Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Technology

Technology

Published by nattapon10515, 2020-03-30 04:29:34

Description: Technology

Search

Read the Text Version

-51- 2) สงิ่ แวดลอ้ มทางชีวภาพหรือชีวภูมศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ พืชพนั ธุ์ธรรมชาติตา่ ง ๆ สตั วป์ ่า ปา่ ไม้ สง่ิ มีชวี ิต อื่นๆ ท่ีอย่รู อบตวั เราและมวลมนุษย์ สิง่ แวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรอื มนษุ ยเ์ สรมิ สรา้ งขึ้น ได้แก่ สงิ่ แวดลอ้ มทาง สังคมท่มี นุษยเ์ สริมสร้างขึน้ โดยใช้กลวธิ ีสมัยใหม่ ตามความเหมาะสมของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม เชน่ เคร่ืองจกั ร เครื่องยนต์ รถยนต์ พดั ลม โทรทศั น์ วิทยุ ฝนเทียม เข่ือน บา้ นเรือน โบราณสถาน โบราณวัตถุอืน่ ๆ ได้แก่ อาหาร เคร่ืองนงุ่ หม่ ท่อี ยู่อาศัย คา่ นยิ ม และสขุ ภาพอนามยั ส่งิ แวดล้อมมีการเปลย่ี นแปลงอยูเ่ สมอ ซึ่งเกิดจากสาเหตุ 2 ประการ คือ 1) มนษุ ย์ 2) ธรรมชาติแวดล้อม มนุษย์ เป็นตัวการเปลยี่ นแปลงสงั คมเพ่ือผลประโยชนข์ องตนเอง มากกวา่ ส่ิง อ่ืน เช่น ชอบจบั ปลาในฤดูวางไข่ ใชเ้ ครือ่ งมือถ่ีเกินไปทาให้ปลาเล็ก ๆ ตดิ มาด้วย ลกั ลอบตัดไม้ทาลายป่า เพ่ือ นามาสร้างที่อย่อู าศัย สง่ เป็นสนิ คา้ หรอื เพื่อใช้พืน้ ท่ีเพาะปลกู ปลอ่ ยของเสยี จากโรงงานและไอเสียจากรถยนต์ ทาใหส้ งิ่ แวดลอ้ มเปน็ พิษ (น้าเน่า อากาศเสีย) ธรรมชาติแวดล้อม สว่ นใหญ่มีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งช้า ๆ เช่น แมน่ า้ ที่พัดพาตะกอนไปทับถมบริเวณ น้าทว่ ม และปากแม่นา้ ต้องใช้เวลานานจงึ จะมีตะกอนมาก การกัดเซาะพังทลายของดนิ ก็เช่นเดียวกัน สว่ นการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วน้ันเกิดจากแรงภายในโลก เช่น แผ่นดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ อ่ืนๆ ได้แก่ อุทกภยั และ วาตภยั ไฟปา่ เป็นตน้ ซ่งึ ภยั ธรรมชาตดิ ังกล่าวจะไมเ่ กิดบอ่ ยครง้ั นกั

-52- คาถามท้ายบท 1. นกั ศึกษาจงอธิบาย ความหมายของ “ทรัพยากรธรรมชาติ”มาใหล้ ะเอียด 2. กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสิง่ แวดล้อม แบ่งประเภทของทรพั ยากรธรรมชาตไิ ว้ก่ีประเภท นักศึกษาจง อธบิ ายว่าแตล่ ะประเภทเป็นอย่างไร 3. ให้นักศึกษาอธบิ ายป่าไมท้ ม่ี ีคุณคา่ ทางเศรษฐกจิ สูง และยกตวั อยา่ งพนั ธ์ุไม้ มา 3 ชนิด 4. จงให้ความหมายของส่ิงแวดล้อม มาให้ละเอียด 5. สงิ่ แวดล้อมที่เกิดขนึ้ ตามธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมท่มี นุษยส์ ร้างขนึ้ แตกต่างกันอยา่ งไรให้นกั ศึกษา อธิบาย 6. ให้นักศึกษาอธบิ ายสมบัตทิ างส่ิงแวดลอ้ มมีอะไรบ้าง 7. การประเมินสถานภาพและศักยภาพมิติของส่ิงแวดล้อมมอี ะไรบา้ ง จงอธิบาย 8. World Business Council for Sustainable Development (WBCSD) ได้กาหนดแนวทางท่ีเป็น ปัจจยั แห่งความสาเร็จของการดาเนนิ งานด้านนิเวศเศรษฐกิจไว้กป่ี ระการอะไรบ้าง 9. การผลิตทสี่ ะอาดเปน็ หลักการทใ่ี ช้เทคโนโลยที ี่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาลดความเสีย่ ง ของมนษุ ย์และเพ่ิมประสทิ ธิภาพเชงิ นิเวศเศรษฐกิจโดยครอบคลมุ แนวคิดหลัก อยกู่ ปี่ ระการอะไรบ้าง 10.จงอธิบายองค์ประกอบเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืนวา่ มีความสัมพนั ธก์ นั อย่างไร 11.จงอธิบายแนวทางในการปฏบิ ัตทิ ีจ่ ะไปส่กู ารพัฒนาสิ่งแวดล้อมทีย่ ัง่ ยนื 12.ลักษณะปญั หาสิ่งแวดล้อมตามการใหน้ ิยามของ “สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาติ” มีอะไรบา้ ง จงอธบิ ายมาใหล้ ะเอยี ด

-53- บทที่ 5 เทคโนโลยกี บั การเผยแพรศ่ าสนาและวัฒนธรรม ความหมายของเทคโนโลยี ศาสนาและวฒั นธรรม 1. ศาสนาคอื อะไร ความเช่อื ในส่งิ ศกั ดิ์สิทธิ์ ส่ิงเหนือธรรมชาติ ในหลกั อภปิ รัชญาว่าทุกสรรพสงิ่ เกดิ ข้ึนมาดารงอยูแ่ ละจะ เป็นเช่นไรตอ่ ไป มหี ลกั การ สถาบัน หรอื ประเพณี ทเี่ ปน็ ที่เคารพโดยทั่วไป แล้วอาจกล่าวไดว้ ่า ศาสนาเปน็ สงิ่ ทคี่ วบคมุ และประสานความสมั พันธข์ องมนุษย์ ให้อยู่ร่วมกนั ได้อยา่ งปกตสิ ขุ คือ ใหม้ หี ลักการ คา่ นยิ ม วัฒนธรรมร่วมกันและวถิ ีทางทม่ี นษุ ยเ์ ลือกใช้ในการดารงชีวติ ใหส้ งั คมเปน็ หน่งึ เดยี วกัน มแี นวทางไปในทิศทาง เดยี วกนั ดว้ ยหลักจริยธรรม คณุ ธรรม ศีลธรรมท่เี ป็นบรรทัดฐานเดียวกนั มคี วามเชือ่ ว่าศาสนานัน้ เกดิ มาจาก ความต้องการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ นบั แตอ่ ดตี มนุษยจ์ ะสงสัยวา่ ส่ิงต่างๆ เกิดขนึ้ มาได้อย่างไร ทาไม ตอ้ งเกิดข้ึน จะเปลย่ี นแปลงไดห้ รือไม่ เปล่ียนแปลงแล้วจะเกิดผลอะไรต่อมาอีก จนนามาสู่การคน้ หาแนวทาง ต่างๆเพื่อตอบปญั หาเหล่าน้ี จนนามาเปน็ ความเชื่อและเลื่อมใส ตัวอย่างเช่นศาสนาพทุ ธ เกดิ จากเจา้ ชาย สทิ ธตั ถะทรงเหน็ ความทุกข์ จึงทรงหาแนวทางให้หลุดพ้นจากความทุกข์ ด้วยวธิ ีการต่างๆ นาๆ จนทรงค้นพบ อรยิ สัจ 4 ดว้ ยวิธีท่ี เป็นการฝึกจิตดว้ ยสติจนถงึ ซึ่งความรู้แจ้ง ในสรรพสิง่ และความดบั ความทุกข์ ทรงตรัสรู้ เปน็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าดบั สิ้นซ่ึงกิเลส ทรงสอนให้มนุษย์ ใหท้ าบุญ รกั ษาศีลและภาวนา เพ่อื จะได้เปน็ แนวทางในการพ้นทุกข์ของมหาชน อยา่ งไรก็ตาม ในการศึกษาในปัจจุบนั 2. วฒั นธรรมคืออะไร รูปแบบของกิจกรรมมนษุ ย์และโครงสรา้ งเชงิ สัญลักษณท์ ่ีทาให้กิจกรรมน้นั เด่นชดั และมีความสาคัญ วิถกี ารดาเนนิ ชีวิต ซึ่งเปน็ พฤติกรรมและสง่ิ ท่ีคนในหม่ผู ลติ สร้างข้ึน ดว้ ยการเรยี นรูจ้ ากกันและกนั และร่วมใช้ อยใู่ นหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงไดต้ ามยคุ สมัย และ ความเหมาะสม วัฒนธรรมส่วนหนึง่ สามารถ แสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผกู้ ล่าว ว่าวัฒนธรรมคือเรื่องทวี่ ่าด้วยการบรโิ ภคและสนิ ค้าบรโิ ภค เชน่ วฒั นธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดบั ต่า วฒั นธรรมพ้นื บ้านหรือวฒั นธรรมนิยม เป็นต้น แต่นกั มานุษยวทิ ยาโดยทวั่ ไปมักกลา่ วถึงวฒั นธรรมว่า มิได้เปน็ เพยี งสินคา้ บริโภค แต่หมายรวมถงึ กระบวนการในการผลติ สนิ ค้าและการใหค้ วามหมายแกส่ ินค้าน้นั ๆ ดว้ ย ทั้ง ยังรวมไปถึงความสัมพันธท์ างสงั คมและแนวการปฏิบตั ิที่ทาใหว้ ตั ถุและกระบวนการผลติ หลอมรวมอยดู่ ้วยกนั ในสายตาของนักมานุษยวทิ ยาจึงรวมไปถงึ เทคโนโลยี ศิลปะ วทิ ยาศาสตรร์ วมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมใน ภูมภิ าคตา่ ง ๆ อาจได้รบั อิทธพิ ลจากการตดิ ต่อกบั ภูมิภาคอ่ืน เชน่ การเป็นอาณานิคม การคา้ ขาย การย้ายถน่ิ

-54- ฐาน การส่อื สารมวลชนและศาสนา อีกท้งั ระบบความเช่อื ไม่วา่ จะเป็นเรอื่ งศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมใน ประวัตศิ าสตรข์ องมนุษยชาติมาโดยตลอด เทคโนโลยกี ับการเผยแพร่ศาสนาและวฒั นธรรมเม่ือนามารวมกนั ย่อม การใชเ้ ทคโนโลยีเพอื่ ทาใหเ้ กิด การพฒั นาและเผยแพร่ในเรอื่ งศาสนาและวฒั นธรรม ซงึ่ วฒั นธรรมและวฒั นธรรมเป็นสงิ่ ทเี่ กี่ยวข้องกันโดยไม่ สามารถแยกออกจากกันได้ โดยวัฒนธรรมส่วนใหญไ่ ดร้ ับอิทธพิ ลมาจากความเช่อื ในแตล่ ะศาสนา การใช้ เทคโนโลยเี ป็นอกี เคร่ืองมอื ที่ช่วยให้การเผยแพร่ศาสนาและวฒั นธรรมออกไปได้ไกลข้ึนแพรห่ ลายขน้ึ และเปน็ การเผยแพร่ทเี่ ป็นข้อมลู อนั เป็นจรงิ ไม่ไดถ้ ูกแต่งเติมใหผ้ ิดเพี้ยนจากจดุ ประสงคข์ องผูเ้ ผยแพรซ่ ึ่งในปัจจุบนั มี การตอ่ ยอดจากคาว่าเทคโนโลยที าใหก้ ลายเปน็ เทคโนโลยสี ารสนเทศซ่ึงได้รวบรวมเทคโนโลยีในการจดั การ ข้อมูลและกระบวนการในการส่งข้อมูลหรือทีเ่ ราเรยี กว่าการส่อื สารเป็นองคค์ วามรู้ใหม่ที่ช่วยใหเ้ ทคโนโลยใี น การเผยแพร่เปน็ ระบบและมาตรฐานยิ่งข้ึนตวั อยา่ งการใช้เทคโนโลยีในการเผยแพรศ่ าสนาและวัฒนธรรม เช่น การทาวโี อเผยแพรพ่ ระธรรมคาส่ังสอนของพระสงฆใ์ นพระพุทธศาสนา การใช้เว็บไซตเ์ ผยแผป่ ระวตั ขิ องพระ เยซคู รสิ ตใ์ นศาสนาครสิ ต์ และการทาสารคดวี ิถีชวี ติ และวัฒนธรรมประเพณีสงกรานต์ในประเทศไทยและ เผยแพรอ่ อกทางช่องรายการในโทรทศั น์ เปน็ ต้น เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การเผยแผ่พระพุทธศาสนา อ้างอิงจากบทความของ พระมหาบุญไทย ปุญญมโน (ป.ธ.๗) หัวหนา้ กองกลาง มหาวิทยาลยั มหามกุฏ ราชวทิ ยาลยั ส่วนหนง่ึ ของเนอื้ หากล่าวว่า หากสังคมพระพุทธศาสนามีการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อินเทอรเ์ นต็ อย่างกว้างขวางและมีกฎระเบียบท่ชี ดั เจน กจ็ ะทาใหม้ กี ารเผยแผ่พระพุทธศกึ ษาสามารถมอี ยู่ใน ทกุ ที่ ทุกเวลา ทุกคนสามารถศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาได้ทางอินเทอรเ์ น็ตในรปู แบบของ e-learning หรอื การ เรียนแบบออนไลน์ m-Learning หรอื Mobile-Learning เป็นการเรียนผา่ นโทรศัพท์มือถือ เปน็ ตน้ สามารถ ศึกษาไดต้ ลอดเวลาท่ีมมี ือถือ และเข้าระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตได้ นอกจากนั้นคณะสงฆส์ ามารถถ่ายทอดสด การแสดงธรรม การประชมุ องค์กรทางพระพุทธศาสนาไปทั่วโลก มีเวบ็ ไซตท์ างพระพทุ ธศาสนาแพร่กระจาย มากยงิ่ ข้นึ มอี งค์กรของคณะสงฆไ์ ทยดูแลการใช้อินเทอร์เน็ต และมีระบบเครือข่ายของคณะสงฆไ์ ทย และจะ เป็นสังคมยูบคิ วติ ัส (Ubiquitous Society) คือสภาพแวดลอ้ มของคอมพวิ เตอร์ท่สี ามารถใชไ้ ด้ทุกหนทุกแหง่ และตลอดเวลา ในศตวรรตที่ 21 การขยายตัวของอนิ เทอร์เน็ตทาให้สามารถเข้าถึงคอมพวิ เตอรต์ า่ ง ๆ ได้ เพราะการ พฒั นาเทคโนโลยีโมบาย เช่น โทรศัพท์มือถอื ได้ทาให้โลกของเน็ตเวริ ์กและคอมพิวเตอร์ ไมจ่ ากัดอยเู่ พยี งแคท่ ่ี บ้านหรอื ท่ีทางานเทา่ นัน้ แต่สามารถใชไ้ ดท้ กุ แห่งและตลอดเวลา พระพุทธศาสนา จะกลายเป็นพทุ ธยูบคิ วิตัส (Buddhist Ubiquitous) คอื มกี ารศึกษาค้นคว้าพระพุทธศาสนาได้ทุกหนทุกแห่งโดยผา่ นระบบคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอรเ์ น็ต ในอนาคตสังคมจะกลายเปน็ สังคมท่ใี ชค้ อมพิวเตอร์และอินเทอร์เนต็ ได้ทุกแห่ง ไมจ่ ากัดด้วย

-55- เง่อื นไขของกาลเวลาหรอื สถานท่ี สอดคล้องกบั พระธรรมคุณขอ้ หน่ึงในมหานามสูตร องั คุตตรนกิ าย ฉักกนิบาต ว่า “อกาลิโก” (องฺ ฉกฺก.22/281/318.) หมายถงึ ไมป่ ระกอบด้วยกาล คอื ไมข่ ึ้นอยกู่ ับกาลเวลา บรรลุไดท้ ันที บรรลเุ มื่อใดเหน็ ผลได้ทนั ที เป็นจรงิ อยูอ่ ย่างไรก็เป็นอย่างนัน้ ไม่จากัดดว้ ยกาล หากนามาใชใ้ นการศึกษาก็จะ กลายเปน็ ว่ามกี ารศึกษาคน้ คว้าพระพุทธศาสนาโดยไมถ่ ูกจากดั ดว้ ยกาลเวลาอีกต่อไป ในโลกอนาคตผทู้ ่มี ี ความรู้ การเขา้ ถงึ ข้อมูลและเทคโนโลยที ่ีทนั สมัย จะทาใหม้ ีโอกาสอยรู่ อดในสงั คมได้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดถ้ ูกนามาประยุกตใ์ นเกือบทกุ ด้าน เชน่ ด้านการศึกษา ด้านบนั เทงิ ด้านการค้า ดา้ นอุตสาหกรรม ดา้ นเกษตรกรรม ดา้ นการสาธารณสุข และดา้ นสงั คมและการเมือง จะเห็นได้ว่า เคร่ืองมือ เครื่องใช้ ตลอดจนขน้ั ตอนหรือกระบวนการในการทากจิ กรรมยุคปัจจบุ ันล้วนแต่มสี ว่ นของเทคโนโลยี สารสนเทศ เข้ามาเก่ียวข้องท้ังในทางตรงหรือทางอ้อมดว้ ยเกือบท้ังสิน้ สาหรับดา้ นการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามบี ทบาทสาคญั นบั ต้งั แต่ ดา้ นการบริหารและการ จดั สรรทรพั ยากร กล่าวคือ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศใชใ้ นข้ันตอนของการสมัครเรยี น การสอบวัดผล การ ลงทะเบยี นเรียน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการผลติ สือ่ การสอนท่เี ปน็ ส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ทาให้ผู้เรยี น สามารถเขา้ ไปหาความร้เู พิ่มเตมิ ผ่านเว็บไซตห์ รือสื่ออิเลก็ ทรอนกิ สม์ ากขึ้นหรือการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศ มา ชว่ ยออกแบบและพฒั นาระบบการเรยี นการสอน การพฒั นาของเทคโนโลยีสารสนเทศในช่วงทศวรรษทผ่ี า่ นมา มีความรุดหน้าไปอย่างรวดเรว็ มาก ดว้ ยเป็นผลมาจากวิวฒั นาการของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี การสื่อสารโทรคมนาคม ผลกระทบของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในแง่มมุ ต่างๆ ในสว่ นของผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตามคากลา่ ว “สิ่งใดกต็ ามมีคุณอนันต์ ย่อมมีโทษ มหนั ต์” เทคโนโลยสี ารสนเทศก็เช่นเดยี วกัน แมว้ า่ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ววิ ฒั นาการก้าวหนา้ ต่อไปอย่างไม่ หยุดย้ัง มีแนวโน้มและศักยภาพ ทีจ่ ะเพมิ่ พูนคุณภาพชวี ิตใหด้ ีขึ้น เช่น พฒั นาในดา้ นการทางานทางไกล (Tele-working) การธนาคารทางไกล (Tele-banking) การซอ้ื ของทางไกล (Tele-shopping) การ รักษาพยาบาลทางไกล (Tele-healthcare) การบันเทิงทางไกล (Tele-entertainment) หรอื การศึกษา ทางไกล (Tele-education) เพอื่ อานวยความสะดวกให้แก่มนษุ ย์ไมว่ า่ จะอาศัยอย่ใู นที่ใดบนโลกแต่ ขณะเดียวกันหากมีการพฒั นาหรือมีการนาเทคโนโลยไี ปใช้อย่างไมร่ อบคอบแล้ว ยอ่ มมผี ลกระทบต่อการลด คณุ ภาพชวี ิตลงไดเ้ ชน่ กัน ซง่ึ พัฒนาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้ก่อใหเ้ กิดผลกระทบทง้ั ด้านบวกและลบ ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ ีต่อเศรษฐกจิ โอกาสทางการแข่งขนั ทางการคา้ ในอดีต จะถูกจากดั ด้วย เขตแดนการตดิ ต่อ แต่ดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศได้สร้างพ้ืนทีเ่ สมือนขน้ึ ทาใหส้ ามารถเพิ่มพ้นื ทีก่ ารตดิ ต่อและ แลกเปลย่ี นการค้าระหว่างกนั ได้ แต่หากมีผลกระทบกับการคา้ ของ ซกี โลกหนึ่ง ย่อมส่งผลกระทบต่อประเทศ อ่ืนๆ ได้อย่างรวดเรว็ และสามารถเชื่อมโยงเปน็ วิกฤติโลกได้ เช่น วิกฤตดิ ้านพลงั งาน ราคานา้ มนั ราคาวตั ถุดนิ

-56- อ่นื ๆ ทาให้มีการผกู ตดิ กบั ระบบการค้าของโลก ดังนน้ั หากผปู้ ระกอบการได้ปรับตัวเขา้ หาเทคโนโลยีอยา่ งเท่า ทนั ย่อมสรา้ งโอกาสในการดาเนินธุรกจิ แตห่ ากเพิกเฉย และมไิ ดพ้ ฒั นาทางด้านสารสนเทศ ยอ่ มเสยี เปรียบใน การแขง่ ขนั เช่นกัน ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีมตี ่อการบริการภาครฐั อาทิเชน่ กรมสรรพากร ท่ีได้ประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศเพื่อการบรกิ ารภาครัฐ และก่อให้เกดิ การยอมรบั และความพงึ พอใจของประชาชน ซ่งึ ในอดตี การชาระภาษสี รา้ งความยงุ่ ยากซบั ซ้อนและเสียเวลาแกผ่ ชู้ าระภาษี แต่ปจั จุบัน ด้วยประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี จึงชว่ ยใหป้ ระชาชนสามารถย่ืนแบบแสดงความจานงเสยี ภาษไี ด้จากทุกแห่ง ทส่ี ามารถเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต หรอื ระบบงานการขออนุญาตหนงั สอื เดนิ ทางไปตา่ งประเทศ ในปัจจบุ ันจึงใชเ้ วลาไม่มาก ด้วยได้นาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานตรวจสอบข้อมลู ประชาชนจากฐานข้อมูล จึงทาให้งานสะดวกรวดเรว็ มากข้นึ นอกจากน้ี การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ยงั ช่วยให้ หน่วยงานสว่ นราชการ สามารถเผยแพรค่ วามรู้และ ขอ้ มูลข่าวสารใหแ้ ก่ประชาชนชว่ ยใหส้ ามารถตดิ ตอ่ สื่อสารถึงกนั ไดส้ ะดวก รวดเรว็ และไม่ตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ า่ ยสงู ผลกระทบอกี ดา้ นคอื สรา้ งปัญหาความไมเ่ สมอภาคในเร่ืองของการรบั ข้อมูลข่าวสารได้ เช่น กระทรวง สาธารณสขุ ไดเ้ ผยแพรข่ ้อมลู เร่อื งโรคระบาดผา่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซง่ึ คนที่อาศัยอยู่ในเมือง มีความสะดวก เร่อื งระบบอินเทอร์เน็ต ย่อมสามารถรบั ทราบข่าวน้ีได้และมีการเตรยี มตวั เพ่ือป้องกันโรคระบาดเพ่ือไม่ให้เกดิ ข้ึนกับตน แต่คนท่ีอาศัยอยูใ่ นชนบท อาจไม่สามารถรบั ขอ้ มูลทางอินเทอร์เนต็ ได้ เนื่องจากอาจจะไมม่ ีอุปกรณ์ เทคโนโลยี และความรูใ้ นการตดิ ต่อสือ่ สารผ่านอินเทอรเ์ น็ต ทาให้ไมส่ ามารถเตรยี มตัวป้องกนั และติดโรค ระบาดนีใ้ นท่สี ดุ จะเห็นว่าจากตัวอยา่ งนี้ เปน็ ผลกระทบของอนิ เทอรเ์ นต็ ในเรื่องของความเสมอภาคในการรบั ขอ้ มลู ขา่ วสาร ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศที่มตี ่อคุณธรรมจริยธรรม ความเป็นจริงในวนั น้ีประเทศไทยได้ช่ือว่า เป็นประเทศที่ยงั มีการละเมิดลิขสทิ ธดิ์ ้านทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา หรอื มีปญั หาการเผยแพร่ข้อมูลประเภทสอื่ ลามก รวมถงึ ปญั หาทางด้านจติ ใจยุคใหม่ ทีเ่ รยี กว่า โรคติดอินเทอรเ์ นต็ ติดเกม จนเสียการเรียนของเยาวชน รวมถึง คดอี าชญากรรม การล่อลวง ล่วงละเมิดทางเพศ ปัญหาความแตกต่างทางวัฒนธรรม อนั เป็นผลจากการเสพ เทคโนโลยแี ละข่าวจากต่างประเทศ ซึ่งมวี ฒั นธรรมทแี่ ตกตา่ งกัน อย่างไรก็ตาม ด้านประโยชน์กลับพบวา่ มเี ยาวชนจานวนมาก มีชอ่ งทางนาเสนอส่ือสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ ธรรมะผา่ นสอ่ื รูปแบบต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสมกับสถานการณป์ จั จุบนั สามารถสืบค้นหาข้อมูลความรูผ้ า่ น หอ้ งสมดุ ได้ตลอดเวลา ดงั นน้ั หากผ้ผู ลติ และพฒั นาเทคโนโลยขี าดซึ่งความตระหนักและรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม แลว้ ย่อมส่งผลกระทบอยา่ งร้ายแรงให้แก่ประเทศ ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศทมี่ ีต่อการศกึ ษา สังคมโลกไรพ้ รมแดนในยุคปจั จุบัน สรา้ งสรรคใ์ ห้ นักศึกษาสามารถเขา้ ถงึ ซึ่งแหลง่ ความรไู้ ด้อยา่ งงา่ ยดาย ระบบอนิ เทอร์เน็ตทาให้เสมือนหนึ่งมีห้องสมุดที่เปิด ใหบ้ ริการแก่ผงู้ านตลอดเวลา และจากคณุ สมบัติเดน่ ของเทคโนโลยีเว็บ คอื การเช่ือมโยง (Link) ทาใหเ้ สมอื น หนงึ่ ห้องสมุดในโลกนเ้ี ช่ือมต่อเขา้ หากัน ผสู้ นใจศึกษาคน้ คว้ายอ่ มนามาซงึ่ โอกาส และทาลายขอ้ จากัดการ

-57- เดนิ ทางแบบเดิมจนหมดส้ิน เราสามารถคน้ หางานวจิ ัยและขอ้ มูลเอกสารวิชาการเพอื่ สนับสนุนงานการศึกษา ผา่ นระบบเครื่องมือค้นหา (Search Engine) โดยใช้เว็บ เชน่ Google แตอ่ ีกมติ ิหน่ึงก็ได้ กลับสร้างความมัก ง่ายและขาดการกลัน่ กลอง คัดลอกผลงานทเี่ รียกวา่ สังคม Copy Paste หมายถึง การคัดลอกเน้ือหาจากเว็บ แล้วนามาตดั แปะในรายงานอิเล็กทรอนิกสท์ ้งั หลาย โดยขาดการรวบรวม เรยี บเรียง และสรา้ งสรรค์เน้ือความ ผา่ นความเข้าใจ ซึ่งจุดนี้ยอ่ มส่งผลตอ่ กระบวนการทางความคดิ ท่ีไมไ่ ดใ้ ช้ความคิดและเป็นการทาลายวิธี การศกึ ษาในอนาคตได้ ตัวอย่างการใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือเผยแพรศ่ าสนาและวัฒนธรรม 1. วีซีดี เทคโนโลยีในการบนั ทึกภาพและเสยี งเพ่ือการเผยแพร่ศาสนา ไมว่ ่าจะเป็นศาสนาใดๆ ลว้ นแต่ใช้เทคโนโลยีการบนั ทึกภาพและเสียงถ่ายทอดเร่ืองราวของ คาสอน ประวตั พิ ระศาสดาหรือบันทึกแนวทางการประพฤตปิ ฏบิ ัตติ ามศาสนาของตนเอง เป็นตน้ ภาพท่ี 5.1 แสดงวีซีดี เทคโนโลยีในการบนั ทึกภาพและเสยี งเพื่อการเผยแพร่ศาสนา

-58- 2. ตวั อย่างการถา่ ยทอดวัฒนธรรมผ่านละคร การถ่ายทอดวฒั นธรรมผ่านละครของประเทศเกาหลถี ือเป็นตัวอยา่ งทเี่ หน็ ไดช้ ดั ซึง่ ถือว่าเปน็ การ ผสมผสานการใช้เทคโนโลยกี ารผลติ และถา่ ยทาละครบวกกับข้อเท็จจริงดา้ นประวตั ศิ าสตร์และการเผยแพร่ วัฒนธรรมการกนิ ในเรื่องของอาหาร ววิ ัฒนาการ การแพทย์ และ วฒั นธรรมการเมืองการปกครองในอดตี ของ ชนชาตเิ กาหลผี ่านละครแดจงั กึม ทมี่ ีผลกระทบในการเปดิ ตลาดละครของเกาหลไี ดเ้ ปน็ อย่างดี เนื่องจากแด จังกึมเปน็ นางในทท่ี าหนา้ ทป่ี รุงอาหารถวายพระราชาและราชวงศ์ทาให้ผ้ชู มสามารถเห็นกรรมวิธปี รงุ อาหารใน หอ้ งเครื่อง (ห้องครวั ) ท่ีล้วนใช้วัตถุดบิ คดั สรรเปน็ อยา่ งดตี ามแบบฉบับของเกาหลีโบราณและเห็นถึงความ ละเอียดประณตี ในการเตรียมเครอ่ื งปรุงตา่ งๆ ภายหลังจากทแ่ี ดจังกึมต้องออกจากวงั ทาให้ได้เรียนรู้วิชา ทางการแพทย์ ละครถ่ายทอดถึงวธิ กี ารฝงั เขม็ รักษาโรคแบบเกาหลีโบราณซึง่ แพทยจ์ ะต้องมีความรู้และมคี วาม เชี่ยวชาญสงู เพราะหากฝงั เขม็ ผิดจดุ ผู้ปว่ ยอาจมีอนั ตรายถงึ แกช่ ีวติ ได้ เหมอื นด่งั แดจงั กึมที่ชว่ งแรกๆยังไมม่ ี ความมัน่ ใจพอทจ่ี ะฝังเข็มจนเกอื บจะทาให้คู่ซ้อมฝงั เข็มแทบจะเอาชีวิตไม่รอดมาแลว้ ภาพที่ 5.2 แสดงตัวอยา่ งการถ่ายทอดวัฒนธรรมผา่ นละคร

-59- 3. ศาสนายุคสังคมออนไลน์ ภาพที่ 5.3 แสดงศาสนายุคสงั คมออนไลน์ สอ่ื ธรรมะในปัจจุบันก็มีความเปล่ียนแปลงเพื่อให้เท่าทนั ตอ่ ยคุ สมยั ใหเ้ ขา้ ถึงคนหม่มู ากได้ง่ายขึ้น ใกล้ตวั มากขึ้น โดยการนาเอาข้อดขี อง Social Network มาใชใ้ นการสอนหลักธรรมในการใชช้ ีวิต ทาใหเ้ กดิ ความ นยิ มในหมผู่ ใู้ ชง้ าน ทีบ่ างครัง้ ไมม่ เี วลาทจี่ ะไปวัด หรอื สนทนาธรรมก็หนั มาใชบ้ รกิ ารในรปู แบบของการใช้ บรกิ ารออนไลน์ ตวั อยา่ งเชน่ พระนักคดิ ยุคใหมท่ ห่ี ลายๆคนรู้จักกนั ดี คือ พระมหาวฒุ ชิ ัย (ว.วชิรเมธี) ท่านเป็น พระนักวิชาการ นักคดิ นักเขียนทางพุทธศาสนารุ่นใหม่ เป็นนกั ปฏิบตั ธิ รรมและนักบรรยายธรรมท่ผี ลติ ผลงาน ออกมาในรูปส่ือโทรทัศน์และหนังสือออกมาอยา่ งสํม่าเสมอในยุคปัจจุบันท่านเป็นผู้ก่อตั้งสถาบันวมิ ุตยาลยั เปน็ คอลมั นสิ ต์ให้กบั หนังสือพิมพ์และ นิตยสารหลายฉบบั เช่น เนช่นั สุดสัปดาห์ มตชิ นสดุ สัปดาห์ โพสต์ ทูเดย์ ได้รับรางวลั มากมาย เช่น รางวัล“ผู้มผี ลงานด้านการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาดเี ดน่ ” ชอ่ งทางบนโลกสังคม ออนไลน์ของทา่ น มีท้ังเว็บไซต์ มีขอ้ มลู ท่ีครบครนั ทั้งบทความธรรมะดๆี วดี ีโอและคลิปเสียงบรรยายธรรม ลองเขา้ ไปฟังธรรมะบรรยายหรอื อา่ นหนังสือของท่านได้ทาง http://www.dhammatoday.com สว่ น ชอ่ งทาง Facebook มจี านวน Fan page ในปัจจบุ ันอยู่ที่ 456,078 คน ไวอ้ ัพเดตข่าวสารทางธรรมะ รวมถึง เอาไว้โพสท์พทุ ธวจั นะ คาส่ังสอนของท่านและครบู าอาจารย์ท่านอ่ืนๆ เช่น หลวงปูช่ า ท่านพุทธทาสภิกขุ http://www.facebook.com/vajiramedhi รวมถงึ Twitter ที่ vajiramedhi การทาใหค้ นท่วั ไปเข้าถึง ธรรมะไดส้ ะดวกทุกช่องทาง เป็นอกี หนทางของการเผยแผ่ธรรมะตามแนวทางของท่าน ว.วชิเมธี สาหรับทา่ น ว.วชิรเมธีแลว้ น่ีคอื การรูจ้ ักใชเ้ ทคโนโลยใี ห้เปน็ ประโยชน์ใช้เผยแผธ่ รรมะอย่างไม่มีขีดจากัดเป็นเสน้ ทางธรรม

-60- ของทา่ น ว.วชริ เมธี ทส่ี ามารถประยุกตเ์ ข้ากบั สังคมไทยในทุกชว่ งของสถานการณ์ โดยนากลไกการตลาด การ เขา้ ใจ และร้จู ักใชเ้ ทคโนโลยแี ละสอื่ ตา่ งๆ มาช่วยเผยแผธ่ รรมะไปยงั กลุ่มคนทว่ั ไปได้อยา่ งเห็นผล ทาใหธ้ รรมะ เป็นของใกลต้ ัว เม่ือคนสนใจธรรมะมากขน้ึ กม็ ีสถานท่ปี ฏิบตั ธิ รรมไวร้ องรบั เพื่อให้ธรรมะอนิ เทรนด์เขา้ กับทุก ยุคสมยั ของสังคมไทยพระพุทธศาสนาในปจั จุบันมกี ารปรบั ตวั ในการเผยแพร่ศาสนา คาสอนตา่ งๆ ให้เขา้ กับ สงั คมยุคใหม่ ท่ีผู้บรโิ ภคแทบจะไม่มีเวลาทจี่ ะกา้ วเท้าเข้าวัด ทาบุญ จะเหน็ ไดว้ ่าเทคโนโลยีออนไลนใ์ นปัจจบุ ัน สามารถนามาปรับใชไ้ ด้กับทุกเรื่องในชวี ติ ของคนเรา เพ่ือให้ชีวิตงา่ ยขึน้ สะดวกข้นึ หรือสามารถรบั ขา่ วสารได้ ง่ายขน้ึ แมแ้ ตเ่ รอ่ื งทเ่ี คยอย่ไู กลตวั อย่างธรรมะกเ็ ขา้ มาอยใู่ กล้ๆในชวี ิตประจาวันของเราได้อยา่ งง่าย ภาพที่ 5.4 แสดงสือ่ ธรรมะออนไลน์ 4. การถ่ายทอดสดพิธีสาคัญทางพระพุทธศาสนา พธิ ีฮจั ญ์คือการแสดงออกถงึ การอทุ ศิ ตวั ขนั้ สงู สุด สาหรับผนู้ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม 1.2 พันลา้ นคน จดุ มงุ่ หมายและเสยี งเรียกของพิธนี ้ีคงอยยู่ าวนานกวา่ อาณาจักรและสงครามใด ๆ นบั ตั้งแตศ่ ตวรรษท่ี 9 ชาว มสุ ลมิ จากทุกมมุ โลกจะออกเดินทางครงั้ ย่ิงใหญส่ ู่เมกกะตามรอยเทา้ ศาสดาผ้ยู ่ิงใหญ่ อบิ รอฮมี และ มุฮัมมัด แต่ ในทะเลทรายอนั โหดรา้ ย ผู้แสวงบุญตอ้ งใชเ้ วลาเปน็ ปๆี กวา่ จะถึงทห่ี มาย และบางคนก็ไม่มีโอกาสไปถงึ ภายในเวลาเพยี ง 5 วัน บรรดาผ้แู สวงบญุ จะตอ้ งสวดและทาพธิ ตี ่างๆ ไปตามหบุ เขามนิ าให้เสรจ็ … พวก เขาต้องชุมนมุ กันในที่ราบอาราฟัต… ทาพธิ ีกรรมอนั เปน็ สัญลักษณข์ องการปฏเิ สธมารรา้ ยที่จามารัต…และหอ้ ม ลอ้ มสถานท่ีศักด์สิ ิทธิท์ สี่ ดุ ของศาสนาอิสลาม นั่นคือกะอฺบะหฺ

-61- ภาพท่ี 5.5 แสดงถา่ ยทอดสดพธิ สี าคัญทางพระพุทธศาสนา พธิ ีพระราชพิธมี งคลจรดพนงั คัลแรกนาขวัญ ความมุง่ หมายอันเปน็ มลู เหตใุ หเ้ กิดมีพระราชพธิ นี ้ีขึ้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ได้ พระราชทานพระบรมราชาธบิ ายไวใ้ นพระราชนิพนธ์เรอื่ ง พระราชพธิ สี บิ สองเดอื น ว่า \"การแรกนาที่ตอ้ งเป็น ธรุ ะของผู้ซึ่งเป็นใหญ่ในแผ่นดิน เปน็ ธรรมเนยี มนยิ มมีมาแต่โบราณ เชน่ ในเมืองจนี สี่พันปีลว่ งมาแล้วพระเจ้า แผน่ ดนิ ก็ทรงลงไถนาเองเปน็ คราวแรก พระมเหสีเลย้ี งตวั ไหม สว่ นจดหมายเร่อื งราวอนั ใดในประเทศสยามท่ีมี ปรากฏอยูใ่ นการแรกนานี้ก็มีอยูเ่ สมอเป็นนจิ ไม่มีเวลาว่างเว้น ดว้ ยการซึ่งเป็นใหญ่ในแผ่นดินลงมอื ทาเองเชน่ น้ี กเ็ พ่ือจะใหเ้ ป็นตวั อยา่ งแก่ราษฎร ชักนาให้มใี จหมัน่ ในการท่ีจะทานา เพราะเป็นสิง่ สาคัญท่จี ะไดอ้ าศัยเลยี้ ง ชวี ิตทั่วหน้า เปน็ ต้นเหตขุ องความตั้งมั่น และความเจริญไพบลู ยแ์ ห่งพระนครทง้ั ปวง แต่การซง่ึ มีพธิ ีเจือปน ต่างๆ ไม่เปน็ แต่ลงมือไถนาเป็นตวั อย่างเหมือนอยา่ งชาวนาทงั้ ปวงลงมอื ไถนาของตนตามปกตกิ ็ดว้ ยความ หวาดหวัน่ ตอ่ อนั ตราย คือ นา้ ฝนนา้ ทา่ มากไปน้อยไปดว้ งเพล้ียและสัตว์ต่างๆ จะบังเกิดเปน็ อนั ตรายไมใ่ ห้ได้ ประโยชน์เต็มภาคภูมแิ ละมีความปรารถนาทจ่ี ะให้ได้ประโยชนเ์ ต็มภาคภมู ิเป็นกาลงั จงึ ต้องหาทางท่จี ะแก้ไข และทางท่จี ะอดุ หนนุ และทจ่ี ะเสย่ี งทายใหร้ ลู้ ่วงหนา้ จะได้เป็นที่ม่นั อกมน่ั ใจโดยอาศยั คาอธิษฐานเอาความสัตย์ เปน็ ทตี่ ้งั บา้ ง ทาการซ่ึงไม่มโี ทษนบั ว่าเปน็ การสวัสดมิ งคลตามซึ่งมาในพระพุทธศาสนาบา้ ง บชู าเซน่ สรวงตาม ทมี่ าทางไสยศาสตร์บา้ งใหเ้ ป็นการช่วยแรงและเปน็ ท่ีม่นั ใจตามความปรารถนาของมนุษย์ซ่งึ คิดไมม่ ีทีส่ นิ้ สุด”

-62- ภาพที่ 5.6 แสดงพิธพี ระราชพธิ มี งคลจรดพนังคัลแรกนาขวัญ พธิ ีแตง่ ตงั้ พระสนั ตะปาปา ภาพท่ี 5.7 แสดงพธิ ีแต่งตง้ั พระสันตะปาปา มขุ นายกแห่งครสิ ตจกั รกรงุ โรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นาคริสตจกั รโรมันคาทอลิก ทวั่ โลกคริสตจักรนีถ้ ือวา่ พระสันตะปาปาเปน็ ผู้สบื ตาแหน่งจากนักบญุ ซโี มนเปโตรอคั รทูตของพระเยซู สมเดจ็ พระสันตะปาปาฟรานซสิ เปน็ พระสนั ตะปาปาพระองค์ปจั จุบันตามการประชุมเลอื กตัง้ พระสนั ตะปาปาในวนั ท่ี 13 มีนาคม ค.ศ. 2013 ตาแหน่งของพระสันตะปาปา ในภาษาอังกฤษเรยี ก ปาปาซี (Papacy) และเขตอานาจ ทางครสิ ตจักรของพระสันตะปาปาเรยี ก สันตะสานักตั้งอยู่ท่กี รุงโรม โดยถือตามความเชอื่ สืบมาว่า นักบญุ เป โตรและนักบญุ เปาโลอัครทูตได้พลีชีพเปน็ มรณสกั ขีในศาสนาคริสตท์ ่ีนี่ พระสนั ตะปาปายงั ทรงดารงตาแหนง่ ประมุขนครรฐั วาติกันด้วย ซ่งึ เป็นรัฐอธปิ ไตยที่ต้ังอยู่ภายในกรุงโรมตาแหน่งพระสันตะปาปาถือเปน็ ตาแหน่งท่ี เกา่ แก่ทสี่ ดุ ในโลกตาแหน่งหน่ึงและมบี ทบาทสาคญั ในประวัตศิ าสตร์โลก ในสมัยโบราณพระสนั ตะปาปามี

-63- หนา้ ท่หี ลักในการเผยแผศ่ าสนาคริสต์และตดั สนิ ข้อขัดแยง้ ด้านความเชื่อภายในคริสตจักร[4] ในสมยั กลางพระ สันตะปาปามบี ทบาทสาคัญมากในทางโลกในยุโรปตะวันตกด้วย เชน่ เปน็ ผ้ตู ัดสินความขัดแยง้ ระหว่างประมุข ของรฐั รวมถงึ สงครามหลายคร้ัง ปจั จบุ ันน้ีนอกจากจะทาหนา้ ท่ดี ้านเผยแผศ่ าสนาครสิ ต์แล้ว พระสันตะปาปา ยงั ปฏบิ ตั พิ ระกรณยี กิจดา้ นครสิ ตศ์ าสนสัมพันธ์และศาสนสมั พนั ธ์ งานการกศุ ลและการปกปอ้ งสทิ ธมิ นุษยชน ด้วย จะเห็นได้วา่ เทคโนโลยีการถา่ ยทอดสดพิธกี ารสาคัญต่างๆ ในแต่ละศาสนาทาใหผ้ ู้ทีเ่ ลื่อมใสในศาสนามี ความเชอ่ื ในส่งิ ที่ตนยดึ ม่นั และเหน็ พ้องต้องกนั และมีความตอ้ งการจะเป็นสว่ นหนงึ่ ของพิธกี รรมในศาสนาของ ตนดังทม่ี ีการถ่ายทอดสด ถือเป็นเคร่ืองมอื ในการเผยแพร่ศาสนาอย่างหน่ึงทีส่ าคญั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารกบั พระพุทธศาสนา ICT and Buddhism ปพี ุทธศักราช 2555 รัฐบาลไทย ไดป้ ระกาศให้เป็นปีแห่งการเฉลิมฉลองพทุ ธชยันตี อย่างย่งิ ใหญต่ ลอด ทง้ั ปี โดยเนน้ หนกั ในด้านการปฏบิ ัติบูชา และการมีส่วนร่วมของประชาชน ตัง้ แต่ระดบั ครอบครัว ไปจนถึง ระดบั ชาติ ให้ประชาชนได้ปฏบิ ัติตนตามวถิ ีชาวพทุ ธอยา่ งแทจ้ รงิ อันจะทาใหเ้ กดิ ความม่ันคง แหง่ สถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ อย่างยงั่ ยนื \"พุทธชยันตี\" หมายถงึ ชยั ชนะของพระพุทธเจา้ ทีม่ ีต่อหมู่มารและกเิ ลสทงั้ ปวงอยา่ งสน้ิ เชงิ เพราะ พระองค์ ทรงตรัสร้ใู นวันวสิ าขบูชา เม่ือ 2600 ปี ล่วงแลว้ ทาใหพ้ ระนามว่า \"สมั มาสมั พุทธะ\" ปรากฏข้นึ ใน โลก เป็นจดุ เร่มิ ต้นแห่งคาสอนของพระพทุ ธศาสนา อนั เกิดจากปัญญาตรสั รขู้ องพระพทุ ธเจา้ ทาให้ พทุ ธศาสนิกชน ได้มีพระธรรมเปน็ หลกั แห่งการดาเนินชีวติ เฉพาะประเทศไทย มหาเถรสมาคม ได้มมี ติให้ เรียกงานฉลองนี้ว่า \"พุทธชยันต\"ี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า พระพทุ ธศาสนาไดด้ ารงอย่ทู ่ามกลางกระแสการเปล่ียนแปลงของโลกมายาวนานถึง 2600 ปี จนถงึ ยคุ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ซึ่งเทคโนโลยดี งั กล่าวได้เช่ือมโยงให้โลกมีความเปน็ หน่งึ เดยี วกัน มวลมนษุ ยชาติสามารถเข้าถึงและรบั รู้ข้อมูลข่าวสารได้อยา่ งรวดเร็ว ในมตขิ องพระพทุ ธศาสนานน้ั เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารได้สง่ ผลกระทบท้ังดา้ นบวกและด้านลบตอ่ พระพทุ ธศาสนา ตัวอยา่ งของผลกระทบ ด้านบวก เชน่ การเผยแพร่พระพุทธศาสนาได้อยา่ งรวดเรว็ กวา้ งขวางทวั่ โลก ผ้คู นสามารถเข้าถึงพระธรรม คา สอนผา่ นทางเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารได้โดยสะดวก ทุกที ทกุ เวลา ในขณะเดยี วกันก็สง่ ผลกระทบ ดา้ นลบ เชน่ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร เผยแพรค่ าสอนของพระพทุ ธศาสนาทไ่ี ม่ถกู ต้อง เหมาะสม การดูหม่นิ พระพุทธศาสนาโดยกลมุ่ คนต่างศาสนา เป็นตน้ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ไดก้ ล่าวไวใ้ นหนังสือ \"ICT ก้าวหน้า คนต้องพัฒนาปัญญาและ วนิ ยั ” ความสาคญั ตอนหน่ึงวา่ \"...ในขอบเขตเวลาที่เราเรยี กว่ายุคโลกาภวิ ัตน์นั้น ศาสนาถูกเหตุการณ์หรอื ความเปน็ ไปต่างๆ ในโลกนี้กระทบกระท่ังอยา่ งไร หรือว่าถูกผลกระทบอะไรบา้ ง ศาสนาเป็นอย่างไร ศาสนาจะ

-64- ปรับตัวอยา่ งไร จดุ เนน้ ไปอยู่ท่ศี าสนา แตใ่ นท่ีน้ีเหน็ วา่ เราไมค่ วรเนน้ เฉพาะท่ีตัวศาสนา จงึ เปลย่ี นหวั ข้อเป็น ‘ศาสนากบั ยุคโลกาภวิ ตั น์’ ให้ศาสนาเป็นฝ่ายหน่งึ และยุคโลกาภวิ ตั น์เป็นอีกฝา่ ยหนงึ่ โดยท่ีทั้งสองฝ่ายมี ความสัมพันธซ์ ึ่งกันและกนั และกระทาต่อกนั คือ มองไดท้ ั้งในแง่ทว่ี า่ ศาสนาได้รบั ผลกระทบอย่างไรจากยคุ โลกาภวิ ตั น์ และศาสนาจะส่งผลตอ่ ยคุ โลกาภิวตั น์อยา่ งไร ตลอดจนศาสนาจะชว่ ยมนุษย์ในยุคโลกาภวิ ัตน์ได้ อย่างไร ความสาคัญของเทคโนโลยีนนั้ ถา้ พดู อย่างชาวบา้ นก็มักว่าเป็นเครือ่ งมอื หรอื เป็นเครื่องทุ่นแรง ทนุ่ เวลา แตค่ วมจริงมิใช่แคน่ ้นั มคี วามหมายมากกว่านั้นอีก พดู อยา่ งภาษาชาวบ้านก็ว่า เทคโนโลยเี ปน็ ฤทธ์เิ ดช หรือ เป็นปาฏิหาริยท์ างวตั ถุ อานาจสาคญั ของเทคโนโลยอี ยทู่ ี่ไหน กอ็ ยู่ว่า เทคโนโลยเี ปน็ เครื่องขยายวสิ ัยแห่ง อินทรียข์ องมนุษย์ ขยายอย่างไร คือเทคโนโลยีทาใหม้ นุษยส์ ามารถทาสงิ่ ท่ีอนิ ทรยี ธ์ รรมดาของมนุษยท์ าไม่ได้... อยา่ งเวลานพี้ ระไตรปิฎกกเ็ อาเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์แลว้ ลง CD-ROM ทาใหเ้ ราสามารถคน้ คได้ ครบถว้ นและแม่นยาด้วย อยา่ งเช่น เราจะคน้ พระไตรปิฎกท่ีมจี านวนถงึ 22,000 หนา้ โดยประมาณ ถ้าเราคน้ คาวา่ ‘สภา’ กวา่ จะค้นครบอาจใช้เวลาเป็นเดอื น แลว้ ก็ไม่แน่ว่าจะครบทุกตวั เพราะใช้ตาดบู างทีกอ็ าจจะผ่าน ไปไดโ้ ดยไม่เห็นเสียอีก ต้องดูทวนไปมาหลายรอบ แตถ่ ้าเราใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์เพียงเวลาไมก่ วี่ นิ าทีกด็ ูคา วา่ ‘สภา’ ได้ครบถ้วน วา่ อยู่หนา้ ไหนข้อไหนบ้าง ในข้อความวา่ อยา่ งไรหรืออย่างในเวลาทีจ่ ะศึกษาพุทธ ศาสนา เวลาน้กี ม็ บี างทา่ นเอา Lord Buddha’s Philosophy ลงใน Internet ทาให้สามารถศึกษาไปได้ทวั่ โลกอย่างรวดเร็ว เป็นเรอ่ื งของอิทธฤิ ทธิ์ของเทคโนโลยที ่ีจัดไดว้ า่ เปน็ ปาฏหิ ารยิ อ์ ยา่ งหน่ึง โดยเป็นเครอ่ื งมือ ขยายวสิ ัยแห่งอินทรีย์ของมนุษย์คนไทยเราน่าจะใชไ้ อทีแบบหนามบง่ หนาม คือใช้มันใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ บบ ย้อนกลบั ในการศึกษาใหร้ เู้ ท่าทันอย่างจริงจงั ใหร้ ้เู ขา้ ใจสังคมทพี่ ัฒนาแล้วว่า เขาเปน็ อยา่ งไรท้งั ดา้ นดแี ละด้าน ร้าย และกลัน่ กรองเลือกเอาแตป่ ระโยชน์ ไมใ่ ชม่ วั แต่ติดตามเฉพาะผลผลิตทางอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยีท่ี จะเอามาเสพบรโิ ภคเท่านั้น เราตอ้ งรเู้ ข้าใจสภาพสังคมของเขาด้วยว่ามดี มี ีด้อยอย่างไร มีส่วนท่ีเปน็ ความเจริญ และความเสื่อมอย่างไร อยา่ งน้อยเราควรแยกไดว้ ่าดา้ นไหนควรเปน็ อย่างเขา ด้านไหนไมค่ วรเป็น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะทรงเปน็ พุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก ก็ได้ทรงตระหนกั ถงึ ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา นบั เน่ืองแต่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ทรงเสดจ็ ประภาสโรงงานคอมพวิ เตอร์ใหญข่ องไอบเี อม็ ที่ซิลคิ อนวอลเล่ย์ มลรฐั แคลิฟอร์เนยี สหรฐั อเมรกิ า เมอ่ื เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2503 เพ่ือจดุ ประกายใหว้ งการคอมพวิ เตอร์ของประเทศไทยให้ทดั เทยี มประเทศที่ เจรญิ แลว้ ทรงพระราชทานทุนทรัพยส์ ว่ นพระองค์ พระราชดารแิ ละพระบรมราชวนิ จิ ฉัยในการออกแบบและ จัดทาโปรแกรมพระไตรปิฎกฉบับคอมพวิ เตอร์ (โปรแกรมน้ีว่า BUDSIR: Buddhist Scriptures Information Retrieval) รวมทง้ั มีพระราชวจิ ารณ์ในการออกแบบโปรแกรมสาหรับสบื คน้ ข้อมลู ดังกล่าว

-65- คาถามทา้ ยบท 1. จงอธบิ ายความหมายของ ศาสนาและวัฒนธรรม คอื อะไร 2. จงสรปุ สาระสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกบั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา 3. จงอธิบายผลกระทบของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในแง่มุมตา่ งๆ 4. จงยกตัวอยา่ งการใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อเผยแพร่ศาสนาและวัฒนธรรม มาอยา่ งน้อย 3 ชนิด พรอ้ มท้งั บอกประโยชน์ทีไ่ ด้รบั ของแต่ละประเภท

-66- บทท่ี 6 เทคโนโลยกี ับการพัฒนาการศกึ ษา ปจั จบุ ันโลกได้ก้าวเขา้ ส่สู ังคมแหง่ การเรียนรู้ เทคโนโลยีหลายประเทศต่างพยายามปรบั กลยุทธ์เพื่อ ยกระดบั ศักยภาพของสังคมใหพ้ ัฒนา จึงเปน็ ผลทาให้การศึกษาเริ่มเปล่ียนแปลงไปท้งั น้ีอาศยั สื่อท่ีทนั สมัย โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางดา้ นโทรคมนาคมและการสอ่ื สาร สามารถเช่ือมโยงขอ้ มูล ขา่ วสารไดก้ ว้างขวางทัว่ โลกเขา้ ด้วยกัน ทาให้เกดิ การไหลเวียนของขอ้ มลู ข่าวสารในเวลาอันสัน้ การศึกษาหาข้อมูลและการเรยี นร้สู งิ่ ตา่ งๆ ง่ายมากเพียงปลายนิ้วสัมผัส โดยอาศัยการเช่ือมโยงผ่านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ (Internet) จึงเกิดเป็น ชมุ ชนเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ ข้อมลู ขา่ วสารจึงกลายเปน็ กุญแจสาคญั ทมี่ ุ่งไปสู่ “การศกึ ษา” ที่ไรพ้ รหมแดน แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในตน้ ศตวรรษที่ 19 เป็นช่วงท่ีมีการพัฒนาการสื่อสารทางไกลท่เี รียกว่าโทรคมนาคม พร้อมกันนน้ั ก็มี เทคโนโลยีการสือ่ สารทางด้านการกระจายเสียง คือ มเี รอ่ื งของวทิ ยุและโทรทัศนเ์ กิดขน้ึ ช่วงน้จี ึงเป็นชว่ งที่ มนุษย์ได้มีเครื่องมือส่อื สารหลายรปู แบบหลายลกั ษณะแต่ว่าในดา้ นการศึกษาไดน้ าเอาเคร่ืองมือเหลา่ นี้มาใช้ เพื่อการศึกษามากน้อยเพยี งใด ขณะทีก่ ารใช้เทคโนโลยีการพมิ พ์ซ่งึ เกิดขึน้ ในกลางศตวรรษที่ 15 ยังมใี ชก้ นั อยู่ มากประมาณได้วา่ ประเทศไทยยงั อยูใ่ น ชว่ งที่ 4 ขณะท่ีพฒั นาการด้านการส่ือสารได้ก้าวเขา้ ไปสูช่ ว่ งท่ี 5 กค็ ือ ช่วงท่ีไดม้ กี ารเอาเทคโนโลยโี ทรคมนาคมกับคอมพวิ เตอรเ์ ข้ามาผสมผสานกนั กบั โทรศัพท์ โทรศพั ท์กส็ ามารถที่ จะสร้างเปน็ เครือขา่ ยของขา่ วสารที่สามารถจะมภี าพกไ็ ด้และสามารถทีจ่ ะใช้เปน็ เครอื่ งมือสือ่ สารท่ีไมใ่ ช่เฉพาะ ระหว่างบุคคลต่อบุคคลแตส่ ามารถใชส้ ่ือสารระหวา่ งบคุ คลกบั มวลชนได้ จึงมีการนาเอาเทคโนโลยที ีม่ อี ยใู่ น สงั คมหรือกาลงั จะมใี นสงั คมมาใช้ประโยชน์ทางการศึกษาอย่างเหมาะสมกบั พฒั นาการทางการศึกษาในช่วง นนั้ ๆ และถา้ ศึกษาถงึ แนวโนม้ ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ อย่างน้อยเห็นแนวโนม้ ได้ 3 ลักษณะคือ แนวโนม้ ท่ี 1 เทคโนโลยีสารสนเทศนัน้ จะเปน็ การส่อื สารมวลชนมากขน้ึ ทั้งๆ ทสี่ อื่ หรือการสื่อสาร บางอยา่ งเริ่มต้นในฐานะเป็นสอื่ ระหว่างบคุ คลตวั อยา่ ง เช่น เรอื่ งโทรศัพทแ์ ต่กอ่ นใชเ้ พ่ือส่อื สารระหวา่ งบุคคลท่ี ต้องการใชโ้ ทรศพั ทโ์ ทรถึงกันแต่มาบดั นโ้ี ทรศัพท์สามารถที่จะใช้เพื่อสื่อสารไปถึงคนจานวนมากได้โดยใช้ เทคโนโลยีอืน่ ๆประกอบ แนวโนม้ ท่ี 2 สภาพของสือ่ ท่ใี ช้เสยี งในการสอ่ื สารขณะนีเ้ ร่ิมพัฒนาเป็นการส่อื สารด้วยภาพมากขน้ึ และ เปน็ การผสมระหวา่ งภาพกับเสยี งแมป้ ัจจบุ นั ทีม่ ีวทิ ยโุ ทรทศั นเ์ ป็นทง้ั ภาพและเสยี ง ส่วนโทรศัพท์ แตก่ ่อนเปน็ แตเ่ รื่องเสียงตอนน้ีโทรศัพท์ก็จะเป็นทงั้ เสียงและภาพ ซึ่งสื่อทั้งหลายรวมท้ังคอมพิวเตอร์กเ็ ร่มิ มาใช้งานใน ลกั ษณะที่นาเสนอเปน็ ภาพและเสียงมากขนึ้ จากแนวโนม้ ในขอ้ นเ้ี หน็ ได้วา่ ส่ือใดทม่ี ที ั้งภาพและเสยี งสอ่ื นนั้ จะมี ประสทิ ธภิ าพในการสื่อสารสงู

-67- แนวโน้มที่ 3 สื่อประเภทตา่ งๆ มีราคาถูกลงโดยมคี ุณภาพและประสิทธิภาพสูงข้ึน คอมพิวเตอร์ วทิ ยุ โทรทัศนห์ รอื แมแ้ ต่โทรศัพท์มีราคาแพง ปัจจบุ ันยง่ิ พฒั นาไปมากเท่าไร ราคาก็ย่งิ ถกู ลงทาให้ มีการนาเอามาใช้ มากยิง่ ขึน้ แนวคิดการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื พฒั นาการศกึ ษา ถา้ ยอ้ นกลับมาดูพัฒนาการทางการศึกษาของประเทศไทยจะเห็นได้ว่าอาศัยความก้าวหน้าทางด้านการ สอื่ สารเป็นส่วนประกอบสาคัญในการพัฒนาการศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียนมาตลอดโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางไกลตัวอย่างท่ีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้ใช้ระบบน้ีในการ จัดการศึกษา ซ่ึงพบว่าการจัดการศึกษาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทางด้านการสื่อสารทั้งส้ิน กล่าวคือสมัยแรกที่ กิจการไปรษณีย์เป็นท่ีนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางการสอนทางไกลก็จะไปเก่ียวกับการบริการทางไปรษณีย์คือ การเอาสิ่งพิมพ์ในรูปของตาราส่งไปทางไปรษณีย์เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนที่บ้านต่อมาเมื่อวิทยุเข้ามามีบทบาทใน การสื่อสาร มหาวิทยาลัยทางวิทยุก็เกิดข้ึนและใช้สื่อวิทยุซึ่งเป็นสื่อเสียงในการสอนและก็อาจมีส่ือสิ่งพิมพ์ ประกอบด้วยเม่ือโทรทัศน์เข้ามามีบทบาทในการสื่อสารมวลชนก็เกิดมีมหาวิทยาลัยที่สอนโดยใช้โทรทัศน์ ร่วมกับเอกสาร สิ่งพิมพ์มาถึงยุคปัจจุบันมีการพัฒนาการด้านการส่ือสารหลายๆ อย่างโดยมีความคิดว่าจะไม่ ขึ้นอยกู่ บั สื่อสารใด สอื่ สารหน่ึงเท่านนั้ เพราะจะทาใหใ้ ช้ประโยชน์ไมไ่ ดเ้ ต็มที่ ตอ้ งใชก้ ารส่อื สารหลายๆ รูปแบบ ท่เี รียกวา่ \"การใช้สอื่ สารแบบประสม\" บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศมีแหล่งกาเนดิ มาจากเทคโนโลยีท่ที าหน้าที่ผลิตประมวลและแพร่กระจาย สารสนเทศดงั นน้ั เทคโนโลยีสารสนเทศจงึ เป็นเคร่ืองมอื ในการดาเนนิ งานสารสนเทศใหเ้ ป็นไปอยา่ งมี ประสิทธภิ าพในทุกๆ ดา้ นตั้งแตก่ ารผลิตการจดั เก็บการประมวลผลการคน้ คิดและการสง่ สารสนเทศซึง่ จะทาให้ สารสนเทศถึงมือผใู้ ช้ตามที่ต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศจงึ มีบทบาทดังท่ีกัลยาอดุ มวิทิตไดก้ ลา่ วถึงบทบาท ของสารสนเทศในด้านต่างๆ ดังน้ี 1. ด้านการศึกษาเทคโนโลยสี ารสนเทศช่วยแก้ปญั หาการกระจายการศึกษาใหเ้ ข้าถงึ ประชาชนได้อย่าง ทัว่ ถึงและมีประสิทธิภาพเทา่ เทยี มกนั โดยเฉพาะประชาชนทีอ่ ยู่หา่ งไกลสามารถรบั รขู้ ่าวสารและวิชาการเพื่อ พฒั นาคุณภาพชีวิตของตนเองใหด้ ีขึ้นดว้ ยการสื่อสารทางไกลผา่ นดาวเทียม 2. ด้านสาธารณสุขเทคโนโลยีสารสนเทศถูกนามาใชใ้ นระบบการรกั ษาทางไกลหรือการแพทย์ทางไกล ผา่ นดาวเทียมTelemedicineซง่ึ แพทย์ที่อยูต่ า่ งสถานที่กันสามารถตดิ ต่อส่อื สารแลกเปล่ียนขอ้ มูลคนไข้

-68- แลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ละเปน็ แหล่งวทิ ยาการทางดา้ นการแพทย์เพ่ือใหค้ ้นคว้าได้และยงั ทาให้เกิดกิจกรรม บรกิ ารทางการแพทยแ์ บบใหมข่ ้นึ ได้ 3. ดา้ นการเกษตรเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนามาใช้ในดา้ นการเกษตรได้โดยช่วยจดั ระบบการผลติ การคาดการณ์ราคาหรือการพยากรณ์อากาศการรวบรวมข้อมูลตา่ งๆเพ่ือชว่ ยให้เกษตรกรสามารถตดั สนิ ใจ เกี่ยวกบั การผลิตไดด้ ขี น้ึ และสามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของตลาดได้ 4. ดา้ นสงิ่ แวดล้อมเทคโนโลยีสารสนเทศจะชว่ ยในการวางแผนบรหิ ารและจดั การด้านสิ่งแวดล้อมโดย สารวจและเกบ็ ข้อมูลฐานข้อมูลดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละช่วยในการจัดระบบจราจรเพ่อื ลดมลภาวะได้ 5. ด้านอตุ สาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศถูกนามาใช้ในกระบวนการผลติ สินค้าต่างๆโดยออกแบบ ผลิตภัณฑ์โดยใช้คอมพิวเตอร์หรือการใช้คอมพวิ เตอร์เขา้ ควบคุมในกระบวนการผลติ 6.ด้านอื่นๆเทคโนโลยสี ารสนเทศยังมบี ทบาทในการตดิ ตอ่ สื่อสารการจดั สรา้ งเครือข่ายโทรคมนาคม ต่างๆเชน่ เครอื ข่ายโทรศัพท์ในประเทศระหว่างประเทศเครือขา่ ยสื่อสารข้อมลู ด้วยดาวเทียมขนาดเล็ก การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชท้ างการศึกษา 1. การจัดหลกั สตู รในการจดั ข้อมูลหรือการมรี ะบบข้อมูลทีมปี ระสิทธภิ าพของสถานศึกษาน้นั ขน้ึ อยกู่ ับ ลักษณะความต้องการและการเลือกสรรใช้ข้อมลู ท่ีจาเปน็ และเปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนาการจดั การศึกษาของ สถานศึกษาและควรจะครอบคลุมองคป์ ระกอบพ้นื ฐานของการจัดการศกึ ษา การจัดหลกั สูตร ไดแ้ ก่ ตวั หลกั สูตร แผนการสอน คู่มอื การพัฒนาหลกั สูตร การสารวจความต้องการ ของชุมชน การใช้ตาราเรยี นของครูและนักเรียน โดยมุง่ เนน้ ถึงความยดื หย่นุ และความเหมาะสมทีเ่ อื้อต่อการ เรียนรแู้ ละตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและทอ้ งถนิ่ โดยสอดคลอ้ งกับเป้าหมายการศึกษาและเหมาะสม กบั ความต้องการของผเู้ รยี นเพียงใด 2. กระบวนการเรียนการสอนในการจดั ข้อมลู หรอื การมีระบบข้อมูลทีมีประสทิ ธภิ าพของสถานศึกษา นนั้ ขึน้ อยกู่ ับลักษณะความต้องการและการเลอื กสรรใชข้ ้อมูลทจี่ าเป็นและเป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษาและควรจะครอบคลมุ องค์ประกอบพ้ืนฐานของการจดั การศึกษา กระบวนการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ ลกั ษณะของวิธกี ารสอน การมสี ่วนรวมของนักเรยี น ตารางสอน การ ใชต้ าราเรียน สื่อการสอน การประเมนิ ผลการเรยี นการสอนการรายงานผลการเรยี น การสอนซอ่ มเสรมิ โดยมี การจัดการเรียนการสอนท่ีเป็นระบบและมปี ระสทิ ธิภาพมีการสอนใหส้ อดคล้องกบั หลกั สตู รขัน้ พนื้ ฐานจะ จัดการเรียนกาสอนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นศนู ย์กลาง นอกจากน้ันยงั คานงึ ถึงการใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ และสื่อมา ประยุกต์ใช้ ในการจดั การเรียนการสอน

-69- 3. การบริหารในการจดั ขอ้ มูลหรือการมีระบบข้อมลู ทีมปี ระสทิ ธิภาพของสถานศึกษาน้นั ข้ึนอย่กู ับ ลกั ษณะความต้องการ และการเลือกสรรใช้ข้อมูลทีจ่ าเปน็ และเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศกึ ษาและควรจะครอบคลมุ องคป์ ระกอบพืน้ ฐานของการจดั การศกึ ษา การบรหิ าร ได้แกบ่ ริหารงานโรงเรยี นดา้ นต่างๆ เชน่ งานธรุ การ ได้แก่ การบริหารบุคลากร งบประมาณ การวางแผนงาน งานวิชาการ ได้แก่ หลกั สูตร การเรียน การสอน งานปกครอง ได้แก่ ตวั นกั เรยี น ซ่ึงจาเปน็ ตอ้ งเก็บรวบรวมข้อมูลเปน็ อย่างดีและบางอย่างต้องเปน็ ความลบั ข้อมลู เหลา่ นบ้ี างอย่างสามารถ แสดงไดเ้ ช่น จานวนครู นกั เรียน ระบบงานธรุ การ แผนงาน ประจาปี ฯลฯ เพื่อเปน็ ข้อมลู เบอ้ื งตน้ ใหเ้ กี่ยวข้อง ได้รับทราบ 4. การบริการ ในการจัดข้อมูลหรือการมรี ะบบข้อมลู ทีมปี ระสิทธิภาพของสถานศึกษาน้นั ข้นึ อยกู่ ับ ลักษณะความต้องการและการเลอื กสรรใช้ข้อมูลทจี่ าเปน็ และเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาการจดั การศกึ ษาของ สถานศึกษาและควรจะครอบคลุมองคป์ ระกอบพื้นฐานของการจดั การศกึ ษา การบริการ คือ การใหบ้ ริการดา้ นตา่ งๆ ได้แก่ อาคารเรยี น อาคารประกอบและส่ิงอานวยความสะดวก ทีม่ อี ยู่ในโรงเรียน เช่น ห้องเรยี น ห้องปฏบิ ตั ิการ วัสดอุ ุปกรณ์ การเรียนการสอน หอ้ งสมุด ตลอดถงึ แหล่ง เรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา เป็นตน้ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จดั การศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศท่นี ามาใชส้ าหรบั การสอนเปน็ การใชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหมห่ ลายอย่าง ทาใหก้ าร เรียนการสอนด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย หอ้ งเรยี นสมยั ใหม่มีอุปกรณว์ ิดีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector) มี เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ มีระบบการอา่ นข้อมูลอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ บบตา่ งๆรปู แบบของส่ือการศึกษาทนี่ ามาใช้ในการ เรียนการสอน ก็มีหลากหลาย ข้นึ อยกู่ บั ความเหมาะสมในการนามาใช้ เช่น มัลตมิ ีเดยี อิเล็กทรอนิกส์บคุ๊ วิดโี อ เทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดโี อออนดมี านด์ ไฮเปอร์เทก็ ซ์ คอมพวิ เตอร์ และระบบอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ต้น

-70- ภาพที่ 6.1 แสดงการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้จดั การศึกษา 1. คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เป็นการนาเอาเทคโนโลยีรวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอนมาใชช้ ว่ ยสอน ย่อมาจากคาใน ภาษาองั กฤษว่า Computer-Assisted Instruction หรือเรียกย่อๆ CAI การจัดโปรแกรมการสอนโดยใช้ คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนในปัจจุบนั มักอยู่ในรปู ของส่อื ประสม (Multimedia) หมายถึง นาเสนอไดท้ ้ังภาพ ขอ้ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ โปรแกรมชว่ ยสอนนีเ้ หมาะกับการศึกษาดว้ ยตนเองและเปดิ โอกาสให้ ผู้เรยี นสามารถโตต้ อบกบั บทเรยี นได้ตลอดจนมผี ลปอ้ นกลับเพื่อใหผ้ ู้เรยี นรบู้ ทเรียนได้อย่างถกู ต้องและเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาของบทเรยี นนนั้ ๆ ลักษณะคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนจึงเปน็ บทเรียนทช่ี ว่ ยการเรียนการสอนและมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชว่ ย จัดบทเรยี นให้เปน็ ระบบและเหมาะสมกับนกั เรียนแต่ละคน โดยมลี ักษณะสาคญั ๆ ดังน้ี 1. เร่ิมจากส่งิ ที่ร้ไู ปสู่สง่ิ ท่ไี มร่ ู้ จัดเนือ้ หาเรยี งไปตามลาดบั จากง่ายไปสู่ยาก 2. การเพ่มิ เน้ือหาให้กับผ้เู รียนต้องค่อยๆ เพ่ิมทีละนอ้ ยและมสี าระใหม่ไม่มากนกั นักเรียนสามารถ เรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตนเองอย่างเขา้ ใจ 3. แต่ละเนอื้ หาต้องมีการแนะนาความร้ใู หม่เพยี งอยา่ งเดยี วไม่ใหท้ ลี่ ะมากๆ จนทาให้ผูเ้ รียนสับสน

-71- 4. ในระหวา่ งเรยี นต้องให้ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มกบั บทเรยี น เชน่ มคี าถามมีการตอบ มีทาแบบฝกึ หดั แบบทดสอบ ซึ่งทาใหผ้ เู้ รยี นสนใจอยกู่ บั การเรยี นไมน่ า่ เบ่ือหน่าย 5. การตอบคาถามทผี่ ดิ ตอ้ งมีคาแนะนาหรอื ทบทวนบทเรยี นเกา่ อีกคร้งั หรือมีการเฉลย ซึ่งเปน็ การ เพ่ิม เนือ้ หาไปด้วย ถา้ เปน็ คาตอบที่ถกู ผเู้ รียนไดร้ ับคาชมเชยและไดเ้ รยี นบทเรียนต่อไปที่กา้ วหนา้ ขึน้ 6. ในการเสนอบทเรยี นต้องมีการสรุปท้ายบทเรียนแตล่ ะบทเรยี นช่วยให้เกดิ การวดั ผลได้ดว้ ยตนเอง 7. ทุกบทเรียนต้องมีการกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ไว้ให้ชดั เจนซ่ึงชว่ ยให้แบ่งเนอ้ื หาตามลาดับ ประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มปี ระโยชน์หลายประการดังน้ี 1. ทาให้นักเรยี นได้มีสว่ นร่วมในกระบวนการเรียนการสอนมากขึ้น 2. ทาให้นักเรียนสามารถเลือกเรยี นได้หลายแบบตามความถนัดของแตล่ ะบุคคล 3. ทาให้ไม่เปลืองสมองในการทอ่ งจาสิง่ ที่ไม่ควรจะต้องจา ใช้สมองในการคดิ วเิ คราะห์และตัดสินใจ แทน 4. ทาใหส้ ามารถปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลงการเรยี นการสอนไดเ้ หมาะสมกับแตล่ ะบุคคล 5. ทาใหผ้ ้เู รยี นมอี สิ รภาพในการเรยี น ไม่ต้องคอยครู อาจารย์ ผ้เู รยี นสามารถเรียนรไู้ ดท้ ุกเวลาท่ี ต้องการ 6. ทาให้ผเู้ รยี นสามารถสรปุ หลักการ เนื้อหา สาระของบทเรยี นแต่ละบทเรยี น ประเภทของคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน คอมพวิ เตอร์ช่วยสอนทน่ี ามาใชใ้ นปจั จุบันมอี ยูม่ ากมายหลายรปู แบบนกั วิชาการและนกั การศกึ ษาทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศไดจ้ ัดแบง่ ประเภทตามลกั ษณะการใช้ดงั น้ี 1. คอมพิวเตอร์ใช้เพื่อการสอน (Tutoring) เปน็ โปรแกรมที่สร้างขึ้นในลักษณะของบทเรียนท่ี ลอกเลยี นแบบการสอนของครู กล่าวคือ มบี ทนา มีคาบรรยายซ่งึ ประกอบดว้ ยทฤษฎี กฎเกณฑแ์ นวคิดที่สอน หลังจากท่ีนกั เรียนไดศ้ ึกษาแล้วก็มีคาถามเพ่ือใชใ้ นการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นมกี ารป้อนกลบั ตลอดจนมีการเสริมแรงและสามารถใหน้ ักเรยี นย้อนกลับไปเรียนบทเรียนเดิมได้หรอื ข้ามบทเรยี นทไ่ี ดเ้ รียนรู้ แลว้ ได้ นอกจากนีย้ ังสามารถบนั ทึกการเรียนของนกั เรียนไวไ้ ดเ้ พื่อใหค้ รูนาขอ้ มลู การเรียนของแต่ละคนกลบั ไป แกไ้ ขนกั เรียนบางคนได้ 2. คอมพิวเตอรใ์ ช้เพือ่ การฝึก (Drill and Practice) แบบฝึกส่วนใหญ่ใช้เพื่อเสรมิ ทักษะเมือ่ ครูไดส้ อน บทเรยี นบางอย่างไปแลว้ จดุ มุ่งหมายเพื่อฝกึ หัดกับคอมพิวเตอรเ์ พ่ือวัดระดบั หรือ ใหฝ้ ึกจนถงึ ระดับที่ยอมรับได้ บทเรียนประเภทน้ี จงึ ประกอบด้วยคาถามและคาตอบ การเตรียมคาถามต้องเตรียมไวม้ ากๆ ซงึ่ ผ้เู รยี นควรได้ สมุ่ ขึ้นมาฝึกเองไดส้ ง่ิ สาคญั ของการฝึกคือต้องกระตุน้ ให้นักเรยี นอยากทาและตืน่ เต้นกบั การทาแบบฝกึ หัดนัน้

-72- ซงึ่ อาจมภี าพเคล่ือนไหว คาพูดโตต้ อบ มกี ารแข่งขนั เชน่ จับเวลาหรอื สรา้ งรูปแบบทีท่ ้าทายความสามารถใน การคิดและการแก้ปัญหา 3. คอมพิวเตอรใ์ ช้เพ่ือสรา้ งสถานการณจ์ าลอง (Simulation) โปรแกรมประเภทนี้ เปน็ โปรแกรมที่ใช้ จาลองสถานการณ์ให้ใกล้เคียงกบั สถานการณ์ในชวี ติ จริงของนกั เรียนโดยมเี หตุการณส์ มมตติ ่างๆอยู่ใน โปรแกรมและผ้เู รียนสามารถที่จะเปลย่ี นแปลงหรือจดั กระทาไดส้ ามารถมีการโตต้ อบและมวี ตั แปรหรอื ทางเลือกหลายๆ ทางการสรา้ งสถานการณจ์ าลองขึน้ เพื่อให้เกิดการเรยี นรู้เมื่อสถานการณ์จรงิ ไมส่ ามารถทาได้ เช่น การเคลื่อนที่ของลกู ปนื การเดนิ ทางของแสงการหักเหของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าหรือการทาปฏกิ ริ ิยาทางเคมี ทอ่ี าจเกิดการระเบิดข้ึนหรือการเจรญิ เติบโตนี้ใช้เวลานานหลายวัน การใช้คอมพวิ เตอรส์ ร้างสถานการณ์จาลอง จงึ มคี วามจาเป็นอย่างมาก 4. คอมพวิ เตอรใ์ ช้เพอื่ เปน็ เกมในการเรยี นการสอน (Game) โปรแกรมประเภทนน้ี ับเป็นแบบพเิ ศษของ แบบจาลองสถานการณ์โดยมีการแข่งขันเปน็ หลัก สามารถเลน่ ไดค้ นเดียวหรอื หลายคน ก่อให้เกิดการแข่งขัน และรว่ มมือกันก่อใหเ้ กดิ การเรียนรู้ไดม้ ากโดยการเพ่ิมคุณค่าทางการศกึ ษา จดุ มงุ่ หมาย เน้อื หาและ กระบวนการที่เหมาะสม 5. คอมพิวเตอรใ์ ช้เพ่อื การทดสอบ (Testing) เป็นโปรแกรมท่ีใช้รวมแบบทดสอบไวแ้ ละสุ่มขอ้ สอบตาม จานวนทต่ี อ้ งการโดยท่ขี ้อสอบเหลา่ นัน้ ผ่านการสรา้ งมาอย่างดีมีความเช่ือถือได้ในการวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรยี นโปรแกรมมกี ารตรวจขอ้ สอบให้คะแนน วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ผลให้ผู้สอบไดท้ ราบทันที 6. คอมพวิ เตอรใ์ ช้เพ่อื การไต่ถามข้อมลู (Inquiry) เปน็ โปรแกรมทช่ี ว่ ยในการคน้ หาข้อเท็จจรงิ หรือ ขา่ วสารทเ่ี ป็นประโยชน์ในตัว คอมพวิ เตอร์แบบนจี้ ะมแี หล่งเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ซ่งึ สามารถแสดงได้ทนั ที เมอื่ ผู้เรยี นต้องการด้วยระบบงา่ ยๆท่ผี เู้ รยี นสามารถทาได้เพียงแต่กดหมายเลขหรือใสร่ หสั ซึง่ ทาให้คอมพวิ เตอร์ แสดงขอ้ มูลท่ีต้องการไต่ถามได้ตามตอ้ งการ 2. การเรยี นการสอนโดยใช้เวบ็ เปน็ หลกั เป็นการจดั การเรยี นท่มี สี ภาพการเรียนตา่ งไปจากรปู แบบเดิมการเรียนการสอนแบบน้ีอาศยั ศักยภาพ และความสามารถของเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ซ่งึ เป็นการนาเอาส่ือการเรียนการสอน เป็นเทคโนโลยสี ูงสุดมาชว่ ย สนบั สนนุ การเรยี นการสอนให้เกดิ การเรยี นรู้จากการสบื คน้ ข้อมลู และเชื่อมโยงเครือข่ายทาใหผ้ ู้เรียนสามารถ เรียนไดท้ กุ สถานทแ่ี ละทุกเวลาการจัดการเรียนการสอนลักษณะน้ีมีช่ือเรยี กหลายชอื่ ได้แก่ การเรยี นการสอน ผา่ นเวบ็ (Web-based Instruction) การฝกึ อบรมผา่ นเว็บ (Web-based Training) การเรยี นการสอนผ่าน เวิล์ดไวดเ์ ว็บ (www-based Instruction) การฝกึ อบรมผ่านเวลิ ด์ ไวด์เวบ็ (www-based Training) เปน็ ตน้

-73- ความหมายของการเรยี นการสอนโดยใชเ้ ว็บเป็นหลัก การเรียนการสอนโดยใช้เวบ็ เป็นหลักเปน็ การประยกุ ตใ์ ชย้ ุทธวิธีการสอนดา้ นพุทธพสิ ัย (Cognitive) ภายใต้สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นทผ่ี ูเ้ รียนเป็นผสู้ ร้างองค์ความรู้และการเรยี นแบบรว่ มมือกัน (Collaborative Learning) เนอ่ื งจากการเรียนแบบนผ้ี เู้ รยี นเป็นผู้ควบคุมการเรยี นดว้ ยตนเองเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั (Child Center) และเรยี นด้วย การมปี ฏิสัมพนั ธ์กับผู้อ่ืน (Learner Interaction) การเรยี นการสอนโดยใช้เว็บเปน็ หลักเปน็ การจาลองสถานการณ์การเรยี นการสอนในห้องเรยี นในรูปของ สบื ค้นองค์ความรู้จากเว็บหรอื อาจเรียกวา่ อเี ลิรน์ นิ่ง (e-Learning) ซ่ึงเป็นส่วนหน่งึ ของอีเอ็ดยเู คชัน่ (e- Education) และเป็นส่วนหน่ึงของอีคอมเมริ ์ช (e-Commerce) ภาพที่ 6.2 แสดงระบบ e-Commerce, e-Education และ e-Learning ประเภทของส่ือทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอนโดยใช้เว็บเปน็ หลกั 1. เวิลดไ์ วด์เว็บ (World Wide Web) ใช้สาหรบั เป็นแหล่งความรฐู้ านและเปน็ แหลง่ ความรภู้ ายนอก เพือ่ การสบื คน้ 2. อเี มล์ (e-Mail) ใช้ตดิ ต่อส่ือสารระหว่างอาจารย์หรอื เพ่ือนร่วมชน้ั เรยี นดว้ ยกันใชส้ ว่ นการบ้านหรือ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 3. กระดานข่าว (web board) ใช้ติดตอ่ สื่อสารระหว่าง ผเู้ รียน อาจารย์และผู้เรยี นเปน็ กลุ่ม ใชก้ าหนด ประเดน็ หรอื กระทูต้ ามทีอ่ าจารยก์ าหนดหรือตามแตน่ ักเรียนกาหนดเพ่ือช่วยกนั อภปิ รายตอบคาถามใน ประเด็นทเ่ี ปน็ กระทู้น้ันๆ

-74- 4. แชท (Chat) ใช้ตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างผู้เรยี น อาจารยแ์ ละผ้เู รยี นโดยการสนทนาแบบเวลาจรงิ (Real time) โดยมีท้งั สนทนาดว้ ยตัวอกั ษรและสนทนาทางเสียง (Voice Chat) ลักษณะใช้คือใชส้ นทนาระหว่าง ผูเ้ รียนและอาจารย์ในหอ้ งเรียนหรอื ช่วั โมงเรยี นเสมือนว่ากาลังเรียนอยู่ในห้องเรยี นจรงิ ๆ 5. ไอซคี วิ (ICQ) ใชต้ ิดตอ่ สื่อสารระหว่างผเู้ รียนอาจารยแ์ ละผ้เู รียนโดยการสนทนาแบบเวลาจริงหรือ หลงั จากนั้นแล้ว โดยเก็บข้อความไวก้ ารสนทนาระหว่างผู้เรยี นและอาจารย์ในห้องเรยี นเสมือนวา่ กาลงั คยุ กนั ในห้องเรยี นจริงๆ และบางคร้ังผเู้ รียนก็ไมจ่ าเป็นต้องอยูใ่ นเวลานนั้ ๆ ไอซีควิ จะเกบ็ ขอ้ ความไว้ใหแ้ ละยงั ทราบ ด้วยว่าในขณะนนั้ ผู้เรียนอยูห่ นา้ เครอ่ื งคอมพิวเตอรห์ รอื ไม่ 6. คอนเฟอเรนซ์ (Conference) ใช้ติดต่อสอื่ สารระหว่างผู้เรียน อาจารย์และผู้เรยี นแบบเวลาจรงิ โดยที่ ผู้เรยี นและอาจารยส์ ามารถเห็นหนา้ กนั ไดโ้ ดยผา่ นทางกลอ้ งโทรทศั นท์ ่ตี ดิ อยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทงั้ สองฝา่ ย ใช้บรรยายใหผ้ เู้ รียนกบั ที่อยู่หนา้ เคร่อื งคอมพิวเตอรเ์ สมือนว่ากาลงั เรยี นอยูใ่ นห้องเรียนจรงิ ๆ 7. การบ้านอิเล็กทรอนิกส์ (Home electronics) ใชส้ าหรับติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งผูเ้ รยี นอาจารยเ์ ป็น เสมือนสมดุ ประจาตัวนักเรยี น โดยทน่ี กั เรยี นไม่ต้องถอื สมดุ การบา้ นจรงิ ๆและใชส้ ่งงานตามท่อี าจารยก์ าหนด เชน่ ใหเ้ รียนรายงานโดยท่อี าจารย์สามารถเปดิ ดูการบา้ นอิเลก็ ทรอนิกส์ของนกั เรียนและเขยี นบันทกึ เพ่ือตรวจ งานและให้คะแนนไดแ้ ต่นกั เรียนจะเปิดดูไมไ่ ด้ ข้อดีของการเรยี นการสอนโดยใชเ้ วบ็ เปน็ หลัก 1. ชว่ ยเพมิ่ ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างผ้เู รยี นกับผูเ้ รยี นผ้เู รียนกับผู้สอนและผ้เู รียนกบั แหล่งการเรียนผอู้ ่นื ๆ 2. ช่วยลดรายจ่ายในสภาพการเรียนการสอนจรงิ ท่ีมอี าคารพร้อมสงิ่ อานวยความสะดวกอ่นื ๆ ซง่ึ เสยี ค่าใชจ้ ่ายมาก มีการเตรียมวสั ดุอปุ กรณ์และบางครั้งอาจเส่ียงอนั ตรายดงั นนั้ การเรยี นการสอนโดยใชเ้ ว็บเป็น หลกั จึงเป็นทางเลือกหนง่ึ ทช่ี ่วยลดภาระคา่ ใช้จ่ายได้ 3. ทาข้อมูลให้ทนั สมยั และเป็นปัจจุบนั ไดง้ า่ ยและรวดเร็วจึงทาให้เน้ือหาวิชาท่ผี ู้เรียนไดร้ ับถกู ต้องอยู่ เสมอ 4. ข้อมูลต่างๆที่ใชใ้ นการเรยี นการสอนสามารถอา้ งอิงผา่ นระบบการสืบค้นได้ทันที ข้อจากดั ของการเรียนการสอนโดยใชเ้ วบ็ เปน็ หลัก 1. คา่ ใช้จ่ายในเรอ่ื งเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ การติดตั้ง คา่ เช่ากรณอี ยู่ตา่ งจังหวดั มรี าคาสูงมาก 2. ขาดผเู้ ช่ียวชาญในการออกแบบระบบการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เนต็ 3. มีอปุ สรรคในดา้ นภาษาเนอ่ื งจากข้อมูลท่ีอย่บู นอินเทอร์เน็ต ส่วนมากเปน็ ภาษาอังกฤษ 4. ประสทิ ธิภาพการเรยี นทั้งหมดอยทู่ ผ่ี ู้เรยี นเปน็ สาคญั อาจารยผ์ ู้สอนไม่สามารถควบคุมการเรียนของ ผู้เรยี นได้ 5. ความเรว็ ในการเขา้ ถึงข้อมูลและสบื คน้ ยังชา้ ทาใหเ้ กิดความนา่ เบือ่ หนา่ ย

-75- 6. ผใู้ ชย้ ังขาดทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และเครือข่ายจงึ ทาใหไ้ ม่ค่อยอยากใช้และไม่สนใจที่จะเรยี นใน รูปแบบนี้ 7. ไมส่ อดคล้องกับวฒั นธรรมการเรียนการสอนของสงั คมซึ่งเนน้ การถา่ ยทอดความรจู้ ากครูอาจารยเ์ ปน็ หลัก 8. ขาดการสนบั สนุนและปฏริ ูปการจัดการศึกษาจากผ้บู รหิ ารในทุกระดับซ่งึ ไม่เขา้ ใจในเทคโนโลยี สารสนเทศ 3.มัลติมีเดยี เป็นเทคโนโลยีได้พัฒนากา้ วหน้าจนสามารถรองรบั การแทนขอ้ มลู ขา่ วสารขนาดใหญ่ไดม้ ากข้ึน สามารถ นาเสนอข่าวสารทเี่ ข้าใจได้ง่ายขน้ึ การผสมรูปแบบหลายสื่อจึงทาได้ง่าย เชน่ การใชภ้ าพท่เี ปน็ สแี ทนภาพขาว- ดา เพอ่ื ทาให้เข้าใจดขี ึน้ ภาพเคลื่อนไหวทาให้น่าต่นื เตน้ เรียนร้ไู ด้ง่ายตลอดจนการมีเสยี งเมื่อนามารวมเขา้ ดว้ ยกันเป็นมัลตมิ เี ดยี ซงึ่ การผสมรปู แบบส่ือหลายอย่างทาใหก้ ารเรยี นรสู้ มบูรณ์ข้นึ ดงั น้ัน การใชม้ ัลติมเี ดีย คอื การใช้คอมพวิ เตอร์รว่ มกับโปรแกรมซอฟตแ์ วรใ์ นการสอ่ื ความหมายโดยการผสมผสานสอื่ หลายชนดิ เชน่ ข้อความ สีสัน ภาพกราฟิก ภาพเครื่องไหว เสยี งและภาพพยนต์ วิดีทัศน์และผูใ้ ชส้ ามารถควบคมุ ส่อื ใหเ้ สนอ ของมาตามต้องการได้ ระบบน้ีจะเรยี กว่า “มัลติมีเดยี ปฏสิ ัมพันธ์” การปฏิสมั พนั ธข์ องผู้ใชส้ ามารถกระทาได้ โดยผ่านทางคยี บ์ อร์ด เมาส์ หรอื ตัวชเี้ ปน็ ต้น คณุ คา่ ของมัลติมเี ดีย มัลติมีเดียไดน้ ามาใชใ้ นการฝึกอบรม การทหาร และอุตสาหกรรมและยงั เป็นเครื่องมือท่ีสาคญั ทาง การศึกษา ท้ังน้ีเพราะวา่ เทคโนโลยีมลั ตมิ ีเดียสามารถทจี ะนาเสนอได้ทั้งเสยี ง ข้อความ ภาพเคล่ือนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถา่ ย วัสดุตีพมิ พ์ และภาพยนตรว์ ิดที ัศน์ และสามารถท่ีจะจาลองภาพการเรียนการสอน โดย ผู้เรยี นสามารถเรียนรไู้ ด้โดยตรง จุดเด่นของการใชม้ ัลติมเี ดียเพอ่ื การศึกษามดี งั นี้ 1. สง่ เสริมการเรียนดว้ ยตนเองแบบเชิงรุกกบั แบบสอ่ื นาเสนอการสอนแบบเชงิ รับ 2. สามารถเปน็ แบบจาลองการนาเสนอหรอื ตวั อย่างทเี่ ป็นแบบฝกึ และสอนทีไ่ ม่มแี บบฝึก 3. มีภาพประกอบและมีปฏสิ ัมพันธ์ 4. เปน็ ส่ือทส่ี ามารถพฒั นาเพ่ือชว่ ยการตดั สนิ ใจและแก้ไขปัญหาอย่างมีศักยภาพ 5. ยอมให้ผู้ใชค้ วบคมุ ไดด้ ว้ ยตนเอง และมรี ะบบหลายแนวทางในการเข้าถึงขอ้ มูล 6. สรา้ งแรงจงู ใจและมีหลายรูปแบบการเรียน 7. จัดการด้านเวลาในการเรยี นได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ใช้เวลาในการเรียนน้อย

-76- การใชม้ ลั ติมเี ดียเพือ่ การเรยี นการสอน การใชม้ ลั ติมเี ดียกเ็ พ่ือเพ่ิมทางเลือกในการเรียนและสนองต่อรปู แบบของการเรยี น ของนักเรยี นที่ แตกตา่ งกนั การจาลองสภาพการณข์ องวิชาตา่ งๆ เปน็ วิธกี ารเรียนรู้ท่ีนาใหน้ กั เรยี นไดร้ ับประสบการณ์ตรงก่อน การลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ โดยสามารถท่ีจะทบทวนข้นั ตอนและกระบวนการได้เป็นอยา่ งดี นกั เรยี นอาจเรียนหรอื ฝกึ ซ้าไดแ้ ละใช้มลั ติมีเดยี ในการฝกึ ภาษาตา่ งประเทศ โดยเนน้ เร่อื งของการออกเสียงและฝกึ พดู มัลติมเี ดียสามารถเชอ่ื มทฤษฎีและการปฏบิ ัติเข้าด้วยกนั คือ ใหโ้ อกาสผู้ใช้บทเรยี นไดท้ ดลองฝกึ ปฏิบัติ ในสง่ิ ท่ีได้เรียนในห้องเรยี น และชว่ ยเปลีย่ นผู้ใช้บทเรียนจากสภาพการเรยี นรู้ในเชงิ รับมาเป็นเชงิ รกุ ในด้านของ ผู้สอนใช้ มัลตมิ ีเดยี ในการนาเสนอการสอนใน ช้ันเรยี นแทนการสอนโดยใชเ้ คร่ืองฉายภาพข้ามศรี ษะ ทัง้ น้ี เน่ืองจากมลั ติมีเดียจะสามารถนาเสนอความรู้ได้หลายส่ือและเสมือนจริงได้มากกว่าการใช้สื่อประเภทแผ่นใส เพยี งอย่างเดยี ว องคป์ ระกอบของมลั ติมเี ดีย ระบบมัลติมเี ดียทีใ่ ชก้ ับคอมพิวเตอรเ์ ปน็ ระบบทเี่ นน้ การโต้ตอบกับผ้เู รยี น กลา่ วคือ เม่ือคอมพวิ เตอร์ นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ผใู้ ช้สามารถโตต้ อบในลกั ษณะเวลาจริง (Real Time) การโต้ตอบจึงทาใหร้ ูปแบบของ การใชง้ านมีความเหมาะสมและตรงกบั ความต้องการของผู้ใชไ้ ด้มากข้นึ ดังนัน้ ระบบมัลติมเี ดียจึงเปน็ ระบบการ นาขอ้ มลู ข่าวสารท่ีมขี นาดใหญ่มาใชก้ ับคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงเน้นการใช้สือ่ ผสมหลายรปู แบบ ได้แก่ เสยี ง ภาพถ่าย ภาพกราฟิก ภาพเคล่อื นไหวและวิดที ศั น์ เปน็ ตน้ มลั ตมิ ีเดียสามารถสรา้ งขึ้นจากโปรแกรมประยุกตห์ ลายๆ โปรแกรมแต่อยา่ งใดก็ตาม จะตอ้ งประกอบดว้ ย 2 ส่อื หรอื มากกวา่ ตามองค์ประกอบดงั นี้ คือ ข้อความ ภาพเคลอื่ นไหว เสยี งภาพน่งิ การเชือ่ มโยงแบบปฏิสมั พันธ์และภาพยนตรว์ ดิ ีทัศน์ ดังน้นั จึงอาจสรปุ ไดว้ า่ การท่ีมัลติมเี ดียแทนข้อมลู ข่าวสารได้มากและนา่ สนใจ ตลาดของมัลติมเี ดียจึง กว้างขวางและเป็นตลาดทนี่ า่ สนใจ โดยเฉพาะในวงการศึกษามัลติมเี ดียมคี วามเหมาะสมสาหรับองคป์ ระกอบ การเรยี นรู้เปน็ อย่างยง่ิ เพราะเป็นส่อื เพื่อการเรยี นรโู้ ดยตอบรบั ประสาทสมั ผสั ได้มากกว่า มลั ตมิ ีเดยี จึงเป็นส่ือ ทางการเรยี นการสอนและการศึกษาทีม่ ีขอบเขตกว้างขวาง เพม่ิ ทางเลือกในการเรียนและการสอน สามารถ สนองต่อรูปแบบของการเรียนของนักเรยี นท่แี ตกต่างกันได้ สามารถจาลองสภาพการณ์ของวชิ าต่างๆ เพ่ือการ เรียนรไู้ ด้ นักเรยี นไดร้ บั ประสบการณต์ รงกอ่ นลงมือปฏบิ ตั ิจริง สามารถทจี่ ะทบทวนขัน้ ตอนและกระบวนการ ได้เป็นอย่างดี จงึ กลา่ วได้ว่ามัลตมิ ีเดยี มคี วามเหมาะสมที่นามาใช้ทางการสอนและการศึกษา 4. ซีดรี อม พฒั นาการอีกด้านหนึ่งคือการเก็บข้อมลู จานวนมากดว้ ยซีดีรอม ซีดีรอมหน่งึ แผน่ สามารถเกบ็ ข้อมูล ตัวอกั ษรได้มากถงึ 600 ลา้ นตัวอกั ษร ดงั น้นั ซีดรี อมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บขอ้ มูลหนงั สือหรอื เอกสารได้ มากกวา่ หนังสือหน่งึ เลม่ และท่ีสาคัญคือการใชก้ ับคอมพิวเตอรท์ าใหส้ ามารถเรียกคน้ หาขอ้ มูลภายในซีดรี อมได้

-77- อยา่ งรวดเรว็ โดยใชด้ ชั นีสบื คน้ หรือสารบัญเร่อื ง ซีดรี อมจึงเปน็ ส่ือทมี่ บี ทบาทต่อการศกึ ษาอยา่ งยิ่ง เพราะใน อนาคตหนงั สือตา่ งๆ จะจัดเก็บอย่ใู นรปู ซดี รี อมและเรียกอ่านดว้ ยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บุ๊ค ซดี ีรอมมขี ้อดี คือ สามารถจดั เก็บข้อมลู ในรูปของมัลติมีเดยี และเม่ือนาซดี รี อมหลายแผ่นใส่ไว้ในเครื่องอ่าน ชดุ เดยี วกัน ทาให้ซดี ีรอมสามารถขยายการเก็บขอ้ มลู จานวนมากยิ่งข้ึนได้ปัจจุบันแนวโนม้ ด้านราคาของ ซีดีรอมมีแนวโน้มถกู ลงเร่ืองๆ จนแน่ใจวา่ ส่อื ซีดีรอมจะเป็นส่ือทน่ี ามาใช้แทนหนังสือทีใ่ ช้กระดาษในอนาคต ท้ังนเ้ี ชอ่ื ว่าสอื่ ที่ใช้กระดาษจะมีแนวโน้มราคาสงู ขึน้ 5. ระบบการเรียนการสอนทางไกล การศึกษาเน้นระบบการกระจายการศึกษา การเรยี นการสอนทางไกลเป็นชอ่ งทางหนึง่ ท่ีใช้เพื่อกระจาย การศึกษา ระบบการกระจายการศึกษาท่ีไดผ้ ลในปจั จุบนั และเขา้ ถึงมวลชนจานวนมาก ยอ่ มต้องใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเข้าชว่ ย ในปจั จบุ นั มแี นวโน้มทีจ่ ะมีสถานโี ทรทศั น์เพ่ิมขน้ึ อาจจะมากกว่า 100 ช่องในอนาคต และมรี ะบบ โทรทศั น์ท่ีกระจายสัญญาณโดยตรงผ่านความถีว่ ี VHF และ UHF ระบบ VSF ไดแ้ ก่สถานีโทรทศั น์ ชอ่ ง 3 ช่อง 5 ช่อง 7 ชอ่ ง 9 และช่อง 11 สว่ นระบบ UHF ได้แก่ ไอทวี ี (ITV) และยงั มี DTH : Direct to Home คอื ระบบ ที่กระจายสญั ญาณโทรทัศน์จากดาวเทียมลงตรงยังบา้ นท่ีอยอู่ าศัย ทาให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีการรบั ได้กวา้ งขวาง เพราะไมต่ ดิ ขัดสภาพทางภมู ิประเทศที่มีภเู ขาขวางกัน้ ดงั น้ันการใชร้ ะบบโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมจงึ เป็นวธิ ีการ หนึ่งทใ่ี ช้ในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลเพอ่ื กระจายโอกาสทางการศึกษา การเรียนการสอนทางไกลโดยใช้ระบบโทรทัศน์ท่มี ีอยใู่ นปัจจบุ นั มีขอ้ จากัดคือเป็นการสือ่ สารทางเดยี ว (One-way) ทาใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับข่าวสารขอ้ มลู เสียงด้านเดยี วไมส่ ามารถซักถามปญั หาต่างๆ ไดจ้ ึงมีระบบ กระจายสัญญาณในรปู ของสาย (Cable) โดยใชเ้ สน้ ใยแก้วนาแสงในการสื่อสารเหมือนสายโทรศพั ท์ แตม่ ี ความเร็วในการส่อื สารขอ้ มูลได้มากกว่าสายโทรศัพทธ์ รรมดา และสง่ กระจายสัญญาณไปตามบ้านเรอื นตา่ งๆ ก่อใหเ้ กิดระบบวิดโี อเทเลคอนเฟอเรนซ์ (Video teleconference) ข้นึ ระบบดงั กล่าวน้เี ปน็ ระบบโต้ตอบสอง ทาง (Two-way) กล่าวคือทางฝา่ ยผเู้ รียนสามารถเห็นผู้สอนและผูส้ อนก็เหน็ ผู้เรยี นถึงแม้จะอยู่ห่างไกลกนั ท้งั สองฝ่ายสามารถเจรจาตอบโต้กันเห็นภาพกนั เสมอื นนั่งอยูใ่ นห้องเดียวกัน ระบบวดิ โี อเทเลคอนเฟอเรนซจ์ งึ เปน็ ระบบหนง่ึ ที่มปี ระโยชนต์ ่อการศึกษาทางไกลเมื่อระบบการศึกษาเนน้ ระบบการกระจายการศึกษา การ เรยี นการสอนในห้องเรียนปกติและมีครเู ปน็ ผ้สู อนจากัดเวลาเรยี นตายตวั และต้องเรยี นในสถานทที่ จี่ ดั ไวใ้ หก้ ็ อาจเปลยี่ น แปลงไปเปน็ การจัดการศกึ ษาโดยใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ ไปมสี ่วนชว่ ยในการเรยี นรู้และเช่อื มโยงการสอน ของครทู ี่เก่าหรือเชยี่ วชาญไปสผู่ ูเ้ รียนในสถานท่ีต่างๆ ได้ทั่วถงึ และรวดเรว็ ระบบการเรียนการสอนทางไกลจึง เกดิ ข้นึ ซึง่ สนองความตอ้ งการของสงั คม ปัจจบุ นั ซึง่ เปน็ สังคมข่าวสารการสอนทางไกลเป็นการเปิดโอกาสและ กระจายโอกาสทางการศึกษาไปส่บู ุคคลกล่มุ ต่างๆ อย่างท่ัวถึงทาใหเ้ กดิ การศกึ ษาตลอดชีวิต

-78- ความหมายของการเรยี นการสอนทางไกล การเรียนการสอนทางไกล หมายถงึ การเรยี นการสอนท่ผี เู้ รียนและผสู้ อนอยไู่ กลกนั ใชว้ ธิ ีการถา่ ยทอด เนื้อหาสาระและประสบการณโ์ ดยอาศยั ส่ือประสมในหลายรปู แบบ ได้แก่ ส่อื ที่เปน็ หนังสอื ส่ือทางไปรษณีย์ ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ วทิ ยุกระจายเสียง โทรทัศน์ การประชมุ ทางไกลด้วยภาพและเสียง (Video Conference) อินเทอรเ์ นต็ เปน็ ต้น ช่วยใหผ้ เู้ รยี นท่ีอย่ตู ่างถ่ินตา่ งท่ีกันสามารถศกึ ษาความร้ไู ด้ องคป์ ระกอบของระบบการเรียนการสอนทางไกล มีดงั นี้ 1. ผเู้ รียนเน้นผ้เู รียนเป็นศนู ยก์ ลางที่มีอิสระในการกาหนดเวลา สถานทแ่ี ละวธิ ีเรยี น โดยผเู้ รียนสามารถ เรยี นรจู้ ากแหลง่ ทรัพยากรการเรยี นรู้ไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ จากการสอนสดโดยผา่ นการสือ่ สารทางไกลและ เรยี นผ่านระบบสารสนเทศทางอนิ เทอรเ์ น็ต เป็นตน้ 2. ผ้สู อนเน้นการสอนโดยใชก้ ารสอื่ สารทางไกลแบบ 2 ทางและอาศยั ส่ือหลากหลายชนดิ ซ่ึงชว่ ยให้ ผู้เรียนไดด้ ้วยตนเองหรือเรียนเสริมภายหลงั ได้ 3. ระบบบรหิ ารและการจดั การ จัดโครงสรา้ งอ่ืนๆ เพื่อเสริมการสอน เชน่ การจัดศนู ย์วทิ ยบริการ จัดระบบอาจารยท์ ปี่ รึกษาระบบการผลติ สือ่ และจดั สง่ ส่อื ให้ผู้เรยี นโดยตรง เปน็ ตน้ 4. การควบคมุ คุณภาพ จัดทาอย่างเป็นระบบและดาเนนิ การต่อเนอ่ื งสมา่ เสมอ โดยเนน้ การควบคุม คณุ ภาพในด้านขององคป์ ระกอบของการสอน เช่น ขน้ั ตอนการวางแผนงานกระบวนการเรยี นการสอน วิธีการ ประเมนิ ผลและการปรบั ปรุงกระบวนการ เป็นต้น 5. การตดิ ตอ่ ระหวา่ งผู้เรียน ผู้สอนและสถาบนั การศึกษาเป็นการตดิ ต่อแบบ 2 ทาง โดยใชโ้ ทรทศั น์ โทรสาร ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ ตน้ กระบวนการเรยี นการสอน มีข้ันตอนสาคัญๆ 3 ขั้นตอนคือ 1. การเรยี น-การสอน การเรียนทางไกลอาศยั ครูและอปุ กรณ์การสอนสามารถใชส้ อนนักเรยี นได้ มากกว่า 1 หอ้ งเรียนและไดห้ ลายสถานท่ี ซง่ึ จะเหมาะกับวิชาทนี่ ักเรียนหลายๆ แห่งต้องเรียนเหมอื นๆ กนั เช่น วชิ าพนื้ ฐาน ซงึ่ จะทาใหไ้ มต่ ้องจ้างครูและซ้อื อปุ กรณ์สาหรับการสอนในวชิ าเดียวกนั ของแต่ละแหง่ การ สอนนักเรียนจานวนมากๆ ในหลายสถานท่คี รูสามารถเลือกให้นกั เรียนถามคาถามได้ เน่อื งจากมีอุปกรณ์ช่วย ในการโต้ตอบ เช่น ไมโครโฟน กล้องโทรทัศน์หรือกล้องวิดโี อ และจอภาพเปน็ ตน้ 2. การถาม – ตอบ ขั้นตอนท่ีสาคัญอยา่ งหนึ่ง คอื การใช้คาถามเพื่อให้เกดิ การโตต้ อบหรือมีปฏสิ ัมพันธ์ สื่อทใี่ ช้อาจเป็นโทรศพั ท์ กลอ้ งโทรทศั นห์ รอื กลอ้ งวดิ โี อ ในระบบการสอนทางไกลแบบวดี ิโอคอนเฟอเรนซ์หรือ โทรสารหรือไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์ ซ่งึ เป็นการถามตอบภายหลัง

-79- 3. การประเมนิ ผล รปู แบบการประเมนิ ผลการเรียนการสอนทางไกลนั้นผ้เู รียนสามารถส่งการบ้าน และ ทาแบบทดสอบโดยใช้ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนกิ สห์ รืออาจเปน็ รูปแบบการประเมินผลในหอ้ งเรยี นปกติ (ในห้อง สอบที่จัดไว)้ เพื่อผสมผสานกันไปกับการเรียนทางไกล ดังนั้น การนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสอนทางไกลจะประสบผลมากหรอื น้อยขนึ้ อย่กู ับวา่ ผ้นู ามาใช้เขา้ ใจแนวคดิ หลักการตลอดจนมีการวางแผนและเตรยี มการไว้เป็นอย่างดี โดยคานึงถึงการสร้าง ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างครกู ับนักเรียนใหม้ ากจะทาให้การเรยี นการสอนนา่ สนใจยิง่ ขนึ้ การใชส้ ื่อและอุปกรณ์การ สอ่ื สารอยา่ งหลากหลายทาให้เกดิ สภาวะยดื หย่นุ ของ การจัด ซ่งึ เหมาะสมกบั สภาวการณ์ในปจั จุบันโดย ทัง้ หมดทาให้บรรลุเป้าหมายที่สาคัญ คือความสามารถในการกระจายโอกาสทางการศึกษาและยกระดบั คุณภาพของการศึกษาจึงกลาย เป็นทางลดั ท่ีเอื้อต่อการเรียนหลายประเภทและไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษา 6. วดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ วดิ โี อเทเลคอนเฟอเรนซ์หมายถึง การประชมุ ทางจอภาพโดยใช้เทคโนโลยกี ารสอื่ สารท่ีทันสมัยเปน็ การ ประชมุ รว่ มกันระหวา่ งบคุ คลหรือคณะบคุ คลท่ีอยตู่ ่างสถานทแ่ี ละห่างไกลคนละซีกโลก ดว้ ยสอ่ื ทางด้าน มัลติมเี ดยี ทใ่ี ห้ท้งั ภาพเคลอ่ื นไหว ภาพนิง่ เสียงและข้อมลู ตัวอกั ษรในการประชมุ เวลาเดยี วกนั และเปน็ การ สอ่ื สาร 2 ทาง จงึ ทาให้ดเู หมือนวา่ ได้เข้ารว่ มประชุมรว่ มกันตามปกติ ดา้ นการศึกษาวดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ทาให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกนั ได้ผา่ นทาง จอภาพ โทรทศั น์และเสียง นักเรียนในห้องเรยี นทอ่ี ยู่ห่างไกลสามารถเหน็ ภาพและเสยี งของครู สามารถเหน็ อา กบั กิริยาของ ผสู้ อน เหน็ การเคลือ่ นไหวและสีหนา้ ของครใู นขณะเรียนคุณภาพของภาพและเสยี งขน้ึ อยกู่ ับ ความเร็วของช่องทางการสื่อสารทใี่ ช้เชอื่ มต่อระหวา่ งสองฝัง่ ท่มี กี ารประชมุ กนั ได้แก่ จอโทรทศั น์ หรือ จอคอมพิวเตอร์ ลาโพง ไมโครโฟน กล้อง อปุ กรณเ์ ขา้ รหัสและถอดรหัสผา่ นเครือขา่ ยการส่อื สารความเรว็ สูง แบบไอเอสดเี อน็ (ISDN) องคป์ ระกอบพื้นฐานของวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. เครอื ข่ายโทรคมนาคม มีหนา้ ที่เชื่อมสัญญาณจากผู้ร่วมประชุมแต่ละฝา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื การประชุม 2. อุปกรณเ์ ชอื่ มต่อ (Terminal) เปน็ อปุ กรณด์ ้านทางและปลายทาง ทาหน้าทร่ี ับและถ่ายทอดภาพและ เสยี งได้แก่ จอโทรทัศน์ เคร่ืองฉายภาพนง่ิ กล้องโทรทัศนห์ รือวดิ ีโอ ไมโครโฟน เป็นต้น

-80- ภาพที่ 6.3 แสดงอปุ กรณ์เช่ือมต่อ (Terminal) ของระบบวดิ ีโอคอนเฟอเรนซ์ อปุ กรณเ์ ชือ่ มต่อทสี่ าคัญของระบบวดิ ีโอเทเลเฟอเรนซ์ประกอบดว้ ย 1. กล้องโทรทศั น์ เป็นกล้องโทรทศั นท์ ี่ใช้ในการถา่ ยภาพมีระบบเซอรโ์ วเพ่ือควบคมุ ในระยะไกลให้กลอ้ ง สามารถปรบั มุมเงย มุมก้มกวาดทางซา้ ยหรือทางขวา ซมู ภาพ เปน็ ตน้ กล้องโทรทัศนท์ ีใ่ ช้จะสามารถควบคุมได้ จากที่หนง่ึ ไปยังอีกทห่ี นง่ึ ในระยะไกลได้ 2. จอภาพโทรทศั น์หรือจอมอนเิ ตอร์ เปน็ จอภาพทีส่ ามารถใชไ้ ด้ทง้ั กับระบบ PAL หรอื NTSC ภาพท่ี ปรากฏมีระบบรวมสญั ญาณเพอื่ แบง่ จอภาพออกเป็นจอเล็กๆเพ่ือดูปลายทางของแตล่ ะด้านหรือดูภาพของ ตนเองระบบจอภาพอาจขยายเป็นจอใหญข่ นาดหลายรอ้ ยน้ิวได้ เชน่ การใชเ้ ครื่องฉายภาพโปรเจคเตอร์แทน จอภาพโทรทัศน์ เป็นตน้ 3. เครือ่ งขยายเสยี งมิกเซอรแ์ ละไมโครโฟน เปน็ อุปกรณท์ ่ีใช้ขยายเสยี งท้ังท่ีต้นทางและปลายทางทง้ั นี้ เพื่อใหผ้ รู้ ่วมประชมุ หรอื ผ้เู รียนในห้องทางไกลและดา้ นทางไดย้ ินเสียงชัดเจนสาหรับมกิ เซอร์ใชเ้ พื่อรวม สัญญาณเสียงจากเคร่อื งเล่นวดิ ีทศั น์จากคอมพวิ เตอร์และจากไมโครโฟน 4. คอมพวิ เตอร์ เคร่ืองเลน่ วดิ ีทัศน์และกลอ้ งเอกสาร เปน็ อุปกรณเ์ ช่อื มต่อเพ่ืออานวยความสะดวกใน การใชส้ อื่ ต่างๆประกอบการประชมุ หรอื สอนทางไกล เชน่ การใช้ Power Point นาเสนอ ขอ้ ความ ภาพหรอื ใชก้ ล้องเอกสารเพือ่ สง่ ข้อความในรปู เอกสารหรอื นาเสนอข้อมลู ในหนังสือหรอื ตาราสว่ นเคร่ืองเล่นวิดีทัศนใ์ ช้ เพอ่ื นารายการวิดที ัศนไ์ ปใหผ้ ู้ชมท่ีอยตู่ น้ ทางและปลายทางเป็นการเพิ่มประสิทธภิ าพของการใชส้ ่อื มากย่ิงขึ้น 5. แป้นควบคมุ เป็นอุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับควบคุมระบบ เช่น ควบคุมการปรับมุมกลอ้ งที่ปลายทางหรือท่ี ตน้ ทาง การเลือกช่องสัญญาณการปรบั ระดบั เสียง การปดิ เสยี ง การปรบั ภาพและสลบั ภาพการปรบั มุมกล้อง และขนาดของภาพท่ีถา่ ยด้วยกล้องโทรทัศนร์ วมถึงการใช้โทรเพื่อเช่ือมต่อการสือ่ สารระหว่างกนั เป็นตน้

-81- 6. อปุ กรณ์ประกอบอ่ืนๆ ได้แก่ ลาโพง เคร่ืองโทรสาร เครอ่ื งโทรทัศน์ท้งั ที่ตน้ ทางและปลายทาง เพ่ือ การสอื่ สารด้วยชอ่ งทางอ่นื ๆ เพ่ิมขนึ้ 7. อุปกรณ์เขา้ รหสั และถอดรหสั ในการใชร้ ะบบวดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์มีความจาเป็นที่ต้องใชต้ ัว เขา้ รหัสและถอดรหัสจานวน 2 ชุดเพอ่ื แปลงสัญญาณอนาล็อกเปน็ สัญญาณดจิ ทิ ลั และถอดรหสั กลบั มาเป็น สัญญาณอนาล็อกเพ่ือออกทางจอภาพโทรทัศนแ์ ละเครือ่ งขยายเสยี งเพือ่ ให้ได้การส่อื สารที่เหมือนกบั ต้นทาง มากท่สี ดุ 7. ระบบวดิ ีโอออนดมี านด์ (Video on Demand) ระบบวิดโี อออนดมี านด์เป็นระบบใหม่ท่ีกาลงั ได้รับความนิยมนามาใชใ้ นหลายประเทศ เช่นญีป่ นุ่ และ สหรัฐอเมริกาโดยอาศยั เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ความ เร็วสงู ทาให้ผู้ชมตามบา้ นเรือนตา่ งๆสามารถเลือกรายการ วิดที ศั นท์ ตี่ นเองต้องการชมได้โดยเลือกตามรายการ (Menu) และเลือกชมได้ตลอดเวลา วิดีโอออนดีมานด์ (Video on Demand) เปน็ ระบบทมี่ ีศนู ย์กลางการเกบ็ ข้อมลู วิดที ศั น์ไว้จานวนมาก โดยจัดเก็บในรูปแหล่งข้อมลู ขนาดใหญ่ (Video Server) เมื่อผ้ใู ชต้ อ้ งการเลือกชมรายการใดก็เลอื กได้จาก ฐานขอ้ มูลทต่ี ้องการระบบวิดีโอออนดีมานด์ จงึ เป็นระบบที่จะนามาใช้ในเรื่องการเรยี นการสอนทางไกลไดโ้ ดย ไมม่ ีขอ้ จากัดดา้ นเวลาผู้เรียนสามารถเลอื กเรยี นในสงิ่ ท่ตี นเองต้องการเรียนหรือสนใจได้ ภาพที่ 6.4 แสดงการเช่อื มต่อระบบวดิ โี อออนดีมานด์ องค์ประกอบของระบบวดี โี อออนดีมานด์ ได้แก่ วีดโี อเซอร์ฟเวอร์ (Video Server) เคร่ืองขา่ ยการ สื่อสารแบบเอทีเอม (ATM) และวดิ ีโอไครแอนท์ (Video Client) วดิ ีโอเซอรฟ์ เวอร์ เปน็ เครื่องคอมพวิ เตอร์ที่มปี ระสทิ ธิภาพสูงมีท่ีเก็บขอ้ มูลท่ีมีความจสุ งู มากและมี ความเร็วในการอ่านข้อมลู สูงเพอื่ ทจี่ ะเก็บข้อมูลวิดีโอสนองตอ่ ความต้องการโดยผา่ นทางเครือข่ายเอทเี อ็มของ ผู้ใช้ภายในเซอรฟ์ เวอร์ยงั เปน็ ที่บรรจุเอน็ โคด้ เดอร์รีลไทมเพ่ือสาหรับการ แอ็กเซสไปส่รู ายการตา่ งๆ โดยปกติ แล้วขอ้ มลู วิดีโอ มีขนาดใหญแ่ ละต้องการส่งข้อมลู ด้วยความ เรว็ สงู เมอ่ื ใชเ้ ทคโนโลยีบีบอดั ขอ้ มูลแบบเอ็มเพ็ก (Mpeg) ทาให้การส่งข้อมูลได้เรว็ ขึน้ และข้อมลู ภาพยนตร์ไม่ใหญม่ ากเกนิ ไป ขนาดของข้อมลู เป็นตวั กาหนด

-82- คณุ ภาพ เชน่ สง่ ข้อมูลขนาด 1-5 เม็กกะบติ ต่อวนิ าที ใชม้ าตรฐาน MPEG-1 สาหรับคณุ ภาพระดบั วดิ ีทัศน์ ระบบวเี ฮชเอส (VHS) และ 6-8 เมก็ กะบติ ต่อวนิ าที (6-8 Mbps) สาหรบั คณุ ภาพ MPEG-2 หรือระดบั ดีวดี ี (DVD) เครอื่ งวิดีโอเซอร์เวอร์ต้องมี ประสทิ ธภิ าพเพยี งพอที่จะรองรบั และแจกจ่ายข้อมูลวิดโี อเหลา่ นั้นไปยัง ผใู้ ช้บรกิ าร เคร่ืองขายการสื่อสารแบบเอทีเอม (ATM: Asynchronous Transfer Mode) เป็นสถาปตั ยกรรมท่ีมี การส่งข้อมลู ดว้ ยความเร็วสูง โดยข้อมลู รายการต่างๆ จะสรา้ งขนึ้ มาในวิดโี อเซอร์ฟเวอร์แล้วแปลงใหเ้ ป็น เอทเี อ็ม โหมดจากนนั้ ก็จะส่งขอ้ มูลผ่านแอก็ เซสเน็ตเวอรก์ โดยอาศัยเอทีเอม็ เซลลไ์ ปยงั ผใู้ ชบ้ ริการ วิดโี อไครแอนท์ (Video Client) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ท่สี ามารถแปลง ข้อมลู ท่ีได้รับจากวิดโี อเซอรฟ์ เวอรใ์ ห้เป็นสญั ญาณ แสดงผลขนึ้ บนจอคอมพิวเตอร์หรือจอโทรทศั น์ได้ ภาพท่ี 6.5 แสดงอุปกรณส์ ่วนผ้ใู ช้ปลายทาง (End-user equipment) 8. ไฮเปอร์เท็กซ์ ปจั จบุ ันได้มกี ารกล่าวถึงระบบไฮเปอรเ์ ท็กซ์กันมากแมแ้ ต่ในเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ก็มีการประยุกต์ใช้ ไฮเปอร์เท็กซจ์ นมีโปรโตคอลพเิ ศษที่ใชก้ ัน คือ World Wide Web หรือเรียกวา่ WWW. โดยผู้ใช้สามารถ เรยี กใชโ้ ปรโตคอล http เพอ่ื เชื่อมโยงเข้าสู่ระบบไฮเปอรเ์ ท็กซ์ ซึ่งเป็นฐานข้อมลู ในอนิ เทอรเ์ นต็ ไฮเปอรเ์ ท็กซ์ในปจั จบุ ันเป็นแบบมลั ติมเี ดียเพราะสามารถสร้างเปน็ ฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ ท่ีเกบ็ ได้ทัง้ ภาพ เสียง และตัวอักษร มีระบบการเรียกคน้ ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพโดยใช้โครงสร้างดชั นีแบบลาดบั ชั้นภมู ิ โดยทวั่ ไป ไฮเปอรเ์ ท็กซจ์ ะเปน็ ฐานขอ้ มูลทม่ี ีดชั นสี ืบค้นแบบเดนิ หนา้ ถอยหลังและบันทึกร่องรอยของการสบื คน้ ไว้ โปรแกรมที่ใช้ในการสรา้ งไฮเปอรเ์ ท็กซม์ เี ปน็ จานวนมากส่วนโปรแกรมทีม่ ชี ่ือเสียงได้แก่ HTML,Composers, FrontPage, Macromedia Dreamweaver

-83- สว่ นประกอบของไฮเปอร์เท็กซ์ มีส่วนประกอบท่ีสาคัญ 3 ส่วน ได้แก่ 1. พอยท์ (Point) หมายถงึ คาวลีหรอื ประโยคที่ใช้เปน็ จุดเชอ่ื มโยงไปยงั ขอ้ มูลขยายความหมาย บางครัง้ อาจเรียกวา่ สมอเชอ่ื มโยงเพอ่ื ใหส้ ามารถเชื่อมโยงไปสูข่ ้อมูลทีเ่ พม่ิ ขึ้น ขยายความมากข้ึน หรือมี รายละเอยี ดเพมิ่ ข้นึ 2. โน้ต (Node) หมายถงึ กลุ่มของข้อมูลท่ีเปน็ ชุดเดยี วกันและสมั พันธ์กันหรอื เป็นเรื่องเดียวกัน ขนาด ของขอ้ มลู ในกลุ่มอาจมปี ริมาณมากหรือน้อยก็ได้ ภาพท่ี 6.6 แสดงความสัมพันธร์ ะหว่าง Point to และ Node to 3. ลงิ ค์ (Link) หมายถงึ การเชอ่ื มโยงซ่งึ มีตัวชแ้ี ละตวั เช่ือมโยงขอ้ มลู เป็นส่งิ กาหนด การเช่อื มโยง ไฮเปอร์เท็กซเ์ ข้าดว้ ยกนั ลิงค์จะเป็นตัวบอกใหโ้ ปรแกรมนาโนดมาเสนอแก่ผู้อ่านหรือเชื่อมโยงไปยงั โนดอื่นๆ ตัวชใ้ี นที่นีอ้ าจเป็นเคอร์เซอรร์ ูปน้ิวมอื และการคลิกเมาส์ ซ่ึงจะเปน็ ตวั นาไป สู่ข้อมลู ส่วนขยายความต้องการ นอกจากน้ีลิงคย์ ังแบ่งออกไดเ้ ปน็ แบบหนงึ่ จดุ ต่อหลายจุด (One to Many) หรือแบบหลายจดุ ต่อหน่งึ จุด (Many to One) หลักการของการเชือ่ มโยงท่ีสาคญั จะตอ้ งมตี วั ช้ี (Index) หรือจดุ อา้ งอิง (Reference) เป็นหลักเพื่อเชอ่ื มโยงไปยงั ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง ประโยชน์ของไฮเปอร์เท็กซ์ที่ใช้ทางการศกึ ษา มีข้อได้เปรียบกวา่ การใชเ้ อกสารหรือส่งิ พิมพอ์ ยู่หลายดา้ น ไดแ้ ก่ 1. รูปแบบการนาเสนอและการสบื คน้ นา่ สนใจ ชวนตดิ ตาม 2. การนาเสนอสามารถนาเสนอได้ทง้ั วิดีทัศน์ กราฟิก ภาพเคล่ือนไหวและเสยี ง 3. สามารถเชือ่ มโยงไปยังเอกสารอืน่ ๆ ภายนอกได้ 4. ผู้ใชส้ ามารถสบื ท่องไปยังเนือ้ หาท่สี นใจและต้องการไดด้ ้วยตนเอง 5. มีความเปน็ ปจั จุบันอยูเ่ สมอ สามารถเปลย่ี นแปลงและปรับปรงุ เนอ้ื หาง่าย 6. ผู้ใชส้ ามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลรายละเอยี ดไดอ้ ย่างรวดเร็ว 7. สามารถใช้ร่วมกบั โปรแกรมประยกุ ตอ์ ่ืนๆ เพื่อการนาเสนอไดง้ ่าย ทาให้เกิดกิจกรรมการใชง้ าน หลากหลายข้ึน

-84- 8. สามารถประยุกตใ์ ชก้ บั บทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยฝึกอบรมได้ 9. เกิดความคงทนในการเรียนรู้มากกวา่ การใชเ้ อกสารท่ีอย่ใู นรูปสิง่ พิมพ์ 10. สง่ เสรมิ การเรียนร้รู ายบุคคลไดเ้ ปน็ อย่างดี 9. อินเทอร์เนต็ (Internet) เป็นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ีมีรากฐานความเปน็ มา โดยการสนบั สนนุ ของกระทรวงกลาโหมของ สหรฐั อเมรกิ าที่มีความประสงค์เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ สนับสนุนทนุ วจิ ัยให้มหาวทิ ยาลยั ช้ัน นาในสหรฐั อเมรกิ า ทาการวิจัยเชอ่ื มโยง เครือข่ายขนึ้ และใหช้ ือ่ วา่ APRANET ตอ่ มาเครือข่ายน้ีไดข้ ยายตัว อย่างรวดเรว็ มีคนนยิ มใชก้ นั มากยิ่งขน้ึ จึงใช้ช่อื เครือข่ายใหม่ว่าอินเทอรเ์ น็ต เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกนั ระหว่างมหาวิทยาลัยกบั มหาวิทยาลัยและขยายตวั รวดเรว็ ออกไปสูห่ น่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครฐั บาลและเอกชน ในหลายประเทศ ประเทศไทยได้เชือ่ มโยงเครอื ข่ายนโี้ ดยมีมหาวทิ ยาลัยกว่า 24 แห่งตอ่ ผ่านช่องทางสอ่ื สารเขา้ สู่อนิ เทอรเ์ น็ต อินเทอร์เนต็ มีประโยชน์ต่อการศกึ ษามากทาใหม้ หาวิทยาลยั ตา่ งๆ ตืน่ ตวั ตอ่ การใช้ ทง้ั นี้เพราะว่าใน ระบบเครือขา่ ยมีข้อมลู ข่าวสารทต่ี อ้ งการมากมาย จงึ มีอตั ราการขยายตัวของผใู้ ช้สูงและครอบคลุมทกุ แห่งทั่ว โลก จึงทาให้อนิ เทอร์เนต็ มบี ทบาทต่อการศึกษาดงั นี้ 1. การใชเ้ ปน็ ระบบสอ่ื สารสว่ นบคุ คล บนอินเทอร์เนต็ มีอิเล็กทรอนิกสเ์ มลห์ รือเรยี กยอ่ ๆ วา่ อีเมล์ (e- Mail) เป็นระบบท่ที าให้การส่ือสารระหวา่ งกันเกิดขึน้ ไดง้ ่าย แตล่ ะบคุ คลจะมีตู้จดหมายเป็นของตวั เองสามารถ ส่งข้อความถึงกนั ผา่ นในระบบนี้ โดยสง่ ไปยงั ต้จู ดหมายของกันและกนั นอกจากนยี้ ังสามารถประยุกตไ์ ปใช้ ทางการศกึ ษาได้ เช่นการแจง้ ผลสอบผ่านทางอเี มล์ การสง่ การบา้ น การโตต้ อบบทเรยี นตา่ งๆ ระหว่างอาจารย์ กับนักศึกษา 2. ระบบข่าวสารบนอินเทอร์เน็ตมีลกั ษณะเหมือนกระดานขา่ วทเ่ี ชอ่ื มโยง ถึงกนั ทั่วโลก ทกุ คน สามารถเปิดกระดานขา่ วทีต่ นเองสนใจ หรอื สามารถสง่ ขา่ วสารผา่ นกลมุ่ ขา่ วบนกระดานนเี้ พือ่ โตต้ อบขา่ วสาร กันได้ เช่น กลมุ่ สนใจงานเกษตรก็สามารถมีกระดานข่าวของตนเองไวส้ าหรบั อภิปรายปัญหากนั ได้ 3. การใช้เพอ่ื สืบค้นข้อมลู ขา่ วสารต่างๆ บนอนิ เทอร์เน็ตมแี หลง่ ข้อมูลขนาดใหญ่ทเ่ี ชื่อมโยงกนั และ ตดิ ตอ่ กับห้องสมุดท่วั โลกทาให้การค้นหาข้อมูลข่าวสารตา่ งๆ ทาได้อยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพหมายถึง สามารถคน้ หาและได้มาซึง่ ข้อมลู โดยใชเ้ วลาอนั ส้นั โดยเฉพาะบนอนิ เทอรเ์ น็ตจะมีคาหลัก (Index) ไวใ้ ห้ สาหรบั การสบื คน้ ท่รี วดเร็ว 4. ฐานข้อมลู เครือขา่ ยใยแมงมุม (World Wide Web) เปน็ ฐานขอ้ มลู แบบเอกสาร (Hypertext) และ แบบมีรปู ภาพ (Hypermedia) จนมาปัจจบุ นั ฐานขอ้ มูลเหลา่ น้ไี ดพ้ ฒั นาข้ึนจนเป็นแบบมัลติมีเดยี (Multimedia) ซ่งึ มีท้ังข้อความ รูปภาพ วดิ ที ัศน์และเสยี ง ผใู้ ชเ้ ครือข่ายน้ีสามารถสบื คน้ กนั ไดจ้ ากทต่ี า่ งๆ ทวั่ โลก

-85- 5. การพูดคุยแบบโตต้ อบหรือคยุ เปน็ กลุ่ม บนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ สามารถเชอ่ื มตอ่ กนั และพดู คุยกันได้ ดว้ ยเวลาจริง ผ้พู ูดสามารถพิมพข์ ้อความโตต้ อบกันได้ไม่วา่ จะอย่ทู ี่ใดบนเครือข่าย เชน่ ฝา่ ยหนึง่ อาจอยู่ ต่างประเทศอีกฝา่ ยหนึ่งอยู่ในทีห่ า่ งไกลกพ็ ูดคยุ กนั ไดแ้ ละสามารถพูดคุยกนั เป็นกลมุ่ ได้ 6. การสง่ ถา่ ยข้อมลู ระหว่างกันแบบ FTP (Files Transfer Protocol) คอื สามารถทีจ่ ะโอนย้ายถ่ายเท ขอ้ มูลระหวา่ งกันเป็นจานวนมากๆ ได้ โดยส่งผ่านระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซึ่งทาให้สะดวกต่อการรับ-สง่ ขอ้ มลู ข่าวสาร ซง่ึ กนั และกนั โดยไมต่ ้องเดินทางและขา่ วสารถึงผรู้ ับได้อย่างรวดเรว็ ยิง่ ข้นึ 7. การใช้ทรัพยากรทห่ี ่างไกลกัน ผูเ้ รียนอาจเรยี นอยู่ที่บา้ นและเรยี กใชข้ ้อมลู ทเี่ ป็นทรัพยากรการเรียนรู้ ของมหาวทิ ยาลัยได้ และยงั สามารถขอใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอรใ์ นตา่ งมาวทิ ยาลยั ได้ เช่น มหาวิทยาลัยหน่งึ มี เครือ่ งคอมพวิ เตอรแ์ บบซูเปอร์คอมพวิ เตอร์และผู้อยู่อีกมหาวิทยาลยั หน่งึ กข็ อใช้ได้ ทาให้มีการใช้ทรัพยากรที่ เป็นซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวรไ์ ดอ้ ย่างมปี ระโยชน์และคุ้มคา่ อย่างยิ่ง ดงั นนั้ จงึ เห็นไดว้ า่ ประโยชนข์ องเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ต่อการศึกษายังมีอีกมาก มหาวิทยาลยั เกอื บทุก แห่ง จึงเรง่ ที่จะมีโครงการสร้างเครอื ข่ายความเรว็ สงู ขึ้นในมหาวทิ ยาลยั เพ่อื ให้ทรพั ยากรภายในและผใู้ ช้ เชอ่ื มโยงถงึ กันได้ นอกจากน้ันยังสามารถต่อเชือ่ มเขา้ สูร่ ะบบอินเทอรเ์ น็ตได้ ความลม้ เหลวในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้เพือ่ การศกึ ษา มีปจั จัยหลายประการ คือ 1. ขาดความเขา้ ใจและความสมเหตสุ มผลในการใช้ เช่น หน่วยงานจดั ซอ้ื คอมพิวเตอร์ที่มปี ระสิทธภิ าพ สูงเกนิ กว่างานทจ่ี าเป็นมาใช้หรือซื้อเครอ่ื งใหมม่ าแทนเครื่องเดมิ แมว้ ่าเคร่ืองเดมิ ยังใชง้ านได้ แต่ซ้ือดว้ ยเหตผุ ล คอื ต้องการเคร่ืองทท่ี ันสมัย ดังนนั้ การมีคอมพิวเตอร์ใชค้ วรพิจารณาใหเ้ หมาะสมกับการใชง้ านทัง้ จานวนและ ประสทิ ธภิ าพ 2. ขาดความร้ใู นการใชง้ าน เช่น บุคลากรในสถานศึกษาขาดความรู้ในการใช้งาน ไม่กลา้ ใช้ สถานศกึ ษา ควรพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความร้ใู นการใชง้ านให้สอดคล้องกับความตอ้ งการและความจาเปน็ เพ่ือประโยชน์ตอ่ การศึกษา 3. ขาดการบารุงรักษา เช่น ไมบ่ ารงุ รกั ษาใหอ้ ยู่ในสภาพที่ใช้งานได้หรือไม่ได้ตัง้ งบ ประมาณบารุงรกั ษา จงึ ควรตรวจสภาพเครือ่ งใหพ้ ร้อมใช้งานตลอดเวลาเพ่ือความค้มุ ทุน 4. ขาดการพฒั นารปู แบบการใชง้ านให้ทันต่อการเปล่ยี นแปลง เช่น การพฒั นาฐาน ข้อมูล การทา ธรุ กรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ ได้เหมาะสมกับสภาพการเปลีย่ นแปลง อยา่ งไรกต็ ามต้องพจิ ารณาถงึ ความคมุ้ ทุนต่อ การพฒั นา 5. ขาดการยอมรับจากผู้บริหารหรอื ผรู้ ว่ มงาน เชน่ เมื่อหน่วยงานนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ สาร มาใชท้ าให้เกิดการเปลยี่ นแปลง และไม่ยอมรับการเปลีย่ นแปลงน้นั เพราะกลวั ตกงาน

-86- สรุป การเติบโตของเทคโนโลยสี ารสนเทศมลี ักษณะเป็นแบบก้าวหนา้ เชน่ มีการพัฒนาทุกๆ สามปแี ละ พัฒนาการทางความเรว็ ของคอมพวิ เตอร์จะเพิ่มขน้ึ ได้ประมาณสองเท่าเมื่อเปน็ เช่นน้ีความกา้ วหนา้ ทาง เทคโนโลยีสารสนเทศจงึ มีแนวโน้มที่จะก้าวไปได้อกี มาก ความฝันหรอื จนิ ตนาการตา่ งๆ ท่ีคิดไว้จะเป็นจรงิ ใน อนาคต พฒั นาการเหลา่ นยี้ ่อมมบี ทบาททีส่ าคัญตอ่ การ ศกึ ษาอย่างมาก องค์กรที่ทาหน้าทีใ่ นการวางแผน การศึกษาของชาติจะตอ้ งใหค้ วามสาคัญกบั การใช้เทคโนโลยีเหล่าน้อี ย่างเตม็ ที่การนาเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ มวลมนษุ ย์จึงเป็นเร่ืองสาคัญ อยา่ งไรกต็ ามการลงทุนทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศมี ราคาแพง จงึ จาเป็นต้องเลอื กสรรใหเ้ หมาะสมกบั การใชป้ ระโยชนผ์ ูท้ ีเ่ ก่ียวขอ้ งจึงตอ้ งมกี ารศกึ ษาและวางแผน ใหเ้ หมาะสมเพื่อก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ และอย่าคดิ วา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศนีเ้ ปน็ เพยี งเครือ่ ง ประดบั เท่านั้น คาถามทา้ ยบท 1. เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึงอะไร ประกอบด้วยเทคโนโลยีใดบ้าง พรอ้ มยกตวั อย่าง 2. เทคโนโลยสี ารสนเทศมีความสาคัญอยา่ งไรบา้ ง 3. เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลต่อชวี ติ ความเปน็ อยแู่ ละสังคมอย่างไรบ้าง 4. ในชีวิตประจาวันของนกั ศึกษาๆ ได้ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอะไรบ้าง 5. จงบอกประโยชนข์ องเทคโนโลยีสารสนเทศมาอย่างน้อย 5 ข้อ

-87- บทที่ 7 เทคโนโลยีกับการสือ่ สาร ความเปน็ มาของเทคโนโลยีการส่อื สาร ในปัจจุบันนเี้ ราสามารถตดิ ต่อสอ่ื สารกบั คนทวั่ โลกไดส้ ะดวกมาก แต่กว่าจะมาถงึ วนั นไ้ี ด้ การสือ่ สารไดม้ ี วิวัฒนาการมาหลายยุคหลายสมยั ววิ ัฒนาการของการสอื่ สารต้งั แต่ยคุ แรกของมนุษยด์ ังนี้ เช่ือกันว่าการสื่อสาร ระยะไกลของมนษุ ย์ในยุคแรกๆน่าจะเปน็ การการตีเกราะ เคาะไม้ การสง่ เสยี งต่อเปน็ ทอดๆ และการสง่ สญั ญาณควัน การสอื่ สารถอื เปน็ สิง่ สาคญั ต่อการดารงชวี ติ อยู่ของมนุษยโ์ ลก โดยเฉพาะในปัจจบุ ันซง่ึ เป็นยุค ของโลกไร้พรมแดน (Globalization) หากมีการติดต่อส่ือสารทสี่ ะดวก รวดเร็ว ย่อมทาให้การพฒั นา ประเทศชาติในทุกๆ ด้าน เจรญิ ก้าวหน้าอย่างรวดเรว็ เนื่องจากการตดิ ต่อสอื่ สารตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามา เกย่ี วข้องมากมาย ดังน้นั ผ้ทู ีป่ ระสบผลสาเร็จในการประกอบธุรกจิ จงึ ควรมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับ ววิ ฒั นาการเทคโนโลยขี องการสอ่ื สารพอสมควรซึ่งในเบื้องต้นแสดงความเป็นมาของววิ ฒั นาของการสอ่ื สารใน อดตี ต่อมาเมื่อมนุษยร์ ูจ้ ักวธิ ีการเขียนหนังสือกม็ กี ารคดิ วธิ กี ารส่ือสารกนั แบบใหมโ่ ดยการฝากขอ้ ความไปกับ นกพิราบ หรือการสง่ ข้อความไปกับม้าเร็วเป็นต้น การสอื่ สารถอื เป็นส่วนสาคัญในการตดิ ต่อข่าวสารถึงกัน การพฒั นาทางดา้ นการสือ่ สารข้นึ มาเพื่ออานวย ความสะดวกในการสง่ ข่าวสารมากข้ึน ตดิ ต่อส่ือสารได้ไกลมากข้นึ ส่งิ ท่นี กั วิทยาศาสตร์สนใจในจดุ เริ่มต้นของ การสื่อสารคือตัง้ ความม่งุ หมายทจ่ี ะกระจายข่าวสารจากจดุ หนึ่งไปยงั อกี จดุ อ่นื ๆ ท่ีอยูไ่ กลได้อยา่ งรวดเรว็ และ แผ่กว้างออก การสือ่ สารดว้ ยสัญญาณไฟฟ้าเปน็ การส่ือสารท่สี ามารถพัฒนาได้อยา่ งกวา้ งขวาง มี นักวิทยาศาสตร์หลายต่อหลายคนได้คิดคน้ พัฒนาระบบส่ือสารดว้ ยสญั ญาณไฟฟ้าต่อเน่ืองเร่ือยมาจาอดตี จนถงึ ปจั จุบัน กลา่ วไดส้ รุปดงั นี้ พ.ศ. 2375 แซมมวลมอรส์ (Samuel F.B. Morse) ไดป้ ระดษิ ฐ์โทรเลขขึ้นมา โดยใชจ้ ดุ (Dots) และขดี (Dashes) เป็นรหัสในการสง่ ข่าวสาร จนถึงวนั ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2386 แซมมวลมอร์สได้รบั อนญุ าตจากรฐั สภา อเมริกา ใหต้ ิดตั้งเสาโทรเลขระหวา่ งวอชิงตนั กบั บัลติมอร์เพือ่ ใช้ในการสง่ ข่าวสาร และในวันที่ 24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2387 ไดท้ าการส่งโทรเลขเปน็ ข้อความประวัติศาสตร์ว่า “What hath God wrought” (อะไรต่าง ๆ เปน็ ส่ิงทพ่ี ระเจา้ สร้างขึ้น) จากวอชงิ ตันไปบลั ติมอรเ์ ป็นการเปดิ ทาการส่ือสารและขยายเครอื เพิม่ ขนึ้ มากมาย พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮมเบลล์ (Alexander Graham Bell) และผชู้ ว่ ยของเขา โทมัส เอ วตั สนั (Thomas A. Watson) ได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ข้นึ มาเมอื่ วนั ท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2419 ขณะทเี่ บลลอ์ ยู่ใน บ้านและวัตสันอยู่บนเตียงนอนอีกห้องหน่งึ พร้อมหูฟงั อนั หน่งึ เบลได้ทาถ้วยบรรจุนา้ กรดสาหรับใส่แบตเตอรี่

-88- หกรดเสือ้ เบลล์ไดใ้ ชค้ าพูดประวัตศิ าสตรว์ า่ “ Mr. Watson come here I want you” (คุณวัตสันโปรดมา ทนี่ ่ีผมต้องการคุณ) จากเคร่ืองมือและอปุ กรณต์ ่าง ๆ ทาให้วัตสันไดย้ นิ เสียงพดู ของเบลล์อย่างชเั จน โทรศพั ท์ที่ เบลลป์ ระดิษฐ์ข้นึ ในการทดลองครง้ั น้ียังไม่เหมาะสมในการใช้งานจริง จนกระท่ังปี พ.ศ. 2420 บริษัทเวสเทริน ยเู นียน (Western Union Company) ได้ใหบ้ ริการโทรศัพทค์ สู่ ายแรกระหวา่ งซมั เมอร์วลิ ลีกบั บอสตนั และได้ มกี ารเปดิ ชมุ สายโทรศัพท์ขน้ึ บริการเปน็ คร้ังแรกทีน่ วิ ฮาเวน หลังจากน้ันโทรศพั ทก์ ็แพร่หลายข้ึนอยา่ งรวดเรว็ การสื่อสารดว้ ยคล่ืนวิทยมุ นี ักวิทยาศาสตร์ 3 ท่านไดชื่อว่าเปน็ ผู้เริ่มตน้ ไดช้ ่ือวา่ เป็นผ้เู ร่มิ ต้นในการ สือ่ สารดว้ ยคล่นื วทิ ยคุ อื เจนส์ ซี แมกเวลล์ (James C. Maxwell) ในปี พ.ศ. 2407 ได้นาเอาทฤษฎแี ละ สมมติฐานของไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) โจเซฟ เฮนร่ี (Joseph Henry) และ ฮาน คริสเตยี น เออสเตด (Hans Cristian Oersted) มารวมกนั เขา้ เป็นพนื้ ฐานเบือ้ งตน้ ของหลักการวิทยุ และยงั พบการ แพร่กระจายคลนื่ ของแมเ่ หล็กไฟฟา้ ซงึ่ สามารถเดนิ ทางไปในอากาศและสญุ ญากาศไดค้ วามเร็วแสงคือ 3 x 108 เมตรตอ่ วินาที ไฮน์ริช เฮิรตซ์ (Heinrich Hertz) ในปี พ.ศ. 2423 ไดน้ าเอาทฤษฎขี องแมกเวลลม์ าทาการ ทดลองโดยการสร้างคล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ จากวงจรออสซิลเลอเตอร์ ที่ประกอบด้วยตวั เก็บประจุ (C) และตัว เหนีย่ วนา (L) เพือ่ ทาการรบั และสง่ คล่ืนวิทยเุ ฮริ ตซ์และสามารถวดั ความยาวคลนื่ (l) และความถี่องคล่นื (¦) ท่ี กาเนิดขนึ้ มา ทาใหน้ ามาคานวณความเร็ว (V) ของคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ กกู ลเิ อลโม มาโคนี (Guglielmo Marconi) ในปีพ.ศ. 2438 ไดป้ ระดิษฐ์ระบบส่ือสารแบบโทรเลขไรส้ าย ชุดแรกข้ึนมาสามารถส่งขา่ วสารไดไ้ กลถงึ ประมาณ 3.2 กม. ต่อมาปี พ.ศ. 2442 ไดม้ ีการสง่ วทิ ยโุ ทรเลขข้าม ช่องแคบอังกฤษเปน็ ครัง้ แรกไปยงั อาณานคิ ม และในวันท่ี 12 ธันวาคม พ.ศ.2444 มาโคนีไดส้ ่งรหสั มอรส์ โดย ใชค้ ล่นื วิทยเุ ปน็ ตัวพาสัญญาณไป ขา้ มมหาสมุทรแอตแลนตกิ จากคอร์นเวลลป์ ระเทศอังกฤษไปยังเซนต์จอหน์ ประเทศสหรสั อเมรกิ า ประสบความสาเรจ็ เป็นครั้งแรก ปี พ.ศ. 2448 เซอร์ แอมโบรส เฟรมมิง (Sir Ambrose Fleming) ไดส้ รา้ งหลอดอิเลก็ ตรอนไดโอด สาเรจ็ สามารถใช้จบั คลน่ื วทิ ยุความถีส่ ูงได้ ปี พ. ศ. 2450 ลี เดอ ฟอเรส (Lee De Forest) ได้ประดิษฐ์หลอดสญุ ญากาศ (Vacuum Tube) ชนดิ หลอดไทรโอด (Triode) ขึ้นมา สามารถใช้ขยายสัญญาณคลืน่ วทิ ยุและคลนื่ เสียงได้ใชใ้ นการสง่ สัญญาณ คล่ืนวิทยโุ ทรเลข ปี พ.ศ. 2460 ในประเทศสหรัสอเมริกา ได้มีกลุ่มบคุ คลวิทยสุ มัครเล่นทดลองเปลีย่ นสัญญาณส่อื สาร จากจุดและขดี มาใช้เปน็ สัญญาณเสยี งพูดผ่านสายอากาศไป และประดิษฐ์เครื่องรับเพอื่ ช่วยในการกระจาย เสยี งใหด้ ังมากขึ้น

-89- วันที่ 1 มนี าคม พ.ศ. 2463 ได้เปิดการสอ่ื สารทางไกลในทางการคา้ โดยใช้การสือ่ สารทางวทิ ยรุ ะหวา่ ง สหรสั อเมรกิ ากับตา่ งประเทศ ข่าวชิน้ แรกทส่ี ่งขา้ มมหาสมุทรแอตแลนตกิ เป็นการสง่ สารระหว่างนวิ ยอร์ คกับลอนดอน ปลายปี พ.ศ. 2463 บรกิ ารทางด้านสื่อสารมขี ึน้ ในองั กฤษ ฝร่ังเศส นอรเ์ วย์ ฮาวาย ญี่ปนุ่ และ เยอรมัน ปี พ.ศ. 2446 มกี ารเปดิ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงหลายสถานี เช่น WSZ, KYW, WGY แล WEAF เป็นตน้ ใหบ้ รกิ ารขา่ วสารต่าง ๆ มีการโฆษณาสนิ คา้ มกี ารออกอากาศการแข่งขันกฬี าและมีการหาเสยี งเลือกต้งั ของสหรสั อเมรกิ า ปี พ.ศ. 2468 ได้มีการวจิ ยั ทางดา้ นโทรทศั นใ์ นห้องทดลอง ต่อมาปี พ.ศ. 2471 สถานี W2 X BS ใน นวิ ยอรค์ ให้บรษิ ทั RCA จดั ตั้งเครอื่ งส่งโทรทัศน์ โดยใช้ไอโอโนสโคป (Iconoscope) เป็นกลอ้ งโทรทัศน์และ ปรบั ปรุงแก้ไขเป็นกลอ้ งแบบใชไ้ คนสโคป (Kinescope) ตอ่ มาปี พ.ศ. 2474 สถานโี ทรทัศนไ์ ดถูกตงั้ ข้นึ ที่ ตึกเอ็มไพร์สเตท โดยสถานี RCA – NBC ทาการทดลองสง่ เปน็ คร้งั แรกเม่ือเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2475 สถานี RCA ทาการส่งโทรทัศน์ด้วยขนาดเส้นภาพ 120 เส้น สง่ ออกอากาศโดยใช้ คลน่ื วทิ ยุ มกี ารทดลองสง่ ภาพออกอากาศแบบใหมด่ ว้ ยวธิ ีอตั โนมตั ปิ ี พ.ศ. 2497 FCC ได้อนญุ าตการสง่ โทรทศั น์แบบการค้า มสี ถานี NBC ในกรุงนวิ ยอร์ค สง่ ออกอากาศเปน็ สถานีแรก ตอ่ มาเดือนตุลาคม พ.ศ. 2489 บรษิ ัท RCA แสดงระบบตา่ ง ๆ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ของโทรทัศน์สี มีการปรับปรงุ แกไ้ ขระบบโทรทัศนส์ ี เร่ือยมา จนกระทง่ั ถงึ พ.ศ. 2492 บริษทั RCA สามารถปรับปรุงระบบการทางานของโทรทัศน์สีให้สอดคลอ้ ง กบั โทรทัศน์ขาวดา โดยไมต่ ้องเปล่ยี นแปลงเครื่องโทรทศั น์ขาวดา เคร่อื งรับโทรทศั น์ขาวดาสามารถรับรายการ ของโทรทัศน์สไี ด้ ปี พ.ศ. 2497 บรษิ ทั โซน่ไี ดเ้ สนอเคร่ืองรบั วทิ ยุแบบทรานซิสเตอรเ์ ครื่องแรกออกมาใหค้ นรูจ้ กั และเป็น ทีน่ ยิ มแพรห่ ลายเรื่อยมา ปี พ.ศ. 2500 รสั เซียสง่ ดาวเทยี มดวงแรกช่ือสุตนกิ (Sutnik) ข้นึ สอู่ วกาศ หลงั จากนั้นก็มีดาวเทียมถูก ส่งขึ้นสู่อากาศอกี จานวนมากเรอ่ื ยมาจนถึงปัจจุบัน ลกั ษณะของดาวเทียม ปี พ.ศ. 2503 บริษัท AT & T ติดต้งั ระบบชมุ สายโทรทัศน์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เปน็ คร้ังแรกและพัฒนา ระบบสือ่ สารเป็นระบบโครงข่ายบรกิ ารสอ่ื สารรว่ มแบบดิจิตอลหรือ ISDN (Integrated Service Digital Network) ปี พ.ศ. 2512 เริ่มมีการพฒั นาอนิ เตอรเ์ นตใชใ้ นการสอื่ สารข้อมูลตา่ งๆ

-90- ปี พ.ศ. 2524 บรษิ ัท ฮาเยส (Hayes) ไดเ้ สนอโมเดม็ (Modem) ความเร็ว 300 บิตต่อวนิ าที (Kbps) ออกสตู่ ลาด ส่วนบรษิ ัท IBM ไดเ้ สนอเคร่อื งคอมคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คล และมกี ารเรม่ิ ให้บรกิ าร โทรศพั ทเ์ คลื่อนที่เซลลลู ารใ์ นสวเี ดน ปี พ.ศ. 2535 มีการกาเนิดเวิลด์ ไวด์ เวป หรอื WWW. (Word Wide Web) ใชเ้ ช่ือมโยงอินเทอร์เนต ทว่ั โลก ปี พ.ศ. 2539 บริษัทรอ็ กเวลล์ (Rockwell) เสนอโมเด็มความเร็ว 56 กโิ ลบิตตอ่ วนิ าที (kbps) ออกสู่ ตลาด ปี พ.ศ. 2544 เร่ิมให้บรกิ ารระบบโทรคมนาคมเคล่อื นทีย่ ุคที่ 3 หรอื 3 G (3rd Generation) เพื่อให้ สถานเี คลื่อนท่ใี ด ๆ มีมาตรฐานเดยี วกันสามารถใช้ไดท้ ว่ั โลก มคี วามต้องการทจี่ ะให้มีการรบั ส่งข้อมูลท่ีเร็วข้นึ เพยี งพอกับการใชง้ านมัลตมิ เี ดีย (Multimedia) โดยคุณภาพทัดเทยี มกบั ระบบโทรคมนาคมมีสาย ความหมายการส่ือสาร การสอื่ สาร หมายถึง การนาสื่อหรอื ข้อความของฝา่ ยหน่ึงส่งให้อีกฝ่ายหน่ึง ประกอบด้วยผู้ส่งขา่ วสาร หรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร ช่องทางการสง่ ขอ้ มลู ซง่ึ เปน็ ส่ือกลางหรือตัวกลางอาจเป็นสายสัญญาณ และหน่วย รบั ขอ้ มลู หรือผู้รับสาร คาวา่ เทคโนโลยี ไม่ไดห้ มายถึงแตเ่ พียงคอมพวิ เตอร์เทา่ นน้ั เพราะเทคโนโลยที เ่ี ราพบ เห็นยงั มอี ีกหลายอยา่ ง เช่น เทคโนโลยดี า้ นการส่อื สารและโทรคมนาคมเทคโนโลยีเครือข่าย เทคโนโลยี สาหรับการผลติ การจัดการในงานธรุ กิจและงานอุตสาหกรรม เป็นตน้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการส่อื สาร 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษวา่ Information Technology และมผี ู้นิยมเรียกทับ ศพั ท์ย่อว่า IT ซ่ึงสชุ าดา กีรนนั ท์ (2541: 23) ให้ความหมายวา่ หมายถึง เทคโนโลยที ุกด้านท่ีเขา้ มาร่วมใน กระบวนการจัดเก็บ สร้าง และส่ือสารสนเทศ (วาสนา สุขกระสานติ 2541: 6-1) กลา่ วถงึ ความหมายของ เทคโนโลยสี ารสนเทศว่า หมายถงึ กระบวนการตา่ งๆ และระบบงานท่ีชว่ ยให้ได้สารสนเทศตามทต่ี ้องการ ลูคัส (Lucas, Jr. 1997: 7) กล่าววา่ เทคโนโลยีสารสนเทศจะอ้างถึงเทคโนโลยีทุกชนดิ ท่ีประยุกตเ์ พ่ือใชใ้ นการ ประมวลผลจดั เก็บ และสง่ ผ่านสารนิเทศตา่ งๆ ใหอ้ ย่ใู นรูปของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็น เทคโนโลยที ่ีเกีย่ วข้องกบั เทคโนโลยีหลกั สองสาขา คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ือ่ สาร โทรคมนาคม โดยท่ัวไปหมายถึง เทคโนโลยที ่ใี ช้สาหรับการสรา้ ง การจัดการ การประมวลผลข้อมลู ใหเ้ ปน็ ขอ้ สนเทศ การเก็บบนั ทกึ ขอ้ มูลเป็นฐานขอ้ มลู และส่งผ่านสารสนเทศจากทีห่ นึ่งไปยังอกี ทห่ี นง่ึ ตลอดจน เทคโนโลยที ้ังหลายทเี่ กีย่ วเน่อื งกบการแสดงสารสนเทศโดยใช้ระบบดจิ ติ อล (ชนุ เทยี ม ทินกฤต, 2540)

-91- 1.1 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ยงั มกี ารสบั สนอยู่มากระหว่างคาว่า ระบบสารสนเทศ (Information System) กับ เทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology) ความจริงทั้งสองคาคือสงิ่ เดียวกันแต่แตกต่างกันทเ่ี ทคโนโลยี ใน สว่ นแรก หมายถงึ ระบบที่มีการนาขอ้ มลู ดบิ ไปประมวลผลใหอ้ ย่ใู นรปู สารสนเทศท่พี ร้อมใชง้ าน เชน่ การอ่าน ข่าวในหนา้ หนงั สอื พมิ พแ์ ล้วไปเล่าตอ่ ให้อกี คนหน่ึงฟงั กถ็ ือได้วา่ เปน็ ระบบสารสนเทศอย่างหน่งึ แลว้ เพราะมี การอา่ นข้อมูลดิบจากแหลง่ ข่าวสารแล้วมกี ารประมวลผลในสมองบันทึกจดจาและมีการแจกจ่ายไปยังบุคคล อ่ืน แตใ่ นกรณีเดียวกันน้ีถา้ มเี ทคโนโลยีเข้าช่วย เชน่ ทาการป้อนข้อความในข่าวน้ันด้วยเครือ่ งสแกนเนอร์แล้ว บนั ทกึ เป็นไฟล์ภาพ ทาการส่งผา่ น Email ไปยงั บคุ คลที่ต้องการ ทงั้ สองวธิ ีการนี้มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ ดยี วกนั คือ ต้องการเผยแพร่ขา่ วสารไปยังบคุ คลอน่ื แตใ่ ช้วธิ กี ารท่ีตา่ งกันวธิ ีหลงั น้เี องที่เรยี กกันว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ” กล่าวคอื มีการใชเ้ ครื่องมืออปุ กรณ์ทช่ี ่วยเหลอื ในการนาเข้าขอ้ มูล จัดเกบ็ บนั ทกึ ประมวลผล แจกจ่าย สง่ ผา่ น ขอ้ มูล ด้วยความรวดเร็วถูกต้อง แม่นยาและได้ข้อมูลครบถ้วนกว่าวิธกี ารแรก 1.2 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.2.1 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เปน็ เครื่องอเิ ล็กทรอนิกสท์ ส่ี ามารถจดจาข้อมูลตา่ งๆ และปฏบิ ัตติ ามคาสัง่ ทบ่ี อก เพือ่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอยา่ งหนึง่ ได้ คอมพวิ เตอรน์ ั้นประกอบด้วยอุปกรณต์ ่างๆ ตอ่ เชือ่ มกนั เรียกวา่ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ฮารด์ แวร์นี้จะต้องทางานร่วมกบั โปรแกรมคอมพวิ เตอร์หรือท่ีเรียกกนั ว่า ซอฟตแ์ วร์ (Software) (มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. สาขาวิชาวทิ าศาสตร์และเทคโนโลยี 2546: 4) นาเขา้ ขอ้ มลู ประมวลผล แสดงผลข้อมูล ขอ้ มูล ภาพท่ี 7.1 แสดงกระบวนการจัดการระบบสารสนเทศ

-92- 1.2.2 เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารรบั /ส่งขอ้ มูลจากที่ไกลๆ เป็นการส่งของขอ้ มูลระหว่างคอมพวิ เตอร์หรือเคร่ืองมือ ท่อี ยู่หา่ งไกลกนั ซ่ึงจะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผู้ใชใ้ นแหลง่ ต่างๆ เป็นไปอยา่ งสะดวก รวดเรว็ ถกู ต้อง ครบถ้วน และทนั การณ์ ซ่งึ รูปแบบของข้อมูลที่รบั /สง่ อาจเปน็ ตัวเลข (Numeric Data) ตวั อักษร (Text) ภาพ (Image) และเสยี ง (Voice) เทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ นการส่ือสารหรือเผยแพรส่ ารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีทใ่ี ช้ในระบบโทรคมนาคมท้งั ชนดิ มีสายและไร้สาย เชน่ ระบบโทรศัพท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วทิ ยกุ ระจายเสยี ง, วิทยโุ ทรทศั น์ เคเบิ้ลใยแก้วนาแสง คล่ืนไมโครเวฟ และดาวเทียม เป็นตน้ สาหรบั กลไกหลกั ของการสือ่ สารโทรคมนาคมมีองคป์ ระกอบพ้ืนฐาน 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ตน้ แหลง่ ของข้อความ (Source/Sender), ส่ือกลางสาหรบั การรบั /ส่งขอ้ ความ (Medium), และสว่ นรบั ข้อความ (Sink/Decoder) ดังแผนภาพต่อไปนี้ ภาพท่ี 7.2 แสดงกลไกหลกั ของการสื่อสารโทรคมนาคม นอกจากนี้ เทคโนโลยสี ารสนเทศสามารถจาแนกตามลกั ษณะการใช้งานไดเ้ ปน็ 6 รปู แบบ ดังนีต้ ่อไปนี้ 1. เทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ นการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ, กลอ้ งดิจิทลั , กลอ้ งถ่ายวดี ี ทัศน์, เครอื่ งเอกซเรย์ ฯลฯ 2. เทคโนโลยีทีใ่ ชใ้ นการบนั ทึกข้อมลู จะเป็นสอื่ บนั ทึกข้อมลู ต่าง ๆ เชน่ เทปแมเ่ หล็ก จานแมเ่ หลก็ , จานแสงหรอื จานเลเซอร์, บัตรเอทเี อ็ม ฯลฯ 3. เทคโนโลยที ี่ใชใ้ นการประมวลผลข้อมูล ไดแ้ ก่ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ท้งั ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ 4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เชน่ เครอ่ื งพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ 5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจดั ทาสาเนาเอกสาร เชน่ เครื่องถา่ ยเอกสาร เคร่ืองถา่ ยไมโครฟลิ ม์ 6. เทคโนโลยสี าหรบั ถา่ ยทอดหรือสอื่ สารข้อมลู ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมตา่ ง ๆ เชน่ โทรทศั น์, วิทยุกระจายเสยี ง, โทรเลข, และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรท์ ้ังระยะใกลแ้ ละไกล ลักษณะของข้อมลู หรือสารสนเทศทส่ี ่งผา่ นระบบคอมพิวเตอรแ์ ละการสือ่ สาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมี ลักษณะของสญั ญาณเปน็ คลื่นแบบต่อเนื่องทีเ่ ราเรียกว่า \"สญั ญาณอนาลอก\" แต่ในระบบคอมพิวเตอรจ์ ะ แตกตา่ งไป เพราะระบบคอมพิวเตอรใ์ ชร้ ะบบสัญญาณไฟฟ้าสงู ต่าสลบั กัน เป็นสญั ญาณท่ีไมต่ ่อเน่ือง เรยี กว่า

-93- \"สัญญาณดจิ ติ อล\" ซึง่ ขอ้ มูลเหลา่ นนั้ จะสง่ ผ่านสายโทรศพั ท์ เมื่อเราต้องการสง่ ข้อมูลจากคอมพวิ เตอรเ์ คร่ือง หน่งึ ไปยงั เครื่องอื่นๆ ผ่านระบบโทรศพั ท์ กต็ ้องอาศยั อุปกรณช์ ว่ ยแปลงสัญญาณเสมอ 2. ระบบเครอื ข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology) เครอื ขา่ ยไรส้ าย หมายถึง ระบบการสอื่ สารข้อมลู ที่มคี วามยดื หยุ่นในการติดต้ัง หรอื ขยายเครอื ข่าย โดยการใชค้ ล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าในการถ่ายโอนข้อมูลผ่านอากาศแทนการใช้สายสญั ญาณสะดวกต่อการใชง้ าน และการเข้าถงึ ขอ้ มูล (Wireless LAN Association 2006) ระบบเครือข่ายไรส้ าย (WLAN= Wireless Local Area Network) คือ ระบบการส่ือสารข้อมูลทน่ี ามา ใชท้ ดแทน หรอื เพิ่มต่อกับระบบเครือข่ายแลนใช้สายแบบดง้ั เดิมโดยใชก้ ารสง่ คล่นื ความถว่ี ทิ ยใุ นย่านวทิ ยุ RF และคลนื่ อินฟราเรดในการรบั และส่งข้อมลู ระหวา่ งคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเครอ่ื งผา่ นทางอากาศ ทะลุกาแพง เพดาน หรือสิ่งก่อสรา้ งอ่นื ๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดนิ สาย ระบบเครอื ขา่ ยไร้สายเกดิ ข้นึ ครง้ั แรก ในปี ค.ศ. 1971 บนเกาะฮาวาย โดยโครงการของนกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลัยฮาวาย ทชี่ อ่ื ว่า \"ALOHNET\" ขณะน้นั ลักษณะการส่งข้อมลู เป็นแบบ Bi-directional ส่งไป-กลับง่ายๆ ผานคลืน่ วิทยุ สอื่ สารกันระหวา่ ง คอมพิวเตอร์ 7 เคร่อื ง ซง่ึ ตง้ั อยบู่ นเกาะ 4 เกาะโดยรอบ และมีศูนย์กลางการเช่อื มต่ออยู่ที่เกาะๆ หน่งึ ท่ชี ื่อว่า Oahu เทคโนโลยรี ะบบเครือขา่ ยไรส้ ายไดน้ าเข้ามาใช้งานในประเทศไทยครง้ั แรกประมาณตน้ ปี พ.ศ. 2544 ในขณะนนั้ เสยี งตอบรับจากผู้ใชง้ านยงั ค่อนข้างน้อย เนือ่ งจากอปุ กรณ์ไร้สายมรี าคาแพงจนกระทั่งปัจจบุ ัน ระบบเครือข่ายไรส้ ายเรมิ่ ได้รับความนยิ มมากขึ้นเน่ืองจากราคาอปุ กรณ์ถูกลงมากประกอบกับทางบริษัทผู้ผลิต อุปกรณ์เครอื ขา่ ยได้ปลุกกระแสการใชง้ านระบบเครือขา่ ยไรส้ ายอีกคร้งั โดยการหยบิ ยกจุดเดน่ ของเทคโนโลยี ท่ีไม่ต้องพงึ่ พาสายสญั ญาณสาหรบั ส่ือสารข้อมูลเป็นจุดขาย กลา่ วคอื ผใู้ ชง้ านสามารถเช่อื มโยงเข้าระบบ เครือข่ายจากพื้นที่ใดกไ็ ด้ท่ีอยู่ในรัศมขี องสญั ญาณ และระบบสามารถแก้ปัญหาเรื่องการติดต้ังสายสญั ญาณใน พ้ืนทท่ี ่ีทาได้ลาบาก เทคโนโลยีระบบเครือขา่ ยไรส้ ายได้สร้างภาพลกั ษณ์ ใหม่ของการใช้งาน ระบบเครือข่ายซ่ึง ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องน่ังทางานอยู่กับที่ แต่สามารถเคลื่อนย้ายไปทางานยังที่ตา่ งๆ ได้ตามใจต้องการ เชน่ สวนหยอ่ ม สนามหญา้ หน้าบ้านหรอื รมิ สนาม เปน็ ตน้ 2.1 ประเภทของระบบเครอื ขา่ ยไร้สาย 2.1.1 Peer-to-peer (Ad hoc mode) ระบบแลนไรส้ ายแบบ Peer to Peer หรือ ระบบแลน เสมอภาค คือ คอมพวิ เตอรท์ ุกเครื่องในระบบตา่ งมีศักด์ิศรเี ท่ากัน ทางานของตนเองได้และขอใชบ้ ริการจาก เคร่อื งอน่ื ได้

-94- ภาพท่ี 7.3 แสดงระบบเครือข่ายไร้สายแบบ Peer-to-peer 2.1.2 Client/server (Infrastructure mode) เป็นระบบท่ีมกี ารติดต้งั Access Point ทเ่ี ครือ่ ง คอมพวิ เตอรล์ ูกขา่ ยสามารถติดตอ่ ระหวา่ งกัน และสามารถติดต่อไปที่ server เพื่อแลกเปล่ียนและคน้ หา ข้อมลู ได้ ภาพท่ี 7.4 แสดงระบบเครือขา่ ยไรส้ ายแบบ Client/server ภาพที่ 7.5 แสดงระบบเครือข่ายไรส้ ายแบบ Multiple access points and roaming

-95- 2.1.3 Multiple access points and roaming ใชใ้ นกรณีท่สี ถานทกี่ ว้างมากๆ เช่น คลังสินคา้ บรเิ วณภายในมหาวิทยาลัย โดยีการเพิ่มจุดการติดตง้ั Access Point ให้เพ่ิมมากข้ึน เพื่อใหก้ ารรับส่งสัญญาณ ในบรเิ วณของเครือข่ายขนาดใหญเ่ ปน็ ไปอย่างครอบคลมุ ทัว่ ถงึ 2.1.4 Use of an Extension Point กรณที ี่โครงสร้างของสถานท่ตี ิดตั้งเครือขา่ ยแบบไรส้ ายมี ปญั หา เพือ่ เป็นการแกป้ ัญหาผอู้ อกแบบระบบอาจจะใช้ Extension Points ที่มคี ณุ สมบัตเิ หมือนกับ Access Point แตไ่ ม่ ตอ้ งผูกติดไวก้ ับเครือขา่ ยไรส้ าย เปน็ สว่ นทใี่ ชเ้ พ่ิมเติมในการรบั ส่งสัญญาณ ภาพที่ 7.6 แสดงระบบเครอื ข่ายไร้สายแบบ Use of an Extension Point 2.1.5 Use of Directional Antennas ระบบแลนไรส้ ายแบบน้ีเปน็ แบบใช้เสาอากาศในการ รับสง่ สัญญาณระหว่างอาคารทอ่ี ยหู่ า่ งกนั โดยการติดต้งั เสาอากาศท่แี ต่ละอาคารเพือ่ สง่ และรบั สญั ญาณ ระหว่างกนั ดงั แสดงให้ เหน็ ถงึ การทางานของระบบในภาพที่ 8 2.2 มาตรฐานของเครือข่ายไร้สาย มาตรฐานของเครอื ไรส้ ายทีเ่ ปน็ ทเี่ ป็นที่รู้จัก ได้แก่ 2.2.1 IEEE 802.11a เป็นมาตรฐานทีไ่ ดร้ บั การตพี ิมพ์และเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2542 เปน็ ยานความ ถี่ทไี่ มไ่ ดร้ ับอนญุ าตใหใ้ ชง้ านโดยทัว่ ไปในประเทศไทย เนื่องจากสงวนไวส้ าหรับกิจการทางด้านดาวเทียม ขอ้ เสียของผลิตภัณฑ์มาตรฐาน IEEE 802.11a ก็คือมรี ัศมกี ารใช้งานในระยะสน้ั และมรี าคาแพง ดงั นนั้ ผลิตภัณฑไ์ ร้สายมาตรฐาน IEEE 802.11a จึงไดร้ บั ความนิยมน้อย 2.2.2 IEEE 802.11b เปน็ มาตรฐานท่ถี ูกตีพมิ พ์และเผยแพรอ่ อกมาพรอ้ มกบั มาตรฐาน IEEE 802.11a เม่อื ปี พ.ศ. 2542 ซึ่งเปน็ ทํี่รจู กั กนั ดีและได้รับความนยิ มในการใชง้ านกันอย่างแพร่หลายมากที่สุด ขอ้ ดีของมาตรฐาน IEEE 802.11b คอื สนบั สนนุ การใช้งานเปน็ บรเิ วณกว้างกว่ามาตรฐาน IEEE 802.11a ผลิตภัณฑม์ าตรฐาน IEEE 802.11b เป็นที่ร้จู กั ในเคร่ืองหมายการค้า Wi-Fi

-96- 2.2.3 IEEE 802.11g เป็นมาตรฐานทีน่ ิยมใช้งานกันมากในปจั จบุ ันและได้เขา้ มาทดแทนผลติ ภณั ฑ์ ทร่ี องรับมาตรฐาน IEEE 802.11b เนอื่ งจากสนบั สนนุ อัตราความเรว็ ของการรับส่งข้อมูลในระดบั 54 เมกะบติ ตอ่ วินาทแี ละให้รศั มีการทางานทม่ี ากกวา่ IEEE 802.11a พร้อมความสามารถในการใชง้ านร่วมกันกับ มาตรฐาน IEEE 802.11b ได้ (Backward Compatible) 3. อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต มาจากคาเต็มว่า International Network หรือเขียนแบบย่อวา่ Internet หมายความว่า เครอื ข่ายนานาชาติหรอื เครือขา่ ยสากล คือเครือขา่ ยคอมพิวเตอรข์ นาดใหญ่ทเ่ี ชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ทั่วโลกเข้าดว้ ยกัน โดยเป็นระบบเครอื ข่ายของเครือข่าย (Network of Networks) ในปัจจบุ นั มเี ครือ่ ง คอมพิวเตอร์ท่เี ช่อื มโยงกันอยู่มากกว่า 60 ล้านเครือ่ ง มาเช่ือมโยงและแลกเปลยี่ นขา่ วสารกนั การท่ี คอมพวิ เตอร์ที่แตกต่างกันหลายชนิดจานวนมากมายทัว่ โลก เช่อื มโยงกันได้ จะต้องใชเ้ กณฑท์ ่ีใชใ้ นการ เช่ือมต่อหรือโพรโทคอล (Protocol) เดยี วกนั จงึ จะเขา้ ใจกันได้ และเกณฑว์ ิธีทน่ี ามาใช้กับการเช่ือมโยงต่อ อนิ เทอร์เนต็ ในปัจจุบันมีช่ือเรียกว่า ทซี ีพี/ไอพี (TCP/IP) อนิ เทอร์เนต็ ถูกนาไปใชง้ านในด้านตา่ งๆ มากมาย ท้ังในด้านส่อื สาร เชน่ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อเี มล์ (Electronic Mail หรือ E-mail) การสนทนาผา่ นระบบคอมพิวเตอรห์ รือห้องคุย (Chat Room) ดา้ น แหล่งความํรแู ละความบนั เทิง ด้านการซอ้ื ขายสินคา้ และบริการหรอื เราเรียกวา่ การพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) นับวันอินเทอร์เนต็ จะยงิ่ เขา้ มามบี ทบาทในชีวติ ประจาวันของเรามากข้ึน การทีม่ รี ะบบ อนิ เทอรเ์ นต็ ช่วยให้นิสติ สามารถเคล่อื นย้ายข้อมลู จากสว่ นต่างๆ ของโลก โดยไม่จากดั ระยะทางได้รวดเรว็ ย่ิงขึน้ การสง่ ข้อมลู สามารถทาได้หลายรูปแบบคือภาพ เสียง ขอ้ ความตา่ งๆ ระบบอนิ เทอร์เน็ตอาศัย เทคโนโลยี โทรคมนาคมเปน็ ตัวเชือ่ มตอ่ เครอื ข่าย ในประเทศไทยอนิ เทอรเ์ น็ตได้รบั ความนิยมอยา่ งแพรห่ ลายทกุ สาขาวิชาชีพ มสี มาชิกใช้งานในระบบ เชือ่ มไปถงึ สถานศกึ ษาต่างๆ ทง้ั ในส่วนกลางและภมู ภิ าค ตลอดถึงประชาชนทวั่ ไปด้วย นอกจากนท้ี างรฐั บาล ได้ผลักดนั ใหม้ ีการใช้งานอนิ เทอร์เนต็ เชอ่ื มโยงไปถงึ ระดับองคก์ รบริหารส่วนตาบล (อ บ ต) ทเ่ี ราเรยี กว่า เครือข่ายอินเทอร์เน็ตตาบล ใชใ้ นการเผยแพร่ผลงานและผลิตภณั ฑท์ ี่ผลติ ขึน้ ในท้องถ่ินเพ่อื ออกจาหน่ายทาง อินเทอรเ์ น็ตด้วย การใหบ้ รกิ ารอินเทอร์เน็ตมีหลายรปู แบบและมีการเปลย่ี นแปลงและเกดิ ข้นึ ใหม่ตลอดเวลา สามารถ สรปุ ทม่ี ีการใช้ประโยชนม์ ากท่ีสุด ดังตอ่ ไปนี้

-97- 3.1 การใหบ้ ริการเวลิ ด์ไวด์เว็บ (World Wide Web หรอื www) เปน็ บรกิ ารระบบข่าวสารทีม่ ีข้อมูลอยู่ ทุกแห่งในโลก ซงึ่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ เหลานัน้ สามารถอยู่ในหลายรปู แบบแตกต่างกัน เช่น เอกสาร รปู ภาพ ภาพเคล่ือนไหว และเสยี ง เป็นต้น ข้อมลู เหลาน้สี ามารถเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้นได้งา่ ย 3.2 การให้บริการไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรอื e-mail) เปน็ บริการรับ-ส่งจดหมาย อเิ ล็กทรอนกิ ส์หรืออเี มล์ ซง่ึ จดหมายเหลานี้จะถูกสง่ ผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตไปถึงผรู้ ับ ไมว่ ่าอยู่ท่ีใดในโลก อยา่ งรวดเรว็ ภายในเวลาไมก่ วี่ ินาที จดหมายทสี่ ง่ จะเป็นข้อมลู เอกสาร รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว และเสยี ง 3.3 การแลกเปลี่ยนข่าวสารแบบกล่มุ (Usenet Newsgroup) เป็นบรกิ ารทใี่ ชใ้ นการแลกเปลยี่ นขอ้ มูล ขา่ วสาร และแสดงความคิดเหน็ รว่ มกันระหวา่ งผสู้ นใจในเรือ่ งเดียวกนั สามารถอภปิ รายโตต้ อบกนั ได้ มกี ารจัด หัวข้อให้แสดงความคดิ เหน็ เป็นกลมุ่ ๆ เช่น กลุม่ ผสู้ นใจด้าน ส่ิงแวดลอ้ ม กลมุ่ ผสู้ นใจดา้ นคอมพวิ เตอร์ กลมุ่ ผู้สนใจด้านการเมือง และอ่นื ๆ ทุกคนจากทั่วโลกสามารถแสดงความคิดเห็นได้อยา่ งกวา้ งขวาง 3.4 การซ้อื ขายสนิ ค้าและบริการ (Electronic Commerce หรอื e-Commerce) ขน้ึ เพื่ออานวยความ สะดวกในการซ้ือขายทางอินเทอรเ์ นต็ เป็นธรุ กิจท่ีนยิ มมากในปัจจบุ ัน สามารถให้การบริการไดต้ ลอด 24 ชัว่ โมง ผู้ใช้อินเทอรเ์ นต็ สามารถสบื คน้ หาของทต่ี นต้องการซอ้ื ตรวจสอบราคา รวมถงึ รายละเอียดและการ สง่ั ซอ้ื ไดโ้ ดยตรงจากที่บ้านหรือสานักงาน 3.5 การบรกิ ารการโอนถ่ายข้อมลู (File Transfer Protocol หรือ FTP) เปน็ บรกิ ารโอนถ่ายข้อมูลบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตระหวา่ งแหล่งขอ้ มูลท่ีมีอยูใ่ นเครื่องคอมพวิ เตอรต์ ่างๆ ทั่วโลก นาลงมาเกบ็ ในเคร่อื ง คอมพิวเตอร์ของนิสิตนักศึกษา ทาใหส้ ามารถนาข้อมูลหรอื โปรแกรมทต่ี ้องการจากเครือข่ายมาใช้งานได้ ดังไดก้ ล่าวมาแล้ววา่ เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ (World Wide Web หรอื www) เป็นบรกิ ารหนึง่ ของอนิ เทอรเ์ น็ต ใชใ้ น การให้บริการข้อมูลในรูปแบบตา่ งๆ ได้ โดยมีการตดิ ตัง้ เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ท่ี าหนา้ ทใ่ี ห้บรกิ ารขอ้ มูล เราจะ เรียกว่าเครอ่ื งบรกิ ารเวบ็ (Web Server) เพ่ือใหบ้ ริการขอ้ มูลแก่ ผู้ตอ้ งการรูปแบบของขอ้ มูลจะถูกนาเสนอ ผา่ นโปรแกรมคน้ ดู ทเ่ี รียกวา่ เบราว์เซอร์ (Browser) หรอื เวบ็ เบราว์เซอร์ (Web Browser) แสดงเปน็ หน้ากระดาษอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ที่เรียกว่า เว็บเพจ (Web Page) ขอ้ มูลท่ีอยใู่ นเวบ็ เพจสามารถเช่อื มโยงกบั ข้อมลู อ่ืนด้วยวิธเี ชือ่ มโยงหลายมิติ (Hyperlink) หนา้ แรกของเวบ็ เพจ เรียกวา่ โฮมเพจ (Home Page) 4. เทคโนโลยี 3G 3G หมายถงึ รุ่นที่ 3 ของเทคโนโลยีโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี (เซลลูลาร์) รุ่นท่ี 3 นี้ ตามชื่อท่เี รยี กตามหลังสอง ร่นุ ก่อนหน้านี้ เทคโนโลยี 1 จี เริม่ ตน้ ในช่วงตน้ ทศวรรษ 1980 ประมาณปี พ.ศ.2523 ดว้ ยเครอื ข่ายโทรศพั ท์ เซลลูลารแ์ อมป์ (AMPS ยอ่ จาก Advanced Mobile Phone) ทีร่ องรบั เสียงแบบอนาลอกบนแถบความถ่ี 800 เมกกะเฮิร์ซ เหมอื นกบั การกระจายเสยี งวทิ ยุทั่วไป

-98- เทคโนโลยี 2 จี เกิดขนึ้ ในทศวรรษ 1990 ประมาณปี พ.ศ.2533 ผใู้ ห้บริการโทรศัพท์มอื ถือใชเ้ ทคโนโลยรี องรับ เสยี งในระบบดจิ ติ อล ซ่งึ มสี องเทคโนโลยี 1) เทคโนโลยี ซดี เี อ็มเอ (CDMA ย่อจาก Code Division Multiple Access) ทสี่ ามารถเรียกได๎มากถงึ 64 สายต่อชอ่ งบนแถบความถี่ 800 เมกกะเฮริ ซ์ มีการใชใ้ นสหรฐั และแบบ ท่ีฮทั ์ชใชอ้ ยู่ในประเทศไทย 2) เทคโนโลยีจีเอสเอ็ม (GSM ย่อจาก Global System for Mobile) ซ่ึงสามารถ เรยี กได้ 8 สายต่อชอ่ งสญั ญาณ บนแถบความถ่ี 800 ถึง 1800 เมกกะเฮริ ์ซ The International Telecommunications Union (ITU) กาหนด มาตรฐานโทรศัพท์เคลอ่ื นที่3จี คอื IMT-2000 เพ่อื อานวยการเติบโต เพม่ิ แถบความกวา้ งความถ่ี และสนบั สนุนโปรแกรมประยกุ ตห์ ลากหลาย ตวั อย่าง GSM สามารถไมเ่ พียงเสียง แต่รวมถึงข้อมลู สวติ ช์วงจรทีอ่ ตั ราความเรว็ สูงถงึ 14.4 Kbps แต่ สนับสนนุ การประยกุ ต์มัลติมีเดีย 3จตี ้องสง่ มอบข้อมูลสวิตช์แพคเกจดว้ ยประสทิ ธิภาพดี ท่คี วามเร็วสงู กว่า อยา่ งไรก็ตาม ในชว่ งยกระดับจาก 2 จี เป็น 3 จี ผ้ใู ห้บริการโทรศพั ท์ไดป้ ฏิรูปเครือข่าย พร้อมกบั แผน “ปฏิวตั ิ” เครอื ข่ายโทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ีใหม่ ซง่ึ ได้นาไปสู่กอ่ ต้ัง 3GPP (3rd Generation Partnership Project) และ 3GPP2 (3rd Generation Partnership Project 2) 3rd Generation Partnership Project (3GPP) ก่อต้ังในปี 1998 เพื่อพัฒนาเครือขา่ ย 3 จี จาก GSM เทคโนโลยที ่พี ฒั นาคือ 1) General Packet Radio Service (GPRS) เสนอความเรว็ สงู ถึง 114 กิโลบติ ตอ่ วนิ าที 2) Enhanced Data Rates for Global Evolution (EDGE) เสนอความเร็วสงู ถงึ 384 กิโลบิตต่อวินาที 3) UMTS Wideband CDMA (WCDMA) เสนอความเรว็ รับข้อมูลสงู ถึง 1.92 เมกกะบติ ต่อวนิ าที 4) High Speed Downlink Packet Access (HSDPA) เพมิ่ ความเรว็ รับขอ้ มลู สูงถงึ 14 เมกกะบิตตอ่ วนิ าที 5) LTE Evolved UMTS Terrestrial Radio Access (E-UTRA) มเี ปา้ หมายท่ี 100 เมกกะบิตต่อวนิ าที GPRS มใี หใ้ นปี 2543 ตามด้วย EDGE ในปี 2546 เทคโนโลยนี ีบ้ างครงั้ เรยี กว่า 2.5 จี เพราะไม่ได้เสนออตั รา ขอ้ มูลหลายเมกะบิต (multi-megabit) EDGE ไดร้ บั การแทนท่ีโดย HSDPA (และหนุ้ สว่ นอัพลงิ ค์ HSUPA) ตามรายงานของ 3GPP กลา่ ววา่ HSDPA มี 166 เครือขา่ ยใน 75 ประเทศเม่ือสิ้นปี 2550 LTE E-UTRA ซง่ึ เปน็ ขัน้ ไปของ GSM จะสามารถนามาใชไ้ ด้ในปี 2551 องค์กรท่ีสอง 3rd Generation Partnership Project 2 (3GPP2) ได้รบั การกอ่ ตั้งเพื่อช่วยผใู้ ห้บริการ โทรศัพท์อเมริกาเหนือและเอเซยี ในการปรบั แปลง CDMA2000 ไปสู่ 3 จี เทคโนโลยที ่ี 3GPP2 พัฒนาคอื 1) One Times Radio Transmission Technology (1xRTT) เสนอความเร็วสงู ถึง 144 กโิ ลบิตตอ่ วนิ าที 2) Evolution – Data Optimized (EV-DO) เพ่ิมความเรว็ รับข้อมลู สูงถึง 2.4 เมกกะบติ ตอ่ วินาที 3) EV-DO Rev. A เพ่ิมความเร็วรับข้อมูลสูงถงึ 3.1 เมกกะบิตต่อวนิ าที และลดซ่อนเรน้ อยภู่ ายใน 4) EV-DO Rev. B สามารถใช้ 2 ถึง 5 ชอ่ ง แตล่ ะการรับขอ้ มลู สงู ถึง 4.9 เมกกะบติ ต่อวนิ าที 5) Ultra Mobile Broadband (UMB) ต้ังเป้าหมายให้ถงึ 288 เมกกะบิตต่อวนิ าทใี นการรับขอ้ มูล

-99- 1xRTT มใี หใ้ นปี 2545 ตามด้วย EV-DO Rev. 0 เชงิ พาณชิ ยใ์ นปี 2547 อกี ครงั้ 1xRTT ได้รบั การอา้ ง เป็น “2.5จ”ี เพราะสิง่ นรี้ องรับขน้ั การปรบั แปลงไปสู่ EV-DO มาตรฐาน EV-DO ไดร้ บั การขยายสองเท่า ซง่ึ Revision A ออกมาใช้ในปี 2549 และกาลังถูกแทนท่โี ดยผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ Revision B ทเ่ี พม่ิ อตั ราข้อมูลโย30 การสง่ ผา่ นหลายช่อง UMB ที่เปน็ เทคโนโลยตี อ่ ไปของ 3GPP2 อาจจะไม่แพรห่ ลาย เพราะโอเปอร์เรเตอร์ CDMA กาลงั วางแผนปฏริ ูป LTE แทน ตามความจริง LTE และ UMB มกั จะไดร้ บั การเรยี กวา่ เทคโนโลยี 4จี (fourth generation) เพราะเพม่ิ ความเรว็ ดาวนล์ งิ ค์ตามลาดบั ของขนาด ป้ายนีค้ อื มาก่อนกาหนดเล็กนอ้ ยเพราะ การสร้าง “4จ”ี ยังไม่เปน็ มาตรฐาน ITU กาลังพจิ ารณาคแู่ ข่ง สาหรบั การสรุปในมาตรฐาน 4G IMT-Advanced รวมถงึ LTE, UMB และ WiMAX II เปาู หมายของ 4จี รวมถงึ อตั ราข้อมูลอยา่ งน้อย 100 Mbps การส่งผา่ น OFDMA การสง่ มอบ แพคเกจสวิตช์ของเสยี ง ข้อมูล และมลั ติมเี ดียต่อเน่ืองบนฐาน IP 5. เทคโนโลยี 4G Alwin Toffler นกั อนาคตศาสตร์ท่ีมีช่ือเสียงกลา่ วว่า “อนาคตมักจะมาเร็วเสมอ” การสอ่ื สารไร้สายก็ เปน็ ตวั อย่างที่เห็นได้อย่างชดั เจน โดยขณะทร่ี ะบบโทรศัพท์เคลอ่ื นที่ 3G กาลงั ขยายไปทั่วโลก แต่ก็ยังชา้ กว่า แผนทว่ี างไวป้ ระมาณสองปี และขณะนกี้ ลมุ่ ของเทคโนโลยีสื่อสารเคล่ือนท่ีใหม่ ทีก่ าลังถาโถมเขา้ มาอย่าง หลกี เล่ยี งไม่ได้ก็คือ 4G สิง่ ทน่ี าสนใจทจ่ี ะพัฒนาเทคโนโลยี 4G กเ็ ปน็ ผลมาจากจุดออ่ นของระบบ 3G นนั่ เอง โดยท่ี ผู้ประกอบการธุรกิจโทรคมนาคมท่วั โลกได้ลงทุนเป็นจานวนเงนิ สูงถงึ หนง่ึ แสนลา้ น ดอลลา เพื่อซ้ือใบอนญุ าต ใช้สิทธใิ นการประกอบการโทรคมนาคมเครือขา่ ย 3G เพียงเพอื่ ใหไ้ ดเ้ ทคโนโลยีท่สี ามารถสอื่ สารแบบมลั ติมีเดีย แบบเคลื่อนทไ่ี ด้ แตก่ ารนามาใชจ้ รงิ กลบั กลายเป็นทาไดย้ ากกวา่ ที่คาดไว้ และยงั มกี ารลงทุนทางด้านเครือข่าย และการบารุงรกั ษาเครือข่ายท่สี ูง จงึ สรา้ งความไมม่ ่ันใจให้กับผ้ปู ระกอบกิจการท่ีกาลงั จะพัฒนาระบบจาก 2.5G สู่ 3G โดยสรปุ แลว้ แรงจงู ใจในการพัฒนาเทคโนโลยี 4G มดี งั นี้ คอื ความสามารถในการทางานของ 3G อาจจะไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะสนองตอบความต้องการของ แอพพลิเคชน่ั สูงๆ อย่างเชน่ มัลตมิ เี ดยี , วดิ โี อแบบภาพเคลือ่ นไหวที่เต็มรูปแบบ (Full-motion video) หรอื การประชุมทางโทรศัพท์แบบไร้สาย (Wireless teleconferencing) ทาใหเ้ กิดความตอ้ งการเทคโนโลยี เครอื ข่ายทจี่ ะมาช่วยเพ่มิ ขดี ความสามารถของ 3G โดยจะตอ้ งเปน็ เครือขา่ ยทีม่ ีขนาดใหญ่มากด้วย

-100- มาตรฐานทีซ่ บั ซ้อนของ 3G ทาให้ยากในการเชอ่ื มโยงและทางานรว่ มกนั ระหว่างเครอื ขา่ ย แต่เราตอ้ งการใช้ งานแบบเคลื่อนท่แี ละพกพาไปได้ทว่ั โลก นักวจิ ยั ต้องการให้รูปแบบการสง่ คลื่นทางเทคนิคมปี ระสิทธิภาพมาก ขึ้นเพื่อ เพิ่มขดี ความสามารถในการสง่ ข้อมลู ทีเ่ รว็ กว่า 10 Mbps ซง่ึ ไม่สามารถทาได้ในโครงสรา้ งของ 3G ระบบ 4G เปน็ ระบบเครอื ข่ายแบบ IP digital packet ทาให้สามารถสง่ Voice และ Data ผ่านเครือข่าย อินเทอรเ์ นต็ ด้วยราคาการให้บรกิ ารที่ถูกมากและมีรปู แบบท่ีสมบูรณย์ ง่ิ ข้ึน การพัฒนาระบบโทรศัพท์เคลื่อนทีย่ คุ 4G ได้มีการพฒั นาโดยเนน้ เร่ืองการรักษาความปลอดภยั โดยการ นาไบโอแมทรกิ ซ์มาผสมผสาน ทาใหส้ ามารถซ้ือขายกันได้โดยผา่ นโทรศัพทเ์ คลื่อนทีห่ รือ Mobile Internet และยงั สามารถหกั บญั ชีเงนิ ในธนาคาร เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรบั สินค้าหรอื บริการไดท้ นั ที ระบบไบโอแมทริกซ์ จงึ เข้ามามีบทบาทอย่างมากในธุรกิจในอนาคตอนั ใกล้ ซึง่ จะเหน็ อย่างชัดเจนในยุคโทรศัพท์เคลื่อนที่ 4G นนั่ คือ ในธุรกิจ Mobile Commerce นั่นเอง ซอฟแวรท์ เ่ี กี่ยวกับสื่อมัลตมิ เี ดยี นับเป็นกลุม่ ซอฟแวรท์ จ่ี ะถกู นามาใชร้ ่วมกบั ระบบ 4G โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงท่ีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลถูกพัฒนาให้สงู กวา่ 100 เมกะบติ ตอ่ วนิ าที ตัวอย่างเช่น คุณอาจดาวน์โหลด ไฟล์วดิ ีโอมาไว้ในรถยนต์ กอ่ นออกเดินทางไกล เพือ่ ว่าจะได้มหี นงั ดๆี รวมทง้ั ข้อมลู การท่องเท่ยี วไวด้ ูบ้างใน ระหวา่ งเดินทาง น่ันคือธรุ กิจ Software house และ ธรุ กิจเกีย่ วกับการสร้าง Content ในระดบั SME ที่มี ความคดิ สรา้ งสรรค์ กจ็ ะมีโอกาสในธุรกจิ สอื่ มลั ติมเี ดยี บนอุปกรณส์ ่ือสารเคล่ือนท่เี ปน็ อยา่ งมากลองนกึ ภาพ การทค่ี ุณสามารถใชโ้ ทรศัพท์เคลื่อนท่ีเพ่ือซื้อน้าอัดลมจากตู้ขายอตั โนมัติ ใช้โทรศพั ทเ์ ครื่องเดยี วกันสัง่ ซ้ือ อลั บม้ั เพลงลาสุดและดาวน์โหลลงเครอ่ื งเล่น MP3 ได้โดยตรง หรือการทนี่ ักท่องเทีย่ วสามารถใช้คอมพิวเตอร์ พกพาเพื่อหาจองโรงแรมทใี่ กล้ท่ีสดุ และราคาเหมาะสมที่สุดขณะท่นี ่งั รถแท็กซี่ โทรศัพท์เคล่ือนที่ในยุค 4G จะ มีความสามารถและสมรรถนะสูงมาก ในระดับทสี่ ามารถชมภาพวิดีโอกนั แบบสดๆได้ พรอ้ มคุณภาพระดบั DVD ตามการเปดิ เผยของซัมซุงฯ เพ่ือให้บรรลผุ ลสาเรจ็ ทางซัมซงุ ฯได้เพิม่ บุคลากรในแผนก อาแอนดี ส่วนท่ี เกี่ยวข้องกบั การพฒั นาระบบ 4G แลว้ มีการคาดหวงั ถึงความสะดวกสบายและประโยชน์ทีผ่ บู้ ริโภคจะได้รับ เม่ือบรกิ าร m-Commerce บนระบบ 4G จะเป็นทยี่ อมรับและแพร่หลาย ทาให้เกิดแนวคิดมากมายในการทา M-Commerce เขา้ มาใช้ในชีวิตประจาวนั เพื่อให้ผูบ้ ริโภคได้รบั ประโยชนส์ งู สดุ เช่นแนวคิดเกยี่ วกับการ กระจายข้อมูลออกไปในระยะใกล้ โดยมีเป้าหมายคือผู้บรโิ ภคทีอ่ ยู่ในบรเิ วณน้นั ๆ ตวั อยา่ งเชน่ เมอื่ คณุ เดินผ่าน ร้านขายสินค้าอเิ ลก็ ทรอนิกส์ คุณอาจจะได้รบั ข้อมลู เกี่ยวกับผลิตภัณฑช์ ้นิ ใหม่ๆ ทีม่ จี าหน่ายในรา้ น และคุณก็ สามารถท่ีจะตรวจสอบราคาสินคา้ เปรยี บเทยี บราคากบั ร้านอนื่ ๆ เพอ่ื ให้ได้ราคาท่ีถูกทส่ี ุด หรือเมอ่ื คุณน่ัง รถไฟฟ้าผ่านสถานทที่ ่องเทย่ี วโทรศัพทเ์ คล่อื นท่ี4G ของคุณกจ็ ะได้รบั แผนที่อิเลก็ ทรอนกิ ส์ของบริเวณนัน้ บน จอของคุณ อีกทั้งข้อความโฆษณาของโรงแรมหรือที่พกั ทีอ่ ยู่ใกลก้ ับสถานทีท่ ่องเท่ยี วนั้นๆ เป็นตน้ ขณะนปี้ ระเทศจนี ญปี่ ุน่ และเกาหลี จับมือกันแลกเปล่ยี นเทคโนโลยีหวังสรา้ งมาตรฐานรว่ ม 4G แหง่ เอเชยี โดยชูคุณสมบัตเิ ด่น รบั สง่ ขอ้ มลู 100 เมกะบิตต่อวินาที พรอ้ มเชอื่ มตอ่ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง โดย อาศัยเทคโนโลยอี นิ เทอร์เน็ตโปรโตคอล เวอรช์ ั่น 6 หรอื “ไอพีวี6” (IPv 6) ทีป่ ระเทศญปี่ ุ่นเป็นผู้พฒั นาข้ึนเป็น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook