Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564_รายงานการวิจัย

2564_รายงานการวิจัย

Published by banchongmcu_surin, 2022-06-05 05:59:24

Description: 2564_รายงานการวิจัย(พยุง)

Search

Read the Text Version

1 รายงานการวจิ ยั เรือ่ ง การศึกษาบทบาทดา้ นสาธารณสงเคราะห์วดั ปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศขี รภูมิ จงั หวัดสรุ นิ ทร์ A study of the role of public welfare at Prasat Khoklan Thammaram Temple, Ranang Sub-district, Sikhoraphum District Surin โดย พระพยงุ คณุ ธมโฺ ม หลกั สูตร พทุ ธศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ า พระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ๒๕๖๔

2 research report subject A Study of the Role of Public Welfare at Prasat Khoklan Thammaram Temple Tambon Ra-ngeng, Amphoe Sikhoraphum Surin Province by Phra Phayung Guna Dhammo Bachelor of Arts Program in Buddhism Mahachulalongkornrajavidyalaya University Surin Campus, 2021

3 ชอื่ รายงานการวจิ ัย : การศึกษาบทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์วัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ผู้วิจยั : พระพยุง คุณธมฺโม / บำรุงนาม รหัส ๖๑๐๙๕๐๑๐๐๕ ชั้นปที ่ี ๔ หลกั สูตร: พทุ ธศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา อาจารยท์ ปี่ รึกษา: ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์บรรจง โสดาดี มหาวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาลยั เขตสุรินทร์ บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. ศึกษาพัฒนาการของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ๒. ศึกษา บทบาทดา้ นการสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทย ๓. ศึกษาบทบาทด้านการสงเคราะห์ของวดั ปราสาทโคกกลันธรร มาราม ตำบลระแงง อำเภอศีขรภมู ิ จังหวดั สุรินทร์ เปน็ การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ โดยการสังเกตและการสัมภาษณ์ กลุม่ บคุ คลผใู้ ห้มูลสำคัญ แลว้ นำเสนอผลวิจัยเชิงพรรณนา ผลการวิจยั พบวา่ ๑. พัฒนาการวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ด้านศาสนวัตถุสร้างพระวิหารและพระอุโบสถ เป็น ปฏมิ ากรรมแบบไทย-ขอม กุฏิทรงไทยประยุกค์เดน่ กลางทุ่งนา ดา้ นศาสนบุคคล มภี ิกษุสงฆเ์ ฉล่ีย ๒๐ รูปต่อปี พระเทพ จารุธมฺโม ประธานสงฆ์ ชำนาญพุทธศิลป์แบบขอม พระวิวัตน์ อคฺคธมฺโม เจ้าอาวาสรูปแรก ผู้ปฏิบัติงานประกอบปฏิมากรรมกับคณะสงฆ์ และคฤหัสห์ช่างชำนาญการแกะแบบลายไทย-ขอม เพื่อสร้าง เปน็ พระวหิ าร พระอุโบสถ ดา้ นศาสนพิธี มีกจิ วตั รสวดมนต์เช้า-เย็น พธิ บี ังสกุ ลุ อุทิศบรรพบุรุษทุกเย็น ด้านศา สนธรรม วัดมีการสอนเรียนปริยัติธรรมปฏิบตั ิกรรมฐาน และดา้ นการศกึ ษาสงเคราะห์ ช่วยอปุ การณ์การศึกษา มอบคอมพิวเตอร์ แก่ภิกษุและหน่วยงานรัฐ วัดพัฒนาการเจริญรวดเร็ว เพราะเกิดจากความศรัทธาของพุทธ บริษัท ๔ ทมี่ ตี อ่ ศาสนา ๒. บทบาทด้านการสาธารณสงเคราะหส์ มยั พุทธกาล มีแนวปฏบิ ตั ิ ๒ ทางใหญ่ คือ ๑) สงเคราะห์ด้วย อามิส ๒) สงเคราะห์ด้วยธรรมะ เช่น สงเคราะห์กลุ่มชฎิลคณะใหญ่ และสงเคราะห์เป็นรายบุคคล ส่วนวิธีการ สงเคราะห์สมัยพุทธกาล ในคัมภีร์ตามหลักสงั คหวตั ถุ ๔ คือ ๑) ทานสังคหะ ด้วยอามิสทานและธรรมทาน ๒) ปิยวาจา แนะนำด้วยวาจาสุจรติ ๓) อัตถจริยา นำตนเป็นจิตอาสา ๔) สมานัตตตา สร้างความรู้สึกร่วมสุขร่วม ทุกข์ ในบทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทย เป็นกิจการคณะสงฆ์ในระเบียบมหาเถรสมาคม มี รูปแบบ ๔ อยา่ ง ๑) การชว่ ยเหลอื เก้ือกลู วัดหรือคณะสงฆ์ ๒) การช่วยเกื้อกลู ผ้อู ื่น ๓) การช่วยเกอื้ กูลสาธารณ สมบตั ิ ๔) การช่วยเหลือประชาชนท่ัวไป วิธีการด้านสาธารณสงเคราะห์ ในภาวะปกติและวิกฤติ ต้องวิเคราะห์ ศักยภาพพื้นที่ วางแผนดำเนินการแบบบูรณาการ ประสานงานร่วมมือภาคีเครือข่าย สนับสนุนช่วยเหลือเตม็ กำลัง สรปุ ผลดำเนนิ งาน และรายงานเจ้าคณะผู้ปกครอง

4 ๓. บทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์วัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม บทบาทการช่วยเหลือเกื้อกูลวัด และคณะสงฆ์ โดยช่วยสร้างและบูรณะแต่ละวัด ช่วยวัสดุและไปช่วยสร้างเอง ช่วยเหลือภิกษุอาพาธ มีผ้าไตร จีวรและอุปกรณ์ ผ้าปูเตียง ข้าวสารอาหาร บทบาทช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน มีอนุเคราะห์ช่วยงานฌาปนกิจ ศพฟรี ช่วยของอุปโภคบริโภค แก่ผู้ยากไร้ พบภัยพิบัติ คนชรา ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง บทบาทช่วยเหลือ เกื้อกูลหน่วยงานสาธารณะ มีโรงพยาบาล อนามัย ช่วยอุปกรณ์ผ้าปูเตียง และช่วยโรงเรียนอนุบาล อสม. กองทุนหมู่บ้าน มอบคอมพิวเตอร์ เครอ่ื งปรนิ ท์ บทบาทส่งเสริมสัมมาอาชีพแก่ชุมชน มีอาชีพช่างกอ่ สรา้ ง ช่าง ยนต์ ช่างแกะลายปฏิมากรรมศิลป์แบบไทย-ขอม อาชีพเกษตรอินทรีย์ ส่วนบทบาทการส่งเสริมการศึกษา วัด มอบคอมพิวเตอร์ เครื่องปรินท์ ให้วัดสุทธจินดาวรวิหาร วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร โรงเรียนระเวียง มอบท่ี นอนแกเ่ ดก็ อนบุ าล มีท้งั ในเขตชนบท ทีเ่ ชิงเขา และบทบาทของวดั ช่วยสังคมผู้ประสบภยั วัดได้รับบิณฑบาตร จากหน่วยงานรัฐ ที่ขอความอนุเคราะห์จากคณะสงฆ์ เพื่อไปรับข้าวสารอาหารแห้ง ของอุปโภคบริโภค นำไป ช่วยผปู้ ระสบภยั ท้ังบอกบญุ กบั คณะลูกศษิ ย์ ท่ีมเี จตนารว่ มบุญดา้ นสาธารณสงเคราะหข์ องวัดด้วย คำสำคัญ: บทบาท, สาธารณสงเคราะห์, วัดปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม

5 Name of research report: A study of the role of public welfare at Prasat Khoklan Thammaram Temple, Ranang Sub-district, Sikhoraphum District Surin Researcher: Phra Payung GhunaThammo / Bamrungnam, code 6109501005, 4th year Course: Bachelor of Arts Buddhism Advisor: Assistant Professor Banchong Sotadee University: Mahachulalongkornrajavidyalaya University Surin College Abstract research on this The objectives are: 1. To study the development of Wat Prasat Khok Klan Thammaram 2. To study the role of assistance of the Thai Sangha 3. To study the role of assistance in Wat Prasat Khok Klan Thammaram, Ranng Sub- district, Sikhoraphum District. Surin It is a qualitative research. by observing and interviewing key informants and then present the descriptive research results. The results showed that 1. The development of the Khoklan Dhammaram Temple Religious objects to build a temple and the Ubosot It is a Thai-Khmer sculpture. A Thai-style cubicle, prominently used in the middle of the rice field. Religious There is an average of 20 monks per year. Phra Thep Jaruthammo, the chairman of the monks, knows the Khmer Buddhist art, and Phra Wiwat Akgadhammo, the first abbot. The practitioners assemble the sculpture with the Sangha. and a householder who is skilled in carving Thai-Khmer patterns to build a temple, ubosot, religious ceremonies, morning- evening prayer routines Requiem ceremony for dedicating ancestors every evening. Religious aspects of the temple have teachings to learn the Dharma and practice meditation. and education help educational equipment donate a computer for monks and government agencies Wat Phatthanakan Charoen Rapid because it arises from the faith of the 4 Buddhist companies towards religion 2. The role of public welfare in the Buddha's time: there were two main practices: 1) Amis assistance 2) Dharma assistance, for example, a large group of chadila assistance. and individual assistance The method of salvation in the Buddha's time In the scriptures according to Sangahavattha principles, four are 1) giving sanggaha with amidana and dharma, 2) piyavaca, giving advice with honesty, 3) atthachariya, leading oneself as a volunteer spirit, 4) samanatta, creating a feeling of communion with happiness and suffering. in the role of public welfare of the Thai Sangha It is an affair of the Sangha in the Sangha Sangha regulations. There are 4

6 forms: 1) helping the temple or the Sangha 2) helping others 3) helping the public domain 4) helping the general public. public welfare methods in normal and critical conditions need to analyze the potential of the area Integrated action plan Coordinate with network partners full support support performance summary and the primate parent report 3. The role of public welfare at Prasat Khoklan Thammaram Temple The role of helping the temple and the Sangha by helping to build and renovate each temple Help the material and go to build it yourself. help the sick monk There are robes and equipment, bed linen, food and food, the role of helping in the community. Free funeral assistance Helping consumer goods to the poor, the crippled, the elderly, the handicapped, the bedridden patients Role of helping to support public agencies. There are hospitals, sanitation, help for bed linen. and help the Kindergarten School, Village Fund donate a computer printer Role in promoting careers in the community Has a career as a mason, motor mechanic, sculptor, Thai-Khmer art sculptures. organic farming The role of education promotion Wat Don Computer printer to Wat Sutchindaworawihan Wat Khao Sala Atulthananajaro Ravieng School Donate mattresses to kindergarten children Both in rural areas, at the foot of the hills, and the role of temples in helping the victims' society The temple received alms from government agencies. asking for help from the clergy to get rice, dry food consumer goods to help the victims both giving merit to the students with the intention to make merit in the public welfare of the temple Keywords: role, public welfare, Prasat Khoklan Thammaram Temple

7 กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการวิจัย การศึกษาบทบาทดา้ นสาธารณสงเคราะหว์ ัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณอย่างยิ่งต่อ พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ กลุ่ม นักวิชาการ ขอขอบพระคุณกลุ่มคณะสงฆ์วัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม พระเทพ จารุธมฺโม ประธานสงฆ์ พระวิรัตน์ อคฺคธมโฺ ม เจา้ อาวาส พระบญุ ธรรม ชาตปญโฺ ญ พระเอกพันธ์ อภินนโฺ ท พระปรชี า ภรู ิสีโล เจริญพร กลุม่ ผนู้ ำชมุ ชน ผ้ใู หญบ่ า้ นโคกกลัน นายวิรตั น์ แอกทอง ผชู้ ว่ ยผู้ใหญบ่ า้ น นายแบน ประภาสัย ส.อบต.ระแงง นายสุเทพ ประภาสัย ส.อบต.ระแงง นายยงยุท ประภาสัย เจริญพรกลุ่มปัญญาชน/ปราชญช์ ุมชน นายบุญทม แอกทอง, เจริญพรกลุ่มอุบาสกอุบาสิกาผู้ใกล้ชิดวัด นายประยูร บำรุงนาม นางสมเรียน ประภาสัย นางสุนิต คุ้มภัย ในการศึกษาข้อมูลวิจัยสำเร็จลุล่วงได้ก็ด้วยความช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรจง โสดาดี อาจารย์ประจำวิชาการวิจัย ที่ให้คำแนะนำและความรู้แนวคิดที่เป็นประโยชน์ ต่อการจัดทำรายงาน การวิจัย ผู้วจิ ยั ขอเจริญพรขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณเพื่อนนิสิตในห้อง ตลอดจนผู้มีพระคุณที่ไม่ได้เอยนาม ที่ช่วยให้คำแนะนำและบอก แหลง่ ข้อมลู จนทำให้งานวิจัยสำเร็จออกมาเป็นรปู เลม่ ได้ดว้ ยดี ผู้วจิ ัย พระพยงุ คณุ ธมฺโม / บำรงุ นาม ๒๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๔

8 สารบญั บทคัดย่อภาษาไทย......................................................................................................................ก บทคัดย่อภาษาอังกฤ....................................................................................................................ค กติ ติกรรมประกาศ....................................................................................................................... จ สารบัญ........................................................................................................................................ฉ สารบัญภาพ.................................................................................................................................ฌ สารบัญแผนภูมิ...........................................................................................................................ญ บทท่ี ๑ บทนำ.................................................................................................................หนา้ ๑.๑ ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา ........................................................................ ๑ ๑.๒ คำถามการวจิ ยั .............................................................................................................. ๒ ๑.๓ วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย... ........................................................................................... ๒ ๑.๔ ขอบเขตการวิจัย .......................................................................................................... ๒ ๑.๕ นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ............................................................................................................ ๓ ๑.๖ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ......................................................................................... ๔ บทท่ี ๒ แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง...............................................................๕ ๒.๑ แนวคิด ทฤษฎี รปู แบบ วิธีการดา้ นสาธารณสงเคราะห์ ..............................................๕ ๒.๑.๑ แนวคดิ ด้านสาธารณสงเคราะห์ ........................................................................ ๕ ๒.๑.๒ ทฤษฎีดา้ นสาธารณสงเคราะห์.................................................................๑๔ ๒.๑.๓ รปู แบบดา้ นสาธารณสงเคราะหส์ มยั พทุ ธกาล.................................................๑๗ ๒.๑.๔ วธิ กี ารด้านสาธารณสงเคราะหส์ มัยพุทธกาล...................................................๒๐ ๒.๑.๕ รปู แบบด้านสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทย...........................................๒๒ ๒.๑.๖ วธิ ีการดา้ นสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์ไทย ............................................๓๑ ๒.๒ พฒั นาการวัดปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม............................................................๓๖ ๒.๒.๑ บรบิ ทของชมุ ชน.............................................................................................๓๖ ๒.๒.๒ ประวัตวิ ัดปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม............................................................๓๗ ๒.๒.๓ พัฒนาการด้านศาสนวัตถุ ...............................................................................๔๐ สารบัญ (ต่อ) ๒.๒.๔ พฒั นาการด้านศาสนบุคคล..............................................................................๔๒

9 ๒.๒.๕ พฒั นาการดา้ นศาสนพธิ .ี ..................................................................................๔๓ ๒.๒.๖ พัฒนาการดา้ นศาสนธรรม...............................................................................๔๖ ๒.๓ แนวคดิ เกย่ี วกับบทบาทด้านสาธารณสงเคราะหว์ ดั ปราสาทโคกกลันธรรมาราม......๔๗ ๒.๓.๑ สาธารณสงเคราะห์ดา้ นวตั ถุ ...........................................................................๔๙ ๒.๓.๒ สาธารณสงเคราะหด์ ้านจิตใจ...........................................................................๔๙ ๒.๓.๓ การสรา้ งความผูกพันอันดีระหวา่ งวดั กับบ้าน .................................................๔๙ ๒.๔ งานวิจัยทีเ่ ก่ยี วข้อง ....................................................................................................๕๐ บทท่ี ๓ วิธีดำเนินการวิจยั ..........................................................................................................๕๖ ๓.๑ รูปแบบการวิจัย...........................................................................................................๕๖ ๓.๒ ขอบเขตการวจิ ัย...........................................................................................................๖๐ ๓.๓ การสรา้ งเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั .................................................................................๖๑ ๓.๔ การตรวจสอบเครอื่ งมือ ................................................................................................๖๒ ๓.๕ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ..................................................................................................๖๒ ๓.๖ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู .......................................................................................................๖๑ ๓.๗ สรุปกระบวนการวิจยั ....................................................................................................๖๒ ................................................................................................................. บทที่ 4 ผลการศกึ ษาวิจัย.......................................................................................................๖๓ ๔.๑ พัฒนาการของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ).........................................................๖๔ ๔.๑.๑ ประวัติวดั ปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม (ธ)......................................................๖๔ ๔.๑.๒ พฒั นาการด้านศาสนวัตถุ ...............................................................................๖๔ ๔.๑.๓ พฒั นาการดา้ นศาสนบุคคล ............................................................................๖๕ ๔.๑.๔ พฒั นาการดา้ นศาสนพิธ.ี ..................................................................................๖๖ ๔.๑.๕ พฒั นาการดา้ นศาสนธรรม...............................................................................๖๗ ๔.๒ บทบาทดา้ นสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทย.......................................................๖๘ ๔.๒.๑ รปู แบบด้านสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆไ์ ทย...........................................๖๘ ๔.๒.๒ วิธกี ารด้านสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์ไทย.............................................๗๐ สารบัญ (ต่อ) ๔.๒.๓ คำสมั ภาษณน์ กั วชิ าการ ดา้ นสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทย.................๗๒ ๔.๓ บทบาทดา้ นสาธารณสงเคราะหข์ องวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม..............................๗๒ ๔.๓.๑ บทบาทในการชว่ ยเหลือเกื้อกลู วัด/คณะสงฆ์..................................................๗๒

10 ๔.๓.๒ บทบาทในการชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู ชมุ ชน..............................................................๗๕ ๔.๓.๓ บทบาทในการชว่ ยเหลอื เกื้อกูลชมุ ชน/สาธารณะ ...........................................๗๗ ๔.๓.๔ บทบาทในการส่งเสริมสมั มาอาชีพแก่ชุมชน ...................................................๗๙ ๔.๓.๕ บทบาทในการส่งเสริมการศึกษา......................................................................๘๑ ๔.๓.๖ บทบาทของวัดในการชว่ ยสงั คมทีป่ ระสบภัย ..................................................๘๔ บทท่ี ๕ สรุปอภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ...................................................................................๘๙ ๕.๑ สรปุ ผลการศกึ ษา.........................................................................................................๘๙ ๕.๑.๑ ความเปน็ มา วัตถุประสงค์ ขอบเขตและวธิ กี ารวจิ ัย........................................๘๙ ๕.๑.๒ ผลการวิจยั .....................................................................................................๙๑ ๕.๒ อภปิ รายผล.....................................................................................................................๙๘ ๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ..............................................................................................................๑๐๐ ๕.๓.๑ ขอ้ เสนอแนะเชงิ การนำไปใช้………………………………………………………………..๑๐๐ ๕.๓.๒ ขอ้ เสนอแนะการทำวิจัย................................................................................๑๐๑ บรรณานกุ รม...............................................................................................................................๑๐๒ ภาคผนวก ..................................................... ..............................................................................๑๐๕ ภาคผนวก ก. ตวั อยา่ งเครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจยั ................................................................๑๐๕ ภาคผนวก ข. ตัวอย่างเอกสารขออนุญาตเกบ็ ข้อมลู วจิ ยั ..................................................๑๐๙ ภาคผนวก ค. ภาพกิจกรรมดำเนินการวิจยั ......................................................................๑๑๐ ประวัตผิ ู้วจิ ยั ......................................................................................................................... ........ ๑๑๙

11 สารบัญภาพ ภาพท่ี หน้า ตารางท่ี ๑ ภาพสมั ภาษณ์กลุ่มนักวิชาการ มจร. สรุ ินทร์..............................................................๑๑๐ ตารางที่ ๒ ภาพสัมภาษณ์กลุ่มคณะสงฆ์……………………………………………………………………………...๑๑๐ ตารางท่ี ๓ ภาพสัมภาษณก์ ลุ่มผู้นำชมุ ชน.......................................................................................๑๑๑ ตารางท่ี ๔ ภาพสมั ภาษณ์กลุ่มปญั ญาชน/ปราชญช์ มุ ชน................................................................๑๑๑ ตารางท่ี ๕ ภาพสมั ภาษณก์ ลุ่มอบุ าสกอุบาสิกาผใู้ กล้ชิดวัด............................................................๑๑๒ ตารางที่ ๖ ถวายผ้าไตยจวี ร ๒๐ ชุดให้กับ วัดสุทธจนิ ดา จงั หวัดนครราชสมี า …………………….…..๑๑๓ ตารางที่ ๗ ถวายเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้กบั วดั ปา่ สาลวนั จังหวัดนครราชสีมา………………………….๑๑๔ ตารางท่ี ๘ มอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ใหก้ บั โรงเรียน ทจี่ งั หวัดเชียงราย............................................๑๑๔ ตารางท่ี ๙ มอบเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ให้กับคณุ ครูผเู้ ก่งการสอนแต่ยังขาดอุปการณ์........................๑๑๕ ตารางที่ ๑๐ มอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ให้กบั นักศึกษา และ อสม.หมู่บา้ น.......................................๑๑๕ ตารางท่ี ๑๑ เจา้ อาวาสไปเยยี่ มพระภิกษุผอู้ าพาธ พร้อมถวายอุปกรณ.์ ........................................๑๑๖ ตารางท่ี ๑๒ มอบเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กับศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นยางเตี้ย สรุ นิ ทร์......................๑๑๖ ตารางที่ ๑๓ รวบรวมข้าวสารอาหารแหง้ ช่วยผ้ปู ระสบภยั จังหวัดอุบลราชธานี ๒๕๖๓.................๑๑๗ ตารางท่ี ๑๔ มอบเครื่องคอมพวิ เตอรใ์ ห้กับศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นหนองหวา้ สุรินทร.์ ................๑๑๗ ตารางที่ ๑๕ มอบเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้กบั โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ, ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นไทย สามัคค,ี กองทุนหม่บู ้านบไุ ทร, กศน.ตำบลไทยสามัคคี อำเภอวงั น้ำเขยี ว นครราชสีมา................๑๑๘

12 สารบญั แผนภมู ิ แผนภูมทิ ่ี หน้า ตารางท่ี ๒.๑ สรุปแนวคดิ ดา้ นสาธารณสงเคราะห์...........................................................................๑๓ ตารางที่ ๒.๒.๒ บรบิ ท/โครงสร้างทางกายภาพของวัด (สร้างแผนผงั วัด)…………………………………….๓๙ ตารางท่ี ๓.๑ แผนทกี่ ารลงเก็บข้อมูลภาคสนาม................................................................................๖๐ ตารางที่ ๓.๒ กระบวนการวจิ ัย.........................................................................................................๖๕

13 บทท่ี ๑ บทนำ ๑.๑ ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา โลกในช่วงของวิกฤตการณ์ covid-19 ซึ่งเป็นโรคระบาดที่คร่าชีวิตของมนุษย์โลกไปหลายล้าน การ ดำรงชีวิตของมนุษย์ก็เริ่มจะเข้าสู่ขั้นวิกฤต ในขณะเดียวกัน แพทย์ก็ศึกษาวิจัยวัคซีนเพื่อแก้ไขรักษาโรคโควิด ๑๙ โดยงานเร่งด่วน การคิดค้นวัคซีนเพื่อต่อต้านเชื้อ covid-19 นำมากำจัดโรคภัยให้หายสิ้นไปจากประเทศ จากโลก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มวลมนุษยชาติจะประพฤติตนมิให้ประมาท เพราะความประมาทนำมาซึ่งความ ตาย กเ็ พราะวา่ การที่เกิดเป็นมนุษย์เปน็ สงิ่ ที่ยาก การไดเ้ กิดมาแล้วมรี ่างกายทคี่ รบ ๓๒ ประการน้ันก็ยาก เกิด มาแล้วมีสติมีปัญญาอันนี้ก็ยิ่งยาก เกิดมาในสถานที่ดี เกิดในตระกูลที่สูง เกิดในครอบครัวที่มีฐานะอันจะกิน อยู่ในขั้นเศรษฐีมหาเศรษฐีอันนีก้ ็ยิง่ ยาก แต่สำหรับมนุษย์ที่เกิดมาแล้วประสบกับปัญหา เกิดมาแล้วตายต้งั แต่ อยู่ในท้อง เกิดมาแล้วคลอดก็ตาย หรือเกิดมาแล้วมีร่างกายไม่ครบ ๓๒ ประการก็มีมาก อันนี้ก็ขึ้นอยู่กับบุญ บาป ตามหลักพระพุทธศาสนา ดั่งพุทธพจน์ทรงตรัสกับนาคราช เอรกปัตตะ ว่า “กิจฺฉํ มจฺจาน ชีวิตํ กิจฺฉํ สทฺธมฺมสฺสวนํ กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท” ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นการยาก, ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก, การฟังพระ สัทธรรมเปน็ ของยาก, การอุบัติขน้ึ แห่งพระพทุ ธเจา้ ท้ังหลายเป็นการยาก1 ดังนัน้ การทเ่ี ราได้เกิดมาเป็นมนุษย์เป็นของยากจรงิ ต้องอาศยั บญุ อาศัยคณุ งามความดี ต้องอาศยั ความปรารถนาอนั แรงกล้า ที่เกดิ มาแล้วประสบกับความสุข ความสมบูรณ์ดว้ ยรา่ งกายอัตภาพท่ีดี แต่สำรับ มนุษยท์ ่ีเกดิ มาแล้ว มีความบกปร่องในด้านรา่ งกาย ด้านปัจจัยสี่ และสติปญั ญา จำเปน็ ต้องได้รับความ ช่วยเหลืออย่างเร่งดว่ น และต่อเน่อื ง เพื่อกลมุ่ บุคคลเหล่านั้นได้รบั ความสะดวกสบายยิ่งขึ้น การศึกษาวิจัยในคราวครั้งนี้ จะได้นำข้อมูลพัฒนาการและบทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์ ของวัด ปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ มาศึกษาวิจัย โดยศึกษาตามหลัก พันธกิจ ๖ ประการ ว่ามีด้านใดบ้าง ที่วัดปราสาทโคกกลันธรรมารามนั้น ได้นำไปปฏิบัติเพื่อปกครองและ บริหารจัดการวดั แต่ในทน่ี จี้ ะเน้นศึกษาเรื่องเกีย่ วกับด้านสาธารณสงเคราะห์ ซ่ึงเปน็ งานที่โดดเด่นอีกด้านหนึ่ง ของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ซึ่งคณะสงฆ์วัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม เป็นผู้ดำเนนิ การ โดยทำตาม พระพุทธพจน์เกี่ยวกับการช่วยเหลือมนุษย์ด้วยกัน เพื่อการดำรงชีพให้เป็นอยู่ได้โดยปกติสุข โดยพระสงฆ์ 1 ข.ุ ธ. พุทธวรรคที่ ๑๔ หน้า ๓/๙

14 รว่ มกบั ญาตโิ ยมอุบาสกอุบาสิกา ผู้เปน็ พทุ ธบริษทั ทั้ง ๔ เป็นผู้ดำเนินงานรว่ มกนั ช่วยพระศาสนา เผยแพรพุทธ ธรรมคำสอนของพระพุทธเจา้ ใหบ้ คุ คลผูม้ สี ัทธาสนใจได้นำไปประพฤติปฏบิ ัตสิ ืบต่อไป ๑.๒ คำถามการวิจยั ๑.๒.๑ พัฒนาการของวดั ปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ เปน็ อย่างไร ๑.๒.๒ บทบาทดา้ นสาธารณสงเคาะหข์ องคณะสงฆ์ไทย เปน็ อยา่ งไร ๑.๒.๓ บทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์ ของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอ ศีขรภมู ิ จงั หวัดสุรินทร์ เปน็ อย่างไร ๑.๓ วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย ๑.๓.๑ เพื่อศึกษาพัฒนาการของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวดั สุรนิ ทร์ ๑.๓.๒ เพื่อศกึ ษาบทบาทดา้ นสาธารณสงเคาะหข์ องคณะสงฆ์ไทย ๑.๓.๓ เพอ่ื ศึกษาบทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์ ของวดั ปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรนิ ทร์ ๑.๔ ขอบเขตการวจิ ัย ๑.๔.๑ ด้านเนื้อหา การศึกษาวิจัยคร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ไดท้ ำการศกึ ษาดา้ นสาธารณสงเคราะหต์ ามหลักพันธกิจ ๖ ดา้ น (๑) เพื่อศึกษาพัฒนาการของวดั ปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภมู ิ จังหวัด สุรินทรด์ า้ นการสาธารณสงเคราะห์ (๒) เพอ่ื ศึกษาบทบาทด้านสาธารณสงเคาะห์ของคณะสงฆ์ไทย (๓) เพ่ือ ศกึ ษาบทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์วดั ปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จงั หวดั สุรนิ ทร์ ๑.๔.๒ ดา้ นประชากรกลมุ่ เป้าหมาย ในการศึกษาวจิ ยั ครั้งน้มี ีกลุ่มเปา้ หมายไดแ้ ก่ ประชาชนในเขต บรกิ ารวดั ปราสาทโคกกลนั ๔ หม่บู า้ นๆ ละ ๒๐ คน และภิกษุในวดั ๑๐ รูป ครอู นบุ าลโรงเรยี นบ้านระเวียง ๒ ทา่ น คุณพยาบาลโรงพยาบาลศีขรภูมิ (ผ้รู ับมอบอปุ กรณ์ทางพยาบาล) ๓ ท่าน โรงพยาบาลสงฆ์วดั มะขาม นครราชสีมา ๒ รปู รวม ๙๗ รปู /คน ในเขตบริการวดั ปราสาทโคกกลนั ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัด สุรินทร์ โดยการศกึ ษาขอ้ มูลจากการสอบถาม และจากการออกแบบสอบถามด้วย ในดา้ นการสาธารณ สงเคราะห์ ตามหลักพนั ธกิจ ๖ ด้าน

15 ๑.๕ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ บทบาท (role) หมายความวา่ การทำหนา้ ทท่ี ่กี ำหนดไว้ เช่น บทบาทของพอ่ แม่ บทบาทของครู เป็น ตน้ 2 สาธารณสงเคราะห์ หมายถึง การจัดกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ ที่พระสงฆ์หรือองค์กรต่างๆ จัดทำอยู่ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น ๔ แนวทาง คือ (๑) การเข้าไปบริหารจัดการ (๒) การเข้าไป สนับสนุน (๓) การเขา้ ไปแสวงหาการมสี ่วนร่วม (๔) การเข้าไปแบบให้เปล่า แนวทางที่ 1 การเข้าไปบริหารจัดการ เป็นกิจการที่ดำเนินการหรือจัดทำโครงการขึ้นมาเอง ใน ลักษณะที่ทำเป็นกิจการประจำหรือชั่วคราว เช่น กิจการห้องสมุดเพื่อประชาชน การตั้งมูลนิธิ การตั้ง กองทุน เพื่อช่วยเหลือคนยากจนหรือชว่ ยเหลือคราวประสบภยั พิบัติ การกำหนดเขตอภัยทาน หน่วยอบรม ประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.) เป็นต้น ซงึ่ พระเขา้ ไปดำเนินการเอง แนวทางที่ 2 การเข้าไปสนับสนุน เช่น การพัฒนาหมู่บ้านหรือชุมชน การจัดหาทุนเพื่อการ สงเคราะห์ การช่วยเหลือทางราชการในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นต้น อาจเป็นการเกื้อกูล กิจการของภาครัฐหรือของภาคเอกชนในลักษณะของการเข้าไปมีส่วนร่วม เป็นต้น ซึ่งเป็นการทำกิจกรรม ส่งเสรมิ หนว่ ยงานอืน่ ที่ทำอยกู่ ่อนแลว้ แนวทางท่ี 3 การเข้าไปแสวงหาการมสี ว่ นร่วม เป็นการช่วยเกอ้ื กูลในสว่ นของสาธารณสมบตั ิ โดยมุ่ง เอาผลเพ่ือสว่ นรวมที่เปน็ สาธารณทีเ่ ป็นวัตถุ เชน่ การสรา้ งถนนหนทาง การขดุ ลอกคูคลอง การสรา้ งฌาปน สถาน การสร้างระบบประปาและระบบไฟฟา้ หรือเครือ่ งกำเนินไฟฟา้ เปน็ ต้น ซึ่งเนน้ ทีส่ าธารณสมบตั ิสว่ นรวม เปน็ หลกั แนวทางที่ 4 การเข้าไปแบบให้เปล่า เช่น การช่วยผู้ประสบภัยพิบัติ ไม่ว่าจะเป็นอุทกภัยวาต ภัย อัคคีภัย การประสบอุปัทวเหตุ การประสบภัยธรรมชาติ การสงเคราะห์คนชรา คนพิการ คน ผู้ด้อยโอกาส หรือการสงเคราะห์โดยประการอื่นๆ ทั้งในยามปกติและตามโอกาสที่มาถึง เป็นต้น ซึ่งเป็นความ เมตตาเอ้ืออาทรต่อผ้อู ่นื 3 วดั ปราสาทโคกกลันธรรมาราม สงั กดั คณะสงฆ์ธรรมยุตกิ นกิ าย ตั้งเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๕๙ เลขท่ี ๑๖๗ หมู่ ที่ ๑๕ บา้ นโคกกลัน ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จงั หวัดสรุ ินทร์ มเี นอื้ ทปี่ ระมาณ ๑๒ ไร่ 2 พจนานกุ รมราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒๕๔๖, หน้า ๖๐๒.) 3 พระครโู สภณปรยิ ตั สิ ุธี, รศ.ดร. พทุ ธศาสนาเชงิ รุกด้านการสาธารณสงเคราะห์ https://www.gotoknow.org/posts/475386 ค้นหาเมอ่ื ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔

16 ๑.๖ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากการวิจัย ๑.๖.๑ ทราบถงึ พัฒนาการของวดั ปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภมู ิ จังหวดั สรุ นิ ทร์ ๑.๖.๒ ทราบถึงบทบาทดา้ นสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆไ์ ทย เพอื่ นำเป็นหลักปฏิบัติ ๑.๖.๓ ทราบถึงบทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์ ของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภมู ิ จังหวัดสุรนิ ทร์

17 บทท่ี ๒ แนวคิดและทฤษฎที เ่ี ก่ยี วข้องกับงานวจิ ยั การวิจัยเรื่องการศึกษาด้านสาธารณสงเคราะห์ของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม (ธ) ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ๑) เพื่อศึกษาพัฒนาการของวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ๒) เพื่อศึกษา บทบาทด้านการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทย ๓) เพ่ือศึกษาบทบาทด้านสาธารณสงเคราะห์ของวัด ปราสาทโคกกลันธรรมาราม ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวคิดและวางกรอบ แผนงานเรียงตามลำดบั ดงั น้ี ๒.๑ แนวคิด ทฤษฎี รปู แบบ วธิ กี ารด้านสาธารณสงเคราะห์ ๒.๑.๑ แนวคิดด้านสาธารณสงเคราะห์ การสาธารณสงเคราะห์ คือ การให้การศึกษาอบรมและการให้ความสะดวกตามสมควร ใน การบำเพญ็ กศุ ลการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพ่อื ใหเ้ ปน็ สาธารณประโยชนแ์ ก่หนว่ ยงานหรือคณะบคุ คลประชาชน หรือการช่วยเหลือเกื้อกลู และการอุดหนุนจนุ เจือสถานที่ ซ่งึ เป็นสาธารณสมบัตทิ ่วั ไป การสาธารณสงเคราะห์ที่ เป็นหลักของพระสงฆ์ คือ การสังเคราะห์ในด้านจิตใจ และวัตถุสิ่งของ การสาธารณสงเคราะห์อันเป็นกิจการ ของวัด ผวู้ ิจยั ได้รวบรวมเอกสารแนวคดิ ที่เกี่ยวกับการสาธารณสงเคราะห์ดังตอ่ ไปน้ี การสาธารณสงเคราะห์ เป็นกิจการของคณะสงฆ์ ดังที่กำหนดไว้ในอำนาจหน้าที่มหาเถร สมาคมข้อหนึง่ ว่า “ควบคุมและสง่ เสริมการสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์” (ม. ๑๕ ตร)ี และในระเบยี บการ ปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง ได้กำหนดไว้ว่า “วิธีดำเนินการสาธารณูปการ และสาธารณสงเคราะห์ ให้เป็นไป ตามท่ีกำหนดไว้ในระเบียบมหาเถรสมาคม” การสาธารณสงเคราะห์ แยกโดยลักษณะวิธกี าร คือ ๑. การช่วยเหลอื เกื้อกูลวัดหรือคณะสงฆ์ ได้แก่ การท่ีวดั หรอื คณะสงฆ์ดำเนนิ เอง ซ่ึงกิจการ อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่มีวัตถุประสงค์ ให้เป็นสาธารณประโยชน์ เช่น การช่วยเหลือภิกษุอาพาธนอนติดเตียง ภิกษุสงฆ์ก็ช่วยเหลือบริขารและดูแลอุปัฏฐากตามสมควร ช่วยเหลือด้านงานคณะสงฆ์ เช่น ช่วยการจัดการ อบรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม และช่วยเหลือเรือ่ งการก่อสร้างศาสนวัตถุของวัดอื่นทัง้ ด้านอุปกรณ์และแรงงาน ตนด้วย ๒. การช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น เป็นไปเพื่อการสาธารณประโยชน์ ได้แก่ การช่วยเหลือ สนบั สนุนส่งเสริมกิจการของรฐั หรอื ของเอกชน หรือผู้ใดผูห้ นึง่ ดำเนนิ การ และการพัฒนาตำบล การจัดหาทุน เพื่อการสาธารณสงเคราะห์ด้านปัจจัยสี่ และอื่นๆ การนี้มุ่งเอาเฉพาะส่งเสริมงานของผู้อื่น มิได้มุ่งถึงกิจการท่ี ดำเนินการเอง ทัง้ ทเ่ี ปน็ กจิ การประจำ หรือกจิ การเฉพาะเร่ือง

18 ๓. การช่วยเหลอื เกือ้ กลู สถานท่ี อนั เปน็ สาธารณสมบัติ ไดแ้ ก่ การชว่ ยสร้างถนนหนทาง ขดุ ลอกคูคลอง สร้างศาลาการเปรียญ สร้างฌาปนสถานนอกวัด สร้างการประปา สร้างเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และ อื่น ๆ ขอ้ นีม้ งุ่ เอาเฉพาะการชว่ ยเหลือเก้ือกูล สถานทอ่ี นั เป็นดา้ นสาธารณสงเคราะห์ หรอื สาธารณประโยชน์ ๔. การช่วยเหลือเกื้อกูลประชาชนทั่วไป ได้แก่ การช่วยเหลือเกื้อกูลประชาชนในการท่ี สมควรช่วยเหลือ เช่น กาลประสบอุทกภัย กาลประสบอัคคีภัย กาลประสบวาตภัย หรือคราวหนาวจัด หรือ แม้แต่ในยามปกติตามโอกาส เช่น การสงเคราะห์คนชรา การสงเคราะห์คนพิการ เและการสงเคราะห์โดย ประการอ่ืน ๆ การนม้ี ุ่งเอาเฉพาะกาล ช่วยเหลอื บคุ คลทัง้ ทีเ่ ปน็ ประจำหรือการเฉพาะ การสาธารณสงเคราะห์ ในลักษณะ ๒., ๓., และ ๔ เป็นสิง่ ทีเ่ กดิ ข้ึนตามโอกาสอันควรจะเปน็ หรือบางอย่างอาจยึดใน ๑. ซึ่งบางอย่างมีระเบียบปฏิบัติชัดแจ้งแล้ว สำหรับผู้จัดการสาธารณสงเคราะห์โดย ส่วนมาก ได้แก่ วัดหรือเจ้าอาวาส เพราะมีบทบัญญัติว่าด้วยหน้าที่เจ้าอาวาสของหน่วยงาน “เป็นธุระใน การศึกษาอบรมแกบ่ รรพชติ หรือคฤหัสถ์” และอีกข้อหน่ึงว่า “ให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล” หน้าที่เหล่านี้ย่อมเข้าได้กับสาธารณสงเคราะห์อันเป็นการคณะสงฆ์ หรือการพระศาสนา หรือที่เกี่ยวข้องโดย แท้ เจ้าอาวาสจึงต้องมีหน้าท่ีจัดการสาธารณสงเคราะห์ อันเปน็ กิจการของวัด ทต่ี อ้ งใหก้ ารศึกษาอบรมในบาง เรื่อง ซึ่งเกี่ยวกับการสาธารณสงเคราะห์ ต้องให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล โดยหน่วยงานที่ จัดตั้งเพื่อการสาธารณสงเคราะห์ ได้แก่ หน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล ซึ่งมีเจ้าอาวาสวัดที่ตั้งหน่วยเปน็ ประธานกรรมการ และประธานกรรมการ ป.ต.ท. คือ ผูจ้ ดั การสาธารณสงเคราะหโ์ ดยตำแหนง่ วิธีจัดการสาธารณสงเคราะห์นั้น เฉพาะหน่วยงานที่ได้จัดตั้ง คือ หน่วย อ.ป.ต. ได้กำหนด วธิ กี ารไว้ชดั ในระเบียบมหาเถรสมาคม ดังนี้ ๑. คณะกรรมการ อ.ป.ต. ควรมปี ระชมุ อยา่ งนอ้ ยปีละ ๒ ครั้ง เพอื่ ๑) กำหนดแผนงานที่จะต้องปฏิบัติในปีตอ่ ไป (ประชุมก่อนสิ้นปี) ๒) รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านในปที แ่ี ลว้ (ประชุมในต้นปีถัดไป) ๒. ควรมกี ารประชมุ คดั เลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิทุก ๔ ปี ๓. ควรใหป้ ฏบิ ตั ิตามอำนาจหน้าท่ีความสม่ำเสมอ คอื ๑) จัดอบรมประชาชนตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละวธิ กี ารทกี่ ำหนด ๒) ปฏบิ ัตกิ ารช่วยเหลือประชาชนตามกำลงั และความสามารถ ๓) แต่งต้ังเจ้าหน้าที่ฝา่ ยการเงินและฝ่ายธุรการอื่น ๆ และกำหนดให้ปฏิบัตงิ านในหน้าท่ี หรืออาจแตง่ ตง้ั คณะอนุกรรมการ เพอื่ ให้พิจารณาหรือดำเนินการใด ๆ ๔) จัดการดูแลรกั ษาทรัพย์สินของหน่วยอบรมใหเ้ ป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ๕) เสนอความเห็นหรือข้อขัดขอ้ งต่อคณะกรรมการ และผอู้ ำนวยการอบรม

19 ๖) ติดต่อประสานงานและขอความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง เพื่อให้การอบรม ดำเนนิ ไปดว้ ยความสะดวกและเรียบรอ้ ย ๗) เสนอรายงานกิจการที่ดำเนินงานไปแล้วน้ันรอบปี ตอ่ คณะกรรมการอำนวยการ และ ผู้อำนวยการตามลำดบั ๔. การอบรมประชาชนตามวัตถุประสงค์นั้น ควรจัดโดยลกั ษณะใดลกั ษณะหนงึ่ คือ ๑) อบรมทั่วไป ได้แก่ จัดประชุมอบรมรวมทั่วไป โดยจะมีวิทยากรบรรยายช้ีแจงแนะนำ ทางวิชาการ และในทางปฏิบัติตามวตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ใดข้อหน่งึ ๒) อบรมเฉพาะกรณี ได้แก่ จัดอบรมประชาชนเพียงบางส่วน เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องราวที่เกดิ ขึ้น โดยวธิ ชี ี้แจงแนะนำซักซ้อมความเข้าใจ ๓) อบรมเฉพาะบุคคล ได้แก่ การพบปะบุคคลบางคน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ หรือ ชแี้ จงแนะนำซักซอ้ มความเขา้ ใจ ในเฉพาะเรอื่ งอันเก่ียวกับผู้นัน้ (๑) ควรมีเดือนละ ๑ คร้งั หรืออาจลดลงหรอื เพมิ่ ขึน้ กไ็ ด้ ส่วนการอบรม (๒) ดำเนินการตามควรแก่กรณี อนึ่ง การสาธารณสงเคราะห์ตามลักษณะ ๒, ๓, และ ๔ ให้เจ้าคณะพระสังฆาธิการจัดการ สงเคราะหต์ ามควรแก่โอกาส เชน่ ๑. การพัฒนาหมู่บ้าน การพัฒนาตำบล การช่วยจัดหาทุนการสงเคราะห์ การป้องกันยาเสพ ติดใหโ้ ทษ เช่น ยาบา้ การช่วยป้องกนั โรคเอดส์ ๒. การช่วยเหลือสถานที่อันเป็นสาธารณสมบัติ เช่น การสร้างถนนหนทาง ขุดลอกคูคลอง สร้างฌาปนสถาน สรา้ งการประปา สรา้ งเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า ๓. การชว่ ยเหลือประชาชนในโอกาสทค่ี วรชว่ ย เชน่ การประสบอทุ กภยั หรอื ชว่ ยคนชราหรือ คนพิการ การสาธารณสงเคราะห์ เป็นไปเพื่อความเรียบร้อยดีงาม และไม่ขัดต่อพระธรรมวินัยและความสงบ สขุ ของบ้านเมือง จึงถอื วา่ เป็นไปโดยถกู ตอ้ งและเป็นการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการควบคุมมิให้เป็นไปในลักษณะที่ไม่เหมาะสม และที่เป็นไปใน ลักษณะที่เหมาะสม ควรได้รับการส่งเสริมสนับสนุนตามสมควร เฉพาะที่มหาเถรสมาคมได้กำหนดหลักการ และวธิ กี ารปฏิบตั แิ ละควบคมุ สง่ เสริมไวช้ ัดเจน คือ กจิ การหนว่ ยอบรมประชาชนประจำตำบล ซ่งึ จดั ตัง้ ขึ้นตาม ระเบียบมหาเถรสมาคม ว่าด้วยการจัดตั้งหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล พ.ศ ๒๕๑๘ ซึ่งในระเบียบ ดังกล่าว กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ชัดเจน และรวมได้ ๓ ประการ คือ การเผยแพร่พระพุทธศาสนา การศึกษา สงเคราะห์ การสาธารณสงเคราะห์ โดยระเบียบดงั กลา่ ว กำหนดหนว่ ยงานน้นั ให้ตัง้ ณ วัดใดวดั หนง่ึ ตำบล ทาง

20 ราชอาณาจักรตำบลละหน่ึงหน่วย ใหจ้ ดั การเป็นรปู คณะ โดยให้เจ้าอาวาสท่ีตั้งหน่วยงาน อ.ป.ต. เป็นประธาน กรรมการโดยตำแหน่ง เจ้าอาวาสอื่นในเขตตำบลนั้น เป็นรองประธานกรรมการฝ่ายบรรพชิต กำนันในตำบล นั้นเป็นรองประธานกรรมการฝ่ายคฤหัสถ์ ผู้ใหญ่บ้านและแพทย์ประจำตำบลเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง มี ผู้ทรงคุณวุฒิ ๕-๙ คนเป็นกรรมการ สำหรับผู้ควบคุมและส่งเสริม มีคณะกรรมการอำนวยการระดับอำเภอ ระดบั จังหวดั ผู้อำนวยการภาค และคณะกรรมการอำนวยการอบรมประชาชนกลาง การควบคุมก็เพื่อให้การดำเนินการถูกต้องตามระเบียบ และมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมเพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปเพื่อสิง่ เพื่อสร้างสิ่งที่เป็นคุณประโยชน์นั้น ดำเนินไปได้อย่างไม่มีอุปสรรค แนวการส่งเสริมพอสรุปกล่าวไวด้ ังน้ี ๑. ชี้แจงแนะนำการปฏิบตั ิหน้าที่ ๒. ช่วยในการกำหนดแผนงานของแต่ละปี ๓. ชว่ ยในคราวขาดแคลนทรพั ยากร ๔. ช่วยยกยอ่ งเชิดชูผปู้ ฏบิ ตั หิ น้าที่ ๕. ชว่ ยสนบั สนุนดา้ นการทุนตามที่จะมโี อกาส ๖. ช่วยประสานงานคณะกรรมการให้เกิดความสามัคครี ่วมกนั อย่างดี ๗. ช่วยการอ่ืนอันเหมาะสม ข้อสังเกต งานสาธารณสงเคระห์ เป็นงานของพระสงฆ์เพื่อประชาชน วัดเป็นสถานที่ใกล้ชิดกับ ประชาชน ต้องเป็นผู้นำประชาชนในท้องถิ่น เพื่อสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นคุณประโยชน์โดยตรง กิจการหน่วยงาน อบรมประชาชนประจำตำบล (หน่วย อ.ป.ต.) เป็นหน่วยทำงานเพื่อประโยชน์ดังกล่าวได้ดียิ่ง แต่ขณะนี้ งาน หนว่ ย อ.ป.ต. ซบเซา ควรไดเ้ รง่ รดั ใหค้ ณะกรรมการ อ.ป.ต. ระดมกำลังทกุ สว่ นเพอ่ื การน้ี4 กองพุทธศาสนสถาน สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ความสำคัญการสาธารณ สงเคราะห์ นอกจากเป็นการให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้ยากไร้และประสบภัยแล้ว ยังหมายรวมถึง การ เผยแพร่เข้ามูลข่าวสารทางราชการ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ การฝึกอาชีพแก่ประชาชน การให้ใช้สถานที่วัด สำหรับดำเนนิ กจิ กรรมเพื่อประโยชน์สว่ นรวม หลกั การสาธารณสงเคราะห์เป็นภารกิจท่วี ดั หรือพระภกิ ษสุ งฆ์ดำเนนิ การช่วยเหลือสังคมใน รูปแบบต่างๆ ที่ไม่ขัดต่อพระธรรมวินัย ทั้งน้ี โดยมุ่งเน้นเพื่อประโยชน์และความสุขแก่ประชาชนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสงเคราะห์พระภิกษุสามเณร และวัดที่ประสบภัยและขาดแคลน การให้วัดเป็นสถานทีป่ ระกอบการ 4 ฝ่ายอบรม กองแผนงาน กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธิการ, คมู่ อื พระสงั ฆาธการ ว่าดว้ ยเรื่องการคณะสงฆแ์ ละการพระ ศาสนา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพก์ ารศาสนา, ๒๕๔๐) หนา้ ๑๒๓-๑๓๑.

21 กุศลเกี่ยวกับเรื่องเกิด แก่ เจ็บ ตาย เช่น การสวดศพ การเผาศพ การทำบุญอุทิศ การถวายสังฆทาน เป็นต้น การให้วัดเป็นสถานที่จัดฝึกอบรมประชาชนด้านอาชีพต่างๆ การสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคร้าย หรือผู้ป่วยอยากไร้ การจัดให้มีโรงทาน การบริจาคทรัพย์ส่วนตัว หรือชักชวนญาติโยมบริจาคทรัพย์ จัดสร้างโรงพยาบาลการ ให้ ความรู้ข่าวสารแก่ชมุ ชนด้านตา่ งๆ เช่น การศึกษาการสาธารณสขุ มูลฐาน การปกครองการช่วยเหลือผู้ประสบ อุทกภยั หรือการบำเพญ็ สาธารณะประโยชนต์ ่างๆ เป็นต้น ในปัจจุบัน นอกจากพระภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัย อันเป็นหลักการ ปกครองดั้งเดิมทางพระพุทธศาสนาแล้ว ปัจจุบันคณะสงฆ์ยังต้องประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายของคณะสงฆ์ โดยเฉพาะอีกด้วย กฎหมายคณะสงฆ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเรียกว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๑๖ วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๓๕ โดยเหตุผลในการ ประกาศใช้พระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ มีดงั น้ี “โดยเหตุพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว สมควร ปรับปรุงบทบัญญัติ ว่าด้วยการสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช และการแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จ พระสังฆราช การแต่งตั้งถอดถอนสมณศักดิ์ของพระภิกษุ อำนาจหน้าที่และการปฏิบัติหน้าที่ของมหาเถร สมาคม การปกครอง การสละสมณเพศของคณะสงฆ์ และคณะสงฆ์อื่น การดูแลรักษาวัด ทรัพย์สินของวัด และศาสนสมบัติกลาง ตลอดจนปรับปรุงบทกำหนดโทษ ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงจำเป็นตรา พระราชบญั ญตั ิน้ี5 พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) ได้ให้ความหมายของคำว่า สังคมสงเคราะห์ว่า หมายถึง การยึดเหนี่ยวจิตใจ ประสานหมู่ชนให้ร่วมเป็นอันหนึ่งอันเดียว หรือให้สังคมรวมกลุ่มกันอยู่เป็นอันหนึ่งอัน เดยี วกนั ไมแ่ ตกกระจาย และท่านยงั กล่าวต่อไปอีกว่า การสังคมสงเคราะห์ ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งการนำเอาส่ิงของไป แจก หรือให้คนอื่นเท่านั้น เพราะการทำงานนั้น ไม่สามารถทำให้เขาช่วยตนเองได้ ในขณะที่ปรัชญาทางงาน สังคมสงเคราะห์ ทเ่ี ปน็ งานในส่วนท่เี กยี่ วกับผทู้ ีเ่ ดือดรอ้ น และผไู้ มเ่ ดอื ดรอ้ น ไมส่ ามารถช่วยตนเองได้ จึงต้องมี หลกั พทุ ธธรรมในทางพระพุทธศาสนา คือ หลกั ของสังคหวัตถุ ๔ ประการช่วยเหลืออีกดว้ ย ได้แก่ ๑. ทาน การให้ คือ เผื่อแผ่ เสียสละแบ่งปัน ช่วยเหลือสงเคราะห์ด้วยปัจจัย ๔ ทุนหรือ ทรัพยส์ ินส่งิ ของ ตลอดจนใหค้ วามรู้ความเข้าใจในศลิ ปะวทิ ยาการตา่ งๆ 5 กองพุทธศาสนสถาน สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, คู่มือการพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพส์ ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๔), หน้า ๗-๘.

22 ๒. ปิยวาจา การพูดจาไพเราะอ่อนหวาน พูดอย่างรักกัน คือ กล่าวคำสุภาพไพเราะน่าฟัง ชี้แจงแนะนำสิ่งที่เป็นประโยชน์ มีเหตุผลเป็นหลักฐานชัดเจนในทางที่ดีงาม หรือคำแสดงความเห็นอกเห็นใจ ใหก้ ำลงั ใจ รู้จักพูดจาใหเ้ กดิ ความเข้าใจ สมานสามคั คี เกดิ ไมตรจี ิตทำใหร้ ักใครน่ ับถอื และชว่ ยเหลือเก้อื กูลกัน ๓. อัตถจริยา การงานประโยชน์ ทำประโยชน์แก่เขา คือ ช่วยเหลือด้วยแรงกายและ ขวนขวายกิจการกิจกรรมต่างๆ บำเพ็ญสาธารณประโยชน์ร่วมกับการแก้ปัญหา และช่วยปรับปรุงส่งเสริมใน ด้านจริยธรรม ๔. สมานัตตา การวางตนให้เขา้ กบั ผอู้ ื่น ผทู้ จ่ี ะมารับการสงเคราะหไ์ ด้ คือ ไม่ไหวตวั จนเกนิ ไป จนใครเข้าไม่ถึง ทำตัวให้เข้ากับเขาได้ วางตนเสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติสม่ำเสมอต่อคน ทั้งหลาย ไม่เอารัดเอาเปรียบ และเสมอในสุข ทุกข์ คือ ร่วมสุขร่วมทุกข์ ร่วมรับรู้ร่วมแก้ปัญหา เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขร่วมกนั 6 พุทธทาสภิกขุ ได้กล่าวถึงลักษณะของงานสังคมสงเคราะห์ว่า งานสังคมสงเคราะห์ควรจะมี ขนาดใหญ่มาก สงเคราะห์เพอ่ื ให้เขาช่วยเหลือตนเองได้ คือ ทำให้เขารวู้ ่ารู้และสามารถทีจ่ ะชว่ ยเหลอื ตนเองได้ จะเป็นการสังเคราะห์ทม่ี ีผลยนื ยาวและมีผลจริง ถา้ จะสงเคราะห์ตะพึด มแี ตจ่ ะทำให้คนอ่อนแอ สงเคราะห์ได้ แต่วัตถุมากเกินไปจะทำให้โง่ลง จะต้องสงเคราะห์ให้เขาฉลาดขึ้น ให้เขารู้ว่าอะไรเป็นอะไร ชีวิตเป็นอย่างไร บ้าง เกิดมาทำไม จะต้องทำอะไร จะต้องให้เขาหน้าตัง้ ตาชว่ ยตนเองกอ่ น เราจะต้องช่วยให้เขาใชช้ ีวิตให้ถูก มี ชวี ติ อยใู่ นโลกใหส้ มกบั ทเี่ ป็นมนุษย์ที่ดีได้ในโลก เพราะฉะนั้นแล้ว การสังคมสงเคราะห์ทางวัตถุก็ทำไปตามสมควร แต่ต้องสงเคราะห์ให้เกิด ความสว่างไสวทางวิญญาณน้ี ซึ่งไม่ต้องลงทุนมาก งานสงเคราะห์ด้วยวัตถุสิ่งของนั้นต้องลงทุนมาก การ สงเคราะห์ไม่จำเป็นต้องเป็นการให้และการช่วยเหลืออะไรเสมอไป สิ่งใดเป็นการกระทำให้ดีขึ้นก็เป็นการ สงเคราะห์ทั้งนั้น แม้ว่าส่ิงนั้นจะไม่เป็นสิ่งที่พอใจแกผู้ถูกสงเคราะห์ มันก็เป็นการสงเคราะห์อยู่นั้นเอง แม้ พระองค์ก็ทรงสงเคราะห์ พิสูจน์ด้วยการตดั สนิ ในเรื่องต่างๆ ขนาดภิกษุประพฤติไม่ดี ไม่อยู่ในกรอบพระธรรม วินัย ซึ่งทรงตรัสไว้ว่า “เราจะไม่ทำกับพวกเธออย่าทะนุถนอม เหมือนช่างตีหม้อกระทำแก่หม้อที่ยังดิบ ยัง เปียกอยู่ เราจะขนาบแล้วขนาบอีก ช้ีโทษแล้วชี้โทษอีก ผู้ใดมีแก่น ผู้นั้นจะทนอยู่ได้” น้ีคือ วิธีการของ พระพุทธเจ้า ที่สงเคราะห์สัตว์โลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือภิกษุทั้งหลาย ชี้โทษแล้วชี้โทษอีก ขนาบแล้วขนาบ อีก ตรงกันกับการตีหม้อ ที่กระทำแก่หม้อยังดิบอยู่ เปียกอยู่ และถึงขนาดที่ว่า ให้มันเหลือแต่คนที่มีแต่แก่น คนไม่มีแก่นก็จะต้องออกไปจากศาสนานี้ คนที่มีแก่นเหลืออยู่สำหรับการบรรลุธรรม หรือการบรรลุมรรคผล 6 พระราชวรมุนี ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต, พระพุทธศาสนากบั การพัฒนาการศึกษา, (กรงุ เทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์, ๒๕๒๑), หน้า ๒๖.

23 อย่างน้ี ใครๆ ก็ต้องยอมรับว่าเป็นการสังเคราะห์อยู่นั่นเอง แถมจะเป็นการสังเคราะห์ที่ยิ่งกว่าการสงเคราะห์ อยา่ งอ่นื ดว้ ย มันคล้ายว่า หมอขูดแผลเอาเนอื้ รา้ ยออก มนั ก็จะเจบ็ ปวดเหลอื ทน แต่กเ็ ป็นการสงเคราะห์แก่คน ป่วยนั้นเอง การสงเคราะห์ไม่จำเป็นต้องถูกใจผู้ถูกสงเคราะห์เสมอไป และการที่จะมัวสงเคราะห์อย่างถูกใจ เสมอ มนั จะเป็นการทำลายสงั คมขนึ้ มาได้นัน่ เอง7 พระธรรมปริยัติเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม) ได้กล่าวไว้ว่า การสาธารณสงเคราะห์ ไม่ว่าจะเป็น การก่อสร้างถนน ทำสะพาน สรา้ งศาลาพกั รอ้ น งานนจ้ี ะมี อบต. เข้ามาทำหนา้ ที่ ส่วนท่คี ณะสงฆ์จะช่วยสังคม ได้ เชน่ การช่วยเหลอื ผู้ยากไร้เพราะถูกไฟไหม้บ้าน การจัดหน่วยบรรเทาสาธารณภยั หรือการจัดบริการให้ฟรี ในงานพิธีงานศพ ไม่เก็บค่าน้ำค่าไฟ ไม่เก็บเจ้าพนักงาน หากเขามีศรัทธาที่จะทำบุญเอง ส่วนนี้ก็ช่วยบรรเทา ทุกข์ให้กับชาวบ้านที่เปน็ พุทธศาสนิกชนได้ ตลอดท้ังให้ความช่วยเหลือสังคมภายในวัดและนอกวัด ภายในวัด เช่น อำนวยความสะดวกแก่ผู้มาพึ่งมาทำบญุ ที่วัดใหเ้ หมาะสม และวัดต้องสะอาด สะดวกสบาย ส่วนภายนอก วัด เช่น สงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื ชาวบ้านสงเคราะหช์ ่วยเหลอื ชาวบ้านทม่ี ที กุ ข์เท่าที่จะทำไดไ้ มน่ ง่ิ ดดู าย8 จากแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสงเคราะห์ ผู้ศึกษาวิจัยพอสรุปได้ว่า การสาธารณ สงเคราะห์ หมายถึง การจัดกิจการอันเป็นประโยชน์ของพระสงฆ์ ที่วัดต่างๆ จัดทำอยู่ เป็นการจัดสร้างเพื่อ ประโยชน์ก่อให้เกิดผลต่อสาธารณะ เช่น การสร้างถนน การสร้างศาลา การสร้างอาคารเรียน การสร้าง โรงพยาบาล การสร้างสถานีตำรวจ การขุดสระ คูคลอง การช่วยเหลือเกื้อกูลผู้ประสพภัย การช่วยอุปัฏฐาก พระสงฆ์รูปอาพาธ การชว่ ยเหลอื ด้านสมั มาอาชีพ และการช่วยเหลือในด้านวาระจิตใจ เปน็ ต้น นอกจากนี้แล้ว ยงั ช่วยเหลอื จดั หาส่ิงของ หรอื วสั ดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรบั การศึกษา หรือช่วยเหลือสถานที่ใดท่ีเป็นสาธารณะ เปน็ การช่วยเหลอื เก้อื กลู ในด้านสาธารณสมบัติกลาง โดยมงุ่ ตัง้ เอาผลเปน็ สาธารณทีเ่ ปน็ วัตถุ ฯ 7 พุทธทาสภิกข,ุ วสิ าขบูชา เลม่ ที่ ๑, (กรงุ เทพมหานคร: การพิมพพ์ ระนคร, ๒๕๒๕), หนา้ ๑๒๖-๑๒๘. 8 พระธรรมปริยตั เิ วที (สเุ ทพ ผสุ ฺสธมโฺ ม), สารภาค ๑๕, (กาญจนบรุ :ี สำนกั พิมพ์ธรรมมี, ๒๕๔๘), หนา้ ๒๕.

24 ตารางท่ี ๒.๑ สรปุ แนวคดิ ด้านสาธารณสงเคราะห์ สำนกั วิชาการ/นกั วิชาการ แนวคิดเกีย่ วข้องกบั การสาธารณสงเคราะห์ ฝ่ายอบรม กองแผนงาน กรมการศาสนา ๑. การช่วยเหลอื เกือ้ กูลวดั หรอื คณะสงฆ์ กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือพระสังฆาธการ ว่า ๒. การช่วยเหลือเก้ือกลู ผ้อู นื่ ด้วยเรื่องการคณะสงฆ์และการพระศาสนา, ๓. การชว่ ยเหลอื สถานท่อี ันเป็นสาธารณสมบตั ิ (๒๕๔๐, หนา้ ๑๒๓-๑๓๑) ๔. การช่วยเหลอื เกอื้ กลู ประชาชนทัว่ ไป กองพุทธศาสนสถาน สำนักงาน ๑. การสงเคราะห์พระภิกษุสามเณร และวัดที่ พระพุทธศาสนาแห่งชาติ, คู่มือการพัฒนาวัด สู่ ประสบภัยและขาดแคลน การให้วัดเป็นสถานท่ี ความเปน็ มาตรฐาน, (๒๕๕๔, หน้า ๗-๘) ประกอบการกุศล ๒. การสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคร้าย ผู้ป่วยอยากไร้ การจัดโรงทาน การบริจาคทรัพย์ส่วนตัว หรือ เชิญชวนญาติโยมบริจาคทรัพย์ ๓. จัดสร้างโรงพยาบาล ให้ความรู้ข่าวสารแก่ ชุมชนด้านต่างๆ เช่น การศึกษาการสาธารณสขุ มูลฐาน พระราชวรมุนี ประยุทธ์ ปยุตฺโต, การยึดเหนี่ยวจิตใจ ประสานหมู่ชนให้ร่วม พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการศึกษา, เป็นอันหนึ่งเดียวกัน ต้องมีหลักสังคหวัตถุ ๔ (๒๕๒๑, หนา้ ๒๖) ประการ คือ ๑. ทาน การให้ คือ เผอื่ แผ่ เสียสละแบง่ ปัน ๒. ปยิ วาจา การพดู จาไพเราะอ่อนหวาน ๓. อัตถจรยิ า การงานประโยชน์ ๔. สมานตั ตา การวางตนใหเ้ ข้ากบั ผู้อืน่

25 พทุ ธทาสภิกขุ, วสิ าขบูชา เลม่ ท่ี ๑, (๒๕๒๕, การสังคมสงเคราะห์ทางวัตถุก็ทำไปตาม หนา้ ๑๒๖-๑๒๘) สมควร แต่ต้องสงเคราะห์ให้เกิดความสว่างไสว ทางวิญญาณน้ี ซง่ึ ไม่ตอ้ งลงทนุ มาก พระธรรมปริยัติเวที (สเุ ทพ ผสุ สฺ ธมฺโม), สาร การสาธารณสงเคราะห์ เช่น การช่วยเหลือ ภาค ๑๕, (๒๕๔๘, หน้า ๒๕) ผู้ยากไร้เพราะประสพอัคคีภัย การจัดหน่วย บรรเทาสาธารณภัย หรือการจัดบริการให้ฟรีใน งานพิธีงานฌาปนกิจศพ โดยไมค่ ดิ มูลค่าใดๆ ๒.๑.๒ ทฤษฎดี า้ นสาธารณสงเคราะห์ กิตติพัฒน์ นนทปัทมดุล ทฤษฎีการสงเคราะห์ที่ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านการสาธารณสงเคราะห์ นนั้ มนี กั ทฤษฎนี ำเสนอไวห้ ลาย แต่สามารถสรุปไดโ้ ดยแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ ดงั น้ี กลุ่มที่ ๑ ทฤษฎีสำหรับปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ เป็นทฤษฎีทางสังคมศาสตร์พฤติกรรม ศาสตร์ ที่มจี ุดกำเนิดจากสาขาวิชาอื่นนอกวงการสงั คมสงเคราะห์ และนักสงั คมสงเคราะห์ได้นำมาใช้ในทางใน การทำงานสังคมสงเคราะห์ต่างๆ โดยใช้วิเคราะห์ทำความเข้าใจเกี่ยวกับมนุษย์ และสังคมสภาพปัญหา สถานการณท์ างสังคม และปจั จยั ทเี่ กี่ยวข้องอยา่ งกว้างขวาง เช่น ทฤษฎจี ิตวเิ คราะห์ ทฤษฎีบคุ ลกิ ภาพท ฤษฎี บทบาท เป็นตน้ กลุ่มที่ ๒ ทฤษฎีสังคมสงเคราะห์ เป็นทฤษฎีที่มีจุดกำเนิดภายในแวดวงของการสังคม สงเคราะห์โดยตรง ในว่าจะมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีในกลุม่ แรกก็ตาม แต่ทฤษฎีสังคมสงเคราะหก์ ็มีวิวัฒนาการ ในด้านเนื้อหาสาระ และแนวความคิดที่เป็นของนักสังคมสงเคราะห์โดยตรง ซึ่งทฤษฎีในกลุ่มนี้ สามารถแยก เป็นรายย่อยได้ดังนี้ ๑) กลุ่มทฤษฎีให้แนวคิดในการปฏิบัติงาน เป็นทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง ได้แก่ ก. ทฤษฎีระบบในงานสังคมสงเคราะห์ โดยต้นกำเนิดของทฤษฎีน้ี เกิดจากนักชีวเคมี เม่อื ประมาณ ค.ศ ๑๙๕๐ โดยมแี นวคดิ ท่สี ำคัญ ดงั น้ี (๑) ระบบ คือ หน่วยที่ประกอบด้วยระบบย่อยอย่างน้อยสองระบบ โดยระบบย่อย ตอ้ งปฏิสมั พันธก์ ัน

26 (๒) สามารถแยกระบบออกเป็นระบบย่อยได้ แตก่ ารพิจารณาระบบจะต้องพจิ ารณา ถงึ ผลรวมของทัง้ ระบบ (๓) ระบบแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ระบบเปิด เป็นระบบที่สามารถมีการแลกเปล่ยี น ข่าวสาร พลัง หรอื องค์ประกอบจากระบบอ่ืนได้ และระบบปิด ซึง่ มกี จ็ ะมีลักษณะตรงกนั ข้าม (๔) ระบบมีขอบเขต ซึ่งจะสามารถแยกออกได้อย่างชดั เจนจากระบบอื่น โดยเฉพาะ จากระบบสภาวะแวดล้อม (๕) ระบบเปิดจะมีรูปแบบของการแปรรูปวัตถุดิบ ออกมาเป็นวัตถุสำเร็จ ภายใต้ ระบบสภาวะแวดล้อม (๖) โดยปกติทกุ ระบบจะพยายามรักษาดลุ ยภาพของระบบเสมอ (๗) ทุกระบบดำเนินไปสู่สภาพเสื่อมสลาย ซึ่งสะพานนี้เกิดขึ้นเมื่อโครงสร้างของ ระบบนั้น มีความไม่เป็นระเบียบ และเมื่อไม่มีการปรับปรุงบำรุงรักษา ก็จะไปสู่สภาวะเสื่อมสลาย แม้ระบบ พยายามรกั ษาดุลยภาพเพียงใด แตก่ ม็ ขี ้อจำกัดและเหตผุ ลมากมาย ทจี่ ะทำให้ระบบไปส่สู ภาพเสอื่ มสลาย (๘) ในธรรมชาติของระบบจะต้องมีการสะท้อนกลับซึ่งมีทั้งทางบวกและทางลบ ว่า ต้องมีการเปลยี่ นแปลงปรับปรงุ เช่นไร จงึ จะสามารถดำรงไวซ้ ึ่งดุลยภาพของระบบได้นานที่สุด ข. ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผน คือ กระบวนการปรับปรุงระบบให้ดีขึ้นกว่าเดิม ซงึ่ อาจจะเปน็ การปรับปรุง การพฒั นา หรอื การเปลีย่ นแปลงแบบถอนรากถอนโคนก็ได้ กระบวนการดังกล่าวนี้ ประกอบด้วย ๗ ข้ันตอน ได้แก่ (๑) การพัฒนาความคิด จะเป็นแปลงนักสังคมสงเคราะห์เป็นผู้ที่จะต้องช้ี หรือ กระตุ้นให้ผ้ใู ช้บรกิ าร เกดิ ความกระตอื รอื ร้นทจ่ี ะดำเนินการเปลย่ี นแปลง (๒) สร้างความสัมพันธ์ที่จะเป็นประโยชน์ในการเปลี่ยนแปลง นักสังคมสงเคราะห์ จะต้องสรา้ งความสมั พันธท์ างวชิ าชีพ ทกี่ ่อให้เกิดความเปลยี่ นแปลง (๓) การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของผู้ต้องการเปลี่ยนแปลง นักสังคม สงเคราะห์ จะต้องมีขอ้ มลู ข่าวสารเก่ียวกับผ้ใู ห้บริการ หรือผตู้ อ้ งการเปลี่ยนแปลงอย่างละเอยี ดถูกต้อง และใช้ วจิ ารณญาณในการวิเคราะห์ไตรครอง โดยคำนึงถึงผลประโยชนข์ องผใู้ ช้บรกิ ารเปน็ หลกั (๔) การตรวจสอบทางเลือกในการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา และสนองตอบความ ตอ้ งการของผใู้ ช้บรกิ าร (๕) การดำเนนิ งานการตามทางเลือกที่กำหนด

27 (๖) การสร้างความมั่นใจให้แก่กระบวนการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การดำเนินงานตาม ทางเลือกท่กี ำหนด ได้รับผลทพี่ ึงประสงค์ (๗) การยตุ กิ ระบวนการเปล่ียนแปลง ๒) กลุ่มทฤษฎีที่อธิบายกรรมวิธีในการทำงาน เป็นทฤษฎีที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานสังคม สงเคราะห์ใน ๓ วธิ กี าร ไดแ้ ก่ ก. การสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย มีทฤษฎีหลกั ในการใช้ ๔ ทฤษฎี คือ (๑) ทฤษฎีจิตสังคม มีความเชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์ เป็นสิ่งทีส่ ามารถทำความเขา้ ใจ พยากรณ์ และปรับเปลี่ยนได้ โดยศึกษาจากอดีตของเขา (๒) ทฤษฎีการหน้าที่ มีแนวคิดว่า งานสังคมสงเคราะห์มีพื้นฐานความเชื่อถือหรือว่า จดุ ศูนย์กลางการเปลย่ี นแปลง ไดแ้ ก่ ผใู้ ช้บริการเอง (๓) ทฤษฎีการแก้ปัญหา มีแนวคิดว่า บุคคลทุกคนจะต้องมีการแก้ไขปัญหาใน ชีวติ ประจำวัน แตก่ ารที่คนเราไมส่ ามารถเผชญิ กับปัญหาไดน้ ั้น เกดิ จากความบกพร่อง ๓ ประการคือ แรงจูงใจ สมรรถภาพ และโอกาส (๔) ทฤษฎกี ารปรบั พฤตกิ รรม มีความเช่ือพน้ื ฐานมาจากจติ วิทยาการเรยี นรู้ ในกล่มุ ทฤษฎีการวางเง่ือนไข ข. การสังคมสงเคราะหก์ ลุ่มชนมที ฤษฎที ่ีใช้ ๓ ทฤษฎี คือ (๑) ทฤษฎพี ัฒนาการ มีพ้ืนฐานมาจากแนวคิดทางสงั คม และปรชั ญาสงั คมรว่ มสมัยท่ี ผสมผสานกัน (๒) ทฤษฎกี ารปะทะรังสรรค์ มีพนื้ ฐานความเชอ่ื วา่ ผใู้ ช้บรกิ ารมีความตระหนกั เข้าใจ ตนเอง มีพลงั ในการดำเนินกจิ กรรม เพือ่ ให้คนในกลุ่มสามารถสรา้ งความสัมพนั ธ์ซ่งึ กันและกัน (๓) ทฤษฎีการปอ้ งกนั และการฟน้ื ฟสู ภาพ นอกจากนี้ ทฤษฎสี งั คมสงเคราะห์ ยังแบ่ง ออกเปน็ ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ก) สงั คมสงเคราะห์เฉพาะราย ประกอบด้วย คนกบั ส่งิ แวดลอ้ ม (๑) ทฤษฎีจิตสังคม เป็นกระบวนการพัฒนาบุคลิกภาพของคน และการปรับตัวของ (๒) ทฤษฎกี ารหนา้ ท่ี เน้นการทำหน้าทีข่ องหนว่ ยงาน และการมองคณุ คา่ ของมนุษย์

28 (๓) ทฤษฎกี ารแกไ้ ขปญั หา นำทศั นะแบบมานุษยนิยมมาผสานกบั เหตุผลในการแก้ไข ปญั หา (๔) ทฤษฎีการปรับพฤตกิ รรม เป็นเทคนิคการทำงานทซ่ี บั ซ้อน ข) การสงั คมสงเคราะห์กลุ่มชน ประกอบด้วย (๑) ทฤษฎีการพัฒนาการมุ่งสร้างบคุ คลใหเ้ ขม้ แข็งในการเผชิญปัญหา (๒) ทฤษฎีการปะทะรังสรรค์ ทำให้สัมพันธภาพของแต่ละส่วนส่งผลกระทบถึงกัน หมด (๓) ทฤษฎีการปอ้ งกนั และฟืน้ ฟู เน้นการทำงานกับกลมุ่ ท่ีบำบดั รักษา ค) การสงั คมสงเคราะห์ชุมชน ประกอบด้วย (๑) การพัฒนาชุมชน เป็นการเปลี่ยนแปลงชุมชนให้ดีขึ้น โดยคนเป็นทรัพยากรท่ี สำคญั ทีส่ ุด ซง่ึ สามารถจดั ปัญหาของตนได้ (๒) การวางแผนทางสงั คม (๓) การปฏิบตั ทิ างสังคม เปน็ การจดั ระเบยี บชุมชน9 สรุปได้วา่ ทฤษฎีการสังคมสงเคราะห์ ก็คือทฤษฎีในการสาธารณสงเคราะห์ แมจ้ ะมีมากมาย หลายทฤษฎี ซึ่งเป็นทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ หรือทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ แต่ก็จำเป็นอย่างยิ่ง ที่ผู้ที่มีบทบาท หน้าที่ที่ต้องเข้าใจไปปฏิบัติหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์แก่บุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน และสังคม ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในทฤษฎีดังกล่าวอันเป็นเหตุพื้นฐาน ถึงจะสามารถช่วยเหลือสังคมสงเคราะห์ผู้อื่น เพื่อจะให้ได้ ดำเนินการงานสังคมสงเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และความเกิดความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายได้เป็น อย่างดี ๒.๑.๓ รูปแบบดา้ นสาธารณสงเคราะห์สมยั พุทธกาล พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาท่ีไม่ได้แยกตัวออกจากสังคม จึงปรากฏบทบาทของพระพุทธองค์ และบทบาทของพระสงฆ์สาวกในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาหลายแห่ง เฉพาะพระพุทธองค์นั้น ทรงมีพระ อปุ นิสยั แหง่ ความคิดอนเุ คราะหส์ งเคราะห์ เพอื่ ส่วนรวมมาตงั้ แต่เสวยพระชาตเิ ปน็ พระ โพธสิ ตั ว์ ดงั เร่ืองเล่าใน จริยาปิฎกว่า มหาบุรุษเฉกพระองค์นั้น จะมีปกติมีพระอัชฌาศัยแห่งกรุณา มีพระทัยน้อมดิ่งไปในพระกรุณา 9 อนนั ท์ วริ ยิ ะพินจิ , บทบาทของพระสงฆต์ ่อการพัฒนาชุมชน ความเปลยี่ นแปลงทางสังคมไทย, (กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๒๕), หน้า ๔๕-๔๖.

29 ปรารถนาจะเปลื้องทุกข์สรรพสัตว์ สละพระวรกายได้ แม้ว่าพระพุทธ ศาสนาจะมีเป้าหมายสูงสุด คือ การ สงเคราะห์อนุเคราะห์ให้ถงึ ขั้นบรรลธุ รรม คือ พระนิพพาน แต่การสงเคราะห์ เพื่อพัฒนาชีวติ ของสามญั ชน ก็ ควรดำเนนิ ควบคู่กนั ไปด้วย โดยทำใหถ้ ูกต้องเหมาะสมเม่อื พจิ ารณาการสงเคราะห์ อนุเคราะห์ในเชิงปฏิบตั ิ ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา มีแนวทางการปฏิบัติที่หลากหลาย แต่อาจรวมได้ ๒ ประเภทใหญ่ คือ ๑) สงเคราะห์อนุเคราะห์ด้วยอามิสวัตถุสิ่งของ–อามิสานุคคหะ ๒) สงเคราะห์อนุเคราะห์ด้วยธรรมธัมมา นุคคหะ หรือจะเรียกว่า การสงเคราะห์อนุเคราะห์ด้วยอามิสทาน และ ธรรมทานก็ได้ การสงเคราะห์ อนุเคราะห์จึงแสดงออกในรูปแบบใหญ่ ๆ ที่สะท้อน การสงเคราะห์ทั้ง ๒ แบบดังกล่าวแล้ว เช่น คราวเกิด ภาวะข้าวยากหมากแพง (ทุพภิกขภัย) ในเมืองเวสาลี เกิดภัย ๓ อย่าง คือ ๑) ทุพภิกขภัย ๒) อมนุสสภัยและ ๓) โรคภัย พระพุทธองค์พร้อมพระสงฆ์สาวก ไปโปรดเพื่อดับอุปัทวันตรายเหล่านั้น โดยการสวดพระ ปริตร พระอานนท์นำบาตรของพระพุทธองคไ์ ปตักน้ำและปะพรมไปทั่วเมือง จนอุปัทวะต่างๆ หายไปหมดสน้ิ บ้านเมืองเป็นปกติสุขดังเดิม หรือในกรณีที่พระพุทธองค์เสด็จไปดูแล พระปู ติคัตตติสสเถระ ซึ่งป่วยด้วย พระองค์เอง พระเถระรูปนี้ ล้มป่วยจนกระทั่งร่างกายเน่าพองเป็นตุ่มๆ ทั่วร่างกาย ในขณะที่พระสงฆ์ด้วยกัน ทอดทิง้ ไปหมด แต่พระพทุ ธองคก์ ลับทรงตม้ นำ้ ใสน่ ำ้ ใชน้ ้ำร้อนเชด็ ถูดแู ลดว้ ยพระองคเ์ อง และยังมีรูปแบบการสงเคราะห์อนุเคราะห์ในความหมายอื่น เช่น การสงเคราะห์ในด้าน การศกึ ษา การให้โอกาส ดังปรากฏอยใู่ นคัมภรี ใ์ ห้เหน็ เป็นร่องรอยท่คี วรพิจารณา เช่น ครงั้ หนึ่ง ขณะทีพ่ ระสารี บุตรกำลังเดินบิณฑบาต ได้พบเด็กกำพร้าอดโซ และกำลังเที่ยวเร่ร่อนหาเศษอาหารเก็บกิน เมื่อท่านพบเห็น แล้วจึงเกิดความสงสาร จึงชวนมาบวชเณร และให้ศึกษาธรรมวินัย หรือหากพิจารณาในแง่หลักคำสอน พระพุทธศาสนาสอนให้คนเป็นมิตรต่อกันและกัน ยึดเหนี่ยวประสานจิตใจกันไว้ด้วยหลักสังคหวัตถุ ๔ สังคห วัตถุ ๔ เป็นหลักธรรมสำคญั ย่งิ หมวดหน่งึ มีทีม่ าในบาลหี ลายแห่ง อันเปน็ นยั แสดงไดว้ ่า พระพุทธศาสนาสอน ให้ปฏิบัติตน นำตนเขา้ ไปสมาน (สมานตั ตตา) ให้เขา้ กบั คนอืน่ ร่วมการร่วมงาน รว่ มสขุ รว่ มทกุ ขก์ นั หรือแนวคิดสำคัญจากชาดก เช่น ในอนนุโสจิยชาดกที่เตือนมโนธรรมสำคัญในมนุษย์ ดังที่ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกทรงอ้างว่า “เมื่อยังมี ชีวิตอยู่ ควร เกื้อกูลกัน” พระสงฆ์สาวก จึงสัมพันธ์กันทั้งหมู่สงฆ์และประชาชน โดยสัมพันธ์กันในแง่การให้ ในขณะที่ ประชาชนใหอ้ ามิส หรือให้วัตถุสิง่ ของ พระสงฆ์ก็ให้ธรรม คือให้ความรู้ความเขา้ ใจในความจรงิ ความถูกต้องดี งาม10 10 วุฒินันท์ กันทะเตียน, โครงการศึกษาองค์ความรู้ดา้ นสาธารณสงเคราะห์ในคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนา, มหาวิทยาลยั มหิดล, ๒๕๖๓.

30 พระพุทธเจ้าได้มีรูปแบบการสงเคราะห์ที่ปรากฎในพระไตรปิฎก ที่ได้ค้นคว้ามาได้นี้มี ๔ รูปแบบ คือ ๑) ส่งพระสาวกไปเผยแผ่ธรรมสงเคราะห์แก่บุคคลแต่ละพื้นที่ ให้ไปแต่เพียงองค์เดี่ยว ๒) สงเคราะห์เป็นกลมุ่ คณะใหญ่ ๓) สงเคราะห์เป็นรายบุคคล เป็นต้น ๑) ส่งพระสาวกไปเผยแผ่ธรรมสงเคราะห์แก่บุคคลแต่ละพื้นที่ ให้ไปแต่เพียงองค์เดี่ยว ตาม หลักฐานในชั้นต้นคือพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงวางหลักการบริการเพื่อสังคมหรือเพื่อชนหมู่มากไว้ตั้งแต่ ครั้งยังทรงพระชนม์อยู่ โดยทรงมอบหมายภารกิจให้กับพระอรหันต์สาวกชุดแรก จำนวน ๖๐ องค์ ตาม พุทธดำารัสรบั ส่งั แก่หมพู่ ระอรหนั ตสาวกครัง้ น้นั วา่ “พวกเธอจงเท่ียวจารกิ ไป เพ่ือประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขแก่ชนเปน็ อันมาก เพอ่ื อนเุ คราะห์สตั ว์โลก เพอื่ ประโยชน์ เพื่อเกื้อกลู เพ่ือความสุข แก่เทพดาและ มนุษย์ทง้ั หลาย”11 ๒) สงเคราะหเ์ ป็นกลุ่มคณะใหญ่ เรอ่ื งมีอยวู่ า่ ครั้งนน้ั พระผ้มู พี ระภาคเสดจ็ จาริกโดยลำดับ ถึง ตำบลอุรุเวลาแล้ว. ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิล ๓ คน คือ อุรุเวลกัสสป ๑ นทีกัสสป ๑ คยากัสสป ๑ อาศัยอยู่ใน ตำบลอุรุเวลา. บรรดาชฎิล ๓ คนนั้น ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป เป็นผูน้ ำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลศิ เป็นหัวหน้า เป็น ประธาน ของชฎิล ๕๐๐ คน. ชฎิลชื่อนทีกัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๓๐๐ คน. ชฎิลชื่อคยากัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๒๐๐ คน. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้เสด็จเข้าไปสู่อาศรมของชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป แล้วได้ตรัสกะชฎิลชื่ออุรุ เวลกสั สปว่า ดูกรกัสสป ถ้าทา่ นไมห่ นักใจ เราขออาศัยอยใู่ นโรงบูชาเพลิงสกั คืนหนงึ่ . หลังจากนั้น ชฎิลเหล่านน้ั ลอยผม ชฎา เครือ่ งบริขาร และเครอื่ งบูชาเพลิงในน้ำแล้วพากันเข้า เฝ้าพระผู้มีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มี พระภาคว่า ขอพวกข้าพระพุทธเจ้าพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า พระผมู้ พี ระภาคตรสั ว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดงั น้ีแล้ว ได้ตรสั ตอ่ ไปวา่ ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอ จงประพฤตพิ รหมจรรยเ์ พ่อื ทำท่ีสุดทุกขโ์ ดยชอบเถดิ .12 สรุปการสงเคราะห์ด้านหลักธรรมแก่หมู่คณะใหญ่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุดของหลักการ สงเคราะห์ โดยพระพุทธเจ้าสงเคราะห์แสดงธรรมแก่ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ท้าวสักกะจอมทวยเทพ และท้าว สหมั บดีพรหม เปน็ การแสดงพุทธานภุ าพใหแ้ ก่พวกชฎิลได้เห็นศักดานุภาพ จนชฎลิ เกดิ ความเลือ่ มใส แล้วยอม ตนก้มลงมอบซบที่เท้าของพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวคำขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระพุทธองค์ พระผู้มีพระภาค ตรัสวา่ “พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอนั เรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์ 11 (ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๓๒/๓๕) 12 พระไตรปฎิ ก เลม่ ที่ ๔ พระวินยั ปฎิ ก เลม่ ท่ี ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ขอ้ ๓๙-๕๔ https://๘๔๐๐๐.org/tipitaka/attha/v.php?B=๔&A=๘๖๔&Z=๑๒๑๕ คน้ หาเมอื่ ๒๓/๙/๖๔

31 โดยชอบเถิด” เป็นการสงเคราะห์ทีย่ งิ่ ใหญป่ ระเสรญิ สดุ แลว้ กลุม่ อริยสาวกเหล่วนั้น กไ็ ด้ชว่ ยเผยแผ่อนุเคราะห์ สงเคราะห์บคุ คลทัง้ หลายต่อไป มที ั้งมนษุ ย์ เทวดา และสัพพสตั วท์ งั้ หลายดว้ ย ๓) สงเคราะห์เป็นรายบุคคล อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท ยมกวรรคที่ ๑ ทรงไป โปรดมัฏฐกุณฑลี ในวันรุ่งขึ้น ทรงทำความปฏิบัติ (ชำระ) พระสรีระเสร็จแล้ว อันภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่แวดล้อม แลว้ เสด็จเข้าไปสูก่ รงุ สาวตั ถี เพอ่ื บณิ ฑบาต เสดจ็ ถงึ ประตเู รอื นของพราหมณ์โดยลำดบั ในขณะนนั้ มัฏฐกุณฑลมี าณพกำลงั นอนผนิ หนา้ ไปข้างในเรือน พระศาสดาทรงทราบว่าไม่เห็น พระองค์ จึงได้เปล่งพระรัศมีไปวาบหนึ่ง มาณพคิดว่า “นี่แสงสว่างอะไร?” จึงนอนพลิกกลับมา เห็นพระ ศาสดาแล้ว คิดว่า “เราอาศัยบิดาเป็นอันธพาล จึงไม่ได้เข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้า เห็นปานนี้แล้ว ทำความ ขวนขวายด้วยกาย หรือถวายทาน หรือฟงั ธรรม, เด๋ยี วน้ีแม้แต่มือสองข้างของเรากย็ กไม่ไหว กิจท่ีควรทำอย่าง อ่ืนไมม่ ี\" ดังน้ีแล้ว ไดท้ ำใจเทา่ นนั้ ใหเ้ ลอื่ มใส พระศาสดาทรงพระดำริว่า “พอละ ด้วยการที่มาณพนี้ทำใจให้เลื่อมใสประมาณเท่านั้น” ก็ เสด็จหลีกไปแล้ว. เมื่อพระตถาคตพอกำลังเสด็จลับตาไป, มาณพนั้นมีใจเลื่อมใส ทำกาละแล้ว เป็นประดุจดัง ว่า หลับแลว้ กลับตืน่ ขน้ึ ไปเกิดในวมิ านทองสูงประมาณ ๓๐ โยชนใ์ นเทวโลก.13 ๒.๑.๔ วธิ ีการดา้ นสาธารณสงเคราะห์สมยั พุทธกาล วิธีการดำเนินกิจกรรมทางด้านสาธารณสงเคราะห์ ตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา การสาธารณสงเคราะห์นัน้ มีรูปแบบการปฏบิ ตั ทิ ีห่ ลากหลาย และเป็นไปตามความเหมาะสมตามความจำเป็น เมื่อพิจารณาจากกรอบงานวิจยั ท่ใี ชม้ ติ ทิ ัง้ ๔ เป็นตัวตัง้ ไดแ้ ก่ ๑) มิติสงเคราะห์ ลักษณะปฏิบัติ คือ ให้การช่วยเหลือแบบให้เปล่า การแก้ไขปัญหาและ ชว่ ยเหลอื ทั้งในสถานการณป์ กติและเรง่ ดว่ นหรือเฉพาะหนา้ ๒) มิติเกื้อกูล ลักษณะปฏิบัติ คือ วัดให้การสนับสนุนแก่ผู้มีขอความอนุเคราะห์ รวมถึงการ สนับสนุนกจิ กรรมรว่ มกบั หน่วยงานอ่ืน ๓) มิติพัฒนา ลักษณะปฏิบัติ คือ การแนะนำส่งเสริม การเข้าไปมีส่วนร่วมทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคม เพ่ือปรบั เปลย่ี นชวี ิตไปในทางท่ดี ขี น้ึ และ ๔) มิติบรู ณาการ ลกั ษณะปฏบิ ัติ คือ การใชค้ วามรูห้ รือวทิ ยาการและการใช้ ความร่วมมือเชิง บคุ ลากร หรอื บคุ คลท่ีเกี่ยวข้องเพอ่ื พัฒนาภาคีเครือข่าย หรือเพ่อื แกไ้ ขปญั หาและพฒั นาคุณภาพชวี ิต ทัง้ ๔ มติ นิ ี้ เม่ือวเิ คราะหด์ ว้ ยแนวปฏบิ ัตติ ามหลักสังคหวตั ถุ ๔ คือ ๑) ทานสังคหะ การสงเคราะหด์ ว้ ยอามิสทานและ ธรรมทาน 13 อรรถกถา ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท ยมกวรรคที่ ๑ หน้าท่ี ๒/๑๔ https://๘๔๐๐๐.org/tipitaka/attha/attha.php?b=๒๕&i=๑๑&p=๒ ค้นหาเมือ่ ๒๓/๙/๖๔

32 ๒) ปยิ วาจาสังคหะ การสงเคราะห์ด้วยการใหค้ ำแนะนำชนี้ ำด้วยวาจาท่ีสจุ ริต เป็นสัมมาวาจา เปน็ วาจาที่ ก่อเกดิ ประโยชน์สุขแก่สาธารณะ ๓) อตั ถจริยาสงั คหะ การสงเคราะหแ์ บบนำตนเปน็ จิตอาสา หรอื ชกั ชวนบุคคลอ่นื รว่ มบำเพ็ญ ประโยชนส์ าธารณะ ๔) สมานตั ตตาสังคหะ การสงเคราะห์ในลักษณะสร้างความรูส้ ึกรว่ มในสขุ ทุกข์ของผู้อ่ืน หรือ เขา้ ลักษณะ “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” หรอื เป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่ยี ดึ หวั ใจแบบพระโพธิสัตวเ์ อามาไวใ้ นตนเอง แนวทางปฏิบัติและการดำเนินกิจกรรมที่ไม่สอดคล้องกับพระธรรมวินัย แนวปฏิบัติทั้ง ๔ รปู แบบดังกล่าว สามารถปฏิบัติร่วมได้ในทุกมิติ เพยี งแตบ่ างมิติ เชน่ มิติการสงเคราะห์ อาจเน้นเฉพาะการให้ ความช่วยเหลือในระยะสั้นๆ หรือเป็นการให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า แต่หากเป็นมิติด้าน เกื้อกูล พัฒนา หรือบูรณาการมักเป็นการให้ความช่วยเหลือแบบยั่งยืน เพราะเป็นการสงเคราะห์ในลักษณะที่ต้อง อาศัย ระยะเวลาในการดำเนนิ การใหบ้ รรลุเป้าหมาย และเป็นการใหค้ วามช่วยเหลือแบบต้องเขา้ ไปร่วมดำเนนิ การ ที่ ตอ้ งยึดโยงหลักการ มกี ระบวนการบางอยา่ งเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติ เมื่อพิจารณาตามกรอบขององค์ประกอบ ในด้านตัวบุคคลผู้ให้การสงเคราะห์ สิ่งของหรือ วิธีการสงเคราะห์ และตัวบุคคลผู้รับการสงเคราะห์ การสาธารณสงเคราะห์ตามแนวพระพุทธศาสนาตามที่ ปรากฏในคัมภีร์ เป็นการให้การสงเคราะห์ที่ไม่ผิดไปจากหลักพระธรรมและวินัย แต่หากการสงเคราะห์ที่หวัง ประโยชน์แอบแฝงโดยอาศัยฐาน ศรัทธาเป็นที่แสวงหาผลประโยชน์ การสาธารณสงเคราะห์นั้น ก็ผิดไปจาก หลักพุทธธรรมและพุทธประสงค์ ซึ่งข้อวัตรที่ไม่ควรประพฤติเหล่านั้นมีชื่อเรียกว่า “อเนสนา” หมายถึง การ แสวงหาทไี่ ม่สมควร อีกสว่ นหนง่ึ ที่พระสงฆส์ าวก ผู้ปฏบิ ัตงิ านด้านการสงเคราะหจ์ ะพึงระวัง คือ การปฏบิ ตั ิงาน ที่ผิดไปจากพุทธประสงค์ หรือผิดจากวัตถุประสงค์ของพุทธบัญญัติ โดยเฉพาะข้อว่าด้วยหลักประพฤติที่จะ ก่อใหเ้ กดิ ความเลื่อมใส และไม่นา่ เลื่อมใส ดังนัน้ ไมว่ า่ จะเป็นการสงเคราะหใ์ นรูปแบบของทาน ปิยวาจา อัตถ จริยา หรือสมานัตตตา ซึ่งเป็นวิธีการให้การสงเคราะห์ทั้งในแง่อามิสสงเคราะห์ และธรรมสงเคราะห์ ท่ีแม้จะ สอดคล้องกันกับพระธรรมวนิ ยั 14 ๒.๑.๕ รูปแบบด้านสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์ไทย 14 วุฒินันท์ กันทะเตียน, โครงการศึกษาองค์ความรู้ด้านสาธารณสงเคราะห์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา, มหาวิทยาลัยมหดิ ล, ๒๕๖๓.

33 ด้านการสาธารณสงเคราะห์ ทางกรมการศาสนาและกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๐ กล่าวไว้ว่า การสาธารณสงเคราะห์ เป็นกิจการคณะสงฆ์ กำหนดไว้ในระเบียบมหาเถรสมาคม มี ๔ อย่าง คือ (๑) การช่วยเหลือเกื้อกูลวัดหรือคณะสงฆ์ (๒) การช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น (๓) การช่วยเหลือเกื้อกูลสถานที่อัน เปน็ สาธารณสมบัติ (๔) การเชว่ ยเหลือเกอื้ กูลประชาชนท่วั ไป15 การสาธารณสงเคราะห์ คือ การให้ได้ศกึ ษาความรู้ อบรม และการให้ความสะดวกในปัจจัยส่ี ตามสมควรในอัตภาพการครองชีพ และการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เป็นสาธารณประโยชน์แก่หน่วยงาน หรือคณะบุคคลหรือการช่วยเหลือเกื้อกูล และอุดหนุนจุนเจือสถานที่ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติทั่วไป การ สาธารณสุขเคราะหท์ เ่ี ป็นหลกั สำคญั ท่สี ดุ ของพระสงฆ์ คือ การสาธารณสงเคราะหใ์ นด้านจิตใจ และวัตถุส่งิ ของ การช่วยเหลือด้านสาธารณสงเคราะหน์ ้นั อันเป็นกจิ การของวัด การสาธารณสงเคราะห์ จงึ เปน็ งานในด้านของ วัด ไม่ว่าจะเป็นด้านการก่อสร้างถนน สร้างสะพาน สร้างศาลาพักร้อน สร้างขุดบ่อน้ำกิน เจาะบาดาลก็ตาม งานนี้จะมี องค์การบริหารส่วนตำบล เข้ามาทำหน้าที่ ส่วนคณะสงฆ์จะช่วยเหลือสังคมได้เช่นกัน ช่วยผู้ยากไร้ ผู้ถูกไฟไหม้บ้าน นำท่วมบ้าน ท่วมการเกษตร การจัดงานบรรเทาสาธารณภัย หรือการจัดการให้ฟรีในพิธีการ งานศพ ไม่เก็บค่าน้ำค่าไฟไม่เก็บค่าใช้จ่าย หากเจ้างานมีศรัทธาก็จะทำบุญเอง ส่วนนี้ก็จะช่วยบรรเทาทุกข์ ให้กับพุทธศาสนกิ ชนได้ ตลอดทั้งในการช่วยเหลือสังคมทั้งภายในวัดและนอกวัด ภายในวัด เช่น อำนวยความ สะดวกแก่ผู้มาทำบุญที่วัด และวัดต้องสะอาด สะดวกสบาย ส่วนภายนอกวัด เช่น สงเคราะห์ช่วยเหลือ ชาวบา้ นท่ตี กทุกข์ได้ยาก เท่าที่จะทำได้โดยไมน่ ิง่ ดดู าย การสาธารณสงเคราะห์ จำแนกรูปแบบได้ตามกรอบ ๔ หลักการสำคัญ คือ การสงเคราะห์ ช่วยเหลอื การสนบั สนนุ เกื้อกลู การมีส่วนร่วมพฒั นา และบูรณาการเครอื ขา่ ย ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี ๑) สงเคราะห์ชว่ ยเหลือ เป็นกจิ กรรมทใ่ี ห้ความชว่ ยเหลือทางตรงในแบบให้เปลา่ ซง่ึ เป็นการ จัดให้การช่วยเหลือสงเคราะห์แก่ประชาชน ทั้งในยามปกติและประสบภัย เป็นการช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้ ประสบปัญหาในการดำเนนิ ชีวิต เช่น ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็กบนดอย การสงเคราะห์ ตามโอกาสหรือเหตกุ ารณ์เฉพาะหน้า เช่น การประสบภัยพิบัติ และสาธารณภัย โดยมีแนวทางการดำเนินงาน โดยใหว้ ดั เป็นศูนยร์ วมในการสงเคราะห์ช่วยเหลือ ทัง้ รับบริจาคเงนิ หรือสงิ่ ของ และนำไปแจกจา่ ยโดยตรงให้ถึง มือผู้เดือดร้อน หรือผู้ประสบภัยทั้งในรูปแบบถุงยังชีพ ข้าวสารอาหารแห้ง หรือเงินช่วยเหลือ รวมถึงการ สงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทุกข์ยาก ไม่สามารถดูแลตนเองได้ หรือพึ่งตนเองได้ เช่น ผู้ป่วยติดบ้าน ผปู้ ่วยตดิ เตยี ง ผปู้ ่วยระยะสุดท้าย ซึง่ ลว้ นเปน็ กลุ่มบุคคลท่ีต้องการความดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ทั้งในระยะ 15 กรมการศาสนาและกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๐

34 สั้นและระยะยาว อย่างไรก็ตาม การสงเคราะห์ช่วยเหลือ ควรจะมีการวางแผนและการกำหนดขอบเขตการ ดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับแนวทางของฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม เพื่อให้การสงเคราะห์ ช่วยเหลือของคณะสงฆ์ สามารถดำเนินการได้ทันต่อสถานการณ์และตรงกับสภาวะปัญหา หรือความต้องการ ของประชาชน ท้ังน้ี กลุม่ เปา้ หมายในการดำเนินกจิ กรรมสงเคราะหช์ ่วยเหลอื จำแนกได้เป็น ๕ กลมุ่ คอื (๑) ผู้ยากไร้ หรือคนที่ได้รับคาวมทุกข์ยากเดือดร้อนจากปัญหาในการดำเนินชีวิต หรือ ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แร้นแค้น หรือไม่เหมาะสมในเชิงสุขภาวะ เช่น ในถิ่นทุรกันดาร อยู่ในสลัม หรืออยู่ ในพื้นที่มีผลต่อภาวะ อันส่งผลต่อการมีสุขภาพชีวิตที่ไม่ดี และต้องการความช่วยเหลือในด้านต่างๆ การสา ธารณสงเคราะห์ส่วนหนึ่งจึงจัดกิจกรรมเพื่อรับบริจาคเงินทอง และสิ่งของจากผู้มีศรัทธา เพื่อนำไปช่วยเหลือ แก่ผู้ยากไร้ เชน่ คณะสงฆ์และคณะธรรมจาริกท่ีนำสง่ิ ของและเครื่องอุปโภคบรโิ ภคไปให้แก่ชุมชนชาวเขาที่อยู่ ห่างไกล ในพื้นที่ที่หลายจังหวัดของภาคเหนือ สร้างที่พักให้แก่ผู้ยากไร้ การทอดผ้าป่าโซล่าเซลล์ให้กับวัดและ ชุมชนที่อยู่ห่างไกล และขาดแคลนไฟฟ้า หรือจากหรือแจกจ่ายพันธุ์พืช ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืช ให้แก่ เกษตรกรผยู้ ากจน เป็นต้น (๒) ผู้ด้อยโอกาสในสังคม หรือผู้ที่ไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมจากหน่วยงานใดหรือ จากญาติพี่น้อง ได้แก่ ผู้พิการ เด็กพิเศษ คนชราที่ถูกทอดทิ้ง หรือชนกลุ่มน้อย ซึ่งไม่สามารถช่วยเหลือตัวเอง ได้ การสงเคราะห์ช่วยเหลือแต่คนเหล่าน้ี แม้ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาในระยะสั้น แต่จะเป็นการช่วยลดความ ทุกข์ยาก หรือความเดือดร้อนของผู้ด้อยโอกาสได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะสิ่งที่ควรจะดำเนินการอย่างยิ่ง คือ การจัดสวัสดิการหรือกิจกรรมในระยะยาว เพื่อเพิ่มโอกาสในการช่วยเหลือตนเองของพวกเขาได้ หรือช่วย เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดี ตัวอย่างเช่น การช่วยเหลือเด็กออทิสติก ของพระครูจันทะศิลาการ แห่งวัดห้วยหมู จงั หวดั ราชบุรี ทจี่ ะกิจกรรมชว่ ยเสริมพฒั นาการ และศักยภาพในการอยู่รว่ มกับคนอื่นในสังคม ได้ หรอื ในกรณี การจดั หาทพี่ ักและสวัสดิการให้แกค่ นชรา เด็กพกิ าร หรือเดก็ ถกู ทอดทง้ิ เป็นตน้ (๓) ผู้ป่วย เป็นการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ป่วยใกล้ตาย และผู้ป่วยติดเตียงหรือติดบ้าน ทั้งในแนวทางการเสรมิ กำลังใจแก่ผูป้ ่วย โดยใช้หลักธรรมเป็นสื่อในการเตรียมตวั และเตรียมใจสำหรับวิถีแหง่ ความตาย ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยเหล่านี้มีความสงบทางจิตใจ ลดความทุกข์ความกังวล และความหวาดกลัวกับสิ่งที่ กำลังจะเผชญิ ได้ รวมถงึ การชว่ ยเหลือด้านการรักษาพยาบาล และการดแู ลผปู้ ่วย ทั้งการรักษาด้วยยาสมุนไพร หรือแพทย์แผนไทย ตัวอย่างเช่น กรณี พระสงฆ์วัดสง่างาม จังหวัดปราจีนบุรี ต้มยาสมุนไพรแจกให้กับผู้ป่วย โรคมะเร็งและเบาหวาน ความดัน สำหรับการรักษาพยาบาลแบบแพทย์แผนปัจจุบัน มักจะเป็นการออกไป เยี่ยมเยียนผู้ป่วยภายนอกโรงพยาบาล การเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียง หรือการรับบริจาคเพื่อนำเงินไปซื้อ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ให้แก่สถานพยาบาลที่ขาดแคลน รวมถึงการสงเคราะห์ดูแลผู้ป่วยโรคเอดส์ในรูปแบบ ตา่ งๆ

35 (๔) ผู้วายชนม์ ความตายเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องประสบพบเจอ และเมื่อเสียชีวิตแล้วชาว พุทธทุกคน จะต้องประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อทางศาสนา สำหรับคนทั่วไปแล้ว การจัดพิธีฌาปนกิจศพ อาจไม่ใช่ปัญหาใหญ่ของครอบครัว แต่บางกรณีของครอบครัวยากจน หรือการเสียชีวิตแบบกระทันหัน หรือ จากอุบตั ิภยั และสาธารณภัย ครอบครวั ผู้เสียชวี ิตอาจเกิดปัญหาในการจดั พิธีฌาปนกจิ ศพ หรือกรณีศพไร้ญาติ วัดหลายแห่งได้จัดให้มีบริการสงเคราะห์ช่วยเหลือ ทั้งการจัดหาโลงศพฟรี หรือการจัดพิธีกรรมโดยไม่คิด ค่าใช้จ่ายใดๆ หรืออำนวยความสะดวกในรูปแบบต่างๆ เพื่อลดปัญหาความทุกข์และความเดือดร้อน ให้แก่ ครอบครวั ของผู้เสียชวี ิต (๕) ผปู้ ระสบภยั เมื่อเกิดภัยพิบัติหรือสาธารณภัย ไม่วา่ จะเป็นอุทกภยั วาตภัย อัคคีภัย ผู้ประสบภัยส่วนใหญ่ต้องการความช่วยเหลือแบบเฉพาะหน้าเร่งด่วน หรือมีความเดือดร้อนจำเป็นต้องได้รับ การดูแลเปน็ กรณเี ฉพาะ การสาธารณสงเคราะหใ์ นแนวทางนี้ มเี ปา้ หมายเพอื่ ชว่ ยเหลือให้ผปู้ ระสบภยั พิบตั ิ ให้ สามารถรอดพ้นจากสถานการณ์ยากลำบากได้ หรือมีความเป็นอยู่ท่ีดีขึน้ ในระยะส้ันและระยะยาว การดำเนนิ กิจกรรมสงเคราะห์ช่วยเหลือเชน่ หนี้ มักไม่มแี นวการวางแผนไวล้ ่วงหนา้ ในสถานการณเ์ ชน่ นี้ วัดและพระสงฆ์ สามารถช่วยเหลือได้ดี เช่น การขอทุนจากการบริจาค หรือการใช้วัดเป็นที่พักพิงของผู้ประสบภัย เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีการจัดตั้งมูลนธิ ิ หรือกลุ่มชมรม เพื่อเป็นเครือข่ายประสานงานขอความช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั หรือภัยพิบัติในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ทันท่วงที และตรงต่อความต้องการของ ผปู้ ระสบภัย สรุปกิจกรรมการสงเคราะห์ช่วยเหลอื ทั้ง ๕ กลุ่มนี้ เป็นการช่วยเหลือในด้านวัสดุสิ่งของปัจจัยสี่ และ ให้ความช่วยเหลือด้านจิตใจ โดยใช้หลักธรรมในการช่วยขักเกลาให้ความเศร้า ความทุกข์ลดน้อยลง โดยมีท้ัง กลุ่มมูนิธิ องค์กรสงฆ์ และประชาชนทั้วไปช่วยกันสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันในด้านสาธารณสงเคราะห์ นั่นเอง ๒) สนับสนุนเกื้อกูล การทพ่ี ระสงฆ์ใหก้ ารสนับสนุนชมุ ชนหรือหน่วยงาน/องคก์ รสาธารณะท่ี ต้องการความช่วยเหลือ เข้ามาขอความร่วมมือหรือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของวัด เป้าหมายของการ ดำเนินงาน คือ การตอบสนองความต้องการหรือแก้ไขปัญหาของประชาชน รวมถึงวัดและพระสงฆ์อาจจะเข้า ไปมีให้การสนับสนุนหน่วยงานหรือองค์กร ที่มีโครงการหรือกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือสังคม กล่าวได้ว่า แนว ทางการสนบั สนนุ เกื้อกูลน้ี เป็นการส่งเสรมิ หรอื อำนวยความสะดวกใหห้ น่วยงานอื่น ทมี่ ีการดำเนินกิจกรรมสา ธารณสงเคราะห์อยู่ก่อนแล้ว ให้ใช้ทรัพยากรของหรือศักยภาพของพระสงฆ์จัดกิจกรรม ตัวอย่างเช่น วัดให้ใช้ สถานท่ีจดั กจิ กรรมสร้างงานหรือสร้างเสริมอาชีพ ทเ่ี ป็นรายไดเ้ สริม การจดั ตงั้ หอ้ งสมดุ ศนู ยเ์ รียนรู้ชมุ ชน ศูนย์ ศลิ ปะวฒั นธรรม ศนู ย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ และอื่นๆ การใชว้ ดั เป็นแรงจัดหาทนุ เพื่อชว่ ยเหลือราชการ ในการ

36 ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การจัดตั้งมูลนิธิกองทุนเพื่อการกุศล หรือการที่ให้ความร่วมมือกับทาง ราชการ เพอื่ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของชมุ ชนและท้องถ่ิน เปน็ ตน้ การดำเนินงานในลักษณะน้ี เป็นการทำกิจกรรมเพื่อการสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ สงเคราะห์ ที่ดำเนินการอยู่แล้วหรือประสานงานในกิจกรรมทำกิจกรรมใหม่ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้แนวทาง สนับสนุนเกื้อกูลของคณะสงฆ์ มีความชัดเจนและสอดคล้องคล่องตัว ในการร่วมมือกับหน่วยงานหรือองค์กร อื่นได้อย่างเหมาะสม จึงควรมีข้อกำหนดขอบเขตหรือวางแผนในการทำงานร่วมกันในระยะยาว เพื่อยกระดับ การทำกิจกรรมสาธารณสงเคราะห์ ให้เป็นงานสำคัญของคณะสงฆ์ในแต่ละท้องถิ่น และสามารถสนับสนุน หนว่ ยงานอื่นใหด้ ำเนนิ งานด้านสาธารณะสงเคราะหใ์ นแนวทางเดียวกนั โดยมกี ิจกรรมท่พี บเห็นได้มาก คือ (๑) สนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐ หรือกลุ่ม/องค์กรชุมชน เข้ามาจัดกิจกรรม เพื่อ ให้บริการหรือช่วยเหลือประชาชน ในการแก้ไขปัญหาหรือปรับปรุงวิถีการดำเนินชีวิต เพื่อสร้างเสริมคุณภาพ ชีวิตและสุขภาวะที่ดี เช่น สนับสนุนจัดการกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ (โรงเรียนผู้สูงอายุ กิจกรรมนันทนาการของ ผู้สูงอายุ กิจกรรมเสริมอาชีพและรายได้ของผู้สูงอายุ) จัดการจัดบริการตรวจสุขภาพ หรือให้บริการด้าน สขุ อนามยั แก่พระสงฆ์และประชาชนในชุมชน การจดั ต้งั ศนู ย์เรียนรู้พืชสมุนไพรและยาพื้นบ้าน ศูนย์อบรมเด็ก และเยาวชนในหลากหลายรูปแบบ ศูนยส์ ง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ คนพิการ เปน็ ต้น (๒) สนับสนุนการฝึกอบรม หรือให้ความรู้ และข้อมูลข่าวสารแก่คนในชุมชน เช่น การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ตามความต้องการของคนในชุมชน (ศูนย์เรียนรู้ ICT ชุมชน ศูนย์เรียนรู้มหาวทิ ยาลัยชวี ิต ศูนยเ์ รยี นรศู้ ลิ ปวฒั นธรรม ห้องสมดุ ชุมชน) โดยมากเปน็ การอนุญาตให้ใช้พื้นทีว่ ดั จดั กิจกรรม ทั้งที่เป็นการจัด กิจกรรมเป็นครั้งคราวหรือตามโอกาส และการจัดกิจกรรมประจำที่มีการก่อสร้างอาคารสถานที่ เพื่อการจัด กิจกรรม เช่น การจัดต้ังห้องเรียนศนู ยเ์ รียนศนู ย์การศึกษานอกโรงเรียน การจดั กจิ กรรมศูนย์วัฒนธรรมสายใย ชุมชน เป็นต้น รวมถึงการใช้พื้นที่วัดตั้งจัดตั้งสถานีวิทยุชุมชน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ข้อมูล ข่าวสาร สาระ ธรรมะ และความบนั เทิง (๓) สนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมเศรษฐกิจของชุมชน โดยเฉพาะการจัดกิจกรรม ด้านอาชีพเสริมและเพิ่มรายได้ หรือลดรายจ่ายให้แก่ประชาชน เช่น อบรมเศรษฐกิจพอเพียง อบรมกิจกรรม เกษตรยัง่ ยืน อบรมเกษตรอินทรีย์ อบรมส่งเสริมสมั มาชพี การจัดกิจกรรมเหล่าน้ี อาจเปน็ การฝกึ อบรมเพื่อต่อ ยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวิทยาการสมัยใหม่ที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ หรือการตลาดในปัจจุบัน การจัดตั้ง ศูนย์เรียนรู้และสร้างแปลงสาธิตการเกษตรผสมผสาน เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน รวมถึงการสนับสนุนให้ คณะกรรมการชุมชน หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เข้ามาใช้ลานวัด ในการจัดตัง้ ตลาดนดั หรือตลาดชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนสามารถนำสนิ ค้าออกมาขาย เพอื่ เปน็ รายไดเ้ สรมิ ของครอบครวั อีกด้วย

37 (๔) สนับสนุนให้หน่วยงานราชการและองค์กรพัฒนาเอกชน เข้ามาจัดกิจกรรมเพื่อ อนุรักษ์ทรัพยากาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (เช่น สนุบสนุนการปกป้องผืนป่าโดยใช้ธรรมะ กิจกรรมบวชป่า กิจกรรมสำรวจป่า และจัดทำแผนเพื่อการปกป้องการบกรุกป่าชุมชน ตั้งกลุ่มอาสาพิทักษ์ป่า) การอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดกิจกรรมเลิกละอบายมุข (เช่น โคกการปลอดเหล้า การ รณรงค์ป้องกันปัญหายาเสพติด การรณรงคล์ ดอุบัติเหตทุ างถนน) การสืบสานและอนุรักษ์แพทย์แผนไทย เป็น ตน้ ๓) การมีส่วนร่วมพัฒนา การที่พระสงฆ์มบี ทบาทในแนวทาง ทีเ่ น้นใหว้ ดั เปน็ ศูนย์กลางการ ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาต่างๆ ในลักษณะการส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วม หรือกระตุ้นให้พระสงฆ์และ ประชาชนไดร้ ว่ มกนั คน้ หาปญั หา และสาเหตขุ องปญั หาท่เี กิดขึ้นในชมุ ชนร่วมกนั ปรึกษาหารอื วางแผนเพอื่ การ แก้ไขปัญหาร่วมกัน แสวงหาทรัพยากรการจัดการดำเนินร่วมดำเนิน หรือบริหารโครงการให้คุ้มค่าและเกิด ประโยชน์ ตลอดจนร่วมกันติดตามประเมินผลงาน ดำเนินกิจกรรมของพระสงฆ์ ตามแนวทางนี้ เป็นการ ส่งเสริมการพฒั นาชุมชน เพื่อให้เกิดสาธารณะประโยชน์ เช่น การตัดถนนในหมู่บ้าน การทำประปาชมุ ชน ทำ ถงั เกบ็ น้ำฝน เป็นต้น รวมถึงการรวมกลุ่มทำงานในหลากหลายกจิ กรรม โดยเน้นการมีสว่ นร่วมการพฒั นาในชุมชน ตามแนวทาง “บวร” (บ้าน ชุมชน วัด โรงเรียน) โดยที่พระสงฆ์จะมีบทบาทหลัก ในการช่วยกระตุ้นให้ ประชาชนมาร่วมกันแก้ไขปัญหาของตนเอง โดยมีเป้าหมายยกระดับคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และส่งเสริม ประยุกต์หลักธรรม เพื่อการพฒั นาสังคมในระยะยาว ทั้งการพัฒนาทางดา้ นวตั ถุและจิตใจ โดยมีกิจกรรมท่ีพบ มาก คือ (๑) การทำงานพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพึ่งตนเอง เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน เช่น พระสงฆ์จัดสรรที่ดินธรณีสงฆ์ เพื่อให้ครอบครัวคนยากจน หรือผู้ยากไร้ได้มาทำ การเกษตรเลี้ยงชวี ิตตนเอง โดยมเี ง่ือนไข ให้ทำการเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ จัดตง้ั โรงสขี า้ วชุมชน โรง ปุ๋ยอินทรีย์ จัดทำกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาสสามารถพึ่งพาตนเองได้ อาทิเช่น การเพาะเห็ด ฟาง การจักสาน การทอผา้ หรือการนำสิ่งของท่ีเหลือใชม้ าพฒั นาเป็นผลิตภัณฑ์ ตามภูมิปัญญาในท้องถิ่น (๒) การพัฒนาศักยภาพผู้นำการพัฒนาชุมชน เช่น ผู้นำเกษตรกร ผู้นำกลุ่มแม่บ้าน ผู้นำกลุ่มเยาวชน การดำเนินกิจกรรมมักจะเริ่มต้นที่การพัฒนากิจกรรม เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะและ พัฒนาชุมชน มุ่งผลักดันการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรอื สหกรณ์ เช่น โครงการธนาคารข้าว ธนาคารโค-กระบือ ธนาคารตน้ ไม้ รา้ นจำหน่ายสนิ คา้ สหกรณช์ มุ ชน จดั ตัง้ กลุม่ ออมทรพั ย์ เป็นตน้ เพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรูก้ ารพัฒนา

38 ร่วมกบั ประชาชน และเปน็ โอกาสในการพัฒนาความเปน็ ผู้นำ ทมี่ คี ุณธรรมและพร้อมจะเสียสละทำงานพัฒนา เพื่อชมุ ชน เพอ่ื ให้ทั้งผู้นำและประชาชนรว่ มกนั พัฒนาชมุ ชน ให้มีวิถชี ีวติ ท่ีดคี วบคูไ่ ปกับมคี ุณธรรมจริยธรรม (๓) การพัฒนาองคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมการพัฒนา เช่น การจดั อบรมเร่ืองธนาคารน้ำ ใต้ดิน เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำความรู้ไปแก้ปัญหาหารขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภคบริโภคและเพ่ือ การเกษตร หรอื การให้ความรสู้ นับสนุนการใช้พลังงานทดแทน การติดตั้งโซล่าร์เซลล์ เพือ่ ผลิตไฟฟ้าใช้สำหรับ เครื่องสูบนำ้ หรือรถไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้มีเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดการพัฒนา เพื่อความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี ึ้นของประชาชน ท้งั ในเขตเมอื งและเขตชนบท (๔) สง่ เสริมกิจกรรมการพัฒนาทเ่ี น้นภูมิปัญญาท้องถ่ิน มากกวา่ คล้อยตามการพัฒนา ภายใตร้ ะบบบริโภคนยิ ม เปน็ การพฒั นาที่พระสงฆ์มุ่งส่งเสริมให้ประชาชน นำภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ หรือวัฒนธรรม ชุมชนที่มีศักยภาพ มาร่วมกันผลักดันกิจกรรมการพัฒนาชุมชน โดยไม่มุ่งเน้นการสร้างรายได้ แต่มุ่งเน้นการ ดำรงรักษาและเผยแพร่วัฒนธรรมของชุมชนและท้องถิ่นสืบไป เช่น การร่วมพัฒนาสินค้าหนึ่งตำบลหน่ึง ผลิตภัณฑ์ การจัดงานบุญและประเพณีท้องถิ่น หรือการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิ ปญั ญาท้องถ่นิ เป็นตน้ (๕) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาวะของประชาชนและชุมชน ทั้งทางกาย ทาง จิต ทางสังคม และปัญญา เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี บนพื้นฐานการตอบสนองความต้องการ จำเป็นจะต้อง แก้ไขปัญหาของชุมชน เช่น การพัฒนาแหล่งน้ำหรือปรับปรุงอ่างเก็บน้ำเพื่ออุปโภคบริโภคในชุมชน การ ก่อสรา้ งถนนสะพานเพื่อเช่ือมการคมนาคมระหวา่ งชุมชน การรว่ มกจิ กรรมด้านสาธารณสุขสภาพอนามัย การ ดำเนินกิจกรรมของพระสงฆ์ ส่วนมากเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาวะของทุกคนในชุมชน แต่ในบาง พน้ื ทีก่ ารจดั กจิ กรรม อาจม่งุ เน้นผลการพฒั นาเฉพาะใหก้ ับครอบครวั ผ้มู ีรายไดน้ ้อย หรือครอบครวั ทขี่ าดแคลน (๖) การพัฒนาโครงการ จดั กิจกรรมอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ ทั้ง กิจกรรมในลักษณะการร่วมรณรงค์ เพื่อการอนุรักษ์โดยตรง หรือร่วมกันรณรงค์รณรงค์เพื่อสร้างจิตสำนึก ใน การอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อมให้กลุ่มเด็กและเยาวชน หรอื กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ ตวั อยา่ งเช่น การผลักดันให้ชาวบ้าน ร่วมปลูกป่าหรือฟื้นฟูปา่ เสื่อมโทรม ให้กลับเป็นพื้นปา่ ที่สมบูรณ์ขึ้นมา การพัฒนาแหลง่ น้ำเพือ่ ใชใ้ นการดบั ไฟ ป่า ร่วมถงึ การประยุกต์พิธกี รรมทางศาสนาเพื่อการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ เช่น การบวชปา่ การทำพิธีสืบ ชะตาแมน่ ำ้ หรือถวายผ้าป่าต้นไม้ การปลูกป่าในวนั สำคัญทางศาสนา เปน็ ตน้ ๔) บูรณาการเครือข่าย เป็นการผลักดันกิจกรรมสาธารณะสงเคราะห์ ที่เริ่มจากพระสงฆ์ได้ ร่วมกับคณะสงฆ์หรือประชาชนทำงาน จนได้รับการยอมรับจากหน่วยงานและองค์กรต่างๆ และกลายเป็น ความร่วมมือทั้งในเชิงนโยบายและโครงการ หรือกิจกรรมที่ร่วมกันทำงานเป็นภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมผลักดัน

39 การทำงานอย่างเป็นระบบ มีเครือข่ายส่งเสริมสนับสนุน ทั้งในด้านการดำเนินงานบุคลากรเทคโนโลยีหรือ งบประมาณ เพื่อเป้าหมายการประยุกต์แนวทางในแนวทางพุทธศาสนา เพื่อสังคมในกิจกรรมการคณะสงฆ์ เกอ้ื กลู และพฒั นาอย่างยง่ั ยืนอย่างตอ่ เนื่อง ตามแนวตามแนวทางพลังบวร (บ้าน ชุมชน วดั โรงเรียน ราชการ) หรือภายใต้ความร่วมมือกันของคณะสงฆ์ ประชาชน ภาคประชาสังคม องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน ราชการ หรือองค์กรสาธารณประโยชน์อื่นๆ การดำเนินกิจกรรมในเชิงบูรณาการเครือข่าย จำแนกได้เป็น ๓ รปู แบบ ดังน้ี (๑) เครือข่ายคณะสงฆ์ เป็นการดำเนินงานบูรณาการ ทั้งในลักษณะที่เป็นการทางการ และไม่เป็นทางการ การดำเนินการที่เป็นทางการ มักจะเป็นงานที่มีองค์กรปกครองคณะสงฆ์ หรือสระพระ สังฆาธิการเป็นผู้นำในการบริหารจัดการกิจกรรมผ่านสายการบังคับบัญชา ซึ่งจะได้รับความร่วมมือจากคณะ สงฆ์ในทุกระดับพื้นท่ี เพราะส่วนมากจะมีหนังสือคำสั่ง หรือขอความร่วมมือมาจากมหาเถรสมาคม เช่น โครงการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์ โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ โครงการอบรมประชาชนประจำ ตำบล (อ.ป.ต.) เป็นต้น ส่วนในลักษณะที่ไม่เป็นทางการ เป็นการรวมตัวของพระสงฆ์จิตอาสา ที่ต้องการ ร่วมมือกันทำงานตามอุดมการณ์ของกลุ่ม มีเป้าหมายส่งเสริมการประยุกต์หลักการทางพระพุทธศาสนาเพื่อ สังคม ให้มีความเป็นรูปประธรรม และสามารถดำเนินงานด้านสาธารณะสงเคราะห์ในแนววิถีพุทธได้อย่าง ตอ่ เนอื่ งและย่ังยืน เชน่ เครอื ขา่ ยพระอาสาคิลานธรรม เครอื ข่ายพระสงฆ์นักพัฒนา เปน็ ตน้ (๒) เครือข่ายราชการ โดยการประสานความร่วมมือระหว่างคณะสงฆ์กับหน่วยงาน ราชการท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทงั้ ในระดบั ท้องถิ่นและระดบั จงั หวดั ซึ่งทพ่ี บมากไดแ้ ก่ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จังหวัด สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวัด สำนักงานพฒั นาวฒั นธรรมจังหวัด สำนักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ สำนักงานเกษตรอำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพประจำตำบล (รพ.สต.) องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และเทศบาล เป็นต้น โดยมีหลายกิจกรรมท่ี ดำเนินการร่วมกัน ตัวอย่างเช่น การส่งเสริมสุขภาวะร่วมกับหน่วยงานสารณะสุข และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ โครงการสร้างบ้านใหผ้ ู้ยากไรร้ ว่ มกับราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โครงการชุมชนคุณธรรม และศูนย์วัฒนธรรมชุมชน ประสานงานกับหลายหน่วยงานรัฐ เพื่อจัดทำโครงการสวัสดิการชุมชนอย่างยั่งยืน จัดต้ังศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อน เกณฑ์ รวมร่วมกับหนว่ ยงานสาธารณสุขและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เปน็ ตน้ (๓) เครือข่ายภาคประชาสงั คม และองค์กรพัฒนาเอกชน เป็นการทำงานร่วมกับคณะ สงฆ์ร่วมมือกันกับกลุ่ม/องค์กรที่ไดจ้ ัดตั้งโดยประชาชนหรือชุมชนและ/หรือองค์กรพัฒนาเอกชนจากภายนอก ชุมชน เป็นการสรา้ งเครือข่ายงานสาธารณสงเคราะห์ ที่มุ่งหวังให้ร่วมกันคดิ และดำเนนิ งานโครงการ/กิจกรรม สาธารณประโยชน์ เช่น เครือข่ายอนุรักษ์ป่าไม้ เครือข่ายวนเกษตร เครือข่ายนักวิทยุเฝ้าระวังและช่วยเหลือ

40 ผู้ประสบภัย เป็นต้น รวมถึงยังมุ่งเน้นประโยชน์อีกประการหนึ่งคือ การส่งเสริมให้มีจิตอาสาทั้งฝ่ายพระสงฆ์ และและฝ่ายฆราวาส ร่วมกันสร้างแนวร่วมในการช่วยเหลือสังคมและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ผ่านการ ดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดกองทุน/มูลนิธิ เพื่อสาธารณประโยชน์ (ก่อสร้างอาคารโรงพยาบาล จัดหา อปุ กรณ์การแพทย)์ หรอื ตงั้ หนว่ ยบริการเพื่อสงเคราะห์ประชาชน (รับอปุ การะเด็กกำพร้า คนชรา เปน็ ต้น พระสังคหวัตรในปัจจุบัน ยังคงมีบทบาทครอบคลุมทั้ง ๔ หลักการดังกล่าวข้างต้น และ สามารถสร้างเสริมกิจกรรมสาธารณสงเคราะห์ได้อย่างสม่ำเสมอ โดยพระสังคหวัตรยังคงถือว่าเป็นหน้าที่ ท่ี ท่านต้องช่วยเหลือและแบ่งเบาปัญหาของประชาชน โดยพยายามบูรณาการให้ทุกภาคีเครือข่ายทั้งฝ่ายคณะ สงฆ์และฝ่ายฆราวาสร่วมกันทำงานสาธารณสงเคราะห์ สำหรับทุกกลุ่มเป้าหมายและกิจกรรมพัฒนาสังคมทกุ ด้าน เช่น การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาจิตใจ การพัฒนาสาธารณูปการ การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่ออุปโภคและ บริโภค พร้อมทั้งการเกษตร และการพัฒนาสาธารณประโยชน์ให้แก่ท้องถิ่น โดยมีเงื่อนไขเพื่อการช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ที่เดือดร้อนหรือทุกข์ยาก และในขณะเดียวกัน ผู้เข้าร่วม โครงการกิจกรรม จะต้องมีส่วนร่วมในการรักษาศีลปฏิบัติธรรม บนพื้นฐานการสร้างเสริมคุณธรรมสังคม คุณธรรม เพื่อให้ทุกคนสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข และสามารถสร้างสังคมที่มีทั้งคุณภาพและ คณุ ธรรม16 ประเด็นนี้นับว่า เป็นจุดเด่นในการทำงานสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ในปัจจุบัน ตัวอย่าง พระสังคหวัตรที่มีกิจกรรมโดดเด่น เช่น พระครูสุวรรณโพธิวรธรรม (มนัส ขนฺติธมฺโม) เจ้าอาวาสวัด โพธทิ์ อง และเจา้ คณะตำบลตราด จงั หวดั จันทบุรี ทา่ นช่วยผลกั ดันกจิ กรรมกล่มุ สัจจะสะสมทรัพย์ เพื่อพัฒนา คุณธรรมครบวงจรชีวิต ซึง่ ได้รวมตัวกันอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ถงึ ปจั จุบนั มเี งนิ สะสมหลายร้อย ล้านบาท ท่านเริ่มทำงานโดยมีความมุ่งหวังที่จะช่วยเหลือชุมชนให้พึ่งพาตนเองได้ และเป็นสังคมเอื้ออาทร ฉนั ญาติมติ ร ใช้หลกั พุทธธรรมชักจูงคนในชุมชน ให้มารว่ มกนั แก้ไขปัญหาและช่วยเหลือกัน โดยมีมาตรการนำ เงินของกลุ่มไปช่วยเหลือเพื่อการลงทุนการประกอบอาชีพ แก้ไขปัญหาหนี้สินดอกเบี้ยสูง ช่วยรักษาค่า พยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วย ช่วยค่าฌาปนกิจสงเคราะห์ ให้ทุนการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน และช่วยเหลือ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม เป็นการพึ่งพากันในกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ รวมถึงการประสานร่วมกับภาคีเครือข่าย คณะสงฆ์ เช่น เครือข่ายพระธรรมทายาท เครือข่ายสังฆะเพื่อสังคม และบูรณาการการทำงานร่วมกับ หน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรภาคประชาสังคมต่างๆ เพื่อให้งานสาธารณสงเคราะห์วิถี พทุ ธ สามารถขยายตวั ออกไปได้อยา่ งกว้างขวางมนั่ คงและย่ังยืน 16 พินิจ ลาภธนานนท์, อดีต ปัจจุบัน และอนาคต งานสาธารณสงเคราะห์วิถีพุทธของคณะสงฆ์ไทย, โครงการ การศกึ ษาแนวทางสาธาณสงฆ์เคราะหว์ ิถีพุทธของคณะสงฆ์ไทย สถาบันวิจัยสงั คม จุฬาลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั , หนา้ ๗๘-๘๗.

41 สรุปความจากข้อมลู กจิ กรรม สาธารณสงเคราะห์ของพระสังคหวัตร สามารถจำแนกลกั ษณะ ทำกิจกรรมได้ออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ งานสาธารณสงเคราะห์ตามนโยบายคณะสงฆ์ และงานสาธารณะ สงเคราะหจ์ ิตอาสาของพระสงฆแ์ ละประชาชน จำแนกรปู แบบได้ตามกรอบ ๔ หลักการสำคญั คือ ๑) การสงเคราะห์ช่วยเหลือ ได้มีการสงเคราะห์ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาสในสังคม ผู้ป่วย ผู้วาย ชนม์ ผูป้ ระสบภัย เปน็ ต้น ๒) การสนับสนุนเกื้อกูล มีการสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐ หรือกลุ่ม/องค์กรชุมชน สนับสนุนการฝึกอบรมหรือให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารแก่คนในชุมชน สนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมเศรษฐกิจ ของชุมชน สนบั สนุนให้หน่วยงานราชการและองค์กรพัฒนาเอกชน ๓) การมีส่วนร่วมพัฒนา ได้มีการทำงานพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการ พึ่งตนเอง การพัฒนาศักยภาพผู้นำการพัฒนาชุมชน การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมการพัฒนา ส่งเสริม กิจกรรมการพัฒนาทีเ่ นน้ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และสุขภาวะของประชาชนและชุมชน การ พัฒนาโครงการ/จดั กจิ กรรมอนรุ ักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม และทรัพยากรธรรมชาติ ๔) บูรณาการเครือข่าย มีด้านเครือข่ายคณะสงฆ์ เครือข่ายราชการ เครือข่ายภาคประชา สงั คม และองคก์ รพฒั นาเอกชน ๒.๑.๖ วิธีการด้านสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์ไทย ตามหลักของศาสนา พระสงฆ์จะต้องอยู่ในกรอบของพระธรรมวินัย ละความยึดมั่นถือมั่นว่า ตัวเราตัวเขา ละความเห็นแก่ตัว ละความโลภ โกรธ หลง แล้วนำหลักธรรมคำสั่งสอนไปเผยแผ่ช่วยเหลือ ชาวโลกให้เข้าถึงสัจจะแห่งชีวิต พระสงฆ์เมื่อได้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนสามารถเข้าถึงการบรรลุธรรมแล้ว มักจะได้ความสุขที่แทจ้ ริงซึ่งเกดิ จากการปฏิบัติ การทำงานเพื่อสังคม ได้ความสุขจากการให้ มิใช่เสพความสขุ ซ่ึงเกิดจากการได้ประโยชน์ส่วนตัว ทอดทิ้งภาระของสังคม เมื่อละความเห็นแก่ตัวได้ จึงเกิดเมตตาธรรม ช่วยเหลือสงั คมน่ันคือ การบำเพ็ญทานหรือสังคมสงเคราะห์ นน่ั เอง การช่วยเหลือสังคมสงเคราะห์ของพระสงฆ์นั้น พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญตนเป็นต้นแบบของ นักสังคมสงเคราะห์โดยแท้ เริ่มต้ังแต่การตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว เริ่มประกาศพระศาสนา ตลอด ระยะเวลา ๔๕ ปี ทรงบำเพญ็ ประโยชนเ์ พ่ือสังคมอยา่ งหาบุคคลเปรียบได้ยาก เสด็จจากแคว้นหนึ่งไปอีกแคว้น หนึ่ง เช้าตรู่ออกบิณฑบาต ช่วงเย็นแสดงธรรม พลบค่ำประทานโอวาทภิกษุ เที่ยงคืนแก้ปัญหาให้เหล่าเทวดา เวลาย่ำรุง่ ตรวจดสู ตั ว์โลกผู้เขา้ ขา่ ยแห่งการบรรลุธรรม พระพทุ ธจริยานี้ พระองคท์ รงปฏิบัติเป็นอาจิณ แม้ใกล้เสดจ็ ขันธปรินิพพาน กย็ ังทรงโปรดให้ สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้าถามปัญหา ตลอดพระชนมายุ ๘๐ พรรษา ทรงบำเพ็ญประโยชน์หรืออุทิศเพื่อสังคม

42 ในช่วงที่พระองค์ตรัสรู้ใหม่ๆ มีพระสาวกเพียงแค่ ๖๐ รูป ทรงตรัสกบั พระสาวกใหบ้ ำเพ็ญประโยชนเ์ พ่ือสังคม มิได้ใหพ้ ระสงฆ์ทำตวั หลีกหนสี งั คม พระสาวกเป็นจำนวนมากแม้บรรลุพระอรหัตแล้ว เป็นผู้ที่ปลงภาระลงแล้ว คือไม่กลับมาสู่ โลกนี้อีก ก็ยังเป็นนักสังคมสงเคราะห์ ช่วยเหลือสังคมบำเพ็ญตนเป็นประโยชน์เพื่อชาวโลก มาถึงปัจจุบัน ๒๕๖๐ กว่าปีมาแล้ว บทบาทของพระสงฆ์เริ่มเปลี่ยนแปลงจากอดีตที่เคยโดเด่น แต่กลับลดน้อยลงอย่างมาก แตม่ ีพระสงฆจ์ ำนวนไม่น้อย ที่ยังคงทำงานเพ่ือสังคมอย่างจริงจัง อุทิศชีวติ เพ่อื พระศาสนา สมกับเป็นพุทธบุตร หรอื ศาสนาทายาทจริงๆ อยา่ งเช่น หลวงตามหาบัว ฐาณสมั ปันโน จ.อุดรธานี, พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุต โต) จ.นครปฐม, พระราชธรรมนิเทศ (พยอม กลฺยาโณ) วดั สวนแก้ว เป็นต้น เป็นบุคลากรทน่ี า่ ยกย่อง เร่ืองการ สาธารณสงเคราะห์ การดำเนินงานสาธารณะสงเคราะห์ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้ จึงมีความจำเป็น ผู้ที่ รับผิดชอบ หรือพระสงฆ์เถระผู้ใหญ่หรือเจ้าเจ้าอาวาสวัดนั้นๆ จะต้องใช้อำนาจดุลยพินิจ สถานการณ์ หรือ มองภาพของผู้ประสบภัยพิบัติต่างๆ ในการที่จะเข้าไปช่วยเหลอื ผู้ที่ประสบภัย เหล่านั้นอย่างไร ในการเริ่มตน้ เข้าไปช่วยเหลือ ให้ได้ตามสภาพความเป็นจริงให้ได้ ผู้นำต้องมีวิสัยทัศน์ ที่มองกว้าง คิดไกล และใฝุสูง โดยมี การวางแผนล่วงหน้าไว้อย่างดีและรอบคอบ เพราะการวางแผน เป็นการทำนายอนาคตด้วยหลักการทาง วิทยาศาสตร์ ทงั้ นเี้ พอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบัตงิ านให้ ดำเนนิ ไปดว้ ยความราบร่ืน การวางแผนมีดังต่อไปน้ี ๑. การวางระเบียบเกี่ยวกับการรับผู้มาขอรับบริการเขา้ สู่ระบบของการช่วยเหลือ ตลอดจน การกำหนดระเบยี บวิธกี ารช่วยเหลือในกรณีตา่ งๆ รวมทั้งกำหนดระยะเวลาของการ ชว่ ยเหลอื การตดิ ตามและ การประเมนิ ผล จนถงึ วาระสุดทา้ ยของช่วยเหลอื ๒. แบ่งหน้าที่ให้แก่ผู้ที่รวมทีมการปฏิบัติงาน โดยปกติงานสาธารณะสงเคราะห์ จะมี เหตุการณ์ฉุกฉนิ เฉพาะหน้า และกรณีที่ต้องใช้เวลาให้การสงเคราะห์ในระยะยาว จึงต้องแบ่งหน้าท่ีให้ เป็นชุด ปฏิบัติงานฉุกเฉิน ที่สามารถปฏิบัติงานได้ทันท่วงทีและรวดเร็ว เพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์เฉพาะ หน้า ส่วนชุด ปฏิบัติงานช่วยระยะยาว ซึ่งจะใช้ในกรณีผู้ที่มาขอรับใช้บริการ มีปัญหาที่จำเป็นต้อง ให้บริการสงเคราะห์อัน ยืดยาวนาน จนกว่าเขาจะอยใู่ นสภาพท่ีพ่งึ ตนเองได้ ๓. แผนเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ที่พึงจัดขึ้นในการสงเคราะห์ กำหนดเวลาในการ ปฏิบัติ กิจกรรมน้ันๆ ตามเวลาและโอกาส เพื่อส่งเสรมิ ให้พระสงฆม์ ีการต่นื ตัวตามกจิ กรรมทป่ี ฏบิ ตั ิ ๔. แผนในการจดั หา การใชจ้ า่ ยเงนิ วสั ดุอปุ กรณ์ การเก็บรักษา การเบกิ จ่าย การ จัดทำบัญชี รายรับรายจา่ ยวสั ดุส่ิงของ ให้อยใู่ นสภาพทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมและปลอดภัย ๕. แผนปฏบิ ัตกิ บั ผู้มารับบรกิ ารเฉพาะกรณี และการจดั ทำสาระบบผูม้ าใชบ้ รกิ าร

43 ๖. แผนในการแก้ปญั หาของการปฏิบัติงาน เช่น กรณีทีเ่ กนิ ความสามารถของตน จะต้องมีวิธี แก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ไว้ ๗. แผนในการประสานงานกบั หน่วยงานที่เปน็ เครือขา่ ย ซ่งึ จัดบรกิ ารทเ่ี หมือน ใกล้เคยี ง หรือ เหนือกว่า เพื่อประโยชน์ในการส่งต่อกรณีปริมาณผู้ใช้บริการมีจำนวนมาก จะให้บริการ ได้ หรือกรณีที่เกิน ความสามารถในการใหบ้ ริการ ทจ่ี ำเป็นตอ้ งใชอ้ ุปกรณเ์ คร่อื งมอื เข้าช่วย หรอื เทคนิค ทีเ่ หนอื กวา่ ๘. แผนในการจัดฝึกอบรมผู้ร่วมปฏิบัติงานก่อนทำหน้าที่ เพื่อให้มีความรู้ความ เข้าใจใน หน้าทข่ี องตนอันจำเป็นต้องปฏบิ ัติ เพือ่ มิใหเ้ กดิ ความผิดพลาดบกพรอ่ ง หรอื ผิดนอ้ ยทส่ี ดุ 17 การวางแผนงานเปน็ เรื่องท่สี ำคัญในงานสาธารณสงเคราะห์ เพราะเปน็ การวางนโยบายท่ีจะ ทำงานไวล้ ว่ งหนา้ ช่วยให้งานสาธารณะสงเคราะหส์ ามารถดำเนินไปได้อย่างดี และแบ่งบุคลากรให้ถูกกับงานที่ ตนถนดั เป็นการจดั ระบบงานเพ่ือให้รวดเรว็ ทนั ต่อเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ข้ึน และแก้ปัญหาเฉพาะได้ การจัดฝึกอบรม พนักงานใหเ้ ข้าใจในบทบาทและหน้าทเ่ี พื่อป้องกันการผิดพลาดในบางกรณที ีเ่ กดิ ฉกุ เฉนิ ขึ้นมาโดยไม่ตัง้ ใจ โดยหลกั การงานสาธารณสงเคราะห์ มเี ป้าหมายหลัก คอื การช่วยเหลือใหป้ ระชาชนสามารถ แก้ไขปัญหาได้ และหลดุ พน้ จากความทุกขโ์ ดยต้องการให้ทุกภาคส่วนในสังคมมีสว่ นร่วมช่วยเหลือเกื้อกูล และ เผื่อแผ่แบ่งปันกันไม่ใช่เป็นเพียงโครงการ หรือกิจกรรมหนึ่งที่ส่งต่อการช่วยเหลือให้ประชาชน อย่างไรก็ตาม การมีสว่ นร่วมของคนในสังคมอาจจะมรี ะดบั แตกตา่ งกนั เช่น บางคนเพียงรว่ มบรจิ าคเงนิ หรือสิ่งของ บางคนมี ความยากจนร่วมบริจาค บางคนมีศักยภาพและมีความรู้ความสามารถก็มาร่วมกันคิดแผนงานและกิจกรรม เป็นตน้ การทำงานสาธารณสงเคราะห์ในสังคมไทย จึงมักจะมีเรื่องของการบริจาคและการเสียสละ เข้ามาเปน็ เงือ่ นไข และพระสงฆ์สามารถเข้ามาเป็นส่ือหรือมบี ทบาทรว่ มอย่างสำคญั การดาํ เนนิ งานของฝายสา ธารณสงเคราะหของมหาเถรสมาคม มเี ปาหมายสาํ คัญ ๔ ดาน คอื สงเคราะห เกอ้ื กูล พัฒนา และบูรณาการ18 (๑) การสงเคราะห พระสงฆบําบัดทุกขบํารุงสุขของประชาชน แบบไมหวังผลกําไรตอบ แทน รวมไปถึงการบรรเทาสาธารณภัย มีการให้ความช่วยเหลือในภาวะวิกฤต (การประสบสาธารณภัย มี อทุ กภยั วาตภยั อัคคีภัย และในยามปกติ เป็นตน้ 17 สุรยิ นต์ น้อยสงวน, รปู แบบการปฏบิ ตั ิงานสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์ ในจังหวัดศรีสะเกษ, มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๖๐. 18 พินจิ ลาภธนานนท์, สายชล ปญั ญชิต, ภูเบศ วณชิ ชานนท์, แนวคิดพุทธศาสนาเพือ่ สังคม สงั คหธุระ และสา ธารณสงเคราะห์วถิ ีพทุ ธ, สถาบนั วจิ ยั สงั คม จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , หน้า ๑๐๖.

44 (๒) การเกื้อกูล โดยวัดจะเปนพื้นที่สําคัญในการทําประโยชนใหแกประชาชนจากการ ประสานงานของทุกภาคสวน มีการจัดการป้องกันและแก้ไขยาเสพติดในชุมชน การไถ่ชีวิตโค-กระบือเพ่ือ การเกษตร การจัดการสงิ่ แวดลอ้ มชมุ ชน การจัดการป่า ปลกู ปา่ /บวชป่า ด้านสมุนไพรและภูมิปญั ญาชาวบ้าน (๓) การพัฒนา พระสงฆทํางานกับชุมชน มีการสร้างศูนย์กลางให้การช่วยเหลือชุมชน การสงเสริมสัมมาชีพ กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ การเกษตรศาสตร์พระราชาแนววิถีพุทธ การสร้างวัฒนธรรมจิต อาสา คิลานปุ ัฏฐาก และพพิ ธภณั ฑช์ ุมชน (๔) การบูรณาการ เปนการทํางานแบบบูรณาการของภาคเอกชนภาครัฐ และภาค ประชาสังคม หรือ บาน วัดและราชการ มีเครือข่ายการสาะรณสงเคราะห์ มีกองทุนช่วยเหลือสงเคราะห์สา ธารณภยั เครอื ขา่ ยจติ อาสาสังฆพัฒนา การทํางานสาธารณสงเคราะห ในชวงของการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ไดสะทอนใหเห็นถึงการบูรณาการการชวยเหลือประชาชน ที่ไดรับผลกระทบจากการแพรระบาด ในการให ความชวยเหลือเครื่องอุปโภคและบริโภค เปนการประสานงานรวมกันระหวางคณะสงฆ ชุมชน และผูมีจิต ศรทั ธาในการรวมบริจาค อีกทงั้ พระสงฆทีด่ ําเนนิ งานสวนใหญจะเปนพระสงฆท่อี าศัยอยูในพ้ืนทจี่ ังหวัดนนั้ ๆ สำหรับแนวทำงการปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมที่ยั่งยืน สำนักงานฝ่ายสาธารณ สงเคราะหข์ องมหาเถรสมาคม จะแบง่ การปฏบิ ตั ิงานออกเปน็ ๓ แนวทาง คือ แนวางที่ ๑ การปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ในภาวะปกติ เป็นแนวทำงานที่ชี้แจงใหเ้ หน็ รูปแบบกิจกรรมความรับผิดชอบ รวมทั้งลักษณะการรายงานผล การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน สาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ระดับพืน้ ท่ี มีประเดน็ ในการทำงาน คอื ๑) วิเคราะหศ์ ักยภาพของพืน้ ท่ี ๒) วางแผน และ เตรียมการดำเนินงานสาธารณสงเคราะห์ ทั้ง ๓ ด้าน ได้แก่ (๑) ด้าน เก้อื กลู (๒) ดา้ นการพฒั นา (๓) ดา้ นการบูรณาการ ๓) ดำเนินการตามแผนทไ่ี ดเ้ ตรยี มไว้ ๔) สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๕) รายงานผลการดำเนนิ งาน มีผรู้ ับผดิ ชอบ คอื จร., จล., จต., จอ., สธส., จจ. จภ., มส. รายงานผลปีละสองคร้ัง แนวทางที่ ๒ การปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ในภาวะวิกฤต เป็นแนวทำงานที่ชี้แจงให้ เห็นรูปแบบกิจกรรมความรับผิดชอบ รวมทั้งลักษณะการรายงานผลการดำเนินงาน และการสร้างเครือข่าย เพอ่ื การประสานงานในสถานการณท์ ่มี คี วามเร่งดว่ น มีประเดน็ การทำงาน คือ

45 ๑) ประเมนิ ความเสยี หาย และความพรอ้ มเมือ่ เกิดสาธารณภยั ๒) รวบรวมข้อมูลสถานการณส์ าธารณภยั และความต้องการความชว่ ยเหลอื ๓) ดำเนินการให้ความช่วยเหลือในเบื้องต้น ในกรณีทพ่ี น้ื ที่มคี วามพร้อมท้ังเครื่องอุปโภค บรโิ ภค และจดั สรรพนื้ ทีว่ ดั สำหรบั เปน็ ท่ีพกั ช่วั คราว ๔) กรณีท่ภี ัยพิบตั ิรุนแรง ให้รายงานเจ้าคณะผู้ปกครองตามลำดับชัน้ ๕) ประสานงานความรว่ มมือภาคีเครอื ข่าย สนับสนุนการช่วยเหลือ ๖) ดำเนินการสาธารณสงเคราะห์ ๗) สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๘) รายงานเจ้าคณะผู้ปกครองตามลำดบั แนวทางการชว่ ยเหลือโดยมวี ัดเป็นศนู ย์กลาง มีหน่วยงานผู้รบั ผิดชอบ คอื จร., จล., จต., จอ. , สธส., จจ. จภ., มส. แนวทางที่ ๓ การปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ เพื่อรวบรวมข้อมูลภาคีเครือข่าย เป็น แนวทำงานที่ชี้แจงให้เห็นรูปแบบกิจกรรมความรับผิดชอบ รวมทั้งลักษณะการรายงานผลการดำเนินงาน เกี่ยวกับการสร้างและพัฒนาเครอื ข่ายการปฏิบตั ิงานสาธารณสงเคราะห์ โดยเป้าหมายสำคัญ คือ การส่งเสรมิ ให้เกิดการขยายต่อเครือข่ายการทำงาน ที่สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนา กิจกรรมสาธารณสงเคราะห์ ของคณะสงฆ์ในพน้ื ทไ่ี ด้ มปี ระเด็นการทำงาน คอื ๑) จดั ทำฐานขอ้ มลู ภาคเี ครอื ข่ายทั้งภายในและภายนอก ๒) รวบรวมฐานข้อมลู ภาคีไว้ในระบบสารสนเทศ ๓) กำหนดแผนสร้างความสัมพันธ์ และแลกเปลี่ยนความรู้ จากทั้งเครือข่ายทั้งภายใน และภายนอก ๔) ส่งเสริมให้มีโครงการความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ทั้งภายในและภายนอก อย่าง น้อยจังหวดั ละ ๑ โครงการ ๕) ส่งเสรมิ กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ภาคีเครือขา่ ยภายใน ๖) สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๗) รายงานเจ้าคณะผปู้ กครองตามลำดบั

46 แนวทางปฏิบัติงานรวบรวมข้อมูลภาคีเครือข่าย มีหน่วยงานผู้รับผิดชอบ คือ จร., จล., จต., จอ., สธส., จจ. จภ., มส. เป็นตน้ 19 ๒.๒ พัฒนาการวัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ๒.๒.๑ บรบิ ทของชุมชน ๑) ท่ีต้ัง บา้ นโคกกลนั หมทู่ ่ี ๑๕ ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสรุ นิ ทร์ ต้งั อยใู่ นเขตการ ปกครองอำเภอศีขรภูมิ ห่างจากจังหวัดสุรินทร์ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยทางรถยนต์ ๓๔ กิโลเมตร โดยทางรถไฟระยะทางห่างจากสุรินทร์ ๓๓ กิโลเมตร มีพื้นที่ป่าช้าสาธารณะ ๘ ไร่ และพื้นที่เอกสารสิทธ์ิ โฉนด นส. ๓ อ่ืนๆ บางสว่ น ลกั ษณะภมู ิประเทศโดยทั่วไปเป็นท่ีราบล่มุ บางส่วนเปน็ ทด่ี อน และปา่ โปร่งสภาพ ถูกทำลายหมดแล้ว วัดความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ ๑๓๐-๑๕๐ เมตร ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี ประมาณ ๑,๓๒๐๗ มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดเดือนเมษายน ประมาณ ๓๙.๗ องศาเซลเซียส อุณหภูมิ เฉล่ียตำ่ สุด เดอื นธันวาคม ๑๒.๕ องศาเซลเซยี ส มีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับเขตพืน้ ที่บา้ นระแงง หมู่ที่ ๒ ตำบลระแงง ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั เขตพ้ืนทบ่ี ้านระเวียง หมทู่ ่ี ๖ ตำบลระแงง ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับเขตพ้นื ที่บา้ นตะแบก หมู่ท่ี ๖ ตำบลจารพัต ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั เขตพน้ื ทบี่ า้ นโตนด หมทู่ ี่ ๕ ตำบลระแงง ๒) ประชากร หมู่บ้านโคกกลัน มีประชากรทั้งหมดจำนวน ๔๑๙ คน โดยมี ๗๕ ครัวเรือน แยกเป็นชาย ๒๐๒ คน เป็นหญิง ๒๑๗ คน จากประชากรที่มีอยู่ในหมู่บ้าน ข้อมูลจากสถิติจากทะเบียนบ้าน ของเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓) อาชพี (๑) อาชีพทำนา ประชากรสว่ นใหญ่มีอาชีพทำนาร้อยละ ๕๕ % (๒) อาชพี เกษตร สวนผสม มีจำนวนร้อยละ ๑๐ % (๓) กลุ่มทอผ้าไหม ประชากรทำอาชีพนี้ร้อยละ ๓๕ % (๔) ช่างก่อสร้าง อาชีพทำการก่อสร้างมจี ำนวนร้อยละ ๖๐ % 19 สาธารณสงเคราะหว์ ิถีพุทธ, แผนการดำเนนิ งาน ฝา่ ยสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม, ๒๕๖๔. https://www.xn--๔๒cf๙at๙cd๗bdm๓cobg๗q๓g.com/ คน้ หาเมื่อ ๒๕/๙/๖๔.

47 ๒.๒.๒ ประวตั วิ ัดปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม ๑) ความเป็นมาของวัด วัดปราสาทโคกกลันธรรมาราม ได้จัดตั้งสร้างขึ้นด้วยความร่วมมือ อันดีของชุมชนบ้านโคกกลัน พร้อมหมู่บ้านใกล้เคียงและพุทธศาสนิกชนต่างจังหวัด ที่มาร่วมกันสร้างวัดข้ึน อย่างรวดเร็ว ด้วยกำลังสรัทธาความเสื่อมใสในพระรัตนตรัย จุดเริ่มต้นเมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ท่ี ป่าช้าสาธารณะของชุมชนบ้านโคกกลนั -บ้านระเวียง ซ่ึงเปน็ สถานทปี่ ่าไม้ร่มเรืน่ เหมาะแกก่ ารเปลียกวิเวก และ ไมห่ ่างจากหมบู่ า้ นโคกกลันมากนกั ประมาณ ๓๕๐ เมตร เม่อื วันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้มศี ทั ธาจากพทุ ธศาสนิกชนจดั ซือ้ ที่ดนิ สรา้ งเป็นที่ตั้งวัด (ปัจจุบันกำลังสร้างพระวิหาร) จำนวน ๑ ไร่ เป็นจำนวนเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท โดย พระเทพ จารุธมฺโม และ คณะสงฆ์เป็นผ้ทู ีร่ ับมอบปัจจัยนี้ เพอ่ื นำไปจดั ซอ้ื ทด่ี ินในการสร้างวัด วันที่ ๒๘-๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗ ปีจอ ตรงเป็นวันวิ สาขบูชา พระเทพ จารุธมฺโม ประธานสงฆ์ผู้ดำเนินงาน จัดพิธีวางศิลาฤกษ์เทเสาเอกกลางพระวิหาร เริ่มการ สรา้ งศาสนสถานขึ้นในที่พักสงฆ์ ซง่ึ มพี ระสงฆ์อยรู่ ่วมจำพรรษา ๒๕ รปู ในปนี ัน้ และตอ่ มาได้จัดซ้ือที่ดินได้ดังนี้ (๑) พ.ศ. ๒๕๕๙ จดั ซอ้ื ทีด่ นิ ๑ ไร่ จำนวนเงนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท (๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ จัดซือ้ ที่ดนิ ๒ ไร่ งาน จำนวน เงิน ๗๐๐,๐๐๐ บาท (๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ จัดซื้อที่ดิน ๔ ไร่ งาน จำนวนเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๔) พ.ศ. ๒๕๖๓ จดั ซ้ือทด่ี ิน ๔ ไร่ งาน จำนวนเงนิ ๘๐๐,๐๐๐ บาท ๒) ประวตั ปิ ระธานสงฆ์ (ปกครอง/บริหาร) วัดปราสาทโคกกลนั ธรรมาราม (ธ) (๑) ชื่อ พระเทพ จารุธมฺโม อายุ พรรษา ๑๗ วิทยฐานะ นักธรรมตรี สังกัดวัด บุไทร ตำบลไทยสามคั คคี อำเภอวงั นำ้ เขยี ว จังหวดั นครราชสมี า (๒) สถานเดิม เทพ ประภาสัย เกิดวันที่ ๑ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ตรงกับวันจันทร์ แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๓ ปีมะโรง บิดาชื่อ สา ประภาสัย มารดาชื่อ ใจ ประภาสัย ที่บ้านเลขที่ ๖๕/๑ หมู่ที่ ๑๕ บ้านโคกกลัน ตำบลระแงง อำเภอศีขรภมู ิ จังหวัดสรุ ินทร์ (๓) บรรพชา เมื่อวนั ที่ ๗ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ตรงกบั วนั เสาร์ แรม๘ คำ่ เดือน ๘ ปี กุน ณ วัดบูรพาราม (พระอารามหลวง) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โดย พระอุปัชฌาย์ พระราชวรคณุ วัดบรู พารา (พระอารามหลวง) ตำบลในเมือง อำเภอเมอื งจงั หวัดสุรินทร์

48 (๔) อปุ สมบท เมือ่ วนั ท่ี ๗ เดือนกรกฎคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ตรงกับวนั เสาร์ แรม ๘ คำ่ เดือน ๘ ปี กุน ณ วัดบูรพารา (พระอารามหลวง) ตำบลเมอื ง จังหวัดสุรนิ ทร์ พระอุปัชฌาย์ พระราชวรคุณ วดั บรู พารา (พระอารามหลวง) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั สุรินทร์ พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสถิตปญั ญาคุณ วดั บูรพารา (พระอารามหลวง) ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวดั สรุ นิ ทร์ พระอนุสาวนาจารย์ พระครูสังฆรักษ์สุขอำนาจ วัดจอมสุรินทร์ ตำบลแกใหญ่ อำเภอ เมือง จงั หวัดสรุ ินทร์ (๕) สังกัด วดั บรู พาราม (พระอารามหลวง) ตำบลเมือง จังหวดั สรุ นิ ทร์ (๖) ย้ายสังกัดวัด ไปอยู่ ณ วัดบุไทร ตำบลไทยสามัคคคี อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัด นครราชสีมา เหตทุ ่ยี า้ ยไปเพอ่ื ดำรงตำแหนง่ เจ้าอาวาส (๗) วิทยฐานะ สำเรจ็ การศกึ ษา ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรยี นบ้านระเวียง อำเภอศขี ร ภูมิ จังหวัดสรุ ินทร์ (๘) ความชำนาญการพิเศษ นิเทศสนทนา ด้านการสาธารณูปการ ช่างยนต์ ช่างอิเลค โทรนกิ และช่างแบบการกอ่ สร้าง ๓) ประวัตเิ จา้ อาวาส (ฝ่ายปกครอง/ดำเนนิ งาน) วดั ปราสาทโคกกลนั (ธ) (๑) ช่อื พระวริ ตั น์ อคฺคธมฺโม อายุ ๓๖ พรรษา ๗ วทิ ยฐานะ นกั ธรรมเอก. สังกดั วดั เขา ศาลาอตลุ ฐานะจาโร ตำบลจรสั อำเภอบวั เชด จังหวัดสุรินทร์ (๒) สถานะเดิม วิรัตน์ ประภาสัย เกิดวันที่ ๕ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ตรงกับวัน อาทิตย์ ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีขาล บิดาชื่อ นายสมบัติ ประภาสัย มารดาชื่อ นางปี ประภาสัย ที่บ้านเลขที่ ๙๙ หมทู่ ี่ ๑๕ บ้านโคกกลัน ตำบลระแงง อำเภอศีขรภมู ิ จังหวัดสุรินทร์ (๓) บรรพชา เมื่อวันที่ ๒๗ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะแม ณ วัดมิ่งเมือง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดย พระอุปัชฌาย์ พระราชปริยัติวิมล วัดมิ่งเมือง ตำบลกลาง อำเภอเสลภูมิ จงั หวดั ร้อยเอ็ด (๔) อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๗ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะแม ณ วดั มง่ิ เมือง อำเภอเสลภมู ิ จังหวัดร้อยเอ็ด พระอุปชั ฌาย์ พระราชปริยัติวิมล วดั ม่ิงเมือง ตำบลกลาง อำเภอเสลภมู ิ จงั หวดั ร้อยเอด็

49 พระกรรมวาจาจารย์ พระโกสินทร์ ทินฺนญาโณ วัดมิ่งเมือง ตำบลกลาง อำเภอเสลภูมิ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด พระอนุสาวนาจารย์ พระทรงชัย ณ วัดมิ่งเมือง ตำบลกลาง อำเภอเสลภูมิ จังหวัด ร้อยเอด็ (๕) สังกดั วัด วดั มิง่ เมอื ง ตำบลกลาง อำเภอเสลภมู ิ จังหวดั รอ้ ยเอด็ ณ วันท่ี ๒๗ เดอื น มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ (๖) ย้ายสังกัดวัด ไปอยู่ ณ วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ตำบลจรัส อำเภอบัวเชด จังหวดั สรุ นิ ทร์ เหตุที่ยา้ ยไปเพ่ือศกึ ษาปฏบิ ตั ธิ รรม ย้ายวันที่ ๒๐ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖ (๗) วิทยฐานะ ความรู้ชั้นสามัญ พ.ศ. ๒๕๔๔ สำเร็จการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบ้านระเวียง อำเภอศขี รภมู ิ จังหวัดสรุ นิ ทร์ (๘) ความชำนาญการพิเศษ ดา้ นการสาธารณูปการ ช่างยนต์และชา่ งก่อสรา้ ง ๔) บริบท/โครงสรา้ งทางกายภาพของวดั (สรา้ งแผนผงั วัด)

50 ๒.๒.๓ พัฒนาการด้านศาสนวัตถุ การจัดระเบียบด้านศาสนวัตถุและปรับสภาพแวดล้อมในวัด อัน ได้แก่ การจัดทำแผนผังวัดให้เป็นระเบียบ แบ่งสัดส่วนการก่อสร้างให้ชัดเจน จัดสภาพแวดล้อมวัดให้มีความ สะอาด มคี วามร่มรน่ื และจัดการกำหนดใชป้ ระโยชนใ์ นพ้นื ที่ภายในวัดอยา่ งเหมาะสมกับสภาพใชง้ าน ดงั น้ี ๑) พระวิหารปฏิบัติธรรม ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ กว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๕๖ เมตร จำนวน ๑ หลัง คา่ ก่อสรา้ ง ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๒) พระพุทธรปู องค์ใหญ่ ๔ องค์ ประดษิ ฐานใจกลางพระวหิ าร... (๑) พระประธานองค์แรก พระพุทธศากยมนุ ี ประดษิ ฐานทิศตะวันออก หนา้ ตัก ๒ เมตร สูง ๓ เมตร (๒) องค์ที่ ๒ พระพุทธทวารวดี ประดิษฐานทิศใต้ ความสูง ๓ เมตร (๓) องค์ที่ ๓ พระพุทธทวาร วดี ประดิษฐานทิศตะวนั ตก ความสงู ๓ เมตร (๔) องคท์ ่ี ๔ พระพทุ ธทวารวดี ประดิษฐานทิศเหนือ ความสูง ๓ เมตร ๓) กำลังสร้าง พระอุโบสถกลางน้ำ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ กว้าง ๙.๒ เมตร ยาว ๒๖.๔ เมตร จำนวน ๑ หลงั คา่ ก่อสรา้ ง ๓๐,๙๘๘,๐๐๐ บาท ๔) กฏุ พิ ระสงฆ์ แบ่งออกเป็น ๔ โซน (๑) กุฏิสงฆ์โซนที่ ๑ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๔ เมตร จำนวน ๓ หลัง ค่าก่อสร้าง ๑๕๐,๐๐๐ บาท (๒) กุฏิสงฆ์โซนที่ ๒ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก กว้าง ๔ เมตร ยาว ๔ เมตร จำนวน ๕ หลัง คา่ ก่อสรา้ ง ๑๔๐,๐๐๐ บาท (๓) กุฏิสงฆ์โซนที่ ๓ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก กว้าง ๘ เมตร ยาว ๒๔ เมตร จำนวน ๘ ห้อง ค่ากอ่ สร้าง ๒๘๘,๐๐๐ บาท (๔) กฏุ สิ งฆ์โซนท่ี ๔ ตัง้ อยทู่ างทิศตะวันออกเฉียงใต้ กวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๔ เมตร จำนวน ๔ หลัง ค่ากอ่ สร้าง ๑๓๐,๐๐๐ บาท ๕) โรงงานสร้างพระพุทธรูปและประติมากรรม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก กว้าง ๒๒ เมตร ยาว ๒๗ เมตร จำนวน ๑ หลงั ค่ากอ่ สรา้ ง ๗๔๒,๕๐๐ บาท ๖) กำแพงรอบวดั กวา้ ง ๒ เมตร ยาว ๒ เมตร จำนวน ๓๗ ช่อง ค่าการกอ่ สรา้ ง ๒๔๗,๕๐๐ บาท ๗) โรงครวั ตงั้ อยทู่ างทิศเหนอื กวา้ ง ๕ เมตร ยาว ๒๒ เมตร จำนวน ๑ หลงั ค่าการกอ่ สร้าง ๑๘๓,๕๐๐ บาท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook