ืองมอื วดั คุณภาพชีวติ ท่ี สามารถนาไปใช้ไดท้ ั่วไป แม้ในกลมุ่ ประชากรทม่ี ีสงั คมและวัฒนธรรมแตกต่างกนั nเครื่องมือดังกลา่ วให้ ความสาคญั กบั กระบวนการดูแลสุขภาพ ผลของการรักษาและความเป็นอยทู่ ่ีดีของผปู้ ่วย โดยมขี อ้ คาถาม จานวนท้งั สิน้ 100 ข้อ แบง่ เป็นคาถามดา้ นคุณภาพชีวติ และสขุ ภาพโดยรวม 4 ข้อ อีก 96 ขอ้ จดั เป็น 24 หัวข้อ แต่ละหวั ข้อมี 4 คาถาม และในจานวน 24 หวั ข้อได้จัดกลมุ่ เปน็ 6 ดา้ น คือ 1) ด้านรา่ งกาย 2) ดา้ น จิตวทิ ยา 3) ดา้ นระดบั ความเปน็ อิสระของบุคคล 4) ด้านความสมั พนั ธ์กับสงั คม5) ดา้ นสงิ่ แวดล้อม และ 6) ดา้ นจติ ใจหรอื ดา้ นความเชือ่ บุคคล แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชวี ิต ชวี ติ ที่มคี ุณภาพย่อมเปน็ ชีวิตท่ปี ระสบความสมหวงั รูจ้ ักยบั ยั้งความต้องการทางร่างกาย และความ ตอ้ งการทางอารมณข์ องตนเองใหอ้ ยู่ในขอบเขตที่พอดี สามารถใช้ความรู้ สตปิ ญั ญาความรู้สกึ นึกคิดของตนไม่ กอ่ ให้เกิดความเดอื ดร้อนเบยี ดเบียนหรือใหโ้ ทษแก่บุคคลอ่ืนในขณะเดยี วกันบุคคลจะต้องมกี ารศึกษาสงู มีความ ขยันอดทนประกอบอาชีพทีส่ จุ รติ เป็นพลเมืองดีมีศาสนาเป็นส่ิงยึดเหนี่ยวทางใจมีระเบียบมีวนิ ยั มีกฎเกณฑ์ทาง สังคมแสวงหาความรู้เพิม่ เติมรูจ้ ักใช้ความคิดและสติปัญญาแก้ไขปัญหาสุขภาพและการดารงชวี ติ ของตนเองซ่งึ ถือวา่ เปน็ คุณลกั ษณะของการมีคุณภาพชีวิตท่ดี ีของบุคคลในอกี ระดับหนง่ึ ซ่ึงมีแนวทางในการพัฒนา ดังตอ่ ไปน้ี

-19- 1. พฒั นากาย เพ่ือมงุ่ ให้ร่างกายมสี ขุ ภาพแข็งแรงสมบรู ณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจบ็ และความพกิ ารใดๆ 2. พัฒนาทางอารมณ์ เพอื่ มุ่งใหอ้ ารมณ์มคี วามสนุกสนานร่าเรงิ ไมม่ ีความเครยี ดหรือวิตกกงั วลต่อการ เรยี น หรอื ต่อการปฏิบัตงิ าน ในหน้าทรี่ ับผดิ ชอบ มีแต่ความเจริญหู เจรญิ ตา เจรญิ ใจ มองโลกในแงด่ ตี ลอดไป 3. พฒั นาทางสงั คม เพอ่ื ม่งุ ให้เป็นคนทม่ี ีเกียรติ ไดร้ ับการยกยอ่ ง เคารพนับถือการยอมรับความร้สู ึก เป็นเจา้ ของและความต้องการเป็นส่วนหน่ึงของสงั คม 4. พฒั นาทางความคิด เพ่อื มุ่งให้เปน็ คนที่มคี วามต้องการที่จะรู้และเขา้ ใจในสง่ิ ต่าง ๆ มคี วามคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ในการคิดค้นหาวิธกี ารปอ้ งกนั แก้ไขปญั หาทงั้ หลาย ใหต้ ัวเองได้ดารงชีพอยู่อย่างสขุ สบาย 5. พฒั นาทางจติ ใจ เพื่อมงุ่ ให้เปน็ คนทีม่ ีคณุ ค่า มีประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน เป็นที่พึ่งท่ยี ึดเหน่ียวทางใจ มี ความมั่นใจวา่ ชวี ิตนมี้ คี ุณค่า มคี วามสุขหรือมีชีวติ ที่ดีกว่าในอนาคต ได้รบั ความหลดุ พ้นจากทกุ ขท์ ้งั หลาย 6. พัฒนาทางปัญญา เพ่อื มุ่งใหเ้ ป็นคนมคี วามเฉลียวฉลาด สามารถคดิ พจิ ารณาเร่ืองตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมี เหตผุ ลซ่ึงปัญญาจะแตกฉานในบุคคลได้นั้น จาเป็นจะต้องมีการศกึ ษาเลา่ เรียนมีความสนใจเอาใจใสต่ ่อวิชา ความรทู้ ่คี รูอาจารย์อบรมส่ังสอนเพ่ือให้เปน็ ผู้มีความรู้ความสามารถและนาไปพัฒนาชีวิตทมี่ คี ณุ ค่าต่อไปภาย ภาคหนา้ 7.พฒั นาทางวินยั เพือ่ มุ่งให้เป็นคนมรี ะเบยี บวนิ ยั ในตนเอง สามารถเคารพและปฏิบัติต่อภาระหนา้ ท่ี ตา่ ง ๆทีม่ ีอยูใ่ ห้อยู่ในกรอบของข้อบังคับของกฎเกณฑ์ท่ีไดก้ าหนดขน้ึ ไมป่ ระพฤติตนออกนอกล่นู อกทางการมี วนิ ัยท่ดี นี น้ั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี9 ได้ทรงมที รรศนะว่า “คนท่ีมีระเบยี บวินัยนั้นเปน็ ผูท้ ่ี เขม้ แข็ง เปน็ ผ้ทู ห่ี วงั ดตี ่อตวั เองเปน็ ผู้จะมคี วามสาเรจ็ ในอนาคต” (10 กนั ยายน 2524) การ\"คิดเป็น\"เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชวี ิต \"คดิ เป็น มาจากแนวคิดทีว่ า่ ธรรมชาตขิ องมนุษย์ ทกุ คนต้องการความสุข คนคิดเปน็ จะสามารถ ดารงชีวิต ใหพ้ บความสุขได้\" มนษุ ยม์ ีจติ สานึกที่จะใคร่ครวญ และแสวงหารากเหง้าทีม่ าของปัญหาและความ ทกุ ข์ และพิจารณาทางเลือก และหาคาตอบต่างๆ เพื่อจะได้ตดั สินใจกระทาการหรอื ไม่ ในการแสวงหาคาตอบ แทนทจี่ ะยอมจานนต่อปัญหา หรอื โชคชะตา โดยกระบวนการท่จี ะพัฒนาการคดิ เป็นให้กับบคุ คลตามทฤษฎี การ \"คิดเปน็ \" ซึง่ จะเปน็ กระบวนการตัด และตดั สนิ ใจแก้ไขปญั หาด้วยข้อมลู 3 ประเภท ได้แก่ ข้อมลู ตนเอง ขอ้ มลู สงั คมส่ิงแวดล้อมและข้อมูลวิชาการมาประกอบการตัดสนิ ใจ กระบวนการคิดเปน็ จึงเป็นเป็นการทาให้ บคุ คลไดเ้ ข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ว่า ตนเองเป็นใคร และอะไรคือส่ิงท่ีตนเองตอ้ งการ รวมทัง้ การเขา้ ใจสภาพ สังคมสิง่ แวดลอ้ มที่ตนเองดารงชวี ิต และสามารถนาข้อมลู วิชาการที่มีอยู่มาประกอบการคิดและตดั สินใจ โดย

-20- วิเคราะห์ วิจารณอ์ ย่างเปน็ ระบบ ภายใตห้ ลักการ เหตุผล หลักคุณธรรม จริยธรรม ซง่ึ นาไปส่กู ารปฏบิ ตั จิ นเกิด ความพึงพอใจ เปน็ บคุ คลที่มีพฤติกรรมคิดเป็น เปน็ คนดี คนเกง่ และพบกับความสขุ ไดใ้ นทีส่ ดุ ศาสตราจารย์ อุน่ ตา นพคุณ ไดส้ รปุ ความเช่ือพน้ื ฐานเกย่ี วกับ การคดิ เปน็ มี 4 ประการ ท่ีจะทาให้เกิดความเขา้ ใจ กระบวนการคดิ เปน็ ได้อยา่ งชดั เจน คือ  ประการที่ 1 มนษุ ยท์ ุกคนต้องการความสุข  ประการที่ 2 การใชข้ ้อมูล 3 ประเภท พร้อมกันประกอบการคดิ แก้ไขปัญหา  ประการที่ 3 เป็นการคิดเพื่อการตัดสนิ ใจแก้ไขปญั หา  ประการที่ 4 มนษุ ย์มีเสรีภาพในการตดั สินใจกาหนดชะตาชีวติ ของตนเอง คิดเป็น จงึ เปน็ กระบวนการที่จะทาให้มนษุ ย์กาหนดปรัชญาในการดารง ชีวติ ของตนเองในแตล่ ะด้านว่า ตนเองเปน็ ใคร ควรทาอะไร ทาทาไม ทาอยา่ งไร ทาเพื่อใคร ซ่งึ ท้ังหมดต้องเปน็ ส่ิงที่ตนเองตอ้ งการ และนา กระบวนการคิดเป็นนน้ั ไปสู่ปรชั ญาท่ีกาหนดให้สาเร็จ และในท่ีสุดกจ็ ะสามารถนาพาชีวิตไปถึงเป้าหมายสงู สดุ คือ ความสุข ซึ่งเปน็ ปรชั ญาชั้นสูงสุดในการดารงชวี ติ มนุษย์ท่จี ะทาใหส้ ามารถดารงชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพได้ ความเชอ้ื พ้นื ฐานเกยี่ วกับ \"การคิดเป็น\" 1. มนุษย์ทุกคนต้องการความสุข ขอ้ ตกลงเบอื้ งต้นของการ \"คิดเป็น\" คอื มนุษย์ทุกคนตอ้ งการความสขุ คือ เชื่อว่าคนเราจะมีความสุข เมื่อคนเราและสังคมสง่ิ แวดล้อม ประสมกลมกลนื กันอย่างราบร่นื ท้งั ทางวตั ถุ กาย ใจ และมนุษย์จะไม่มคี วามสขุ เม่ือมปี ัญหา ปัญหาเกดิ ข้ึนเม่อื เกดิ ช่องวา่ งระหวา่ งสภาพการณแ์ ละส่งิ ทเี่ ขา มีอย่จู รงิ ปัญหาในช่วงชวี ิตมนษุ ยแ์ ตล่ ะคนเป็นเรอ่ื งสลบั ซบั ซอ้ น และเก่ียวโยงถึงปัจจัยต่าง ๆ การคิดท่ีใช้ ข้อมูลประกอบการคดิ เพ่ือแก้ไขปัญหา และเกดิ ความพงึ พอใจ 2. การคิดเป็น เปน็ การคิดเพ่ือแกป้ ัญหา เนอ่ื งจากการคดิ มีจุดเรม่ิ ท่ีตัวปัญหา และพิจารณาไตร่ตรองถึง ขอ้ มลู 3 ประการ คือ ข้อมลู ตนเอง ข้อมูลสังคมสงิ่ แวดล้อม และข้อมลู ทางวิชาการ ต่อจากน้ันกล็ งมือกระทา การ ถ้าหากกระทาการ ทาให้ปัญหาและไม่พอใจหายไป กระบวนการคิดจะยุตลิ ง แต่ถ้าหากบุคคลยังรู้สึกไม่ พอใจ ปญั หายงั คงมีอยู่ กจ็ ะเริ่มกระบวนการคดิ อกี ครั้ง 3. การใชข้ ้อมลู 3 ประเภท พรอ้ มกันประกอบการแกป้ ัญหา ตามแนวคิดเร่ืองการคดิ เป็น บคุ คลท่จี ะ ถอื วา่ เป็นคนคิดเปน็ จะตอ้ งเปน็ บคุ คลที่ใช้ข้อมูล 3 ปรเภทไปพร้อมกนั ประกอบการตดั สินใจแกป่ ัญหา การคดิ ทอ่ี าศัยข้อมลู ประเภทใดประเภทหน่ึงหรือสองประเภท ยังไมถ่ อื ว่าบุคคลนั้นเปน็ คนคดิ เป็นไดส้ มบูรณ์แบบ ข้อมูล 3 ประเภท ได้แก่ 1) ข้อมูลตนเอง 2) ขอ้ มลู สังคมส่ิงแวดล้อม 3) ข้อมลู วิชาการ

-21- ข้อมูลตนเอง (Information of self) ขอ้ มลู ประเภทตนเองnถูกกาหนดขนึ้ เพราะอิทธพิ ลทางศาสนาnปรัชญาและจติ วิทยาnโดยเฉพาะ พระพุทธศาสนา ซงึ่ ไดส้ ่ังสอนให้บุคคลพจิ ารณาและเฝ้ามองตนเอง และแก้ไขทกุ ข์ด้วยตนเอง มีอิทธพิ ลต่อการ กาหนดข้อมลู ประเภทนี้ การ \"คดิ เป็น\" ซง่ึ มจี ดุ มงุ่ หมายตอ้ งการให้บุคคลใช้ขอ้ มูลตา่ งๆ เกี่ยวกับตนเอง ไดแ้ ก่ ข้อมลู ในเร่ืองสถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพทางสังคม สขุ ภาพอนามัย ระดบั การศึกษา ความรู้ ความถนัด ทกั ษะ วัย เพศและอ่นื ๆ ซึ่งข้อมลู ประเภทน้ีตอ้ งการให้พจิ ารณาจุดอ่อน จดุ แข็ง ข้อดี ขอ้ เสียของตนเองอย่าง จรงิ จงั ก่อนการตดั สินใจกระทาสงิ่ ใด ข้อมูลสงั คมและส่งิ แวดล้อม (Information on Society and Environment) ธรรมชาตมิ นษุ ย์เป็นสัตวส์ งั คมไม่ไดอ้ ยู่ตามลาพงั ข้อมลู ประเภทนี้จงึ ถูกกาหนดขน้ึ เพื่อใหบ้ ุคคลใชค้ วาม นึกคดิ คานงึ ถึงสงิ่ ท่อี ย่นู อกกาย คานึงถึงผู้อน่ื ชมุ ชน ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มสงั คมสว่ นรวม หากบุคคลใช้ข้อ ประเภทตนเองอยา่ งเดยี วกจ็ ะเปน็ คนเห็นแกต่ ัว และเปน็ คนใจแคบ ดังนน้ั อิทธพิ ลของสงั คมและสิ่งแวดล้อมจงึ มผี ลกระทบต่อมนุษยเ์ สมอ สิ่งแวดลอ้ มของมนษุ ยป์ ระกอบด้วยปจั จยั ทแี่ ตกตา่ งกัน แต่ก็สง่ ผลกระทบชีวิต มนษุ ย์ทุกคน และในทางกลบั กัน การกระทาของมนษุ ย์ก็สง่ ผลต่อสง่ิ แวดลอ้ มของตวั มนษุ ยด์ ้วย ขอ้ มูลสังคม ส่งิ แวดล้อม อาจแยกได้เป็นข้อมลู สังคมและจิตใจ เช่น พฤตกิ รรมของมนุษยใ์ นการอยใู่ นสังคมดว้ ยความ ถกู ต้อง เหมาะสม และขอ้ มูลกายภาพ เชน่ ภมู ิอากาศ ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตน้ ข้อมูลวิชาการ (Technical or Book Knowledge) ในความหมายของการคิดเป็น หมายถงึ ขอ้ มลู และความรู้อันมหาศาลท่ีมนุษย์เราได้สะสมรวบรวมไว้ เป็นเนอ้ื หาวชิ าตา่ งๆ เปน็ หลกั สตู ร เป็นศาสตร์ แนวคดิ เร่ืองการคิดเปน็ ตระหนกั ว่าบุคคลนนั้ ถงึ แมว้ า่ จะเขา้ ใจ ตนเอง เข้าใจสังคมสิง่ แวดล้อมเป็นอยา่ งดีกต็ าม แต่ถา้ ขาดข้อมลู ทาวชิ าการไป อาจจะเสียเปรียบผอู้ ่นื ในการ ดารงชีวิตและ การแก้ปญั หา เพราะว่าในปจั จุบันนโี้ ลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มนุษยแ์ ละสงั คมถูก เปล่ียนเพราะความเจรญิ ก้าวหน้าทางวชิ าการ ดังนน้ั มนษุ ย์จาเปน็ ทจี่ ะต้องได้รบั ความร้แู ละข้อมลู ทางวิชาการ มาใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจเพ่ือให้ได้คาตอบที่ดีทส่ี ดุ ในการดารงชีวิต จากความเชื่อพืน้ ฐาน เรื่องการใช้ข้อมูล 3 ประเภทพร้อมกันประกอบการตัดสินใจแกป้ ญั หา เป็นลกั ษณะเดน่ ของเร่ือง \"คิดเปน็ \" การกาหนดให้ใช้ข้อมลู ประเภทตา่ งๆ วเิ คราะหแ์ ละหาหนทางแกป้ ัญหา และเพ่ือป้องกันไม่ใหบ้ ุคคลใช้ข้อมลู พิจารณาปัญหาจาก จุดยนื หรือมติ ิเดยี ว 4. เสรแี ละอานาจการตัดสนิ ใจกาหนดชะตาชีวิตตนเอง ความเชอ่ื พ้ืนฐานข้อน้มี าจากคาสัง่ สอนของ พุทธศาสตรโ์ ดยตรง และปรชั ญาการศึกษาสานักมนษุ ยนยิ ม คือพทุ ธศาสนา สอนวา่ ปัญหาหรือความทุกข์ของ มนุษย์เกิดขนึ้ ตามกระบวนการแหง่ เหตุผล และทกุ ข์หรอื ปัญหาของมนษุ ยเ์ ป็นส่ิงที่แก้ไขได้ พร้อมทั้งไดใ้ ห้ วิธแี ก้ไขดว้ ย อริยสจั 4

-22- กลา่ วโดยสรุป ความเชือ่ พน้ื ฐานของการ \"คดิ เป็น\" มาจากธรรมชาตขิ องมนุษยท์ ีว่ ่าสง่ิ ทีเ่ ป็นยอด ปรารถนา คือ ความสุข และมนุษย์เราจะมีความสขุ ทส่ี ดุ เม่ือตนเอง และสังคม สิ่งแวดลอ้ ม กลมกลืนกันอย่างราบร่ืน ทงั้ ดา้ น วตั ถุ กาย และใจ การทีม่ นุษย์เรากระทาไดย้ ากนน้ั แต่อาจทาใหต้ นเอง และสงิ่ แวดล้อมประสมกลมกลืนกนั ได้ เท่าทแี่ ตล่ ะคน หรือกลมุ่ คนจะสามารถทาได้ โดยกระทาดังต่อไปนี้ 1. ปรบั ปรุงตัวเองใหเ้ ข้ากบั สังคมสิง่ แวดลอ้ ม 2. ปรบั สังคมและส่ิงแวดลอ้ มให้เขา้ กบั ตัวเรา 3. ปรบั ปรุงทั้งตัวเราและสงั คมส่ิงแวดลอ้ ม ทงั้ สองดา้ นให้ประสมกลมกลนื กัน 4. หลกี สงั คมและส่ิงแวดลอ้ มหน่ึง ไปส่สู ังคมสิง่ แวดล้อมหนง่ึ ที่เหมาะสมกบั ตน บุคคลท่ีจะสามารถดาเนินการขอ้ ใดขอ้ หนึ่ง หรือหลายข้อเพ่ือตนเองและสงั คมส่งิ แวดล้อมประสม กลมกลนื กัน เพื่อตนเองจะได้มคี วามสุขนั้น บุคคลผ้นู น้ั ตอ้ ง \"คดิ เปน็ \" เพราะการคดิ เปน็ การทาใหบ้ ุคคล สามารถแก้ไขปัญหาได้ บุคคลท่มี ีแต่ความจา ย่อมไมส่ ามารถดาเนนิ การตามข้อใดข้อหน่งึ ใน 4 ขอ้ ได้ คนที่ทา เช่นนไี้ ด้ตอ้ งเปน็ ผู้ท่ีมีความสามารถคิดแกป้ ญั หา สามารถรจู้ ักตนเองอย่างถ่องแท้ และรู้จักธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ มในสงั คมนน้ั การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน จะสามารถชว่ ยพฒั นาการคดิ เปน็ ใหเ้ กิดขึน้ ได้ โดย ครูควรเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนได้คดิ ตดั สนิ ใจ และลงมือปฏิบตั ิจรงิ ในกจิ กรรมต่างๆ ซ่ึงจะให้เกิดกระบวนการ เรยี นรู้ และเกิดกระบวนการคิด โดยการคดิ นั้นควรสง่ เสริมการใชเ้ หตุผล หลักคุณธรรมเป็นสาคัญ เพื่อให้รู้ว่า เขาเปน็ ใคร ทาอะไร จะทาอย่างไร ทาเพอื่ อะไร จะไดผ้ ลอย่างไร ซึ่งการดาเนนิ การดังกลา่ วครูสามารถนา กระบวนการ \"คดิ เป็น\" ซง่ึ เป็นกระบวนการคิดที่มีการรวบรวมขอ้ มลู ดา้ นต่าง ๆ ใหค้ รบก่อนการตดั สนิ ใจ จงึ น่าจะเปน็ กระบวนการคิดท่ีเหมาะสมกับการดารงชวี ิตในยคุ ข่าวสารข้อมูลได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทน่ี ามาใชพ้ ัฒนาคณุ ภาพชวี ิตในมติ ดิ า้ นต่างๆ ในการนาเทคโนโลยมี าพัฒนาคุณภาพชวี ิตของบคุ คลไมส่ ามารถท่จี ะเลือกใช้เทคโนโลยีประเภทใด ประเภทหนึ่งหรือเทคโนโลยอี ย่างใดอย่างหนง่ึ ได้นน้ั คือตอ้ งอาศัยเทคโนโลยีหลายๆอย่างประกอบเข้าด้วยกันซงึ่ ในทนี่ จ้ี ะกล่าวถึงเทคโนโลยีตามมิติการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ 5 มิติดงั นี้ 1. เทคโนโลยกี ับการพัฒนาคุณภาพชีวิตทางดา้ นร่างกาย ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีในการรกั ษาสุขภาพ ชดุ ตรวจโรคต่างๆ เช่น ชดุ ตรวจเบาหวาน นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ้านอาหาร เชน่ อาหารเสรมิ ต่าง ๆ เพ่ือให้ ได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่ เพอ่ื สุขภาพรา่ งกายทแี่ ข็งแรงสมบูรณ์ เป็นต้น 2. เทคโนโลยกี ับการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทางด้านจติ ใจ เปน็ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพจิตทด่ี ี รู้จักควบคุม อารมณ์ หรือเทคโนโลยีในการส่งเสรมิ กจิ กรรมสนั ทนาการ เชน่ เทคโนโลยีดนตรี ภาพยนต์ เป็นตน้

-23- 3. เทคโนโลยีกับการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทางดา้ นจิตวิญญาณมิตินเี้ ป็นเรื่องเกย่ี วกบั คณุ ธรรมจริยธรรม ของคน สามารถสร้างไดใ้ นครอบครัวและชุมชน สรา้ งด้วยความรกั ความอบอนุ่ ความเขา้ ใจกันและกัน เหน็ ใจ กัน ยอมรบั กัน เคารพในศักดิศรขี องกนั และกนั ในฐานะทเี่ ป็นมนษุ ยเ์ ช่นเดียวกนั ไมร่ ังเกยี จเดียดฉันท์ ไมแ่ บ่ง พวกและเข่นฆ่าราวี แตช่ ่วยเหลือเกื้อกลู กนั อยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติ ครอบครวั ชุมชนและสังคม 4. เทคโนโลยกี ับการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทางด้านสงั คมพบวา่ สังคมในปัจจบุ ันมีการดารงชวี ติ ที่ สลับซับซ้อนมากขนึ้ จากความก้าวหน้าของ เทคโนโลยสี ารสนเทศ อนั เป็นการผสมผสาน 4 ศาสตร์ เข้าดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม และขา่ วสาร (Electronics, Computer, Telecommunication and Information หรือเรยี กย่อวา่ ECTI) ทาให้สังคมโลก สามารถสื่อสารกันไดท้ ุก แห่งท่ัวโลกอย่างรวดเรว็ สามารถรับรขู้ ่าวสาร ความเคลื่อนไหว ตา่ ง ๆ ไดพ้ ร้อมกัน สามารถบริหารจดั การ และตดั สินใจได้ทุกเวลา การลงทุนค้าขาย และธรุ กรรม การเงิน ก็สามารถทาได้อย่างรวดเร็ว 5. เทคโนโลยีกบั การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทางด้านสติปัญญา ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร ช่วยให้ บคุ ลากรสามารถเข้าถึงความรู้ต่างๆ ไดง้ า่ ยขนึ้ สะดวกขึ้น รวมทง้ั สามารถติดตอ่ ส่ือสารกับผ้เู ชยี่ วชาญในสาขา ตา่ งๆ คน้ หาข้อมลู สารสนเทศและความร้ทู ี่ต้องการไดผ้ ่านทางเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต เป็นต้น สรปุ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ได้จาแนกเป็นมติ ิด้านต่างๆ 5 มิติ คอื ดา้ นร่างกาย ดา้ นจิตใจ ดา้ นจิตวญิ ญาณ ด้านสงั คมและด้านสติปญั ญา องคป์ ระกอบ 3 ดา้ น คอื ด้านความเปน็ อยู่ ดา้ นความเป็นเจ้าของ ดา้ นสิ่งทีจ่ ะ เกิดขึน้ ตลอดจนแนวคิดและแนวทางในการนา เทคโนโลยีมาใช้เพือ่ ตอบสนองให้คุณภาพชีวติ ดขี นึ้ เช่น เพ่มิ ประสิทธิภาพในการดาเนินชีวติ และการทางาน เคร่ืองอานวยความสะดวกต่างๆในชวี ติ ประจาวัน ระบบ อัตโนมัติชว่ ยการทางานใหร้ วดเรว็ ข้นึ และผิดพลาดน้อยลง แกป้ ัญหาท่ีมอี ยู่ในปจั จุบนั การขาดแคลน ทรพั ยากร น้า อาหาร อากาศ (มลพิษ) และการขาดแคลนพลังงาน การชดเชยความความสามารถในการใช้ ชีวิตปกตทิ ข่ี าดไป ป้องกนั ปัญหาทกี่ าลงั จะเกิดขน้ึ หรอื ทีค่ าดว่าจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต คาถามทา้ ยบท เทคโนโลยีกับการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 1. ทฤษฎีความต้องการของมนุษยต์ ามแนวคดิ ของ มาสโล มกี ร่ี ะดบั อะไรบ้าง 2. คณุ ภาพชวี ิตมีองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง 3. มิติดา้ นคุณภาพชวี ิตตามวรสารสุขภาพของอเมรกิ ามีก่ีด้านอะไรบา้ ง 4. เทคโนโลยีท่ีพฒั นาคุณภาพชวี ิตด้านรา่ งกายมอี ะไรบ้างบอกมา 5 ประเภท 5. ความเชื่อกระบวนการคิดเป็นชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 4 ประการมีอะไรบา้ ง

-24- บทที่ 3 เทคโนโลยีกับการพัฒนาสังคม การพัฒนาสังคมมีรากฐานทางแนวคดิ และทฤษฎมี ายาวนานและเปน็ สากล เปน็ การพฒั นาที่มี ความหมายครอบคลุมกวา้ ง และเกย่ี วข้องกบั ศักยภาพของมนษุ ยใ์ นการสรา้ งสรรคส์ งั คม (Cleveland and Jacobs, 1999) เป็นเรื่องของความใฝ่ฝนั ความคิดและการตนื่ ตวั ของมนุษย์ ในการตระหนกั ถึงสภาพปัญหา ของสังคม และต้องการแกป้ ญั หาท่มี นุษยป์ ระสบอย่างสรา้ งสรรค์ โดยนัยนี้ การพฒั นาสงั คมจงึ เก่ยี วพันกับมติ ิ ต่างๆ ของความเปน็ อยแู่ ละการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ทัง้ ความเชือ่ ทศั นคติ คา่ นิยม อุดมการณ์ จารีต ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม กฎระเบียบ บรรทดั ฐานทางวฒั นธรรม ความรู้ การศึกษา ความสมั พันธ์ ระหวา่ ง คน สถาบนั เศรษฐกจิ การเมือง ตลอดไปจนถึงศาสนาและจติ วญิ ญาณ แนวคดิ วา่ ด้วยการพัฒนามี กาเนิดมาจากโลกตะวนั ตก โดยเร่มิ จากแนวคดิ ที่ให้ความสาคัญกับ การขยายตัวหรอื การเติบโตทางเศรษฐกิจ และต่อมาได้แพร่ขยายไปมอี ิทธิพลครอบงาการกาหนดนโยบายในประเทศต่างๆ ท่ัวโลก โดยเฉพาะประเทศใน โลกที่สาม (Third World Countries) ซ่ึงเคยตกเปน็ อาณานคิ ม ของประเทศมหาอานาจในโลกตะวันตกและ ประเทศอ่นื ๆ ทีถ่ ูกจัดให้เปน็ ประเทศด้อยพัฒนาหรือประเทศกาลงั พัฒนา เชน่ ประเทศไทย เป็นตน้ อย่างไรก็ ตาม โดยเนอ้ื หาแลว้ ประวตั ศิ าสตร์แนวความคดิ ว่าดว้ ยการพฒั นา มกี ารเปลี่ยนแปลงมาเปน็ ลาดบั จากการ เน้นความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจมาเปน็ การกระจายความเตบิ โต ทางเศรษฐกจิ การเน้นความจาเป็นข้นั พ้นื ฐาน จนมาถึงการเน้นในตัวมนษุ ย์ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งมนุษย์ดว้ ยกัน และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมเพื่อการดารงชีวติ อยู่อยา่ งยงั่ ยนื หรืออาจจะกลา่ วไดว้ า่ แนวคิดการพัฒนามี วิวฒั นาการจากท่ีเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจในชว่ งแรกๆ ค่อยๆ ไปส่กู ารพฒั นา ทีใ่ ห้ความสาคัญกับมนุษย์ และสงั คมมากขึ้นในระยะหลงั แนวคิดทป่ี รับเปลีย่ นมาเนน้ การพฒั นามนุษยแ์ ละสังคมมากข้นึ เหลา่ น้ีท่ีถอื เป็น ฐานสาคญั ของ การพฒั นาสังคมซึง่ ในท่นี ี้จะขอกลา่ วถึงรายละเอยี ดเก่ยี วกับความหมาย ความเปน็ มา ความสัมพนั ธก์ ับเทคโนโลยีและจดุ เน้นของแนวคดิ ที่สาคัญๆ พอสงั เขป ความหมายสังคม พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (2542) ให้ความหมายว่า สงั คมคือคนจานวนหน่ึงทมี่ ีความสัมพันธ์ ต่อเนื่องกนั ตามระเบยี บ กฎเกณฑ์ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ร่วมกนั หรอื เสถยี รโกเศส ให้ความหมายไว้ว่า “มนุษย์ท่ี รวมกันอยู่เป็นหมู่คณะ ทมี่ ที ัง้ หญิงและชาย ตงั้ ภมู ิลาเนาเป็นหลักแหลง่ ณ ทใ่ี ดทีห่ นึ่งเป็นประจาเป็นเวลานาน พอสมควร พอเรียนรู้และปรับปรงุ ตนเองแต่ละคนไดแ้ ละประกอบการงานเขา้ กนั ได้ดี มคี วามสนใจรว่ มกันใน

-25- ส่ิงอันเปน็ มลู ฐานแห่งชวี ิต มีการครองชีพ ความปลอดภัยทางรา่ งกายก็เป็นสว่ นหนง่ึ ของสว่ นรวม มนุษยท์ ี่ ร่วมกันเป็นคณะตามเงอื่ นไขท่ีกล่าวมานี้ เรยี กว่า “สงั คม” ความหมายการพัฒนาสังคม การพฒั นาสงั คม หมายถึง การกระทาเพื่อม่งุ ปรบั ปรุงสง่ เสริมใหค้ นที่อยู่รว่ มกัน มกี ารเปล่ียนแปลงไป ในทางทด่ี ีข้นึ ทัง้ ในด้านวัตถแุ ละจิตใจอนั จะทาใหก้ ารดารงชวี ิตอยู่ร่วมกนั นั้นมคี วามเจริญรุ่งเรืองและสงบสุข แต่การทบ่ี ุคคลจะดารงชีวติ อยู่ได้อยา่ งมคี วามสขุ จะต้องอาศยั ปจั จยั หลายอยา่ งประกอบกนั อย่างน้อยที่สุด จะต้องมีปัจจัยขั้นพืน้ ฐานทดี่ ีพอสมควร กล่าวคือ มีท่ีอยู่อาศัย มีอาหารเพียงพอแก่การเล้ียงชพี มีเสื้อผา้ เคร่ืองนงุ่ ห่มสมควรแก่สภาพและฐานะ เวลาเจ็บปว่ ยควรจะไดร้ ับการรกั ษาพยาบาล มอี าชีพมั่นคง มีรายได้ เพียงพอแกค่ า่ ใชจ้ า่ ยในการครองชีพ มีความรักใคร่สมานสามคั คีกันของสมาชกิ ในสงั คมและปราศจากภยั คกุ คามจากโจรผ้รู ้าย ฯลฯ สิ่งเหล่าน้จี ะเกิดมีข้ึนได้ ต้องอาศัยความรว่ มมอื จากหลายฝา่ ย โดยอาศัยวธิ ีการทาง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ข้าชว่ ยเพ่อื ให้เกิดความเจรญิ กา้ วหนา้ และอย่รู ว่ มกันอยา่ งมีความสุข ลกั ษณะความสัมพนั ธข์ องมนุษยผ์ ่านเทคโนโลยี ลกั ษณะความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์ผ่านเทคโนโลยมี ลี กั ษณะความสมั พันธ์ 2 ลักษณะคือ ความสัมพนั ธ์ผา่ นเทคนิคแบบอานาจนิยม และความสมั พันธผ์ ่านเทคนคิ แบบประชาธปิ ไตย (อ้างอิงจาก ชาญ ชัย ชยั สุขโกศล) กล่าวคือ ในงานของ Christopher May (2000) เรื่อง “The information Society as Mega-Machine” ได้ อา้ งถึงข้อเสนอในงานเขยี นความหนา 700 หนา้ ของ Lewis Mumford (1934) เรื่อง “Technics and Civilization” แทนท่ี Mumford จะพูดเรอื่ งเทคโนโลยโี ดดๆ เขาเสนอให้เราพดู เร่ือง “เทคนิค” ซึง่ เปน็ เร่อื ง ความสมั พันธข์ องมนุษยใ์ นอารยะธรรม(civilization) หน่ึงๆผ่านมติ คิ วามสัมพันธเ์ ทคโนโลยี อารยะธรรมในทนี่ ี้ ครอบคลุมหมดถึงเรื่องสังคม เศรษฐกิจ การเมอื งวฒั นธรรม ฯลฯ เขาแบง่ เทคนิคเปน็ 2 แบบใหญ่ ๆ ได้แก่ 1.เทคนิคแบบอานาจนิยม (Authoritarian Technics) เป็นเทคนคิ ที่เน้นการคงอยู่ของระบบ (systemcentered) กลา่ วคือ ทาส่ิงต่างๆเพื่อเอ้ือให้ระบบยังคงอยู่ได้ ตัวอย่างท่ี Mumford เหน็ ว่าเป็นเทคนิค แบบอานาจนิยมท่ีเก่าแก่ทีส่ ุด คือ ปรี ะมดิ อียิปต์ ซึ่งทผ่ี นวกรวมเอาความรู้ทางเศรษฐกจิ แรงงานมนษุ ย์ท้งั ชาย หญิง เด็ก คนแก่ ทถี่ ูกกดข่ี อยา่ งเลือดเย็น การใชป้ ระโยชน์จากทกั ษะการส่ือสาร/การเขยี น การควบคุมโดย คณิตศาสตร์และระบบบรหิ ารองค์กรราชการและการเมอื งแบบรวมศูนย์ เพ่ือออกแบบโครงสร้างเทคนิคท่ใี ห้ กาเนดิ กาลังขนาดหลายพันแรงทส่ี ามารถชกั ลากหนิ ขนาดยักษข์ ้นึ ไปวางเรียงกันบนปีระมิด (May : 249-50) น้ี อาจกลา่ วได้ว่า สิง่ ท่ีสูญเสียไปจากการได้ 1 ใน 7 ส่ิงมหศั จรรย์ของโลกมา คือ ค่าใช้จา่ ยทางจติ ใจและทาง

-26- กายภาพของมนุษยจ์ านวนมหาศาลอยา่ งไรกต็ าม หากมองเทคนคิ และอารยะธรรมในเชงิ พลวตั แลว้ เทคนคิ แบบอานาจนิยม เชน่ ในอดีตคอื อาณาจักรโรมนั นน้ั เมอื่ รวมศนู ยแ์ ละแผอ่ านาจขยายออกไปมากๆเพอ่ื ดึงดดู ทรพั ยากรเข้ามาทศ่ี ูนย์กลางเรอื่ ยๆ จนไม่สามารถควบคมุ อานาจตา่ งๆของอาณาจักร/ระบบไวไ้ ด้ การสอ่ื สาร ของศูนยก์ ลางกบั สว่ นตา่ งๆล้มเหลวลง ความชอบธรรมของอานาจส่วนกลางกเ็ สือ่ มสลายไป เครอ่ื งจกั รขนาด มหมึ ากจ็ ะพังทลายลงด้วยเช่นกนั และอาณาจักร/ระบบอนั ใหญโ่ ตโอฬารกต็ ้องล่มสลายไป และจะถึงเวลาที่ เทคนิคแบบประชาธิปไตยจะกลับขึ้นมาเป็นระบบความสัมพนั ธ์ของมนษุ ยผ์ า่ นเทคโนโลยใี นช่วงถัดไปแทน (May : 250) อย่างไรกด็ ี ในยคุ โลกาภิวตั น์เสรีนยิ ม รวมทงั้ การเกดิ ขึ้นของสงั คมสารสนเทศปจั จุบันนนั้ Mumford ยังคงยนื ยันวา่ อานาจหน้าทขี่ องเทคนิคแบบอานาจนยิ มนี้ถูกนิยามจากตรรกะของตัวมันเอง นั่นคอื การสง่ เสริมประสทิ ธิภาพ ด้วยข้ออา้ งเรื่องการประหยัดแรงงาน และเปา้ หมายสูงสุดของเทคนิคประเภทนีค้ ือ การแทนที่มนษุ ยเ์ ทคนิคกลบั กลายเปน็ ส่งิ มชี ีวติ ท่สี ามารถควบคมุ และจดั การมนุษยข์ ึ้นมาได้ (May : 251) 2. เทคนคิ แบบประชาธปิ ไตย (Democratic Technics) เปน็ เทคนิคทเี่ นน้ เทคโนโลยีขนาดเลก็ ท่ี ตอบสนองตอ่ ความจาเป็นและความต้องการของมนุษย์ (need) เน้นการคงอยู่ของมนุษย์ (human-centered) หรือเรยี กว่าเปน็ เทคโนโลยใี นระดบั มนุษย์ (human scale of technology) เทคโนโลยขี องเทคนคิ แบบน้ีไม่ ต้องการพลังงาน (energy)มากมายถึงข้ันต้องมีการจดั การพลงั งานไฟฟ้าระดบั ชาติ (เชน่ ของไทย คอื การ ไฟฟ้าฝา่ ยผลิต (กฟผ.) เปน็ ต้น) แต่พลังงานในการขับเคล่ือนเทคโนโลยขี องเทคนคิ เหล่าน้ีสามารถหาได้ใน ท้องถนิ่ โดยใชท้ ักษะและความรู้ (skill &knowledge) ภายในท้องถน่ิ และไม่จาเปน็ ตอ้ งใช้โครงสร้างหรอื องค์กร (structure & organization) ทซ่ี ับซ้อนมาควบคมุ เทคโนโลยี เพอ่ื ให้สงั คมดารงอย่ไู ด้ ท่ีสาคัญ ประโยชนข์ องเทคโนโลยเี หล่านี้ก็ตอบสนองกบั ความต้องการของท้องถ่นิ และอยู่ภายใตเ้ งื่อนไขความเปน็ ไปได้ ของทอ้ งถิ่น เทคนิคแบบนีจ้ ะรกั ษาความเปน็ อิสระ (autonomy) และความสามารถในความคดิ สรา้ งสรรค์ของ ทอ้ งถนิ่ ได้ เทคนคิ แบบประชาธปิ ไตยน้ีไม่ไดเ้ สนอให้มนษุ ยย์ กเลกิ การทางานทุกชนดิ แตส่ ง่ เสรมิ งานท่ีไมจ่ ากัด ปดิ กัน้ การใช้พลังกล้ามเนอ้ื ท่ีรว่ มไปกับหวั ใจ (mind) ในยุคสังคมสารสนเทศ May ขบวนการเคลอื่ นไหวทาง สงั คมต่างๆ (social movements) เชน่ การประทว้ งเปน็ ต้น ซ่งึ จดั ต้งั ขึ้นดว้ ยการประสานงานผ่านห้องแชท และกลมุ่ ขา่ วสารในอนิ เทอร์เน็ตน้นั ยนื ยนั ความคิดเร่ืองเทคนิคแบบประชาธปิ ไตยของ Mumford ไดอ้ ยา่ งดี (2000 : 253) กลา่ วอกี นยั หนึ่ง ขบวนการเคล่อื นไหวทางสังคมผ่านเทคโนโลยีเหลา่ นี้ เป็นอยู่บนฐานเทคนิคแบบ กระจายศนู ย์ เนน้ ความเปน็ เครอื ข่ายประสานสัมพนั ธ์กันของหนว่ ยท่ีมขี นาดไมใ่ หญน่ ัก แต่กระจายไปท่วั ทุก แหง่ ในสงั คมอยา่ งไรกต็ าม Mumford เหน็ วา่ ในประวตั ิศาสตรท์ ผ่ี า่ นมา ทั้งเทคนคิ แบบอานาจนยิ มและแบบ ประชาธิปไตยมักอยู่คูก่ ันเสมอ สลบั กันขน้ึ และลง แต่ไมไ่ ด้ทาลายหรือแทนทีอ่ ีกเทคนคิ หนง่ึ ใหส้ ญู หายไปได้ กล่าวอกี นยั หนงึ่ คือ แม้ในภาวะทเี่ ทคนิคหน่ึงเป็นท่นี ิยมในสังคม เทคนคิ อีกแบบหนึ่งก็มิไดห้ ายไปไหน เพยี งแค่ อ่อนกาลงั ลงไปเทา่ น้นั นี้ย่อมแสดงให้เห็นว่าเทคนิคทั้งสองแบบมกี ารผลัดกันรุกรบั ช่วงชิงตาแหน่งแห่งทก่ี าร ยอมรับในสังคมอยูต่ ลอดเวลาเชน่ กนั

-27- แนวโน้มของสงั คมสารสนเทศ : ปิดก้ัน และเปดิ เผยจากแนวคดิ เรอ่ื งเทคนิคแบบประชาธปิ ไตยและ แบบอานาจนยิ ม ซง่ึ Mumford เสนอคาอธิบายในยคุ กอ่ นการปฏวิ ัตสิ ารสนเทศน้นั Christopher May เอามา ประยุกต์ใช้กบั แนวคดิ สังคมสารสนเทศ (Information society) ในปจั จบุ นั วา่ ก็มแี นวโนม้ แบบเทคนคิ ประชาธปิ ไตยและแบบอานาจนยิ มเชน่ กัน เขาชว้ี า่ ปัจจบุ นั การพฒั นาสังคมสารสนเทศมี 2 แนวโน้ม คอื แนวโนม้ แบบปิดกนั้ (Enclosing Tendencies) และ แนวโน้มแบบเปดิ เผย (DisclosingTendencies) (May : 258-61) แนวโน้มแบบแรก คอื แนวโน้มแบบปิดกั้น ซึ่งเปน็ แนวโนม้ พัฒนาเทคโนโลยีแบบไมเ่ ปิดโอกาสให้ ใครทาอะไรแหวกออกไปจากระบบเดมิ สาระสาคญั ของแนวโนม้ น้ี คือ การปฏวิ ตั ิสารสนเทศเกย่ี วพนั ไปกบั การ เพ่ิมความเข้มขน้ ข้นึ ของความสมั พันธ์เชงิ ทรัพยส์ ิน ความรแู้ ละข้อมลู ข่าวสาร สนิ คา้ และบรกิ ารตา่ งๆ ถกู ทาให้ เป็นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา (Intellectual Property Rights : IPR) เกิดการขยายตวั ของสิทธขิ องเอกชนใน ทรพั ย์สนิ ดังกลา่ ว การทาให้ของสาธารณะเข้าสูร่ ะบบตลาด (marketization) และแสวงหาสินคา้ และบริการ ใหม่ๆอยู่เสมอ เหลา่ นี้เปน็ การขยายตวั ของทุนนยิ มสมัยใหม่ ไม่ใช่ถูกแทนที่น่นั เอง ลักษณะของทุนนิยมทีเ่ ป็น ความสมั พันธร์ ะหว่างผู้ครอบครองทรัพย์สนิ กับผู้ทมี่ ีเพียงแรงงานท่ีจะนาเข้าสตู่ ลาดเท่าน้ัน กล่าวอกี นัยหนึง่ สังคมสารสนเทศในแนวโน้มแบบปิดกน้ั นี้ เนน้ ดูดกลนื ทุกส่ิงทกุ อย่างรวมท้ังความสร้างสรรคข์ องมนุษย์ เขา้ มา รวมศนู ยเ์ พ่ือความคงอยู่ของระบบ หรือกค็ อื เป็นเทคนิคแบบอานาจนิยมนนั่ เอง แนวโนม้ แบบที่สอง แนวโนม้ แบบเปดิ เผย คนในกล่มุ น้เี หน็ วา่ สงั คมสารสนเทศจะนามาซึ่งเสรภี าพในการสอื่ สารและจะไม่มีใคร สามารถควบคุมสงั คมได้อยา่ งเบ็ดเสร็จเหมือนเม่ือก่อน สังคมสารสนเทศจะก่อตวั ขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล มากกว่าจะเป็นความสัมพันธร์ ะหว่างทรัพย์สิน ประชาธปิ ไตยในสงั คมสารสนเทศทาให้เกดิ ปัจเจกแบบ ใหม่ ขอ้ มูลไมส่ ามารถถูกควบคุมโดยผู้เช่ยี วชาญได้ มนษุ ย์สามารถเข้าถงึ ข้อมูลข่าวสารได้ทุกชนิดที่ต้องการโดย ไมต่ ้องมีคนกลาง การไหลเวียนของขอ้ มูลข่าวสารจะทาให้โครงสรา้ งลาดบั ช้นั เป็นเรอ่ื งยากขน้ึ แมก้ ระท่ังใน ประชาธปิ ไตยแบบทางการ สิ่งเหลา่ นี้ ถา้ พดู ในสานวนของ Mumford ก็คอื เทคนิคแบบประชาธิปไตย (ท่ีเอื้อ ให้เกิด “การปกครองตนเองร่วมกนั , มีเสรีภาพในการสื่อสารกนั อย่างเท่เทยี ม และปราศจากอปุ สรรคในการ เขา้ ถึงคลังความรสู้ าธารณะ”) กาลังเกดิ ขนึ้ ดว้ ยศักยภาพของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในขณะที่ไม่ สามารถทาได้ในสังคมอตุ สาหกรรม ในสานวนเร่ืองเทคนิคระดบั มนุษย์ (human scale technics)ของ Mumford สังคมสารสนเทศจะเอื้อให้อานาจบนฐานของความรู้ ไหลลงสชู่ มุ ชนและปัจเจก มากกวา่ ท่จี ะถกู รวมศนู ย์ไว้ท่รี ัฐบาล ซึง่ จะอยูใ่ นลกั ษณะเดียวกับแนวคิดเทคนิคแบบประชาธิปไตย เทคนิค 2 แบบกบั คณุ ลกั ษณะดา้ นขนาด (scale) ของสงั คม แนวคิดเทคนคิ แบบประชาธปิ ไตยหรือแบบอานาจนิยมของ Mumford รวมถึงแนวโน้มแบบปิดกน้ั และการเปดิ เผยท่ี May เสนอนน้ั ประเดน็ แก่นแกนอย่ทู ี่เรื่อง “ขนาด” (scale) ของหนว่ ยความสมั พนั ธท์ าง สังคมของมนุษย์ ซึง่ มีฐานมาจากประเด็นที่ Mumford พัฒนาข้ึนด้วยอิทธิพลจากงานของตนดา้ นการวางผัง เมืองและแผนการอยู่อาศยั ในระดบั ภมู ภิ าคของอเมริกาหน่วยความสมั พันธ์ของมนุษยใ์ นทัศนะของ Mumford จึงดูจะอยู่ที่เรอ่ื ง “เมือง” โดยเขาเห็นว่าประวัติศาสตรเ์ มอื งนน้ั เปน็ การขยายขนาดข้ึนมาจากการเปน็ หมู่บ้าน

-28- (village) กลายเปน็ เมอื ง (polis) แล้วขยายเป็นเมืองใหญ่ (metropolis) กระทั่งข้นั สุดท้ายของการพัฒนา เมืองคอื เมอื งขนาดยักษ์ (megalopolis) ซง่ึ มีโอกาสทจี่ ะขยายไปเป็นเมืองท่ีบริหารแบบเผด็จการทรราช (tyranopolis) ก่อนท่ีจะล่มสลายกลายเป็นเมืองร้าง (necropolis) May เหน็ วา่ megalopolis เปรยี บได้กับ สังคมสารสนเทศในปจั จบุ นั ท่ีฉีกตัวเองออกจากแหลง่ ทรัพยากรรายรอบ แลว้ ขยายขอบเขตอานาจเหนือเสน้ แบง่ เขตแดนไปเรื่อยๆ โดยใชเ้ ครือขา่ ยการสอื่ สารและกลายเปน็ “เมอื งระดับโลก” (global city) อยา่ งไรก็ ตาม หน่วยความสัมพันธ์ของมนษุ ยท์ ่ีมีขนาดใหญ่อย่าง megalopolis นน้ั สามารถดาเนินไปได้ทั้งดว้ ยเทคนิค แบบประชาธิปไตยและแบบอานาจนิยม แตส่ ่วนใหญ่จะมแี นวโนม้ เปน็ เทคนิคแบบอานาจนิยมเสยี มากภายใต้ เทคนคิ แบบอานาจนยิ มนน้ั การแบง่ งานกันทากลบั กลายเป็นการลดทอนทกั ษะต่างๆ และทาลายภูมิปญั ญา ของมนุษยใ์ หห้ มดส้ินไป นอกจากนี้ megalopolis ยังสามารถทาใหก้ ิจกรรมการผลติ ใน metropolis เข้มข้น ขึน้ ไปอีก ดว้ ยการกระจายหน้าที่แบบที่ศนู ย์กลางออกไปในพื้นท่ีหา่ งไกล แต่ยังคงถูกควบคมุ โดยอานาจ ศูนยก์ ลางใน metropolis ไดอ้ ยู่ โดยใชเ้ ครอื่ งมอื ทางการส่อื สารอันทรงพลัง ซง่ึ ทาใหส้ ามารถควบคุมพ้นื ที่ ห่างไกลไดท้ ้ังในเรือ่ งกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและกจิ กรรมทางวัฒนธรรมอีกดว้ ย กลายเป็นการดูดซับทรัพยากร จากพืน้ ท่ีตา่ งๆเขา้ สู่ศูนย์กลางได้อย่างเข้มข้นมากขน้ึ ขณะเดยี วกันกท็ าลายความหลากหลายตา่ งๆท่ีรายรอบให้ หมดไปอกี ดว้ ยใน megalopolis ทกุ อยา่ งเป็นไปเพ่ือตลาดทงั้ สิน้ รวมทงั้ ข่าวสาร, ความรู้ และกจิ กรรมทาง วัฒนธรรมอย่างการศึกษาและศิลปะ รวมทง้ั ทรัพยากรทางปัญญา ซึ่งเท่ากบั วา่ เป็นการทาให้ทุนนิยมเข้มข้น มากขน้ึ และ May เหน็ วา่ สงิ่ เหล่าน้เี ปน็ องคป์ ระกอบหลักของสงั คมสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม การเกิดข้นึ ของ การใช้อนิ เทอร์เน็ตแบบกระจายไปทัว่ ในการติดต่อส่อื สารกันเพอื่ ประสานขบวนการเคลอ่ื นไหวทางสงั คมนน้ั จัดไดว้ า่ เป็นหนทางท่ีน่าสนใจอยา่ งย่ิงในการทาให้ megalopolis ทด่ี าเนนิ ไปดว้ ยเทคนคิ แบบอานาจนิยม ได้รบั การสมดุลไว้ดว้ ยเทคนิคแบบประชาธปิ ไตยมากขน้ึ เทคโนโลยกี ับผลกระทบทางสังคม การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศจนสามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างกวา่ งขวาง กลายเป็นยุคแหง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือยุคข้อมูลขา่ วสาร ก่อใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ มนษุ ยช์ าติอยา่ ง มหาศาลนั้นหมายถงึ กอ่ ใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลง การเปล่ยี นแปลงอะไรก็ตามย่อมมีผลกระทบต่อบุคคล องค์กร หรือสงั คม ทัง้ น้ี สามารถจาแนกผลกระทบทัง้ ทางบวกและผลกระทบทางลบของการ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้ดงั น้ี

-29- ผลกระทบทางบวก 1. เพิ่มความสะดวกสบายในการสอ่ื สาร การบริการและการผลติ ชวี ติ คนในสงั คมไดร้ ับความ สะดวกสบาย เชน่ การติดต่อผา่ นธนาคารดว้ ยระบบธนาคารที่บ้าน (Home Banking) การทางานทบี่ ้าน ติดต่อสือ่ สารดว้ ยระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต็ การบันเทิงพักผอ่ นด้วยระบบมลั ติมเี ดียท่บี า้ น เปน็ ต้น 2. เป็นสงั คมแห่งการสือ่ สารเกิดสงั คมโลกขึ้น โดยสามารถเอาชนะเร่ืองระยะทาง เวลา และสถานท่ีได้ ด้วยความเรว็ ในการตดิ ต่อส่อื สารทีเ่ ป็นเครือขา่ ยความเร็วสงู และทีเ่ ป็นเครือข่ายแบบไร้สายทาให้มนุษยแ์ ตล่ ะ คนในสังคมสามารถตดิ ต่อถงึ กันอย่างรวดเรว็ 3. มีระบบผ้เู ชย่ี วชาญต่างๆ ในฐานขอ้ มูลความรู้ เกิดการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตในดา้ นท่เี กี่ยวกบั สขุ ภาพ และการแพทย์ แพทย์ท่อี ยู่ในชนบทกส็ ามารถวนิ ิจฉัยโรคจากฐานขอ้ มลู ความรูข้ องผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะทาง การแพทยใ์ นสถาบนั การแพทยท์ ม่ี ชี อื่ เสยี งได้ทว่ั โลกหรอื ใช้วธิ ีปรึกษาแพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญในระบบทางไกลไดด้ ว้ ย 4. เทคโนโลยีสารสนเทศสรา้ งโอกาสให้คนพกิ าร หรือผู้ด้อยโอกาสจากการพิการทางร่างกาย เกดิ การ สรา้ งผลติ ภณั ฑ์ชว่ ยเหลอื คนพิการใหส้ ามารถพัฒนาทกั ษะและความรไู้ ด้ เพ่ือให้คนพิการเหล่าน้นั สามารถ ชว่ ยเหลือตนเองได้ ผพู้ ิการจึงไม่ถูกทอดท้ิงให้เปน็ ภาวะของสังคม 5. พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยเกดิ การศกึ ษาในรปู แบบใหม่ กระตนุ้ ความสนใจแกผ่ ้เู รยี น โดยใช้ คอมพิวเตอรเ์ ป็นสื่อในการสอน (Computer-Assisted Instruction: CAI) และการ เรยี นรูโ้ ดยใชค้ อมพวิ เตอร์ (Computer-Assisted Learning: CAL) ทาให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจในบทเรยี นมากยิง่ ขน้ึ ไมซ่ ้าซากจาเจ ผเู้ รยี นสามารถเรียนรูส้ ่งิ ต่างๆ ได้ด้วยระบบทเ่ี ป็นมัลตมิ ีเดยี นอกจากนนั้ ยังมบี ทบาทต่อการนามาใช้ในการ สอนทางไกล (Distance Learning) เพื่อผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาในชนบททห่ี า่ งไกล 6. การทางานเปล่ียนแปลงไปในทางทดี่ ีขึน้ กลา่ วคือชว่ ยลดเวลาในการทางานใหน้ อ้ ยลง แตไ่ ดผ้ ลผลิต มากข้นึ เช่น การใช้โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing) เพือ่ ชว่ ยในการพมิ พ์เอกสาร การใช้ คอมพิวเตอรช์ ว่ ยในการออกแบบงานลกั ษณะตา่ งๆ 7. ผู้บรโิ ภคไดร้ ับประโยชน์จากการบรโิ ภคส้นิ ค้าท่ีหลากหลายและมีคณุ ภาพดีขน้ึ ความก้าวหนา้ ทาง เทคโนโลยี ทาให้รูปแบบของผลิตภัณฑม์ คี วามแปลกใหม่และหลากหลายมากยง่ิ ขน้ึ ผผู้ ลิตผลิตส้ินคา้ ท่มี ี คณุ ภาพ ผ้บู รโิ ภคสามารถเลือกซ้ือไดต้ ามต้องการ และชอ่ งทางทางการค้าก็มีใหเ้ ลอื กมากขึน้ เชน่ การเลอื กซ้ือ สินค้าทางอนิ เตอรเ์ น็ตและการพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เปน็ ต้น

-30- ผลกระทบทางลบ 1. ก่อให้เกิดความเครยี ดขึ้นในสงั คม เนือ่ งจากมนุษยไ์ ม่ชอบการเปลยี่ นแปลง เคยทาอะไรอยกู่ ็มักจะ ชอบทาอย่างน้ันไมช่ อบการเปล่ยี นแปลง แตเ่ ทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ ไปเปลีย่ นแปลงโครงสร้างองค์กร บคุ คล วิถีการดาเนนิ ชีวติ และการทางาน ผทู้ ีร่ บั ต่อการเปลยี่ นแปลงไม่ไดจ้ ึงเกิดความวติ กกงั กลขึ้นจนกลายเป็น ความเครยี ด กลัวว่า เครอ่ื งจักรกลคอมพวิ เตอร์ทาให้คนตกงาน การนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาแทน มนษุ ย์ในโรงงานอตุ สาหกรรมกเ็ พื่อลดต้นทุนการผลติ และผลติ ภัณฑม์ ีคณุ ภาพมากยงิ่ ขน้ึ จึงเปน็ เหตผุ ลท่มี ีการ เปล่ยี นแปลงการทางานความ เปลี่ยนแปลงกอ่ ใหเ้ กิดความเครียด เกิดความทกุ ข์และความเดอื ดร้อนแก่ ครอบครวั ติดตามมา การดาเนินธุรกจิ ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อให้เกิดสภาวะการแขง่ ขนั ท่รี ุนแรง การ ทางานต้องรวดเร็ว เร่งรบี เพื่อชนะคูแ่ ข่ง ต้องตัดสนิ ใจอยา่ งรวดเรว็ และถูกต้อง หากทาไม่ไดก้ จ็ ะทาให้ หน่วยงานหรือองคก์ รต้องยบุ เลกิ ไป เมอื่ ชวี ิตของคนในสงั คมเทคโนโลยีสารสนเทศตอ้ งแขง่ ขัน ก็ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กิด ความเครยี ดสูงข้ึน 2. ก่อให้เกิดการรับวัฒนธรรม หรอื แลกเปลย่ี นวัฒนธรรมของคนในสังคมโลก การแพร่ของวฒั นธรรม จากสังคมหนง่ึ ไปสูง่ สังคมอีกสังคมหน่งึ เป็นการสร้างคา่ นิยมใหม่ใหก้ ับสงั คมท่รี ับวัฒนธรรมนนั้ ซึ่งอาจก่อใหเ้ กิด คา่ นยิ มที่ไม่พึ่งประสงคข์ ึน้ ในสงั คมนนั้ เช่น พฤติกรรมท่ีแสดงออกทางค่านิยมของเยาวชนด้านการแตง่ กาย และการบริโภค การมอมเมาเยาวชนในรูปของเกมส์อเิ ล็กทรอนิกส์ สง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาอารมณแ์ ละ จติ ใจของเยาวชน เกิดการกลืนวัฒนธรรมดงั เดิมซึง่ แสดงถงึ เอกลกั ษณ์ของสังคมนน้ั ๆ 3. กอ่ ให้เกิดผลด้านศลี ธรรม การตดิ ต่อสือ่ สารท่ีรวดเร็วในระบบเครือข่ายก่อใหเ้ กดิ โลกไร้พรมแดน แต่ เมือ่ พิจารณาศลี ธรรมของแต่ละประเทศ พบวา่ มคี วามแตกต่างกัน ประเทศต่างๆผู้คนอยูร่ ว่ มกันไดด้ ว้ ยจารีต ประเพณี และศีลธรรมดีงามของประเทศนน้ั ๆ การแพรภ่ าพหรือข้อมูลข่าวสารที่ไมด่ ีไปยังประเทศต่างๆ มี ผลกระทบต่อความรสู้ ึกของคนในประเทศนน้ั ๆที่นับถอื ศาสนาแตกต่างกนั และมคี ่านยิ มแตกต่างกัน ทาให้ เยาวชนรนุ่ ใหมส่ บั สนต่อคา่ นิยมทดี่ งี ามด่งั เดิม เกดิ การลอกเลยี นแบบ อยากรู้อยากเหน็ ส่ิงใหม่ๆ ท่ีผิดศลิ ธรรม จนกลายเป็นสิง่ ที่ถูกตอ้ งในกลุ่มเยาวชน เมื่อเยาวชนปฏิบตั ติ ่อๆ กันมาก็จะทาให้ศิลธรรมของประเทศนัน้ ๆ เส่อื มสลายลง 4. การมีสว่ นรม่ ของคนในสังคมลดนอ้ ยลง การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาใหเ้ กดิ ความสะดวก รวดเร็ว ในการสอ่ื สาร และการทางาน แตใ่ นอีกด้านหนง่ึ การมสี ่วนร่วมของกิจกรรมทางสังคมที่มีการพบปะสงั รรค์กัน จะมนี ้อยลง สังคมเรม่ิ หา่ งเหินจากกัน การใช้เทคโนโลยสี ือ่ สารทางไกลทาให้ทางานอยู่ที่บา้ นหรอื เกดิ การศึกษา ทางไกล โดยไม่ต้องเดนิ ทางมีผลตอ่ ความสมั พันธร์ ะหว่างหัวหนา้ กับลูกน้อง ระหวา่ งครกู ับนกั เรียน ระหว่าง กลมุ่ คนต่อกล่มุ คนในสังคมก่อใหเ้ กดิ ช่องวา่ งทางสังคมข้นึ

-31- 5. การละเมิดสทิ ธิเสรภี าพสว่ นบุคคล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งไม่มีขดี จากดั ย่อมส่งผลต่อการ ละเมดิ สิทธิส่วนบุคคล การนาเอาข้อมูลบางอย่างที่เกีย่ วกบั บคุ คลออกเผยแพรต่ ่อสาธารณชน ซง่ึ ขอ้ มลู บางอยา่ งอาจไมเ่ ปน็ จรงิ หรือยังไม่ไดพ้ สิ จู น์ความถูกตอ้ งออกสสู่ าธารณชน กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ บคุ คล โดยไม่สามารถป้องกนั ตนเองได้ การละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคล เชน่ นตี้ ้องมกี ฎหมายออกมาให้ความค้มุ ครองเพ่ือให้ นาข้อมลู ต่างๆ มาใช้ในทางที่ถกู ต้อง 6. เกิดชอ่ งวา่ งทางสังคม การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวชอ้ งกับการลงทุน ผใู้ ชจ้ ึงเป็นชนช้ันในอกี ระดบั หนง่ึ ของสังคม ในขณะที่ชนชั้นระดับรองลงมามีอยูจ่ านวนมากกลับไม่มโี อกาสใช้ และผูท้ ่ียากจนกไ็ มม่ ี โอกาสรจู้ ักกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาใหก้ ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศไม่กระจายตัวเทา่ ทีค่ วร ก่อใหเ้ กิด ชอ่ งว่างทางสงั คมระหวา่ งชนชัน้ หน่ึงกบั อกี ชนชนั้ หน่งึ มากยิง่ ข้นึ 7. เกดิ การต่อต้านเทคโนโลยี เมื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามามีบทบาทตอ่ การทางานมากข้ึน ระบบการ ทางานต่างๆ กเ็ ปล่ียนแปลงไป มกี ารนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายในด้านตา่ งๆ เชน่ ดา้ น การศึกษา การ สาธารณสุข เศรษฐกจิ การคา้ และธุรกจิ อตุ สาหกรรม รวมถงึ กจิ กรรมการดาเนินชวี ติ ดา้ นตา่ งๆ โดยท่ปี ระชาชนของประเทศส่วนมากยงั ขาดความร้ใู จเรื่องของเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายและ คอมพวิ เตอรจ์ งึ เปน็ เรื่องน่าเป็นห่วงอยา่ งมาก โดยเฉพาะในด้านการทางาน คนที่ทางานด้วยวธิ ีเกา่ ๆ ก็เกดิ การ ต่อตา้ นการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เกดิ ความรสู้ กึ หวาดระแวงและวติ กกังวล เกรงกลัววา่ ตนเองด้อย ประสิทธภิ าพ จงึ เกิดสภาวะของความรสู้ ึกตอ่ ต้าน กลัวสญู เสียคุณค่าของชวี ติ การทางาน สงั คมรนุ่ ใหมจ่ ะ ยอมรบั ในเร่ืองของความรูค้ วามสามารถมากกวา่ ยอมรับวยั วุฒิ และประสบการณใ์ นการทางานเหมนื เชน่ เดมิ 8. อาชญากรรมบนเครือข่าย ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศก่อใหเ้ กิดปญั หาใหมๆ่ ขึน้ เชน่ ปญั หาอาชญากรรม ตวั อยา่ งเช่น อาชญากรรมในรูปของการขโมยความลับ การขโมยข้อมลู สารสนเทศ การ ให้บริการ สารสนเทศทีม่ ีการหลอกลวง รวมถงึ การบ่อนทาลายข้อมลู ท่ีมีอยู่ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ตา่ งๆ ใน ระบบเครือข่าย เชน่ ไวรสั เครือขา่ ยการแพร่ข้อมลู ที่เปน็ เทจ็ กอ่ ใหเ้ กดิ การหลอกลวง และมผี ลเสยี ตดิ ตามมา ลกั ษณะของอาชญากรรมทีเ่ กิดข้ึนจากฝีมือมนุษยท์ ่รี ู้จกั กนั ดไี ดแ้ ก่ แฮกเกอร์ (Hacker) และแครกเกอร์ (Cracker) โดยเฉพาะแฮกเกอร์ คอื ผู้ทม่ี คี วามรทู้ างคอมพิวเตอร์ และเครอื ขา่ ยสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลของ หน่วยงานสาคัญๆ โดยเจาะผา่ นระบบรกั ษาความปลอดภยั แต่ไม่ทาลายข้อมลู หรือหาประโยชน์จากการบุก รกุ คอมพวิ เตอรข์ องผู้อืน่ แต่ก็ถือได้วา่ เปน็ อาชญากรรมประเภทหน่งึ ท่ีไม่พงึ ประสงค์ ส่วนแครกเกอร์ คือ ผูซ้ ึง่ กระทาการถอดรหสั ผา่ นข้อมูลตา่ งๆ เพื่อใหส้ ามารถนาเอาโปรแกรมหรอื ข้อมลู ต่างๆ มาใช้ใหมไ่ ดเ้ ปน็ การ กระทาละเมิดลิขสทิ ธิ์ เปน็ การลกั ลอกหรือเปน็ อาชญากรรมประเภทหนงึ่ 9. กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาด้านสุขภาพ นับตั้งแต่คอมพวิ เตอร์เข้ามามบี ทบาทในการทางาน การศึกษา บันเทิง ฯลฯ การจอ้ งมองคอมพิวเตอรเ์ ป็นเวลานานๆ มีผลเสยี ต่อสายตาซงึ่ ทาให้สายตาผิดปกติ มอี าการแสบตา เวียน ศรีษะ นอกจากนั้นยงั มีผลต่อสขุ ภาพจิต เกดิ โรคทางจิตประสาท เชน่ โรคคล่ังอนิ เตอรเ์ น็ต เปน็ โรคที่เกิดขึน้ ใน คนร่นุ ใหมล่ กั ษณะ คือ แยกตัวออกจากสงั คมและมโี ลกสว่ นตวั ไมส่ นใจสภาพแวดล้อมก่อใหเ้ กิดอาการปว่ ย

-32- ทางจิตคลุม้ คลง่ั สลับซมึ เศรา้ อกี โรคหน่ึง คือ โรคคล่ังช้อปปิง้ ทางอินเตอรเ์ น็ต โดยเฉพาะการเสนอสินคา้ ทาง หนา้ จอคอมพิวเตอร์ผา่ นอินเตอร์เนต็ ทเี่ รียกวา่ พาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ มีลกู ค้าสนใจเข้าไปช้อปป้ิงดูสนิ ค้าตา่ งๆ ทวีความร่นุ แรงมากยงิ่ ข้นึ จนเป็นที่สนใจของจติ แพทย์ นอกจากนั้นการใช้คอมพวิ เตอร์เป็นเวลานานๆ ก่อให้เกิดโรคอาร์เอสไอ (Repetitive Strain Injury : RSI) ซง่ึ มีอาการบาดเจ็บเน่อื งจากการใชแ้ ปน้ พิมพ์เป็น เวลานานๆ ทาใหเ้ ส้นประสาทรับความรสู้ ึกทม่ี ือ และนิว้ เกดิ บาดเจ็บขึน้ เม่ือใชอ้ วยั วะนั้นบ่อยคร้ัง เส้นประสาท รับความร้สู ึกเกิดเสียหายไม่รับความรู้สกึ หรอื รบั น้อยลง ท้ังน้ที งั้ นน้ั ผลกระทบของไอทียังสามารถแบ่งออกได้ หลายดา้ น ดังนี้ ด้านธุรกจิ 1. ไอทีมสี ว่ นชว่ ยในการตัดสินใจในธุรกจิ ทส่ี นใจได้ทันทีทันใด บนพนื้ ฐานของข้อมลู ท่ีกาหนดให้ 2. ไอทชี ว่ ยใหต้ ้นทนุ ในการผลิตและการบริการลดลง 3. ลดการตดิ ต่อส่ือสารผ่านคนกลาง โดยผู้ผลติ และผูบ้ ริโภคสามารถติดตอ่ สื่อสารกันไดโ้ ดยตรงทาให้ลด ขน้ั ตอนในการสอื่ สารและทาใหเ้ กิดความผดิ พลาดนอ้ ยลง ด้านสื่อสารมวลชน 1. เทคโนโลยีสารสนเทศชว่ ยให้การกระจายขา่ วสารทาได้รวดเร็ว และ เข้าถึงผ้บู รโิ ภคได้ง่ายขึน้ 2. ดว้ ยรูปแบบทหี่ ลากหลายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาใหก้ ารกระจายข้อมูลหลายหลายขึ้น อกี ทงั้ ยังใหข้ ้อมูลมคี วามน่าสนใจมากขนึ้ อีดว้ ย ด้านโครงสรา้ งทางสงั คม 1. ทาให้องค์กรเข้าถงึ มวลชนได้ง่ายขึ้นทาให้สามารถเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยเข้าถึงกนั ไดม้ ากข้ึน 2. ทาให้ประชาชนมีอานาจในการตอ่ รองกับรฐั มากขน้ึ เพราะทุกคนสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลขา่ วสารได้ง่าย ทาให้ทราบความเลอื่ นไหวทเ่ี กิดข้ึนไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ด้านวัฒนธรรมและการศกึ ษา 1. เกดิ การแพร่หลายทางวฒั นธรรมท่ีมาจากต่างถิ่น เพราะทกุ คนสามารถเสาะหาข้อมลู เหลา่ น้ไี ดง้ า่ ย จากเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยูใ่ นปัจจุบัน 2. ทกุ คนสามารถเข้าถงึ ข้อมลู ได้โดยตรงดว้ ยตวั เอง และทนั ทีทันได้ทต่ี ้องการเรียนรู้ 3. ทาใหเ้ กิดการเรยี นรูด้ า้ นภาษา และเปน็ ส่งิ จาเป็นทท่ี ุกคนตอ้ งเรียนรทู้ ่จี ะใชป้ ระโยชน์จากมัน

-33- สรปุ เทคโนโลยีกับการพฒั นาสังคมเป็นการพัฒนาท่มี ีความหมายครอบคลุมกวา้ ง และเกยี่ วข้องกบั ศักยภาพ ของมนษุ ยใ์ นการสรา้ งสรรคส์ ังคม เป็นเร่ืองของความใฝ่ฝัน ความคิดและการต่ืนตัวของมนุษย์ ในการตระหนัก ถงึ สภาพปัญหาของสังคม และตอ้ งการแก้ปญั หาท่มี นษุ ยป์ ระสบอย่างสรา้ งสรรค์ โดยนัยน้ี การพัฒนาสงั คมจงึ เกยี่ วพันกบั มติ ติ ่างๆ ของความเปน็ อยูแ่ ละการดาเนนิ ชีวิตของมนุษย์ ทั้งความเชือ่ ทศั นคติ ค่านยิ ม อดุ มการณ์ จารีตขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรม กฎระเบียบ บรรทัดฐานทางวฒั นธรรม ความรู้ การศึกษา ความสัมพันธร์ ะหว่าง คน สถาบันเศรษฐกจิ การเมือง ตลอดไปจนถึงศาสนาและจิตวิญญาณ แนวคิดวา่ ดว้ ยการ พฒั นามีกาเนิดมาจากโลกตะวนั ตก โดยเรมิ่ จากแนวคดิ ทใี่ ห้ความสาคัญกับ การขยายตัวหรือการเตบิ โตทาง เศรษฐกิจ และตอ่ มาได้แพร่ขยายไปมีอทิ ธิพลครอบงาการกาหนดนโยบายในประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะ ลักษณะความสมั พันธข์ องสงั คมมนษุ ยผ์ ่านเทคโนโลยีมลี ักษณะความสมั พนั ธ์ 2 ลักษณะคือ ความสมั พันธ์ผา่ น เทคนคิ แบบอานาจนยิ ม และความสัมพันธ์ผ่านเทคนิคแบบประชาธปิ ไตย ตลอดจนผลกระทบจากเทคโนโลยี ต่อสังคมดา้ นต่างๆเชน่ ด้านธุรกิจ ดา้ นสือ่ สารมวลชน ดา้ นโครงสร้างทางสังคม ดา้ นการศึกษาและวัฒนธรรม เปน็ ต้น คาถามท้ายบท 1. ท่านมคี วามเข้าใจกบั คาว่า “การพัฒนาสังคม” วา่ อยา่ งไร (จงอธิบาย) 2. การพัฒนาสงั คม ตามแนวคิดของ มัมฟอร์ด มีลกั ษณะการพฒั นาผ่านเทคนิคด้านใดบา้ ง 3. ตามแนวคดิ ของ มัมฟอรด์ การพฒั นาสงั คมสารสนเทศ มีกี่แนวโน้มอะไรบา้ ง 4. ผลกระทบจากเทคโนโลยสี ารสนเทศในดา้ นลบมีอะไรบ้างจงบอกมา 3 ดา้ น 5. ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศในดา้ นบวกมีอะไรบ้างจงบอกมา 3 ดา้ น

-34- บทที่ 4 เทคโนโลยกี ับการพฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สง่ิ ทเ่ี กิดขึ้นเองตามธรรมชาติซ่ึงมนษุ ยส์ ามารถนามาใช้ประโยชน์ในการ ดารงชวี ติ และสนองต่อความต้องการของมนุษย์ได้ ไดแ้ ก่ น้า ปา่ ไม้ สัตว์ป่า อากาศ แร่ธาตุ แสงอาทิตย์ มนุษย์ เป็นต้น (ราตรี ภารา. 2538) ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สรรพสิ่งท้งั หลายทไ่ี ด้สรรค์สร้างไว้ซ่ึงมนุษย์สามารถหยิบฉวยมาใช้ ประโยชน์ในการดารงชวี ิตได้ (วิชัย เทียนน้อย. 2539) ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถงึ สง่ิ ที่เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติและเปน็ ประโยชนต์ ่อมนุษย์ไม่ทางใดก็ทาง หนึง่ (เกษม จนั ทรแ์ กว้ .2540) จากความหมายของทรัพยากรธรรมชาตทิ งั้ หมดท่ีกล่าวมาสามารถสรุปได้ดังน้ีคือ หมายถงึ ส่งิ ทเี่ กิดข้ึน เองตามธรรมชาติ ทีม่ นษุ ยส์ ามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ด้ เพอ่ื สนองตอบความต้องการของมนุษยไ์ ด้ ดังเช่น ดนิ นา้ ปา่ ไม้ อากาศ แสงแดด แร่ธาตุ ก๊าซธรรมชาติ นา้ มัน ป่าไม้ สตั ว์ป่า รวมถึงมนุษย์ด้วย (คณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.2550) ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ กรมสง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดล้อม แบง่ ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติไว้เป็น 3 ประเภทคือ ทรพั ยากรที่ มใี ช้ตลอดไป ทรัพยากรท่เี กิดใหม่ทดแทนได้ และทรัพยากรทใ่ี ช้แล้วหมดไป ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ทรัพยากรทม่ี ีใช้ตลอดไป (non-exhausting natural resource) เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี ี ความจาเป็นต่อการดารงชวี ติ ของมนุษย์และสิ่งมชี วี ติ อื่น ๆ มปี รมิ าณมากกว่าความต้องการที่มนุษยน์ ามาใช้ ประโยชน์ แตถ่ ้าหากนามาใช้ผิดวธิ ีหรอื ขาดการบารงุ รักษากจ็ ะทาให้คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาตเิ หล่าน้นั เปลีย่ นไปซง่ึ มีคณุ สมบัติไม่เหมาะทีจ่ ะนามาใช้ได้อกี เช่น อากาศ เป็นทรัพยากรธรรมชาติทม่ี อี ยู่อย่างเหลือเฟือ และปรากฏกระจัดกระจายครอบคลุมพ้นื ท่ีทุกส่วนของโลก เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติท่จี าเป็นต่อการดารงชวี ิต นอกจากนีอ้ ากาศยังมีความสาคัญตอ่ พืชพรรณธรรมชาติ เปน็ ส่วนประกอบทสี่ าคัญของดนิ เปน็ ต้น สาหรับน้า ในอทุ กวัฏจักร จะมีการสับเปลี่ยนหมนุ เวียนตลอดเวลา โดยอาศยั พลงั งานความร้อนจากแสงอาทติ ย์ มีปรมิ าณ มากเกินกว่าทม่ี นุษย์จะนามาใช้ไดห้ มด

-35- ภาพที่ 4.1 แสดงทรัพยากรธรรมชาติ http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-3/no37/chiangmai/ sec04p05.htm 2. ทรัพยากรทเี่ กิดใหม่ทดแทนได้ (renewable natural resource) เปน็ ทรพั ยากรที่มนษุ ยน์ ามาใช้ สามารถเกดิ ขึน้ ทดแทนได้ ซ่งึ การทดแทนอาจใช้เวลาส้ัน ๆ หรือยาวนานกไ็ ด้ ทรพั ยากรประเภทนี้ ปรากฏอยู่ บางแหง่ ระหว่างผวิ โลก เป็นทรัพยากรท่ีเกีย่ วข้องและมีความสาคญั ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ทงั้ ทางตรงและ ทางอ้อม ถ้าหากมีการรกั ษาอย่างถูกต้องตามหลกั วชิ าการแล้ว ทรัพยากรธรรมชาตเิ หล่านสี้ ามารถคงอย่แู ละ มนุษย์จะมใี ช้ไดต้ ลอดไป ดังเช่น 1) ดนิ เป็นทรพั ยากรธรรมชาตซิ ึง่ มีความสาคัญกับวถิ ใี นการดารงชวี ิตของมนุษย์เพราะดินเปน็ บ่อเกดิ ของปจั จัยสี่ แมว้ า่ ดนิ จะมีอยู่อย่างกว้างขวาง แตค่ ุณสมบตั ิที่เหมาะสมต่อการทจี่ ะนามาใช้เพ่ือการเพาะปลกู แตกต่างกนั การทม่ี นุษย์ใช้ประโยชน์จากดินตดิ ต่อกนั เป็นเวลานานโดยปราศจากการบารุงรกั ษาจะทาให้ คณุ ภาพของดนิ เสื่อมโทรมได้

-36- ภาพที่ 4.2 แสดงภาพดิน http://news.giggog.com/322284 2) ปา่ ไม้ เป็นทรพั ยากรธรรมชาตทิ สี่ ามารถบารุงรักษาให้คงสภาพเดมิ ต่อไปได้ แมแ้ ตป่ ่าท่เี ส่ือมโทรม แล้วยังสามารถปรับปรงุ ให้กลายเปน็ ป่าไม้ที่อดุ มสมบูรณ์ได้อีก แตต่ ้องอาศัยเวลานาน ภาพที่ 4.2 แสดงทรพั ยากรป่าไม้ http://www.tlcthai.com/education/knowledge- online/15205.html ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย ประเภทของป่าไม้จะแตกตา่ งกนั ไปขึ้นอยู่กบั การกระจายของฝน ระยะเวลาทีฝ่ นตกรวมทงั้ ปรมิ าณ น้าฝนทาให้ป่าแต่ละแหง่ มีความชุม่ ชื้นตา่ งกนั สามารถจาแนกไดเ้ ปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

-37- ภาพที่ 4.2 แสดงปา่ ไมผ่ ลดั ใบ 1. ปา่ ประเภททีไ่ ม่ผลัดใบ (Evergreen) ปา่ ประเภทน้มี องดูเขยี วชอุม่ ตลอดปี เนอื่ งจากต้นไม้แทบ ทง้ั หมดที่ขน้ึ อย่เู ป็นประเภทท่ีไมผ่ ลัดใบ ป่าชนดิ สาคญั ซึง่ จัดอย่ใู นประเภท น้ี ได้แก่ 1.1 ปา่ ดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) ปา่ ดงดิบที่มีอยูท่ วั่ ในทกุ ภาคของ ประเทศ แต่ทีม่ ีมากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ ภาคใต้และภาคตะวันออก ในบรเิ วณนม้ี ฝี นตกมากและมีความช้ืนมากในท้องที่ ภาคอ่นื ป่าดงดิบมักกระจายอยู่บริเวณทม่ี ีความช่มุ ชื้นมาก ๆ เชน่ ตามหบุ เขารมิ แมน่ ้าลาธาร หว้ ย แหลง่ นา้ และบนภเู ขา ซ่ึงสามารถแยกออกเป็นป่าดงดิบชนิดตา่ ง ๆ ดังนี้ - ป่าดิบชืน้ (Moist Evergreen Forest) เปน็ ป่ารกทึบมองดเู ขียวชอมุ่ ตลอดปีมีพนั ธุ์ไม้หลายร้อย ชนดิ ขึ้นเบียดเสยี ดกนั อยูม่ ักจะพบกระจัดกระจายต้ังแต่ความสูง600 เมตร จากระดับนา้ ทะเล ไม้ที่สาคัญก็คือ ไม้ตระกูลยางต่าง ๆ เชน่ ยางนา ยางเสยี น สว่ นไม้ชั้นรอง คอื พวกไม้กอ เช่น กอนา้ กอเดอื ย - ปา่ ดบิ แลง้ (Dry Evergreen Forest) เปน็ ป่าทอ่ี ยู่ในพ้ืนที่ค่อนข้างราบมีความชุ่มชืน้ นอ้ ย เช่น ใน แถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักอยู่สูงจากระดบั นา้ ทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ท่สี าคัญ ได้แก่ มะคาโมง ยางนา พยอม ตะเคียน แดง กระเบากลัก และตาเสอื - ปา่ ดิบเขา (Hill Evergreen Forest) ป่าชนดิ นเ้ี กิดขึน้ ในพ้ืนทส่ี งู ๆ หรอื บนภเู ขาตั้งแต่ 1,000- 1,200 เมตร ขน้ึ ไปจากระดบั น้าทะเล ไม้ส่วนมากเป็นพวก Gymonosperm ไดแ้ ก่ พวกไมข้ นุ และสนสามพนั ปี นอกจากนีย้ ังมีไมต้ ระกลู กอข้ึนอยู่ พวกไม้ชั้นทส่ี องรองลงมา ได้แก่ เปง้ สะเดาช้างและขม้ินต้น 1.2 ปา่ สนเขา (Pine Forest) ปา่ สนเขามกั ปรากฎอยู่ตามภเู ขาสูงส่วนใหญเ่ ป็นพืน้ ท่ีซึ่งมคี วามสูง ประมาณ 200-1800 เมตร ข้ึนไปจากระดบั นา้ ทะเลในภาคเหนือภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บาง ทีอาจปรากฎในพ้นื ทส่ี ูง 200-300 เมตร จากระดับนา้ ทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต้ ปา่ สนเขามลี กั ษณะเป็น ปา่ โปรง่ ชนดิ พันธไ์ุ ม้ทสี่ าคัญของปา่ ชนิดน้คี ือ สนสองใบ และสนสามใบ ส่วนไมช้ นดิ อนื่ ที่ขน้ึ อยู่ด้วยได้แก่พันธ์ุ ไมป้ ่าดบิ เขา เชน่ กอชนิดตา่ ง ๆ หรือพนั ธไุ์ มป้ ่าแดงบางชนิด คือ เตง็ รงั เหียง พลวง เป็นตน้

-38- 1.3 ป่าชายเลน (Mangrove Forest) บางทเี รียกว่า \"ป่าเลนน้าเคม็ ”หรือป่าเลน มตี น้ ไมข้ ึน้ หนาแน่นแตล่ ะชนดิ มีรากค้ายันและรากหายใจ ปา่ ชนดิ นี้ปรากฎอยตู่ ามที่ดนิ เลนรมิ ทะเลหรือบริเวณปากนา้ แมน่ า้ ใหญ่ ๆ ซ่งึ มีน้าเค็มทว่ มถึงในพ้ืนที่ภาคใต้มอี ยู่ตามชายฝั่งทะเลทงั้ สองดา้ น ตามชายทะเลภาคตะวันออกมี อยู่ทกุ จังหวัดแต่ที่มากทสี่ ดุ คอื บริเวณปากนา้ เวฬุ อาเภอลงุ จังหวดั จันทบุรี พันธไุ์ มท้ ี่ขึ้นอยู่ตามป่าชายเลน สว่ นมากเป็นพนั ธไ์ุ มข้ นาดเล็กใช้ประโยชน์สาหรบั การเผาถา่ นและทาฟืนไมช้ นดิ ทส่ี าคัญ คือ โกงกาง ประสกั ถว่ั ขาว ถั่วขา โปรงตะบนู แสมทะเล ลาพูนและลาแพน ฯลฯ ส่วนไมพ้ ้ืนลา่ งมักเปน็ พวก ปรงทะเลเหงือกปลาย หมอ ปอทะเล และเปง้ เปน็ ตน้ 1.4 ปา่ พรุหรอื ปา่ บึงน้าจดื (Swamp Forest) ปา่ ชนดิ น้มี ักปรากฎในบริเวณท่ีมีน้าจดื ท่วมมาก ดนิ ระบายน้าไม่ดีปา่ พรุในภาคกลาง มลี ักษณะโปรง่ และมตี ้นไม้ขึ้นอยหู่ ่างๆ เชน่ ครอเทยี น สนุน่ จิก โมก บา้ น หวายน้า หวายโปรง่ ระกา อ้อ และแขม ในภาคใตป้ ่าพรมุ ีข้นึ อย่ตู ามบริเวณทมี่ นี ้าขงั ตลอดปีดินป่าพรทุ ม่ี เี นื้อที่ มากท่สี ดุ อยู่ในบริเวณจงั หวัดนราธิวาสดนิ เป็นพีท ซึ่งเปน็ ซากพืชผสุ ลายทบั ถมกนั เปน็ เวลานานปา่ พรแุ บง่ ออก ได้ 2 ลกั ษณะ คือ ตามบริเวณซ่งึ เป็นพรุนา้ กร่อยใกล้ชายทะเลตน้ เสมด็ จะขึน้ อยหู่ นาแน่นพนื้ ที่มตี ้นกกชนิด ตา่ งๆ เรียก \"ป่าพรเุ สม็ด หรือ ปา่ เสม็ด\" อีกลักษณะเปน็ ป่าทม่ี ีพันธไุ์ ม้ต่าง ๆ มากชนดิ ขึน้ ปะปนกนั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ทส่ี าคญั ของป่าพรุ ได้แก่ อนิ ทนิล นา้ หวา้ จกิ โสกนา้ กระทุ่มน้า กันเกรา โงงงนั กะทั่งหัน ไม้พน้ื ล่าง ประกอบด้วย หวาย ตะคา้ ทอง หมากแดง และหมากชนดิ อื่นๆ 1.5 ป่าชายหาด (Beach Forest) เปน็ ปา่ โปร่งไมผ่ ลดั ใบข้ึนอยูต่ ามบรเิ วณหาดชายทะเล นา้ ไม่ ทว่ มตามฝง่ั ดินและชายเขาริมทะเล ต้นไม้สาคัญท่ีขน้ึ อย่ตู ามหาดชายทะเล ต้องเป็นพชื ทนเคม็ และมักมี ลักษณะไม้เป็นพุ่มลักษณะต้นคดงอ ใบหนาแข็ง ได้แก่ สนทะเล หูกวาง โพธ์ิทะเล กระทิง ตีนเป็ดทะเล หยี นา้ มกั มีต้นเตยและหญ้าต่าง ๆ ขน้ึ อยู่เปน็ ไม้พน้ื ลา่ ง ตามฝง่ั ดินและชายเขา มักพบไมเ้ กตลาบดิ มะคา แต้ กระบองเพชร เสมา และไมห้ นามชนิดต่าง ๆ เชน่ ซงิ ซ่ี หนามหัน กาจายมะดันขอ เป็นตน้ ภาพที่ 4.3 แสดงปา่ ไมผ้ ลัดใบ

-39- 2.ปา่ ประเภทท่ีผลดั ใบ (Declduous) ตน้ ไมท้ ่ีขน้ึ อยู่ในป่าประเภทน้ีเปน็ จาพวกผลัดใบแทบทัง้ สิ้น ใน ฤดูฝนปา่ ประเภทน้ีจะมองดูเขยี วชอุม่ พอถงึ ฤดแู ลง้ ตน้ ไมส้ ่วนใหญ่จะพากันผลดั ใบทาให้ป่ามองดโู ปรง่ ขน้ึ และ มักจะเกดิ ไฟป่าเผาไหมใ้ บไม้และตน้ ไม้เล็ก ๆ ปา่ ชนิดสาคญั ซึ่งอย่ใู นประเภทนี้ ได้แก่ 2.1 ป่าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) ปา่ ผลดั ใบผสม หรือปา่ เบญจพรรณมีลักษณะเปน็ ปา่ โปร่งและยงั มีไม้ไผช่ นดิ ตา่ ง ๆ ขนึ้ อยกู่ ระจดั กระจายท่วั ไปพื้นที่ดนิ มกั เปน็ ดินร่วนปนทราย ปา่ เบญจพรรณ ใน ภาคเหนือมักจะมีไม้สักข้ึนปะปนอยทู่ ว่ั ไปครอบคลุมลงมาถึงจังหวดั กาญจนบรุ ี ในภาคกลางในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื และภาคตะวันออก มีป่าเบญจพรรณน้อยมากและกระจัดกระจาย พันธไุ์ ม้ชนดิ สาคัญ ไดแ้ ก่ สัก ประดู่แดง มะคา่ โมง ตะแบก เสลา ออ้ ยชา้ ง สา้ น ยมหอม ยมหิน มะเกลือ สมพง เกด็ ดา เก็ด แดง ฯลฯ นอกจากน้มี ีไม้ไผ่ที่สาคญั เช่น ไผ่ป่า ไผ่บง ไผ่ซาง ไผร่ วก ไผไ่ ร เป็นตน้ 2.2 ปา่ เตง็ รงั (Declduous Dipterocarp Forest) หรือทเี่ รียกกนั ว่าป่าแดง ปา่ แพะ ป่าโคก ลักษณะ ทั่วไปเปน็ ป่าโปรง่ ตามพน้ื ป่ามกั จะมโี จด ตน้ แปรง และหญ้าเพ็ก พน้ื ที่แหง้ แล้งดนิ รว่ นปนทราย หรอื กรวด ลูกรัง พบอยู่ทัว่ ไปในท่ีราบและท่ภี ูเขา ในภาคเหนอื ส่วนมากข้ึนอยู่บนเขาที่มีดนิ ต้ืนและแหง้ แลง้ มากใน ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ มปี ่าแดงหรือป่าเตง็ รงั นีม้ ากทสี่ ดุ ตามเนนิ เขาหรือท่รี าบดนิ ทรายชนิดพนั ธไ์ุ ม้ท่ี สาคัญในปา่ แดง หรือป่าเต็งรัง ไดแ้ ก่ เต็ง รงั เหยี ง พลวง กราดพะยอม ตว้ิ แตว้ มะค่าแต ประดู่ แดง สมอ ไทย ตะแบก เลือดแสลงใจ รกฟา้ ฯลฯ สว่ นไมพ้ ืน้ ลา่ งท่ีพบมาก ได้แก่ มะพร้าวเต่า ปมุ่ แปง้ หญา้ เพ็ก โจด ปรง และหญา้ ชนิดอ่นื ๆ 2.3 ปา่ หญ้า (Savannas Forest) ป่าหญ้าที่อยู่ทุกภาคบริเวณป่าทีถ่ ูกแผว้ ถางทาลายบรเิ วณพน้ื ดนิ ที่ ขาดความสมบรู ณแ์ ละถกู ทอดทง้ิ หญา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ จึงเกดิ ข้ึนทดแทนและพอถึงหนา้ แล้งกเ็ กดิ ไฟไหมท้ าให้ ต้นไมบ้ ริเวณข้างเคียงลม้ ตาย พืน้ ท่ีปา่ หญา้ จึงขยายมากขนึ้ ทุกปี พืชทีพ่ บมากทส่ี ุดในป่าหญา้ กค็ ือ หญา้ คา หญา้ ขนตาชา้ ง หญา้ โขมง หญา้ เพก็ และปุ่มแปง้ บริเวณท่ีพอจะมีความชื้นอยู่บ้าง และการระบายนา้ ได้ดกี ็ มกั จะพบพงและแขมขน้ึ อยู่ และอาจพบตน้ ไมท้ นไฟข้ึนอยเู่ ชน่ ตบั เตา่ รกฟา้ ตานเหลือ ต้ิวและแต้ว http://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/d6308/_5.html 3. สตั ว์ปา่ เปน็ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่มี นษุ ย์ได้พึง่ พาอาศัยเพือ่ การดารงชพี มาเป็นเวลานาน ปริมาณ สัตว์ป่าจะมากหรือน้อยขน้ึ อยู่กับการกระทาของมนุษย์เปน็ สาคญั คือถิน่ ที่อยู่อาศยั ของสัตวป์ ่า การเพ่ิมปริมาณ สัตว์ป่าสามารถจะเกดิ ขึ้นได้ในช่วงเวลาไม่มากนัก

-40- ภาพท่ี 4.4 แสดงภาพสตั วป์ ่า http://chm.forest.go.th/th/?page_id=5&paged=23 4. มนุษย์เปน็ ทรัพยากรทใี่ ช้พลังงาน สติปัญญาในการสร้างสรรคใ์ ห้แก่มนษุ ย์ดว้ ยกนั นาผลผลติ และ สงิ่ ใหม่ๆ มาใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวติ เพราะมนุษย์จะอยู่รวมกันเปน็ กลุ่ม ดงั นนั้ มนุษยจ์ ึงจาเป็นต้องพ่งึ พา อาศยั กนั การที่มนษุ ยใ์ ช้พลงั งานมาก ๆ ตอ่ เนือ่ งกันเปน็ เวลานานโดยไม้ได้พักผ่อน อาจทาให้งานออกมาไม่มี ประสทิ ธิภาพ ฉะนนั้ จงึ ต้องมีการพักผ่อนอย่างเพียงพอ กาลังงานมนษุ ย์ กส็ ามารถนามาใช้ไดอ้ ีก ภาพที่ 4.4 แสดงภาพการดาเนินชวี ิตของมนษุ ย์ http://news.hatyaiok.com/?p=86293 5. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ี่ใช้แล้วหมดไป (exhausting natural resource) เป็นทรพั ยากรท่ีใช้แล้ว ส้นิ เปลอื งและจะหมดไปในท่ีสดุ เมือ่ หมดแล้วไมส่ ามารถทดแทนได้บางชนดิ อาจดดั แปลงหรือนากลบั มาใช้ใหม่ ได้ เปน็ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีมนษุ ย์นาไปใช้สนองความต้องการด้านปัจจยั สี่ท้ังทางตรงและทางอ้อม ถ้าขาด

-41- ทรพั ยากรนี้มนุษยส์ ามารถดารงชวี ิตอยไู่ ด้ เช่น แร่ธาตแุ ละพลังงาน เปน็ ทรัพยากรทีใ่ ช้แล้วส้ินเปลอื งเกิดขึน้ เอง ตามธรรมชาติ ภายใตพ้ ภิ พ แตต่ อ้ งอาศยั ระยะเวลายาวนาน และมปี ริมาณจากัด หากมนษุ ยน์ าไปใช้อย่าง ฟมุ่ เฟือยในปริมาณมากจะทาให้ทรพั ยากรเหล่าน้ลี ดจานวนลงและหมดไปในท่ีสุด เพราะฉะนน้ั จึงต้องจาเป็น ใช้ทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทน้อี ย่างประหยดั และระมดั ระวงั ดังนั้นจะเห็นได้ว่าทรัพยากรธรรมชาตทิ ั้งสามประเภทน้ันมีความจาเป็นต่อการดารงชวี ติ ของมนษุ ย์ตัง้ แต่ เร่ิมชีวิต ตลอดเวลาท่ดี ารงชีวติ และจนถึงวันตาย แต่ส่งิ ทเ่ี หมอื นกนั ในการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติแต่ละประเภท คือ จะตอ้ งใช้อย่างระมดั ระวงั และมีจติ สานกึ เสมอเพื่อให้ทรัพยากรเหล่านี้สามารถใช้และเอือ้ ประโยชนต์ ่อ มนษุ ย์ได้ตลอดไป และเม่ือใช้แล้วย่อมไม่ให้เกดิ ผลกระทบต่อทรพั ยากรธรรมชาตอิ ืน่ ภาพท่ี 4.5 แสดงภาพทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ใี ชแ้ ล้วหมดไป http://www.vcharkarn.com/electric/article/view.php?id=42618 ความหมายของสิ่งแวดล้อม พระราชบญั ญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ให้ความหมายของ สง่ิ แวดล้อมไว้ในมาตรา 4 วา่ หมายถึง ส่งิ ต่าง ๆ ทม่ี ีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพ ทอี่ ยู่รอบตวั มนุษย์ซ่ึง เกิดขึ้นโดยธรรมชาตแิ ละส่ิงที่มนุษย์ได้ทาขน้ึ เกษม จนั ทรแ์ กว้ (2543) ไดใ้ ห้ความหมายของส่ิงแวดล้อมว่า หมายถึง สง่ิ ทเ่ี กดิ ขึน้ ตามธรรมชาติ หรือ มนษุ ยส์ ร้างข้ึนสง่ิ ที่เปน็ รปู ธรรมและนามธรรม สง่ิ ทเี่ หน็ ได้ด้วยตา และที่ไมส่ ามารถเห็นได้ด้วยตา สิ่งท่ีเป็นท้ังที่ ให้คณุ และให้โทษ ดงั นัน้ ความหมายของส่งิ แวดล้อมจงึ หมายถึง ทุกสิ่งทกุ อย่างท่อี ยู่รอบตัวมนษุ ย์ทง้ั สงิ่ มชี ีวิตและไม้มชี ีวิต สิง่ ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมและนามธรรมที่มีอทิ ธพิ ลเกีย่ วโยงกัน เปน็ ปัจจัยในการเก้ือหนนุ ซง่ึ กนั และกนั และเปน็ วงจร และวัฎจกั รทเี่ กี่ยวโยงไปท้ังระบบ (คณาจารย์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร.2550)

-42- ประเภทของสิง่ แวดลอ้ ม สิง่ แวดล้อมจาแนกได้เปน็ 2 ประเภท คือ สง่ิ แวดล้อมทีเ่ กิดขึ้นตามธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมท่ีมนษุ ย์ สร้างขึน้ 1. สิ่งแวดล้อมทเี่ กิดข้นึ ตามธรรมชาติ (natural environment) หมายถึงทุกส่งิ ทกุ อย่างทีเ่ กดิ ข้นึ เอง ตามธรรมชาติ เช่น ดนิ น้า ปา่ ไม้ สัตว์ อากาศ ภเู ขา แมน่ า้ เป็นต้น มอี ทิ ธิพลกับการดาเนนิ ชีวิตของมนษุ ย์เปน็ อย่างมาก และมีความเก่ยี วข้องซึง่ กันและกัน ส่ิงแวดล้อมทเ่ี กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาตสิ ามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1.1 สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ หรือส่ิงแวดล้อมท่ไี ม่มีชีวิต (abiotic environment) หมายถึงสงิ่ ท่ี เกดิ ขึ้นโดยธรรมชาตริ อบ ๆ ตัวเรา อาจมองเห็นหรือไม่สามารถมองเห็นได้ ดังที่ วิชยั เทยี นน้อย (2539) ยกตวั อยา่ งไว้ว่า ลักษณะภมู ปิ ระเทศ เปน็ แบบหรือลักษณะรูปร่างของเปลือกโลกซ่ึงมรี ูปพรรณสัณฐานท่ี แตกต่างกนั ออกไป ไดแ้ ก่ ที่ราบ ทีร่ าบสูง ภเู ขา และเนินเขา ดนิ ดอนสามเหลยี่ มปากนา้ เกาะ ลุ่มนา้ และเนิน ตะกอนรปู พัด เปน็ ต้น ลักษณะภูมอิ ากาศ เปน็ สภาพของลมฟา้ อากาศท่เี กดิ ขน้ึ ในท้องทีใ่ ดท้องที่หน่ึงตดิ ต่อกัน เปน็ เวลานาน ประกอบด้วยอุณหภูมิ ความกดอากาศ ลม หยดนา้ และพายุ 1.2 สง่ิ แวดล้อมทางชีวภาพ (biotic environment) เป็นสง่ิ แวดล้อมทีเ่ กิดข้นึ เองตามธรรมชาติและ เป็นสิง่ มีชวี ติ มสี มบตั เิ ฉพาะตัวได้แก่ พชื สตั ว์ มนษุ ย์ ประกอบไปดว้ ยสง่ิ มีชีวิตขนาดเลก็ ไปจนถึงระดับชีวติ ขนาดใหญ่ เปน็ ต้น 2. สิ่งแวดล้อมทีม่ นุษย์สร้างขึ้น (man-made environment) หมายถึง ทุกส่งิ ทกุ อย่างที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ อาจเปน็ ส่ิงทีส่ ร้างข้ึน ให้เหน็ ได้ จบั ต้องได้ และอาจมองไม่เหน็ กไ็ ด้ เปน็ สง่ิ ทม่ี นุษย์สร้างข้ึน เพอื่ สนองต่อความ ต้องการของตนเองทง้ั โดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่งอาจเกดิ โดยมนษุ ยไ์ ม่ตั้งใจก็ไดส้ ่ิงแวดล้อมที่มนุษยส์ ร้างข้ึน แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 สง่ิ แวดล้อมที่เป็นรูปธรรม (concret environment) เป็นสง่ิ แวดล้อมที่มนษุ ย์สร้างข้ึน สามารถ มองเหน็ ได้ สร้างขนึ้ เพอ่ื อานายความสะดวกในการมชี วี ิตอยู่ บางอย่างกจ็ าเป็น บางอย่างก็ฟุ่มเฟือย เช่น บ้านเรือน ถนน สะพาน รถยนต์ เครื่องบิน วัด พ้นื ทเ่ี พาะปลูก เข่อื น ศูนยก์ ารค้า โรงงานอุตสาหกรรม เปน็ ต้น 2.2 ส่งิ แวดล้อมที่เป็นนามธรรม (abstract environment) หรือ สงิ่ แวดล้อมทางสงั คม หมายถึง สง่ิ แวดล้อมทม่ี นษุ ย์สร้างขน้ึ มาท้ังโดยตั้งใจและไม่ตงั้ ใจ เปน็ สงิ่ แวดล้อมที่ไมม่ ีตวั ตนไม่มรี ูปร่าง เป็นการสร้าง เพื่อความเปน็ ระเบยี บของการอยู่รว่ มกันในสังคม เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ ลทั ธกิ ารเมอื ง ระบบเศรษฐกิจ ความเช่ือ เป็นต้น

-43- ส่ิงแวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ มทเ่ี กดิ ขึ้น ส่ิงแวดลอ้ มทมี่ นษุ ย์ ตามธรรมชาติ สรา้ งข้นึ สิง่ แวดลอ้ มทาง สิ่งแวดล้อมทาง ส่งิ แวดล้อมที่เป็น ส่งิ แวดล้อมท่ีเป็น กายภาพ ชวี ภาพ รูปธรรม นามธรรม ภาพท่ี 4.6 แสดงแผนภาพแสดงประเภทของสิ่งแวดลอ้ ม สมบตั ิของสิ่งแวดล้อม (Environmental Properties) สมบัตขิ องสงิ่ แวดล้อม เป็นโครงสร้างทอี่ ยู่ในสง่ิ แวดล้อม เกษม จนั ทรแ์ ก้ว (2543) กลา่ วว่า สมบัตทิ าง สิ่งแวดล้อมมีศักยภาพและการแสดงออกของบทบาท ถ้าไม่มกี ารเปล่ียนแปลงใดๆ แล้วยอ่ มไม่ก่อให้เกิดปญั หา ต่อส่ิงแวดล้อมน้นั ซงึ่ มีรายละเอียดโดยสรุปดงั น้ี 1. สง่ิ แวดล้อมทกุ ชนิดมีเอกลักษณ์เฉพาะตวั ไม่ว่าจะอยู่ทใ่ี ดกต็ าม เอกลักษณ์ของสง่ิ แวดล้อม แตล่ ะ ชนดิ จะควบคุมเฉพาะตวั เอกลกั ษณ์ท่ีแสดงออกมานน้ั สามารถแบ่งออกได้ว่าเป็นอะไร เช่น ต้นไม้ นา้ ดนิ มนุษย์ สตั ว์ วถิ ชี วี ิต 2. ส่ิงแวดล้อมไม่อยู่โดดเดยี่ วในธรรมชาตแิ ต่จะมีส่ิงแวดล้อมอืน่ อยู่ดว้ ยเสมอ เช่น มนุษย์กับท่อี ยู่อาศัย ป่าไมต้ ้องการดนิ และน้า ปลาต้องการน้า มนุษย์กับสังคม ฯลฯ เพราะทุกสงิ่ ทุกอย่างจะมีสิ่งแวดล้อมมากมาย หลายอยา่ ง 3. ส่งิ แวดล้อมประเภทหนง่ึ ต้องการสิ่งแวดล้อมอื่นเสมอ อาจต้องการบางส่วนหรอื ทั้งหมดไปสร้าง พฤติกรรมร่วมกับตน เช่น ปลาต้องการนา้ สัตวต์ ้องการป่า ตน้ ไม้ต้องการดนิ และนา้ เพราะสงิ่ แวดล้อมทุกชนดิ ต้องการสงิ่ แวดล้อมอื่นๆ เพ่อื ให้ดารงชีวิตหรอื ดารงสภาพต่อไป 4. สิ่งแวดล้อมจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ซ่งึ การอยู่รวมกนั เปน็ กลุ่มเรียกว่าเปน็ ระบบนเิ วศ หรือระบบ สิ่งแวดล้อม ในระบบนเิ วศนน้ั จะมสี ิ่งแวดล้อมท่ีหลากหลายต่างทาหนา้ ทเี่ ฉพาะและมักจะมีกลไกควบคมุ เพื่อให้ การดาเนนิ กระบวนการต่างๆ ไดอ้ ย่างสมดลุ

-44- 5. สง่ิ แวดล้อมทั้งหลายมักมคี วามเกย่ี วข้องและสมั พนั ธต์ ่อกันและกันเป็นลูกโซ่ เช่น มนษุ ยต์ อ้ งการข้าว เพ่อื บริโภค ดินต้องการน้าเพ่ือการสร้างสารละลายและแลกเปลี่ยนประจเุ มื่อรากพชื ดดู ซับน้า ธาตุอาหารเหลา นน้ั กจ็ ะถูกใช้เพื่อการเจรญิ เติบโต ดังนนั้ การเปลีย่ นแปลงส่ิงแวดล้อมหน่งึ แล้วย่อมจะส่งผลต่ออกี ส่งิ แวดล้อม หนงึ่ หรอื สง่ิ แวดล้อมอนื่ ๆ เปน็ ลูกโซ่ตามมา 6. ส่ิงแวดล้อมมีความเปราะบาง แขง็ แกรง่ และทนทานแตกต่างกนั ความทนทานหรอื ความเปราะบาง ของสงิ่ แวดล้อมจะมปี ัจจยั ควบคมุ ไดแ้ ก่ คุณลกั ษณะเฉพาะ สถานทเ่ี กดิ ขนาด รปู ทรง อายุ/เวลา สี ความเปน็ เนอ้ื เดยี ว ฯลฯ เช่น ดนิ ในที่ราบมักถูกชะล้างหรือการกร่อนน้อยกว่าดินในพน้ื ที่ มคี วามลาดชนั สง่ิ แวดล้อมท่มี ี หลายบทบาทหน้าท่ีมกั มีความเปราะบางกว่าสิง่ แวดล้อมท่ีมบี ทบาทหน้าทนี่ อ้ ยกว่า 7. สง่ิ แวดล้อมมกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเปลีย่ นแปลงน้นั อาจเป็นรวดเรว็ อกี ชนิดหนง่ึ คอ่ ยเปน็ ค่อยไปแบบช่ัวคราวหรอื อาจเป็นถาวรก็ได้ กลไกส่งิ แวดล้อมจงึ มชี ีวติ เช่น เมืองจะค่อยๆ เติบโตขน้ึ เปน็ เมือง ใหญ่ มติ ิสิง่ แวดล้อม (Environmental Dimension) เกษม จนั ทร์แกว้ (2543) อธิบายความหมายและรายละเอียดเก่ียวกับมติ สิ ิ่งแวดล้อม ดงั นี้ มติ ิ (dimension) คอื ขนาด หรือส่ิงท่วี ัดได้ ซึ่งในการมองสง่ิ แวดล้อมใหเ้ ป็นมติ นิ ้นั เปน็ พ้นื ฐานในการนาไปสู่การให้ จานวนต่อสง่ิ แวดล้อมซง่ึ ต้องเปน็ โครงสร้างของสง่ิ แวดล้อมที่เป็นตัวแสดงมิติสามารถวัดขนาดได้การ เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง จะตอ้ งสามารถให้ขนาดของการเปลี่ยนแปลงนน้ั อีกทั้งต้องบอกให้ไดว้ า่ โครงสร้าง ทีป่ รากฏในปจั จบุ ัน แตกต่างจากภาวะธรรมชาติหรือคามาตรฐานอย่างไร ซง่ึ จะนาไปสู่การประเมินสถานภาพ และศักยภาพสง่ิ แวดล้อมได้ มิตสิ งิ่ แวดล้อมสามารถแบ่งได้ 4 มิตดิ ังนี้ 1. มติ ทิ างทรัพยากร คอื โครงสร้างของสงิ่ แวดล้อมท่แี สดงบทบาท หน้าทีท่ รัพยากรซ่งึ หมายถึง ทรัพยากรทเี่ ป็นธรรมชาตแิ ละทรัพยากรมนษุ ย์ท่ีสร้างข้นึ เป็นมิตทิ ส่ี าคญั ซง่ึ มีบทบาทต่อการดารงชวี ติ ของ มนษุ ย์ เปน็ ส่ิงทม่ี นุษยส์ ามารถบริโภคได้ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม ให้มนุษยส์ ะดวก ปลอดภยั มีความผาสุก ดงั น้นั มติ ิทางทรพั ยากรจึงแบ่งเปน็ 3 ประเภทคือ 1) ทรพั ยากรธรรมชาติ คอื ส่ิงต่าง ๆ ท่เี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาตแิ ละให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ 2) ทรัพยากรท่มี นษุ ยส์ ร้างข้นึ เป็นทรัพยากรที่มิได้เกดิ ขึน้ เอง ตามธรรมชาติ แตอ่ าจมีบางส่วนที่ เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาตแิ ละมนุษย์ได้ดัดแปลงให้เปลีย่ นรูปร่างหรือพฤติกรรมซ่งึ ประกอบด้วยกลุ่มทรัพยากร ชีวภาพ เช่น ทรัพยากรทางการเกษตร อุตสาหกรรม น้าประปา การชลประทาน เปน็ ต้น และกลุ่มทรัพยากร เศรษฐกจิ สังคม เช่น การศึกษา สขุ ภาพอนามยั การเมือง เศรษฐกิจ เป็นต้น

-45- 3) ทรพั ยากรทจี่ าแนกตามการจัดการ ได้แก่ กลมุ่ ทรัพยากรกายภาพ กลมุ่ ทรัพยากรชวี ภาพ กลุ่ม คณุ คา่ การใช้ประโยชนข์ องมนษุ ย์ เช่น เกษตรกรรม การส่ือสาร การชลประทาน การเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้า และ กลมุ่ คุณคา่ คุณภาพชวี ติ ไดแ้ ก่ การศึกษา สุขภาพอนามัย ความปลอดภัย วัฒนธรรม เปน็ ต้น 2. มติ ิทางของเสยี และมลพิษสิง่ แวดล้อม เมือ่ มกี ารใช้ทรัพยากรใดด้วยเทคโนโลยใี ดก็ตาม ยอ่ มมขี อง เสียหรอื มลภาวะเกดิ ขนึ้ เสมอ ของเสยี และมลพษิ สิ่งแวดล้อมแบง่ เปน็ 4 กลมุ่ ใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ 1) ของแข็งได้แก่ กากสารพิษ ฝุ่นละออง ขยะมูลฝอย 2) ของเหลว ไดแ้ ก่ ไขมัน นา้ มัน น้า 3) แก๊ส ไดแ้ ก่ อากาศทป่ี นเป้ือนด้วยสารพษิ เขม่าควนั ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ 4) กลมุ่ ของเสียและมลพิษทางความร้อน แสงสว่าง กัมมันตรังสี ลม เสียง อากาศและคุณภาพ อากาศ เป็นต้น 3. มิติมนุษย์หรอื เศรษฐกิจสังคม เปน็ มิตทิ ีเ่ กี่ยวข้องกบั มนุษยไ์ ด้สร้างพฤติกรรมของมนุษยต์ ่อ สภาพแวดล้อมท้ังระบบสิง่ แวดล้อมเดีย่ ว สงิ่ แวดล้อมเป็นกลุ่ม มติ ขิ องมนษุ ย์หรือเศรษฐกจิ สังคมประกอบด้วย 3.1 ประชากร ซึง่ มีทั้งจานวนและคณุ ภาพของประชากร จานวนประชากรมีผลต่อการบรโิ ภค ความ หนาแน่น ความเข้มขน้ ของของเสยี และมลพิษซ่งึ ถ้าสามารถควบคุมจานวนประชากรได้เท่ากับเปน็ การลด ปริมาณการบริโภคได้โดยตรง 3.2 การศกึ ษาเป็นตวั ปจั จัยแสดงคณุ ภาพประชากรต่อการอนุรกั ษส์ ิง่ แวดล้อมซึ่งเกีย่ วข้องกับการ เปลย่ี นแปลงของสิ่งแวดล้อม 3.3 การอนามัย เป็นตัวควบคุมทรพั ยากรทางตรงและทางอ้อม ซึ่งภาวะอนามยั ของมนุษยม์ ี ผลกระทบต่อบทบาทหน้าท่ีการทางาน ซ่ึงส่งผลถึงภาวะเศรษฐกจิ เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ เงินเก็บ เงนิ ออม แผนการพัฒนาเศรษฐกิจ ฯลฯ ซ่ึงสิง่ เหล่าน้ีมีผลทางตรงและทางอ้อมต่อการเปลย่ี นแปลงสง่ิ แวดล้อม ในระบบ 3.4 โบราณสถาน สถานทีป่ ระวัติศาสตร์และศาสนา การมีพธิ ีกรรมปกติจะมีผลต่อความ ละเอียดอ่อนในการอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมการสืบทอดของสถานที่ประวตั ิศาสตร์ ศาสน์สถาน และโบราณสถาน เปน็ ส่วนสาคญั ในการขัดเกลาให้มนุษย์คิดถงึ สิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเปน็ ในทางบวกหรือทางลบได้ 3.5 ความปลอดภยั เปน็ ตัวดชั นสี าคัญในการทาหนา้ ท่ีถูกต้อง ความไม่เป็นอสิ ระ ความปลอดภยั ทา ให้มนุษย์แสดงบทบาทของตนเองได้ไมเ่ ต็มที่ ย่อมก่อให้เกิดปัญหาทางสงั คมตามมา 3.6 การเมืองการปกครอง การปกครองมีส่วนต่อการอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม การอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อมต้อง อาศยั ความหลากหลายทางความคิดและการปฏิบตั ิ การเมืองการปกครองท่ีไม่เอ้ือต่อสิง่ เหล่านีย้ ่อมมีผลต่อ ปัญหาสงิ่ แวดล้อมแนน่ อน

-46- 3.7 การนนั ทนาการเป็นการสร้างพลงั ให้กบั มนุษย์ให้หายจากความเครียด ซงึ่ มนุษยม์ กี าร นันทนาการท่ีดีมักเปน็ บุคคลท่ีมีความละเอยี ดอ่อนทางสงิ่ แวดล้อม นอกจากนี้แล้วจะมผี ลต่อเศรษฐกิจและการ เปลย่ี นแปลงของส่ิงแวดล้อมในมมุ กว้างอีกดว้ ย 4. มิติทางเทคโนโลยี เปน็ มิติท่ีมบี ทบาทและความสาคัญต่อการใช้ทรัพยากรและอาจส่งผลกระทบต่อ สง่ิ แวดล้อมอย่างมาก เน่อื งจากมนุษย์มคี วามจาเป็นต้องนาทรพั ยากรมาสนองความต้องการของตนเอง โดยนา เทคโนโลยีหลากหลายรูปแบบมาประกอบ ซง่ึ การนาเทคโนโลยที ไ่ี ม่เหมาะสม หรอื ไม่ถูกต้องตามหลักการมาใช้ ย่อมก่อให้เกิดผลเสยี ต่อทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม (เกษม จนั ทรแ์ กว้ .2543) จนมีคากล่าวว่า “มนษุ ยเ์ ปน็ ตัวการสาคัญในการทาลายธรรมชาติและสภาวะแวดล้อม โดยมเี ทคโนโลยเี ปน็ ตวั เร่ง” จงึ มคี วามจาเป็นต้อง พิจารณาทิศทางของการพฒั นาเทคโนโลยใี ห้มีลักษณะท่เี อื้อประโยชนแ์ ก่กนั ท้ังฝ่ายอนุรักษแ์ ละฝ่ายพัฒนา (win-win concept) เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างย่งั ยืนทางออกดังกล่าวได้แก่ การพัฒนาเทคโนโลยีท่เี หมาะสม ซงึ่ หมายถงึ การนาวิธกี ารหรือเครื่องมือท่ีซบั ซ้อนมาใช้เพื่อให้เกดิ ประโยชนอ์ ย่างเหมาะสมกบั ทรัพยากรภาพ แวดล้อมสภาพสังคมและเศรษฐกิจ วฒั นธรรมและการศึกษา ซึง่ เทคโนโลยที เี่ ปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อมหรือ เทคโนโลยสี ง่ิ แวดล้อมก็เปน็ อีกหนึ่งทางเลือกท่ีมคี วามสาคัญ อย่างยิ่ง นเิ วศเศรษฐกิจ (Ecological Efficiency หรอื Eco-Efficiency) นิเวศเศรษฐกิจเป็นแนวคดิ ริเร่ิมโดย World Business Council for Sustainable Development (WBCSD) ในปี ค.ศ.1992 เพ่ือพฒั นาเทคโนโลยที ี่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอนั เป็นเคร่ืองมือการจัดการให้ภาค ธุรกจิ มีศกั ยภาพในการแข่งขันมากขึ้น มีนวัตกรรมมากข้ึน และรบั ผดิ ชอบต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดล้อมมากข้นึ ซึ่งหลกั การของแนวคิดด้านประสิทธภิ าพเชงิ นิเวศเศรษฐกจิ ได้รบั การยอมรับอย่างเปน็ ทางการในการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม “Earth Summit” ของสหประชาชาติในปี ค.ศ.1992 การ ดาเนินงานของธรุ กจิ หรอื องค์กรใดกต็ ามที่มปี ระสิทธิภาพเชงิ นิเวศเศรษฐกิจ หมายถึง การมีศักยภาพในการ ผลิตและการบริการในราคาท่ีแข่งขนั ได้โดยสามารถสนองความต้องการของมนุษย์และนามาซงึ่ คุณภาพชวี ติ ใน ขณะเดยี วกันก็สามารถลดผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตติ ลอดอายุของผลิตภณั ฑ์นน้ั ใน ระดบั ท่สี อดคล้องกับความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ (carrying capacity) แนวคิดดา้ นนเิ วศ เศรษฐกจิ ให้ความสาคัญเริ่มจากประเด็นของเศรษฐกจิ ก่อน โดยการดาเนินงานเพ่ือเพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจ จะก่อให้เกิดประโยชนต์ ่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม WBCSD ไดก้ าหนดแนวทางทเ่ี ปน็ ปัจจัยแห่ง ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานด้านนิเวศเศรษฐกจิ ไว้ 7 ประการ ดงั นี้ 1. ลดการใช้วัสดใุ นการผลิตและการบริการ 2. ลดการใช้พลงั งานในการผลิตและการใช้บริการ 3. ลดการระบายสารพิษ

-47- 4. เสรมิ สร้างศกั ยภาพการนาวัสดกุ ลับมาใช้ใหม่ 5. ใช้ประโยชนส์ งู สุดด้วยความยง่ั ยนื จากทรัพยากรหมุนเวียน 6. เพ่ิมอายุของผลิตภัณฑ์ 7. เพิม่ ระดบั การให้บริการแก่ผลติ ภัณฑ์และเสริมสร้างธุรกิจบรกิ าร แนวคดิ เหล่านชี้ ่วยเสรมิ สร้างความสาเร็จของหลกั การ “การผลติ ท่สี ะอาด” ซ่ึงมงุ่ สู่การผลิตและการ บริโภคในรูปแบบทีย่ ง่ั ยืน การผลติ ทสี่ ะอาด (Cleaner Production หรือ CP) การผลติ ทสี่ ะอาดเป็นหลกั การทใ่ี ช้เทคโนโลยที ีเ่ ป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อมเพ่ือการพัฒนา มชี อ่ื อ่ืน ๆ ทมี่ ี ความหมายใกล้เคยี งกันแล้วแต่ความนิยมของผู้ใช้ ไดแ้ ก่ การป้องกันมลพษิ (Pollution Prevention หรอื P2) การลดของเสียให้น้อยที่สดุ (Waste Minimization) และเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology หรอื CT) การผลิตท่ีสะอาดเป็นแนวคิดริเริ่มโดยโครงการส่ิงแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Program-UNEP) ในปี ค.ศ. 1989 หมายถึงการประยุกตใ์ ช้กลยทุ ธก์ ารป้องกนั แบบบูรณาการ อย่างต่อเนอื่ งในกระบวนการการผลติ ผลิตภัณฑแ์ ละการบริการเพื่อปอู งกนั หรือลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ลดความเสย่ี งของมนุษย์และเพิม่ ประสิทธภิ าพเชงิ นเิ วศเศรษฐกจิ โดยครอบคลมุ แนวคดิ หลัก 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1. กระบวนการผลติ ท่ีสามารถอนรุ ักษว์ ตั ถุดิบและพลงั งาน ขจดั วัตถุดบิ ท่มี ีสารพิษ ลดปรมิ าณและ ความเป็นพิษของกระบวนการระบายของเสีย 2. ผลิตภัณฑท์ ีส่ ามารถลดผลกระทบทางลบต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมตลอดอายุของ การใช้งานต้ังแต่จากสภาพวตั ถุดิบจนถงึ ข้ันหมดอายกุ ารใช้งานทต่ี อ้ งกาจดั ต่อไป 3. ธรุ กจิ บริการท่รี วมความห่วงใยในสิง่ แวดล้อมเข้าไปไว้ในการออกแบบและดาเนนิ การ การผลิตทีส่ ะอาดเป็นวิธที ี่สามารถส่งเสรมิ ผลผลิตและการบริการให้มปี ระสทิ ธิภาพสูงขึ้นโดยใช้วตั ถุดบิ น้อยลง อนั เป็นการประหยดั ค่าใช้จา่ ยในการผลิตและลดภาระค่าใช้จา่ ยในการบาบดั ของเสีย รวมทงั้ ยังเป็นการลด ผลกระทบดา้ นส่งิ แวดล้อม เนื่องจากลดการใช้พลงั งาน วัตถุดบิ และทรัพยากรธรรมชาติ โดยผลผลิตท่ไี ด้ไม่ น้อยลงหรอื มากย่งิ ขึ้นซงึ่ จะส่งผลดตี ่อการดาเนินธุรกิจ แนวคดิ ของการผลติ ท่ีสะอาดให้ความสาคญั เร่ิมต้นจาก ประเดน็ ของส่งิ แวดล้อมก่อนโดยการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสทิ ธิผลด้านส่งิ แวดล้อม จะก่อให้เกิดประโยชนต์ ่อ การเพ่ิมผลผลติ ในภาคเศรษฐกิจ คอื มีความคุ่มคา่ ทางเศรษฐศาสตร์และมีความยั่งยนื ทางส่ิงแวดล้อมดว้ ย หลักการท่วี ่าการเพม่ิ ประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกจิ และการผลิตท่ีสะอาดจะสามารถปกป้องส่ิงแวดล้อมได้ใน ขณะเดียวกนั กจ็ ะช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการผลิต ช่วยให้กระบวนการผลิตมีประสทิ ธิภาพเพมิ่ ข้นึ ให้ผลกาไร มากกว่าและลดผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมดว้ ย สาหรับภาคอุตสาหกรรมและสง่ิ แวดล้อมของประเทศ การผลติ ท่ี

-48- สะอาดจะประสบความสาเรจ็ ได้นน้ั ต้องการ การปรับเปล่ียนทศั นคติสู่การจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างมคี วาม รับผดิ ชอบ การกาหนดนโยบายระดบั ชาติทสี่ ามารถบงั เกิดผลในทางปฏบิ ตั แิ ละการประเมินทางเลอื กของ เทคโนโลยี (ศนู ย์เครือข่ายการดาเนินงานด้านนิเวศเศรษฐกิจและการผลติ ที่สะอาด ม.ป.ป.) ปัญหาสง่ิ แวดล้อมและมลพิษส่ิงแวดล้อม ความหมายของปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม 1. ปัญหาทเ่ี กิดขึ้นจาการใช้ทรพั ยากรของมนษุ ย์อย่างไม่ประหยัดและขาดความรบั ผิดชอบกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหามลพิษและปัญหาอนื่ ๆ ซง่ึ เป็นภาวการณ์ที่กระทบกระเทือนตอ่ คนจานวนมากซ่ึงภาวการณด์ งั กลา่ วไม่ เปน็ ทพ่ี ึงปรารถนาและควรมกี ารกระทาบางอย่างเพ่ือแก้ไขปรับปรุงให้ดีข้นึ 2. ปญั หาเสื่อมโทรมของสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติทงั้ ทเ่ี ป็นทรพั ยากรธรรมชาติ เช่น ปา่ ไม้ ดิน แรธ่ าตุ สตั ว์ และพชื และปัญหาเส่ือมโทรมของคุณคา่ ส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั มนษุ ย์เชน่ ดนิ นา้ อากาศ เป็นต้น รวมถึง ปญั หาความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศตามธรรมชาติ ตลอดจนปญั หาการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นส่งิ แวดลอ้ มทาง เศรษฐกิจและสังคมอนั มีสาเหตมุ าจากการกระทาของมนุษย์ ลักษณะปัญหาสงิ่ แวดล้อมตามการให้นิยามของ สานกั งานคณะกรรมการ สิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ แบ่งเปน็ 1. ปญั หาส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ไดแ้ ก่ - ภาวะมลพิษ - ปญั หาความรอ่ ยหรอของทรัพยากร - ปัญหาการใชท้ รพั ยากรไม่ถูกวธิ ี ขาดการอนุรักษ์ 2. ปัญหาสิง่ แวดลอ้ มทางสังคม ไดแ้ ก่ - ปัญหาความยากจน - ความขาดแคลนอาหาร - ท่อี ยูอ่ าศยั – ความไม่รู้หนังสือ - ความเจ็บไข้ ฯลฯ 3.สาเหตขุ องปญั หาสิ่งแวดล้อม 3.1) ปญั หาประชากร 1) การเพม่ิ จานวนประชากร 2) ขยายตัวทางเศรษฐกจิ และเทคโนโลยี เทคโนโลยีทที่ าให้เกดิ ปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม ได้แก่

-49- (1) ดา้ นการเกษตรการใช้ปุ๋ยและยาฆา่ แมลง (2) ดา้ นอุตสาหกรรมเน่ืองจากการใชเ้ ครื่องจักรแทนคนก่อให้เกิด- ปัญหาวา่ งงาน - ขาด แคลนทรัพยากร (3) ดา้ นคมนาคม ความสะดวกสบายในการคมนาคมทาใหเ้ กิดการจราจรตดิ ขดั จากมี ปริมาณการใชม้ าก (4) สารกมั มันตภาพรังสี ซ่งึ นามาใชใ้ นการถนอมอาหาร การสงคราม 3.2) การขยายตัวของเมอื ง เกิดจากภาวะหรอื ปัจจัยทางสังคมท่ผี ลักดนั ให้คนสว่ นใหญเ่ กาะกลมุ่ กันเข้ามาอย่ใู นเขตเมือง ภาวะดงั กล่าวได้แก่ 1) แรงดงึ เปน็ ลักษณะที่พิจารณาได้จาก ความก้าวหน้าในการตดิ ต่อส่ือสาร การศึกษา เศรษฐกิจ ความสะดวกสบาย รายไดต้ ่อหัวของคนในเขตเมืองท่ีมสี ูงกว่า จงึ เป็นแรงดึงดูดคนจากชนบทซึ่งมี โอกาสด้อยกว่า เข้ามาสู่เมอื งมากขน้ึ 2) แรงดัน เป็นลักษณะที่พจิ ารณาได้จากสภาพ ปญั หาในชนบท เช่น ความยากจน จากการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ต้องอาศัยสภาพภมู ิอากาศ ปริมาณนา้ ฝน การขยายตวั ทางเศรษฐกิจได้รบั การ ส่งเสริมไม่เพียงพอ จงึ เสมือนเปน็ แรงผลกั ดนั ให้ออกจากชนบทเข้าสู่เมืองเพือ่ แสวงหาโอกาสท่ีดกี วา่ 3.3) สภาพการใช้ที่ดินไมเ่ หมาะสม พบว่าการเพิ่มขน้ึ ของประชากรและสาเหตุการเกดิ ปัญหา ส่ิงแวดล้อมอ่นื ได้กอ่ ให้เกดิ สภาพการใช้ท่ีดนิ ไม่เหมาะสม เพราะขาดการควบคุมการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ิน ซง่ึ บาง พ้นื ท่ีเหมาะแก่การเพาะปลูก แต่ถกู สภาพการเปน็ เมอื งเขา้ ก่อสร้างซ้อนทับ มผี ลทาใหต้ ้องแสวงหาพ้ืนท่ที า การเกษตรใหม่ โดยบุกรุกพื้นทีป่ า่ 3.4) การใช้เทคโนโลยีไม่เหมาะสม ได้แกก่ ารใชส้ ารเคมีในการเกษตรและอตุ สาหกรรมรวมถึงการ ใช้เทคโนโลยีที่ไม่ถูกวิธี ย่อมส่งผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม นอกจากนี้การใชเ้ ทคโนโลยีทาใหส้ ามารถทาลาย ทรพั ยากรได้เปน็ จานวนมาก ทาให้ระบบนเิ วศถูกทาลายอย่างรวดเรว็ การนาปะการังเก็บขึน้ มาทาเปน็ สนิ ค้าที่ ระลึก ทาใหส้ ตั ว์นา้ ไม่มีทีอ่ ยู่อาศัย คณุ ภาพดินเส่อื มจากสารเคมที ่ีใชใ้ นการเกษตรและปุ๋ยเคมีในระยะเวลานาน อยา่ งต่อเน่ืองhttp://rmupt-environment.blogspot.com/2009/08/blog-post_4816.html สรปุ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม มคี วามสมั พนั ธก์ ันอยา่ งใกลช้ ดิ ตา่ งกันที่สิ่งแวดล้อมน้นั รวมทุกสงิ่ ทุกอย่างทป่ี รากฎอย่รู อบตวั เรา ส่วนทรพั ยากรธรรมชาติเน้นสิง่ ที่อานวยประโยชนแ์ ก่มนุษย์มากกว่าส่ิงอ่นื ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาตแิ บง่ ตามลักษณะทนี่ ามาใช้ได้ 2 ประเภท ใหญ่ ๆ คอื

-50- 1. ทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทใช้แลว้ ไม่หมดสิ้น ได้แก่ 1) ประเภทท่ีคงอยตู่ ามสภาพเดมิ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เชน่ พลงั งาน จากดวงอาทติ ย์ ลม อากาศ ฝนุ่ ใชเ้ ทา่ ไรก็ไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงไม่รจู้ ักหมด 2) ประเภทท่ีมกี ารเปล่ียนแปลงได้ เน่อื งจากถูกใชใ้ นทางท่ีผิด เชน่ ท่ดี นิ น้า ลกั ษณะภมู ิประเทศ ฯลฯ ถ้าใช้ไมเ่ ปน็ จะก่อให้เกดิ ปัญหาตามมา ไดแ้ ก่ การปลูกพืชชนิดเดียวกนั ซ้า ๆ ซาก ๆ ในทีเ่ ดมิ ย่อมทาให้ ดนิ เสอ่ื มคุณภาพ ได้ผลผลติ นอ้ ยลงถา้ ต้องการให้ดินมีคณุ ภาพดีต้องใส่ปยุ๋ หรือปลกู พชื สลับและหมุนเวยี น 2. ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทใชแ้ ล้วหมดส้นิ ไป ไดแ้ ก่ 1) ประเภทที่ใช้แลว้ หมดไป แตส่ ามารถรักษาใหค้ งสภาพเดิมไวไ้ ด้ เชน่ ปา่ ไม้ สตั วป์ า่ ประชากรโลก ความอุดมสมบรู ณ์ของดิน น้าเสยี จากโรงงาน นา้ ในดิน ปลาบางชนดิ ทัศนียภาพอนั งดงาม ฯลฯ ซ่งึ อาจทาให้ เกิดขน้ึ ใหม่ได้ 2) ประเภทที่ไม่อาจทาใหม้ ีใหมไ่ ด้ เช่น คุณสมบัตธิ รรมชาตขิ องดนิ พร สวรรค์ของมนุษย์ สติปญั ญา เผา่ พันธข์ุ องมนุษย์ชาติ ไม้พุ่ม ต้นไม้ใหญ่ ดอกไม้ปา่ สตั ว์บก สตั วน์ ้า ฯลฯ 3) ประเภทท่ีไม่อาจรักษาไว้ได้ เมอ่ื ใช้แล้วหมดไป แตย่ ังสามารถนามายบุ ให้ กลับเป็นวตั ถเุ ช่นเดิม แลว้ นากลบั มาประดิษฐ์ขึ้นใหม่ เชน่ โลหะต่าง ๆ สงั กะสี ทองแดง เงนิ ทองคา ฯลฯ 4) ประเภทท่ีใช้แลว้ หมดส้นิ ไปนากลับมาใช้อีกไมไ่ ด้ เชน่ ถา่ นหนิ นา้ มันก๊าซ อโลหะสว่ นใหญ่ ฯลฯ ถูกนามาใช้เพียงครงั้ เดียวก็เผาไหมห้ มดไป ไมส่ ามารถนามาใชใ้ หมไ่ ด้ ทรพั ยากรธรรมชาติหลกั ทส่ี าคัญของโลก และของประเทศไทยไดแ้ ก่ ดนิ ปา่ ไม้ สตั ว์ป่า น้า แรธ่ าตุ และประชากร (มนุษย)์ สิง่ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ มของมนุษย์ท่อี ย่รู อบ ๆ ตวั ทงั้ สิ่งท่ีมีชวี ิตและไมม่ ชี วี ติ ซง่ึ เกดิ จาก การกระทา ของมนุษยแ์ บง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ 2. ส่งิ แวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสง่ิ แวดลอ้ มประดิษฐ์ หรือมนุษย์เสรมิ สร้างกาหนดขึ้น ส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาติ จาแนกได้ 2 ชนิด คอื 1) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ไดแ้ ก่ อากาศ ดนิ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะ ภมู ิอากาศ ทศั นียภาพ ตา่ งๆ ภเู ขา ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและทรัพยากรธรรมชาติทุกชนดิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook