Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาภาษาไทย -ครูอสิพร ไชยเทพ

วิชาภาษาไทย -ครูอสิพร ไชยเทพ

Published by asiporn7312, 2020-06-17 10:38:50

Description: วิชาภาษาไทย -ครูอสิพร ไชยเทพ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เอกสารประกอบการเรียน วิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ครูอสิพร ไชยเทพ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนสิรนิ ธร สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาเขต ๓๓ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรินธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๑ บทอาขยาน อศิ รญาณภาษติ ชายขา้ วเปลอื กหญิงข้าวสารโบราณวา่ นา้ พง่ึ เรอื เสอื พ่งึ ป่าอัชฌาสยั เรากจ็ ติ คิดดูเล่าเขากใ็ จ รกั กันไวด้ กี วา่ ชังระวงั การ ผใู้ ดดีดตี อ่ อยา่ กอ่ กจิ ผใู้ ดผิดผอ่ นพกั อยา่ หักหาญ สบิ ดกี ไ็ มถ่ ึงกบั กึง่ พาล เป็นชายชาญอย่าเพอ่ คาดประมาทชาย รักสนั้ น้ันใหร้ อู้ ย่เู พียงสนั้ รกั ยาวนั้นอยา่ ใหเ้ ยนิ่ เกนิ กฎหมาย มิใช่ตายแตเ่ ขาเรากต็ าย แหงนดฟู า้ อย่าใหอ้ ายแกเ่ ทวดา อยา่ ดถู ูกบญุ กรรมว่าทานอ้ ย นา้ ตาลย้อยมากเมือ่ ไรไดห้ นกั หนา อยา่ นอนเปลา่ เอากระจกยกออกมา สอ่ งดหู น้าเสยี ทีหน่งึ แล้วจึงนอน อินทรชติ บดิ เบือนกายนิ บทอาขยาน อ่านว่า รดิ – ทิ – แรง ทรงคชเอราวณั บทพากย์เอราวัณ ชา้ งนริ มิตฤทธแิ รงแขง็ ขนั เหมอื นองคอ์ มรนิ ทร์ สสี งั ข์สะอาดโอฬาร์ เผือกผอ่ งผวิ พรรณ สามสบิ สามเศียรโสภา เศยี รหนง่ึ เจด็ งา ดังเพชรรตั นร์ จู ี สระหนงึ่ ย่อมมี ดอกหนง่ึ แบง่ บาน งาหนงึ่ เจ็ดโบกขรณี เจ็ดกออบุ ลบนั ดาล เจ็ดองค์โสภา อีกเจด็ เยาวมาลย์ กอหนง่ึ เจด็ ดอกดวงมาลย์ มีกลบี ไดเ้ จด็ กลีบผกา ชาเลืองหางตา ทุกเกศกญุ ชร กลีบหน่งึ มเี ทพธดิ า แนง่ นอ้ ยลาเพานงพาล นางหนง่ึ ยอ่ มมีบรวิ าร ลว้ นรปู นิรมติ มารยา จบั ระบาราร่ายสา่ ยหา ทาทีดังเทพอัปสร มีวมิ านแกว้ งามบวร ดงั เวไชยันตอ์ มรินทร์ นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรนิ ธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ บทพากย์เอราวัณ กจิ กรรมเตรยี มความรู้สกู่ ารเรยี น คาชแี้ จง ให้นักเรยี นศึกษาบทวเิ คราะหว์ รรณคดเี ร่ืองบทพากย์เอราวัณจากหนังสอื วรรณคดีวิจกั ษ์ แล้วสรปุ สาระสาคัญ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรินธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๓ โขน โขนเป็นนาฏศิลป์ชั้นสูงท่ีเก่าแก่ของไทย มีมานานต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ตามหลักฐานจาก จดหมายเหตขุ องลาลแู บร์ ราชทูตฝรง่ั เศส สมัยสมเด็จพระนารายณม์ หาราช ได้กล่าวถึงการเล่นโขนว่า เปน็ การเตน้ ออกทา่ ทางเข้ากับเสียงซอ และเครื่องดนตรีอื่น ๆ ผู้เต้นสวมหนา้ กากและถืออาวุธ โขนเป็นทีร่ วม ของ ศิลปะหลายแขนงคือ โขนนาวธิ เี ล่นและวิธีแต่งตัวบางอย่างมาจากการเล่นชกั นาคดกึ ดาบรรพ์ โขนนาท่า ต่อสู้โลดโผน ท่าราท่าเต้นมาจากกระบ่ีกระบอง และโขนนาศิลปะการพากย์การเจรจามาจากการแสดงหนงั ใหญ่ หน้าพาทย์เพลงดนตรี การแสดงโขน ผู้แสดงสวมศีรษะคือหวั โขน ปิดหน้าหมด ยกเว้น เทวดา มนุษย์ และมเหสี ธิดาพระยายักษ์ มีต้นเสียงแลคล้ายคลงึ กบั ละครในลูกคู่รอ้ งบท ให้และมีคนพากย์และเจรจาให้ ด้วย เรือ่ งที่แสดงนิยมแสดงเรอ่ื งรามเกียรต์ิ และอณุ รทุ ดนตรที ี่ใชป้ ระกอบการแสดงโขนใชว้ งปีพ่ าทย์ ความเปน็ มาของเรอื่ งรามเกยี รต์ิ รามเกียรติ์ มีท่ีมาจากเร่ืองรามยณะ ท่ีฤาษีวาลมิกิชาวอินเดีย แต่งขึ้นเป็นภาษาสันกฤต เม่อื ประมาณ ๒,๔๐๐ ปเี ศษมาแลว้ และได้แพรห่ ลายจากอินเดยี ไปยงั ประเทศใกล้เคียง และได้มกี ารเพิม่ เติม รายละเอีย ผดิ แผกแตกตา่ งออกไปจากตน้ ฉบับเดิมไปไม่นอ้ ย รามายณะเปน็ ปางหนง่ึ ในสิบปางของการอวตาร มาปราบยคุ เขญ็ ของพระนารายณ์ ทม่ี ีชื่อว่า รามาวตาร สาหรับเรอื่ งรามเกียรติ์ ของไทยนัน้ มมี าแต่สมัยอยุธยาในสมัยกรุงธนบรุ สี มเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบุรี ได้ทรงพระราชนิพนธ์สาหรับให้ละครหลวงเล่น ปัจจุบันมีอยู่ไม่ครบ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ไดท้ รงพระราชนพิ นธ์ข้นึ เพ่อื รวบรวมเรอ่ื งรามเกียรต์ิ ซง่ึ มี มาแต่เดิมให้ครบถ้วน สมบรู ณต์ งั้ แต่ตน้ จนจบ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย ได้ทรงพระราชนิพนธ์เพ่ือใชเ้ ล่นละคร จึงมิได้ทรง พระราชนิพนธ์ใหม่ท้ังเรื่อง ทรงเลือกเฉพาะตอนท่ีจะนามาแสดงละครได้เท่าน้ัน บางตอนทรงนิพนธ์ใหม่ ทั้งเรื่อง ทรงเลือกเฉพาะตอนท่ีจะนามาแสดงละครได้เท่านั้น บางตอนทรงพระราชนิพนธ์เอง บางตอนก็ โปรดเกลา้ ฯ ให้สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ และกรมหมื่นกวีพจนส์ ุปรชี า ตรวจชาระและจดั พิมพ์ใน งานพระราชกุศลฉลองพระตาหนักจิตรดารโหฐาน เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๖ และทรงพระราชนิพนธ์คานาไว้ว่าเปน็ หนงั สือทีอ่ า่ นไม่เบือ่ เปน็ ภาษาไทยทดี่ ี และเป็นหนงั สือสาคญั ของชาติ จนในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้า ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเร่ืองรามเกยี รติ์ โดยดดั แปลง จากพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั เพ่ือใช้ในการเล่นโขนซึ่งจะมีอยู่เพียงบาง ตอนที่คัดเลือกไว้เท่านน้ั เชน่ ตอนนางลอย ตอนหักคอช้างเอราวัณ ตอนสีดาลุยไฟ เป็นต้น รามเกียรติเ์ ป็น นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรินธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๔ วรรณคดีที่สาคัญของไทย เป็นทร่ี ูจ้ ักกันอย่างแพรห่ ลาย เน้ือเรอ่ื งและสานวนกลอนในเรอื่ งรามเกียรต์ิมีความ ไพเราะ มีคติสอนและแง่คดิ ในด้านต่าง ๆ อยู่เป็นอันมาก สอดแทรกเอาไว้ตลอดทงั้ เรอื่ ง ตามหลกั นิยมของ อินเดียในเนือ้ เร่ือง และหลักนยิ มของไทยในสานวนกลอน เรือ่ งย่อรามเกียรติ์ ท้าวทศรถ เป็นกษตั รยิ ค์ รองกรุงอโยธยา มีพระมเหสี ๓ องค์ คอื นางเกาสรุ ยิ า นางไกยเกษี และ นางสมุทรเทวี วันหนึง่ ทา้ วทศรถไปรบกับยักษ์ ชื่อ ปทูตทันต์์ โดยนางไกยเกษีตามเสด็จไปด้วย ขณะรบ กัน ยักษ์แผลงศรไปถูกเพลารถของท้าวทศรถหัก นางไกยเกษีรีบกระโดดลงจากรถ เอาแขนของนางสอดแทน เพลารถ เมอื่ ทา้ วทศรถฆ่ายกั ษไ์ ด้แลว้ ไดท้ รงทราบถงึ ความจงรักภกั ดีของนางไกยเกษี จึงประทานพรวา่ หาก นางปรารถนาสิ่งใด พระองค์ก็จะประทานให้ ท้าวทศรถครองราชสมบัติมานานหลายปีแลว้ แต่ยังไม่มีโอรส จงึ ทาพิธกี วนขา้ วทพิ ย์ กล่ินขา้ วทิพย์หอมไปถึงกรงุ ลงกา ทศกณั ฐ์จึงใช้นางยักษ์กากนาสูรมาขโมย นางแปลง ร่างเป็นอีกาโฉบเอาข้าวทิพย์ไปได้เพียงคร่ึงก้อน ทศกัณฐ์นาข้าวทิพย์ให้นางมณโฑ ผู้เป็นมเหสีกิน นาง มณโฑ จึงต้ังครรภ์และประสูติพระธิดาออกมา แต่ขณะท่ีประสูตินั้นพระธิดาร้องว่า \"ผลาญราพณ์\" ข้ึนสาม ครั้ง พิเภกและโหรอ่ืน ๆ ทานายว่าเป็นกาลีบ้านกาลเี มือง ทศกัณฐ์จึงสงั่ ให้นาพระธิดาผนู้ ้ันใสผ่ อบลอยนา้ ไป พระฤาษชี นกซึง่ เดิมเป็นราชาแห่งเมืองมถิ ิลาพบเข้ากเ็ กบ็ ไปฝงั ดินฝากแม่พระธรณีไวจ้ นเวลาลว่ งไปถึง 16 ปี จึงไปขุดนางข้ึนมาแล้วตง้ั ชอ่ื ใหว้ ่า สดี า แล้วกลับไปครองเมอื งมถิ ลิ าเช่นเดิม และได้จดั พิธยี กศรเพอื่ หาค่คู รอง ให้นาง สีดา พระรามยกศรได้จงึ ได้อภเิ ษกกับนางสดี า และพานางกลับไปอยทู่ ีก่ รุงอโยธยา ส่วนข้าวทิพย์ที่เหลือสามก้อนครึ่ง ท้าวทศรถแบ่งให้มเหสีทั้งสาม ซ่ึงต่อมานางตั้งครรภ์ และ ให้ กาเนดิ โอรส คือ นางเกาสรุ ิยาประสตู ิ พระราม นางไกยเกษีประสูติ พระพรต นางสมุทรเทวี ประสูติ พระ ลกั ษมณ์กบั พระสตั รุด ต่อมาท้าวทศรถคิดจะยกราชสมบัติให้พระรามปกครอง แต่นางไกยเกษีทูลขอเมืองอโยธยาให้พระ พรต โอรสของตน และขอให้พระรามออกเดินปา่ เปน็ เวลา 14 ปี ท้าวทศรถเคยประทานพร ให้นางไว้จึงจาตอ้ ง รักษาวาจาสัตย์ พระรามกย็ นิ ยอมออกจากเมอื งโดยดี ซึ่งพระลักษณก์ บั นางสดี าขอตามเสด็จไปด้วย ท้าวทศ รถ เสียพระทัยมากจนกระทัง่ ส้นิ พระชนม์ พระราม พระลักษมณ์ และนางสดี า ไปต้ังอาศรมอยู่ในป่า วันหน่ึง นางสามนักขา น้องสาวของ ทศกัณฐ์ออกไปเที่ยวป่า ได้พบพระรามเข้าเห็นพระรามมีรูปโฉมงดงามกห็ ลงรกั เข้าไปเกี้ยวพาราสีพระราม และทารา้ ยนางสีดา พระลกั ษณ์โกรธมาก จบั นางมาตดั หู จมูก มอื และเทา้ แล้วปลอ่ ยตวั ไป นางกลบั ไปฟ้อง พีช่ ายทงั้ สาม คือ ทูษณ์ ขร ตรเี ศยี ร ให้ไปรบกับพระราม แต่กถ็ กู พระรามฆ่าตาย นางจงึ ไปเล่าถงึ ความงดงาม ของนางสีดาให้ทศกัณฐ์ฟัง ทศกัณฐ์อยาก ได้นางมาเป็นชายาจึงออกอุบายให้มารศี แปลงตัวเป็นกวางทอง มาล่อ นางสีดาเหน็ กวางทองเข้ากอ็ ยากได้ ขอให้พระรามไปจบั มาให้ พอมารีศถูกศรพระรามก็แกล้งทาเสยี ง นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ ินธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๕ พระรามร้องใหช้ ่วย นางสีดาจึงขอให้พระลักษมณต์ ามไป ทศกัณฐ์ได้โอกาสจงึ เข้ามาลักพานางสีดาไปกรุง ลงกา พระราม พระลักษมณ์ เสด็จออกติดตามนางด้วยความห่วงใย จนได้พบกับ หนุมาน และ สุครีพ สุครีพขอให้พระรามฆ่าพาลีผู้เป็นพ่ีชายของตนเสียก่อน ตนจึงจะช่วยทาสงครามกับทศกัณฐ์ เนอื่ งจากสุครีพแคน้ ใจ ทคี รั้งหนงึ่ พระอินทร์ฝากผอบใสน่ างดารามากบั พาล ์ี เพอื่ เป็นรางวลั ใหส้ คุ รพี ท่ียก เขาพระสเุ มรใุ ห้ต้ังตรงได้ แต่ถูกพาลรี บิ ไปเป็นของตน และครงั้ สดุ ท้าย พาลีเขา้ ไปสรู้ บกับควาย ชื่อ ทรพี ใน ถ้า แล้วส่ังสุครีพให้คอยดูอยูป่ ากถ้า ถา้ เลอื ดท่ีไหลออกมาข้นเปน็ เลือดควาย ถ้าเลือดใส เป็นเลอื ดของตน ให้ สคุ รีพปิดปากถา้ เสีย สคุ รีพเฝ้าดอู ยู่ เห็นเลือดที่ไหลออกมาใส เพราะน้าฝน ชะ จงึ คดิ วา่ พาลีตาย จึงเอาหิน ปิดปากถ้าไว้ พาลีเข้าใจว่าสุครีพคิดฆ่าตน จึงขับไล่สุครีพออกจากเมือง พระรามได้แผลงศรไปฆ่าพาลี ตาย สุครีพจงึ เกณฑไ์ พร่พลลิงมาช่วยพระรามรบ คนื หนึ่ง ทศกณั ฐ์ฝันร้าย พเิ ภก ทานายทศกณั ฐถ์ ึงคราวมเี คราะห์ ให้สง่ นางสีดาคืนไปเสยี ทศกัณฐ์ โกรธมากขบั ไล่พเิ ภกออกจากเมือง พเิ ภกจงึ เข้าไปสวามภิ ักด์ิกับพระราม ช่วยให้คาแนะ นา ทเ่ี ปน็ ประโยชนใ์ น การทาสงครามแก่พระรามอยเู่ สมอ พระรามทาสงครามกับทศกัณฐ์อยู่นานหลายปี จนญาติพ่ีน้องของทศกัณฐ์ตายในสงครามกันหมด ทศกัณฐต์ อ้ งออกรบเองพระรามแผลงศรถูกหลายครั้งแต่ทศกัณฐ์ก็ไมต่ าย เพราะถอดดวงใจ ฝาก พระฤาษโี ค บุตรไว้ หนุมานกับ องคต จึงทูลรบั อาสาพระราม ไปหลอกเอากล่องดวงใจมาจนได้ ทศกัณฐอ์ อกรบอกี พอพระรามแผลงศรไปปักอกทศกัณฐ์ หนุมานก็ขยี้กล่องดวงใจจนแหลกลาญ ทศกัณฐ์จึง สิ้นชีวิต จากนั้น พิเภกก็พานางสดี ามาคนื ใหพ้ ระราม และเพ่ือพิสูจน์ความบริสุทธ์ิ นางสีดาจึงขอทาพิธี ลุยไฟ ซ่ึงนางสีดาสามารถลยุ ไฟได้อยา่ งปลอดภัย พระรามตั้งให้พิเภกครอง กรุงลงกา แลว้ พระรามกเ็ สดจ็ กลบั อโยธยาพรอ้ มดว้ ยนางสีดา และพระลักษมณ์ ต่อมา ปศี าจยักษต์ นหนึ่งชื่อ นางอดูล ได้แปลงร่างเป็นสาวใช้ของนางสีดา ขอรอ้ งให้นาง สีดาวาดรูป ทศกณั ฐ์ให้ดู พอดพี ระรามเสดจ็ มา นางสดี าตกใจพยายามลบเท่าไรก็ลบไมอ่ อก จงึ รีบ ซ่อนไวใ้ ต้บรรทม ทา ให้พระรามบรรทมไม่หลับ ต้องส่ังใหพ้ ระลักษมณม์ าค้นดู ก็ได้รูปของทศกัณฐ์ พระรามกริ้วมากหาวา่ นางสีดา มีใจรักทศกณั ฐ์สง่ั ใหพ้ ระลกั ษมณน์ านางไปประหารแต่ พระลกั ษมณ์ ปล่อยนางไป นางสีดาไปอาศัยอยู่กับ ฤาษตี น หนี่ง จนประสูติโอรสองคห์ นึ่ง คือ พระมงกุฎ วันหนึ่ง นางสีดาไปอาบน้าท่ีลาธารเหน็ ลิงเอาลูกเกาะหน้าเกาะหลังพาไปไหนมาไหนด้วย นางจึง กลับไปอุ้มโอรสท่ีฝากพระฤาษีเล้ียงไว้มาด้วยเม่ือพระฤาษีลืมตาข้ึนมาจากการบาเพ็ญตบะ ไม่เห็นพระ มงกฎุ จงึ ชุบกุมารขนึ้ อีกองคก์ นง่ึ ชอื่ วา่ พระลบ นางสดี าจึงมีโอรสสององค์พระฤาษ ์ี ไดส้ ่ังสอนศลิ ปวิทยา ให้กุมารทง้ั สองจนเก่งกลา้ พระรามได้ทาพิธีปลอ่ ยม้าอปุ การมา้ ผา่ นเข้าไปในป่าพระมงกุฎเห็นเข้าก็จบั มาขเี่ ล่นพระพรต แผลง ศรไปจับตัวพระมงกุฎได้ พระรามส่ังให้นาตัวไปประจานเจ็ดวัน แล้วให้ประหารเสียแต่ พระลบ มาช่วยไป นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ ินธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๖ ได้ พระรามออกรบดว้ ยตนเองแตไ่ ม่สามารถเอาชนะกันได้จนกระทัง่ รวู้ ่า เปน็ พ่อลูกกนั พระรามไปออ้ น วอนนางสีดาให้กลบั อยธุ ยา แต่นางสีดาไมย่ อม พระรามจึงทาอบุ ายว่าส้นิ พระชนม์ นางสีดาตกใจรบี กลบั มา เย่ยี มพระศพ พระรามจงึ ออกมาจากโกศจับนางสดี าไว้ นางสีดารู้วา่ ถกู หลอก จึงอธษิ ฐานแทรกแผน่ ดินหนี ไปอย่เู มอื งบาดาล พเิ ภกแนะนาพระราม ออกเดนิ ปา่ อีกครั้ง เพอื่ เสดาะเคราะห์ พระรามจึงเสดจ็ ไปพร้อม พระลักษมณ์ ได้ฆ่ายักษ์ตายอีกหลายตน คร้ังสดุ ท้าย พระรามได้สู้กับท้าวอณุ าราช พระรามถอนตน้ กกมา พาดสาย ยงิ ไปตรึง ทา้ วอณุ าราช ไว้กบั แผ่นดนิ แล้วจึงเสด็จกลับเข้ากรงุ อยุธยา พระอิศวร สงสารพระราม จงึ ช่วยไกล่เกลย่ี ใหน้ างสีดายอมคนื ดกี ับพระราม จากน้ัน พระรามกบั นางสีดาก็กลับมาครองกรงุ อโยธยา อยา่ งมคี วามสขุ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ นิ ธร จงั หวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๗ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เสนาะเสียง สาเนียงรอ้ ย กรอง การอา่ นทานองเสนาะจากบทรอ้ ยกรอง ผูอ้ า่ นต้องเขา้ ใจลกั ษณะคาประพันธข์ องบทรอ้ ยกรอง นั้น ๆ วา่ มีลักษณะข้อบังคบั ในการแตง่ และการกาหนดคณะของคาประพันธแ์ ต่ละชนดิ อยา่ งไร แล้วจึง ศกึ ษาคาศัพทท์ ่ใี ชใ้ นการประพนั ธ์ เมื่อเขา้ ใจแล้วจึงพิจารณาเรอื่ งราวท่ีได้จากการอา่ น บทพากยเ์ อราวัณมรี ูปแบบคาประพันธ์เป็นกาพย์ฉบงั ๑๖ นกั เรยี นจงึ ควรทาความเขา้ ใจลกั ษณะ คาประพนั ธข์ องกาพย์ชนิดนี้ เพอื่ ใหก้ ารอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรองถูกตอ้ งและเหมาะสม กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพยน์ ้ีมชี อ่ื เรียกอีกวา่ ฉบา หรือบางทเี ขยี นเลข ๑๖ ไว้ขา้ งหนา้ เพราะกาพย์นี้มี ๑๖ คาในหนงึ่ บท กาพยฉ์ บัง ๑๖ มีข้อบังคบั ดงั นค้ี ือ ในหนง่ึ บทมี ๑๖ คา แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคแรกมี ๖ คา วรรคท่ีสองมี ๔ คา และวรรคท่ีสามมี ๖ คา กาพยฉ์ บงั ๑๖ นิยมแตง่ เปน็ บทพรรณนาโวหารและแต่งเปน็ บทสวด บทพากย์โขน แผนผงั กาพยฉ์ บงั ๑๖ นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรินธร จังหวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๘ การทอ่ งจาบทอาขยาน คาวา่ อาขยาน (อา – ขะ – หยาน) พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ ใหค้ วามหมายไวว้ า่ อาขยาน หมายถงึ บทท่องจา การเล่า การบอก การสวด เรือ่ ง นทิ าน หลกั ในการอ่านบทอาขยาน การอา่ นบทอาขยานส่วนใหญเ่ ปน็ การอ่านออกเสยี ง คือ ผอู้ า่ นเปลง่ เสียงออกมาดงั ๆ ในขณะที่ใช้ สายตากวาดไปตามตัวอักษร ยึดหลักการอา่ นออกเสียงเหมอื นหลกั การอ่านทั่วไป เพอ่ื ใหก้ ารอ่านออกเสียงมี ประสทิ ธิภาพควรฝกึ ฝน ดังนี้ ๑. กวาดสายตาจากคาตน้ วรรคไปยงั ท้ายวรรค และเคลอ่ื นสายตาไปยงั วรรคถดั ไปอยา่ งรวดเร็วโดย ไมต่ ้องส่ายหน้า ๒. ฝกึ เปล่งเสยี งให้ดงั พอประมาณโดยพจิ ารณาถึงกลุม่ ผฟู้ งั และสถานท่ี ๓. อา่ นด้วยเสียงทชี่ ดั เจน แจม่ ใส ไพเราะ มกี ระแสเสยี งเดียว ไม่แตกพรา่ เปลง่ เสียงจากลาคอ โดยตรงด้วยความม่นั ใจ ๔. ควรทรงตวั และรกั ษาอากัปกริ ยิ าให้ถกู วธิ ี ๕. อา่ นออกเสียงให้ถกู อกั ขรวธิ หี รือความนยิ ม และต้องเขา้ ใจเนื้อหาของบทอาขยาน ๖. อ่านใหถ้ กู จงั หวะและวรรคตอน ๗. พยายามอ่านใหไ้ ดอ้ ารมณแ์ ละความรสู้ กึ ตามเนอื้ หา ภาระงาน : นกั เรียนแบง่ กลุม่ ๆ ละ ๖ คน สอบอ่านทานองเสนาะบทอาขยานเรอื่ งบทพากยเ์ อราวณั (๕ คะแนน) กาหนดระยะเวลา ภายในวันท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ ินธร จังหวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ๙ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๒ ภมู ิปัญญาสรา้ งสรรคใ์ น คาชแ้ี จง ให้นักเรียนศึกษาบทพากยเ์ อราวัณแล้วทากจิ กรรวมตรอ่รไณปนค้ี ดี ๑. วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของเร่ือง ๑.๑ โครงเรอ่ื ง ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๑.๑ ตวั ละคร (บอกลักษณะนสิ ยั ของตัวละคร ยกตัวอย่างคาประพนั ธส์ นับสนนุ คาตอบ) ☺ พระราม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ☺ พระลักษมณ์ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรินธร จงั หวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๑๐ ☺ อนิ ทรชติ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ☺ สคุ รีพ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๑.๓ ฉาก ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๑.๔ แก่นเร่ือง ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จังหวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑๑ ๒. ให้นักเรียนแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั เน้อื เรือ่ ง (๑๕ คะแนน) ๒.๑ นกั เรียนชอบตวั ละครใดมากทีส่ ุด และตัวละครนนั้ มีคณุ ธรรมใดทีน่ า่ ยึดถือเปน็ แบบอยา่ ง คดิ วิเคราะห์ เขยี น ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๒.๒ นักเรยี นคิดวา่ การที่พระลกั ษมณเ์ พลีย่ งพล้าใหแ้ กอ่ นิ ทรชติ เนอื่ งมาจากสาเหตุใดและจะมวี ธิ ี ป้องกันความผดิ พลาดครงั้ น้ีอย่างไร คิด วิเคราะห์ เขียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๒.๓ จากบทบรรยายกองทัพในบทพากยเ์ อราวัณ แสดงใหเ้ หน็ ความแตกต่างของทพั ฝา่ ยพระรามกบั ฝา่ ยอินทรชติ อย่างไรบา้ ง นักเรยี นคิดวา่ เพราะเหตุใดจึงเปน็ เช่นน้ัน คดิ วิเคราะห์ เขยี น ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ ินธร จงั หวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๑๒ ๓. ให้นักเรียนสรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากการอา่ นบทพากยเ์ อราวัณ (๑๐ คะแนน)  ความรู้ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ขอ้ คิดทีส่ ามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จังหวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ๑๓ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๓ โฆษณา น่าเรียนรู้ การเขียนโฆษณา โฆษณา ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ หมายถึง การเผยแพร่ หนังสอื สู่สาธารณชน การป่าวรอ้ ง การป่าวประกาศ โฆษณาเป็นการสื่อสารเพ่อื โน้มนา้ วใจประเภทหน่งึ มี ลักษณะจูงใจเพอ่ื ประโยชนใ์ นการขายสินค้าและบริการตา่ ง ๆ มีจุดมงุ่ หมายสรา้ งความสนใจใหผ้ รู้ ับสารสะดุด ตา สะดดุ ใจ และจดจาสินคา้ หรอื บรกิ ารที่โฆษณาน้ัน ผสู้ รา้ งโฆษณาอาจใช้วธิ กี ารตา่ ง ๆ ในการส่งสาร โฆษณามีการนาเสนอในหลายรูปแบบ เช่น การโฆษณาทางโทรทศั น์ การโฆษณาแอบแฝง การ โฆษณาผา่ นสอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ การโฆษณาแบบปากตอ่ ปาก แนวทางการเขียนโฆษณา มดี งั น้ี ๑. ตอ้ งเขยี นให้มีความชัดเจนเขา้ ใจงา่ ย ไม่คลมุ เครอื สามารถสรา้ งการรับร้ไู ด้ทนั ที ๒. ต้องเขยี นใหม้ คี วามเหมาะสม ตรงกับกลุ่มเป้าหมายของสนิ ค้าหรอื บรกิ าร เชน่ เด็ก วัยรุ่น วัย ทางาน ฯลฯ ๓. เลือกใช้ภาษาทบ่ี ง่ บอกใหร้ ู้วา่ สนิ ค้าหรือบรกิ ารอะไร ใชป้ ระโยชน์อะไร โดยไมต่ ้องเขยี นเกนิ ความจรงิ และไมใ่ สร่ ้ายสนิ คา้ หรือบริการอ่นื ๔. คดั เลอื กสานวนหรอื ขอ้ ความทน่ี ่าสนใจ จดจาไดง้ ่าย และใชข้ ้อความทก่ี ะทัดรดั สละสลวย เพื่อใหส้ ื่อความไดต้ รงตามจุดประสงค์ ๕. เขยี นโน้มนา้ วใจใหม้ คี วามต้องการใช้สนิ ค้าหรอื บริการทนี่ าเสนอ ๖. เขยี นอักษรให้อา่ นงา่ ย เขียนสะกดคาใหถ้ กู ตอ้ ง ส่วนประกอบของโฆษณา ๑. เนื้อหา เนื้อหาของโฆษณาจะนาเสนอใหเ้ หน็ ความดีพิเศษของสนิ คา้ และบริการหรอื กิจกรรมที่ โฆษณา เชน่ ยาหม่องทาดี ทง้ั ทาท้ังถูในตลับเดียวกนั ธนาคารไทยธารง มน่ั คงด้วยรากฐาน บริการดจุ ญาติ มิตร ๒. รปู แบบการนาเสนอ ๒.๑ แบบเจาะจงกลุ่ม ๒.๒ เปน็ การนาเสนอสนิ คา้ หรอื ประโยชนข์ องสินค้าวา่ มขี ้อดีอย่างไร ๒.๓ ใช้ถ้อยคาทสี่ ้ันกระชับรัดกุมเพ่อื สะดวกในการจา ๒.๔ ใช้รปู ภาพหรอื ภาพเคล่อื นไหว นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรนิ ธร จงั หวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑๔ ๓. ภาษา โฆษณามีลักษณะการใชภ้ าษาทสี่ าคญั คือการสรรคามาใชไ้ ดก้ ระชบั ใช้คานอ้ ยกนิ ความ มาก สือ่ ความหมายกวา้ งขวางลกึ ซึ้ง จะใชท้ ั้งวจั นภาษาและอวัจนภาษาในการสือ่ สาร ภาษาเพ่อื การโฆษณา มักใชถ้ ้อยคาแปลกใหมเ่ พอ่ื ดึงดุดความสนใจ ใช้ภาษาที่มีสมั ผสั เพอื่ ให้จาง่าย ใช้ข้อความวลปี ระโยคสนั้ ๆ จุดมงุ่ หมายเพื่อให้ผูร้ ับสารรับรไู้ ด้อย่างรวดเรว็ ๔. การโนม้ นา้ วใจ การโน้มนา้ วใจในโฆษณามหี ลายวิธี เชน่ การอา้ งองิ บคุ คลทสี่ ามารถอา้ งอิงไดท้ งั้ บุคคลธรรมดาทใี่ ชส้ นิ ค้าหรอื บริการ แต่ถา้ เปน็ ดาราหรอื บคุ คลทมี่ ชี อ่ื เสียงเปน็ ที่ยอมรบั และรจู้ กั กันดใี นสังคม จะได้รบั ความสนใจและความเช่ือถอื เป็นพเิ ศษ การอ้างองิ ถึงสถาบนั หรอื หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องรบั รอง เช่น อย. (สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา) หรือเครอื่ งหมายรบั รองของ มอก. (สานักงานมาตรฐาน ผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม) ๕. ดึงดดู ความสนใจ เป็นส่วนของการเขียนโฆษณาทท่ี าใหผ้ ูพ้ บเหน็ หรอื ผรู้ บั สารเกดิ ความสนใจที่ จะติดตามโฆษณาตอ่ ไป ตวั อยา่ งบทโฆษณาผงซกั ฟอก ใหม่ ถอดดา้ ม !!! เพื่อสุขภาพอนามัย บริษทั คลีนจากัด แนะนา “สดใส พลสั แอนตีแ้ บค” ผงซกั ฟอกเพอื่ สุขภาพอนามัยของคนไทย ลดสาเหตขุ องกลิ่นเหมน็ อับ โดยเพิม่ “แอก๊ ทีฟ ออกซิเจน” สารทาความสะอาดทีฆ่ ่าเช้อื โรคด้วยออกซเิ จน ให้ความออ่ นโยนต่อผา้ ปลอดภัยต่อทกุ คนในครอบครวั  ภาระงาน ใหน้ ักเรยี นออกแบบโฆษณาสินค้ากลมุ่ ละ ๑ ช้ิน (กลมุ่ ละ ๓ คน) โดยมีองคป์ ระกอบ ครบถว้ นถกู ตอ้ ง ตามรปู แบบและออกแบบใหน้ ่าสนใจลงในกระดาษหนงั ไก่ ขนาด เอ๔ (๑๐ คะแนน) กาหนดส่ง .............................................................................................................. นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ ินธร จงั หวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๑๕ กระดาษคาตอบ หนว่ ยที่ ๑ เรื่องบทพากย์เอราวัณ ขอ้ ก ข ค ง ขอ้ ก ข ค ง ๑ ๑๑ ๒ ๑๒ ๓ ๑๓ ๔ ๑๔ ๕ ๑๕ ๖ ๑๖ ๗ ๑๗ ๘ ๑๘ ๙ ๑๙ ๑๐ ๒๐ นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรนิ ธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๑๖ บันทกึ การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรินธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ๑๗ แบบทดสอบ เรื่อง อศิ รญาณภาษิต ๑. อศิ รญาณภาษติ แตง่ ด้วยคาประพันธป์ ระเภทใด ก. กลอนเพลงยาว ข. กลอนบทละคร ค. กลอนดอกสร้อย ง. กลอนสกั วา ๒. ข้อใดเป็นจดุ มุ่งหมายในการแตง่ อศิ รญาณภาษติ ก. อิศรญาณชาญกลอนอกั ษรสาร ข. เทศนาคาไทยใหเ้ ปน็ ทาน ค. โดยตานานานศภุ อรรถสวสั ดี ง. สาหรับข่ีเปน็ ม้าอาชาไนย ๓. “เพชรอย่างดมี ีคา่ ราคายงิ่ สง่ ให้ลิงจะร้คู ่าราคาหรอื ” คาประพันธ์ข้างต้นไม่สอดคล้องกบั สานวนใด ก. ตาบอดไดแ้ ว่น ข. ไก่ไดพ้ ลอย ค. หัวลา้ นไดห้ วี ง. คางคกขึ้นวอ ๔. “เกิดเปน็ คนเชงิ ดูใหร้ เู้ ท่า ใจของเราไมส่ อนใจใครจะสอน อยากใช้เขาเราตอ้ งกม้ ประนมกร ใครเลยหอ่ นจะวา่ ตวั เปน็ วัวมอ” กลอนสุภาษติ บทนี้มงุ่ สอนสงิ่ ใด ก. ใหร้ จู้ กั วธิ กี ารใชค้ น ข. ให้รจู้ กั เคารพตนเอง ค. ใหใ้ ชช้ วี ติ แบบพอเพยี ง ง. ใหร้ ะแวดระวังคนรอบขา้ ง ๕. ขอ้ ใดสอนใหค้ ิดใครค่ รวญกอ่ นจะพูด ก. อันเสาหนิ แปดศอกตอกเปน็ หลกั ไปมาผลกั บอ่ ยเขา้ เสายังไหว ข. เหน็ ตอหลกั ปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน ค. ชายขา้ วเปลือกหญงิ ขา้ วสารโบราณวา่ นา้ พึง่ เรอื เสอื พ่ึงปา่ อชั ฌาสยั ง. อย่าดูถกู บญุ กรรมว่าทาน้อย นา้ ตาลย้อยมากเมอื่ ไหรไ่ ดห้ นักหนา ๖. สานวนใดไม่ปรากฏในอศิ รญาณภาษติ ก. ฟังหูไว้หู ข. คมในฝกั ค. ราไม่ดโี ทษปโ่ี ทษกลอง ง. ปลาหมอตายเพราะปาก ๗. อิศรญาณภาษติ เรยี กอกี อย่างหนง่ึ ว่าอยา่ งไร ก. กลอนอศิ รญาณ ข. เพลงยาวอศิ รญาณ ค. คากลอนอศิ รญาณ ง. นิราศอศิ รญาณ ๘. “อยา่ พูดปดใหจ้ ับไดไ้ พล่เพลง ทลู เกล้าแบง่ มุสาอย่าใหเ้ ตม็ ” ถ้าเราปฏิบตั ติ ามข้อความขา้ งตน้ จะทาให้ไม่ผดิ ศีลห้าข้อใด ก. ขอ้ ๒ ข. ข้อ ๓ ค. ข้อ ๔ ง. ข้อ ๕ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ ินธร จงั หวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๑๘ ๙. สงครามและความขัดแย้งทงั้ หลายจะไม่เกิดขึน้ หากปฏิบัตติ ามข้อใด ก. ชายข้าวเปลอื กหญงิ ข้าวสารโบราณวา่ นา้ พงึ่ เรอื เสอื พ่ึงป่าอชั ฌาสยั เราก็จติ คิดดเู ล่าเขาก็ใจ รักกนั ไวด้ กี วา่ ชังระวังการ ข. ล้องเู หา่ เลน่ กไ็ ดใ้ จกล้ากลา้ แตว่ ่าอย่ายักเยอ้ื งเขา้ เบ้ืองหาง ต้องวอ่ งไวในทานองคลอ่ งทา่ ทาง ตบหัวผางเดียวม้วนจงึ ควรล้อ ค. เดินตามรอยผู้ใหญ่หมาไมก่ ดั ไปพดู ขัดเขาทาไมขดั ใจเขา ใครทาตึงแลว้ หยอ่ นผ่อนลงเอา นักเลงเกา่ เขาไม่หาญราญนกั เลง ง. มใิ ชเ่ น้ือเอาเปน็ เนอื้ ก็เหลือปล้า แต่หนามตาเขา้ สกั นิดกรีดยงั เจบ็ อนั โลภลาภบาปหนาตัณหาเย็บ เมียรเู้ กบ็ ผัวรทู้ าพาจาเรญิ ๑๐. “ลอ้ งเู ห่าเลน่ กไ็ ดใ้ จกลา้ กล้า แตว่ ่าอย่ายกั เยอื้ งเขา้ เบื้องหาง ตอ้ งว่องไวในทานองคลอ่ งท่าทาง ตบหวั ผางเดยี วมว้ นจงึ ควรลอ้ ” กลอนบทนต้ี รงกับพฤติกรรมของบุคคลใด ก. กรชิ ชัยขายผลไมต้ ามฤดกู าล เพราะราคาถกู และได้กาไรมาก ข. สายชลมีเรอื่ งกับผมู้ อี ทิ ธพิ ล และถกู ทาร้ายจนบาดเจบ็ สาหสั ค. วชั ระเป็นหมองู แสดงงูโชว์ตามสถานทต่ี า่ ง ๆ มกั ถกู งูกดั แต่มียารักษา ง. ทที ัศนล์ งทุนทาธรุ กจิ เขาต้องศกึ ษาตลาดความตอ้ งการของลูกคา้ จึงจะทาให้ธรุ กจิ อยู่รอด กระดาษคาตอบ ขอ้ ก ข ค ง ขอ้ ก ข ค ง ๑ ๖ ๒ ๗ ๓ ๘ ๔ ๙ ๕ ๑๐ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ ินธร จงั หวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๑๙ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ อิศรญาณภาษติ ใบความรู้ที่ ๑ ความรเู้ รอื่ งอศิ รญาณภาษิต ความเป็นมา อิศรญาณภาษิต เรียกอีกอย่างว่า “เพลงยาวอิศรญาณ” เป็นพระนิพนธ์ของหม่อมเจ้าอิศรญาณ ซึ่งเล่ากันว่าเป็นผู้มีพระจริตไม่ปกติ ครั้งหนึ่งพระองค์ได้ทาสิ่งวิปริตไปแล้วพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยหู่ ัว ตรัสบรภิ าษว่าเป็นบา้ ทาให้ใคร ๆ ก็พากนั เหน็ ดว้ ยกบั พระราชดารัสน้ัน ดว้ ยความนอ้ ยพระทัยของ หม่อมเจ้าอศิ รญาณจงึ ทรงนพิ นธ์เพลงยาวฉบบั นขี้ ้นึ มีผู้สันนิษฐานว่าอิศรญาณภาษิตน้ี ไม่ใช่พระนพิ นธ์ของ หม่อมเจ้าอิศรญาณแต่เพียงผู้เดียว หากแต่ทรงนิพนธ์ไว้เพียงตอนแรกเท่านั้น กล่าวคือ สันนิษฐานว่าทรง นิพนธ์ถึงวรรคว่า “ปุถุชนรกั กบั ชงั ไม่ย่ังยืน” ซ่ึงมีลีลาการแต่งไว้ด้วยน้าเสยี งเหน็บแนมประชดประชันอยา่ ง รุนแรง ชัดเจน ส่วนท่ีเหลอื เป็นของผู้อืน่ แตง่ ตอ่ โดยเป็นการสอน เร่ืองทั่ว ๆ ไป มีลีลาหรอื ทว่ งทานองแบบ เรยี บ ๆ ม่งุ สง่ั สอนตามปกตขิ องผมู้ ปี ระสบการณใ์ นเร่ืองตา่ ง ๆ ซึง่ ได้นามาเรยี บเรยี งไว้ท้ังหมด ประวตั ิผแู้ ตง่ หมอ่ มเจา้ อศิ รญาณ (ไมท่ ราบพระนามเดิม )เปน็ โอรสในพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมหลวงมหศิ วรนิ ทราม เรศ พระองคท์ รงผนวชทีว่ ัดบวรนเิ วศ ไดพ้ ระนามฉายาว่า อสิ สรญาโณ มพี ระชนมช์ ีพอยู่ในช่วงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ลักษณะคาประพันธ์ กลอนเพลงยาว ซึง่ ขนึ้ ต้นด้วยวรรคสดับ (มีชอ่ื เรยี กอกี อยา่ งหนงึ่ ว่าเพลงยาวอิศรญาณหรือ ภาษติ อศิ รญาณ) นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรินธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ๒๐ จดุ ประสงค์การแตง่ ๑. เพือ่ สัง่ สอน ๒. เพอ่ื เตือนใจให้คิดกอ่ นทจ่ี ะทาส่งิ ใด ๓. สอนเกย่ี วกบั การปฏิบตั ิตนต่อผอู้ ่ืนในสงั คมให้อยูร่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ เนอ้ื เรื่อง อิศรญาณภาษิตมีเนื้อหาท่ีเป็นคาส่ังสอนแบบเตือนสติ และแนะนาเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติ ให้เป็นท่ีพอใจของผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ท่ีมีอานาจมากกว่า สอนว่าควรจะทาอย่างไรจึงจะอยู่ในสังคมได้ โดยปราศจากภัยแก่ตน ทาอย่างไรจึงจะประสบความสาเร็จสมหวังบางตอนก็เน้นเรื่องการเห็นคุณค่า และ ความสาคัญของผู้อืน่ โดยไมส่ บประมาทหรือดูแคลนกัน โดยท้ังนีก้ ารสอนบางครง้ั อาจเปน็ การบอกตรง ๆ หรือ บางครงั้ ก็สอนโดยคาประชดประชันเหนบ็ แนม เน้ือหาส่วนใหญจ่ ะสงั่ สอนใหค้ นมีปญั ญา ไมห่ ลงใหลกบั คาเยินยอ สอนให้รจู้ กั คดิ ไตรต่ รองก่อนพูด รูจ้ ักเคารพผอู้ าวุโส รู้จกั ทาตามที่ผูใ้ หญแ่ นะนารจู้ กั กตัญญูผใู้ หญ่ คุณคา่ งานประพนั ธ์ คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ใช้ถอ้ ยคางา่ ย ๆ มาเรียงร้อยได้เหมาะเจาะและมคี วามหมายลึกซงึ้ คุณค่าดา้ นสังคม ให้ข้อคิดในการดาเนินชวี ิตเพ่อื ดารงอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๒๑ แบบฝกึ หดั ท่ี ๑ ถอดคาประพันธ์ บทท่ี ๑ อิศรญาณชาญกลอนอกั ษรสาร เทศนาคาไทยใหเ้ ปน็ ทาน โดยตานานศุภอรรถสวัสดี คาศพั ท์ ตานาน หมายถึง คาโบราณ ศุภอรรถ หมายถึง ถ้อยคาและความหมายท่ดี ี สวสั ดี หมายถึง ความดี ความงาม ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๒ สาหรับคนเจือจติ จรติ เขลา ดว้ ยมัวเมาโมห์มากในซากผี ตอ้ งหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรบั ขเ่ี ปน็ มา้ อาชาไนย ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๓ ชายข้าวเปลือกหญิงขา้ วสารโบราณว่า น้าพง่ึ เรอื เสอื พงึ่ ปา่ อัชฌาสัย เรากจ็ ิตคดิ ดูเลา่ เขาก็ใจ รักกนั ไวด้ กี ว่าชงั ระวงั การ ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ที่เกย่ี วขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๔ ผใู้ ดดดี ีต่ออย่าก่อกจิ ผูใ้ ดผิดผอ่ นพกั อย่าหกั หาญ สบิ ดีก็ไม่ถงึ กบั กง่ึ พาล เป็นชายชาญอยา่ เพอ่ คาดประมาทชาย ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ที่เกี่ยวขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๕ รักสั้นน้นั ให้ร้อู ยูเ่ พียงสั้น รกั ยาวน้นั อยา่ ใหเ้ ย่ินเกินกฎหมาย มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดฟู ้าอย่าให้อายแก่เทวดา ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษิตท่เี กี่ยวขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรินธร จงั หวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๒๒ บทท่ี ๖ อยา่ ดูถกู บญุ กรรมวา่ ทานอ้ ย นา้ ตาลยอ้ ยมากเท่าไรได้หนักหนา อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหนา้ เสยี ทหี นงึ่ แล้วจงึ นอน ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตที่เกย่ี วข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๗ เหน็ ตอหลักปกั ขวางหนทางอยู่ พิเคราะหด์ ูควรทงึ้ แลว้ จงึ ถอน เหน็ เตม็ ตาแลว้ อย่าอยากทาปากบอน ตรองเสียก่อนจึงคอ่ ยทากรรมท้งั มวล ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ที่เกย่ี วข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๘ ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหนา้ ใจความว่าผูม้ ีคณุ อยา่ หนุ หวน เอาหลงั ตากแดดเปน็ นจิ คดิ คานวณ รู้ถถ่ี ้วนจึงสบายเม่ือปลายมือ ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตทเี่ กี่ยวข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๙ เพชรอยา่ งดีมีค่าราคายง่ิ ส่งใหล้ งิ จะรู้ค่าราคาหรอื ตอ่ ผ้ดู มี ปี ัญญาจงึ หารอื ใหเ้ ขาลอื เสยี วา่ ชายนข้ี ายเพชร ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตทเ่ี กีย่ วข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๑๐ ของสง่ิ ใดเจา้ ว่างามตอ้ งตามเจ้า ใครเลยเลา่ จะไมง่ ามตามเสดจ็ จาไว้ทุกสงิ่ จรงิ หรือเทจ็ พรกิ ไทยเมด็ นดิ เดยี วเคี้ยวยงั รอ้ น ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษิตทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๑๑ เกิดเปน็ คนเชงิ ดูใหร้ ู้เทา่ ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน อยากใช้เขาเราตอ้ งกม้ ประนมกร ใครเลยห่อนจะวา่ ตัวเปน็ วัวมอ ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ที่เกย่ี วขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรินธร จังหวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒๓ บทท่ี ๑๒ เปน็ บ้าจ้นี ิยมชมว่าเอก คนโหยกเหยกรักษายากลาบากหมอ อันยศศกั ด์ิมิใช่เหลา้ เมาแต่พอ ถา้ เขายอเหมอื นอย่างเกาให้เราคนั ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ที่เกย่ี วขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๑๓ บ้างโลดเลน่ เตน้ ราทาเปน็ เจา้ เปน็ ไรเขาไมจ่ ับผดิ คดิ ดูขัน ผีมนั หลอกช่างผตี ามทีมนั คนเหมือนกันหลอกกันเองกลัวเกรงนกั ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ท่ีเก่ียวข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๑๔ สงู อยา่ ใหส้ งู กวา่ ฐานนานไปลม้ จะเรยี นคมเรียนเถิดอยา่ เปิดฝัก คนสามขามปี ญั ญาหาไว้ทัก ที่ไหนหลักแหลมคาจงจาเอา ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๑๕ เดินตามรอยผู้ใหญ่หมาไม่กัด ไปพดู ขัดเขาทาไมขัดใจเขา ใครทาตงึ แล้วหยอ่ นผอ่ นลงเอา นักเลงเก่าเขาไมห่ าญราญนกั เลง ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๑๖ เปน็ ผหู้ ญงิ แม่หม้ายท่ไี รผ้ วั ชายมกั ยว่ั ทาเลยี บเทียบข่มเหง ไฟไหม้ยังไมเ่ หมอื นคนทจี่ นเอง ทาอวดเบง่ กับข่ือคาว่ากระไร ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษติ ที่เกย่ี วข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๑๗ อันเสาหินแปดศอกตอกเปน็ หลกั ไปมาผลักย่อยเข้าเสายงั ไหว จงฟงั หูไว้หูคอยดไู ป เชอ่ื นา้ ใจดีกวา่ อยา่ เชอื่ ยุ ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ทเี่ ก่ียวข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ ินธร จังหวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๒๔ บทท่ี ๑๘ หญิงเรยี กแมช่ ายเรยี กพอ่ ยอไว้ใช้ มนั ชอบใจข้างปลอบไมช่ อบดุ ท่ปี ิดที่ชิดไชใหท้ ะลุ คนจกั ษุเหลห่ ลิ่วไพล่พลว้ิ พลกิ ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๑๙ เอาปลาหมอเปน็ ครูดูปลาหมอ บนบกหนออตุ สา่ ห์เสือกกระเดอื กกระดิก เขายอ่ มว่าฆ่าควายเสยี ดายพริก รกั หยอกหยกิ ยบั ทงั้ ตัวอยา่ กลวั เลบ็ ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษิตทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๒๐ มใิ ชเ่ น้อื เอาเปน็ เนือ้ ก็เหลือปลา้ แตห่ นามตาเขา้ สักนิดกรีดยงั เจบ็ อันโลภลาภบาปหนาตณั หาเย็บ เมยี รเู้ กบ็ ผวั รทู้ าพาจาเรญิ ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๒๑ ถงึ รจู้ รงิ จาไวอ้ ยา่ ไขรู้ เตม็ ทค่ี รเู่ ดียวเท่าน้นั เขาสรรเสรญิ ไม่ควรก้าเกนิ หนา้ กอ็ ย่าเกนิ อยา่ เพลดิ เพลนิ คนชงั นกั คนรกั นอ้ ย ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษติ ท่ีเกีย่ วข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๒๒ วาสนาไม่คู่เคยี งเถยี งเขายาก ถงึ มปี ากมเี สียเปล่าเหมอื นเต่าหอย ผีเรือนตวั ไมด่ ีผอี ่ืนพลอย พดู พล่อยพลอ่ ยไมด่ ีปากข้ีร้วิ ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตที่เก่ียวขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๒๓ แต่ไมไ้ ผ่อันหน่ึงตนั อนั หน่งึ แขวะ สแี หยะแหยะตอกตะบันเป็นควนั ฉิว ช้างถีบอยา่ ว่าเล่นกระเด็นปลวิ แรงหรอื หิวชัง่ ใจดจู ะส้ชู า้ ง ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษิตทเ่ี กย่ี วข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๒๕ บทท่ี ๒๔ ล้องูเหา่ เล่นก็ไดใ้ จกล้ากลา้ แต่วา่ อยา่ ยกั เยอ้ื งเขา้ เบื้องหาง ตอ้ งวอ่ งไวในทานองคลอ่ งทา่ ทาง ตบหัวผางเดียวมว้ นจงึ ควรล้อ ถอดความไดว้ า่ ………………………………………………………………………………………………………………………… สุภาษิตทเ่ี กย่ี วข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทท่ี ๒๕ ถึงเพ่อื นฝงู ทช่ี อบพอขอกนั ได้ ถา้ แม้ใหท้ ุกคนกลวั คนขอ พอ่ แมเ่ ลี้ยงปดิ ปกเปน็ กกกอ จนแลว้ หนอเหมอื นเปรตเหตุดว้ ยจน ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษติ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๒๖ ถึงบญุ มีไมป่ ระกอบชอบไม่ได้ ตอ้ งอาศยั คดิ ดีจงึ มผี ล บุญหาไม่แลว้ อย่าได้ทะนงตน ปถุ ชุ นรักกับชังไมย่ ่ังยืน ถอดความไดว้ ่า ………………………………………………………………………………………………………………………… สภุ าษิตทเ่ี กี่ยวข้อง ………………………………………………………………………………………………………………………… นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ นิ ธร จงั หวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ๒๖ แบบฝึกหัดท่ี ๒ ชวนคิดพนิ ิจวรรณคดี ตอนท่ี ๑ จงเขยี นคาตอบลงในช่องว่าง ๑. ใครคอื ผ้แู ตง่ “อศิ รญาณภาษิต”.................................................................................................................... ๒. อศิ รญาณภาษิต แตง่ ดว้ ยคาประพันธป์ ระเภทใด........................................................................................... ๓. อศิ รญาณภาษติ มีจุดมุ่งหมายสาคญั คือ......................................................................................................... ................................................................................................................ ............................................................ ๔. “เดนิ ตามรอยผู้ใหญห่ มาไมก่ ดั ” หมายถงึ ...................................................................................................... ๕. “ฆ่าควายเสยี ดายพริก” หมายความวา่ อย่างไร…………………………………….................................................... ๖. คาว่า “ผู้ไปหนา้ ” หมายถึงบคุ คลประเภทใด................................................................................................. ๗. “เปน็ บ้าจนี้ ิยมชมวา่ เอก คนโหยกเหยกรกั ษายากลาบากหมอ” คนโหยกเหยกหมายถึงใคร .........................…………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. “คนสามขา” หมายถึงใคร........................................................................................................................... ๙. “เอาหลังตากแดดเป็นนจิ ” หมายถงึ คนเชน่ ใด............................................................................................ ๑๐. “อย่าใหส้ งู กว่าฐานนานไปลม้ ” บทประพนั ธ์สอนใหเ้ ปน็ คนอย่างไร............................................................ …………………………………..................................................................................................................................... นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จังหวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ๒๗ ใบความรู้ที่ ๒ เร่อื ง การใชค้ าตามความหมาย ความหมายของคา ความหมายเป็นสว่ นหนงึ่ ของคา เพราะคาที่ใชใ้ นการส่อื สารต้องมคี วามหมายจงึ จะเข้าใจกนั ได้ แบง่ เปน็ ๑. คาท่มี ีความหมายโดยตรง คอื คาทม่ี คี วามหมายตรงตามศัพท์ สามารถเขา้ ใจกนั ได้โดยทั่วไป อาจมคี วามหมายอยา่ งเดียวหรือหลายอยา่ ง เช่น วันนี้มีดาวเตม็ ท้องฟ้า เสือที่อยูใ่ นสวนสตั ว์มกั ไมด่ ุรา้ ย โจรทางภาคใตท้ าลายความสงบสุขของประชาชน ๒. คาทมี่ คี วามหมายโดยนยั คือ คาทมี่ ีความหมายไม่ตรงกบั คาศพั ท์ แต่มีความหมายแฝงให้ เขา้ ใจเปน็ อยา่ งอน่ื เชน่ สุดาเปน็ ดาวในงานเล้ียงรนุ่ ในวนั นี้ พ่อของสมชายเคยเปน็ เสอื มากอ่ น ขอ้ สอบภาษาไทยปนี ้ีหมูมาก ๆ ๓. คาทีม่ คี วามหมายตามเสยี งวรรณยุกต์ คือ คาท่มี คี วามหมายเปล่ยี นไปตามเสยี งวรรณยุกต์ เสอื หมายถึง สัตว์เลี้ยงลกู ดว้ ยนมชนดิ หน่ึง กินเน้ือเป็นอาหาร เสื่อ หมายถึง เคร่ืองสานชนิดหน่ึงสาหรับปนู ง่ั และนอน เสอื้ หมายถึง เคร่ืองสวมกายท่อนบน การใชค้ าตามความหมาย การใชค้ าตามความหมาย คอื การใชค้ าใหต้ รงตามความประสงคข์ องผสู้ ง่ สาร จะช่วยให้เกิดความ เข้าใจตรงกนั ในการสอื่ สาร มหี ลักเกณฑใ์ นการใช้ดังนี้ ๑. เลือกใชค้ าใหม้ คี วามหมายชัดเจน เชน่ นัยยต์ าเขาเจบ็ อกี แล้วจงึ ต้องหยดุ งาน ๒. ไม่ใช้คาที่มีความหมายมากกวา่ ๑ ความหมาย หรือคาทม่ี ีความหมายกากวม เชน่ ญาตขิ อง ฉนั ขับรถชนตน้ ไม้ตาย จากประโยคขา้ งตน้ อาจเข้าใจความหมายได้ ๒ อยา่ ง คอื ญาตขิ องฉันตาย หรอื ต้นไมต้ าย ควรหาคามาประกอบเพอ่ื ใหผ้ ูฟ้ งั เข้าใจความหมายได้ถกู ต้อง เชน่ ญาตขิ องฉนั ตายเพราะขับรถ ชนตน้ ไม้ขา้ งถนน ๓. ไม่ควรใช้คาที่มีความหมายคล้ายคลึงกันหรอื มคี วามหมายรว่ มกัน เพราะจะทาใหค้ วามหมาย คลาดเคลอ่ื น ผ้ฟู ังอาจเกิดความสับสน เช่น อย่าขดั ขวางการทางานของเจ้าหนา้ ทตี่ ารวจ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรินธร จงั หวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๒๘ แบบฝกึ หดั ท่ี ๓ เรอ่ื ง คาเดยี วหลายความหมาย คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนบอกความหมายนยั ตรงและความหมายแฝงของคาศัพทต์ ่อไปนตี้ อ่ ไปน้ี ตวั อย่าง ตอหลกั ความหมายตรง หมายถงึ สง่ิ บางอย่างเชน่ เสา หรอื หลักทีป่ กั ไว้ หรือยังเหลืออยู่แตโ่ คน ความหมายแฝง หมายถึง เครอื่ งยึดเหนย่ี ว ๑. เอาหลงั ตากแดด ความหมายตรง หมายถึง................................................................. ความหมายแฝง หมายถึง................................................................ ๒. ปลายมอื ความหมายตรง หมายถงึ ................................................................... ความหมายแฝง หมายถงึ .................................................................. ๓. วัวมอ ความหมายตรง หมายถงึ ..................................................................... ความหมายแฝง หมายถึง..................................................................... ๔. อาชาไนย ความหมายตรง หมายถึง...................................................................... ความหมายแฝง หมายถึง...................................................................... ๕. เพชร ความหมายตรง หมายถึง..................................................................... ความหมายแฝง หมายถงึ ..................................................................... นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ นิ ธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ๒๙ บนั ทกึ การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ .................................................................................................... ........................................................................................................ ............................................................................ ........................................................................................................ ............................................................................ ........................................................................................................ ................................................................น.า.ง.อ.ส..ิพ.ร..ไ.ช..ยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรนิ ธร จงั หวัดสุรนิ ทร์ ........................................................................................................

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๓๐ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ พระบรมราโชวาท แบบฝกึ หัดที่ ๔ เรอื่ ง พระบรมราโชวาท คาชี้แจง จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๑.ผ้ทู รงพระราชนพิ นธพ์ ระบรมราโชวาท คือ................................................................................................. ๒.วตั ถุประสงค์ของพระราชนพิ นธเ์ ร่ือง พระบรมราโชวาท คืออะไร ๓.พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ทรงได้รบั พระราชสมญาวา่ ..................................................... มคี วามหมายวา่ ................................................................................. ๕.พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ทรงพระราชนพิ นธห์ นงั สอื อะไรบ้าง ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ๖.พระบรมราโชวาทนี้พระราชทานแกใ่ ครบา้ ง และเนอ่ื งในโอกาสใด ......................................................................................................................................... ............................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ๗.พระบรมราโชวาท มรี ปู แบบในการทรงพระราชนิพนธ์ คอื ........................................................................ ๘.รัชกาลท่ี ๕ ทรงใหข้ ้อคิดแก่พระราชโอรสวา่ การเกิดเป็นนายนั้นลาบากอย่างไร และไดท้ รงยา้ ใหเ้ หน็ ความสาคญั ในการทางานอย่างไร ...................................................................................................................................... .................................. ........................................................................................................................................................................ ................................................................................................................ ........................................................ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรนิ ธร จงั หวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๓๑ ๙.รชั กาลที่ ๕ ทรงใหพ้ ระราชโอรสศกึ ษาภาษาตา่ งประเทศอย่างไร และเพ่อื อะไร ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ๑๐.เพราะเหตใุ ด รัชกาลท่ี ๕ จึงทรงกาหนดใหพ้ ระเจ้าลกู ยาเธอ ทรงศกึ ษาวิชาภาษาอังกฤษ ฝรงั่ เศส และเยอรมนั ใหไ้ ด้แม่นยา ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ๑๑.พระบรมราโชวาทน้ี แสดงใหเ้ หน็ ว่ารัชกาลท่ี ๕ ทรงสงั่ สอนใหพ้ ระราชโอรสบาเพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ แก่บ้านเมอื งอยา่ งไร ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จงั หวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๓๒ แบบฝึกหัดท่ี ๖ เร่ือง รตู้ านานสบื สานวัฒนธรรม คาช้แี จง จงบอกความหมายของคาไทยที่ยืมมาจากภาษามอญตอ่ ไปนี้ ๑.เปิง แปลวา่ ข้าว ในคาวา่ …………………………………………………………………………………………… หมายถงึ ......................................................................................................................................................... ๒.ขนมจีน ภาษามอญใชว้ ่า ขนม หรือจนี หมายถึง.................................................................... ........................................................................................................................................................................ ๓.มะกรูด ภาษามอญใชว้ ่า กรูด หมายถึง.................................................................................... ................................................................................................................................................ ........................ ๔.ฝาละมี ภาษามอญใช้ว่า ละมี หมายถึง.................................................................................... ................................................................................................................. ....................................................... ๕.กระทะ มาจากภาษามอญ หมายถึง......................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................... ๖.อทุ ลมุ มาจากภาษามอญ หมายถึง ผิดจารตี ผิดประเพณี ผิดธรรมเนียม ไทยรบั มาใชใ้ นคาว่า “คดีอทุ ลุม” หมายถึง............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ๗.ตะราง มาจากภาษามอญ หมายถงึ ………………………………………………………………………………… ๘.จญั ไร มาจากภาษามอญ หมายถึง…………………………………………………………………………………… ๙.พลาย มาจากภาษามอญ หมายถงึ …………………………………………………………………………………… ๑๐.สวะ มาจากภาษามอญ หมายถงึ ………………………………………………………………………………….. นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรนิ ธร จังหวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๓๓ บันทึกการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรนิ ธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๓๔ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๔ ใบความรู้ที่ ๓ เร่ือง โคลงส่ีสุภาพ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ แผนผังโคลงส่ีสภุ าพ ่่ ่้ ่่ ่่ ่้ ่่ ่่ ่่ ่้ ่่ ่้ ตวั อย่าง เสียงลือเสยี งเลา่ อ้าง อนั ใด พเี่ อย เสยี งย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า สองเขือพหี่ ลบั ใหล ลมื ต่ืน ฤๅพี่ สองพี่คดิ เองอา้ อย่าได้ถามเผือ (ลิลิตพระลอ) ลักษณะบงั คบั : โคลงหนงึ่ บทมี ๔ บรรทัด บรรทดั หนงึ่ เรียกว่า “บาทหนงึ่ ” โคลงหนง่ึ บท จึงมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๒ วรรค วรรคหน้ามีวรรคละ ๕ คา วรรคหลงั ของบาทที่ ๑ , ๒ และ ๓ มีวรรคละ ๒ คา วรรคหลังของบาทที่ ๔ มี ๔ คา รวมทง้ั หมด ๓๐ คา บังคบั คาทใ่ี ชว้ รรณยุกตเ์ อก ๗ แหง่ และวรรณยุกต์โท ๔ แหง่ วรรคหลงั ของบาทที่ ๑ และ๓ อาจมีคาสร้อยได้ ๒ คา (ตามแผนผัง ขา้ งตน้ ) โคลงแมบ่ ท หมายถงึ โคลงทีแ่ ตง่ ถูกตอ้ งตามลักษณะบงั คบั เอก ๗ แหง่ โท ๔ แหง่ คาเอก - คาโท คือ คาทีก่ าหนดเฉพาะรปู วรรณยุกตเ์ อกและโท เชน่ “ชืน่ ” ถือว่าเปน็ คาเอก แมว้ ่า “ชนื่ ”จะเปน็ เสียงโทกต็ าม ตาแหนง่ เอกและโทในบาทท่ี ๑ สลับที่กนั ได้เสมอ เชน่ นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรินธร จงั หวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๓๕ ตัวอย่าง นกน้อยขนน้อยแต่ พอตวั รังแตง่ จเุ มยี ผัว อยไู่ ด้ มักใหญย่ อ่ มคนหววั เป็นบาป ทาแต่พอตวั ไซร้ อย่าใหค้ นหยัน (โคลงโลกนิติ) คาเอกโทษ คอื การนาคาทป่ี กตใิ ช้วรรณยกุ ตโ์ ทกากบั มา มาใช้เป็นวรรณยกุ ต์เอกกากบั แทน เพ่ือใช้ แทนทค่ี าเอก ในตาแหนง่ บังคบั ของโคลง เช่น หม้ันหมาย เขยี นเปน็ มัน่ หมาย ม่ัน เปน็ คาเอกโทษ เขี้ยวคม เขียนเปน็ เคี่ยวคม เคย่ี ว เปน็ คาเอกโทษ คาโทโทษ คอื การนาคาทปี่ กติใชว้ รรณยกุ ตเ์ อกกากับ มาใช้เปน็ วรรณยุกตโ์ ทกากบั แทน เพอ่ื ให้ใช้ แทนคาโทในตาแหนง่ บงั คบั เช่น หยอกเลน่ เขยี นเป็น หยอกเหลน้ เหล้น เปน็ คาโทโทษ มั่นคง เขยี นเปน็ หมั้นคง หมน้ั เป็นคาโทโทษ ชมพู่ เขยี นเป็น ชมผู้ ผู้ เปน็ คาโทโทษ เอกโทษ = เปลย่ี นคำโทใหเ้ ป็นคำเอก โทโทษ = เปลย่ี นคำเอกใหเ้ ปน็ คำโท ตัวอยา่ ง นวลละออง มะพูดถวลิ พา่ (ผา้ )เจ้า กา่ เนื้อ ขลิบมาศ หนา้ สรี ดั ครุยทอง หม่ เหลน้ (เลน่ )ตามวัน สดชื่นพื้นใบตอง (กาพยห์ ่อโคลงนิราศธารโศก) เรียมย่อมเชยชมเหมอื้ (เมอื่ ) คาตาย ในการแตง่ โคลงสามารถใชค้ าตายแทนคาเอกได้ทกุ แห่งทีบ่ งั คับคาเอก ไม่ว่าคาตายน้นั ๆ จะมีรปู วรรณยกุ ต์ใดกส็ ามารถใช้ได้ ตวั อยา่ ง เจ็ดวนั เว้นดดี ซอ้ ม ดนตรี อกั ขระห้าวันหนี เน่นิ ช้า สามวนั จากนารี เปน็ อ่ืน วันหนึ่งเวน้ ลา้ งหน้า อับเศรา้ หมองศรี นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรนิ ธร จังหวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๓๖ (โคลงโลกนิติ) คาสรอ้ ย คอื คาทส่ี าหรบั ใชล้ งทา้ ยบท หรือท้ายบาทของคาประพนั ธเ์ พอ่ื เพ่มิ คาใหค้ รบตามจานวน หรือเพมิ่ เสียงให้ไพเราะขนึ้ เช่น พ่อ แม่ พ่ี เทอญ นา ฮา แฮ เวย รา แล นอ เปน็ ต้น (ท่ีมา : หลกั ภาษาไทย , กาชยั ทองหลอ่ ) นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรินธร จงั หวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๓๗ แบบฝึกหดั ท่ี ๗ เรื่อง โคลงสี่สภุ าพ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ๑. คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นนาคาตอ่ ไปนเ้ี ตมิ ลงในช่องว่างให้ถกู ตอ้ งตามฉนั ทลักษณ์โคลงสส่ี ภุ าพ และใหไ้ ดใ้ จความสมบูรณ์ งู งาม ไชย แพร้ว มัว หมู ไกล ตวั บา้ น อยู่ ด้าว ไม้ รู ปา่ รู้ ยาม ทราม เรา หวั ไก่ สู้ ไห แห้ว ปู ๑. เหน็ ทา่ นมอี ยา่ เคลิ้ม ใจตาม เรายากหากใจ.......... อยา่ คร้าน อตุ สา่ ห์พยายาม การกจิ เอาเยย่ี งอย่างเพื่อน.......... อย่าท้อทากนิ ๒. เจยี มใดจกั เท่าด้วย (โคลงโลกนิติ) รู้เทา่ ทา่ นทากลวั อย่ามึนมดื เมา........... เจยี ม................. สูงนกั มกั เหมือน............. ซอ่ นไว้ โมหะ ๓. ปางเสดจ็ ประเวศ…….. หักด้วยแรงลม ทรงรัตนพมิ าน……… พรั่งพรอ้ มพวกพลไกร (โคลงโลกนติ ิ) เรอื กระบวนตน้ ……….. ชลาลยั กิง่ แกว้ แหนแห่ เพริศพริ้งพรายทอง (กาพย์เหเ่ รอื ) นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ นิ ธร จงั หวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๓๘ ๔. ดู งู ขู่ ฝดู ฝู้ พรู พรู หนู สู่ รู ง.ู ........... สดุ ............. งู สู้ หนู หนู สู้ งู อยู่ หนู รู้ งู งู ........... รูป ทู้ มู ทู (กาพย์ห่อโคลงนริ าศธารทองแดง) ๒. คาชี้แจง ให้นกั เรยี นเรยี งลาดบั คาประพนั ธใ์ หม่ ใหถ้ ูกต้องตามฉันทลักษณข์ องโคลง สี่สภุ าพ ๑. สัตวาฝ่าแขกเต้า พวกพ้องโนรี ใกล้คหู่ มูส่ าลกิ า แวดเคลา้ นกตั้วผัวเมียมา สมสู่ นกแก้วแจ้วรร่ี อ้ ง เรห่ า (กาพย์ห่อโคลงนิราศธารทองแดง) ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ๒. เรือ่ ยเรอ่ื ยเรยี มคอยแกว้ คลบั คล้ายเรียมเหลยี ว เร่ือยเรอ่ื ยลบั เมรลุ ง คา่ แลว้ รอนรอนจติ จานง นุชพี่ เพยี งแม่ รอนรอนสรุ ิยโอ้ อัสดง (กาพย์เหเ่ รอื ) .................................................................................................................................................. ............................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรินธร จงั หวดั สุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๓๙ ๓. เรอื เขื่องคบั ชะเลแล้ แล่นโลไ้ ปไฉน จระเขค้ บั นา่ นน้า ไฉนหา ภักษ์เอย เสอื ใหญก่ ว่าวนา ไฉนอยูไ่ ด้แฮ รถใหญก่ วา่ รถั ยา ยากแท้ (กาพยเ์ ห่เรือ) .................................................................................................................................................. ............................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสิรนิ ธร จงั หวัดสุรนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๔๐ แบบฝึกหัดท่ี ๘ เรือ่ ง ความรกั ใดควรใฝ่หา คาช้ีแจง จงตอบคาถามต่อไปน้ี ๑.ความรกั ใดควรใฝห่ า เป็นบทพระราชนิพนธ์ใน.......................................................................................... ๒. จากโคลงเรอ่ื ง “ความรกั ใดควรใฝห่ า” กลา่ วถงึ ...................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ๓.ประเทศไทยมสี ถานบนั สาคญั ......................สถาบนั ได้แก่ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................... ............................................. ............................................................................................................................. ........................................... ๔.คาเอก หมายถึง……………………………………………………………………………………………….………………………. ............................................................................................................................. ........................................... ๕.คาโทหมายถึง…………………………………………………………………………………………………………….………………… ........................................................................................................................................................................ ๖.คาเอกโทษ หมายถึง……………………………………………………………………………………………………………………. .................................................................................................................................................... .................... ๗.คาโทโทษ หมายถึง……………………………………………………………………………………………………………………… .................................................................................................................................. ...................................... ๘.คาประพนั ธ์ประเภทโคลง บังคับจานวนคา สัมผสั และ..........................๗ แหง่ ........................๔ แหง่ ๙.กลอนเสภามักขน้ึ ตน้ ด้วยคาว่า ๑๐.คาสรอ้ ย หมายถงึ …………………………………………………………………………………………….………………………. ............................................................................................................................. ........................................... ๑๑..........................................เปน็ ลักษณะบงั คบั ของคากลอนบางชนิดซ่ึงกาหนดใหล้ งทา้ ยด้วยคาว่า เอย เมื่อจบความ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ นิ ธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๔๑ แบบฝกึ หัดท่ี ๙ เรอ่ื ง คาขวญั โนม้ จติ โนม้ คิดคาคม คาช้แี จง จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๑.คาประกอบดว้ ย และ ๒.สานวน หมายถงึ ………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ๓.ลกั ษณะของสานวน มดี งั นี้ ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ๔.คาขวัญ หมายถึง....................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ๕.คุณสมบตั สิ าคญั ของคาขวญั คือ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ๖.คตพิ จน์ คอื ................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ๗.คาพดู ท่ีมลี กั ษณะคมคาย แฝงข้อคดิ ลึกซง้ึ ฟงั เผนิ ๆ อาจดูขัดแยง้ แต่กลบั ตคี วามไดอ้ ย่างมชี ้ันเชงิ เรยี กวา่ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ ินธร จงั หวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๔๒ ๘.คาแสลง หรอื .................................เป็นคาที่............................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ๙. จงบอกความหมายของสานวน สภุ าษิต และคาพังเพยตอ่ ไปน้ี ๑. อ้อยเข้าปากช้าง หมายถึง............................................................................................................................................. ๒. รกั ยาวให้บั่น รกั สน้ั ใหต้ ่อ หมายถึง............................................................................................................................................. ๓. ปลูกเรือนครอ่ มตอ หมายถึง............................................................................................................................................. ๔. แทงใจดา หมายถงึ ............................................................................................................................................. ๕. น้าขน้ึ ให้รบี ตัก หมายถงึ ............................................................................................................................................. นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ ินธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ๔๓ ๑๐. จงคน้ หาสานวน สภุ าษิต และคาพังเพย ใหค้ รบ ๒๓ สานวน เ ถ จ ด า ว ล อ ม เ ด ์ื อ น แ ส ล ใ ผ ์้ ข ะ พ ถ ์่ ์ื เ อ า ก า ร ท ก ด ห ์ื ์า ์ื ์ิ ก า ย เ ป อ ร ะ ย ษ ์ี บ เ ร จ เ ก ด ์้ ์็ า ต แ ก ท ส จ ด า ท ห ร ส ์ื ส พ ผ เ ์้ ์า ต ม ะ น า ว ไ ม ์่ ม ์ี น เ อา แป ์้ ์า ์า หเ ค ง เ ส น ค ง ว า บล ง ย น ์า ์้ ์้ ์็ ร นท า เ อ ด ส ก ล ว ต ะ ต ์่ ์ี ค จ น ์า า ต ผ บ ์็ ท ง ป ส ก จ ก โ ์็ โ ต ม ค ์้ ์ั ด า พ พ เ ส ะ อ ง โ ว นห เ ง ห า ร ์ึ ์ี ะ ก ร ร จ ส ห น ง ส ห เ ฆ ห ์่ ก ะ ์้ ์ิ ์ู ว ท ง นบ า พ ห า ก น ฆล ล เ เ ลง ์้ ์ิ ก ม ค ห ก ะ ง ท ฆ า ส บ อ จ ง ง ์ู แ จ ์ั นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จงั หวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๔๔ ์ี ต ก ย ห า ท ม โ ว ห ์ี า ไ ด จ า ์ู ์้ ์่ น า โ ด อ ม เ พ ถเ ปโ น ง ส ด า ไ ห ด ข ์ื ก เ ์้ ก แ ว จ ก ว แ ป อ เ ล ส ท ์า ์้ ไ นห ด ยล บ า ห อ บ ฟ า ง แ ต ์่ า ว ์้ ย า ง ใ จ ป ล า ซ อ ว ก จ ก ์่ เ ห ์ี ์ี ะเ ง ย สจ ย นจ ก โ ต ด แท า ์ู น ล ์้ ห ล ์้ ว า อ โ ผ ก ก ์ั ด ต ห ว ต ว โ ์า ์้ ส บ ย เ ห แ ไ ฟ ล น ร น ก โ า ์ุ ง า ว ์้ โ ง ก เ จ อ เ ไ ง เ พ ส ค ท ์่ แ ม ท ์า ์า ท ์่ า ด ท เ ห ล ว ์ี ล บ า ว น ส บ ์ี ์ี ์้ ด ปช ต ว ใ ค ร ต ว ม นโ า ท า ว ์ั ์ั ์ั นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ ินธร จังหวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๔๕ แบบฝกึ หัดที่ ๑๐ เร่อื ง ลว้ นบุญคณุ อ้มุ ชีวติ คิดทดแทน คาช้ีแจง จงตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. เร่อื ง เราควรกตญั ญตู ่อใคร เปน็ บทสนทนาทางโทรทศั น์ กลา่ วถงึ เรื่อง................................................... ........................................................................................................................................................................ ๒. สุนทรพจน์ หมายถึง................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ๓. การอภปิ ราย หมายถงึ ................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ๔. การโต้วาที หมายถงึ .................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ๕. การยอวาที หมายถงึ ................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................... ..................... ๖.จงทาเครื่องหมาย √ หน้าขอ้ ทีเ่ ปน็ สานวนเก่ยี วกับการพดู พรอ้ มทง้ั หาความหมาย ๑. กดั หางตัวเอง ..................................................................................... ๒. เถยี งคาไม่ตกฟาก ..................................................................................... ๓. ต่อความยาวสาวความยดื ..................................................................................... นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ นิ ธร จังหวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๔๖ ๔. ชกั แม่น้าทั้งห้า ..................................................................................... ๕. บ้าน้าลาย ..................................................................................... ๖. เขา้ รกเขา้ พง ..................................................................................... ๗. เป็นปเ่ี ปน็ ขลุ่ย ..................................................................................... ๘. มะนาวไม่มนี ้า ..................................................................................... ๙. ปากไมส่ ิ้นกลน่ิ น้านม ..................................................................................... ๑๐. น้าท่วมปาก ..................................................................................... นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสริ ินธร จังหวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ๔๗ ใบความรู้ที่ ๔ เร่ือง ระดบั ภาษา ภาษานอกจากจะใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการสือ่ สาร เราอาจสงั เกตเห็นลักษณะความสมั พันธร์ ะหวา่ ง มนุษยไ์ ดจ้ ากภาษาที่ใช้ เช่น คน ๒ คนคุ้นเคยกนั ยอ่ มใชภ้ าษาท่ีแสดงความค้นุ เคย ต่างกับบคุ คล ๒ คนที่ เพ่ิงมีโอกาสพบกัน ย่อมใชภ้ าษาที่ตา่ งออกไป ภาษาจงึ มหี ลายระดบั การใชร้ ะดบั ภาษาจงึ เกี่ยวข้องกบั สัมพนั ธภาพของบุคคล โอกาส และกาลเทศะ ระดับภาษาท่ีแบง่ อยา่ งละเอยี ด มี ๕ ระดบั ดงั นี้ ๑. ภาษาระดับพธิ ีการ ผูใ้ ชภ้ าษาระดบั พิธกี ารเปน็ ผู้ดารงตาแหนง่ หนา้ ท่ีสาคัญต่าง ๆ ผรู้ บั สารเปน็ บคุ คลกลุม่ ใหญ่ ใช้การสง่ สารผา่ นสือ่ มวลชน หรอื ในทีป่ ระชุม ภาษาระดับน้มี กี ารเลือกใช้ถ้อยคาทส่ี ภุ าพ สละสลวย สถานการณ์ทใี่ ช้ภาษาระดบั พิธีการ ได้แก่ คากล่าวในโอกาสสาคญั ตา่ ง ๆ เชน่ สนุ ทรพจน์ โอวาท ปาฐกถา คากล่าวสดุดี คาไวอ้ าลยั คากลา่ วปราศรยั การแนะนาบคุ คลสาคญั บทร้อยกรองที่ ต้องการจรรโลงใจใหข้ ้อคดิ ๒. ภาษาระดับทางการ ภาษาระดับน้เี ป็นการส่ือสารในวงวิชาการ หรอื วงการอาชีพเดยี วกนั ผู้รบั สารกบั ผ้สู ง่ สารมคี วามสมั พนั ธก์ นั ในดา้ นหนา้ ที่การงาน สถานการณท์ ่ีใชภ้ าษาระดบั ทางการไดแ้ ก่ งาน เขียนทางวชิ าการสาขาตา่ ง ๆ งานเขยี นในแวดวงอาชพี เดยี วกนั เอกสารของราชการ เชน่ รายงานการ ประชุม จดหมายราชการ คาส่งั ประกาศ การประชุมศกึ ษาในวาระสาคญั การเขียนขอ้ สอบอตั นัย การ เปน็ พธิ ีกรรายการที่มีสาระ ๓. ภาษาระดับกงึ่ ทางการ ภาษาระดับกงึ่ ทางการ ภาษาระดบั นี้ใชใ้ นการส่ือสารกบั บุคคลทั่วไปที่ ไม่ไดม้ คี วามสมั พนั ธก์ ันในวงวิชาการหรอื วงการอาชีพ สถานการณท์ ่ีใชภ้ าษาระดบั กึ่งทางการ ไดแ้ ก่ งาน เขยี นในสอ่ื สง่ิ พิมพ์ต่าง ๆ เชน่ วารสาร นิตยสาร หนงั สอื พิมพ์ บทบรรยายในนวนยิ าย เรอื่ งสนั้ บทละคร จดหมายกิจธรุ ะ จดหมายธรุ กจิ จดหมายส่วนตัวที่เขยี นถึงบคุ คลซ่งึ ไมค่ นุ้ เคยกัน การประชุมภายใน หนว่ ยงาน การพูดโทรศัพทก์ ับบุคคลทว่ั ไป การเป็นพธิ ีกรรายการบันเทงิ ๔. ภาษาระดับสนทนาหรือระดบั ไม่เปน็ ทางการ ใช้ในการส่ือสารกบั บุคคลผมู้ ีความสมั พนั ธ์ ใกล้ชิด เชน่ เพือ่ น ญาติ การเรียบเรียงภาษาไม่เครง่ ครัดตามหลกั ไวยากรณ์มากนกั สถานการณท์ ี่ใช้ ภาษาระดับสนทนา ได้แก่ การสนทนากับบคุ คลทวั่ ไป บทสนทนาในนวนยิ าย เร่อื งสน้ั บทละคร จดหมายส่วนตวั ทเี่ ขยี นถงึ บุคคลท่ีมคี วามสมั พันธ์ใกลช้ ดิ สนทิ สนมกนั การรายงานข่าวชาวบ้านในรายการ โทรทศั น์ การเขียนบันทึกส่วนตวั การเขียนบทความในหนังสอื พมิ พ์ ๕.ภาษาระดบั กันเองหรอื ภาษาปาก ใชใ้ นการส่ือสารระหวา่ งบคุ คลท่มี คี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ิดกันมาก เปน็ พเิ ศษ เชน่ บคุ คลในครอบครวั เพ่ือนสนิท ลกั ษณะภาษาอาจมีคาไมส่ ุภาพปะปนอยบู่ า้ ง สถานการณ์ ท่ใี ช้ภาษาระดบั กนั เอง เช่น การสนทนากบั บคุ คลที่มคี วามใกลช้ ิดกนั มาก การเขียนบทสนทนาในนวนิยาย เร่ืองสนั้ การเขียนจดหมายติดตอ่ ส่อื สารกบั เพ่อื นสนทิ การเขียนพาดหัวขา่ วหนงั สือพิมพ์ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสิรนิ ธร จงั หวัดสรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๔๘ ปจั จยั ท่กี าหนดระดบั ภาษา ๑. โอกาสและสถานที่ การใช้ภาษาให้ถกู ตอ้ งควรคานึงถงึ กาลหรอื โอกาส และสถานท่ี ถา้ สือ่ สาร กนั ในทสี่ าธารณะ เชน่ ตลาด รา้ นคา้ ภาษาท่ใี ชก้ จ็ ะตา่ งระดบั กับเมอื่ สอื่ สารที่บา้ น ๒. สัมพนั ธภาพระหวา่ งบคุ คล ถ้าใชภ้ าษาสื่อสารกับบคุ คลทมี่ คี วามค้นุ เคย ใกลช้ ิดสนิทสนมกัน มากอาจใช้ภาษาระดบั กนั เอง แตถ่ ้าไมค่ ุ้นเคยกบั บคุ คลนั้นควรใชภ้ าษาระดบั สนทนา แตท่ ้ังนเี้ กยี่ วโยงกับ ปัจจยั ข้อท่ี ๑ ด้วย เชน่ เพ่ือนสนทิ กนั เมอื่ พดู กนั ในที่ประขุมที่จดั ข้นึ อยา่ งเปน็ ทางการ ยอ่ มไมอ่ าจใช้ ภาษาในระดบั ท่เี คยสนทนากนั ตามลาพัง ๓. วิธกี ารส่อื สาร วธิ กี ารส่อื สารท่มี ลี ักษณะเปิดเผย แม้จะส่งสารถึงเพอ่ื นใกล้ชดิ สนทิ สนมกไ็ ม่ควร ใชภ้ าษาระดับกันเอง เพราะถา้ มีผ้มู าอ่านเหน็ เข้ากจ็ ะเกดิ ความรูส้ กึ ทไ่ี ม่ดีตอ่ ผูเ้ ขียนได้ ถ้าเป็นการส่อื สาร ผา่ นส่ือมวลชน กย็ ิ่งจะตอ้ งระมัดระวงั มากข้นึ ***ขอ้ สงั เกต*** ๑. ภาษาทแี่ บ่งออกเปน็ ๕ ระดับน้ี มิไดห้ มายความว่าแยกออกจากกันอย่างเดด็ ขาด ภาษาระดบั หนึง่ อาจเหลอื่ มลา้ กบั อีกระดับหนงึ่ ได้ เชน่ ภาษาระดับที่ ๒ กบั ระดับที่ ๓ อาจใชป้ ะปนกนั หรอื ภาษาระดับท่ี ๓ และภาษาระดบั ท่ี ๔ อาจใช้ร่วมกันได้ ๒. บุคคลแต่ละคนอาจไมม่ ีโอกาสใชภ้ าษาครบทง้ั ๕ ระดับ แตท่ กุ คนยอ่ มได้ใชภ้ าษาระดับท่ี ๓ และ ๔ อยู่เป็นประจา สาหรับภาษาระดบั ท่ี ๑ บางคนแทบไม่มีโอกาสไดใ้ ชเ้ ลย และภาษาระดบั ท่ี ๕ บางคนก็ไม่นยิ มใช้ ตวั อยา่ งการใช้คาตามระดบั ภาษา ภาษาปาก ไมเ่ ปน็ ทางการ กงึ่ ทางการ ทางการ พธิ ีการ พอ่ , แม่ พ่อ , แม่ คุณพอ่ , คณุ แม่ คุณพอ่ , คุณแม่ บิดา , มารดา ครู คุณครู คุณครู อาจารย์ อาจารย์ หมา่ , ยดั กิน , ทาน กิน , ทาน รับประทาน รบั ประทาน กบาล หัว หัว ศรี ษะ ศรี ษะ แจ๋ว , เจง๋ ดี ดมี าก ดมี าก ยอดเยยี่ ม สดุ ๆ เตม็ ท่ี เต็มท่ี เต็มความสามารถ เตม็ ความสามารถ บวช บวชพระ , บวชเณร บวชพระ , บวชเณร อุปสมบท , บรรพชา อปุ สมบท , บรรพชา เยอะแยะ มากมาย มากมาย มาก มาก (ท่ีมา : สชุ ีรา รักษาภักด)ี นางอสพิ ร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ ินธร จังหวดั สรุ นิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๔๙ แบบฝึกหัดที่ ๑๑ เร่ืองระดบั ภาษา คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นพิจารณาข้อความต่อไปน้ีว่าเปน็ ภาษาระดับใด เลือกตอบโดยนาตัวอักษรหน้าตัวเลอื ก ไปเตมิ ลงในชอ่ งวา่ งให้ถูกต้อง ก. ภาษาระดบั พธิ กี าร ข. ภาษาระดับทางการ ค. ภาษาระดับก่งึ ทางการ ง. ภาษาระดับไมเ่ ป็นทางการ จ. ภาษาระดับกนั เอง ๑..................... ขอบใจนะพรรคพวก ขอใหส้ นกุ กันใหเ้ ตม็ ที่ ๒..................... ขา้ พเจ้าขอแสดงความขอบใจทา่ นทง้ั ปวงดว้ ยความจริงใจเป็นทส่ี ดุ ๓..................... ถา้ มสี ิง่ ใดทผี่ มพอจะรบั ใชไ้ ด้ ผมก็จะไมร่ รี อทจี่ ะกระทาเลย ๔..................... เราคงไดม้ ีโอกาสสังสรรคก์ นั เช่นนีอ้ ีก ๕..................... อย่าลืมกนิ ยาตามที่หมอสงั่ นะคะ ๖...................... การสร้างเรอื ระทนี่ ั่งลาใหม่ ใช้โขนเรือนารายณ์ทรงสบุ รรณเดมิ เป็นตน้ แบบ ๗..................... ผมจะอตุ สา่ ห์ปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ทท่ี ่ีได้รบั มอบหมายให้เต็มความสามารถ ๘..................... มนุษยแ์ ละสง่ิ มชี ีวติ ในโลกนีจ้ าเปน็ ต้องอาศัยพลังงานเพ่อื การดารงชวี ิต ๙..................... งานฉลองสิรริ าชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี มนี ายกรัฐมนตรเี ปน็ ประธาน ๑๐................... หนงั เรื่องนพ้ี ระเอกหล่อสุด ๆ ๑๑................... การอา่ นหนังสอื นนั้ ถา้ อ่านผ่านๆ อาจไมไ่ ดเ้ นื้อหาเทา่ ใดนกั ๑๒.................. ก็เพราะเขารวยนะซี เขาถึงมเี พื่อนมาก ๑๓.................. ผ้ปู ่วยควรรบั ประทานยาให้ครบตามแพทยส์ ั่ง ๑๔.................. รัฐบาลไดก้ าหนดจัดงานพระราชพธิ กี าญจนาภเิ ษก ๑๕................. ขอเชญิ เสด็จไดแ้ ล้ว สายจนตะวนั โงแลว้ นะ ๑๖.................. คณุ แม่ควรรกั ษาสุขภาพใหด้ ีนะคะ ๑๗................. เปดิ ไฟหนอ่ ยสิ มดื จะตายไป ๑๘................. ขอบคณุ มากคะ่ ทอี่ วยพรให้ดิฉนั ๑๙.................. หยบิ หนงั สอื ใหห้ นอ่ ย ขอบใจจะ้ ๒๐................. วันนข้ี อใหฉ้ ลองกนั ใหเ้ ต็มอ่มิ เลยนะคะ ไมต่ อ้ งเกรงใจ นางอสิพร ไชยเทพ | ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นสริ นิ ธร จงั หวดั สรุ นิ ทร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook