Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำรารายวิชาทักษะการสื่อสารภาษาไทย

ตำรารายวิชาทักษะการสื่อสารภาษาไทย

Published by ajtong1, 2022-08-10 03:00:39

Description: ตำรารายวิชาทักษะการสื่อสารภาษาไทย

Keywords: ทักษะการสื่อสาร

Search

Read the Text Version



ทักษะการสอื่ สารภาษาไทย Thai Language Communication Skill รองศาสตราจารย์ ดร.ชนะศึก นิชานนท์ ดร.ศภุ ศิริ บญุ ประเวศ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สิรมิ า เชียงเชาว์ไว ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิพร ต่ายคา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สทุ ติ า จุลกนษิ ฐ์ ดร.ชนินทร์ ฐติ เิ พชรกุล มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต 2564

ทกั ษะการส่ือสารภาษาไทย ผ้เู รียบเรยี ง : รองศาสตราจารย ดร.ชนะศกึ นิชานนท ดร.ศภุ ศิริ บญุ ประเวศ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สิริมา เชยี งเชาวไ์ ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศพิ ร ตา่ ยคา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สุทติ า จลุ กนษิ ฐ์ ดร.ชนินทร์ ฐิติเพชรกุล พิมพ์ครงั้ ท่ี 1 : จานวน 500 เลม่ กรกฎาคม 2564 ดาเนนิ การพิมพ์โดย : ศนู ยบ์ รกิ ารสอื่ และสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์ 295 ถนนราชสีมา เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร 10300 Tel : 0 - 2244 - 5420 - 5, Fax : 0 - 2243 - 5984 ออกแบบปก/ พมิ พท์ ี่ : ศนู ยบ์ ริการส่ือและสิ่งพมิ พก์ ราฟฟิคไซท์ โทร : 0-2244-5081

ก คานา ตำรำรำยวิชำทักษะกำรสื่อสำรภำษำไทย รหัสวิชำ 1500122 หมวดวิชำศึกษำท่ัวไป ได้ เรียบเรียงขึ้นอยำ่ งเป็นระบบ ครอบคลุมเน้ือหำสำระตำมคำอธบิ ำยรำยวิชำ ประกอบด้วย กำรสื่อสำร ในสภำพแวดล้อมที่หลำกหลำย กำรรับสำรเพ่ือสร้ำงควำมเข้ำใจ เทคโนโลยีกำรส่ือสำรในยุคดิจิทัล กำรวิเครำะห์อย่ำงรู้เท่ำทันกำรสื่อสำรในสังคมที่หลำกหลำย กำรเขียนทำงวิชำกำร กำรเขียนเพื่อ ส่ือสำรในองค์กร กำรพัฒนำบุคลิกภำพเพื่อกำรนำเสนอ กำรเล่ำเร่ืองผ่ำนสื่อดิจิทัล กำรนำเสนองำน อย่ำงมืออำชีพ และกำรนำเสนอโครงกำร เพ่ือใช้ในกำรเรียนกำรสอนให้แก่นักศึกษำหรือผู้ที่สนใจใน วชิ ำดังกลำ่ ว สำมำรถอำ่ นและทำควำมเขำ้ ใจในเนือ้ หำได้ดว้ ยตนเอง โดยไม่ต้องเขำ้ ศกึ ษำในวิชำน้ี ตำรำเล่มน้ี ได้เพิ่มเติมเนื้อหำให้กว้ำงขึ้น เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อกำรเรียนกำรสอน ผู้เขียน หวังว่ำ ตำรำน้ีคงอำนวยประโยชน์ต่อกำรเรียนกำรสอนตำมสมควร หำกท่ำนท่ีนำไปใช้มีข้อเสนอแนะ ผแู้ ตง่ ยินดรี ับฟังควำมคิดเห็น และขอขอบคณุ มำ ณ โอกำสนดี้ ว้ ย คณะผเู้ ขียน 1 มถิ ุนำยน 2564



ค สารบัญ หนา้ คานา ก สารบญั ค สารบญั ภาพ ช สารบัญตาราง ฌ บทท่ี 1 การสื่อสารในสภาพแวดลอ้ มที่หลากหลาย 1 2 ควำมหมำยของกำรส่อื สำรในสภำพแวดล้อมทหี่ ลำกหลำย 2 ควำมสำคญั ของกำรสื่อสำรในสภำพแวดล้อมทีห่ ลำกหลำย 4 วัตถปุ ระสงค์ของกำรสือ่ สำร 5 กระบวนกำรสื่อสำรในสภำพแวดลอ้ มทหี่ ลำกหลำย 6 องค์ประกอบกำรสือ่ สำรในสภำพแวดล้อมท่ีหลำกหลำย 7 ประเภทของกำรสื่อสำรในสภำพแวดลอ้ มที่หลำกหลำย 9 กำรพัฒนำทักษะกำรสือ่ สำรภำษำไทยอยำ่ งมีประสิทธิภำพ 9 สรุป 10 คำถำมทบทวน 10 กิจกรรมทบทวน 11 เอกสารอ้างอิง 13 บทที่ 2 การรบั สารเพ่อื สร้างความเขา้ ใจ 14 ควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรฟังและกำรอ่ำน 14 ควำมสำคัญของกำรฟังและกำรอำ่ น 14 กำรรบั สำรแบง่ ตำมวตั ถุประสงค์ในกำรส่ือสำร 16 ทกั ษะกำรฟงั อย่ำงเขำ้ ใจ 16 กำรฟงั 4 ระดบั (4 Levels of Listening) เพ่ือเขำ้ ใจกำรฟังอย่ำงลึกซง้ึ 17 อปุ สรรคและปัญหำในกำรฟัง 17 กำรเตรยี มควำมพร้อมเพื่อกำรอ่ำน 18 กำรเลอื กสรรวัสดุกำรอำ่ น 18 กำรกำหนดจุดมุ่งหมำยกำรอ่ำน 19 วธิ ีกำรอ่ำนที่เหมำะสม 20 องคป์ ระกอบกำรอ่ำน 21 ประเภทของกำรอำ่ น 22 วิธเี พิม่ ทักษะกำรส่อื สำรเพื่อพัฒนำศกั ยภำพของตนเอง 23 พฒั นำทักษะกำรฟังให้มีประสิทธิภำพ

ง กำรฟังเชงิ รุก (Active Listening) และกำรฟังอยำ่ งลกึ ซง้ึ (Deep Listening) หนา้ กำรอ่ำนอยำ่ งลึกซึ้ง (Deep Reading) สรปุ 23 คำถำมทบทวน 25 กจิ กรรมทบทวน 26 เอกสารอา้ งองิ 26 บทที่ 3 เทคโนโลยีการส่ือสารในยคุ ดจิ ิทัล 26 วิวฒั นำกำรช่องทำงกำรส่อื สำร 27 แนวคิดกำรสือ่ สำรยุคดิจิทัล (Communication Model in digital Age) 29 ควำมหมำยของกำรส่อื สำรดว้ ยสื่อดจิ ทิ ลั (Digital Communication) 29 รปู แบบกำรส่ือสำรดจิ ิทลั 31 ประโยชน์กำรสื่อสำรยคุ ดจิ ิทัล 33 กำรประยุกต์ใชเ้ คร่ืองมือสื่อสำรในยุคดิจทิ ัล 33 กำรส่อื สำรแบบเสมือนจริง 34 สรุป 36 คำถำมทบทวน 39 กจิ กรรมทบทวน 41 เอกสารอ้างองิ 41 บทที่ 4 การวเิ คราะห์อยา่ งรู้เทา่ ทนั การสอื่ สารในสังคมที่หลากหลาย 42 กำรวิเครำะห์ผูส้ ง่ สำรและผรู้ ับสำรในสภำพแวดลอ้ มท่ีหลำกหลำย 43 กำรวิเครำะหส์ ำรในสภำพแวดลอ้ มทหี่ ลำกหลำย 45 กำรวเิ ครำะหช์ ่องทำงกำรส่อื สำรในสภำพแวดลอ้ มทห่ี ลำกหลำย 46 กำรวเิ ครำะห์ปฏกิ ิรยิ ำตอบสนองในสภำพแวดลอ้ มทหี่ ลำกหลำย 52 กำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมท่ีหลำกหลำย 52 สรุป 54 คำถำมทบทวน 55 กจิ กรรมทบทวน 55 เอกสารอา้ งอิง 56 บทที่ 5 การเขียนทางวชิ าการ 56 ควำมหมำยของกำรเขยี นทำงวชิ ำกำร 57 องค์ประกอบของกำรเขียน 59 สรุป 59 61 70

จ คำถำมทบทวน หนา้ กจิ กรรมทบทวน เอกสารอ้างองิ 71 บทท่ี 6 การเขียนเพอื่ ส่ือสารในองค์กร 71 ควำมหมำยขององค์กร 72 ควำมสำคัญของภำษำไทยในกำรสื่อสำรในองค์กร 75 กำรเขยี นจดหมำย 75 กำรเขยี นจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ 76 กำรเขียนข้อควำมทำงแอปพลิเคชันไลน์ 77 สรุป 82 คำถำมทบทวน 83 กจิ กรรมทบทวน 85 เอกสารอ้างอิง 87 บทที่ 7 การพฒั นาบคุ ลิกภาพเพ่อื การนาเสนอ 87 บุคลิกภำพคอื อะไร 88 สถำบนั พฒั นำบุคลกิ ภำพจอห์น โรเบริ ต์ เพำเวอร์ส (John Robert Powers) 89 บคุ ลกิ ภำพภำยในกบั กำรนำเสนอ 89 บคุ ลิกภำพภำยนอกกับกำรนำเสนอ 90 สรุป 91 คำถำมทบทวน 92 กิจกรรมทบทวน 96 เอกสารอ้างองิ 96 บทท่ี 8 การเล่าเร่อื งผ่านส่ือดจิ ิทลั 96 เทคนิคกำรเล่ำเร่ือง (Story telling) 97 กำรเลำ่ เร่อื งผำ่ นส่ือดิจิทัล (กำรพดู แนะนำสินค้ำ บรกิ ำร ภำพยนตร)์ 99 กำรเล่ำเรื่องผ่ำนต๊ิกต๊อก (TikTok) 100 กำรเล่ำเรื่องผำ่ นยูทปู (YouTube) 103 กำรพดู เลำ่ เร่ืองผ่ำนเฟซบกุ๊ (Facebook) 103 กำรเลำ่ เรื่องผ่ำนคลบั เฮำส์ (Clubhouse) 104 สรปุ 104 คำถำมทบทวน 104 กจิ กรรมทบทวน 106 เอกสารอ้างองิ 106 บทที่ 9 การนาเสนองานอยา่ งมืออาชพี 106 107 109

ฉ หนา้ กำรใชส้ ื่อประกอบกำรนำเสนองำน 109 กำรนำเสนองำนแบบเผชิญหนำ้ (Face to Face) 111 กำรนำเสนองำนผำ่ นช่องทำงออนไลน์ 112 กำรนำเสนองำนแบบพิทชง่ิ (Pitching) 113 สรุป 115 คำถำมทบทวน 116 กจิ กรรมทบทวน 116 เอกสารอ้างองิ 117 บรรณานกุ รม 119 บรรณำนกุ รมภำษำไทย 119 บรรณำนกุ รมภำษำต่ำงประเทศ 123

ช สารบัญภาพ หนา้ ภาพที่ 1 5 1.1 กำรสอื่ สำรในสภำพแวดลอ้ มทหี่ ลำกหลำย 13 1.2 กระบวนกำรสื่อสำร 14 2.1 กำรรับสำรเพื่อสรำ้ งควำมเข้ำใจ 15 2.2 แสดงกำรรับสำรทำงเดียว 29 2.3 แสดงกำรรับสำรสองเดียว 30 3.1 เทคโนโลยีกำรสื่อสำรในยุคดิจิทลั 38 3.2 เซอร์ ทมิ เบอร์เนอรส์ -ลี ผู้พัฒนำระบบ เวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ 39 3.3 ระบบคลำวด์ 40 3.4 สือ่ สงั คมออนไลนท์ ่ีมีในปจั จบุ ัน 45 3.5 เทคโนโลยเี สมอื นจริง Immersive Technology 46 4.1 กำรวเิ ครำะห์อยำ่ งรู้เท่ำทนั กำรสอ่ื สำรในสภำพแวดล้อมทห่ี ลำกหลำย 59 4.2 แบบจำลองกำรส่ือสำรของชแรมม์ 62 5.1 ควำมรพู้ น้ื ฐำนเก่ียวกบั กำรเขียน 64 5.2 ควิ อำรโ์ ค้ดคลปิ “พจนำนุกรมฉบับไหน ใชแ้ ลว้ รุง่ ” 67 5.3 คิวอำร์โค้ดคลิป “ตอบข้อสอบอัตนยั ให้เป๊ะปงั ” 70 5.4 ควิ อำร์โค้ดกำรอำ้ งอิงสำรสนเทศ ตำมแบบ APA7th 75 5.5 ควิ อำรโ์ ค้ดคลิป “มำค่ะ มำเขียนโครงกำรกันเถอะ” 78 6.1 ควำมรพู้ นื้ ฐำนเก่ียวกบั กำรเขียน 79 6.2 วิธเี ซ็นรบั รองสำเนำบตั รประชำชน 80 6.3 ตัวอยำ่ งกำรจดั ตำแหน่งลำยเซ็น 81 6.4 ตวั อยำ่ งจดหมำยลำกิจ 82 6.5 ตวั อย่ำงหนังสอื รำชกำรภำยนอก 83 6.6 ตัวอย่ำงกำรเขียนอเี มลเพ่ือสง่ งำนอำจำรย์ 84 6.7 ควิ อำร์โค้ดคลิป “กำรเขียนอีเมล” 85 6.8 วธิ ีกำรเขยี นข้อควำมทำงไลน์ 89 6.9 คิวอำร์โค้ดคลิป “พิมพไ์ ลนต์ ิดตอ่ งำนกับอำจำรยแ์ ละผใู้ หญอ่ ย่ำงไรให้นำ่ รัก” 99 7.1 กำรพฒั นำบุคลกิ ภำพเพ่ือกำรนำเสนอ 99 8.1 กำรเล่ำเรือ่ งผ่ำนสื่อดิจิทัล 109 8.2 องคป์ ระกอบของกำรพูด 9.1 กำรนำเสนองำนอยำ่ งมืออำชีพ



ฌ หนา้ สารบญั ตาราง 5 47 ตารางที่ 61 102 1.1 วตั ถปุ ระสงค์ของผสู้ ง่ สำรและผรู้ บั สำรท่สี อดคลอ้ งกัน 4.1 ทักษะกำรสื่อสำรของผู้สง่ สำรและผู้รับสำร 5.1 ตวั อยำ่ งภำษำในแตล่ ะระดับ 8.1 กำรขยำยควำมตำมลำดบั เร่ือง



1 บทท่ี 1 การสื่อสารในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ผู้ส่งสาร สาร ผ้รู ับสาร ความหมาย ของการส่อื สาร ความสาคัญ การจดั การเรยี นรู้ กระบวนการส่ือสาร ช่องทาง ของการสื่อสาร แบบใชค้ าถาม ในสงั คมท่ีหลากหลาย ประเภทการสือ่ สาร การสอื่ สารในสภาพแวดล้อม สิ่งแวดล้อม ปฏิกริ ิยา ในสงั คมที่หลากหลาย ทหี่ ลากหลาย ตอบสนอง การพฒั นาทักษะ การส่ือสารภาษาไทย อย่างมปี ระสิทธภิ าพ แบบบนั ทกึ การสงั เกตการตอบคาถาม แบบทดสอบปรนัย CLO 1 สามารถวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ กระบวนการสอ่ื สาร ภาพที่ 1.1 การส่ือสารในสภาพแวดล้อมทห่ี ลากหลาย ธรรมชาติของมนุษย์เป็นสัตว์สังคมท่ีอาศัยอยู่กันเป็นกลุ่ม ทากิจกรรมร่วมกัน โดยใช้การ ส่ือสารเป็นเครื่องมือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกันมาตั้งแต่ยุคดึกดาบรรพ์ ด้วยการส่ือสารผ่านเสียง ท่าทาง การขีดเขียน การใช้สัญญาณต่าง ๆ และพัฒนาจนเกิดเป็นภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษา สัญลักษณ์ท่ีเรียนรู้สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน การสื่อสารเป็นทักษะที่จาเป็นสาหรับมนุษย์เพื่อทาให้ ตนเองได้มาซึ่งปัจจัยสี่ ช่วยสร้างสัมพันธ์ระหว่างกันของมนุษย์ การได้รับการยอมรับจากกลุ่มหรือ สังคม การรวมกันเป็นกลุ่มเป็นสังคม แมว้ า่ ผู้คนส่วนใหญ่มีทักษะการส่ือสาร การฟงั การพดู การอ่าน การเขียน แต่มิใช่ว่าทุกคนจะสามารถส่ือสารได้สัมฤทธิ์ผลทุกคร้ัง เนื่องจากการส่ือสารมีความ สลับซับซ้อน และออ่ นไหว

2 ดังน้ัน การศึกษาทักษะการสื่อสารภาษาไทยจึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับผู้เรียนท่ีดารงอยู่ ในสังคมปัจจุบันที่มีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างหลากหลาย ท่ีจาเป็นต้องมีความรู้และความเข้าใจ เกยี่ วกบั ความหมาย ความสาคัญ กระบวนการ องคป์ ระกอบ และประเภทของส่ือสารในสภาพแวดล้อม ท่ีหลากหลาย อันเป็นการปูพ้ืนฐานเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจภาพรวมของการส่ือสาร มองเห็นกระบวนการ ส่ือสารอย่างเป็นระบบท่ีจะนาไปสู่การวิเคราะห์กระบวนการส่ือสาร และเกิดการพัฒนาทักษะการ สือ่ สารภาษาไทยอยา่ งมีประสิทธิภาพ ดงั ทจ่ี ะกล่าวต่อไป ความหมายของการสื่อสารในสภาพแวดลอ้ มท่ีหลากหลาย คาว่า “ส่ือสาร” (Communicate) มีความสัมพันธ์ในอดีตกับคาว่า “ร่วมกัน” (Common) เกิดจากคากิริยาในภาษาละติน ซ่ึงมีความหมายว่า “แบ่งปันหรือร่วมกัน” (To share) “ท่ีจะทาให้ร่วมกัน” (To make common) และเก่ียวข้องกับคาในภาษาละตินว่า “Communis” (Rosengren, 2000) แฟรมล่ิง และคณะ (Froemling, Grice & Skinner, 2011) ได้นิยามความหมายของ การสอ่ื สารว่า “เป็นกระบวนการแบ่งปันความหมายผ่านการไหลอยา่ งต่อเนื่องของสารทีเ่ ป็นสัญลักษณ์” ราชบัณฑิตยสถาน (2554) ได้ให้ความหมายการส่ือสาร คือ “วิธีการนาถ้อยคา ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น จากบุคคลหน่ึงหรือสถานท่ีหนึ่งไปยังอีกบุคคลหน่ึงหรืออีกสถานที่หน่ึง” ให้ความหมายของคาว่า “สภาพ คือ ภาวะหรือความเป็นเองตามธรรมดาหรือธรรมชาติ” และ ให้ความหมายคาวา่ “หลากหลาย คือ หลายอย่างต่าง ๆ กัน หรอื หลากหลาย” จึงสรุปความหมายของ การส่ือสารในสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลาย (Communicating in Diverse Environments) คือ กระบวนการถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความรู้สึก ข้อมูล ถ้อยคา หรือ การแสดงพฤตกิ รรมจากผสู้ ่งสารหรือแหล่งสาร ผ่านช่องทางการสอ่ื สารไปยังผรู้ ับสาร ภายใต้ภาวะท่ีมี สง่ิ ต่าง ๆ หลากหลาย ความสาคัญของการสื่อสารในสภาพแวดลอ้ มท่หี ลากหลาย การส่ือสารเป็นเคร่ืองมอื สาคญั ในการดารงชวี ิตของมนุษยใ์ นทุกระดับ ทาใหเ้ กิดครอบครัว ชุมชน สังคม รวมถึงระบบเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยเฉพาะในสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลายอย่างปัจจุบันย่ิงต้องอาศัยการสื่อสารในการเชื่อมต่อ ความสัมพันธ์ของผู้คนที่แตกต่างหลากหลายให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วยให้ผู้คนสามารถดารง อยู่เป็นสังคมร่วมกันได้ ช่วยให้การดาเนินการต่าง ๆ ในทุกระดับบรรลุเปา้ หมาย ทั้งนี้สามารถจาแนก ความสาคัญของการสอื่ สารในสภาพแวดลอ้ มทห่ี ลากหลาย ไดด้ ังน้ี 1. ความสาคญั ตอ่ ปัจเจกบุคคล ปัจเจกบุคคลหรือคนแต่ละคนมีทักษะการส่ือสารตดิ ตัวมาตั้งแต่ยังไม่กาเนิดจากครรภ์ มารดา สังเกตได้จากการสื่อสารด้วยอากัปกิริยาอยู่ภายในครรภ์ หลังคลอดจากครรภ์จะส่ือสารกับ มารดาผา่ นอากปั กิริยาและเสียงร้องเพ่ือแสดงอารมณ์ความรสู้ ึก ความต้องการของทารก เมือ่ เจริญวัย

3 ข้ึน ทารกจะเรียนรู้การออกเสียงหรือพูดจากการฟัง จดจา และเลียนแบบพฤติกรรม จากนั้นเริ่ม เรียนรูภ้ าษาเขียน โดยการฟังการอา่ นออกเสียง ดังนนั้ ภาษาจึงเปน็ สื่อกลางในการสื่อความหมายของ มนุษย์ที่จะทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจต่อกัน มนุษย์แต่ละคนส่ือสารอยู่ตลอดเวลาท้ังท่ีต้ังใจและไม่ ตั้งใจ โดยการสอ่ื สารผ่านภาษาพูด ภาษาเขยี น และอวัจนภาษาหรอื ท่ีไม่ใชภ่ าษาพดู และเขยี น ปจั เจก บุคคลสื่อสารอยู่ตลอดเวลา ทั้งการส่ือสารภายในบุคคลโดยการคิดหรือพูดกับตนเอง การส่ือสาร ระหว่างบุคคลโดยพูดคุย ทั้งแบบเห็นหน้าและไม่เห็นหน้ากับผู้อื่น การรับรู้ข่าวสารผ่านส่ือต่าง ๆ จึงเห็นได้ว่าทุกกิจกรรมของมนุษย์ต้องอาศัยการสื่อสารในการดาเนินกิจกรรมเหล่าน้ันอยู่ตลอดเวลา มนุษย์ต้องอาศัยทักษะการส่ือสารเป็นเคร่ืองมือในการดารงชีวิตอยู่ในสังคม การพัฒนาตนเอง การศึกษา สุขภาพอนามัย และความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์แต่ละคน แม้แต่ผู้ท่ี บกพร่องทางการพูดหรอื ไดย้ ินยังต้องอาศัยความสามารถด้านอ่นื เพื่อส่ือสารกับผู้อ่นื 2. ความสาคัญตอ่ ครอบครัวและสังคม การส่ือสารเป็นเคร่ืองมือสร้างสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลกับสังคมในระดับต่าง ๆ ท้ังระดับครอบครัว ชุมชน ประเทศ และสังคมโลก โดยอาศัยการส่ือสารเป็นตัวกลางในการทาความ เขา้ ใจอันดรี ะหว่างกนั เพื่อใหม้ นษุ ย์อยรู่ ่วมกนั อย่างสงบสุขเป็นเป้าหมายสาคญั แต่การสือ่ สารบางคร้ัง สามารถทาลายความสัมพันธ์และสร้างผลกระทบต่อบุคคลและสังคม ท้ังโดยต้ังใจและไม่ต้ังใจ ซึ่งจาเป็นต้องมีการศึกษาวิเคราะห์อย่างละเอียดเพื่อให้เกิดความเข้าใจและค้นหาแนวทางปฏิบัติที่ เหมาะสมเพอื่ ลดผลกระทบเชิงลบและสร้างสนั ติสขุ ให้เกดิ กับครอบครวั และสงั คม นอกจากน้ี การสื่อสารยังเป็นเครื่องมือสร้างและถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ภูมิปัญญา ความเชื่อ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม บรรทัดฐาน วิถีชีวิต ระเบียบแบบแผน กฏกติกา กฎหมายจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึง ทาให้มรดกทางสังคมเหล่านี้ ได้รับการปรบั ปรุง พฒั นา ต่อยอด จึงทาใหย้ ังคงอยู่จนถงึ ปัจจุบนั ซง่ึ ขนบธรรมเนียม ค่านยิ มท่ียอมรับ ร่วมกนั ระหวา่ งสมาชิกของครอบครัว ชมุ ชน และสังคมน้ัน ๆ บางครั้งถูกพัฒนาให้กลายเปน็ กฏหมาย เพ่ือควบคุมให้คนในสังคมปฏิบัติตนอยู่ในกฏกติกาท่ีกาหนดและอยู่กันอย่างสงบและสันติ ดังน้ัน การส่ือสารจึงมีส่วนสาคัญในการสร้างและรักษาสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัวและสังคมให้เกิด ความสงบสุข 3. ความสาคัญตอ่ ระบบเศรษฐกจิ การสื่อสารมีความสาคัญต่อระบบการผลิต การกระจายสินค้าและบริการ การซ้ือขาย แลกเปลี่ยน และการจัดสรรและแบ่งปันทรัพยากรในสังคมมาตั้งแต่ยุคระบบเศรษฐกิจแบบการ แลกเปล่ียนส่ิงของระหว่างกันในอดีต ต่อเนื่องมาถึงยุคท่ีใช้ส่ือกลางในการแลกเปล่ียน หากประเทศใด ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความเจริญก้าวหน้าย่ิงต้องอาศัยการสื่อสารเป็นเครื่องมือในการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดความเสมอภาพทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ การกาหนดราคาอย่าง ยตุ ธิ รรม มีเสรภี าพทางเศรษฐกิจ มีความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมท่ีมี การผลิตสินค้าและบริการสาหรับผู้บริโภคกลุ่มมวลชน (Mass Product) จาเปน็ ตอ้ งกระจายสนิ ค้าไปยัง ผู้บริโภคอย่างรวดเร็วและกว้างไกล ดังนั้น การเสนอขายสินค้าจึงต้องอาศัยการสื่อสารเป็นเครื่องมือใน การสื่อสารระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค ได้แก่ การส่ือสารการตลาด การสร้างแบรนด์ การโฆษณา

4 การประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรม การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ เป็นต้น ผ่านช่องทางการส่ือสาร ตา่ ง ๆ ซง่ึ การสอื่ สารการตลาดเหลา่ นี้จะช่วยกระตุ้นให้ผบู้ ริโภคกลุ่มเป้าหมายเกิดพฤตกิ รรมการซื้อ 4. ความสาคัญตอ่ การเมืองการปกครอง ในระบบการปกครองทุกระดับประกอบด้วย นักปกครองและประชาชนท่ีต้องสื่อสาร ระหว่างกันเพ่ือให้ประเทศชาติพัฒนา นักปกครองต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนรับรู้ เข้าใจ เกิดความร่วมมือ ร่วมใจและปฏิบัติตามนโยบายและกฎเกณฑ์ท่ีรัฐกาหนด ในส่วนของรัฐเองก็ต้อง รับทราบความต้องการหรือประชามติของประชาชนเพ่ือไม่ให้เกิดการต่อตา้ นจากภาคประชาชน ในวง การเมืองระหว่างประเทศต้องมีการติดต่อส่ือสารเพ่ือสร้างสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การค้า การทหาร การทาสนธสิ ัญญา การร่วมมือกนั ด้านต่าง ๆ เปน็ ตน้ การเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับประเทศ ของตนเพ่ือสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศอื่น ตลอดจนชักจูงให้ได้รับความสนับสนุนจากประเทศ อ่ืนดว้ ย และไดศ้ กึ ษาถงึ ความรู้สึกนึกคิดของประชาชนในประเทศอื่นท่ีมีต่อประเทศของตน ซง่ึ เหล่าน้ี เปน็ หน้าท่ีของสถานฑูตต่าง ๆ และประชาชนในชาติ นอกจากน้ี การสื่อสารยังมีความสาคัญต่อปัจเจกบุคคล ครอบครัวและสังคมในด้าน การศึกษา ด้านสาธารณสุข ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านต่าง ๆ อีกมากมาย อย่างไรก็ตาม การพัฒนา ทักษะการสื่อสารให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการสื่อสารได้นั้น ผู้เรียนจาเป็นต้องมีความรู้เก่ียวกับ วัตถปุ ระสงค์การสื่อสารเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจและนาไปส่กู ารวเิ คราะหก์ ารสื่อสารได้ วตั ถุประสงค์ของการสอื่ สาร การสื่อสารเป็นกระบวนการท่ีมีวัตถุประสงค์การส่ือสาร ซ่ึงการสื่อสารแต่ละคร้ังผู้ส่งสาร และผู้รับสารอาจจะมีวัตถุประสงค์ท่ีสอดคล้องกันหรือไม่สอดคล้องกันก็ได้ วัตถุประสงค์ของการ ส่อื สารมดี ังนี้ 1. เพื่อให้ข้อมูลหรือแจ้งให้ทราบ การส่ือสารท่ีผู้ส่งสารต้องการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้รับ สารเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ส่วนผู้รับสารทาการสื่อสารเพื่อรับรู้หรือรับทราบข้อมูลข่าวสารท่ี เป็นข้อมูลใหม่ หากข้อมูลนั้นผู้รับสารรู้อยู่แล้วก็เป็นการยืนยันความถูกต้องของข้อมูล เป็นการสร้าง ความม่นั ใจให้แกผ่ ู้รบั สาร 2. เพื่อการเรียนรู้ การสื่อสารท่ีผู้ส่งสารต้องการสอนหรือให้ความรู้เพื่อให้ผู้รับสาร มีความรู้เพ่ิมข้ึน หรือเกิดความคิดท่ีนาไปแก้ไขปัญหาหรือเกิดการพัฒนาตนเอง ส่วนผู้รับสารส่ือสาร เพื่อแสวงหาความรูห้ รือเรยี นรหู้ รอื ศึกษา ทาใหผ้ ูร้ ับสารเกดิ การเรยี นรเู้ พิม่ ข้นึ 3. เพ่ือความพึงพอใจหรือความบันเทิง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารต้องการสร้างความพึงพอใจ ใหก้ บั ตนเองหรอื ทาให้ผรู้ ับสารเกดิ ความพงึ พอใจจากการรบั ข้อมลู ข่าวสารนน้ั ๆ เปน็ ผลที่เกดิ ต่อจิตใจ หรอื ความรู้สึกของผสู้ ง่ สารหรือผู้รับสาร เพอ่ื พักผ่อน คลายเครยี ด สร้างความสนุกสนาน 4. เพ่ือชักจูงใจหรือตัดสินใจ การสื่อสารที่ผู้ส่งสารต้องการให้ผู้รับสารเกิดพฤติกรรมหรอื เปล่ียนแปลงพฤติกรรมหรือความคดิ หรือทัศนคตบิ างอย่างตามทผ่ี ้สู ่งสารต้องการ สว่ นผ้รู บั สารส่อื สาร เพ่อื ใช้ข้อมูลประกอบการตัดสนิ ใจหรอื กระทาบางสิ่งบางอยา่ ง

5 การสอื่ สารแตล่ ะคร้ัง หากวตั ถปุ ระสงคใ์ นการส่ือสารของผ้สู ง่ สารและผู้รบั สารตรงกันหรือ สอดคล้องกนั ดงั ตารางที่ 1.1 การสอื่ สารคร้ังนนั้ จะประสบความสาเร็จ ตารางท่ี 1.1 วตั ถุประสงค์ของผู้ส่งสารและผรู้ ับสารที่สอดคล้องกัน วัตถปุ ระสงคข์ องผู้ส่งสาร วตั ถุประสงคข์ องผูร้ บั สาร 1. เพื่อให้ข้อมูล/แจ้งใหท้ ราบ 1. เพ่ือรบั รู้ 2. เพอื่ ให้การเรยี นรู้ 2. เพอ่ื เรยี นรู้ 3. เพือ่ สร้างความพงึ พอใจ/ความบนั เทงิ 3. เพ่อื ความพงึ พอใจ/ความบันเทงิ 4. เพื่อชกั จงู ใจ 4. เพือ่ ตดั สนิ ใจ ทม่ี า: ปรับปรงุ จาก ปรมะ สตะเวทิน (ม.ป.ป.) หากวัตถปุ ระสงค์ของผสู้ ่งสารกับผรู้ ับสารไม่ตรงกนั หรือสอดคล้องกัน การสือ่ สารครงั้ นั้นก็ ล้มเหลว (Communication Breakdown) โดยสังเกตจากปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) และ ปฏิกิริยาท่ีผูส้ ง่ สารและผูร้ ับสารมตี ่อกัน (Interaction) ตวั อยา่ ง ผผู้ ลิตสนิ คา้ โฆษณาสินค้าเพอื่ ชกั จูงใจ ให้ผู้รับสารซื้อสินค้า ผู้รับสารบางคนชื่นชอบผ้นู าเสนอ (Presenter) จึงตั้งใจดูแต่ไม่ซื้อสินค้า เป็นตน้ อย่างไรก็ตาม ผลสัมฤทธิ์ของการสื่อสารบางคร้ังไม่เกิดข้ึนแบบทันทีทันใดหรือไม่เกิดขึ้นโดยตรง อาจเป็นผลทางอ้อม โดยผู้รับสารเก็บขอ้ มูลหรือสารน้ันไว้ใชป้ ระโยชน์ในอนาคต กระบวนการสอ่ื สารในสภาพแวดล้อมท่หี ลากหลาย ในปี ค.ศ. 1960 เดวิด เบอร์โล (David Berlo) ไดน้ าแบบจาลองการสื่อสารของแชนนอน และวีเวอร์ (The Shannon - Weaver Model) มาพัฒนาเป็นแบบจาลองการสื่อสารของเบอร์โล (Berlo’s SMCR Model of Communication) โดยมีองค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร ได้แก่ ผู้ส่งสารหรือแหล่งสาร สาร ช่องทาง และผู้รับสาร (Businesstopia in Communication, 2018) ดังภาพท่ี 1.2 ผู้สง่ สาร สาร ชอ่ งทาง ผ้รู ับสาร (Sender) (Message) (Channel) (Receiver) ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนอง (Feedback) ภาพท่ี 1.2 กระบวนการส่ือสาร ทม่ี า: ดัดแปลงจาก“Berlo’s SMCR Model of Communication,” by Businesstopia in Communication (2018)

6 กระบวนการส่ือสารเรมิ่ ตน้ จากผู้ส่งสาร (Sender) ได้แก่ ผูพ้ ูด ผู้เขียน ทาหน้าทถี่ ่ายทอด ข้อมูลข่าวสาร (Message) ได้แก่ ความคิด ความรู้สึก ความรู้ ถ้อยคา โดยผ่านช่องทาง (Channel) ได้แก่ อากาศ กระดาษ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ส่ือออนไลน์ สื่อต่าง ๆ ส่งไปยังผู้รับสาร (Receiver) ได้แก่ ผู้ฟงั ผู้อ่าน ซ่ึงกระบวนการสื่อสารลักษณะนเ้ี ปน็ การสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) หากมีการส่ือสารกลับ (Feedback) จากผู้รับสารกลับมายังผู้ส่งสาร จะกลายเป็นการสื่อสารสองทาง (Two-way Communications) ทั้งนี้ กระบวนการส่ือสารน้ันเกิดขึ้นภายใต้ภาวะที่มีสิ่งต่าง ๆ หลากหลาย องคป์ ระกอบการสือ่ สารในสภาพแวดลอ้ มทหี่ ลากหลาย เบอร์โลได้อธิบายรายละเอียดขององค์ประกอบการสื่อสารทั้งสี่ตัว ได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร ช่องทาง และผ้รู ับสาร (Businesstopia in Communication, 2018) เพ่มิ เตมิ ไว้ดังน้ี 1. ผู้ส่งสาร (Sender) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีทาหน้าที่ส่งสารไปยังบุคคลหน่ึงจะโดย ต้ังใจหรือไม่ต้ังใจก็ตาม ผู้กระตุ้น (Stimulus) ท่ีทาให้เกิดการตอบสนอง (Response) จากผู้รับสาร ทั้งนี้ การส่งสารจะสัมฤทธ์ิผลหรือไม่ข้ึนอยู่กับปัจจัยภายในตัวผู้ส่งสาร ได้แก่ ทักษะในการส่ือสาร ทัศนคติ ความรู้ ระดับของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายจะมีผู้ส่งสารที่มี ปจั จัยภายในตัวผ้สู ง่ สารทีแ่ ตกต่างกัน ท่ีผู้ทาการสอ่ื สารตอ้ งเข้าใจเพอื่ ให้การสือ่ สารสัมฤทธ์ผิ ล 2. สาร (Message) เปน็ ส่ิงเรา้ ท่ผี สู้ ง่ สารหรอื แหล่งสารสง่ ออกไปยังผรู้ ับสารในรูปของรหัส สาร (Message Code) (ได้แก่ ภาษาพูดหรือเขียน รูป สัญลักษณ์ ท่าทางที่มีความหมาย) เนื้อหาสาร (Message Code) (ได้แก่ สาระเรื่องราวของสารที่ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความรู้สึก เจตนารมณ์ วัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร) และการจัดสาร (Message Treatment) (ได้แก่ การเรียบเรียงรหัสและ เนอ้ื หาสารตามรูปแบบทีผ่ ้สู ่งสารเลือกใช้) ซ่ึงการสื่อสารในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายทผ่ี ้สู ่งสารและ ผู้รับสารมีความแตกต่างกัน มีรหัสสารหรือภาษาพูดหรือเขียนท่ีแตกต่างกัน ที่ผู้ทาการส่ือสารต้องรู้ เข้าใจ และเลอื กใชส้ ารอย่างถกู ต้องเหมาะสมการส่ือสารจงึ จะประสบความสาเร็จ 3. ช่องทาง (Channel) เป็นตัวกลางนาสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารหรือที่เรียกว่าสื่อ (Media) (ได้แก่ คลื่นแสง คลื่นเสียง กระดาษ ฯลฯ) หรือเป็นพาหนะของสิ่งที่นาสารไปสู่ประสาทรับ ความรู้สึกท้ัง 5 ของผู้รับสาร (ได้แก่ อากาศ) ในสังคมปัจจุบันและอนาคตมีการพัฒนาเทคโนโลยีการ ส่ือสารอย่างต่อเนื่องจงึ เกิดช่องทางการสื่อสารใหม่ ๆ เพ่ิมขึ้นตลอดเวลา และการหายไปของช่องทาง การส่ือสารบางช่องทางท่ีไม่ได้รับความนิยม ดังนั้น ผู้สื่อสารจึงจาเป็นต้องเรียนรู้การใช้ช่องทางการ สื่อสารใหม่ ๆ อยู่เสมอ ผู้ส่ือสารต้องรคู้ ุณสมบตั ิ ลักษณะ ข้อดี ขอ้ ด้อยของช่องทางการสื่อสาร เพ่อื ให้ สามารถเลือกใช้ช่องทางการส่ือสารได้อย่างเหมาะสมกับผู้ส่งสาร ผู้รับสาร สาร ปฏิกิริยาตอบกลับ และสง่ิ แวดลอ้ ม เพราะชอ่ งทางการสือ่ สารกเ็ ป็นอีกปัจจัยที่มผี ลตอ่ ความสาเรจ็ ของการสื่อสาร 4. ผู้รับสาร (Receiver) ผู้ท่ีรับสารจากบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มบุคคลหนึ่ง เม่ือได้รับสารแล้ว ผู้รับสารจะทาการตีความและการตอบสนอง ทั้งโดยต้ังใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม และส่งปฏิกิริยา ตอบสนองกลับไปให้ผู้ส่งสาร ทั้งน้ี การรับสารจะสัมฤทธ์ิผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับลักษณะส่วนบุคคลของ ผู้รับสาร ได้แก่ คุณลักษณะทางกายภาพ และทางจิตวิทยา ซ่ึงในสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลายจะมี

7 ผรู้ ับสารท่ีมลี กั ษณะส่วนบุคคลท่ีแตกต่างกนั ท่ผี ูท้ าการสือ่ สารตอ้ งทาความเขา้ ใจเพ่ือให้การส่ือสารนั้น สัมฤทธ์ิผล 5. ปฏิกิริยาตอบสนอง (Feedback) เป็นสารที่ผู้รับสารส่งกลับไปยังผู้ส่งสาร ภายหลัง จากการรับสารและตีความสารท่ีได้รับแล้ว ท้ังนี้ เป็นได้ท้ังวัจนภาษาและอวัจนภาษา อาจเกิดข้ึนจาก ความตั้งใจหรือไม่ต้ังใจก็ได้ เกิดข้ึนโดยตรงหรือโดยอ้อมก็ได้ เกิดขึ้นโดยทันทีหรือผ่านไประยะเวลา หนึ่งหลังการรับสารแล้วระยะหนึ่ง มีทั้งแสดงออกให้เห็นและไม่แสดงออกให้เห็น ในสภาพแวดล้อมที่ หลากหลายมีผู้รับสารที่มีปัจจัยภายในตัวของผู้รับสารท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น ปฏิกิริยาตอบสนองกลับ จากผู้รับสารจึงแตกต่างด้วยเชน่ กัน ซ่ึงผู้รับสารจาเป็นตอ้ งรู้ เข้าใจ และต้ังรับอย่างเหมาะสมจึงจะทา ให้การส่อื สารนน้ั ราบรน่ื และประสบความสาเรจ็ ได้ 6. สภาพแวดล้อม (Environment) ท่ีหลากหลาย เป็นสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวผู้ส่ือสาร ทั้งที่เป็นนามธรรมและรูปธรรมที่เกิดข้ึนโดยธรรมชาติและส่ิงท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ท้ังส่ิงที่มีชีวิตและไม่มี ชีวิต ท่ีมีอิทธิพลเกี่ยวข้อง สัมพันธ์ เชื่อมโยง ส่งเสริมหรือส่งผลกระทบต่อกระบวนการส่ือสารทั้งโดย ทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ เพศ วัย เชื้อชาติ เผ่าพันธ์ุ สังคม เศรษฐกิจ การปกครอง การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ความเช่ือ ฯลฯ ของผู้ส่งสาร ผู้รับสาร และสังคมท่ีมีความ แตกต่างกัน แม้ว่าสภาพแวดล้อมที่หลากหลายจะเป็นองค์ประกอบในกระบวนการส่ือสารท่ีส่วนใหญ่ จะควบคมุ ไม่ได้ แตผ่ ูส้ อ่ื สารจาเป็นต้องรู้และเข้าใจเพื่อใหส้ ามารถเลือกผู้ส่งสาร ผรู้ บั สาร เลือกใช้สาร และช่องทางการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมทหี่ ลากหลาย ประเภทของการสื่อสารในสภาพแวดลอ้ มท่ีหลากหลาย การจาแนกประเภทการสอ่ื สารมีเกณฑ์การจาแนกหลายเกณฑ์ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ ผกู้ าหนดเกณฑน์ ้ัน ๆ ในทีน่ ข้ี อนาเสนอเฉพาะเกณฑ์ทสี่ าคญั 2 เกณฑ์ ดังนี้ 1. การจาแนกประเภทตามจานวนผู้สื่อสาร จานวนผู้ส่ือสารเป็นปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลต่อการเลือกใช้สาร และช่องทางการสื่อสาร ดังน้ัน จึงจาแนกประเภทการสื่อสารตามจานวนผู้ส่ือสาร ได้แก่ การส่ือสารภายในบุคคล การส่ือสาร ระหวา่ งบุคคล การสื่อสารกลุ่มย่อย การสอื่ สารกลมุ่ ใหญ่ การสอ่ื สารในองค์กร และการสอ่ื สารมวลชน (University of Minnesota, 2015) ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1.1 การส่ือสารภายในบุคคล (Intrapersonal Communication) เป็นการส่ือสาร ภายในคนหน่ึงคนท่ีทาหน้าที่เป็นท้ังผู้รับสารและผู้ส่งสาร เป็นการส่ือสารกับตนเอง ได้แก่ การคิด การพูดกับตนเอง การท่องหนังสือ การจดบันทึก การร้องเพลงฟังคนเดียว เป็นต้น เป็นการสื่อสารขน้ั แรกของมนษุ ยท์ ุกคนท่ีต้องมีการสื่อสารกับตนเองอยู่เกอื บตลอดเวลาท้ังที่ตงั้ ใจและไม่ตงั้ ใจ แมก้ ระท่ัง เวลาหลบั คนเราก็ยงั ฝนั หรอื ละเมอ เปน็ ตน้ 1.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) เป็นการส่ือสาร ระหว่างบุคคลจานวน 2 คน แบบตัวต่อตัว (Personal to Personal) เป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน โดยตรง ท้ังน้ีอาจเป็นการส่ือสารแบบเห็นหน้า (Face to Face Communication) หรือเห็น อากัปกิริยาของท้ังคู่ เช่น การพูดคุยระหว่างคนสองคน เป็นต้น หรือเป็นการสื่อสารแบบมีส่ิงกั้น

8 (Interposed Communication) เนื่องจากอยู่ไกลกันหรือต่างสถานท่ีหรือต่างเวลาจึงต้องใช้สื่อเป็น ตัวกลาง เชน่ จดหมาย โทรศพั ท์ อีเมล การส่งข้อความผา่ นโทรศพั ท์หรอื อนิ เทอรเ์ น็ต เป็นต้น 1.3 การสื่อสารกลุ่มเล็ก (Small Group Communication) การส่ือสารท่ีมีจานวน คนตัง้ แต่ 3 - 20 คน สว่ นใหญ่จะมีลักษณะแบบเห็นหน้ากนั มกั อยูใ่ นสถานท่เี ดียวกัน เปน็ การส่อื สาร แบบตัวต่อตัวระหว่างผู้สง่ สารกบั ผู้รบั สารโดยตรง มขี ้อจากดั ในการสื่อสารโต้ตอบระหว่างกันมากกว่า การสื่อสารระหว่างบุคคล 2 คน โดยมากมักมีผู้ส่งสารหลักจานวนน้อย แต่มีผู้รับสารจานวนมาก สลับกันเป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารตามบทบาทของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารหรือความคิดเห็น ระหวา่ งกัน เช่น การเรยี นในช้ันเรียน การประชุม สัมมนากลมุ่ ยอ่ ย เปน็ ต้น 1.4 การสื่อสารกลุ่มใหญ่ (Large Group Communication) การส่ือสารท่ีมีจานวน คนตั้งแต่ 20 คนขึ้นไป อยู่ในสถานที่เดียวกันหรือบริเวณใกล้เคียง ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีโอกาส การสื่อสารแบบตัวต่อตวั นอ้ ย มขี ้อจากัดในการแลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสารกันโดยตรง 1.5 การสื่อสารในองคก์ ร (Organization Communication) เป็นการส่ือสารระหวา่ ง สมาชิกในองค์กรหน่ึง ๆ เพื่อปฏิบัติงานตามเป้าหมาย สมาชิกแต่ละคนจะมีบทบาทแตกต่างกันตาม หน้าที่ ลักษณะการสื่อสารในองค์กรมี 3 ระดับ ได้แก่ 1) การส่ือสารระหว่างผู้บังคับบัญชากับ ผู้ใต้บังคับบัญชา (Upward and Downward Communication) 2) การสื่อสารระหว่างผู้ร่วมงาน ระดับเดียวกัน (Horizontal Communication) เป็นการส่ือสารในแนวนอนระหว่างผู้ร่วมงานระดับ เดียวกัน 3) การส่ือสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานท่ีอยู่คนละสายงานกัน และต่างระดับกัน (Diagonal Communication) นอกจากนี้ ปัจจุบันยังมีการสื่อสารในองค์กรแบบผสม โดยอาศัยช่องทางการ ส่ือสารออนไลน์ ส่ือสังคมออนไลน์ เป็นช่องทางการส่ือสารร่วมกันในองค์กร ท่ีมีท้ังผู้บังคับบัญชาและ ผู้ปฏิบัติงานส่ือสารร่วมกันในช่องทางเดียวกัน ตัวอย่าง คณะวิทยาการจดั การใช้โปรแกรมไลน์ (Line) ในการส่ือสารกับบุคลากรภายในคณะ 1.6 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เป็นการสื่อสารระหว่างแหล่งสาร ทเ่ี ป็นบคุ คลหรอื กลมุ่ บุคคลหรอื องค์กรกับคนจานวนมากทอี่ ยู่ต่างสถานที่ กระจดั กระจายกัน หรือตา่ ง เวลากัน ส่งสารในเวลาเดียวกันหรือใกล้เคียงกันโดยใช้สื่อมวลชนเป็นช่องทางการส่ือสาร เช่น หนงั สือพมิ พ์ นติ ยสาร วารสาร วิทยุ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นตน้ 2. การจาแนกตามการใชภ้ าษา จาแนกประเภทการส่ือสารตามการใช้ภาษา 2 ประเภท ได้แก่ การสื่อสารเชิงวัจนะ ภาษา และการสื่อสารเชงิ อวัจนภาษา (Communication Theory, 2014) ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 2.1 การสื่อสารเชิงวัจนะภาษา (Verbal Language Communication) เป็นการใช้ ภาษาพดู หรอื ภาษาเขยี นในการส่ือสาร รวมถงึ อกั ษรเบล ภาษามือของผ้พู ิการทางหูดว้ ยเช่นกัน 2.2 การสอื่ สารเชิงอวัจนภาษา (Nonverbal Language Communication) เป็นการ ส่ือสารโดยไม่ใช้ภาษาพูดหรือเขียน แต่สื่อสารผ่านรหัสหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ แฟรมลิ่ง และคณะ (Froemling, Grice & Skinner, 2011) ได้แบ่งประเภทการส่ือสารเชิงอวัจนภาษาไว้หลายประเภท ได้แก่ 1) ปริภาษา หมายถึง น้าเสียง การเปล่งเสียง 2) ระยะห่างระหว่างบุคคลท่ีทาการส่ือสารกัน สามารถแสดงสถานะหรือความสนิทสนมได้ 3) ส่ิงของ วัตถุต่าง ๆ ที่บุคคลใช้หรือบริโภคบ่งบอก ลักษณะและบุคลิกของผู้ใช้ได้ 4) รูปร่างหน้าตา ภาพลักษณ์ท่ีปรากฏ 5) กริยาอาการ สีหน้า ท่าทาง

9 การสมั ผัส 6) การส่อื สารดว้ ยสายตา สื่อถึงอารมณแ์ ละความรสู้ ึกไดเ้ ป็นอย่างดี สามารถสอ่ื ถงึ ปฏกิ ิริยา สะท้อนกลับ ความสนใจต่อผู้พูด 7) ความเงียบ ส่ือได้ถึงช่วงเวลาคิดของผู้พูด การตอบกลับบางอย่าง ของบุคคล ความเงียบบางครั้งไม่ได้แปลว่าไม่มีอะไรที่จะสื่อสารเสมอไป บางครั้งเป็นการสื่อสาร 8) กาลภาษา เป็นการใช้เวลาในการส่ือความหมาย 9) สัมผัส เป็นการใช้การสัมผัสในการส่ือสาร แสดงอารมณ์ การควบคมุ 10) กลน่ิ การใช้กลิน่ ในการสื่อสาร การพัฒนาทกั ษะการส่ือสารภาษาไทยอยา่ งมีประสิทธภิ าพ การส่ือสารในยุคที่เทคโนโลยีการส่ือสารเปล่ียน ส่งผลให้พฤติกรรมการส่ือสารของคนใน สังคม และสื่อเปลี่ยนตามไปด้วย แต่ไม่ว่าเทคโนโลยีจะเปล่ียนแปลงอย่างไรก็ตาม มนุษย์ก็ยังคงรับรู้ ส่ิงกระตุ้นต่าง ๆ ผ่านประสาทสัมผัสท้ัง 5 ทั้งนี้ มนุษย์จะให้ความสาคัญกับการพัฒนาทักษะด้าน ภาษาเป็นอันดับต้น ๆ เน่ืองจากภาษาเป็นสัญลักษณ์ท่ีสร้างการรับรู้ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ มากกว่าส่ิงกระตุ้นอ่นื ๆ ดังน้ัน การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาไทยให้เกิดประสิทธิภาพจึงเป็นส่ิงสาคัญ ท่ีจาเป็นต้องพัฒนาทักษะการรับสาร ได้แก่ การฟังและการอ่าน และพัฒนาทักษะการส่งสาร ได้แก่ การพูดและการเขียนให้สอดคล้องเหมาะสมกับพฤติกรรมการส่ือสารภายใต้สภาพแวดล้อมท่ี หลากหลาย ซึ่งในรายวิชาน้ีจะเน้นพัฒนาทักษะการส่ือสารของผู้เรียน เพ่ือให้สามารถสื่อสาร ภาษาไทย ท้ังการฟัง อ่าน พูด เขียนในสภาพส่ิงแวดล้อมและสังคมท่ีหลากหลายเช่นในปัจจุบัน ทผ่ี ู้เรยี นต้องเข้าใจความเปล่ียนแปลง รเู้ ท่าทันกระบวนการส่ือสาร เปน็ ผู้สง่ สารท่ีดี สรา้ งสรรค์เน้ือหา สารท่ีตรงใจผู้รับสารและสร้างสรรค์สังคม รู้เท่าทันเทคโนโลยีการส่ือสารท่ีเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ สามารถเลอื กใชช้ ่องทางการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม รับสารได้อย่างรู้เท่าทันผู้ส่งสารหรือร้เู ท่าทันส่ือ ทาใหก้ ารสื่อสารมปี ระสิทธิภาพและสมั ฤทธ์ิผลตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ สรปุ มนุษย์อาศัยรวมกันเป็นกลุ่มจึงใช้การสื่อสารเป็นเครื่องมือสร้างสัมพันธ์ระหว่างกัน การ สื่อสารในสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลาย คือ กระบวนการถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความรู้สึก ข้อมูล ถ้อยคา หรือการแสดงพฤติกรรมจากผู้ส่งสารหรือแหล่งสาร ผ่านช่องทางการส่ือสารไปยังผู้รับสาร ภายใต้ภาวะท่มี สี ่งิ ตา่ ง ๆ หลากหลาย การสอ่ื สารเป็นเคร่ืองมือสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ในสภาพแวดล้อมทห่ี ลากหลาย ได้แก่ 1) ความสาคญั ตอ่ ปจั เจกบุคคล 2) ความสาคัญต่อครอบครัวและสงั คม 3) ความสาคญั ต่อระบบ เศรษฐกจิ และ 4) ความสาคัญต่อระบบการเมอื งการปกครอง ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีวัตถุประสงค์ในการสื่อสารหลากหลาย ได้แก่ 1) เพื่อให้ข้อมูลหรือ แจ้งให้ทราบ 2) เพ่ือให้การเรียนรู้ 3) เพ่ือสร้างความพึงพอใจหรือความบนั เทิง 4) เพ่ือชักจูงใจ หากผู้ สง่ สารและผู้รับสารมีวัตถปุ ระสงค์การสอื่ สารท่สี อดคล้องกันจะทาใหก้ ารส่อื สารครัง้ นัน้ สัมฤทธิ์ผล

10 กระบวนการสื่อสารในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย เป็นกระบวนการถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร ความคิด ความรู้สึก ความรู้จากผู้ส่งสาร โดยผ่านช่องทางการส่ือสารไปยังผู้รับสาร เป็นการ ส่ือสารทางเดียว หากมีการสื่อสารกลับจากผู้รับสารกลับมายังผู้ส่งสาร เป็นการส่ือสารสองทาง ซึง่ กระบวนการส่ือสารดังกลา่ วเกิดขึน้ ภายใตภ้ าวะทม่ี สี งิ่ ต่าง ๆ หลากหลาย องคป์ ระกอบการส่อื สารในสภาพแวดล้อมทห่ี ลากหลาย ประกอบด้วย 1) ผู้สง่ สาร 2) สาร 3) ช่องทางการสื่อสาร 4) ผ้รู บั สาร 5) ปฏกิ ิรยิ าตอบสนอง และ 6) สภาพแวดล้อม ประเภทการสื่อสารมีเกณฑ์การจาแนกท่ีสาคัญ 2 เกณฑ์ 1) การจาแนกตามจานวน ผู้สื่อสาร ได้แก่ การสื่อสารภายในบุคคล การส่ือสารระหว่างบุคคล การสื่อสารกลุ่มเล็ก การส่ือสาร กลุ่มใหญ่ การสื่อสารในองค์กร และการสื่อสารมวลชน 2) การจาแนกตามการใช้ภาษา ได้แก่ การส่อื สารเชิงวัจนะภาษา และการส่ือสารเชงิ อวจั นภาษา การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาไทยให้เกิดประสิทธิภาพ โดยพัฒนาทักษะการรับสาร ได้แก่ การฟังและการอ่าน และทักษะการส่งสาร ได้แก่ การพูดและการเขียน ให้สอดคล้องเหมาะสม กบั พฤติกรรมการสื่อสารภายใต้สภาพแวดลอ้ มทห่ี ลากหลาย คาถามทบทวน 1. จงบอกความหมายของการสือ่ สารในสภาพแวดลอ้ มทห่ี ลากหลาย 2. จงอธบิ ายความสาคญั ของการส่ือสารในสภาพแวดลอ้ มทหี่ ลากหลาย 3. จงอธบิ ายกระบวนการและองคป์ ระกอบสื่อสารในสภาพแวดล้อมทห่ี ลากหลาย 4. จงบอกประเภทการสอื่ สารมา 1 เกณฑ์ 5. จงบอกแนวทางการพัฒนาทกั ษะการสื่อสารภาษาไทยของตนเองมา 1 แนวทาง กจิ กรรมทบทวน 1. ผู้เรียนนาเสนอปัญหาการสื่อสารท่ีพบในชีวิตประจาวัน คิดแยกแยะองค์ประกอบ การส่ือสารท่ปี รากฏในปัญหาดังกลา่ ว 2. ผเู้ รียนคดิ หาสาเหตหุ รอื เหตุผลของปัญหาการส่ือสาร และคิดหาแนวทางแกไ้ ข 3. ผเู้ รียนสรปุ เนอ้ื หาความรทู้ ไ่ี ด้จากการเรียนในสปั ดาหน์ ้ี

11 เอกสารอา้ งองิ ปรมะ สตะเวทิน. (ม.ป.ป.). หลักนเิ ทศศาสตร์. ร่งุ เรืองสาส์นการพมิ พ.์ ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. https://dictionary.orst.go.th/ Businesstopia in Communication. (2018 ,January 6). Berlo’s SMCR Model of Communication. https://www.businesstopia.net/communication/berlo- model-communication Communication Theory. ( ,2014February 3). Types of Communication. https://www.communicationtheory.org/types-of-communication/ Froemling, K. K., Grice, G. L. & Skinner, J. F. (2011). Communication the handbook. Pearson Education. Rosengren, K. E. (2000). Communication an Introduction. SAGE Publications. University of Minnesota. (2013). Communication in The Real World. https://open.lib.umn.edu/communication/part/chapter-1-introduction-to- communication-studies/

12

13 บทท่ี 2 การรบั สารเพ่อื สร้างความเข้าใจ การฟงั โดยพิจารณา การฟังโดย ความหมายและความสาคญั การจับใจความ การอา่ นอย่างมี การอ่านเพือ่ จากกระบวนการ พจิ ารณาจาก ของการฟังและการอา่ น สาคญั วิจารณญาณ ประเมินคณุ คา่ สอ่ื สาร การตอบสนองของ การรับสารแบง่ ตาม การตีความ เทคนคิ การอา่ น การวิเคราะห์ ผูฟ้ งั เป็นหลกั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการสอื่ สาร ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ทกั ษะการฟัง วธิ เี พ่ิมทักษะการรบั สาร Concept Mapping อยา่ งเขา้ ใจ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพตนเอง Concept Mapping CLO 1 CLO 2 สามารถวเิ คราะห์องคป์ ระกอบ สามารถใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร กระบวนการสื่อสาร ในชีวติ ประจาวนั และการประกอบอาชีพ ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม ภาพท่ี 2.1 การรับสารเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ การดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์ในปัจจุบนั อาจกล่าวได้ว่าเราใช้ทักษะการรับสารจาก การฟังและอ่านมากพอ ๆ กัน ท้ังเรื่องที่สาคัญและจาเป็น เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต มีผ้เู ข้าใจวา่ คนแตล่ ะคนมสี มรรถภาพการฟังอยู่แลว้ โดยธรรมชาติ ไม่จาเปน็ ต้องฝึกฝนความจริงไม่เป็น เช่นนั้นผู้ที่ผ่านการฝึกทักษะการฟังหรือการอ่านจะมีทักษะสูงกว่าผู้ที่ไม่ได้ฝึกฝนเป็นอันมาก ถ้าจะ ทดสอบโดยวิธีขอให้เล่าเรื่องท่ีได้ฟังหรืออ่านมา ผู้ที่ได้ฟังหรืออ่านบางคนเล่าได้เน้ือความครบถ้วน บางคนเล่าได้เพียงครึ่งเดียวและมีบางคนเล่าขัดแย้งกันเองจะเห็นได้ว่าสมรรถภาพโดยธรรมชาติของ การฟังหรืออ่านไม่ได้มีไม่เท่ากัน แต่อาจเพ่ิมพูนขึ้นได้โดยการฝึกฝน ซึ่งอาจต้องใช้เวลายาวนาน หรือ อาจกล่าวได้ว่าต้องฝึกฝนตลอดชีวิตเพราะในเวลาที่เรามีอายุมากขึ้น จะต้องฟังหรืออ่านเร่ืองราวท่ี ซบั ซอ้ นและสาคญั มากขึ้นไป

14 ความหมายและความสาคญั ของการฟงั และการอา่ น การฟัง คือ การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการฟังและเป็น เพียงการกระทบกันของเสียงกบั ประสาทหตู ามปกติ จึงเป็นการใช้ความสามารถทางร่างกายโดยตรง การอา่ น คอื การรับรู้ความหมายจากถอ้ ยคาที่ปรากฏเปน็ ลายลกั ษณ์อักษรในส่ิงพิมพ์หรือ ในหนังสือ เป็นการรับรู้ว่าผู้เขียนคิดอะไรและพูดอะไร โดยเริ่มต้นทาความเข้าใจถ้อยคาแต่ละคา เขา้ ใจวลี เขา้ ใจประโยค ซึง่ รวมอยู่ในยอ่ หน้า เข้าใจแต่ละยอ่ หน้า ซึง่ รวมเปน็ เรื่องราวเดยี วกนั ความสาคญั ของการฟังและการอ่าน 1. ทาให้ไดร้ บั ความร้เู พมิ่ มากข้นึ 2. ใหแ้ งค่ ิด ทาให้เกดิ ความคิดกว้างไกล 3. ทาใหเ้ กิดการพัฒนาตนเอง 4. การฟังเป็นการสรา้ งความเข้าใจอนั ดรี ะหว่างกัน 5. ใหค้ วามบนั เทิงก่อให้เกดิ ความเพลิดเพลินจากสง่ิ ที่ได้ฟังและอ่าน การรับสารแบง่ ตามวตั ถุประสงค์ในการสื่อสาร ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้า ทาให้มนุษย์ใช้ทักษะการรับสารมากข้ึน ในอดีต ประเภทของการรับสารมีลักษณะเป็นเพียงการส่ือสารระหว่างบุคคลหรือกลุ่มชน แต่ปัจจุบันมีการ ขยายตัวของสังคม เทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้าส่งผลให้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้ามามีบทบาทสาคัญ ต่อการรับสารอย่างย่ิงทาให้ประเภทของการรับสารหลากหลายมากขึ้น ประเภทของการรับสาร สามารถสรปุ ได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. การรับสารโดยพิจารณาจากกระบวนการสื่อสาร สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 1.1 การรับสารในรูปแบบของการส่ือสารทางเดียว การฟังและการอ่านในลักษณะ ของการสือ่ สารแบบทางเดียวเปน็ การรับสารทถ่ี า่ ยทอดผา่ นสื่อตา่ ง ๆ โดยไมม่ กี ารส่อื สารกลบั ผู้ส่งสาร สาร สื่อ ผรู้ บั สาร ปัจจยั ภายนอกการสื่อสาร ภาพที่ 2.2 แสดงการรบั สารทางเดยี ว

15 1.2 การรับสารในรูปแบบของการส่ือสารแบบสองทาง การรับสารในลักษณะนี้มี กระบวนการขั้นต้นเหมือนกับการรับสารในรูปแบบของการสื่อสารทางเดียว แต่ต่างการตรงที่การรับ สารแบบการสื่อสารสองทางน้ัน ผู้รบั สารสามารถส่ือสารกลับได้ (Feedback) ผู้ส่งสาร สาร ส่อื ผู้รบั สาร ปฏกิ ริ ิยาตอบสนอง ปจั จัยภายนอกการส่อื สาร ภาพที่ 2.3 แสดงการรบั สารสองทาง 2. การรับสารโดยพิจารณาจากการตอบสนองของผู้รับสารเป็นหลัก การรับสาร ทพี่ ิจารณาจากการตอบสนองของผรู้ ับสารแบ่งได้เป็น 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี 2.1 การรับสารโดยผู้รับสารมีส่วนร่วมโดยตรงในการสื่อสาร เป็นการสื่อสารท่ีบุคคล มบี ทบาทโดยตรงในฐานะเปน็ ผ้รู บั สารและผู้สง่ สาร แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ ดังน้ี - การรับสารจากการสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นการส่ือสารขั้นพ้ืนฐานของ มนษุ ย์ เปน็ การสอื่ สารท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน บคุ คลท่สี ื่อสารมจี านวนไมเ่ กนิ 2 คน - การรับสารจากการสื่อสารภายในกลุ่ม เป็นการสื่อสารที่มีบุคคลเข้าร่วม ส่ือสารมากกว่า 3 คน ไม่จากัดจานวนบุคคลในกลุ่ม ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับโอกาส สถานท่ี และเครื่องอานวย ความสะดวก 2.2 การส่ือสารโดยผู้ฟังไม่มีส่วนร่วมโดยตรงในการส่ือสาร เป็นการรับสารผ่าน ส่อื สาธารณะ มีขนาดกลุ่มใหญก่ วา่ การสื่อสารภายในกลุม่ แบง่ ออกเปน็ - การรับสารในการส่ือสารกลุ่มใหญ่ การส่ือสารประเภทน้ีเป็นการรับสารจาก สื่อสาธารณะ ลักษณะของการสือ่ สารมักจะแยกอยา่ งชดั เจนว่าใครเปน็ ผ้สู ง่ สารและใครเป็นผ้รู ับสาร - การรับสารจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการรับส่ือผ่านเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิทยุ โทรทศั น์ ภาพยนตร์ วิดีทัศน์ อินเทอรเ์ นต็ ฯลฯ ทีผ่ ู้ฟังสามารถเลือกฟงั ไดต้ ามความต้องการ ของตนมากกว่าการสือ่ สารประเภทอ่นื

16 ทักษะการฟังอยา่ งเขา้ ใจ การฟงั ที่ดีน้ันผูฟ้ ังจะต้องรู้จักวธิ ีการฟังและการเลือกสารทจี่ ะฟัง รวมไปถึงต้องรู้จักวิธีการ เลือกสอ่ื ในการฟงั เพ่ือทาใหก้ ารฟังนั้นเปน็ การฟังทส่ี ร้างสรรค์ โดยมหี ลกั การดงั นี้ 1. ผู้ฟังต้องศึกษาทาความเข้าใจความรู้พื้นฐานทางภาษา ความหมายของคา สานวน ข้อความและประโยคที่บรรยายหรอื อธิบาย รวมถึงหลกั ของการจับใจความสาคัญ เพอื่ ทาให้เข้าใจสาร ตรงกับทีผ่ ้พู ดู ตอ้ งการส่ือสาร ซ่ึงจะชว่ ยลดความขดั แย้งหรือเข้าใจผดิ ได้ 2. ผู้ฟังต้องศึกษาประเภทของสารและสามารถแยกแยะได้ว่าเป็นประเภทใด เพื่อจะได้ จบั ประเด็นหรอื ใจความสาคญั ไดง้ า่ ย และเลอื กฟงั เรือ่ งทม่ี สี ารประโยชนแ์ ละเหมาะกับตนเองได้ 3. ผู้ฟังต้องรู้จักเลือกสื่อให้เหมาะสมและสร้างสรรค์ โดยควรศึกษาประเภทของส่ือก่อนฟัง ขณะท่ีฟังนั้นควรวิเคราะห์ข้อความ พิจารณาภาษา ภาพ การนาเสนอว่าเหมาะสมหรือไม่น่าเชื่อถือ เพยี งใด 4. ผู้ฟังต้องฟังอย่างมีวิจารณญาณ ควรฟังเน้ือหาให้ครบถ้วน พิจารณาใคร่ครวญ แยกแยะส่วนที่เป็นเหตุเป็นผล ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นของผู้พูดว่ามีความน่าเช่ือถือมากน้อยเพียงใด และเหมาะสมกับการนาไปปฏบิ ัตหิ รอื ไม่ 5. ผู้ฟังควรศึกษาหาความรู้ด้านสังคมและวัฒนธรรมเพื่อประกอบการทาความเข้าใจ เนอื้ หาสาระของสารนนั้ ๆ การฟัง 4 ระดับ (4 Levels of Listening) เพอื่ เข้าใจการฟงั อยา่ งลึกซึง้ การฟัง 4 ระดับ คือ โมเดลสาหรับอธิบายสภาวะของการฟังเชิงคุณภาพ เพ่ือให้เรา สามารถพฒั นาทักษะการฟงั ของตนเองตอ่ ไปได้ (เออรบ์ นิ เนอร์, 2562) ระดบั ที่ 1 ของการฟัง Downloading เป็นการฟงั ในระดบั ทีเ่ ราได้ยินเสียงความคิดของตัวเองเป็นหลัก การฟังในระดับนี้จะมีการ ตัดสนิ ท่เี กดิ จากความหมาย ความเชือ่ ความคดิ ทัศนคติ แบบเดมิ มาตดั สินและคัดแยกข้อมลู ให้เราได้ ยนิ เพยี งบางด้าน ทาให้การฟังในระดับที่ 1 เรยี กว่า Downloading การฟงั ในระดับน้ีจะทาให้เราตอบ รับหรือปฏิเสธอะไรจากความเชอ่ื เดิม หากมีส่วนใดท่ีฟังแล้วเข้ากับชุดความเชอ่ื เดิมเราจะเลือกยนื ยนั และเห็นด้วยกับชุดข้อมูลนั้น แต่หากมีสิ่งใดที่ไม่เข้ากับชุดความเชื่อของเรา ท่าทีปฏิเสธหรือต่อต้าน มักจะเกิดขึ้นภายในการเอาตนเองเป็นท่ีตั้ง ทาให้การฟังระดับที่ 1 มีลักษณะแบบ I-in-me หรือ ตัวฉันเองที่เปน็ ศนู ย์กลาง ระดบั ที่ 2 ของการฟัง Factual Listening เป็นการฟังที่จะหยุดความคิดภายใน และได้ยินส่ิงที่ผู้พูดต้องการสื่อสารออกมา การฟัง ระดับน้ีจะไม่เลือกรับฟังส่ิงท่ีได้ยินผ่านมุมมอง ความเช่ือของตนเอง แต่จะปรับเปลี่ยนมุมมองไปยังผู้ พูด มีความเป็นกลางมากขึ้นโดยไม่เข้าไปตัดสินสิ่งเหล่านั้น การเอาเน้ือหาส่ิงที่ฟังเป็นที่ตั้งทาให้การ ฟังแบบน้ีมีลกั ษณะแบบ I-in-it หรอื มขี ้อมลู เน้อื หาเป็นศนู ยก์ ลาง

17 ระดับที่ 3 ของการฟงั Emphatic Listening เป็นการฟังท่ีจะเช่ือมต่อความรู้สึกและอารมณ์กับคนพูด โดยจะสามารถทาความเข้าใจ กับผู้พูดได้ว่าเร่ืองท่ีพูดมีความสาคัญอย่างไร โดยมีความเข้าใจกันเปน็ พื้นฐาน เสียงท่ีไม่เห็นด้วย ดูถูก ขัดแย้ง จะลดลงเป็นความเข้าใจ แม้ว่าอาจไม่มีความถนัดในเรื่องน้ัน ๆ แต่เราจะสามารถรับรู้ถึง ความรู้สึกของผู้พูดได้ โดยเราเรียกลักษณะการฟังแบบนี้ว่า I-in-you เพราะเป็นการเปิดใจ (Open heart) ระดับท่ี 4 ของการฟัง Generative Listening การฟังที่ฟังเสียงของส่ิงท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบัน โดยจะรับรู้ส่ิงที่เกิดขึ้นแต่ละช่ัวขณะ และ ปล่อยส่ิงเหล่านนั้นให้ผ่านไป การอนุญาตให้สิ่งต่าง ๆ ได้ผ่านมา รับรู้การมีอยู่และผ่านไปคือ คุณลักษณะของการฟังในระดับน้ี ความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นจากการไม่ยึดติดในความเป็นตัวตน และความกลัว จากการเปดิ ความต้งั ใจหรือเจตจานง (Open will) จากการไม่ยึดติดในอดีตและกังวล ในอนาคตท่ีจะเกิดข้ึน การฟังในระดับนี้จึงเรียกว่าเป็น Generative listening เพราะสามารถทาให้ การสนทนามคี วามคดิ ท่สี ดใหมเ่ กิดข้นึ ได้ เราเรียกลกั ษณะการฟงั แบบนี้วา่ (I-in-Now) อปุ สรรคและปญั หาในการฟัง อุปสรรคและปัญหาในการฟังเกิดได้จากหลายสาเหตุ ส่งผลให้การสื่อสารไม่สัมฤทธ์ิผล เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง และอาจทาให้ผู้ฟังไม่สามารถวิเคราะห์สิ่งท่ีฟังได้ สาเหตุของอุปสรรคและปัญหาทที่ าใหก้ ารฟังไม่สัมฤทธผ์ิ ลสรปุ ได้ 5 สาเหตใุ หญ่ ๆ ดงั น้ี 1. สาเหตุจากผู้ฟงั สาเหตุจากผฟู้ ังสว่ นใหญเ่ กดิ มาการขาดความพรอ้ มของผู้ฟัง และนิสยั การฟังทีไ่ มด่ ี นอกจากนีป้ ญั หาในการฟงั อาจเกิดมาจากการทผ่ี ู้ฟงั ไม่รู้จกั วิธีการฟังท่ถี ูกต้อง 2. สาเหตุจากผู้พูด ผู้พูดควรมีทักษะการพูดที่ดีด้วยเช่นกัน หากผู้พูดมีข้อบกพร่อง เกี่ยวกับวธิ ีการพูด การนาเสนอสาร หรือบคุ ลิกภาพอาจจะทาใหผ้ ู้ฟังเขา้ ใจประเด็นผิด ไม่เชอ่ื ถือ และ ไมส่ นใจฟงั กเ็ ปน็ ได้ 3. สาเหตุจากสาร สาเหตุจากสารส่วนใหญม่ ักเกิดจากการที่ผู้ฟังไม่เข้าใจสาร โดยเกิดได้ จากหลายสาเหตุ 4. สาเหตจุ ากสือ่ สื่อ คอื ช่องทางการนาเสนอสารของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร หากสือ่ เกิด ขัดขอ้ งหรือด้อยคณุ ภาพ จะทาใหผ้ ฟู้ ังหรือผู้รบั สารไม่เข้าใจสาร สง่ ผลใหก้ ารสอื่ สารขาดประสิทธิภาพ 5. สาเหตุจากสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมเป็นส่วนที่ช่วยสร้างบรรยากาศในการฟัง แต่หากสภาพแวดลอ้ มไม่เอ้อื อานวยอาจเปน็ อุปสรรคต่อการฟังได้ การเตรียมความพร้อมเพ่อื การอา่ น การอา่ นจะดาเนนิ ไปได้ด้วยดีเพยี งใดขึน้ อยู่กบั ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ และองคป์ ระกอบ ที่อยู่ภายในร่างกาย การอ่านท่ามกลาง บรรยากาศและส่ิงแวดล้อมที่เหมาะสม จะนามาซ่ึงประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลในการอ่าน ทงั้ น้คี วรคานึงถึงองค์ประกอบดงั นี้

18 1. การจัดสถานท่ีและส่ิงแวดล้อม สถานที่ที่เหมาะกับการอ่านควรมีความเงียบสงบ มีอุณหภูมิและแสงสว่างที่เหมาะสม มีโต๊ะที่มีความสูงพอเหมาะและเก้าอี้ท่ีน่ังสบายไม่นุ่มหรือแข็ง จนเกนิ ไป 2. การจัดท่าของการอ่าน ตาแหน่งของหนังสือควรอยู่ห่างประมาณ 35 - 45 เซนติเมตร และหน้าหนังสือจะต้องตรงอยู่กลาง สายตา ควรน่ังให้หลังตรงไม่ควรนอนอ่านทั้งน้เี พื่อให้สมองได้รับ เลือดไปหลอ่ เลี้ยง อย่างเตม็ ท่ี ก็จะทาใหเ้ กดิ การตนื่ ตวั ต่อการรบั รู้ จดจา และอ่านได้นาน 3. การจัดอุปกรณ์ช่วยในการอ่าน การอ่านอาจมีอุปกรณ์ที่จาเป็น เช่น กระดาษสาหรับ บันทึกดินสอ ปากกา ดินสอสี ฯลฯ เพ่ือเป็นเคร่ืองมือช่วยบันทึกหรือทาเครื่องหมายข้อมูลท่ีสาคัญ ๆ ในขณะทอ่ี ่าน 4. การจัดเวลาท่ีเหมาะสม สาหรับนักศึกษาที่ต้องมีการทบทวนบทเรียนควรอ่านหนังสือ ในชว่ งที่เหมาะสมคอื ช่วงทไี่ มด่ ึกมาก คือตงั้ แต่ 20.00 - 23.00 น. เน่อื งจากร่างกายยงั ไม่อ่อนล้าเกินไป นัก หรืออ่านในตอนเช้า 5.00 - 6.30 น. หลังจากที่ร่างกายได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ ท้ังน้ีในการ อ่านแต่ละครั้งไม่ควรเกนิ 50 นาทีและใหเ้ ปลีย่ นแปลงอิรยิ าบถสัก 10 นาทกี อ่ นลงมอื อ่านต่อไป 5. การเตรียมตนเอง ไดแ้ ก่ การทาจติ ใจให้แจ่มใส มีความมุง่ ม่ัน มคี วามตงั้ ใจ และมีสมาธิ ในการอ่าน นอนหลบั พกั ผอ่ น ใหเ้ พยี งพอ มีสุขภาพสายตาที่ดี ตัดปัญหารบกวนจติ ใจให้หมด การแบ่ง เวลาให้ถูกต้อง และมีระเบียบวินัยในชวี ิตโดยให้เวลา แต่ละวันฝึกอ่านหนังสือ และพยายามฝึกทักษะ ใหม่ ๆ ในการอา่ นเชน่ ทักษะการอ่านเร็วอยา่ งเขา้ ใจ เป็นต้น การเลือกสรรวัสดกุ ารอา่ น การเลือกสรรวัสดุการอ่าน ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการอ่าน เช่น การอ่านเพื่อการศึกษา การอ่านเพื่อหาข้อมูลประกอบการทางาน การอ่านเพ่ือความเพลิดเพลิน การอ่านเพื่อฆ่าเวลา การรู้จักเลือกวัสดุการอ่านที่มีประโยชน์จะช่วยให้ผู้อ่าน ได้รับประโยชน์ตาม เปา้ หมาย เมอ่ื เลือกวัสดกุ ารอ่านหรือหนังสอื ได้แลว้ ก็จะต้องกาหนดว่าต้องการอะไร ข้อมลู ในลักษณะ ใดจากหนังสือเล่มนั้น ขอบเขต ของข้อมูลในลักษณะกว้างหรือแคบแต่ลึกซึ้ง ท้ังนี้เพ่ือกาหนดรูปแบบ การอา่ นเพอ่ื ความต้องการตอ่ ไป การกาหนดจุดม่งุ หมายการอ่าน การรู้ความมุ่งหมายในการอ่านเปรียบเหมือนการรู้จุดหมายปลายทางของการเดินทาง ทาให้สามารถเตรียมพร้อมสาหรับสถานการณ์ต่าง ๆ และเดินทางไปสู่ท่ีหมายได้ นักอ่านท่ีดีควรมี จุดมุ่งหมายว่าต้องการอ่านเพ่ืออะไร เพื่อจะได้กาหนดวิธีอ่านได้เหมาะสม การอ่านเพ่ือการศึกษา คน้ ควา้ และทารายงาน มจี ุดมงุ่ หมายดังน้ี 1. อ่านเพ่อื ความรพู้ น้ื ฐาน เป็นการอา่ นเพอ่ื รเู้ รอื่ งโดยสังเขป หรือเพือ่ ลกั ษณะของหนังสือ เช่น การอา่ นเพ่อื รวบรวมสงิ่ พิมพท์ จี่ ะใชใ้ นการคน้ คว้าและเขยี นรายงาน

19 2. อ่านเพื่อรวบรวมข้อมูล เป็นการอ่านให้เข้าในเน้ือหาสาระ และจัดลาดับความคิดได้ เพอื่ สามารถรวบรวม และบันทึกขอ้ มูลสาหรับเขยี นรายงาน 3. อ่านเพื่อหาแนวคิด หมายถึง การอ่านเพ่ือรู้ว่าส่ิงท่ีอ่านนั้นมีแนวคิดหรือสาระสาคัญ อย่างไร จะนาไปใช้ประโยชน์ไดห้ รือไม่ ในลักษณะใด เชน่ การอา่ นบทความ และสารคดีเพ่ือหาหัวข้อ สาหรบั เขียนโครงรา่ งรายงาน 4. อ่านเพื่อวิเคราะห์หรือวิจารณ์ คือการอ่านเพื่อให้เข้าใจลึกซ้ึงพอที่จะนาความรู้ไปใช้ หรอื แสดงข้อคดิ เห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่านได้ เชน่ การอ่านบทความท่ีแสดงความคดิ เห็น การอ่านตาราง และรายงาน วิธกี ารอ่านท่เี หมาะสม การอา่ นมหี ลายระดับ และมวี ิธีการต่าง ๆ ตามความมุ่งหมายของผู้อา่ น และประเภทของ สื่อการอ่าน การอ่านเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและเขียนรายงาน อาจใช้วิธีอ่านต่าง ๆ เช่น การอ่าน สารวจ การอ่านข้าม การอ่านผ่าน การอ่านจับประเด็น การอ่านสรุป ความและการอ่านวิเคราะห์ ซ่งึ มีรายละเอียดดงั น้ี 1. การอ่านสารวจ คือ การอ่านข้อเขียนอย่างรวดเร็ว เพ่ือรู้ลักษณะโครงสร้างของ ข้อเขียน สานวนภาษา เน้อื เรอ่ื งโดยสงั เขป เป็นวธิ อี ่านทเี่ ปน็ ประโยชน์อยา่ งยง่ิ ในการเลอื กสรรสิ่งพิมพ์ สาหรับใช้ประกอบการค้นคว้า หรือการหาแนวเรื่องสาหรับเขียนรายงาน และรวบรวมบรรณานุกรม ในหัวข้อทเ่ี ขยี นรายงาน 2. การอ่านข้าม เป็นวิธีอ่านอย่างรวดเร็วเพ่ือเข้าใจเน้ือหาของข้อเขียน โดยเลือกอ่าน ข้อความบางตอน เช่น การอ่านคานา สาระสังเขป บทสรุป และการอ่านเนื้อหาเฉพาะตอนท่ีตรงกับ ความต้องการเป็นต้น 3. การอ่านผ่าน เป็นการอ่านแบบกวาดสายตา (Scanning Reading) โดยผู้อ่านจะทา การกวาดสายตาอย่างรวดเร็วไปยังสิ่งท่ีเป็นเป้าหมายในข้อเขียน เช่น คาสาคัญ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์ แล้วอ่านรายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับสิ่งท่ีต้องการ เช่น การอ่านเพ่ือค้นหาช่ือใน พจนานุกรม และการอา่ นแผนท่ี 4. การอ่านจบั ประเดน็ หมายถึง การอา่ นเรื่องหรอื ขอ้ เขยี นโดยทาความเข้าใจสาระสาคัญ ในขณะท่ีอ่าน มกั ใชใ้ นการอ่านข้อเขียนท่ีไมย่ าวนัก เช่น บทความ การอ่านเร็ว ๆ หลายครัง้ จะช่วยให้ จบั ประเดน็ ได้ โดยการอ่านมเี ทคนคิ คือต้องสงั เกตคาสาคัญ ประโยคสาคญั ท่ีมคี าสาคัญ และทาการย่อ สรปุ บนั ทกึ ประโยคสาคญั ไว้ เพื่อใชป้ ระโยชน์ต่อไป 5. การอ่านสรุปความ หมายถึง การอ่านโดยสามารถตีความหมายส่ิงที่อ่านได้ถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจเร่ืองอย่างดี สามารถแยกส่วนที่สาคัญหรือไม่สาคัญออกจากกัน รู้ว่าส่วนใดเป็น ขอ้ เท็จจรงิ หรอื ข้อคดิ เหน็ 6. การอ่านวิเคราะห์ เป็นการอ่านเพื่อค้นคว้าและเขียนรายงาน โดยทั่วไปต้องมีการ วิเคราะห์ความหมายของข้อความ ท้ังนี้ เพราะผู้เขียนอาจใช้คาและสานวนภาษาในลักษณะต่าง ๆ อาจเป็นภาษาโดยตรงมีความชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาโดยนัยที่ต้องทาความเข้าใจ และภาษาท่ีมี

20 ความหมายตามอารมณ์และความรู้สึกของผู้เขียน ผู้อ่านท่ีมีความรู้เร่ืองคาศัพท์และสานวนภาษาดี มีประสบการณ์ ในการอ่านมากและมีสมาธิในการอ่านดี ย่อมสามารถวิเคราะห์ได้ตรงความหมาย ที่ผู้เขียนตอ้ งการสื่อ และสามารถเขา้ ใจเรอื่ งทอี่ ่านไดด้ ี องค์ประกอบการอ่าน ความสามารถในการอ่านของแต่ละคนไม่เหมือนกัน บางคนอ่านได้รวดเร็ว และเข้าใจใน ขณะที่อีกหลายคนอ่านได้ช้าและเกิดอุปสรรคในการอ่าน การที่ผู้อ่านจะประสบความสาเร็จในการ อา่ นมากนอ้ ยเพียงใดนนั้ ย่อมข้นึ อยู่กับองคป์ ระกอบที่สาคัญที่มีอิทธิพลตอ่ การอ่าน บุญรวม งามคณะ (2555) ได้สรุปองค์ประกอบของการอ่านไว้ว่า เกี่ยวข้องกับวัยและ ความสามารถของผู้อ่าน ส่ิงแวดล้อม อารมณ์ แรงจูงใจ บุคลิกภาพ ความหมายของสาร การเลือก ความหมาย และการนาไปใช้ รวมไปถึงสารท่ีนามาใช้อ่าน กระบวนการในการอ่าน โดยผู้อ่านควรมี ความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สมอง อารมณ์ และสังคม สิ่งท่ีจะช่วยให้การอ่านมีประสิทธิภาพน้ันต้อง อาศยั ความรู้ทางภาษา และความรใู้ นด้านอน่ื ๆ โดยเฉพาะประสบการณ์เดิมของนกั เรียน และความรู้ รอบตัวด้านต่าง ๆ ตลอดจนความเช่ือ ถ้าผู้รับสาร และผู้ส่งสารมีความเข้าใจตรงกัน ผู้รับสารก็จะยิ่ง เขา้ ใจความหมายไดง้ ่ายยงิ่ ขึน้ สุนันทา ม่ันเศรษฐวิทย์ (2540) กล่าวว่าองค์ประกอบของการอ่านท่ีสาคัญมี 3 ประการ ซง่ึ สรปุ ไดค้ อื ประการแรก คือ สารท่ีใช้อ่านควรมีความยากง่ายเหมาะสมกับวัยและความสามารถ ในการอ่านของผ้อู า่ น ประการท่ีสอง ครูควรคานึงถึงความพร้อมในการอ่านของผู้อ่านทั้งในด้านร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม และประสบการณท์ างภาษา ประการสุดท้าย ขั้นตอนการอ่านเริ่มต้ังแต่ท่าทางในการอ่าน การจัดหนังสือ การวาง ระยะห่างระหว่างตัวอักษร การเคลื่อนตา การกวาดสายตา โดยสมองจะทาหน้าที่รับรู้ และแปล สัญลกั ษณ์ของตวั อักษร วลัยภรณ์ อาทิตย์เที่ยง (2529) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อการอ่านอยู่ 3 ลักษณะดงั นี้ 1. ลักษณะของวัสดุการอ่าน จะต้องไม่ปิดกัน้ หรือเป็นกาแพงขวางความเข้าใจในการอ่าน ของผูเ้ รียนนน่ั คอื ใชภ้ าษาให้เหมาะสมกับผูอ้ ่าน 2. ลักษณะของผู้อ่าน ความสามารถในการเข้าใจและตีความสิ่งท่ีอ่านจะขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบท่ีสาคัญคือ ระดับสติปัญญา ความรู้ในด้านคาศัพท์ และโครงสร้างของภาษา ภูมิหลัง ในเร่ืองความรู้และประสบการณ์ ร่างกาย คนท่ีมีสุขภาพทางกายดีจะมีความสามารถในการเรียนอ่าน ไดก้ วา่ คนที่มสี ขุ ภาพไม่ดอี ารมณ์ การอา่ นทีป่ ระสบผลสาเร็จน้ัน ผอู้ า่ นจาเป็นต้องมีสมาธใิ นการอ่าน 3. สภาพแวดล้อม เด็กที่อยู่ในครอบครัวท่ีอบอุ่น สมาชิกในครอบครัวให้ความสาคัญกับ การอา่ น มกี ารสง่ เสรมิ การอา่ นเดก็ กจ็ ะร้คู ุณค่าของการอ่านและอ่านไดด้ ี

21 ประเภทของการอา่ น การอ่านสามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสยี ง การอา่ นในใจ การอา่ นในใจ คือ การแปลความหมายของตวั อักษรออกมาเป็นความคดิ ความเข้าใจ และ นาความคดิ ความเขา้ ใจทไ่ี ดน้ ั้นไปใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ ประเภทของการอา่ นดังตอ่ ไปน้ี คือ 1. การอ่านจบั ใจความ การอ่านจับใจความเป็นพ้ืนฐานของการอ่านในใจที่มุ่งคุณค่าทางสติปัญญา แบ่งการ อา่ นชนิดนีอ้ อกเปน็ 2 ประเภทคือ 1.1 การอ่านจับใจความส่วนรวม เป็นการอ่านเพ่ื อเข้าใจเน้ือหาส่วนรวม เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ทีต่ ้องการอ่านอย่างรวดเรว็ 1.2 การอ่านจบั ใจความสาคญั ใจความสาคญั คอื ใจความหลกั ของเร่ือง เปน็ การอ่าน ท่ลี ะเอยี ดมากขึ้น เพ่ือจบั ใจความสาคัญของงานเขยี นแตล่ ะย่อหนา้ 2. การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคาและ ข้อความทั้งหมด โดยพิจารณาถึงความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงท่ีผู้เขียนต้องการจะส่ือ ความหมาย ท้ังนี้ผู้อ่านจะสามารถตีความหมายของคาสานวนได้ถูกต้องหรือไม่น้ันจาเป็นต้องอาศัย เน้ือความแวดล้อมของข้อความนั้น ๆ บางครั้งต้องอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ปัจจุบันเป็น เคร่อื งช่วยตัดสนิ 3. การอา่ นอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การอ่านชนดิ นี้เป็นการอ่านทคี่ อ่ นข้างยาก เพราะต้องใช้ การหาเหตผุ ลมาใช้ในการวจิ ารณ์ 4. การอ่านวิเคราะห์ การอ่านชนิดน้ีเป็นการอ่านเพื่อพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เป็นการ แยกแยะทาความเข้าใจองคป์ ระกอบหรือโครงสร้างของหนังสือแตล่ ะประเภท 5. การอ่านเพ่ือประเมินคุณคา่ หมายถึง การที่ผู้อ่านใช้อารมณ์ความรู้สึกส่วนตัว ในการ ประเมินค่างานเขียน ซ่ึงอาจจะมีเร่ืองของอารมณ์และความรู้สึกส่วนตัวเข้าร่วมด้วย การประเมินคุณ ค่าท่ีดีต้องปราศจากอารมณ์และในการประเมินคุณค่าน้ันต้องประเมินตามลักษณะของหนังสือด้วย เช่น ถ้าเป็นตารา เอกสารทางวิชาการต้องประเมินในเรื่องความรู้ การใช้ภาษา ฯลฯ ถ้าเป็นหนังสือ สารคดีหรือบทความ ควรประเมินความคิดเห็นของผู้เขียน หรือหนังสือพิมพ์ต้องประเมินจากความ น่าเช่อื ถือของขา่ ว และอคติของผ้เู ขยี น การอา่ นประเมนิ ค่า การอา่ นทั้ง 5 ประเภททกี่ ลา่ วมาเป็นการอ่านในใจซ่ึงมหี ลักฝึกฝนการอ่านในใจดงั ต่อไปนี้ 1. กาหนดเวลาในการอ่านหนงั สอื ไวแ้ น่นอน 2. ฝกึ การเคลื่อนไหวของสายตา 3. การจับตา หมายถึงการที่สายตาจับอยู่ท่ีข้อความเป็นจุด ๆ ผู้ที่อ่านชานาญใน 1 บรรทดั จะจับตาน้อยครัง้ และใช้เวลานอ้ ย 4. ช่วงสายตา หมายถึงระยะห่างจากจุดท่ีจับตาจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่ง คนท่ีอ่านไม่ ชานาญชว่ งสายตาจะแคบจะจับตาแทบทุกตัวอักษร

22 5. การย้อนกลับ การกวาดสายตาย้อนกลับข้อความท่ีอ่านผ่านไปแล้ว คนท่ีอ่านไม่ ชานาญจะย้อนสายตากลับไปอ่านข้อความเดิม ทาให้เสียเวลา นักอ่านท่ีดีต้องกวาดตาย้อนกลับ ในแต่ละบรรทัดนอ้ ยคร้งั ทส่ี ุด หรือแทบไมม่ ีเลย 6. การเปล่ียนบรรทัด ผู้ท่ีอ่านอย่างชานาญเม่ือเปลี่ยนบรรทัด ย่อมเป็นไปอย่างรวดเร็ว และแมน่ ยาโดยไม่ตอ้ งอาศยั การชีด้ ้วยนวิ้ หรือการใชไ้ ม้บรรทดั วางคน่ั เพื่อกันหลงบรรทัด 7. ทดสอบความเข้าใจเม่ืออ่านจบโดยอาจทดสอบเป็นระยะ ๆ หรือทดสอบเมื่ออ่านจบ เรอ่ื งกไ็ ด้ 8. ศึกษาเรื่องความหมายของคาศัพท์อยู่เสมอ จะช่วยให้มีความรู้เรื่องวงศัพท์กว้างขวาง และเข้าใจเรอ่ื งทีอ่ า่ นได้ถกู ต้องรวดเรว็ ย่ิงขึ้น 9. หลกี เลยี่ งนสิ ัยการอา่ นทไี่ มด่ ี ทั้งการทาปากขมบุ ขมิบ การใช้มือช้ี หรือการยอ้ นกลบั ไป อา่ นซ้า ๆ 10. ฝกึ ฝนการอา่ นอยา่ งสมา่ เสมอ จะช่วยใหก้ ารอา่ นเป็นไปอย่างรวดเร็ว ถกู ตอ้ ง แม่นยา ยง่ิ ขน้ึ การอ่านออกเสยี ง การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านข้อความโดยการเปล่งเสียงออกมาเพื่อใหผ้ ู้อ่ืนได้รับรู้ ขอ้ ความน้ัน ๆ สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ลักษณะคอื 1. การอ่านออกเสียงปกติ เป็นการอ่านออกเสียงตามปกติท่ัวไป อ่านได้ท้ังบทร้อยแก้ว และร้อยกรอง เช่น อ่านข่าว อ่านประกาศ อ่านตีบท อ่านสารคดี อ่านข้อความประกอบภาพนิ่ง หรือ อ่านบทภาพยนตร์ ฯลฯ 2. การอา่ นทานองเสนาะ การอ่านทานองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรือ วรรณคดีไทยให้ไพเราะน่าฟัง มุ่งให้เกิดความรู้สึกซาบซ้ึง เกิดอารมณ์ จินตนาการ คล้อยตามบทร้อย กรองนนั้ ดว้ ย การอ่านมีความสาคัญท้ังด้านการศึกษา การงานและชีวิตส่วนตัว ผู้อ่านที่ดีควรต้ัง วัตถุประสงค์ในการอ่านให้ชัดเจน เข้าใจกระบวนการอ่าน เพราะการอ่านมิใช่แต่ เพียงเข้าใจ ความหมายของคา อ่านคาถูก ออกเสียงได้ถูกต้องเท่าน้ัน แต่การอ่านสามารถทาให้ผู้อ่านประสบ ความสาเร็จในชีวติ การเรียน การทางาน สามารถนาส่ิงที่ได้รับจากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจาวันเพ่ือ พัฒนาตนเอง และประเทศชาตติ ่อไป วิธเี พม่ิ ทักษะการสอ่ื สารเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง การฟัง และการอา่ น เปน็ ทกั ษะที่จาเป็นในการส่อื สารเพ่ือความสาเร็จของชีวติ โดยเฉพาะ เม่ือเราทางาน หรือสร้างธุรกิจ (Start Up) การฟังและอ่านยิ่งทวีความสาคัญเพ่ิมขึ้นอีก เพราะหาก การฟังและอ่านไม่ดี เกิดการเข้าใจผิดหรือตัดสินใจผิด ปัญหาจะเกิดกับธุรกิจทันที ดังน้ัน เพื่อให้ ทักษะการฟังและการอ่านพัฒนาขึ้น ผู้เรียนจึงจาเป็นต้องเรียนรู้วธิ ีการเพิ่มทักษะการฟังและอ่านเพื่อ พฒั นาศกั ยภาพตนเอง

23 พฒั นาทกั ษะการฟงั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ การฟังเป็นทักษะการส่ือสารแรกและสาคัญท่ีสุดของมนุษย์ ไม่มีใครพูดได้คล่องจากการ อา่ นและไมม่ ใี ครอา่ นหนังสอื ได้คล่องหากไม่รจู้ ักการฟัง ดังนน้ั ทกั ษะการฟงั เป็นทักษะท่ีต้องไดร้ ับการ ฝึกและพัฒนาเพราะจะสามารถทาความเข้าใจใหม่ที่ถูกต้อง ลดความผิดพลาดในการทางานจากการ จับประเดน็ ท่ผี ิดพลาด วันนีเ้ รามาดูกนั วา่ ทกั ษะการฟังนั้นจะฝกึ ฝนพฒั นาได้อย่างไรบ้าง 1. ฝึกสมาธิกับส่งิ ทฟี่ ังหรืออา่ น 2. ฝกึ จบั ใจความ 3. รู้จกั การตดั บทสนทนา 4. รู้จกั มารยาทในการฟงั การฟังเชงิ รุก (Active Listening) และการฟงั อยา่ งลึกซงึ้ (Deep Listening) การฟงั เชงิ รุก (Active Listening) Phusamita (2019) กล่าวว่า การฟังเชิงรุก เป็นทักษะที่สามารถพัฒนาข้ึนด้วยการฝึกฝน อย่างไรก็ตามการฟังเชิงรุกอาจเป็นเรื่องยากที่จะเชี่ยวชาญ ดังน้ัน จึงต้องใช้เวลาและความอดทน ในการพัฒนาและฝึกฝนตนเอง การฟังเชิงรุกแตกต่างจากการฟังแบบท่ัวไป การฟังแบบทั่วไปจะได้ยินสิ่งที่แสดงออกมา สิ่งที่เขาต้องการให้รู้ในเน้ือหา (Content) แต่การฟังเชิงรุก (Active Listening) ต้องฟังให้ลึกถึง ความรู้สึก ความเชื่อ ความคิด สามารถจับประเด็นและได้ยินในส่ิงที่ผู้พูดไม่ได้พูดและทวนออกมาได้ (Context) เหมอื นกับเป็นกระจกสะท้อนกลบั ไปยงั ผูพ้ ูด การฟังเชิงรุกสามารถแบง่ ระดับของการฟังได้เปน็ 5 ระดับดังน้ี (ศศิมา สุขสว่าง2563 ,) ระดับ 1 ไม่สนใจฟัง (Non-Listening) ผู้พูดจะพูดอะไรก็แล้วแต่คนตรงหน้าไม่สนใจ ฟังหรือฟังหูซา้ ยทะลหุ ขู วา ระดับ 2 แกล้งฟัง (Pseudo listening) เป็นการทากริยาท่าทางเหมือนฟัง มีตอบรับ ค่ะ อ้อ พยักหนา้ แต่พอใหท้ บทวนวา่ ไดย้ ินอะไรบา้ งกลบั ตอบไม่ได้เพราะไม่ไดฟ้ ังจริง ๆ ระดับ 3 เลือกฟัง (Defensive Listening) เป็นการฟังเฉพาะในส่ิงท่ีตัวเองสนใจ ใคร่รู้ เรอ่ื งท่ตี นเองคิดว่ามีประโยชน์เร่อื งใดไมส่ นใจไมใ่ ช่เรอื่ งของตวั เองก็ไม่ใสใ่ จ ระดับ 4 ต้ังใจฟัง (Appreciative Listening) เป็นการฟงั ท่ี รบั รู้ รับฟงั เรอ่ื งราวเนื้อหา ของคนตรงหน้ามีการตอบสนองทางคาพูด หรือตอบรับคาว่าได้เข้าใจและรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ฟังเก็บ ข้อมูลได้ครบเน้อื หาทกุ สงิ่ อย่าง ระดับ 5 ฟังแบบเข้าอกเข้าใจ (Listening with Empathy) เป็นการฟังแบบเข้าใจ องค์รวมท้ังเนื้อหา อารมณ์ ความรู้สึก ความคิด โดยผู้ฟัง ฟังในกรอบของผู้พูด โดยไม่ใช่ความเป็น ตวั ตนของตัวเองไปตดั สินหรอื ประเมินใด ๆ เปน็ การฟังด้วยหัวใจ (Listen with heart) ฟงั อย่างเขา้ ใจ ในตวั ตนของผูพ้ ูดจริง ๆ

24 การฟังในระดับ 1-4 ผู้ฟัง ยังฟังอยู่ในกรอบของตัวเองอยู่ กล่าวคือ ยังมีอารมณ์ความคิด ความรู้สึกของคนฟังไปเป็นกรอบในการฟังผู้พูดอยู่ แต่การฟังระดับ 5 นั้น ผู้ฟัง ๆ ในกรอบของผู้พูด และละทงิ้ ตัวตนของผู้ฟังเอง ไมต่ ดั สนิ การฟงั อยา่ งลึกซึง้ (Deep Listening) การฟังอย่างลึกซึ้งเป็นการฟังที่ทาให้เราสามารถช่วยคนที่อยู่ข้างหน้าเราที่กาลังมีความ ทกุ ข์หรือมีปัญหา โดยสามารถทาได้งา่ ยทสี่ ดุ และไม่ต้องใช้อุปกรณ์อะไร ในกระบวนการฟังอยา่ งลึกซึง้ เออร์บินเนอร์ (2562) อธิบายถึงการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) ว่าคือ การฟังส่ิงที่ เกิดข้ึนในปัจจุบนั โดยเก็บคาตัดสนิ หรอื เสียงที่เกิดข้ึนภายในของตนเองเอาไว้ เป็นการฟังเพ่ือคนทอี่ ยู่ ข้างหน้า เป็นการฟังเพ่ือได้รับรู้ความเข้าใจและข้อมูล และเท่าทันกรอบความคิดความเชื่อของตนเอง บางครั้งการฟังอย่างลึกซึ้งไม่ได้หมายถึงการฟังเน้ือหาใจความของคาพูด แต่อาจรวมไปถึงเจตนาของ ผู้พูดความรู้สึกของผู้พูดขณะที่กาลังพูดโดยท่ีเจตนาและความรู้สกึ ของผู้พูดอาจไม่ได้เปน็ ไปในทิศทาง เดยี วกนั กับส่ิงทเ่ี ขาพดู ออกมาก็ไดเ้ ช่นกัน ในกระบวนการฟังอย่างลึกซึ้งเราจะไม่พยายามเข้าไปควบคุมความคิดและอารมณ์ของ ตนเอง เมื่อเราได้ยินสิ่งที่เราคิดว่าไม่ถูกต้องหรือเชื่อว่าไม่ถูกต้องเรายังคงเท่าทันว่าส่ิงเหล่าน้ีเป็นการ ตัดสินและกรอบความเช่ือของเรา เพียงแค่เท่าทันเสียงที่เกิดขึ้นภายใน เท่าทันการแสดงออกของเรา ในลาดับถัดมา และปล่อยความคดิ หรอื การตดั สินเหล่านน้ั ไป และอยกู่ ับการฟังคนทอี่ ยูข่ า้ งหน้า ความแตกต่างระหวา่ ง “การฟังอย่างลึกซง้ึ ” และ “การฟงั ท่ัว ๆ ไป” โดยมากขณะท่ีเราฟังสิ่งต่าง ๆ เรามักจะมีจุดประสงค์ในการฟังหรือบางคร้ังเม่ือเราไม่ อยากฟงั เราอาจไม่ได้ตั้งใจฟังใจเท่าท่ีควรแต่กลับมีธรรมชาติและระบบอัตโนมัติของตนเองท่ีทาให้เกิด ความสัมพนั ธ์ทไ่ี มด่ ี หรอื การรับรู้ท่ีผิดพลาดของแตล่ ะคนได้ การฟงั อยา่ งลึกซงึ้ เปน็ ทกั ษะที่ถูกใชใ้ นหลากหลายมิติตง้ั แตเ่ รื่องความสัมพนั ธ์ การเยยี วยา การบาบัด การเรียนรู้ จิตวิญญาณ การเจริญสติ ธุรกิจ หรือชุมชนและความขัดแยง้ แต่สิ่งเหล่านี้มจี ดุ ร่วมกันคอื การฟังสิ่งทีเ่ กดิ ข้นึ ในปัจจบุ ัน และดารงอยูเ่ ต็มทต่ี อ่ สงิ่ ท่เี กิดขึน้ ประโยชนข์ องการฟงั อยา่ งลกึ ซง้ึ ในองคก์ ร ทักษะการฟังอย่างลึกซ้ึงช่วยทาให้บุคลากรท่ีแตกต่างกันสามารถเข้าใจกันได้มากขึ้น และ เอื้ออานวยบรรยากาศของการทางานรว่ มกันอยา่ งมีประสิทธิภาพจากการฟังได้ การสง่ เสรมิ ทักษะการฟัง อย่างลึกซ้ึงให้กับบุคลากรจาเป็นทีจ่ ะต้องพิจารณาถึงปจั จยั ตา่ ง ๆ ภายในองค์กรก่อน เชน่ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลากร จานวนบุคลากรที่เข้าร่วม ประสบการณ์ในการทางานร่วมกัน (จิณณ์ณัฏฐ์ พรหมนุรักษ์, ม.ป.ป.) ประโยชน์ที่สาคัญที่สุดในการฟังอย่างลึกซ้ึงภายในองค์กรคือการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ชวี ติ ของบคุ ลากร เพราะบคุ ลากรจะสามารถใชท้ ักษะนไี้ ปฟังคนในครอบครัวของตัวเองและเพื่อนของ เขาได้ ทาใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ของบคุ ลากรในดา้ นมิตสิ ว่ นตวั ดีข้ึน

25 การอา่ นอย่างลึกซ้ึง (Deep Reading) การอ่านอย่างลึกซ้ึง (Deep Reading) หรือเรียกได้อีกแบบว่า Slow Reading คือ ความ ตั้งใจ และพฤติกรรมของคนเราที่อ่านอะไรช้าลงกว่าปกติ หากแต่ใส่ใจกับสิ่งท่ีอ่านมากขึ้น ด้วย จุดมุ่งหมายเพื่อได้เข้าถึงสิ่งท่ีอ่าน หรือเน้ือหานั้น ๆ ได้ลึกซึ้งยิ่งข้ึน ในชีวิตของคนเราต้องเคยมี ประสบการณ์ การอ่านอย่างลึกซ้ึง Deep Reading ด้วยกันทั้งนั้น อาจมีท้ังที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว โดยอาจ เป็นการต์ นู ในสมัยเด็กท่ีเราชอบมาก ๆ จนทาให้เรารสู้ ึกสนุกจนลืมสิง่ รอบข้างเลย อยา่ งไรกต็ าม ไม่ใช่ ว่า Deep reading จะเกิดข้ึนโดยเราไม่รู้ตัวเพียงอย่างเดียว หลาย ๆ ครั้งท่ีเราสามารถควบคุมมันได้ สามารถตงั้ ใจทาได้ ตวั อยา่ งเช่น การตง้ั ใจอ่านหนังสอื ปรัชญาชวี ติ หรือจิตวิทยาสกั เล่มหนึง่ ท่ตี อ้ งอาศัย สมาธิมาก ๆ ในการทาความเขา้ ใจ เทคนคิ การอ่านอย่างลึกซ้ึง และมปี ระสทิ ธิภาพ ความเปน็ จรงิ การอา่ นอยา่ งลึกซ้งึ ไม่ได้ต้องการกลยทุ ธ์ใด ๆ เป็นพิเศษ สิง่ ที่ผอู้ ่านตอ้ งทามี เพยี งแคค่ วามเร็วท่ีพอเหมาะในการอ่านท่ีจะทาให้ข้อมูล และเร่อื งราวท่ีกาลังอ่านนน้ั ถกู ซึมซาบเข้าไป ในหัวของเราได้อย่างแท้จริง จนสามารถถ่ายทอดสิ่งท่ีอ่านออกมาได้อย่างอิสระหลังการอ่านจบ แตอ่ ย่างไรก็ตาม ส่ิงท่สี ามารถทาได้เพื่อเพ่ิมศกั ยภาพในการอา่ นท่ีมากขนึ้ และเพือ่ ความเข้าใจท่ีลึกซึ้ง ขน้ึ มีดงั นี้ 1. เม่อื เราค้นพบวา่ เร่ืองราวท่ีกาลังอา่ นอยเู่ รม่ิ ทาให้เกดิ ความรู้สึกสับสน หรอื นาพาให้คิด ลึกข้ึน ขอให้หยุดอ่านสักครู่ เพ่ือให้เราได้มีเวลาคิดทบทวนเกี่ยวกับเร่ืองนั้น ๆ หนังสือบางเร่ืองไม่ได้ เหมาะกับการอ่านรวดเดียวใหจ้ บ หากแต่อยากให้ผู้อ่านจดจ่ออยู่ท่ีเร่ืองราวใดเรอ่ื งราวหน่ึง เพ่ือให้ได้ ประโยชน์ทงั้ ความสุขใจและความรู้ท่เี พ่ิมขึ้น 2. อา่ นซ้าอกี รอบ หลายคร้ังทคี่ วามเขา้ ใจที่ลกึ ซง้ึ แทจ้ รงิ แล้วมาจากการอา่ นซา้ 3. เขียนคาอธิบายลงไปในหนังสือ หรือเขียนลงในสมุดจด เพราะหนังสือหลาย ๆ เล่ม หากมีการทาบนั ทึกสนั้ ๆ (Short note) จะทาให้เขา้ ใจมากขึ้น 4. จับคู่สิ่งที่อ่านเข้าหับหัวข้อท่ีคล้าย ๆ กัน ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดคือการอ่านเรื่องแต่ง หรือนวนิยายนอกจากจะอ่านเล่ม ๆ นั้นจนจบแล้ว ก็อ่านเรื่องราวท่ีต่อเน่ืองกันด้วย อาจเป็นนิยาย ภาคต่อ หรือที่มาของนิยาย เป็นต้น หรือหากไม่ใช่เรื่องแต่ง ผู้อ่านสามารถใช้เทคนิคเดียวกันได้โดย อ่านหนังสือเล่มอื่นในหัวข้อเดียวกัน หรือหัวข้อคล้ายกันมากกว่าหนึ่งเล่ม เพ่ือความเข้าใจในหัวข้อ น้นั ๆ ทม่ี ากข้ึน ลกึ ซึ้งขน้ึ นน่ั เอง ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน การอ่านอย่างลึกซ้ึง (Deep Reading) อาจดูเหมือนจะทาได้ยาก เพราะโลกดิจิตอลท่ีทุกอย่างหาได้ง่ายไปหมด จนความสนใจของคนเราในสิ่ง ๆ หน่ึงลดลง คาแนะนา คือ การจากัดเวลาท่ีเหมาะสมในการทาสองส่งิ นี้ไปพร้อม ๆ กัน โดยเร่ิมจากการอ่านอยา่ งลึกซึ้ง ก่อน แล้วเราจะค่อย ๆ ค้นพบว่า เราสามารถมชี ่วงเวลาของการอ่านอยา่ งลึกซึง้ ได้ และจะคน้ พบประโยชน์ ทแ่ี ท้จรงิ ของการอา่ นอยา่ งลึกซึง้ ได้ในท่สี ดุ

26 สรปุ การฟังและการอ่าน เป็นทักษะการสื่อสารที่สาคัญทั้งด้านการศึกษา การงานและการ ดาเนินชีวิต เพราะเป็นพื้นฐานแห่งการเรียนรู้ท้ังปวง ผู้รับสารที่ดีควรตั้งวัตถุประสงค์ในการฟังและ อา่ นใหช้ ดั เจน เขา้ ใจกระบวนการฟังและอ่าน บุคคลท่ีฟังและอ่านได้อย่างมีประสิทธภิ าพจะทาให้การ ส่ือสารสัมฤทธผ์ิ ล ประสบความสาเร็จในชวี ิตทง้ั การเรียน การทางาน สามารถนาสงิ่ ทีไ่ ดร้ บั จากการฟัง และอา่ นไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั เพอ่ื พัฒนาตนเอง และประเทศชาติตอ่ ไป คาถามทบทวน 1. การอ่านและการฟงั มีบทบาทต่อการดาเนนิ ชีวิตอย่างไรจงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ 2. การฟังมปี ระโยชนต์ อ่ การดาเนนิ ชีวติ อยา่ งไร จงอธบิ ายพร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ 3. จงบอกความแตกต่างระหว่าง “การฟังอย่างลึกซึ้ง” และ “การฟังท่ัว ๆ ไป” พร้อม ยกตัวอยา่ งประกอบคาอธิบาย 4. การอ่านอย่างลกึ ซงึ้ (Deep Reading) คอื อะไร และมีเทคนิคการอา่ นอยา่ งไร 5. จงบอกวธิ กี ารอา่ นท่ีเหมาะวา่ มีอะไรบา้ งและมีประโยชน์อย่างไรต่อผู้อา่ น กิจกรรมทบทวน 1. ผู้เรียนฝกึ การฟงั จากคลปิ และสรปุ ความจากสิง่ ทฟี่ ัง 2. ผู้เรียนฝึกการอ่านจากเรอื่ งสัน้ /บทความ/ข่าวและสรุปความจากสง่ิ ท่ีอ่าน 3. ผูเ้ รียนเรยี นร้ทู กั ษะการฟังและอา่ นจากกิจกรรมเกม

27 เอกสารอ้างอิง จิณณ์ณัฏฐ์ พรหมนุรักษ์. (ม.ป.ป.). Active Listening ทักษะการฟังที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้คน ในทีม. https://learninghubthailand.com/active-listening/ บุญรวม งามคณะ. (2555). การพัฒนาการอ่านสรุปความโดยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทาน สาหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2. “วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถมั ภ์. วลัยภรณ์ อาทิตย์เท่ียง. (2529). การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ห่ี ก ท่มี ีลักษณะและภมู หิ ลงั ต่างกนั . จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ศศิมา สุขสว่าง. (2563). ทักษะการฟังเชิงรุกสาหรับผู้นาในบทบาทโค้ช (Active Listening Skill for leader). https://www.sasimasuk.com/16843368/ทักษะการฟังเชิงรุกสาหรับผู้นา ในบทบาทโคช้ - สนุ ันทา มนั่ เศรษฐวทิ ย.์ (2540). การเขียนเพอ่ื การสื่อสาร. พัฒนาการศึกษา. เออรบ์ ินเนอร์. (2562, 21 ตุลาคม). การฟงั อย่างลึกซึ้ง (Deep Listening). https://www.urbinner. com/post/deep-listening เออร์บินเนอร์. (2562, 10 พฤศจกิ ายน). การฟงั 4 ระดับ (4 Levels of Listening) เพอื่ เขา้ ใจการฟัง อย่างลกึ ซ้งึ . https://www.urbinner.com/post/4-levels-of-listening Alison Doyle. (2021, 11 March). Types of Listening Skills with Examples. https://www. thebalancecareers.com/types-of-listening-skills-with-examples-2063759 Phusamita. (2019, 19 August). Active Listening. https://www.blockdit.com/posts/5d59d f2415c3d31cd67b4881

28

29 บทที่ 3 เทคโนโลยีการสอ่ื สารในยคุ ดิจทิ ลั ความหมายของ รปู แบบการส่อื สาร การสื่อสาร การสอ่ื สารดิจิทัล ดิจิทัล ผ่านเครือขา่ ยไร้สาย แนวคิดการส่ือสาร ประโยชนก์ ารสอ่ื สาร เครอ่ื งมือสงั คม ยุคดิจทิ ัล ยุคดิจิทลั ออนไลน์ เทคโนโลยี การจัดการเรยี นรแู้ บบเชงิ รกุ การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี เครือขา่ ยคลาวด์ คอมพิวติง การส่อื สารในยุคดิจทิ ัล การเรียนรู้แบบรว่ มมือ การเรียนร้แู บบโครงการ ดิจิทลั ในการส่ือสาร แนวคิดการส่อื สาร ยุคดิจทิ ัล CLO 3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือการสอื่ สารไดอ้ ย่างเหมาะสม ภาพที่ 3.1 เทคโนโลยีการส่อื สารในยคุ ดจิ ทิ ัล ในปัจจุบันเป็นยุคสมัยของการติดต่อสื่อสารท่ีสะดวกรวดเร็วโดยผ่านทางเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ด้วยกระแสสังคมที่พัฒนาไปตามกาลเวลาและเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าล้าสมัยทาให้เกิดส่ือ ดิจิทัลข้ึนเป็นจานวนมากท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสาร โดยมีการสร้างโปรแกรม หรือแอปพลิเคชันต่าง ๆ ขึ้น ทาให้การติดต่อสื่อสารในยุคปัจจุบันมีความสะดวก ง่ายต่อการใช้งาน การส่ือสารผ่านระบบ เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตสามารถใช้งานผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล หรือแบบพกพาได้ ส่งผลให้มี การสื่อสารแลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศ รวมถึงการเข้าถึงและสืบค้นข้อมูลได้อย่าง งา่ ยดาย และสะดวกรวดเรว็ เป็นผลให้ผู้คนทั่วโลกมคี วามสนใจ และใชง้ านกนั อยา่ งแพร่หลาย จึงทาให้ การส่ือสารในยุคนี้เป็นยุคแห่งการส่ือสารดิจิทัลอย่างแท้จริง ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Online social network) ที่ไม่เฉพาะแต่กลุ่มคนกลุ่มเดียว แต่เป็นการประยุกต์ใช้ระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการ สื่อสารของกลุ่มบุคคลในสังคมท่ีหลากหลาย การทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันในสังคมออนไลน์ และยัง ตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชง้ านในสังคมยุคดจิ ทิ ัลไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ววิ ัฒนาการชอ่ งทางการสอ่ื สาร การส่ือสาร เป็นสิ่งที่ทาให้มนุษย์มีอารยธรรมท่ีสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่อดีต ที่มนุษย์ใช้การออกเสียงและทา่ ทางในการสอื่ สาร กอ่ นจะมาใช้ภาษาพดู ตวั อกั ษร และพัฒนาช่องทาง ทีจ่ ะส่อื สารใหเ้ ข้าถงึ เพ่ือเชอ่ื มโยงถึงกนั ทาให้เกิดรูปแบบสังคม แลกเปลย่ี นองค์ความรู้ กอ่ กาเนิดเป็น อารยธรรม ดารงเผา่ พนั ธ์ุมาจนถงึ ทกุ วนั นี้

30 นับตั้งแต่มนุษย์เร่ิมเรียนรู้และพัฒนาเทคโนโลยีในด้านการสื่อสาร ยุคเฟ่ืองฟูแห่ง นวัตกรรมก็เติบโตขึ้น พร้อมกับการเร่ิมต้นของยุค Analog ซ่ึงอาศัยการส่งสัญญานผ่านอุปกรณ์รับ และแปลงสัญญาณจนได้ข้อมูลท่ีต้องการ ส่งผลให้การสื่อสารระยะทางไกลไม่ใช่อุปสรรคของเราอีก ต่อไปและกา้ วขา้ มมาสยู่ คุ ท่ีเราเรียกวา่ “ยุคการส่อื สารดิจิทลั ” (ศุภศิลป์ กลุ จติ ตเ์ จือวงศ์, 2555) ยุคดิจิทลั (Age of Digital) เมื่อยุคแห่งคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาท ระบบ Digital เข้ามาแทนที่ ซึ่งสามารถรับส่ง สัญญาณได้อย่างมีประสิทธิภาพและซับซ้อนมากกว่าระบบอนาล็อก ท่ีมีความแม่นยาน้อยกว่า การ เปลี่ยนแปลงน้ีมีส่วนช่วยให้เทคโนโลยีทั้งหลายพัฒนาต่อไปอย่างก้าวกระโดด โดยจุดเร่ิมต้นในการ พฒั นาช่องทางการสื่อสารในยุคดิจิทัลเร่ิมจากปคี ริสต์ศักราช 1969 คอมพิวเตอรด์ ิจิทัลอเิ ล็กทรอนิกส์ อเนกประสงค์เคร่ืองแรกของโลกถือกาเนิดที่ประเทศอเมริกา โดย John Mauchly และ J. Presper Eckert มจี ดุ ประสงค์เพ่ือใช้ในการคานวณทางทหาร จากนน้ั ในปี ค.ศ. 1969 เกิดการพฒั นาเครือข่าย ARPANET ( Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่ ง เ ป็ น เ ค รื อ ข่ า ย ส า นั ก ง า น โครงการวจิ ยั ชนั้ สงู ของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรฐั อเมริกา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์หลกั ของการสร้าง เครือข่ายคือ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ และมีปฏิสัมพันธ์กันได้ ถือได้ว่าเป็นเครือข่าย เร่ิมแรกของระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการเปิดประตูสู่การพัฒนาการส่ือสาร ในปี ค.ศ. 1971 Ray Tomlinson ชาวอเมริกัน คิดค้นการส่งข้อความระหว่างคอมพิวเตอร์สาเร็จเป็นครง้ั แรก ทาให้การส่ง ข้อมูลถงึ กนั ทาได้อย่างง่ายเปน็ รูปแบบการสอ่ื สารท่ีเรยี กวา่ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (Email) ภาพท่ี 3.2 เซอร์ ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี ผู้พัฒนาระบบ เวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ ท่ีมา: ประภาส อยู่เย็น (2564) การพฒั นาเทคโนโลยใี นการสื่อสารมาถึงขดี สุดใน ปี ค.ศ. 1989 หลงั จากท่ีไดม้ ีการพัฒนา โทรศัพท์มือถือเพ่ือติดต่อสื่อสารกัน เวิลด์ไวด์เว็บ (www) ก็ถือกาเนิดเป็นคร้ังแรกท่ีประเทศ สหรัฐอเมริกา โดย Tim Berners-Lee ชาวอังกฤษ ถือเป็นการเปิดประตูสู่โลกอินเตอร์เน็ตที่มีส่วน เช่อื มโลกทัง้ ใบเข้าไว้ดว้ ยกนั ยุคเครอื ข่ายสงั คม (Age of Social Network) เทคโนโลยีส่ือสารเข้ามามีบทบาทสาคัญในการดาเนินชีวิต มากกว่าการแลกเปลี่ยนข้อมลู แต่รวมไปถึงภาคธุรกิจ การศึกษา การแพทย์ ก่อให้เกิดยุคแห่งการเช่ือมต่อถึงกันอย่างไร้พรมแดน โซเชียลมีเดีย (Social Media) ซึ่งกลายเป็นเคร่ืองมือการส่ือสารสาหรับวิถีชีวิตคนยุคใหม่ท่ีพาให้ รูปแบบการสื่อสารก้าวไปสู่การสื่อสารสังคม ในปี ค.ศ. 1992 สมาร์ตโฟนเครื่องแรกถือกาเนิดข้ึนโดย

31 บริษัท IBM เผยโฉมเทคโนโลยีท่ีสามารถทาได้มากกว่าการสื่อสารเป็นต้นแบบนวัตกรรม โทรศัพท์เคลื่อนที่แห่งโลกอนาคต รวมทั้งการส่ือสารท่ีสามารถส่งข้อความส้ันผ่านมือถือได้ในขณะน้ัน ท่เี รยี กว่า Short Message Service (SMS) หรอื บางคนเรียกวา่ Text Messaging เป็นการส่งขอ้ ความ ตัวอักษรสั้น ๆ หากัน ซ่ึงสามารถส่งได้หลายวิธี เช่นจากโทรศัพท์มือถือเครื่องนึง ไปยังอีกเคร่ืองหนึ่ง กระแสความนิยมการส่ือสารด้วยการส่งข้อความเป็นผลให้กาเนิดแอปพลิเคชันแชทแรก ในปี ค.ศ. 1996 คอื ICQ โดย Mirabilis Company บรษิ ทั ในประเทศอิสราเอลท่ีได้พัฒนาขนึ้ ซึ่งได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายไปทั่วโลก จากน้นั การพฒั นาเทคโนโลยเี ครือข่ายไร้สาย และการตดิ ตอ่ ส่ือสารผา่ นทาง อินเทอร์เน็ตก็เร่ิมขึ้นด้วยโปรแกรมในรปู แบบแชท ส่งข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว จนกลายเป็น เครอื ขา่ ยการสือ่ สารออนไลน์ขนาดใหญไ่ ปทั่วโลก แนวคดิ การสอื่ สารยคุ ดจิ ทิ ลั (Communication Model in digital Age) แนวคิดการส่ือสารยุคดิจิทัล (Communication Model in digital Age) ปัจจุบันส่ือใหม่ ถือเป็นการสอื่ สารที่มีรปู แบบการส่ือสารใหม่ ๆ เกิดขึ้นเพื่อเพิ่มสว่ นขยายทางการสอื่ สารเปิดโอกาสให้ มนุษย์สามารถนาเสนอเรื่องราว ความรู้สึกนึกคิดตลอดจนความคิดเห็นได้อย่างเสรีบนพื้นที่ส่วนตัว หรือโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) และยังสามารถสร้างความสัมพันธ์กับผู้คนท่ีมีพ้ืนท่ีเสมือนจริง ได้จนขยายเป็นเครือข่ายสังคม แบบออนไลน์ (Social Networking) สร้างปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ หลากหลายทั้งการตอบกลับในเวลาต่อมาและโต้ตอบแบบทันทีทันใด (Real Time Interaction) อย่างไรก็ตามผลลัพธ์แห่งการเปลี่ยนแปลงอาจไม่ใช้เพียงแค่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ สื่อสารเพียงอย่างเดยี วแต่อาจหมายรวมถึงพฤติกรรมทางการส่อื สารของมนุษยท์ ่ีได้รับอิทธิพลมาจาก การพัฒนารูปแบบการส่ือสารใหม่ ๆ อีกด้วย การส่ือสารผ่านสื่อใหม่ทาให้บทบาททางการส่ือสาร มีความเปลี่ยนแปลงด้วยการทาลายข้อจากัดทางการส่ือสารจากเดิมท่ีผู้รับสารจะต้องรอเวลาในการ เผยแพร่เน้ือหาผ่านส่ือดั้งเดิมบทบาททางการสื่อสารของผู้รับสาร (Receiver) อยู่ในลักษณะที่เป็น ผู้ตาม (Passive Receiver) แต่ด้วยคุณลักษณะของส่ือใหม่ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้รับสารสามารถเข้าถึง เนอ้ื หาได้ตามความต้องการทั้งด้านเวลาสถานทร่ี วมถึงความสนใจผู้รับสารสามารถเข้าถึงและแสวงหา ข้อมูลด้วยตนเองทาให้บทบาทของผู้รับสารเป็นไปในลักษณะของการแสวงหาข้อมูลหรือเป็นผู้เลือก มากกว่าผู้ตาม (Active Audience) หรือเรียกว่า เป็นผู้แสวงหาหรือเลือกข้อมูลท่ีโดยเสรี (Active Seeker) อย่างไรก็ตามเม่ือเทคโนโลยีการส่ือสารได้เปลี่ยนแปลงไปมนษุ ย์กจ็ ะตอบรบั การเปลีย่ นแปลง เหลา่ น้นั ดว้ ยพฤติกรรมวฒั นธรรมและค่านิยมเชน่ กนั นับเป็นพลวัตแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เปน็ ปจั จัยใน การพัฒนาซึ่งกันและกัน ปรากฏการณ์ทางการส่ือสารในยุคดิจิทัลเป็นเครื่องบ่งชี้ให้เห็นถึงลักษณะ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยีการส่ือสารกับสงั คมมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นทางเลือกในการสอื่ สารช่องทาง การส่ือสารใหม่ ๆ รูปแบบการส่ือสารพฤติกรรมในการส่ือสารรวมไปถึงวัฒนธรรมการสื่ อสาร ที่เปล่ียนแปลงไปสอดคล้องกับคากล่าวของ มาร์แชล แมคลูฮัน ที่ว่า “Medium is the message: สื่อเป็นตัวกาหนดแนวทางการสื่อสารของมวลมนุษยชาติ” (วรวุฒิ อ่อนน่วม, 2555) โดยสามารถแบง่ วิวัฒนาการของโลกยุคดจิ ทิ ลั เป็น 4 ยุค ดงั นี้

32 1. การส่ือสารยุค Digital 1.0 หรือ ยุค Internet เป็นยุคเริ่มต้นของการนา Internet มาใช้งานการดาเนินชีวิตของคนในสังคมเริ่มเปลี่ยนจากออฟไลน์ (Offline) เป็นออนไลน์ (Online) มากขึ้น มีการจัดทาเว็บไซต์ Website ของหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ เพ่ือใช้ในการเผยแพร่ข้อมูล สารต่าง ๆ สู่สาธารณะ มีการส่งจดหมายทางอินเทอร์เน็ต ท่ีเรียกว่า อีเมล (E-mail) แทนการส่ง จดหมายทางไปรษณีย์ สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ บนโลก Internet ได้ง่ายสะดวกรวดเร็วได้ ทั่วโลกในเวลาอันสั้นตลอด 24 ช่ัวโมง ส่งผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะการส่ือสารและการดาเนินธุรกิจทั้งภาครัฐและเอกชนให้มีความสะดวกรวดเร็วมากข้ึน จึงตอ้ งเริ่มปรบั ตวั รับกระแสการนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชป้ ระโยชน์ในการทาธรุ กรรมต่าง ๆ มากข้ึน 2. การส่ือสารยุค Digital 2.0 หรือยุค Social Media เป็นยุคที่มีการพัฒนาแอปพลิเคชัน ต่าง ๆ มาใช้บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ ให้สามารถติดต่อส่ือสารบนโลกออนไลน์ เป็น เครือข่ายสังคม Social Network เร่ิมจากการคุย หรือแชทกับเพ่ือนทั้งเป็นบุคคลและเป็นกลุ่ม จากนั้นพัฒนาไปสู่การดาเนินธุรกิจโดยใช้ Social Media ในการสร้างเครือข่ายในการทาธุรกิจเพ่ือ ตอบสนองความต้องการผู้บรโิ ภคและผู้รับบริการได้อยา่ งกว้างขวางสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะการนามาใช้ในการประชาสัมพันธ์และพัฒนาส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กรออกไป สังคมโลกอย่างไร้ขีดจากัดภายในเวลาอันส้ัน ปัจจุบันเป็นท่ียอมรับว่า Social Media ได้กลายเป็น สว่ นหน่ึงในชวี ิตประจาวนั ของคนส่วนใหญ่ ทกุ คนท่ีใช้ Social Media สามารถผลิตและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารได้ทุกท่ีทุกเวลาโดยไม่ต้องอยู่หน้าคอมพิวเตอร์อีกต่อไป สามารถปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นทุกที่ ทกุ เวลาโดยเสรดี ้วยตน้ ทนุ นอ้ ยทสี่ ดุ 3. การสื่อสารยุค Digital 3.0 หรือยุค Data เป็นยุคของการใช้ข้อมูลหรือ Data โดยการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาประมวลผลข้อมูล หรือสารสนเทศท่ีถูกนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ ข้อมูลขนาดใหญ่ Big Data เพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในการดาเนินกิจการต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้ ระบบคลาวด์ (Cloud Computing) มาช่วยอานวยความสะดวก จัดเก็บข้อมูล ทาให้สามารถพัฒนา แอปพลิเคชัน (Application) จานวนมากมาใช้ประโยชน์ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านส่ือสังคม ออนไลน์ (Social Media) ทาให้เกดิ การขยายตัวในการทาธรุ กรรม การติดต่อส่ือสาร ของคนในสังคม ได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งข้ึน มีการสร้าง Platform ต่าง ๆ เพ่ือให้บริษัทหรือบุคคลภายนอกนา ข้อมูล สารสนเทศมาไว้บน Platform ได้อย่างอิสรเสรี และสร้างข้ึนเพื่อให้คนทั่วไปเข้ามาใช้ข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ และบริการไปใช้ประโยชน์ เช่น Facebook, YouTube และ Pinterest เป็นต้น ในยคุ นีเ้ ป็นยคุ ที่ “ใครมขี อ้ มูลมากกม็ อี านาจมาก” 4. การส่ือสารยุค Digital 4.0 ยุค หรือยุค Human to Machine และ Machine-to- Machine เป็นยุคท่ีการพัฒนาเทคโนโลยีทาให้อุปกรณ์การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ มีความฉลาด สามารถติดต่อสื่อสารและสั่งการให้ทางานเองได้อย่างอัตโนมัติสามารถเปิด-ปิด หรือสั่งงานผ่านแอป พลิเคชันได้โดยไม่ต้องกดสวิตช์ท่ีตัวอุปกรณ์ การสั่งงานด้วยคาพูดในโทรศัพท์แบบสมาร์ตโฟนให้ ถ่ายภาพหรือเขียนข้อความโดยอัตโนมัติในยุคน้ีเทคโนโลยีดิจิทัล การพูดคุยส่ือสารกับหุ่นยนต์เพ่ือทา ธุรกรรมต่าง ๆ เช่น Chat bot, Mobile Platform, AI หรือปัญญาประดิษฐ์ 3D Printing, Internet of Things, Fintech เทคโนโลยีการสื่อสารเหล่าน้ีจะมาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตประจาวัน ของคนในสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้มากข้ึนเรื่อย ๆ องค์กรต่าง ๆ จึงต้องปรับตัวให้ทันกับการพัฒนา

33 นวัตกรรมต่าง ๆ บนโลกดิจิทัล เพื่อนามาพัฒนาปรับปรุงการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ ในการสร้างสรรคก์ ารสือ่ สารในยุคดจิ ทิ ลั ความหมายของการส่อื สารดว้ ยส่ือดจิ ทิ ลั (Digital Communication) วรวุฒิ อ่อนน่วม (2555) ให้ความหมายว่า เป็นการนาเอาข้อความ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียงหรือวีดิทัศน์ มาเรียบเรียงผสมผสานเข้าด้วยกันในรูปแบบสื่อดิจิทัล จนเกิดเป็น สือ่ ทม่ี คี วามหลากหลายและเขา้ ถึงผู้รบั สารไดอ้ ยา่ งตรงเปา้ หมาย บุหงา ชัยสุวรรณ (2558) ให้ความหมาย การส่ือสารด้วยส่ือดิจิทัลเป็นการสื่อสารข้อมูล ท่ีมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาเก่ียวข้อง มีรูปแบบการสื่อสารข้อมูลที่หลากหลาย มีการนาเอาข้อความ ภาพกราฟิก ภาพเคล่ือนไหว เสียง หรือวีดิทัศน์ มาเรียบเรียงผสมผสานเข้าด้วยกัน จนเกิดเป็นสื่อท่ีมี ความหลากหลายและเข้าถึงผู้รับสารได้อย่างตรงเป้าหมายมากท่ีสุด การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งสาร และผ้รู ับสารจึงเกดิ ข้นึ ไดต้ ลอดเวลาผา่ นอปุ กรณ์สมาร์ตโฟน สรุปการส่ือสารทางดิจิทัล หมายถึง การส่ือสารที่ใช้เทคโนโลยีสื่อดิจิทัลในรูปแบบ ข้อความ ภาพกราฟิก ภาพเคล่ือนไหว เสียง หรือวีดิทัศน์ มาผนวกกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพ่ือการ ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งผู้ส่งสารและผู้รับสาร ให้เกิดการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศระหวา่ งกนั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รูปแบบการสื่อสารดิจทิ ลั การสื่อสารด้วยสื่อดิจิทัลเป็นการสื่อสารข้อมูลท่ีมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาเก่ียวข้อง มีรูปแบบการสื่อสารข้อมูลท่ีหลากหลาย การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารจึงเกิดข้ึนได้ ตลอดเวลาผ่านอุปกรณ์ มีสื่อท่ีมีความหลากหลายและเข้าถึงผู้รับสารได้อย่างตรงเป้าหมาย อานวย ความสะดวกใหก้ บั ผสู้ อ่ื สาร ทง้ั สองฝา่ ยเปลยี่ นบทบาทกนั เองเป็นผู้รับสารและผสู้ ง่ สารในกระบวนการ สอื่ สารได้ (McMillan, 2006) ซึง่ สามารถแบง่ รปู แบบการสื่อไดห้ ลากหลาย ดงั นี้ 1. แบ่งตามการปฏิสัมพนั ธ์ของมติ เิ วลา 1.1 การสื่อสารแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Transmission) เป็นการส่ือสาร แบบไม่ประสานจังหวะเวลา เช่น การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทางผู้ส่งสามารถส่งได้เลยโดยไม่ จาเป็นต้องเข้าจังหวะการสื่อสารระหว่างฝ่ายผู้ส่งกับฝ่ายผู้รับ ผู้รับจะทราบว่ามีอีเมลส่งมาถึงตน กต็ อ่ เมอื่ ได้มีการตรวจสอบขอ้ มูลจากเมลบอ็ กซ์เท่าน้ัน นอกนยี้ งั รวมถงึ เว็บบอร์ด วกิ พิ ีเดยี เปน็ ต้น 1.2 การสื่อสารแบบซิงโครนัส (Synchronous Transmission) เป็นการสื่อสารแบบ ประสานจังหวะ การรับและส่งจะต้องมีจังหวะที่สอดคล้องกัน ซ่ึงแตกต่างจากการส่ือสารแบบ อะซิงโครนัสที่สามารถส่งข้อมูลได้ทันทีโดยไม่ต้องรอการเข้าจังหวะ การส่ือสารแบบซิงโครนัสจึงมี ความรวดเรว็ กวา่ แบบอะซิงโครนสั ตัวอยา่ งการสอ่ื สารวธิ นี ี้ เชน่ การสือ่ สารภายในระบบคอมพวิ เตอร์ และการสนทนาออนไลน์ วิดโี อคอล แชทแบบไลฟ์สด

34 2. แบ่งตามลักษณะของส่อื 2.1 สอ่ื กลุม่ ส่ือสงั คมออนไลน์ (Social Media) เปน็ ส่อื แพลตฟอร์ม ทเ่ี นน้ การส่ือสาร ระหว่างกันบนเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์ แอปพลิเคชันและโปรแกรม ประยุกต์ด้วยอุปกรณ์ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้สง่ สารและผู้รับสารใน เวลาเดียวกันแบบมีส่วนร่วม มีการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบมัลติมีเดียท่ีหลากหลาย เช่น Facebook Twitter และ Instagram เปน็ ต้น 2.2 ส่ือรูปแบบสมุดบันทึก หรือเว็บบล็อก (Blogs) รูปแบบการส่ือสารผ่านเว็บไซต์ รปู แบบหนึง่ ทม่ี ีลักษณะรูปร่างหน้าตาคล้าย ๆ กบั การเขยี นไดอารี่ หรือบนั ทึกส่วนตัว มรี ะบบทีผ่ ้อู า่ น และผู้เขียนสามารถแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนกันได้ โดยผ่านทางระบบ Comment ของบล็อก เชน่ Blogger เปน็ ตน้ 2.3 ส่ือการสนทนาผ่านข้อความหรือสัญลักษณ์ โปรแกรมแชท (Chat Massaging) คือ การพูดคุยออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถสื่อสารผ่านข้อความ เสียง และรูปภาพและวิดีโอ รวมถึงข้อความด้วยสัญลักษณ์พิเศษ เช่น สติกเกอร์ อิโมจิ โต้ตอบกันอย่างทันทีทันใด (Real-time) เชน่ Line Facebook และ Messenger เปน็ ตน้ 2.4 ส่ือการนาเสนอภาพเคลื่อนไหว วิดีโอสตรีมม่ิง (Video Streaming) วิดีโอ ถ่ายทอดสด (Live video) ส่ือประเภทวิดีโอท่ีรับชมได้ผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถนาเสนอได้ทั้ง แบบ on-demand และ broadcast มีการจัดการเก่ียวกับการส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายสาหรับผู้ใช้ จานวนมาก มคี วามยืดหยุ่น ในการนาเสนอได้ ตัวอยา่ งเชน่ Netflix YouTube และ TikTok เป็นตน้ 2.5 สื่อนาเสนอเฉพาะเสียง เป็นสื่อที่ใช้การสื่อสารผ่านการส่งข้อมูลเสียงให้ผู้ฟังผ่าน อินเทอร์เน็ต เป็นรูปแบบรายการท่ีสามารถรับฟังและรับชมได้ท้ังแบบประสานเวลา และไม่ประสาน เวลาที่แบ่งเป็นตอน ๆ สามารถดาวน์โหลดมาเก็บไว้ในเคร่ืองเพ่ือฟังแบบออฟไลน์ จุดเด่นคือผู้ใช้งาน สามารถรับฟังหรือรับชมตอนไหนก็ได้ เช่น พอดแคส Podcast วิทยุออนไลน์ และแบบถ่ายทอดสด เฉพาะกลุ่มไมส่ ามารถบันทึกได้ เชน่ Clubhouse เปน็ ต้น ประโยชน์การสือ่ สารยคุ ดจิ ิทลั ดา้ นการสือ่ สารธุรกจิ และการตลาด 1. การส่ือสารยุคดิจิทัลกลายเป็นพ้ืนที่ทางการค้าและการตลาด หรือท่ีเรียกว่าตลาด ออนไลน์ ซ่งึ เจริญเตบิ โตอยา่ งมาก การสือ่ สารด้วย Social Media น้ันเปน็ สว่ นหน่ึงในชวี ิตของผู้คนใน ปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบาย จึงส่งผลให้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ได้ผลสัมฤทธิ์ตามท่ีต้องการ และยงั ช่วยเปน็ หนึ่งในชอ่ งทางการทาธรุ กิจของตนเอง 2. เป็นห้องประชุมเคลื่อนท่ี ในการทางานเป็นทีมหลาย ๆ คร้ังจะต้องมีการประชุมหรือ ระดมสมอง เพ่ือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานน้ัน เคร่ืองมือการส่ือสารยุคดิจิทัล อย่างเช่น Line หรือ Facebook ท่ีสามารถจัดต้ังกลุ่มในการสนทนา โทร วิดีโอคอล และ Live ภายในกลุ่มได้ จึงเหมาะอยา่ งมากทจ่ี ะเปน็ พื้นทหี่ รือส่ือกลางในการประชุม พูดคยุ ออกเสียงหรอื ประสานงาน เพราะ

35 ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหนก็สามารถเข้าประชุมได้ ระยะทางจึงไม่เป็นอุปสรรคในการประชุม และประหยัด คา่ ใช้จ่ายในการจดั การประชุม 3. บันทึกและแชร์ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในการทางาน ข้อมูลดี ๆ ท่ีมีประโยชน์ต่อการ ทางาน ผู้ใช้งานสามารถส่งต่อและแบ่งปัน link หรือไฟล์ข้อมูลให้กับเพ่ือนร่วมงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว รวมทั้งสามารถบันทึกข้อมูลสาคัญที่เก่ียวข้องกับงานได้ด้วย เช่น Line มีฟีเจอร์ Keep ทส่ี ามารถบนั ทึกขอ้ ความ ไฟล์ข้อมลู link รปู ภาพหรอื วดิ โี อได้ 4. เผยแพร่และแจ้งข่าว โดยใช้พื้นท่ีของการติดต่อส่ือสาร ผ่าน Social Media ในการ แจง้ ข่าวสาร ขา่ วดว่ น หรอื เหตกุ ารณ์สาคญั ทเี่ กี่ยวกับการทางานได้อยา่ งรวดเร็วและทัว่ ถึง ด้านการศกึ ษา 1. ชว่ ยลดช่องวา่ งทางการศึกษา ด้วยการตดิ ต่อสอ่ื สารการเรยี นรทู้ างไกล 2. ใช้เป็นเคร่ืองมือช่วยสอนอานวยความสะดวกในการสอนและการส่ือสารระหว่าง ผ้เู รยี นและผสู้ อนสร้างปฏสิ ัมพันธแ์ ละทางานร่วมกนั ได้ทุกทที่ ุกเวลา 3. เป็นเคร่ืองมือค้นหาความรู้จากแหล่งทรัพยากรความรู้ออนไลน์บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ศึกษาจากหลักสูตรออนไลน์ที่มีแพร่หลาย ใช้สร้างสรรค์ผลงานการเรียนรู้ของตนเอง นาเสนอ แบง่ ปนั แลกเปลี่ยน และสรา้ งมูลคา่ ผลงานความรู้ของตนเองสสู่ าธารณชน 4. การเข้าถึงระบบการศึกษาได้ง่ายข้ึน เช่น ระบบการสมัครออนไลน์ การสมัครผ่าน ไปรษณยี ์ และอน่ื ๆ อกี หลายวธิ ีที่จะเขา้ ถงึ ระบบการศึกษาสถาบันการศึกษามีการปรบั เปลย่ี นบทบาท เป็นอย่างมาก มีการนาเทคโนโลยีมาใช้อานวยความสะดวกสาหรับผู้ศึกษา เช่น ระบบลงทะเบียน ออนไลน์ ระบบการแจ้งผลการเรียนออนไลน์ เป็นต้น ทุกวันนี้ผู้ศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่งเทคโนโลยี เพือ่ ใชป้ ระโยชนต์ ่อการศึกษา การเขา้ ถึงขอ้ มูลขา่ วสารสามารถทาได้อย่างง่ายดาย ดา้ นสุขภาพและการแพทย์ 1. เทคโนโลยีการสื่อสารอันทันสมัยจะช่วยให้คนอายุยืนมากข้ึน ผู้ป่วยสามารถรักษากับ แพทย์ผู้เช่ียวชาญในแต่ละด้าน แม้ว่าจะอยู่คนละมุมโลกกัน เพราะข้อมูลคนไข้ประวัติ การ รกั ษาพยาบาล ผลของฟลิ ์มเอกซเรย์ สามารถส่งผา่ นข้อมูลออนไลน์ได้ทั่วถงึ กัน 2. เชื่อมโยงข้อมูลทางการแพทย์ระหว่างชุมชน โรงพยาบาล หน่วยงานภาครัฐ และ องค์กรเวชภัณฑ์ได้อย่างท่ัวถึง เกิดเป็นระบบสาธารณสุขที่ฉลาดและมีประสิทธิภาพ สามารถ คาดการณ์รูปแบบการระบาดของโรคศักยภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วย และแนวทางป้องกันไม่ให้เกิด การแพร่ระบาดซ้าในอนาคต เชน่ แอปพลเิ คชนั หมอชนะช่วยติดตามรายงานการเดินทางของผ้ตู ิดเช้ือ โควดิ 19 ด้านการเงินการธนาคาร 1. เนื่องจากความสามารถของเทคโนโลยีท่ีมากขึ้น ทาให้ระบบ Mobile Banking เข้ามา แทนท่ี ไม่ต้องทาธุรกรรมผ่านเจ้าหน้าท่ีธนาคาร ขณะเดียวกันการวิเคราะห์สินเช่ืออาจใช้ AI หรือ ปญั ญาประดษิ ฐ์แทนพนกั งานไดม้ ากขึ้น 2. การทาธุรกรรมทางการเงินระหว่างบุคคลกับบุคคล หรือระหว่างบุคคลกับองค์กร ต่าง ๆ มีความสะดวก ตรวจสอบข้อมูลและเส้นทางของการเงินได้ง่าย ลดข้ันตอนการส่ือสารท่ี ยาวนานในการอนุมตั ิ

36 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอ่ื งมือสื่อสารในยคุ ดิจทิ ัล อุปกรณ์การส่ือสารถือเป็นตัวแปรท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในรูปแบบที่แตกต่าง เพ่ือให้สอดรับกับรูปแบบการสื่อสารใหม่ท่ีมนุษย์ได้พัฒนาข้ึน ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ท่ีได้รับ การออกแบบให้ออกมาในรูปของสมาร์ตโฟน (Smartphone) เต็มไปด้วยซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ที่ อานวยความสะดวกให้การติดต่อส่ือสารเป็นไปอย่างง่ายขึ้นและหลากหลายช่องทางมากขึ้น โทรศพั ทเ์ คล่ือนทีใ่ นปัจจุบันไม่เพียงแตเ่ ปน็ อุปกรณ์การส่ือสารที่ใช้ได้เพยี งการโทรศัพท์พูดคยุ หรอื ส่ง ข้อความได้เท่านั้น แต่ยังสามารถรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) สามารถเชื่อมต่อกับ อนิ เทอรเ์ นต็ เพื่อเปดิ ช่องทางการสือ่ สารอืน่ ๆ ทม่ี ากกว่าการโทรศพั ท์ เช่น การพูดคุยผา่ นการสนทนา ข้อความ (Chatting) การเข้าสู่เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking) หรือการพูดคุยกันโดย เช่ือมต่อกับอินเทอร์เน็ต (Free Call) ทาให้ไม่ต้องเสียค่าบริการโทรศัพท์ไปจนถึงการพูดคุยแบบเห็น หน้ากัน (Video Call) เป็นต้น ยังไม่นับรวมถึงคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Tablet) ท่ีสามารถ ติดต่อสื่อสารผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ด้วยโปรแกรมซอฟต์แวร์ตา่ ง ๆ ซง่ึ มลี กั ษณะดังน้ี 1. Mobility เปน็ การใช้เครือ่ งมือติดต่อส่ือสารแบบเคลอื่ นโดยผา่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต แบบไร้สาย มุ่งเน้นไปที่อุปกรณ์การสื่อสารที่สามารถพกติดตัวและเชื่อมต่อกับโครงข่ายสัญญาณ โดย มีแอปพลิเคชันในการสนับสนุนการติดต่อส่ือสารได้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ข้อความ รูปภาพ หรือวิดีโอ เป็นต้น โทรศัพท์มือถือเป็นปัจจัยหลักของการส่ือสารในอนาคต โดยปกติทั่วไปท่ีไว้แค่โทร ออกและรับสายเปล่ียนรปู แบบเป็น “โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่อัจฉริยะ” หรอื “Smart Phone” ซง่ึ มกี ารนา เทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสง่ิ (Internet of Things) มาใช้เพ่ือเชื่อมต่อการสื่อสารไม่เฉพาะ แค่การส่ือสารของมนุษย์ด้วยกันเองเท่านน้ัน ยังรวมถึงการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์และเคร่ืองจักร ดว้ ยกนั เอง 2. Social คือ ลักษณะในการติดต่อสื่อสารในปัจจุบันเน้นการสื่อสารของกลุ่มบุคคล จานวนหนง่ึ ซงึ่ สามารถสื่อสารเฉพาะหนา้ ระหวา่ งกนั ได้ และมคี วามสนใจหรือการแสดงออกรว่ มกันใน เรื่องใดเร่ืองหนึ่ง โดยอาจเป็นการสื่อสารแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หรือแบบหนึ่งคนต่อหลาย ๆ คน เพื่อเป็น การส่งข้อมูลข่าวสารสู่สมาชิกในกลุ่มก็ได้ โดยใช้ Social Platform ซ่ึงประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ มีด้วยกันหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนามาใช้โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หลักดังน้ี (สุชีรา พระมาลา และรุจเรข อศั วจติ ตภ์ กั ดี, 2559) 1) Weblogs หรือเรียกส้นั ๆ วา่ Blogs คอื ส่อื สว่ นบุคคลบนอินเทอร์เนต็ ที่ใช้เผยแพร่ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่น ๆ โดยผู้รับสาร สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมได้ ซ่ึงการแสดงเน้ือหาของบล็อกนั้นจะเรียงลาดบั จากเนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเน้ือหาย้อนหลังเพ่ืออ่านและแก้ไข เพิม่ เติมไดต้ ลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang, Wordpress, Blogger, Okanation เปน็ ต้น 2) Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทาง สังคมทีใ่ ช้สาหรับเชื่อมต่อระหว่างบคุ คล กลุ่มบุคคล เพ่อื ให้เกิดเปน็ กลมุ่ สังคม (Social Community) เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in, MySpace, Youmeo, Friendste เปน็ ตน้

37 3) Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจ๋ิว” ซ่ึงเป็นเว็บ เซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลท่ัวไป สาหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้น ๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ท่ีเรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่ากาลังทาอะไรอยู่ หรอื แจง้ ขา่ วสารต่าง ๆ แก่กล่มุ เพ่ือนในสังคมออนไลน์ (Online Social Network) ทง้ั นกี้ ารกาหนดให้ ใช้ข้อมูลในรูปข้อความสั้น ๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้งผู้เขียนและผู้อ่านเข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่าง แพร่หลายคอื Twitter 4) Online Video เป็นเว็บไซต์ท่ีให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซ่ึงปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นาเสนอใน วิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจากัดโดยผังรายการท่ีแน่นอนและตายตัว ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้ อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่มีโฆษณาค่ัน รวมท้ังผู้ใช้สามารถเลือกชมเน้ือหาได้ตามความต้องการและยัง สามารถเชอ่ื มโยงไปยงั เวบ็ วิดีโออ่ืน ๆ ที่เกีย่ วข้องไดจ้ านวนมากอีกด้วย เชน่ Youtube, MSN, Yahoo เป็นต้น 5) Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ท่ีเน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถ อัปโหลดและดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อนามาใช้งานได้ ที่สาคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาส แบ่งปันรูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพ้ืนที่เพ่ือเสนอขายภาพที่ตนเองนาเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop, Express เป็นตน้ 6) Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่งผู้เขียนส่วนใหญ่อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านต่าง ๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซ่ึงผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth เปน็ ต้น 7) Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจาลองส่วนหน่ึงของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพ่ือสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตใน ลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้าน ธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สานักข่าวรอยเตอร์ สานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการซ้ือพื้นที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กรได้มีช่องทางในการนาเสนอเร่ืองราวต่าง ๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าทั้งหลัก และรองหรือ ผู้ที่เก่ียวข้องกับ ธุรกิจ ของบริษัท หรือองค์การก็ได้ ปัจจุบันเว็บไซต์ท่ีใช้หลัก Virtual Worlds ที่ประสบผลสาเร็จและ มชี อื่ เสียง คือ Second life 8) Crowd Sourcing มาจากการรวมของคาสองคาคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทาในรูปของเว็บไซต์ ท่ีมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาคาตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการ สื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความ คิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะกลุ่มคนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนท่ัวไปหรือผู้มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะดา้ นท่ีอยู่ในภาคธรุ กจิ หรือแม้แต่ในสังคมนักขา่ ว ข้อดีของการใช้หลัก Crowd souring คอื ทาให้ เกิดความหลากหลายทางความคิดเพ่ือนาไปสู่การแก้ปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบ หรอื คดั กรองขอ้ มูลซง่ึ เป็นปญั หาสาธารณะรว่ มกนั ได้ เช่น Idea storm เปน็ ต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook