Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1414005TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป4[230125]

1414005TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป4[230125]

Published by captionthanakorn.n, 2023-07-16 05:50:46

Description: 1414005TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป4[230125]

Search

Read the Text Version

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๓. เกมจับนกกา 1. ใหน ักเรียนแบงกลุม กลุมละเทา ๆ กัน ๑) แบง ผูเลน เปนผูไลจ บั นกกา ๔ - ๕ คน ผเู ลนท่เี หลอื เปน นกกา จากน้นั ใหนักเรยี นศกึ ษาวธิ กี ารเลน เกม และ ๒) ขดี วงกลมเปนเสนกาํ หนดเขตนกกาออกหากิน เลนเกมเลยี นแบบ ๓) เมื่อเร่ิมเลน นกกาจะบินเขาไปหากนิ ในเขต ผูไลจ บั นกกาตองวง่ิ • เกมนํ้าหยุดไหล ไลจับนกกาใหได • เกมอวนจบั ปลา ๔) ถานกกาตัวใดถูกจับไดจะตองเปนผูไลจับตอไป และจับจนหมด 2. ใหน ักเรยี นแตล ะกลมุ ชว ยกันคิดวา ทาทาง ทกุ ตวั นกกา การเลยี นแบบน้าํ ปลา และอวน เปน อยา งไร ไดอ กี บาง แลวออกมาแสดงใหเพือ่ นกลมุ อนื่ ดู 3. ใหน ักเรียนกลมุ เดิมศกึ ษาวธิ กี ารเลนเกม 4. ใหน ักเรียนแตละกลมุ ชว ยกนั คดิ วา ทาทาง การเลยี นแบบนกกา เปด และไก เปนอยา งไร ไดอ กี บา ง แลวออกมาแสดงใหเ พอ่ื นกลุมอนื่ ดู เขตหากนิ ผูจ ับนกกา ๔. เกมเปด หรือไก ๑) แบง ผูเ ลนเปน ๒ กลุม เทาๆ กนั กลมุ หนึง่ เปนเปด อีกกลุม หน่งึ เปนไก โดยใหแสดงทาทางของสตั วที่กลมุ ตนเองได ๒) จับคูกันระหวางเปดกับไก แลวใหเปายิงฉุบ ถาฝายใดแพตอง เปลย่ี นทาทางเปนฝา ยท่ชี นะ แลวใหจบั คทู ่เี ปน สตั วต า งชนิดกับตนเปา ยงิ ฉบุ อกี จนกวาจะเหลือสัตวเพยี งชนิดเดียวเปนฝา ยชนะ ฝา ยไก ฝายเปด ๙๑ ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT เกร็ดแนะครู เกมเลยี นแบบใดท่ชี วยเสริมสรางความสามคั คี การเลนเกมจบั นกกา ครูใหผูเลน ทเ่ี ปนนกสงเสยี งรอ ง กา กา กา ขณะว่ิงหนี 1. เกมน้าํ หยดุ ไหล เพอื่ เพิม่ ความสนกุ สนาน 2. เกมเดินผลัดแบบปู 3. เกมเปดหรือไก การเลนเกมเปดหรือไก ครใู หนกั เรยี นทยี่ ังไมไดเปายงิ ฉุบแสดงทา ทางพรอ ม 4. เกมอวนจบั ปลา สงเสียงรอ งเลยี นแบบสตั วท ีต่ นทําทาเพ่อื เพิ่มความสนุกสนาน เชน ถา ผเู ลนเปนเปด วเิ คราะหคาํ ตอบ เกมนํา้ หยดุ ไหล เกมเปดหรือไก และเกมอวนจับปลา ใหสง เสยี งรอ ง กา บ กาบ กาบ และผเู ลนที่เปน ไกใหสง เสียงรอง กระตาก กระตา ก เปน เกมทีใ่ ชค วามสามารถเฉพาะคน สว นเกมเดินผลดั แบบปู เปน เกมท่ี หรือ กุก กุก กกุ เปนตน ตองใชค วามรวมแรงรวมใจกันในทมี โดยการผลัดกันเดนิ ใหค รบใหเร็ว ทสี่ ดุ หากมคี นใดคนหนง่ึ ไมใหค วามรว มมอื ก็อาจทาํ ใหทมี แพไ ด ดังนัน้ ขอ 2. เปนคาํ ตอบทถี่ กู คมู ือครู 91

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขาาใจใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Engage Explain Explain Expand Evaluate อธบิ ายความรู 1. ใหนักเรยี นศกึ ษาวิธีเลนเกม ๕. เกมแมลงปอกบั ยอดหญา แมลงปอ • เกมแมลงปอกับยอดหญา ๑) แบง กลมุ แตล ะกลมุ เขา แถวตอน • เกมเดนิ ผลดั แบบปู แลว สงตวั แทน ๑ คน ออกมานงั่ ใหหา งจาก หัวแถวประมาณ ๑๐ เมตร เพ่อื เปนยอดหญา 2. ใหนกั เรียนแตละกลุม ชวยกันคดิ วา ทา ทาง การเลียนแบบแมลงปอ หญา และปู ๒) เร่ิมเลน โดยคนหัวแถวแสดง เปน อยางไรไดอกี แลว ออกมาแสดงใหเ พอ่ื น ทาทางบินแบบแมลงปอไปท่ียอดหญา แลว กลุม อืน่ ดู บินวนรอบยอดหญาและกลับมาแตะคนถัดไป ทําเชนนี้จนครบ กลุมใดทําครบกอนจะเปน ขยายความเขา ใจ Expand ฝา ยชนะ 1. ใหน ักเรยี นแตละกลุมเลือกเลนเกมเลียนแบบ ยอดหญา มา 1 เกม แลว ตอบคําถามจากกิจกรรมการ เรียนรทู ี่ 1 ขอ 1 หนา 96 ๖. เกมเดินผลัดแบบปู ๑) แบงกลุม แตล ะกลมุ เขา แถวตอน 2. ใหน ักเรียนชว ยกันบอกประโยชนของเกม ๒) เร่ิมเลน โดยคนหัวแถวตองเดินแบบปูไปจนถึงเสนท่ีกําหนดไว เลียนแบบวา มีอะไรบา ง แลว กลบั มาที่เดิม จากน้ันลุกข้ึนมาแตะคนตอ ไป 3. ใหน กั เรยี นแตละกลมุ คดิ เกมเลียนแบบมา ๓) คนตอ ไปทาํ แบบเดมิ จนครบ กลุมละ 1 เกม จากนั้นออกมาสาธติ ใหเ พือ่ น กลมุ ใดทําครบกอ นจะเปน ฝา ยชนะ กลุมอ่ืนเลน ตาม ตรวจสอบผล Evaluate 1. ครูประเมนิ ผลการเลน เกมของนักเรียน โดย การสังเกตจากพฤติกรรมในการเลนเกมของ นกั เรยี น 2. ครปู ระเมนิ ผลความถูกตอ งและเหมาะสมของ เกมเลียนแบบทีน่ ักเรยี นคิด เสนท่กี ําหนด ๙๒ เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEิดT เกมในขอใดไมใ ชการเลียนแบบทาทางสัตว ครูควรตรวจสอบบริเวณทีท่ ําการเลน เกมวามีความปลอดภัยหรือไม เชน 1. เกมเปด หรอื ไก การเลนเกมผลดั แบบปู ครูควรตรวจสอบวาพน้ื สนามมเี ศษแกว เศษไมหรือไม 2. เกมจับนกกา เพราะหากพนื้ มีเศษแกว หรือเศษไมอ ยู อาจทําใหนักเรยี นไดร ับบาดเจ็บได และ 3. เกมน้ําหยุดไหล ครคู วรควบคมุ ดแู ลการเลน เกมของนักเรียนใหเ ปนไปตามกตกิ า โดยเขา แถวผลัดกนั 4. เกมอวนจบั ปลา เลนอยางเปน ระเบยี บ ไมแซงกัน รวมถึงระมดั ระวังไมใ หนักเรยี นเลน กนั รนุ แรง เชน วเิ คราะหคาํ ตอบ 1. เกมเปดหรอื ไก เปน การเลยี นแบบทา ทางของเปด รบี ผลกั เพอ่ื นใหเดินเรว็ เพราะอาจทาํ ใหเ กิดการบาดเจ็บได และไก 2. เกมจับนกกา เปนการเลียนแบบทา ทางของนกและกา 4. เกมอวนจับปลา เปนการเลียนแบบทา ทางของปลา แตเกมน้าํ หยดุ ไหลไมมีการเลยี นแบบทา ทางของสตั วใ นเกม ดังนน้ั ขอ 3. เปน คาํ ตอบทถี่ ูก 92 คมู อื ครู

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Evaluate Engage Explore Explain Expand Engage กระตนุ ความสนใจ ๒ กจิ กรรมแบบผลัด ครูนาํ ภาพกจิ กรรมหรอื เกมที่ตองผลัดกนั เลน กิจกรรมแบบผลัด เปนการออกกําลังกายที่ทําเปนกลุม ซ่ึงชวยใหผูเลน มาใหนักเรยี นดู แลวถามนักเรียนวา เจริญเติบโตสมวัย มีความสามัคคี มีความรับผิดชอบ และทํางานรวมกับผูอ่ืน ไดอยางสนุกสนานเพลิดเพลนิ ตวั อยา งกจิ กรรมแบบผลัด มีดังนี้ • ภาพนเ้ี ปนภาพของเกมอะไร • นกั เรยี นเคยเลนเกมเหมอื นในภาพน้ีหรือไม ๑. กระโดดเขยงแบบผลดั ๑) แบงกลมุ แตล ะกลุมเขา แถวตอน สาํ รวจคน หา Explore ๒) ใหคนหัวแถวกระโดดเขยงเทา ไปจนถึงเสน ทีก่ ําหนดไว แลวกลบั มาทีเ่ ดมิ คนตอไปทาํ แบบเดมิ จนครบ ใหน กั เรียนสืบคน ขอ มลู เกี่ยวกบั กจิ กรรมหรือ กลมุ ใดทําครบกอนจะเปน ฝายชนะ เกมแบบผลัดวา มจี ุดประสงคใ นการเลน อยางไร และกิจกรรมหรือเกมแบบผลัดมีอะไรบางนอกจาก ภาพท่คี รูนํามาใหด ู แลว ออกมานาํ เสนอ อธบิ ายความรู Explain เสนที่กําหนด 1. ครูและนักเรียนรว มกนั สรุปวา กิจกรรมหรือ เกมแบบผลัดเปน กิจกรรมทสี่ ง เสรมิ ใหเ กิด ๒. วิง่ เก็บของแบบผลดั ความสามคั คี เพราะเปนกจิ กรรมที่ตอ งเลน ๑) แบงกลุม แตละกลุมเขาแถวตอน แลวขีดเสนใหหางจากแถว เปนหมูคณะ โดยผลดั กันเลน จนครบทุกคน ประมาณ ๑๐ เมตร และนาํ สิ่งของ ๑ อยา ง มาวางหลังเสน 2. ใหน กั เรยี นแบงกลุม กลุม ละเทา ๆ กัน แลว ๒) ใหหัวแถวว่ิงไปเก็บของท่ีวางหลังเสนมาใหคนท่ี ๒ จากน้ันให ศึกษาวธิ เี ลน เกมและกจิ กรรมแบบผลัดแขงขัน คนที่ ๒ ว่งิ นําของไปวางไวท ่ีเดมิ แลวกลบั มาแตะคนที่ ๓ • กระโดดเขยง แบบผลดั ๓) ทําเชนน้ีไปเร่ือยๆ กลุมใดทําครบกอนจะเปน • ว่งิ เก็บของแบบผลดั ฝา ยชนะ 3. ใหน กั เรียนชวยกนั บอกประโยชนของการเลน กิจกรรมแบบผลัด • กระโดดเขยง แบบผลัด • วง่ิ เก็บของแบบผลัด สงิ่ ของทว่ี างหลงั เสน ๙๓ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT เกรด็ แนะครู การวิง่ เกบ็ ของแบบผลัด ผเู ลน เหยยี บทเ่ี สน กั้น โดยที่เทา เลยเสน เล็กนอย ครูควรใหน กั เรยี นแตละกลมุ วางแผนการเลนเกมกอ นการเลนจริง เพอ่ื ชวยฝก แลวเอ้ือมหยิบของ การกระทาํ ดังกลาวถอื วา ผิดกติกาหรอื ไม เพราะเหตใุ ด การคดิ วเิ คราะห วางแผน รวมถงึ สง เสริมคณุ ธรรมในดา นการมนี ํา้ ใจนกั กฬี า เชน แนวตอบ การว่ิงเกบ็ ของแบบผลดั ผูเลนจะตองวง่ิ ไปยงั จดุ ทม่ี เี สนก้ัน การรจู ักแพ การรจู ักชนะ การรูจกั อภัย เปนตน โดยอธิบายใหนกั เรียนเขา ใจวา และมีสิ่งของวางอยู ซ่ึงกติกาบอกไวว า ใหผ เู ลน เอือ้ มหยิบของไดโ ดยการยนื การเลน เกมควรเลน เพ่ือความสนกุ สนาน ผอนคลายความเครียด ฝก ไหวพริบ ไมใ ช หลังเสน กนั้ ดงั นน้ั การเหยียบเสน กน้ั แลวเอื้อมหยบิ ของจึงถือวาผดิ กติกา มุงเนนผลแพช นะ และเมือ่ เราแพก ค็ วรมนี ํ้าใจนักกฬี า คือ ยอมรับวาแพ หรือหาก ชนะกไ็ มควรพดู เยาะเยยผูแ พ คูมอื ครู 93

กระตุน ความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ใหนกั เรยี นศึกษาวิธีการเลน เกมและ ๓. เดินถอื ลูกบอลไวขา งหลงั เลนกจิ กรรมแบบผลดั แขงขนั ๑) แบงกลุม แลวยนื เปนวงกลม ผูเ ลน ทกุ คนเอามอื ไขวไวขา งหลัง • เดนิ ถอื ลูกบอลไวข างตวั ๒) เลือกตวั แทนมา ๒ คน เปน ผูสง บอล โดยใหถอื ลกู บอลไขวห ลัง • วิง่ ขามเชอื กลอดกลบั ผูสงบอลเดินวนจากซายไปขวารอบนอกวงกลม แลวนําลูกบอลใสมือใครก็ได ในวง 2. ครถู ามนกั เรยี นวา นอกจากลูกบอลกับเชอื ก แลว นักเรยี นสามารถใชอ ปุ กรณใ ดในการเลน ๓) ผทู ี่ไดร บั ลกู บอลตอ งออก กจิ กรรมแบบผลดั ไดอีก จากวงเพื่อมาเปน ผสู ง ลูกบอลแทน สว นผสู ง ลกู บอลใหเ ขา ไปยนื แทนท่ี 3. ใหนกั เรียนชวยกนั บอกประโยชนของการเลน กจิ กรรมแบบผลดั ๔) ลกู บอลของกลมุ ใดตกพนื้ • เดนิ ถอื ลูกบอลไวขา งตัว กอน เปนฝายแพ • วิ่งขามเชือกลอดกลับ ๔. วิ่งขามเชอื กลอดกลบั 4. ใหนกั เรียนศึกษาวิธกี ารเลน เกมและกิจกรรม ๑) แบง กลมุ ๓ - ๔ กลุม ใหแ ตละกลมุ เขาแถวตอน แบบผลัดแขง ขนั ๒) แตล ะกลมุ สง ตวั แทนมา ๒ คน ออกไปนงั่ ชนั เขา พรอ มกบั ถอื เชอื ก • วิ่งซกิ แซก็ ใหห า งจากแถวประมาณ ๑๐ เมตร • วิ่งวิบาก ๓) ใหผูเลนคนแรกว่ิงกระโดดขามเชือก แลวหันกลับมาลอดเชือก 5. ใหนกั เรยี นชว ยกันบอกประโยชนของการเลน และว่งิ มาแตะคนที่ ๒ จากนน้ั ใหคนถัดไปทาํ เหมือนคนแรก กจิ กรรมแบบผลดั • ว่ิงซิกแซก็ ๔) แถวใดทาํ เสรจ็ กอนเปน ฝา ยชนะ • วง่ิ วิบาก ๙๔ ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT เกมเดนิ ถอื ลูกบอลไวข า งหลงั หากไมส ามารถใชล กู บอลได นักเรียน เกร็ดแนะครู คดิ วาควรจะใชอุปกรณใ ดแทนจึงจะเหมาะสม 1. ลูกปง ปอง กิจกรรมแบบผลดั ทนี่ าํ เสนอในหนงั สือเลม นเ้ี ปนเพยี งตัวอยา งเทาน้นั ครูอาจ 2. ลกู เทนนสิ เลอื กกจิ กรรมท่ีครูคดิ ขึน้ เหมาะสมกบั การพฒั นาเด็กในชั้นเรียนตามสภาพจรงิ 3. ลกู เปตอง ของเด็ก หรือเกมท่มี ีอยใู นทอ งถิน่ ของตนแทนกไ็ ด 4. ลูกวอลเลยบอล วิเคราะหค าํ ตอบ ลูกปง ปองและลูกเทนนิสมขี นาดเล็กเกนิ ไป ทําให ขณะรบั สงลกู อาจหลนพื้นได ลูกเปตองมีนํา้ หนักมาก ทาํ ใหรบั สง ลกู ลําบาก สวนลูกวอลเลยบ อลมีขนาดและน้าํ หนักใกลเ คยี งกบั ลกู บอล จึงเหมาะแกก ารนาํ มาใชแ ทนท่ีสดุ ดงั นน้ั ขอ 4. เปน คําตอบท่ถี ูก 94 คมู อื ครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ๕. ว่งิ ซกิ แซ็ก 1. ใหน กั เรียนแตล ะกลมุ คดิ กจิ กรรมแบบผลัด ๑) แบง กลุม ๓ - ๔ กลุม ใหแ ตละกลุม เขาแถวตอน โดยใหคนแรก มากลุมละ 1 กจิ กรรม แลวออกมานําเพื่อน ของแตล ะกลุมถอื ลูกบอลไว กลุมอ่นื เลน ๒) คนแรกวง่ิ ออ มหลกั สลบั กนั ไป แลว วง่ิ ออ มกลบั มาสง ลกู บอลใหค น 2. ใหนักเรยี นชว ยกนั บอกประโยชนท ่ไี ดรับ ตอไป ทาํ เชน เดมิ จนครบทุกคน กลุม ใดทาํ เสรจ็ กอนเปนฝายชนะ จากการเลน เกมเลียนแบบและกจิ กรรม แบบผลดั ๖. วิง่ วบิ าก ๑) แบง กลมุ ใหแ ตล ะกลมุ เขา แถวตอน ครหู วา นลกู หนิ หรอื สง่ิ ของไว ท่จี ุดกําหนด ๒) คนหัวแถวถือชอนหรือท่ีตักออกไปตักลูกหินหรือสิ่งของแลวว่ิง กลับมาทแี่ ถวของตน เพอ่ื สง ชอ นหรือท่ีตกั ใหค นถดั ไป ๓) กลุมใดตกั ลกู หินหรอื ส่งิ ของไดมากท่สี ดุ เปน ฝา ยชนะ ท่ตี กั ลูกบอล ๙๕ กจิ กรรมสรา งเสรมิ เกรด็ แนะครู ใหนกั เรยี นสืบคนขอ มูลเรือ่ งการละเลนพ้ืนบานหรือกฬี าพ้นื บา น มา ในการว่งิ วิบาก ครูอาจปรบั เปล่ยี นอปุ กรณไ ดต ามความเหมาะสม โดยครูอาจ 1 ชนิด โดยใหนกั เรียนออกมารายงานและสรปุ ดว ยวา นักเรียนจะนาํ การ เพิม่ เตมิ ขัน้ ตอนของกจิ กรรม เชน การวิ่งตักลูกบอลเพียงอยางเดยี ว ครอู าจเพิ่มการ ละเลนหรือกฬี าพ้นื บา นนน้ั มาประยุกตหรอื ปรับเปลี่ยนวธิ ีการเลน อยางไร เกบ็ สงิ่ ของอยา งอนื่ เขา ไปดว ย หรอื กอ นตกั ลกู บอลอาจมกี ารใหเ ปา ลกู โปง ใหแ ตกกอ น ใหเขา กับยุคสมัยปจ จุบนั กไ็ ด ซงึ่ การเพมิ่ ขน้ั ตอนของกจิ กรรมในเกมจะทาํ ใหน กั เรยี นรสู กึ มสี ว นรว มในการเรยี น มากขึ้น และเกิดความสนุกสนานในการทํากิจกรรม กิจกรรมทาทาย มุม IT ใหน ักเรียนสบื คนขอ มลู เรื่อง การเลนพ้นื บานและกีฬาพื้นบา นคนละ 2 ชนิด แลว ใหนกั เรียนจัดทําเปน รายงาน ครูสามารถสืบคนขอ มูลการละเลนพ้ืนบา นไทย ไดจ ากเว็บไซต http://www.prapayneethai.com/th/amusement/ คมู ือครู 95

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหน ักเรยี นชวยกันตอบคําถามขยายความรู ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠สูการคดิ หนา 96 ๑ แบงกลุม เลือกเลนเกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด ตามที่เรียนหรือที่กลุม 2. ใหนักเรยี นสรปุ เรอื่ งการเคล่ือนไหวใหส มั พันธ นกั เรยี นคิดขน้ึ อยา งละ ๑ เกม จากนั้นใหครปู ระเมินผล แลวตอบคาํ ถาม การเคลือ่ นไหวประกอบจังหวะ การเลนเกม เลียนแบบ และกจิ กรรมแบบผลดั ในรปู แบบ ของแผนผังความคดิ รายการ ผลการประเมิน ขอเสนอแนะ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ ๑. เลน ตามกติกา ตวั อยา งแบบประเมนิ............ ……….. ............ ............……………… ............................................................ ๒. มีความสนุกสนาน ๓. มีความรับผิดชอบ ............ ……….. ............ ............……………… ............................................................ ๔. มีความสามัคคี ............ ……….. ............ ............……………… ............................................................ ๕. มีความปลอดภัย ............ ……….. ............ ............……………… ............................................................ ............ ……….. ............ ............……………… ............................................................ ลงช่อื …………………………………………………. ผูประเมิน เกณฑก ารใหคะแนนยอ ย ๔ = ดมี าก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ควรปรบั ปรงุ เกณฑการใหค ะแนนรวม ๑๘ ขึ้นไป = ดีมาก ๑๕-๑๗ = ดี ๑๐-๑๔ = พอใช ต่าํ กวา ๑๐ = ควรปรบั ปรุง ๑) จากกจิ กรรมท่นี ักเรยี นเลือกปฏบิ ตั ิ นกั เรียนอยูในเกณฑใด ๒) นักเรยี นมขี อควรปรบั ปรุงแกไ ขอยางไร ๓) กจิ กรรมทีน่ กั เรียนเลอื กมีประโยชนอยา งไร ๒ บอกประโยชนข องการเลน เกมเลียนแบบและกจิ กรรมแบบผลดั มา ๓ ขอ ๓ แบงกลุม รวมกันคิดหรือคนหากิจกรรมแบบผลัดมา ๑ ชนิด (ไมซํ้ากับท่ีเรียน) แลว ผลัดกันออกมาสาธติ หนาชัน้ แลวบันทกึ ผล ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ Òä´Ô การเลนเกมใหเกดิ ความสนุกสนานและ ปลอดภัย ควรเลน อยางไร ๙๖ เฉลย กจิ กรรมการเรยี นรู ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEิดT 2. แนวตอบ ขอใดคือจุดมงุ หมายของการเลนเกมแบบผลัด 1. ฝกการทาํ งานรวมกบั ผอู ่นื 1) ทาํ ใหเกดิ จินตนาการสรา งสรรค 2. เพอ่ื ใหเกดิ ความสนุกสนาน 2) ทําใหร างกายแข็งแรง และมจี ิตใจแจม ใส 3. เพือ่ ใหเ กดิ ความคลองแคลว 3) ทาํ ใหเ กดิ ความสามัคคใี นหมูค ณะ 4. เพื่อเปนการเปรียบเทียบความสามารถ วิเคราะหค าํ ตอบ การเลน เกมแบบผลดั เปนการออกกาํ ลังกายที่ทาํ เปน เฉลย ขยายความรูสูก ารคิด กลมุ เปนการฝก ความสามัคคี ความรบั ผิดชอบ และการทํางานรวมกับผอู ืน่ แนวตอบ ดงั นั้น ขอ 1. เปนคาํ ตอบที่ถกู • ตองอบอนุ รางกายกอนการเลนเกมทุกครง้ั เพื่อลดอาการบาดเจบ็ ท่ีอาจเกดิ จากการเลน • ควรเลนตามกตกิ า • ไมหยอกลอหรอื เลน รุนแรง 96 คมู อื ครู

กระตุน ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ÊÒ¨´ÃШÊíÒíÒäǤŒ ÑÞ  อยกู ับท่ี อยูก ับที่ 1. ครปู ระเมินผลการเลน กิจกรรมแบบผลัดของ  เคลอื่ นที่  กระทบสนเทา นกั เรียน โดยพจิ ารณาจากการสังเกตและแบบ  ใชอ ปุ กรณป ระกอบ การเคล่ือนไหว  แตะสน เทา ประเมนิ  บงั คบั ส�งิ ของ  กระโดดกาว  ผสมผสาน เคล่อื นที่ 2. ครตู รวจสอบความถกู ตองและครบถวนของ การเคล่ืตัอวอนยไางหวรางกาย  ว่ิงซิกแซก็ ขอ มูลจากแผนผงั ความคดิ เรื่อง พัฒนาการ  วง่ิ เปลี่ยนทศิ ทาง เคลื่อนไหว ใชอปุ กรณ  กระโดดเชอื ก 3. ครตู รวจสอบผลการตรวจสอบตนเองของ  วิ่งกระโดดเชือก นักเรียนวามีความถกู ตองและตรงตามความ  โยนบอลสลบั มือ เปนจรงิ โดยพจิ ารณาจากแผนผงั ความคดิ ที่ หารประกอบเพทลางกายบริหาร นักเรียนทําสงครู เคล่ือนไหวใหสัมพันธ กายบริ หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู เพลงรักเมอื งไทย ¾Ñ²¹Ò จังหวะเพลินใจ เคลื่อนไหวตามจังหวะ 1. แบบประเมนิ ผลการเลน เกมและกิจกรรมของ ¡ÒÃà¤Å×è͹äËÇ นักเรียน 2. แผนผังความคิดเรอ่ื ง พัฒนาการเคลือ่ นไหว กิจกรรมแบบผลัด เกมหรรษา  การใหจ ังหวะ  กระโดดเขยง  การเคลอ่ื นไหว แบบผลัด อยางงาย  วง่ิ เกบ็ ของ เกมเลียนแบบ แบบผลัด  เกมนาํ้ หยดุ ไหล  เดินถือลกู บอล  เกมอวนจบั ปลา  เกมจบั นกกา ไวข า งหลัง µÃǨÊͺµ¹àͧ นกั เรียนลองสังเกตตนเองดูวา ปฏบิ ตั ติ ามสง่ิ ตา งๆ เหลา นไี้ ดหรอื ไม ๙๗ ❏ เคล่อื นไหวรา งกายแบบอยูก บั ที่ เคลอื่ นท่ี และใชอุปกรณประกอบแบบผสมผสานได ❏ ทําทา กายบริหารประกอบจงั หวะและเพลงได ❏ เลนเกมเลยี นแบบและกจิ กรรมแบบผลดั ได ❏ ปฏิบัติตามกฎ กติกาในการเลน ไดถกู ตอง ❏ รขู อบกพรองของตนเองในการปฏิบตั ิกจิ กรรม และสามารถนาํ มาปรับปรุงแกไขได ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT เกร็ดแนะครู การเลนเกมใหปลอดภยั ควรปฏิบัติตามขอใด ครแู นะนําใหน กั เรยี นตรวจสอบตนเองหลังจบหนวยนี้ เพอื่ ตรวจสอบความรู 1. เลนตามใจตนเอง ความเขา ใจของนักเรยี น 2. เลน อยางจริงจงั 3. เลนตามหวั หนาทีม ครแู นะนําใหนกั เรยี นเลนเกมในเวลาวา ง เพราะเปน การสรา งเสริมรา งกายให 4. เลนตามกติกา แข็งแรง สรางเสริมความสมั พนั ธใ นหมเู พื่อน และทาํ ใหมีสุขภาพจติ ดี วเิ คราะหคาํ ตอบ 1. การเลนตามใจตนเอง จะทําใหเราเปน คนไมม ี ระเบยี บวนิ ัย รวมถึงอาจทําใหเพอื่ นรว มทมี ไมย อมรบั และไมเลน ดวย 2. การเลน อยางจรงิ จัง อาจทําใหก ารเลนเกมมีความรนุ แรง จนเกิดการ กระทบกระทงั่ กนั และบาดเจ็บได 3. การเลนตามหัวหนา ทมี หากหวั หนาทมี มกี ารวางแผนการเลน ทไี่ มดีอาจ ทาํ ใหเกิดอันตราย รวมถึงการใชเทคนิคบางอยางเอาเปรียบฝา ยตรงขาม เรากไ็ มควรปฏบิ ัตติ าม ดงั นั้น ขอ 4. เปนคาํ ตอบท่ีถกู คูม อื ครู 97

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Engage Engage öExplain Expand Evaluate กระตนุ ความสนใจ ครูถามคาํ ถามแลว ใหน ักเรยี นแสดงความ หนวยการเรียนรทู ี่ คดิ เหน็ อยา งอสิ ระ กฬี าเปน ยาวเิ ศษ • นักเรียนคดิ วา การเลนกฬี ามีความสาํ คัญ อยา งไร ¡ÌÕ Òã¹ÀÒ¾ (แนวตอบ ¤×Í¡ÌÕ ÒÍÐäà • การเลนกีฬา เปนการพัฒนาคุณภาพชวี ติ µŒÍ§ÁÕ·¡Ñ Éоé×¹°Ò¹ ทัง้ ดา นสขุ ภาพและดานจิตใจ ทาํ ใหม ี ¡ÒÃàÅ‹¹Í‹ҧäà สขุ ภาพแขง็ แรง และมีจิตใจทร่ี า เรงิ แจม ใส • การเลน กีฬา เปนการสรา งความแขง็ แรง ใหก ับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ โดยอาศัยกระบวนการ ของกฬี า เพ่อื สรางการมสี ว นรว ม ความ รับผิดชอบ ความมวี ินยั และมีน้าํ ใจเปน นกั กีฬา) ๖เปาหมายการเรยี นรปู ระจําหนวยท่ี เมอ่ื เรยี นจบหนว ยน้ี ผเู รยี นจะมคี วามรคู วามสามารถตอ ไปนี้ ๑. เลน กฬี าพน้ื ฐานอยา งนอ ย ๑ ชนดิ (มฐ. พ ๓.๑ ป.๔/๔) ๒. ออกกาํ ลงั กาย เลนเกม และกีฬาทตี่ นเองชอบ และ มีความสามารถในการวิเคราะหผลพัฒนาการของ ตนเองตามตัวอยางและแบบปฏิบตั ขิ องผูอ่นื (มฐ. พ ๓.๒ ป.๔/๑) ๓. ปฏบิ ตั ิตามกฎ กตกิ าการเลน กฬี าพน้ื ฐาน ตามชนิด กฬี าทเี่ ลน (มฐ. พ ๓.๒ ป.๔/๒) ๔. ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผล การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (มฐ. พ ๔.๑ ป.๔/๔) เกรด็ แนะครู ครูยกตวั อยางพระบรมราโชวาทพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร- มหาภมู ิพลอดุลยเดช ทีก่ ลาวถึงความสาํ คญั ของการกฬี ามากลาวใหน กั เรยี นฟง “ในหลกั การ การกฬี าเปนสิ่งทม่ี ีจดุ ประสงคพ นื้ ฐานทจี่ ะสง เสริมใหร างกาย แขง็ แรง และสามารถท่ีจะแสดงฝม อื ในเชิงกีฬาเพือ่ ความสามคั คี และเพ่อื ให คุณภาพของมนษุ ยดีขึ้น มาเวลานก้ี ารกีฬาก็นับวามีความสําคญั ในทางอ่นื ดวย คอื ในทางสงั คมทาํ ใหประเทศชาตไิ ดห ันมาปฏบิ ัติสงิ่ ทม่ี ีสขุ ภาพของรา งกายและจิตใจ ทําใหส ามารถทีจ่ ะอยูเปน สงั คมอยา งอยูเยน็ เปนสขุ ท้ังเปนสงิ่ ท่ีกอ ใหเกิดความเจริญ ของบานเมอื ง โดยเฉพาะการกีฬาระหวา งประเทศก็ไดเพิ่มความสาํ คญั กบั มนุษยอ่ืน ซึง่ อยใู นประเทศอน่ื ฉะน้ันกีฬามคี วามสําคัญอยา งย่งิ สําหรับชีวิตของแตล ะคนและชวี ิตของบา นเมอื ง ถา ปฏิบัตอิ ยา งถูกตอง หมายความวา อยา งมปี ระสิทธภิ าพ มีความสามารถ ก็จะนํา ชือ่ เสยี งแกต น แกป ระเทศชาติ ถาปฏิบตั ิกีฬา ดวยความเรียบรอย...” พระตาํ หนกั จติ ลดารโหรฐาน วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2530 98 คูมอื ครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate เปาหมายการเรยี นรู ñบทที่ แฮนดบ อล สาระสาํ คญั • เลนกีฬาพ้นื ฐานอยางนอย 1 ชนดิ ทกั ษะการเลน กฬี าแฮนดบ อล เปน การนาํ (พ 3.1 ป.4/4) ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí ʡً ÒÃàÃÕ¹ ไปสพู ้นื ฐานการเลนกีฬาบาสเกตบอล • ออกกําลงั กาย เลนเกม และกีฬาที่ตนเอง ชอบ และมคี วามสามารถในการวเิ คราะห ผลพัฒนาการของตนเองตามตัวอยางและ แบบปฏบิ ัติของผูอืน่ (พ 3.2 ป.4/1) • ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กติกาการเลน กฬี าพื้นฐาน ตามชนิดกฬี าทเ่ี ลน (พ 3.2 ป.4/2) สมรรถนะของผเู รียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกปญ หา คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. มวี ินยั รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุง มนั่ ในการทาํ งาน กระตนุ ความสนใจ Engage ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹à¤Â´Ù ใหน กั เรยี นดภู าพ หนา 99 แลวชวยกันบอกวา ¡ÌÕ Òª¹´Ô ¹éËÕ ÃÍ× äÁ‹ • กฬี าชนดิ นี้คืออะไร และมีวธิ ีการเลน อยา งไร ¡ÕÌÒª¹´Ô ¹é¤Õ Í× ¡ÕÌÒÍÐäà áÅÐÁÇÕ ¸Ô Õ¡ÒÃàÅ‹¹ÍÂÒ‹ §äà (ตอบ กีฬาน้ีคอื กฬี าแฮนดบอล มีวธิ ีการเลน โดยการนาํ ลกู บอลเขาไปปาใหเขา ประตูของ ฝา ยตรงขามใหไ ด) เกร็ดแนะครู ครูจดั กระบวนการเรยี นรโู ดยการใหนักเรยี นปฏิบัติ ดังน้ี • สงั เกตลักษณะการเลน กฬี าแฮนดบ อล • สบื คนขอ มูลเกีย่ วกับวธิ กี ารเลน และกตกิ าของกีฬาแฮนดบอล • สาธิตการเลน แฮนดบอล • ปฏิบัตกิ ารฝกและเลนแฮนดบอลได • วเิ คราะหป ระโยชนข องการเลน แฮนดบ อลจากประเด็นคําถามและภาพ ประกอบ จนเกิดเปน ความรูความเขา ใจวา แฮนดบ อลเปนกฬี าท่มี ีการดัดแปลงวธิ ีการเลน โดยอาศยั ทักษะพื้นฐานของการเลนฟุตบอลและบาสเกตบอล คูมอื ครู 99

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain สาํ รวจคน หา Explore 1. ครูนาํ ภาพกีฬาตา งๆ มาใหน ักเรยี นดู แลว ถาม กีฬาแฮนดบอล เปนกีฬาพ้ืนฐานของ ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò¡ÕÌÒáι´ºÍÅ นักเรียนวา เปนกฬี าชนิดใดบา ง และภาพกฬี า การเลนกีฬาบาสเกตบอล การเลนแฮนดบอล µŒÍ§ãªŒ·Ñ¡ÉÐã´ºŒÒ§ ใดเปนกฬี าแฮนดบ อล ตอ งใชท กั ษะการเคลอ่ื นไหว และทกั ษะดา นอน่ื ๆ ผสมผสานกนั 2. ครถู ามนักเรียนวา • กีฬาแฮนดบ อลมีวธิ กี ารเลนคลา ยกีฬาชนิดใด ๑ องคประกอบการเลน แฮนดบ อล (ตอบ บาสเกตบอลและฟตุ บอล) การเลนกฬี าแฮนดบ อล ตอ งอาศยั องคประกอบ ดังน้ี 3. ใหนกั เรียนแบง กลมุ กลุมละ 7 คน แลว ให แตละกลมุ สบื คนประวัตกิ ีฬาแฮนดบอล บันทกึ ผลการสืบคน แลวออกมารายงานทห่ี นาชนั้ อธบิ ายความรู Explain 1. ใหน ักเรยี นศกึ ษาเรอื่ ง องคประกอบการเลน สนามกีฬาแฮนดบอล ๒ ๓๖ เมตร แฮนดบ อล หนา 100 - 101 ๑ 2. ใหน ักเรียนวาดภาพและเขยี นบรรยาย องคป ระกอบของการเลนแฮนดบ อล ผูรักษาประตู ๔ ผูรกั ษาประตู 3. ใหนักเรยี นออกมาอธิบายองคป ระกอบการ เลน แฮนดบอล โดยใชภ าพทตี่ นวาดประกอบ การอธบิ าย ๒๐ เมตร ๓ เมตร ๖ เมตร ๔๐ เมตร ๒๓๑ ผเู ลน ประกอบดว ย ๒ ฝา ย ฝา ยละ ๗ คน เปน ผูเลนในสนาม ๖ คน และผรู กั ษาประตู ๑ คน สนาม เปน รปู สเี่ หล่ียมผืนผา กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร มเี สนแบง แดนท่ีกง่ึ กลางสนาม ประตู สูง ๒ เมตร กวาง ๓ เมตร ๔๕ ลกู บอล มีทรงกลม ทําดวยหนงั หรอื วัสดเุ ทียม ไมลื่น และมพี กั ระหวา งครงึ่ 1๑๐ ระยะเวลาในการแขง ขนั แบง ออกเปน ๒ ครง่ึ ครงึ่ ละ ๓๐ นาที นาที ๑๐๐ ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ตําแหนงผูเ ลนในกีฬาแฮนดบอล มีการดัดแปลงมาจากกฬี าชนดิ ใด นกั เรยี นควรรู 1. กฬี าเปตอง 2. กีฬาฟุตบอล 1 พักระหวางคร่งึ หมายถงึ เวลาพกั ระหวา งครึง่ ระยะเวลาการแขงขนั กีฬา 3. กีฬาแชรบ อล โดยกีฬาแตล ะชนดิ จะมีเวลาพกั ระหวางครง่ึ แตกตางกนั เชน กฬี าฟุตบอลและ 4. กีฬาวอลเลยบ อล บาสเกตบอล จะมีเวลาพักครึง่ ระหวา งครงึ่ 15 นาที กีฬาแฮนดบอลจะมีเวลาพกั วิเคราะหคาํ ตอบ กีฬาแฮนดบ อลสมยั กอ นนยิ มเลน กนั 11 คน เหมอื น ระหวา งครึง่ 10 นาที เปนตน กีฬาฟตุ บอล แตตอ มาไดม กี ารปรับเปลีย่ นจํานวนผูเลน เหลือ 7 คน เพ่อื ใหม คี วามสะดวกเมื่อตอ งเลน ในสถานท่คี ับแคบ แตยังมีตาํ แหนงผเู ลน มมุ IT คลา ยกับกีฬาฟตุ บอลอยเู ชนเดมิ ดงั น้ัน ขอ 2. เปน คําตอบทถี่ ูก ครศู ึกษากฎ กติกาการเลน แฮนดบอลเพิม่ เตมิ ไดท เ่ี วบ็ ไซตของการกีฬา แหง ประเทศไทย โดยปฏบิ ตั ิดงั นี้ เขาไปที่เวบ็ ไซต www2.sat.or.th/sportslearing • คลิกเลือก ชนิดกีฬา : แฮนดบ อล • คลกิ กติกา 100 คูมอื ครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู วิธเี ลน มดี งั นี้ 1. ใหน กั เรียนศกึ ษากติกาการเลน แฮนดบ อล ๑. กอนเรมิ่ เลน ใหผ เู ลน ท้ัง ๒ ฝาย มีสทิ ธิ์เส่ียงวาจะเลอื กแดนหรือเลอื กสง กอ น จากหนังสือเรยี น หนา 101 - 102 ๒. เรม่ิ เลน โดยใหฝ า ยทเ่ี ลอื กสง ลกู บอลกอ นสง ลกู จากบรเิ วณจดุ ศนู ยก ลางของเสน 2. ครถู ามวา แบงแดนใหกับเพื่อนฝายตนเองทันทีภายในเวลา ๓ วินาที หลังจากผูตัดสิน • หากผูเลน ใชเ ทาเตะถูกบอล ถอื วาผิดกตกิ า เปานกหวดี แลว หรอื ไม เพราะเหตุใด ๓. ใหผเู ลน แตล ะฝายสง ลกู บอลตอ ๆ กันไปเพือ่ จะทําประตูใหไดโ ดยขวางลกู บอล (ตอบ ผดิ กติกา เพราะหา มใหรางกายตั้งแต ใหเขา ประตฝู ายตรงขา ม หวั เขา ลงมาถกู ลกู บอล) ๔. การพาลกู บอลเคลื่อนท่ีไปใหใ ชม อื เลีย้ งลกู บอล 3. ใหน ักเรยี นแบงกลุม สบื คนเก่ยี วกับกฎ กตกิ าการเลน แฮนดบอลเพม่ิ เติม แลวทาํ เปน รายงาน จากนัน้ สง ตัวแทนกลุม ออกมา รายงานหนาช้นั ๒ กติกาการเลน แฮนดบอล ๑.การเลนแฮนดบ อลตอ งปฏบิ ัติตามกฎ กตกิ าทกี่ าํ หนดไว กตกิ าทั่วไป มีดงั นี้ อนุญาตใหผ ูเ ลนกระทํา ๑. ใหผ เู ลน ขวา ง ทาํ ใหล กู บอลกระดอน หยดุ จบั ลกั ษณะใด ก็ได โดยตอ งใชมอื แขน ศรี ษะ ขาทอนบน และหัวเขา เทานั้น หามใชสวนของรางกายตั้งแตหัวเขาลงมาถูก ลูกบอล ๒. ใหผูเลน ถอื ลกู บอลเคล่อื นทไี่ ด แตไมเ กิน ๓ กา ว ๓. ใหผูเลนครอบครองลกู บอลไดไ มเกิน ๓ วินาที ๔. ใหผูเลนสงลูกบอลจากมือขางหน่ึงไปยังมืออีกขางหน่ึง ของตนได ๕. ใหผ เู ลน สง ลกู บอลขณะทน่ี งั่ คุกเขา หรือนอนอยูได ๑๐๑ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT เกร็ดแนะครู การเลน แฮนดบอล ถาผูเ ลน ฝา ยตรงขา มขวา งลกู บอลมาถูกตัวหรอื ขา ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ใหน ักเรียนเขาใจวา การเสยี่ งทายสว นใหญจะใชเหรยี ญในการ ท่ีอยตู ่ํากวา หัวเขา ถือวาผิดกตกิ าหรอื ไม เพราะเหตใุ ด เส่ียงทาย โดยกรรมการจะโยนเหรยี ญขน้ึ ไปบนอากาศ แลว รบั ไวพ รอ มกับเอามือปด เหรียญ แลว ใหต ัวแทนของสองทมี เลือกวา เหรียญที่อยใู นฝา มอื ของกรรมการหงาย 1. ผดิ เพราะไมอ นุญาตใหใ ชอวัยวะท่ตี ่าํ กวา เขาในการเลนบอล ดานหัวหรอื ดา นกอยขึน้ ถาตัวแทนของฝายใดทายถูก ก็จะไดส ทิ ธใ์ิ นการเลือกวา จะ 2. ผิด เพราะทาํ ใหเ สยี เวลาในการแขง ขนั เร่มิ เลนท่ีแดนใดกอน หรอื เลือกวา จะไดเริม่ สงกอ นกไ็ ด 3. ไมผดิ เพราะไมไ ดม ีเจตนาในการถูกลูกบอล 4. ไมผ ิด เพราะไมไ ดท าํ ใหเกดิ ความไดเปรียบในการเลน ถาฝายที่ทายถูกเลอื กสทิ ธอิ์ นั ใด ฝายที่ทายผดิ จะไดสทิ ธท์ิ ่ีเหลอื เชน ถา ฝายท่ี วเิ คราะหคําตอบ การถกู บอลดว ยเทาหรือขาทอ่ี ยูตํา่ กวา เขา ถือวา ทายถูกเลอื กสงลกู กอน ฝา ยท่ีทายผิดจะไดรับสิทธ์เิ ลือกแดนทนั ที ผิดกติกา ยกเวนในกรณีทฝี่ า ยตรงขามเปน ผขู วางลูกบอลมาถูกตัวผูเลน ซง่ึ หากกรรมการพิจารณาวาไมเปน การทําใหเ กิดการไดเ ปรยี บกบั ผูเ ลน หรือเพอ่ื นรวมทมี ก็ถือวาไมผิดกตกิ า ดังน้ัน ขอ 4. เปนคาํ ตอบทถ่ี กู คูม อื ครู 101

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Explain Engage Expand Expand Evaluate ขยายความเขา ใจ 1. ใหตัวแทนนักเรยี นแตละกลุมออกมารายงาน ไมอ นญุ าตใหผ เู ลน กระทาํ ผลการสืบคน เพ่มิ เติมเกย่ี วกบั กตกิ าการเลน ๑. หา มผูเลนกดี ขวางฝายตรงขามดว ยมือ แขน หรอื ขา แฮนดบอล พรอมทั้งสาธติ ใหเพือ่ นดู ๒. หา มผเู ลนดงึ หรอื ตีลกู บอลจากมอื ฝายตรงขาม ๓. หามใชลูกบอลทําใหฝายตรงขามเกิดอันตราย หรือ 2. ครูอธบิ ายเพิม่ เติมเกี่ยวกบั การเลน แฮนดบ อล เลน รุนแรง ๔. หา มดงึ หรือผลกั ฝายตรงขา มดวยมอื และแขน ตรวจสอบผล Evaluate ๕. หามผเู ลน ขวางลูกบอลใหข า มเสนออกไปโดยเจตนา ๖. หามผเู ลน ฝายตรงขา มเขาไปในเขตประตู ครูประเมินการออกมานําเสนอรายงานหนา ช้นั เรยี นของนกั เรยี น และตรวจสอบรายงานเรือ่ ง กฎกตกิ าแฮนดบ อลของนกั เรยี น โดยพิจารณาจาก ความถูกตอ งสมบูรณข องขอ มูล และความเปน ระเบียบของรปู เลมรายงาน ๒.และผูเลนฝกา ยาทรไีท่ ดาํ ปปรระะตตููไมจไะดไดทปาํ ผระิดตกูเตมิกื่อาล1ูกถบืออวลา ผไดาน๑เสนคปะแรนะตนู โดยที่ผูยิงประตู ตอ การยงิ ประตู ๓.๑ ประตู ถา ฝา ยใดทาํ ลกู บอลเขา ประตตู นเอง ถอื วา อกี ฝา ยไดป ระตูไป การสงลูกบอลจากมุมสนาม ถาฝายใดฝายหน่ึงไดทําลูกบอลออก ๔.ไปนอกเสนประตขู องตน ใหอ ีกฝา ยหนึ่งเปนฝา ยสงลูกบอลจากมมุ สนาม การสงลูกบอลจากประตู ถาฝายรุก หรือผูรักษาประตูของฝายรับ ทําลูกบอลออกนอกสนามทางเสนหลังประตู ใหผูรักษาประตูของฝายรับเปน ผูสงลกู บอลจากประตู การสงลูกบอลจากประตู ถา ลูกบอลเขา ประตูถอื วา ไมได คะแนน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ แบง กลมุ สบื คน เกย่ี วกบั กฎ กตกิ าการเลน กฬี าแฮนดบ อลเพม่ิ เตมิ แลว ทาํ เปน รายงาน จากนน้ั สง ตวั แทนออกมารายงานหนาช้ัน ๑๐๒ ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT การสง ลูกบอลเพอ่ื เริม่ เลนแฮนดบอล ควรสงลูกจากบรเิ วณใด เกรด็ แนะครู 1. จากก่งึ กลางสนาม 2. จากมมุ สนามฝายท่ีเลอื กแดน 3. จากมมุ สนามฝายทส่ี งลกู กอน 4. จากทีใ่ ดก็ไดในสนาม ครูอาจหาวดิ ีทศั นการแขง ขนั แฮนดบอลมาเปด ใหนกั เรยี นดู แลว ครูอธิบายกฎ กตกิ า ในการแขงขนั ใหนกั เรยี นฟง เพ่อื ชว ยใหนักเรยี นมีความเขาใจยงิ่ ข้นึ วเิ คราะหค าํ ตอบ แฮนดบ อล จะเริม่ เลนโดยใหฝายที่ไดสทิ ธิใ์ นการ สงลูกกอ น สงลูกบอลจากบรเิ วณจดุ ศูนยกลางของเสนแบง แดนใหเพือ่ น ครูแนะนําเพ่ิมเติมวา ในการเลนกฬี าทุกชนิด อาจตองมกี ารกระทบกระทง่ั ซงึ่ กนั และกนั รวมถงึ ในการทําประตูนั้น ตองใชก ารขวา งลูกบอลท่รี วดเร็วและแรง ฝายตนเองในเวลา 3 วินาที หลังจากผตู ัดสนิ เปานกหวดี ดงั นั้น ขอ 1. ซง่ึ ถาหากไมร ะมัดระวงั อาจทําใหเ กิดการบาดเจบ็ ได เปน คาํ ตอบทถ่ี กู นักเรียนควรรู บรู ณาการเชื่อมสาระ ครูบูรณาการความรใู นสาระสขุ ศึกษาฯ กับสาระสงั คมศกึ ษาฯ เรื่อง การ 1 กตกิ า หมายถึง ขอ กําหนดหรอื ขอ ตกลงท่ีวางไวส ําหรบั การแขง ขันกีฬา เคารพกฎกตกิ าของสงั คม โดยใหน กั เรยี นเลน กีฬาแฮนดบอลอยางถูกกตกิ า ซง่ึ ผเู ลนทุกคนตองปฏิบตั ติ าม เพ่ือใหก ารแขง ขันเปนธรรมแกท ุกฝา ย เพอ่ื ใหเกิดความสนกุ สนานในการเลน และเกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง ทง้ั นี้ในการแขงขนั ผทู ีร่ กั ษา ดูแล ควบคมุ การแขง ขนั ใหเ ปน ไปตามกตกิ า กค็ อื กรรมการ ดงั นนั้ ผูเ ลนจะตอ งใหความนับถอื และยอมรับคําตัดสินของ กรรมการโดยไมโ ตเ ถยี ง หรือแสดงกิรยิ าตางๆ ออกมาอยางไมสภุ าพ 102 คูมอื ครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Evaluate Engage Explore Explain Expand Engage กระตนุ ความสนใจ ๓ ทักษะการเลนแฮนดบอล ครเู กรนิ่ นําเก่ยี วกบั การอบอนุ รา งกายกอ นออก กอนการเลนกีฬาแฮนดบอล นักเรียนควรไดฝกทักษะการจับลูกบอล กําลังกาย จากน้นั ครใู หน กั เรียนแตล ะคนออกมา การเล้ียงลูกบอล และการรับสงลูกบอลในลักษณะตางๆ เพ่ือใหเกิดความ นาํ การอบอนุ รา งกายคนละ 1 ทา คลอ งแคลว ซึ่งทักษะตา งๆ ท่นี ักเรียนควรฝก มีดงั นี้ สาํ รวจคน หา Explore ๑. การจบั ลกู บอล ใชมอื ทั้ง ๒ ขาง จับลกู บอล ใหน กั เรยี นศกึ ษาเก่ยี วกับทกั ษะการเลน โดยกางนิ้วออก ใหนิ้วหัวแมมือชี้เขาหากัน แฮนดบอลในหัวขอ ตอ ไปน้ี งอขอศอกเล็กนอ ย • การจับบอล ๒. การสง ลกู บอล มดี ังน้ี • การสงบอล ๑) สง ลูกบอลสองมอื ระดับอก • การรับบอล ยืนแยกเทา ใชมือท้งั ๒ ขาง จบั ลกู บอลอยใู นระดบั อก แลว กา วไปขา งหนา อธบิ ายความรู Explain ๑ กาว พรอมกับผลกั ลกู บอลออกไป ใหแ ขน เหยียดตึง และฝามือแบะออกดา นขาง 1. ใหนกั เรียนจบั คูก ันในการฝกการจบั บอลและ สง บอล 2. ใหต ัวแทนนกั เรียนคูท่ี 1 ออกมาสาธิต วิธกี ารจับบอลและอธบิ ายใหเพื่อนฟง 3. ใหตวั แทนนกั เรียนอกี 2 คู ออกมาสาธิต พรอ มท้ังอธิบายวิธกี ารสง บอลดวยทา • สงบอลสองมอื ระดับอก • สง บอลสองมอื เหนือศีรษะ 4. ใหน ักเรียนคอู นื่ ๆ ฝก การสง ลูกบอลตามท่ี เพือ่ นสาธติ ใหดู ๒) สงลูกบอลสองมือเหนอื ศีรษะ ยนื แยกเทา จบั ลกู บอลดว ยมอื ท้ัง ๒ ขาง แลว ยกข้นึ เหนอื ศีรษะ งอแขนไป ขางหลงั เล็กนอ ย กาวเทา ไปขางหนา ๑ กาว พรอมกับใหเหยียดแขนผลักลูกบอลออกไป ตวัดขอ มอื ลง ดีดสงดว ยนว้ิ มือ ๑๐๓ ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT เกร็ดแนะครู การเลน กฬี าแฮนดบ อล ถา ผเู ลนตอ งการสง บอลในระยะส้ันๆ ควรใชว ธิ ี ในการจบั คูเพือ่ ฝกทกั ษะการเลนแฮนดบ อล ครูควรแนะนําใหนกั เรียนเลือก การสง ลูกแบบใด เพื่อนท่มี คี วามสูงใกลเคียงกนั เพื่อท่ีจะไดฝ กจับลูกบอล สงลกู บอล และรับลูกบอล ไดอ ยางคลองแคลว 1. สง บอลสองมอื ระดบั อก 2. สง บอลสองมือเหนือศีรษะ มมุ IT 3. สง บอลสองมือลาง 4. สง บอลกระดอน ครสู ามารถสืบคน ของมูลเพม่ิ เตมิ เกี่ยวกับกฬี าแฮนดบ อลอยา งละเอยี ด ไดจาก วเิ คราะหค าํ ตอบ การสง บอลสองมือระดบั อก การสง บอลสองมอื เหนอื เวบ็ ไซต http://www.slideshare.net/Kruda500/ss-4800403 ศีรษะ และการสงบอลกระดอน เปน การสง บอลในระยะไกล สวนการ สงบอลสองมือลา ง เปนการสง บอลในระยะประชิดตวั ผูเลน หรอื ระยะสนั้ ดังน้นั ขอ 3. เปน คําตอบทถี่ กู คมู อื ครู 103

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ใหน กั เรยี นอีก 4 คู ออกมาสาธติ และอธิบาย ๓) สง ลกู บอลมือเดยี วเหนอื ศีรษะ วิธีการสงบอลดวยทาตอ ไปนีต้ ามลําดับ จับลูกบอลดวยมือขางท่ีถนัด • สงบอลมอื เดยี วเหนอื ศีรษะ • สงบอลกระดอน แลวชูขึ้นเหนือศีรษะ กาวเทาขางที่ตรงกัน • สง บอลมือเดยี วลา ง ขามกบั มือขา งท่ถี นดั ออกไปขางหนา ๑ กา ว • สงบอลสองมอื ลาง เอนตัวไปขางหลัง แลวผลักลูกบอลออกไป ตวัดขอมือลง ดีดสงดวยน้ิวมือ ปลอยบอล 2. ครูอธิบายเพ่มิ เติมเกย่ี วกับวธิ กี ารจบั บอลและ ออกไป สงบอล จากนัน้ ใหน กั เรยี นแตละคูฝก การ สง บอลตามทเี่ พื่อนไดสาธติ ใหด ู ๔) สงลูกบอลกระดอน1 ยนื แยกเทา จบั ลกู บอลดว ยมอื 3. ครสู งั เกตและบนั ทกึ ผลการฝก สงบอลของ นักเรียน ทง้ั ๒ ขา ง ในระดบั อก แลว ผลกั ลกู บอลออกไป ใหก ระทบพน้ื ใหล กู บอลกระดอนไปขา งหนา ๕) สงลูกบอลมอื เดยี วลาง จับลูกบอลดวยมือขางท่ีถนัด แลว ดงึ แขนทถ่ี อื ลกู บอลไปดา นหลงั ขา งสะโพก และผลกั ลูกบอลออกไป ๖) สง ลูกบอลสองมอื ลา ง ยอ ตวั เลก็ นอ ย จบั ลกู บอลใหอ ยู ระหวางขาท้ัง ๒ ขาง ผลักลูกบอลออกไป การสง ลกู บอลสองมอื ลา ง ใชใ นการสง ระยะสน้ั ๆ ๑๐๔ นกั เรยี นควรรู ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT การเลน แฮนดบ อลฝายใดจะเปน ผสู ง บอลเพอื่ เร่ิมเลน กอ น 1 สง ลกู บอลกระดอน ขณะสงลูก สายตาของผสู งตองมองไปท่จี ดุ ใดจุดหนงึ่ 1. ฝายท่เี ลอื กแดน ของพื้นสนาม สง ลกู อยรู ะหวา ง 2 ใน 3 ของระยะทาง ใหล กู กระดอนขึ้นระดบั เอว 2. ฝายทไี่ มไ ดเลือกแดน ของผูรบั 3. ฝา ยทม่ี ผี ูเ ลนนอ ยกวา 4. ฝา ยทมี่ ผี ูเ ลน มากกวา บูรณาการอาเซยี น วิเคราะหคาํ ตอบ การเสีย่ งทายจะใหผูเลน ทายวา เหรียญหงายเปน ดา นใด โดยฝายทที่ ายถูกจะไดส ทิ ธ์ิในการเลอื กแดนหรือเริม่ สงบอลกอนกไ็ ด ครูอธิบายเพมิ่ เติมวา กีฬาแฮนดบอลเปนหนึ่งในกีฬาทถี่ กู บรรจอุ ยูในการแขง ขนั ถา หากฝายท่ที ายถกู เลือกสิทธอ์ิ นั ใด ฝา ยท่ีทายผดิ จะไดส ทิ ธ์ทิ ีเ่ หลือ กฬี าซีเกมสทเ่ี ปนการแขง ขนั ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ซ่ึงมีการแขง ขัน เชน ถาฝายทท่ี ายถูกเลอื กแดน ฝายทท่ี ายผดิ หรือไมไ ดเลอื กแดนจะไดส ทิ ธ์ิ ครัง้ แรกในกีฬาซีเกมส ครัง้ ท่ี 22 ทป่ี ระเทศเวยี ดนาม และมกี ารแขง ขนั อีกครงั้ ใน ในการสงบอลกอนทนั ที ดังน้นั ขอ 2. เปน คาํ ตอบทีถ่ ูก กีฬาซเี กมส คร้ังที่ 24 ที่ประเทศไทย จากนั้นครใู หน ักเรียนสบื คนขอมลู เกย่ี วกบั ความเปน มาของกฬี าซเี กมส ประเภทกฬี าทแ่ี ขง ขนั แลว นาํ มาจดั ทาํ ปา ยนเิ ทศ 104 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๓. การรบั ลูกบอล1 มีดังน้ี 1. ครทู บทวนวิธีการสง บอลท่ไี ดฝกกอนหนา น้ี ๑) รับลูกบอลสองมอื ระดับอก เพ่อื ใหเกดิ ความตอเนือ่ งกนั เหยยี ดแขนทั้ง ๒ ขา ง ขน้ึ ไป ขา งหนา กางนวิ้ มอื ใหน วิ้ หวั แมม อื ชเี้ ขา หากนั 2. ใหตัวแทนนกั เรียน 3 คู (ทไี่ มซ ํา้ กบั คเู ดิม) เมอื่ ลูกบอลกระทบมือ ใหด งึ ลกู บอลเขา หาตัว ออกมาสาธิตและอธิบายวิธกี ารรบั บอลดว ยทา ในระดับอก ตอ ไปนีใ้ หเพ่ือนดู ตามลําดบั 3. ใหน ักเรียนคูอืน่ ๆ ฝกวิธกี ารรับบอลตามท่ี เพือ่ นสาธิตใหด ู 4. ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง การเลีย้ งบอล และ การยิงประตู ในหนา 106 จากนนั้ สงตัวแทน นักเรียนออกมาอธบิ ายประกอบการสาธติ ๒) รบั ลูกบอลสองมอื เหนอื ศรี ษะ เหยยี ดแขนทงั้ ๒ ขา งขนึ้ เหนอื ศีรษะ โดยหันฝามือไปหาลูกบอล เมื่อรับ ลกู บอลแลว ใหด ึงมาหาลาํ ตวั โดยเรว็ ๓) รับลกู บอลสองมือดา นขาง เหยยี ดแขนทง้ั ๒ ขาง ออกไป ดา นขางลาํ ตัว ใหหนั ดานฝามอื ไปหาลูกบอล เมื่อลูกบอลลอยมาเขามือ ใหผอนมือ และ ใชม ืออกี ขา งหนึง่ ประคองลกู บอลไว ๑๐๕ ขอ สอบ O-NET นักเรยี นควรรู ขอสอบป ’52 ออกเกย่ี วออกเกยี่ วกับการรบั ลกู บอล 1 การรบั ลูกบอล ลักษณะของมือกอนรับลูก ยกมอื ทง้ั สองขางขนึ้ ประมาณ การรบั ลกู บอล สายตาของนกั เรยี นควรเปน อยางไร ระดับอก นิ้วมือทง้ั สองขางตั้งขน้ึ รบั ลกู แลวดึงลกู เขา หาอก สว นการรบั ลกู ดว ย 1. มองมือของตนเองที่จะรบั ลูกบอล การหงายฝามอื น้วิ มือทง้ั สองขา งชลี้ งใชก บั การรับลูกทีผ่ ูส งลูกมาในระยะใกลๆ 2. มองลูกบอลทีเ่ คลอื่ นท่ีมาหานกั เรียน 3. มองเพื่อนที่สง ลูกบอลมาให 4. มองเพื่อขา งเคยี งทจ่ี ะรบั ลกู บอลตอไป วเิ คราะหค าํ ตอบ การรบั ลูกบอล สายตาตอ งมองลกู บอลทเ่ี คลอื่ นทเี่ ขา มาหาเรา เราจะไดรูท ิศทางและลกั ษณะการเคล่ือนทีข่ องลูกบอล จึงจะ สามารถรบั ลกู บอลไดถ ูกตอง ดังนั้น ขอ 2. เปนคาํ ตอบที่ถูก คูมอื ครู 105

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหน ักเรียนจบั กลมุ กลมุ ละ 7 คน แตล ะกลมุ ๔. การเลีย้ งลกู บอล คิดวธิ ีการฝกทักษะการจบั บอล การสงบอล กมตัวลงเล็กนอย ยอเขา ใชมือขางท่ีถนัด และการรับบอลประกอบการเคลื่อนที่ เลย้ี งลกู บอล โดยกางนว้ิ มอื ทงั้ ๕ นวิ้ ออก แลว กดลกู บอล ลงสูพื้น เม่ือลูกบอลกระดอนข้ึนใหผอนมือข้ึนเล็กนอย 2. ใหน กั เรียนแตล ะกลมุ บอกประโยชนของ จากน้ันกดลูกบอลลงสูพ้ืนอีก การเลี้ยงมีทั้งการเล้ียง วิธีการฝกทกั ษะการเลนแฮนดบ อลท่ีกลุม ลูกบอลตา่ํ และเล้ยี งลูกบอลสูง ตนเองคดิ ขึน้ ● การเล้ียงลูกบอลตํ่า ใชในการเคล่ือนไหว 3. ใหน กั เรยี นเลย้ี งลูกบอลหลบส่งิ กดี ขวาง รวดเรว็ และใชห ลบหลกี คูตอ สู แลวเขาไปยงิ ประตู โดยมีเพอื่ น 1 คน เปนผรู กั ษาประตู ● การเลย้ี งลกู บอลสงู ใชใ นการหาทศิ ทางการสง 4. ใหนักเรียนบอกประโยชนของการเล้ยี งบอล ๕. การยงิ ประตู มี ๒ ลกั ษณะ ดังน้ี หลบสงิ่ กีดขวาง ๑) ยิงประตูแบบลูกบอลกระดอนต่ํา กระโดดหรือยืนอยูกับท่ี แลวใชมือเพียงขางเดียว ขวา งลกู บอลออกไปใหต กพนื้ กระดอนเขา ประตูไปอยาง รวดเรว็ ๒) ยงิ ประตแู บบกระโดดพงุ ตวั ใหผ เู ลน ทเ่ี ขา ยงิ ประตกู า วเทา ๑ กา ว พรอมกับกระโดดสปริงขอเทาใหตัวลอยขึ้น แลว ขวา งลกู บอลเขาประตอู ยา งรวดเรว็ ๑๐๖ ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT ในการเลน แฮนดบอลการกาว 1 กา ว มผี ลอยา งไรตอการยงิ ประตู เกร็ดแนะครู 1. ทาํ ใหล ูกบอลเขา ตรงกลางประตูพอดี 2. ทําใหลูกบอลที่ขวา งมีความเรว็ และแรง นอกจากฝกทกั ษะการเลนกฬี าใหคลอ งแคลว แลว ครคู วรสงเสรมิ คณุ ธรรม 3. ทําใหสามารถหลอกลอ ผรู กั ษาประตไู ด ดา นความมีน้ําใจนักกฬี าใหกับนกั เรียนทกุ คน โดนครูควรอธบิ ายวา ความมีน้าํ ใจ 4. ทาํ ใหสามารถกะระยะในการยิงไดด ขี ้ึน นกั กฬี าเปนคุณธรรมของการอยูร วมกนั การเลน รว มกัน ซึง่ ทําใหท ุกคนอยูรว มกัน วเิ คราะหค าํ ตอบ การกา ว 1 กาว นอกจากจะทาํ ใหผยู งิ ประตเู ขาใกล หรอื เลนรว มกันอยางปกติสุข ซ่ึงความมนี ํ้าใจนักกีฬา มีดงั นี้ ประตมู ากข้นึ แลว ยงั ทําใหวถิ ีของลกู บอลทีข่ วา งมีความเรว็ และตรง จึงเกดิ ความแมน ยําในการทําประตู ดังนัน้ ขอ 2. เปนคาํ ตอบท่ีถูก 1. รูแพ ควรยอมรับความพา ยแพ 2. รูชนะ เมอื่ ชนะไมค วรเยาะเยย ถากถางผแู พ 3. รอู ภยั ไมถือโทษโกรธฝา ยตรงขามท่มี กี ารกระทบกระทัง่ กนั ขณะเลนกฬี า 4. เคารพในสทิ ธ์ิของผอู น่ื 5. ปฏบิ ัตติ ามกฎ กตกิ า 6. มีระเบียบวนิ ยั และความรบั ผิดชอบ 106 คูมือครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷÕè ò 1. ใหน ักเรยี นแตละกลุม จับสลากเพอ่ื แขง ขนั กีฬา แฮนดบอลกับกลมุ อ่ืน โดยครูคอยสังเกตและ ๑ แบงกลุม กลมุ ละ ๗ คน ฝก ทักษะดา นตา งๆ ในการเลนแฮนดบอลใหค ลองแคลว บนั ทกึ ผล แลวใหค รปู ระเมินผล 2. ใหนักเรียนสรุปผลการฝกทกั ษะการเลน ผลการประเมิน ขอเสนอแนะ แฮนดบ อล แลว ตอบคําถาม หนา 107 ๔๓๒๑ 3. ใหนักเรียนชวยกนั ตอบคําถามขยายความรู สกู ารคิด หนา 108 รายการ ๑. จบั ลกู บอล ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๒. สงลูกบอลสองมอื ระดับอก ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๓. สง ลกู บอลสองมือเหนอื ศีรษะ ……….. ……….. ……….. ……….. …………………………………………………………. ๔. สง ลูกบอลมือเดียวเหนอื ศีรษะ ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๕. สงลกู บอลกระดอน ๖. สง ลกู บอลมอื เดียวลาง ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๗. สงลกู บอลสองมือลาง ตวั อยา งแบบประเมิน……….. ๘. รับลูกบอลสองมือระดับอก ……….. ………………………………………………………… ………..……….. ………………………………………………………… ………..……….. ………………………………………………………… ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ๙. รับลูกบอลสองมอื เหนือศรี ษะ ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๑๐. รับลกู บอลสองมอื ดานขาง ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๑๑. เลย้ี งลกู บอล ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๑๒. ยงิ ประตแู บบลกู บอลกระดอนตาํ่ ……….. ……….. ……….. ……….. ………………………………………………………… ๑๓. ยงิ ประตแู บบกระโดดพุงตวั ……….. ……….. ……….. ……….. ……………………………………………………….. ลงชอ่ื ……………………………………………… ผูประเมนิ เกณฑการใหคะแนนยอ ย ๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ควรปรบั ปรงุ เกณฑการใหค ะแนนรวม ๔๗ ข้ึนไป = ดมี าก ๓๙-๔๖ = ดี ๒๖-๓๘ = พอใช ตาํ่ กวา ๒๖ = ควรปรับปรงุ สรปุ ผลการปฏิบตั ิ ๑) นกั เรยี นมกี ารอบอุน รา งกายกอนปฏิบัติกจิ กรรมหรือไม เพราะอะไร ๒) นกั เรียนชอบฝก ทกั ษะดา นใดมากทสี่ ุด เพราะอะไร ๓) นกั เรยี นมปี ญ หาอะไรบา งในการปฏิบัตกิ จิ กรรม และมีวธิ ีแกไขอยางไร ๑๐๗ กจิ กรรมสรา งเสรมิ เกรด็ แนะครู ใหนกั เรยี นสรปุ ประโยชนทไี่ ดจ ากการเลน กีฬาแฮนดบ อล พรอ มทง้ั บอก ครูอาจใหนักเรียนชว ยกนั ประเมินวา เพื่อนคนใดฝก ทักษะไดด บี า ง แลวครู ดว ยวา นักเรยี นจะนาํ ประโยชนท ่ีไดนัน้ ไปใชก บั ชวี ติ ประจําวนั อยา งไร ใหนักเรยี นท่ีทาํ ไดดี 2 - 3 คน ออกมาที่หนา ช้นั เรียน แลว ใหแ นะนําเพือ่ นๆ วา ทาํ อยา งไรจึงฝก ทกั ษะนน้ั ไดดี จากนั้นครูจดั กลมุ 2 - 3 กลุม โดยใหเพือ่ นทท่ี ําไดดี • ประโยชนทางดา นรา งกาย เปนหัวหนา กลุม แลวใหช วยกันฝกซอ มทกั ษะการเลน แฮนดบอลใหเ พือ่ นๆ ในกลุม • ประโยชนท างดา นจติ ใจ เพ่ือปรับปรงุ การเลนของนักเรียนใหดีขึน้ ได • ประโยชนทางดา นสังคม จากน้นั ใหน กั เรยี นบนั ทึกกิจกรรมทนี่ ักเรยี นปฏิบัติ โดยการนาํ ประโยชน ท่ไี ดจากกฬี าแฮนดบ อลไปใชเปน เวลา 7 วัน แลว บอกวาหลงั จากปฏิบตั แิ ลว เกิดผลดีตอ นักเรยี นอยางไร คูมือครู 107

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Explain Expand Engage Evaluate Evaluate ตรวจสอบผล 1. ครตู รวจสอบความถูกตองและคลองแคลว ๒ แบงกลุม และจับสลากเพื่อแขงขันกีฬาแฮนดบอลกับกลุมอ่ืน จากน้ันบันทึกผล ในการจบั บอล การสง บอล การรบั บอล และประเมินผล แลวสรุปผลการปฏิบัติ การเลีย้ งบอล และการยงิ ประตู โดยพจิ ารณา จากแบบประเมินการฝก ทักษะการเลน ทักษะ ผลการประเมิน ขอเสนอแนะ ทปี่ ระเมิน 2. ครูประเมนิ ผลการแขงขัน โดยพจิ ารณาจาก ๔๓๒๑ การสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนขณะแขง ขนั และแบบประเมนิ ผลการแขง ขนั ๑. การปฏบิ ัตติ ามกฎ กติกา ……….. ……….. ……….. ……….. …………………………………………………….. ๒. การนําทักษะตา งๆ มาใช 3 ครตู รวจสอบความถูกตอ งของคาํ ตอบ ๓. ความคลองแคลว ตัวอยา งแบบประเมิน………..………..………..………..…………………………………………………….. จากคําถามสรปุ ผลการปฏบิ ัติ หนา 107 ๔. การเคารพในสทิ ธขิ องทีมอ่นื ……….. ……….. ……….. …………………………………………………….. ๕. ความเปนผนู าํ และเปนผตู าม ………..………..……….. ……….. …………………………………………………….. หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู ๖. ความรับผิดชอบในหนาท่ี ………..………..……….. ……….. …………………………………………………….. ๗. ความสามคั คี ……….. 1. แบบประเมนิ ผลการฝกทกั ษะกฬี าแฮนดบอล ๘. ความมีน้ําใจนักกีฬา 2. แบบประเมนิ ผลการแขงขนั กฬี าแฮนดบอล ……….. ……….. ……….. ……….. …………………………………………………….. 3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นขณะปฏบิ ัติ ……….. ……….. ……….. ……….. ……………………………………………………. กิจกรรม ……….. ……….. ……….. ……….. …………………………………………………….. ลงช่อื …………………………………………….. ผูประเมนิ เกณฑการใหคะแนนยอ ย ๔ = ดมี าก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ควรปรับปรงุ เกณฑการใหค ะแนนรวม ๒๙ ข้นึ ไป = ดีมาก ๒๔-๒๘ = ดี ๑๖-๒๓ = พอใช ตํ่ากวา ๑๖ = ควรปรับปรงุ สรุปผลการปฏบิ ัติ ๑) จากการประเมนิ ผล นักเรียนอยูในเกณฑใด ๒) นักเรยี นมปี ญหาอะไรบางในการแขงขันแฮนดบ อล ๓) นักเรียนมวี ธิ แี กไขปญ หาอยา งไร ๔) นักเรยี นชอบเลน กีฬาแฮนดบอลหรือไม เพราะอะไร ๕) นกั เรยี นคิดวา การเลนแฮนดบอลมีประโยชนอยางไรบาง ๖) ขณะเลน กฬี าแฮนดบอล นกั เรยี นทําผดิ กตกิ าบา งหรอื ไม อยา งไร ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ Òä´Ô ทกั ษะการเลน แฮนดบ อลมปี ระโยชนอ ยา งไร ตอการแขงขัน และนักเรียนคิดวาควรฝกทักษะใด ๑๐๘ เพม่ิ เติม เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT ขอ ใดแสดงถงึ จํานวนนักกฬี าทถ่ี กู ตองตามชนดิ กีฬา ครหู าวีดทิ ศั นการแขง ขันแฮนดบ อลมาใหนักเรียนดูเพอ่ื ศึกษาเทคนคิ การเลน 1. ฟตุ บอล 10 คน แฮนดบ อล และกตกิ าการเลนแฮนดบอลใหเ กดิ ความเขา ใจมากข้นึ 2. แชรบ อล 6 คน 3. แฮนดบอล 7 คน เฉลย ขยายความรสู กู ารคดิ 4. หวงขา มตาขา ย 3 คน แนวตอบ วิเคราะหค าํ ตอบ จํานวนผูเ ลน ฟุตบอลของแตล ะทมี มี 11 คน ผูเ ลน แชรบอลมี 7 คน ผูเลน หว งขา มตาขายมี 2 คน สวนผเู ลน แฮนดบอลมี ทักษะการเลน แฮนดบอล ทําใหผเู ลน มีความคนุ เคยกับบอล และรูวธิ กี ารเลน 7 คน คอื เปน ผเู ลน ในสนาม 6 คน และผูรักษาประตู 1 คน ดงั น้นั บอลในรูปแบบตา งๆ สามารถนํามาประยุกตใชในการแขงขันได และพัฒนาทักษะ ขอ 3. เปนคาํ ตอบท่ถี ูก การเลน ใหมีความชาํ นาญเพิ่มมากข้นึ และเราควรฝก ทกั ษะการหลบหลกี คูต อ สู เพิ่มเตมิ เพ่อื เพมิ่ โอกาสในการเขา ยงิ ประตฝู า ยตรงขา ม 108 คมู อื ครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate เปาหมายการเรยี นรู òบทท่ี แชรบ อล สาระสาํ คัญ • เลนกีฬาพ้นื ฐานอยางนอ ย 1 ชนิด แชรบอลเปนกีฬาท่ีเปนพื้นฐานของกีฬา (พ 3.1 ป.4/4) ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹íÒʡً ÒÃàÃÕ¹ ประเภทอน่ื ๆ เชน บาสเกตบอล แฮนดบอล • ออกกาํ ลงั กาย เลน เกม และกีฬาที่ตนเอง ชอบ และมคี วามสามารถในการวิเคราะห พัฒนาการของตนเองตามตัวอยาง และ แบบปฏบิ ัตขิ องผอู นื่ (พ 3.2 ป.4/1) • ปฏิบตั ติ ามกฎ กตกิ าการเลน กีฬาพ้ืนฐาน ตามชนิดกีฬาทเ่ี ลน (พ 3.2 ป.4/2) สมรรถนะของผเู รียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป ญ หา คณุ ลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวนิ ัย รบั ผิดชอบ 2. ใฝเรยี นรู 3. มุงม่นั ในการทาํ งาน กระตนุ ความสนใจ Engage ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹à¤ÂàŹ‹ ¡ÌÕ Ò ใหน กั เรยี นดูภาพ หนา 109 แลว ชวยกนั บอก ª¹´Ô ¹éÕËÃ×ÍäÁ‹ áŌǹѡàÃÕ¹ วา ÃÊÙŒ ¡Ö Í‹ҧäáºÑ ¡ÕÌÒª¹´Ô ¹éÕ • กีฬาท่ีเห็นในภาพ คือกฬี าอะไร (ตอบ กฬี าแชรบ อล) • นกั เรียนเคยเลนกีฬาชนดิ นี้หรือไม แลว นักเรียนรูสึกอยางไรกบั กีฬาชนิดนี้ (แนวตอบ คําตอบขนึ้ อยูกบั นกั เรียนแตล ะคน) เกรด็ แนะครู ครจู ัดกระบวนการเรยี นรโู ดยการใหน ักเรียนปฏบิ ัติ ดงั น้ี • สงั เกตลักษณะการเลนกฬี าแชรบ อล • สบื คนขอมลู เกี่ยววิธีการเลนและกตกิ าของกฬี าแชรบอล • สาธติ การเลนแชรบอล • ปฏิบตั กิ ารฝกและเลนแชรบ อลได • วิเคราะหป ระโยชนของการเลน แชรบ อลจากประเดน็ คําถามและภาพประกอบ จนเกดิ เปนความรคู วามเขา ใจวา กฬี าแชรบอลเปนกีฬาทเี่ ปนพ้นื ฐานของกีฬา ประเภทอืน่ ๆ เชน บาสเกตบอล แฮนดบ อล เปน ตน คูม ือครู 109

กระตุน ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain สาํ รวจคน หา Explore 1. ครูนําอุปกรณกีฬาตา งๆ มาวางใหน กั เรียนดู กฬี าแชรบ อล เปน กฬี าทมี่ วี ธิ เี ลน ไมซ บั ซอ น ¶ŒÒ¹Ñ¡àÃÕ¹¨ÐàÅ‹¹¡ÕÌÒáªÃº ÍÅ (ลูกบาสเกตบอล ลูกฟุตบอล ลูกวอลเลยบ อล และเปนกีฬาพ้ืนฐานของกีฬาประเภทอ่ืนๆ เชน µŒÍ§ÁÕ·Ñ¡ÉÐã´ºŒÒ§ เชอื ก หวง กรวย ไมแ บดมินตนั ฯลฯ) แลว ให บาสเกตบอล แฮนดบอล เปนตน นักเรยี นออกมาเลือกวา กีฬาแชรบ อลตอ งมี อุปกรณอะไรบา ง กีฬาแชรบอล จะทาํ ใหผูเลนไดรบั ประโยชนในหลายๆ ดา น ดังน้ี (ตอบ กีฬาแชรบ อล ตองมีลูกวอลเลยบ อล ตะกรา เกาอี้ และสนามจึงจะเลนได) ทาํ ใหผ เู ลน เกิดความ นําทกั ษะพ้นื ฐานไปปรบั ใช ทาํ ใหฝกความเปน ผูนํา สนกุ สนานเพลิดเพลิน เลน กบั กีฬาชนิดอน่ื ๆ ได และผูตามที่ดี 2. ครถู ามนกั เรียนวาอุปกรณท น่ี กั เรียนเลือกน้ัน ใชในกฬี าแชรบ อลอยา งไร ทาํ ใหร า งกาย »ÃÐ⪹¢Í§ ทําใหผเู ลน มไี หวพรบิ ดี แข็งแรง ¡ÕÌÒáªÃº ÍÅ สามารถแกป ญหา 3. ใหน ักเรียนแบง กลุม กลุมละเทา ๆ กนั แตละ เฉพาะหนาได กลมุ สบื ประวตั กิ ีฬาแชรบ อล แลวออกมา รายงานหนา ชน้ั เรียน กีฬาแชรบอล เปนกีฬาที่เลนกันเปนทีม ดังน้ันอาจเกิดการปะทะกันได แลวทําใหผูเลนบาดเจ็บ เนื่องจากผูเลนทั้งสองฝายตองเคล่ือนท่ีดวยความเร็ว 4. ใหนกั เรยี นศึกษาองคป ระกอบการเลน แชรบ อล ในพื้นที่จาํ กัด ดังนั้นเราจงึ ควรคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภัยในการเลน จากหนังสอื เรียนและแหลง เรียนรอู ืน่ ๆ ในหวั ขอ • จํานวนผเู ลน • สนามท่ใี ชเ ลน • อปุ กรณการแขงขัน • เวลาในการแขงขนั • วธิ เี ลน • การไดคะแนน • การเลนลูกบอล อธบิ ายความรู Explain ¡ÒÃàµÃÂÕ ÁµÑÇ¡‹Í¹àŹ‹ ¡ÌÕ ÒáªÃº ÍÅ ¤Çû¯ÔºµÑ Ô ´Ñ§¹éÕ 1. ใหนักเรียนอภปิ รายรว มกนั วา การเตรยี มตัว ñ) µÃǨÊͺ¤ÇÒÁ¾ÃÍŒ Á¢Í§Ê¹ÒÁᢧ‹ હ‹ ¾¹×é ʹÒÁµÍŒ §àÃÂÕ º á˧Œ áÅÐäÁÁ‹ ÊÕ §Ôè ¡´Õ ¢ÇÒ§ กอนเลนกีฬาแชรบ อล ตองปฏบิ ัตอิ ยางไร ò) äÁ‹¤ÇÃäÇŒàÅçºÂÒÇ à¾ÃÒТ³ÐÃѺš٠ºÍÅÍÒ¨¡ÃÐá·¡¶¡Ù àÅ纨¹àÅçº©Õ¡Ë¡Ñ ËÃ×ÍÍÒ¨ä» 2. ใหนักเรยี นรว มกนั สรุปเปนหลกั ปฏบิ ตั ิ ¢‹Ç¹¼àÙŒ Å‹¹¤¹Í×è¹ การเตรยี มตัวกอ นแลนกฬี าแชรบ อล ó) äÁ‹¤ÇÃÊÇÁà¤Ãè×ͧ»ÃдºÑ ઋ¹ áËǹ ÊÌ͠໚¹µ¹Œ à¾ÃÒÐÍÒ¨·íÒã˵Œ ¹àͧºÒ´à¨ºç 3. ใหน ักเรยี นรว มกนั เปรียบเทยี บวา การ ËÃÍ× ¶¡Ù ¼ŒÙÍ×¹è ¨¹ä´ÃŒ ºÑ ºÒ´à¨çºä´Œ เตรยี มตวั กอนการเลน กฬี าแชรบอลขอใดบาง ô) ÊÇÁàÊé×ͼŒÒ·èÕàËÁÒÐÊÁ äÁ‹¤ÑºËÃ×ÍËÅÇÁ¨¹à¡Ô¹ä» áÅФÇÃÊÇÁÃͧ෌ҼŒÒ㺷èÕÁÕ ทนี่ าจะใชก บั การเตรียมตัวกอนการเลนกฬี า ชนิดอ่ืนๆ ได õ) àͪº×ÍÍ¡¹Ø‹ ÃÌ͋Ò§¡àÒ¾Â×èÍ1¡¤‹ÍǹÒàÁŤ‹¹Å¡Í‹ ÌÕ §Òá·¤¡Ø Ť‹ÇÃãé§Ñ¹¡ÒÃà¤ÅÍ×è ¹äËÇ ๑๑๐ นักเรยี นควรรู ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEดิT ขอ ใดไมใชก ารเตรยี มตวั กอ นการเลนกีฬาแชรบอล 1 อบอุนรางกาย เปนการเตรยี มความพรอมของรา งกายกอ นออกกาํ ลังกาย 1. อบอนุ รา งกายกอนลงเลน เพอื่ เพิ่มอุณหภมู ิของกลามเนื้อ และเปนการชวยยืดเสน เอ็นและเนอื้ เยื่อตางๆ ทาํ ให 2. ตัดเล็บใหส ัน้ กอ นลงเลน รา งกายมีความออ นตวั และชวยลดการบาดเจ็บของกลามเนือ้ และเสนเอน็ ตา งๆ ได 3. ผูกเชือกรองเทา ใหแนน กอนลงเลน โดยในการอบอุนรา งกายควรเปนทากายบริหารงา ยๆ ทส่ี ามารถทําไดด ว ยตนเอง 4. สวมนาฬก าขอมอื เรอื นใหมกอนลงเลน โดยอาจเริม่ จากบิดลําตวั ไปมา แลวตอดว ยการกมแตะปลายเทา เปนตน ในการ วิเคราะหค ําตอบ การตัดเลบ็ ใหส ้นั การผกู เชอื กรองเทาใหแนน อบอุนรา งกายควรใชเ วลาอยา งนอ ยประมาณ 5-10 นาที เพอ่ื ใหร างกายมคี วาม และการอบอุน รางกาย เปนการเตรยี มตวั กอ นการลงเลน กีฬาแชรบ อล เคยชินและตื่นตัวพรอ มสาํ หรับการออกกาํ ลงั กาย แตการสวมนาฬกาหรือเครอื่ งประดบั เปน ส่ิงทีไ่ มควรปฏิบัติ เพราะอาจ ทาํ ใหต นเองและผอู นื่ ไดร บั บาดเจบ็ เมอ่ื เกิดการกระทบกระทง่ั กัน ดังนัน้ ขอ 4. เปนคาํ ตอบท่ีถกู 110 คมู อื ครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๑ องคป ระกอบการเลน แชรบ อล 1. ใหน ักเรียนวาดภาพสนามทีใ่ ชเลน ๑.การเลนแชรบ อลมีองคประกอบหลายประการ ดังน้ี พรอ มท้งั เขยี นบรรยายตาํ แหนงผเู ลนประกอบ ผเู ลน ประกอบดว ยผูเลน ๒ ฝาย ฝา ยละ ๗ คน โดยเปนผถู อื ตะกรา 1 ในภาพดวย ๑ คน ยนื อยบู นเกา อ้ีของฝา ยตรงขา ม ผเู ลน แดนหนา ๓ คน และผเู ลน แดนหลงั ๓ คน ผเู ลน แดนหลงั ท่อี ยูตรงกลางยืนในเขต ๓ เมตร คอยปอ งกันประตู และมี 2. ใหต ัวแทนนักเรียนออกมาอธบิ ายหวั ขอ ๒.ผูเลนสาํ รองฝายละ ๕ คน • จาํ นวนผเู ลน สนาม สนามจะตองเปนพ้ืนเรียบแข็ง จะเปนสนามในรมหรือสนาม • สนามท่ใี ชเ ลน โดยใหใ ชภ าพที่นกั เรยี นวาดภาพประกอบ การอธิบาย กลางแจง ก็ได มีลักษณะ ดงั น้ี ʹÒÁ¡ÕÌÒáªÃºÍÅ ๓๒ เมตร ๑๖ เมตร ๘ เมตร ๑.๘ เมตร ๓ เมตร ๐.๕ ม. ๓ ๕ ๒ ๔ ๑ ๑ ʹÒÁ ÃÙ»ÊèàÕ ËÅèÂÕ Á¼¹× ¼ŒÒ ¡ÇŒÒ§ ñö àÁµÃ ÂÒÇ óò àÁµÃ ๒ àÊŒ¹â·É ËÒ‹ §¨Ò¡¨Ø´¡§èÖ ¡ÅÒ§àÊŒ¹ËÅѧ ø àÁµÃ áÅÐÁ¤Õ ÇÒÁÂÒÇ ð.õ àÁµÃ ๓ ǧ¡ÅÁ ·¨èÕ Ø´¡è§Ö ¡ÅÒ§àÊŒ¹áº§‹ á´¹ ÁÕÃÑÈÁÕ ÂÒÇ ñ.ø àÁµÃ ๔ àÊŒ¹áº§‹ ¡èÖ§¡ÅҧʹÒÁ ๕ ࢵ¼»ŒÙ ͇ §¡¹Ñ »Ãе٠¨ÐÍ·‹Ù ¨Õè ´Ø ¡§èÖ ¡ÅÒ§àʹŒ ËÅ§Ñ ·§Ñé Êͧ´ÒŒ ¹ ÁàÕ Ê¹Œ ¤Ã§Öè ǧ¡ÅÁ ÃÈÑ ÁÂÕ ÒÇ ó àÁµÃ ๑๑๑ ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEดิT นกั เรยี นควรรู จาํ นวนผเู ลน แชรบ อลในแตละฝา ยเหมือนกับกีฬาในขอ ใด 1 ผถู ือตะกรา เปนผทู ต่ี อ งใชตะกรารับลูกบอลจากการยิงประตู โดยขณะ 1. กฬี าฟุตบอล รับลกู บอลตอ งอยูบนเกา อพี้ รอ มกบั ตะกรา และไมมสี ทิ ธ์เิ ขารวมเลนกบั ผเู ลน 2. กฬี าวอลเลยบ อล ในสนาม ในขณะกําลงั ทาํ การแขงขันอยู 3. กีฬาแฮนดบอล 4. กีฬาบาสเกตบอล เกาอ้ที ่ีต้งั ไวใ หผ ูถอื ตะกรายืน จะตองตั้งเกา อ้ใี หขาเกา อ้ีดานหนาทัง้ 2 ขาง วเิ คราะหค าํ ตอบ กฬี าฟตุ บอลจะมผี เู ลน ฝา ยละ 11 คน กีฬาวอลเลยบอล อยบู นเสน หลัง โดยมจี ุดก่ึงกลางของเสนหลงั อยรู ะหวางขาเกา อ้ที ง้ั 2 ขาง จะมผี เู ลน 6 คน กีฬาแฮนดบ อลจะมผี ูเ ลน 7 คน กีฬาบาสเกตบอลจะมี ผูท่ีถอื ตะกรา จะตองเปนผูท ีม่ ีสายตาดี รับลูกดว ยตะกรา ไดอ ยา งแมน ยํา ผูเ ลน ฝายละ 5 คน กฬี าแชรบอลจะมีผูเ ลน ฝา ยละ 7 คน ดงั นั้น ขอ 3. มกี ารทรงตัวดมี าก ผูถ อื ตะกราจะรับลกู บอลในลักษณะใดกไ็ ดทไ่ี มเ ปนการรบกวน เปนคาํ ตอบทถี่ กู หรือกดี กนั การปอ งกนั ตะกรา คมู ือครู 111

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ใหตวั แทนนักเรยี นอีก 4 คน (ไมซ ํา้ กบั ๓. อุปกรณก ารแขง ขัน มดี ังน้ี คนเดมิ ) ออกมาอธบิ ายองคประกอบของ การเลนแชรบอลในหัวขอ ตอ ไปนี้ ࡌÒÍäéÕ ÁÁ‹ Õ¾¹Ñ¡¾Ô§ • อปุ กรณการแขงขัน • เวลาในการแขง ขัน µÐ¡ÃÒŒ ·Õè·íÒ¨Ò¡ ÅÙ¡ºÍÅ ¹¡ËÇ´Õ 1 • วธิ ีเลน ËÇÒÂËÃÍ× ¾ÅÒʵԡ • การไดค ะแนน ๔. ระยะเวลาในการแขงขนั แบงออกเปน ๒ ครง่ึ ครึ่งละ ๒๐ นาที และ 2. ครูถามนักเรยี นวา ๕.ใหมพี กั ระหวางครึ่ง ๕ นาที • เกาอ้ใี ชใ นการแขง ขันควรมีลักษณะอยางไร เพื่อสรางความปลอดภัย วิธีเลน ใหผูเลนท้ังสองฝายเสี่ยงเลือกแดนหรือเลือกสงกอน แลว (แนวตอบ ทําจากไมห รือวัสดทุ ม่ี คี วามแข็งแรง เพ่ือใหร องรบั นาํ้ หนกั ตวั ของผูยืนได และ เขา ประจาํ ที่ เรม่ิ เลน เมื่อผูตัดสนิ โยนลูกบอลขนึ้ ระหวางผูเลนของแตละฝายท่อี ยู ขาเกาอ้ีตองมน่ั คง แขง็ แรง และไมโยก) ในวงกลม ผูเลนท้ังสองฝายกระโดดปดลูกบอลใหฝายของตนรับ แลวพยายาม • ทมี ทชี่ นะในการเลน แชรบ อลคอื ทมี ใด ยิงประตูของฝายตนเองที่อยูในแดนของฝายตรงขาม และปองกันไมใหฝาย (ตอบ ทมี ทีส่ ง ลูกบอลลงตะกราไดม ากที่สุด คอื ผชู นะ) ๖.ตรงขา มครอบครองลกู บอลหรอื นาํ ลกู บอลไปยงิ ประตูในตะกรา ของฝา ยตรงขา มได การไดค ะแนน ถา ฝา ยใดสามารถนาํ ลกู บอลไปยงิ ลงในตะกรา ของฝา ย ตนเองจะได ๒ คะแนน แตถ าโยนลกู โทษลงตะกรา จะได ๑ คะแนน โดยลกู ที่ได คะแนนตอ งเปน ลกู ทล่ี อยกลางอากาศแลว ลงตะกรา และผทู ถ่ี ือตะกรา ตอ งยนื บน เกา อ้ขี ณะรับลกู บอล เมื่อจบการแขง ขนั แลวฝา ยใดทาํ คะแนนไดม ากกวาจะเปน ฝา ยชนะ เมอ่ื ฝา ยใดทาํ ประตูไดห รอื ทาํ ลกู บอลออกทางเสน หลงั ใหอ กี ฝา ยเปน ผโู ยน ลูกบอลเขามาเลนใหม โดยโยนจากเสนนอกทอี่ ยูนอกเขตประตู ๑๑๒ เกร็ดแนะครู ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEดิT การเลน แชรบอลในขอ ใดทีไ่ มอ นญุ าตใหผ ูเลนกระทาํ ครูอาจแนะนํานักเรียนวาเกา อี้ท่นี ํามาใชใ นการเลนแชรบ อล ไมควรใชเกาอ้ี 1. เขาไปในเขตประตู พลาสตกิ เนือ่ งจากเกา อพ้ี ลาสตกิ มีนาํ้ หนกั เบา หากผถู อื ตะกราเอื้อมไปรับลูกบอล 2. โยนลกู บอลใหเพอ่ื น อาจทําใหเ กาอีล้ ม และเกดิ การบาดเจบ็ ได 3. จับลกู บอลแลวสงตอทันที 4. ครอบครองลูกบอลดวยมือขางเดียว นกั เรยี นควรรู วิเคราะหคาํ ตอบ 1. หา มผเู ลนเขา ไปในเขตประตู แตผ ูป อ งกันประตู สามารถออกนอกเขตประตูได 1 นกหวดี ใชเ ปนสัญญาณของกรรมการในสนาม เมื่อมผี ูเลนผิดกติกา หรอื 2. สามารถโยนลูกบอลขึ้นในอากาศไดในระยะเวลา 3 วนิ าที ใชเ ปนสัญญาณหมดเวลาการแขงขัน ซ่งึ อาจจะใชเ สยี งสญั ญาณอน่ื กไ็ ด เชน 3. สามารถสง ตอบอลไดท นั ทีภายในระยะเวลา 3 วนิ าที เสียงระฆัง เสยี งกริ่ง เปน ตน 4. สามารถครอบครองลูกดวยมอื ขางเดยี วหรอื สองขา งกไ็ ด ดงั นนั้ ขอ 1. เปนคําตอบท่ีถกู 112 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate อธบิ ายความรู Explain ๒ กติกาการเลน แชรบอล ครูถามเกยี่ วกับการเลน ลกู บอล โดยยก การเลนแชรบอลตองปฏบิ ตั ิตามกฎ กติกาทีก่ าํ หนดให ดงั นี้ ตวั อยา งกรณเี ลนในสนาม แลวใหนักเรยี นตอบวา ͹ØÞÒµã˼Œ ŒÙàÅ‹¹¡ÃзÒí เปนสงิ่ ที่อนุญาตใหผูเลน กระทํา หรือไมอนญุ าตให ñ) ËÂØ´ ¨ºÑ µÕ »´˜ ¡Åé§Ô ʧ‹ ËÃ×Í¢ÇÒŒ §Å¡Ù ºÍÅ´ÇŒ ÂÁÍ× á¢¹ ÈÃÕ ÉÐ ผเู ลนกระทํา áÅÐÅÒí µÑÇà˹Í× àÍÇ¢éÖ¹ä»ä´Œ ò) ¤Ãͺ¤Ãͧš٠ºÍÅ´ÇŒ ÂÁÍ× à´ÂÕ ÇËÃÍ× ÊͧÁÍ× ËÃÍ× ¡´Å¡Ù ºÍÅ·ÍÕè º‹Ù ¹ • ผเู ลน โยนลกู บอลไปโดนขาของผเู ลน ¾×¹é ʹÒÁ ËÃÍ× â¹š٠ºÍÅ¢¹Öé ã¹ÍÒ¡ÒÈä´ãŒ ¹àÇÅÒäÁ‹à¡¹Ô ó ÇÔ¹Ò·Õ ฝายตรงขามโดยไมตั้งใจถือวาไมผิดกตกิ า ó) ¶Í× ÅÙ¡ºÍÅáÅÐà¤Å×è͹äËÇä»ÁÒ´ŒÇ¡ÒÃËÁ¹Ø µÇÑ â´ÂÁàÕ ·ŒÒËÅ¡Ñ (ตอบ ไมอ นุญาต) ô) ¡ÃÐâ´´ÃºÑ Ê‹§ ËÃÍ× ÂÔ§»Ãе٠õ) ãªÅŒ íÒµÑǺ§Ñ ½†Òµç¢ÒŒ Á ã¹¢³Ð·¡Õè íÒÅ§Ñ ¤Ãͺ¤Ãͧš٠ºÍÅÍ‹٠• หมุนตวั ไปมาอยูกับทโี่ ดยใชเ ทาทัง้ สอง โดยไมเคล่ือนทีไ่ ปท่อี ่นื (ตอบ ไมอ นุญาต) • นอนทบั ลูกบอลใหอ ยกู ับพ้ืนฝา ยตรงขา ม เขา มาแยงลกู (ตอบ ไมอ นุญาต) • ย่ืนลกู บอลใหเ พอื่ นรวมทมี ดว ยมอื ตอมือ (ตอบ ไมอนญุ าต) ขยายความเขา ใจ Expand äÁ‹Í¹ÞØ Òµã˼Œ àÙŒ Ź‹ ¡ÃзÒí ใหนกั เรยี นแบงกลุม สบื คนขอ มูลประวตั ิ การเลน แชรบ อล กติกา การเลน วธิ ีเลน จดั ทํา ñ) ËÒŒ ÁàÅÕé§ÅÙ¡ºÍŠ¡àǹŒ ¡Ã³Õ·ÕèÃѺš٠ºÍÅäÁ‹ä´Œ เปนรายงานแลวสงตวั แทนออกมานําเสนอ ËÃ×Í¡ÒõѴÅÙ¡ºÍÅ (¡Òê§Ô š٠ºÍÅÁÒ¨Ò¡½†Òµç¢ŒÒÁ หนาชน้ั เรยี น ¢³Ð·½èÕ †Òµç¢ÒŒ Áʧ‹ š٠ºÍÅã˽Œ †ÒÂà´ÂÕ Ç¡Ñ¹) ตรวจสอบผล Evaluate ò) ਵ¹Ò¾‹Ø§µÑÇŧà¾×Íè ¤Ãͺ¤ÃͧÅÙ¡ºÍÅ ó) àŹ‹ ÅÙ¡ºÍÅ´ŒÇÂʋǹ˹è§Ö ÊÇ‹ ¹ã´ µÑ§é áµà‹ ÍÇŧÁÒ ครูประเมนิ การนําเสนอหนาชัน้ เรยี นและ ô) Âè¹× š٠ºÍÅãËàŒ ¾è×͹ÃÇ‹ Á·ÁÕ ´ÇŒ ÂÁÍ× µ‹ÍÁÍ× ตรวจสอบความถูกตอ ง สมบูรณของขอ มลู รวมถึง õ) ·Òí ã˽Œ †Òµç¢ÒŒ Áä´ŒÃºÑ Í¹Ñ µÃÒÂâ´Â㪌š٠ºÍÅ ความเปนระเบยี บเรียบรอยของรปู เลมรายงาน ö) ·Øº µº µÕ š٠ºÍŨҡÁ×ͽ҆ µç¢ÒŒ Á ÷) ·íÒ¼Ô´¡µ¡Ô ÒÃÒŒ Âáç¡ºÑ ½Ò† µç¢ŒÒÁ ø) àŹ‹ ´ŒÇ¤ÇÒÁÃØ¹áç ๑๑๓ ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT เกรด็ แนะครู การเลน แชรบอลใชอวัยวะใดในการเคล่ือนไหวมากท่ีสุด ครูควรแนะนําเพ่มิ เติมวา นอกจากผูเ ลนในสนามท่ตี องเลน ดว ยความระมดั ระวงั 1. ศรี ษะ ไมเ ลนดว ยความรนุ แรงแลว ผถู ือตะกรา และผปู อ งกันประตกู ็ตองระมัดระวงั ในการ 2. มือ เลน เชน เดยี วกนั เชน เมอ่ื มผี เู ลน โยนลกู ลงตะกรา ผปู อ งกนั ประตอู าจกระโดดปด ลกู 3. ขา จงึ อาจทาํ ใหป ดมือไปถกู ตัวผูถอื ตะกรา หรือถอยหลังไปชนผถู ือตะกรา ตกจากเกาอี้ 4. เทา และบาดเจ็บได วิเคราะหคําตอบ การเลน แชรบ อล ผูเลน ในทีมจะตอ งมกี ารรับสงลกู ท่ี คลอ งแคลว วอ งไว รวมถึงตอ งมีความแมน ยาํ ในการโยนลกู ใหลงตะกรา มุม IT หรืออวัยวะท่ที ําใหส ามารถรบั สง และโยนลกู บอลได อยา งมีประสทิ ธิภาพ ครูสามารถใหน ักเรียนศึกษาเพ่ิมเตมิ เร่ือง กติกาการเลนแชรบอล ไดจากเว็บไซต คือ มอื ดงั น้นั ขอ 2. เปน คาํ ตอบทถี่ กู สมาคมแชรบ อลประเทศไทย http://www.chairballthai.com คมู อื ครู 113

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain กระตนุ ความสนใจ Engage ครูสนทนากับนกั เรียนเรื่องทกั ษะการเลน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷÕè ñ แชรบ อล โดยครูถามนักเรียนวา นกั เรียนคดิ วา การเลน แฮนดบอล และการเลนแชรบ อลมีทักษะ แบงกลุมละเทาๆ กัน สืบคนขอมูลประวัติการเลนแชรบอล กติกาการเลน วิธีเลน การเลนเหมือนกันหรอื ไม อยางไร จดั ทาํ เปน รายงาน สงตวั แทนออกมานาํ เสนอหนาชัน้ เรียน สาํ รวจคน หา Explore 1. ใหนักเรียนศึกษาทักษะการเลน แชรบอลใน ๓ ทกั ษะการเลน แชรบอล การรับและการสง ลูกบอล1 หัวขอ ตอ ไปน้ี • การสง ลกู บอล การเลนแชรบอลตอ งอาศัยทักษะการเคล่ือนไหว • การรับลกู บอล การยิงประตู ดังนั้นผูเลนจงึ ควรฝกทกั ษะเหลาน้ีใหช ํานาญ • การยิงประตู ๑. การสง ลกู บอล มีดังน้ี 2. ใหนักเรียนจับคกู ันฝกทักษะการเลน แชรบ อล ๑) สง ลูกบอลสองมอื ระดับอก ตามทไี่ ดศกึ ษามา ยนื แยกเทา สองมอื จบั ลกู บอลระดบั อก จากน้ันกาวเทาไปขางหนา ๑ กาว พรอมกับผลัก อธบิ ายความรู Explain ลูกบอลออกไปใหแ ขนเหยยี ดตึง และฝา มอื แบะออก ดา นขาง ครสู มุ นกั เรียน 3 กลมุ ออกมาอธิบายวธิ ีการสง ลกู บอลในแบบตางๆ พรอมการสาธติ ประกอบการ ๒) สง ลกู บอลสองมอื เหนอื ศรี ษะ อธบิ าย ยนื แยกเทา สองมอื จบั ลกู บอล แลว ยก • สง ลูกบอลสองมอื ระดบั อก ข้นึ เหนอื ศรี ษะ งอแขนไปขา งหลงั เลก็ นอ ย กาวเทา • สง ลูกบอลสองมอื เหนือศรี ษะ ไปขา งหนา ๑ กา ว พรอ มกบั เหยยี ดแขนผลกั ลกู บอล • สง ลูกบอลสองมือลา ง ออกไป ตวดั ขอมือลง ดดี สงดว ยนว้ิ มือ • สง ลูกบอลกระดอน • สงลกู บอลมือเดยี วเหนือไหล ๓) สง ลกู บอลสองมอื ลา ง • สงลกู บอลมอื เดยี วลา ง ยืนแยกเทา ยอตัว มือท้ัง ๒ ขาง จับลกู บอลใหต่าํ กวา ระดับเขา กางศอกออกเลก็ นอ ย แลวผลักลูกบอลออกดวยกําลังของแขน โดยตวัด ขอ มอื และนว้ิ ขึ้น เหยยี ดแขนตามลกู บอลไป ๑๑๔ นกั เรยี นควรรู ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEดิT ขอ ใดเปน ขอ หามในการปอ งกันลกู บอลของผูปองกันประตูในกีฬาแชรบ อล 1 การสงลกู บอล ในแตละแบบจะมีขอดีแตกตางกนั เชน 1. หามผปู อ งกันประตยู กมอื ออกจากตวั • สง ลกู บอลสองมือระดับอก ทาํ ใหสงลกู บอลไดรวดเร็วและแมน ยาํ ท้งั ใน 2. หา มผปู องกนั ประตใู ชมือจับลกู บอล ระยะใกล และระยะหางปานกลาง 3. หามผูปอ งกันประตูกระโดดจบั ลกู บอล • สงลกู บอลสองมอื เหนอื ศรี ษะ จดุ สง ลกู จะสงู จึงยากตอการสกัดจาก 4. หา มผูปอ งกนั ประตูถกู ตัวประตู ฝา ยตรงขา ม โดยมากคนรปู รา งสงู จะใชการสง ลกู ขา มศีรษะของฝายปอ งกัน วเิ คราะหค าํ ตอบ ผูปอ งกนั ประตสู ามารถใชม อื ปองกันลูกบอลหรอื ที่มีรปู รางเตยี้ กวา กระโดดปองกนั ลูกบอล รวมถงึ สามารถออกมาเลน กบั ผเู ลน คนอน่ื ๆ ได • สง ลกู บอลสองมอื ลาง ใชในการสง ลกู ที่มผี ูปอ งกันรูปรางสงู กวา หรือใช แตหา มผปู อ งกันประตูถกู ตวั ผูเ ปน ประตู และตะกรา ดังนน้ั ขอ 4. สําหรับการหมนุ ตวั สง ใหเ พือ่ นรว มทีมทวี่ ง่ิ ตัดมารับลูก ซ่งึ เปนการสงใน เปนคาํ ตอบทถ่ี ูก ระยะส้ันๆ 114 คูม ือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๔) สงลูกบอล1กระดอน 1. ครสู ุมนักเรยี นอกี 4 คู (ไมใชคเู ดิม) ออกมา ยนื แยกเทา สองมอื จบั ลกู บอลระดบั อก อธบิ ายพรอ มการสาธิตประกอบวิธกี ารรบั ลูก และการยิงประตู แลว ผลกั ลกู บอลใหก ระทบพ้ืน ใหลกู บอลกระดอนไป • รับลกู สองมอื ระดบั อก ขา งหนา • รบั ลกู สองมือเหนือศีรษะ • รบั ลกู บอลกระดอน ๕) สง ลูกบอลมือเดียวเหนอื ไหล จับลูกบอลดวยมือขางท่ีถนัดแลวชูข้ึน 2. ครทู บทวนการเลน แชรบ อลทั้งหมดอีกคร้ัง เพอ่ื ใหน กั เรียนเกดิ ความเขา ใจมากยง่ิ ขึ้น เหนือไหลจากน้ันบิดไหลไปขางหลัง พรอมกับงาง ลกู บอลแลว บดิ ไหลแ ละศอกทจี่ บั บอลไปขา งหนา ผลกั ลูกบอลออกไปแลว ตวดั ขอ มือลง ดดี สงดว ยนว้ิ มือ ๖) สง ลกู บอลมือเดยี วลา ง จบั ลกู บอลดว ยมอื ใดมอื หนงึ่ ดงึ ลกู บอล เขามาขางสะโพกดานหลัง แลว ผลักลกู บอลออกไป ๒. การรบั ลูกบอล2 มดี งั น้ี ๑๑๕ ๑) รับลูกบอลสองมอื ระดบั อก เคล่อื นทีเ่ ขาหาลูกบอล กม ลาํ ตวั และงอ เขา เลก็ นอ ย ยนื่ แขนทง้ั ๒ ขา ง แลว กางนว้ิ ออกเพอื่ รบั ลูกบอลเมอ่ื มือสัมผัสลูกบอล ใหดึงเขาระดับอก ๒) รับลูกบอลสองมอื เหนอื ศรี ษะ กระโดดพรอ มท้ังเหยียดแขนทงั้ ๒ ขาง ข้ึนรับลกู บอล เมื่อมอื สมั ผัสลูกบอล ใหด งึ ลกู บอลเขา ระดับอก ขณะลงสพู น้ื แยกเทา งอเขา เล็กนอ ย ๓) รับลกู บอลกระดอน เคลอื่ นทห่ี นั หนา เขา หาลกู บอล ควา่ํ ฝา มอื ทั้ง ๒ ขาง กางน้ิว ขณะลูกบอลกระดอนขึ้นจากพื้น ใหกม ตวั รับลูกบอลแลว ดงึ ลกู บอลเขาระดบั อก ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT นกั เรียนควรรู ใครในขอ ตอ ไปน้ีเลน ผิดกติกากีฬาแชรบ อล 1 สง ลกู บอล ในแตล ะแบบจะมีขอ ดีแตกตางกนั เชน 1. จ๋ิวกระโดดยิงประตู • สง ลกู บอลกระดอน ใชส ง ระยะสน้ั ๆ ในกรณีทฝี่ ายตรงขามมรี ปู รา งสูง 2. เสือใชศ ีรษะโหมงลกู บอลใหเ พอ่ื น 3. โอมใชข าเตะลูกบอลทก่ี ล้ิงมา คอยปองกันการสง ลูก 4. มนี ใชม อื ขวางลกู บอล • สง ลกู บอลมอื เดียวเหนอื ไหล ใชส าํ หรับการสง ระยะไกล เพอ่ื ตอ งการเปด เกม วิเคราะหค ําตอบ ผเู ลน สามารถกระโดดรับ สง หรือยิงประตูได รวมถงึ สามารถใชอ วัยวะสวนใดก็ไดต้งั แตเ อวขน้ึ ไปในการเลนลกู บอล ดังน้ัน การรกุ ท่รี วดเรว็ ซง่ึ การสงลกู แบบนีจ้ ะทาํ ใหล กู บอลพุงไปแรงมาก • สงลูกบอลมือเดยี วลาง ใชสง เมือ่ ผูรบั อยไู กล แตม ขี อเสยี คอื อาจขาดความ ขอ 3. เปนคําตอบทีถ่ กู แมนยําในบางคร้งั ดังนน้ั ผูเลนทคี่ อยรับลกู ตองกะทิศทางใหด ี 2 การรบั ลกู บอล ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี • ผูเ ลนตอ งเคล่อื นตวั ดกั ทศิ ทางของลูกบอล โดยเคลอื่ นทเี่ ขา หาลกู ไมใ ช คอยใหลูกเขาหาตวั และหนั หนาเขา หาลกู บอล • เวลารบั ลกู บอลอยา ใชอุงมือรบั เพราะทําใหล ูกบอลกระดอนออกจากมือได คมู ือครู 115

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหนกั เรียนประเมนิ ผลการฝก ทกั ษะการ ๓. การยงิ ประต1ู มี ๒ ลกั ษณะ ดังน้ี เลน แชรบ อลของตนเองวา มีขอ บกพรองหรอื ๑) ยงิ ประตมู อื เดยี ว จบั ลกู บอลดว ยมอื เดยี ว ขอควรปรับปรุงอยางไร งอเขาเล็กนอย ตามองไปท่ีตะกรา ชูลูกบอลใหอยู เหนือศรี ษะ แลวสปรงิ ตัวขึน้ พรอมผลักลกู บอลไปยัง 2. ใหนักเรียนจบั คกู นั มาสอบทกั ษะการเลน ตะกรา แชรบอลแลว ประเมนิ ผล และสรปุ ผลการ ปฏบิ ัติ ๒) ยิงประตูสองมือ จับลูกบอล ๒ มือ ชูลูกบอลใหอยูเหนือศีรษะ ยอเขา ตามองดูตะกรา 3. ใหนกั เรยี นแบงกลมุ และจับฉลากเพือ่ น แลวสปริงตวั ขน้ึ พรอ มกบั ผลักลกู บอลไปเหนอื ศรี ษะ แขง ขันกฬี าแชรบอลกบั เพ่ือนกลมุ อนื่ โดยครู คอยสังเกต และจดบันทึกเพือ่ ประเมนิ ผล ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ÙŒ èÕ ò 4. ใหน ักเรยี นชวยกนั ตอบคําถามขยายความรู ๑ จับคกู บั เพอื่ น ฝกทกั ษะการเลนแชรบอล แลว ใหเ พ่ือนประเมินผล จากนัน้ นกั เรียน สกู ารคิด หนา 117 ตอบคาํ ถาม ทปี่ทรักะษเมะิน ผลการประเมนิ ขอ เสนอแนะ ๑. การสงลกู บอล ๔๓๒๑ ๒. การรบั ลกู บอล ๓. การยิงประตู ตวั อยา งแบบประเมนิ............ ……….. ............ ............ ................................................................................... ................................................................................... ............ ……….. ............ ............ ................................................................................... ............ ……….. ............ ............ ลงชอื่ …………………………………………………. ผปู ระเมนิ เกณฑการใหคะแนนยอย ๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ควรปรบั ปรงุ เกณฑการใหค ะแนนรวม ๑๑ ขน้ึ ไป = ดีมาก ๙-๑๐ = ดี ๖-๘ = พอใช ตํา่ กวา ๖ = ควรปรับปรุง สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิ ๑) นกั เรยี นคิดวา ตนเองฝก ทกั ษะการเลน แชรบ อลอยูในเกณฑใด ๒) นกั เรียนคดิ วา ตนเองมขี อ บกพรอ งและขอควรแกไ ขอยางไร ๑๑๖ นกั เรยี นควรรู กจิ กรรมสรา งเสรมิ 1 การยงิ ประตู แตล ะแบบจะตางกัน ดังนี้ ใหน กั เรียนสรุปประโยชนทีไ่ ดจากการเลน กฬี าแชรบ อล พรอมทง้ั บอก • ยิงประตมู อื เดียว จะใชก ับการยิงระยะตางๆ ได ซงึ่ ขณะทย่ี ิงประตู ผเู ลน ดวยวา นกั เรยี นจะนําประโยชนทีไ่ ดไปใชก ับชวี ิตประจําวนั อยา งไร อาจยนื อยกู ับทห่ี รอื กระโดดข้ึนยงิ ก็ได • ยงิ ประตสู องมอื แบบสองมอื เหนอื ศรี ษะ มกั ใชก บั การยนื ยงิ อยกู บั ที่ เพราะ • ประโยชนท างดานรา งกาย ขณะปลอยลกู บอลออกจากมือ รางกายของผยู ิงตองมคี วามนิ่งพอสมควร • ประโยชนท างดา นจติ ใจ มิฉะน้ันความแมน ยําจะลดลง • ประโยชนทางดา นสงั คม ท้ังนใ้ี นการเลน ขน้ึ อยกู บั จงั หวะและสถานการณในขณะน้นั วาจะใชว ธิ ีการยงิ จากนน้ั ใหน กั เรยี นบนั ทกึ กจิ กรรมทนี่ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ โดยการนาํ ประโยชน ที่ไดจากกฬี าแชรบ อลไปใช เปนเวลา 7 วนั แลวบอกวา หลงั จากปฏิบัติ ประตูแบบไหน แลวเกิดผลดีตอ นักเรยี นอยางไร 116 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ๒ แบงกลุม และจับสลากเพื่อแขงขันกีฬาแชรบอลกับกลุมอ่ืน จากน้ันบันทึกผลและ 1. ครูประเมนิ ผลการฝก ทกั ษะการเลนแชรบ อล ประเมนิ ผล ของนกั เรยี น โดยพจิ ารณาจากแบบประเมนิ ของนกั เรยี น ทักษะ ผลการประเมิน ขอ เสนอแนะ ที่ประเมิน 2. ครูประเมินผลการแขงขนั แชรบอล โดย ๔๓๒๑ พจิ ารณาจากการสังเกตพฤตกิ รรมของ นกั เรยี น และแบบบันทึกการประเมิน ๑. การปฏิบัติตามกฎ กติกา ……….. ……….. ……….. ……….. …………………………………………………….. ๒. การนําทักษะตา งๆ มาใช 3. ครตู รวจสอบความถกู ตองของคาํ ตอบขยาย ๓. ความคลอ งแคลว ความรสู ูก ารคดิ ๔. การเคารพในสิทธขิ องทมี อนื่ ๕. ความเปน ผนู าํ และเปนผูต าม ตวั อยา งแบบประเมิน………..………..………..………..…………………………………………………….. หลกั ฐานแสดงผลการเรยี นรู ๖. ความรบั ผิดชอบในหนา ที่ ……….. ……….. ……….. …………………………………………………….. ๗. ความสามัคคี ………..………..……….. ……….. …………………………………………………….. 1. รายงานประวตั ิกีฬาแชรบ อล กตกิ า วิธเี ลน ๘. ความมนี าํ้ ใจนกั กฬี า ………..………..……….. ……….. …………………………………………………….. 2. แบบประเมินผลการฝกทกั ษะการเลน แชรบอล ……….. 3. แบบประเมนิ ผลการแขง ขนั กฬี าแชรบอล และ ……….. ……….. ……….. ……….. …………………………………………………….. สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นขณะปฏิบัติ กจิ กรรมของนกั เรียน ……….. ……….. ……….. ……….. ……………………………………………………. ……….. ……….. ……….. ……….. ……………………………………………………. ลงช่ือ …………………………………………….. ผปู ระเมิน เกณฑก ารใหคะแนนยอย ๔ = ดมี าก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ควรปรบั ปรงุ เกณฑก ารใหคะแนนรวม ๒๙ ขนึ้ ไป = ดีมาก ๒๔-๒๘ = ดี ๑๖-๒๓ = พอใช ต่ํากวา ๑๖ = ควรปรบั ปรุง สรุปผลการปฏบิ ตั ิ ๑) จากการประเมินผล นกั เรียนอยูในเกณฑใด ๒) นกั เรียนมปี ญหาอะไรบา งในการแขงขันแชรบอล ๓) นักเรียนมีวธิ แี กไขปญหาอยางไร ๔) นกั เรียนชอบเลนกฬี าแชรบอลหรือไม เพราะอะไร ๕) นักเรยี นคดิ วา การเลนแชรบ อล มีประโยชนอยางไรบาง ๖) การฝกทักษะการเลน แชรบ อลของนักเรียน สงผลดอี ยางไรตอการแขงแชรบ อล ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ นักเรียนคิดวา ทักษะใดในการเลนแชรบอล มีความจาํ เปนตอการเลนแชรบ อลมากท่สี ดุ เพราะอะไร ๑๑๗ ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT เกร็ดแนะครู ขอ ใดเปนการเลน กีฬาแชรบ อลใหปลอดภยั ครคู วรแนะนําใหนักเรียนอบอุนรา งกายกอนการเลน ทุกครงั้ เพอ่ื กระตุนให 1. ตรวจสอบความแขง็ แรงของเกา อี้ รา งกายและจติ ใจมีความพรอมที่จะเลนตอ ไป ถา ผเู ลนไมม กี ารอบอนุ รางกายกอน 2. ใหผเู ลน สวมถุงมือและใสสนบั เขา การเลนแลว จะทาํ ใหก ลา มเนอื้ ปวดเม่ือยหรอื กลามเนื้อฉีกขาด ไดร ับความเจ็บปวด 3. ใชล กู บอลทที่ ําจากพลาสติกเทา นั้น บางครงั้ ตอ งหยุดการเลนไปนาน 4. เลือกผูเลนท่มี ขี นาดตวั เลก็ เปน ผูรกั ษารักษาประตู วิเคราะหคําตอบ การเลนแชรบ อล ตองมีผเู ลนทีเ่ ปน ประตซู งึ่ ตองถอื ตะกรา เฉลย ขยายความรสู กู ารคิด ยืนบนเกาอ้ไี ม จึงควรตรวจสอบความแข็งแรงทนทานของเกา อี้กอนนาํ มายนื แนวตอบ เพื่อไมใ หผ เู ลนเปน ประตรู วงหลน ดังน้นั ขอ 1. เปน คาํ ตอบท่ีถกู ทกั ษะทกุ ทกั ษะในการเลน แชรบ อลมคี วามจาํ เปน ตอ การเลน แชรบ อลเทา ๆ กนั เพราะการเลนแชรบอลตองมีการรบั บอล การสงบอลท่ีดี จนสามารถเขายิงประตูได โดยอาศัยความแมนยาํ คมู อื ครู 117

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปา หมายการเรียนรู • เลนกีฬาพ้นื ฐานอยางนอย 1 ชนดิ óบทท่ี หว งขามตาขา ย สาระสาํ คญั (พ 3.1 ป.4/4) การเล่นรับส่งห่วงยางข้ามตาข่ายเป็น ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí Ê¡‹Ù ÒÃàÃÕ¹ กฬี าทช่ี ว่ ยพฒั นาสมรรถภาพการทาํ งานของ • ออกกําลงั กายทต่ี นชอบและมีความสามารถ ระบบประสาท และความสมั พันธข องอวยั วะ ในการวิเคราะหผลพฒั นาการของตนเอง ต่างๆ ตามตัวอยา ง และแบบปฏิบตั ิของผูอ่ืน (พ 3.2 ป.4/1) • ปฏิบัตติ ามกฎ กติกาการเลน กีฬาพน้ื ฐานตาม ชนิดกฬี าทีเ่ ลน (พ 3.2 ป.4/2) สมรรถนะของผเู รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป ญหา คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค 1. มีวินยั รบั ผดิ ชอบ 2. ใฝเ รียนรู 3. รักความเปน ไทย กระตนุ ความสนใจ Engage ใหนักเรยี นดูภาพ หนา 118 แลวชว ยกันบอกวา • นักเรียนคิดวา เดก็ สองคนนก้ี าํ ลังเลน อะไร (ตอบ เด็กสองคนนีก้ าํ ลังเลนโยนหว ง) • นกั เรียนเคยเลนอปุ กรณน ้หี รอื ไม (แนวตอบ คาํ ตอบข้นึ อยกู บั นักเรียนแตล ะคน) ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¤´Ô Ç‹Ò à´ç¡Êͧ¤¹¹éÕ¡íÒÅѧàÅ‹¹ÍÐäà áÅÇŒ ¹Ñ¡àÃÕ¹à¤ÂàŹ‹ ÍØ»¡Ã³¹Õé ËÃÍ× äÁ‹ Í‹ҧäà เกรด็ แนะครู ครูจดั กระบวนการเรยี นรูโ ดยใหนกั เรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตลักษณะการเลนหวงขามตาขาย • สืบคนขอมูลเกี่ยวกบั วธิ ีการเลนและกตกิ าของการเลน หวงขา มตาขา ย • สาธิตการเลนหวงขามตาขาย • ปฏิบตั ิการฝก และเลน หว งขามตาขายได • วิเคราะหป ระโยชนข องการเลนหว งขามตาขา ย จากประเด็นคาํ ถามและ ภาพประกอบ จนเกิดเปนความรคู วามเขาใจวา การเลนรบั สง หวงยางขามตาขา ยเปนกฬี า ทีช่ ว ยพฒั นาสมรรถภาพการทํางานของระบบประสาท และความสมั พนั ธข อง อวัยวะตางๆ 118 คมู อื ครู

กระตุนความสนใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Expand Evaluate Explore Explain Explore สาํ รวจคน หา หวงขามตาขาย เปนกีฬาที่ชวยพัฒนา ¡ÒÃàÅ‹¹Ë‹Ç§¢ŒÒÁµÒ¢‹Ò ครนู าํ หว งยางใหน กั เรยี นดแู ลว ถามนกั เรยี นวา ทกั ษะการทาํ งานของระบบประสาทใหส มั พนั ธก นั ªว่ ย¾²ั นาความสัม¾นั ¸์ อุปกรณทเ่ี หน็ เปน อปุ กรณอ ะไร นักเรียนเคย ฝก ความแมน ยาํ รจู กั ทาํ งานรว มกบั ผอู นื่ พบเห็นจากทใี่ ด และสามารถเลนอปุ กรณน้ีได ¢Í§ÍÇÑÂÇÐã´ºŒÒ§ อยา งไรบาง อธบิ ายความรู Explain ๑ อปุ กรณใ นการเลน หว งขามตาขา ย 1. ใหนักเรียน 2 - 3 คน ออกมานําทา กายบรหิ าร หว่ งข้ามตาขา่ ยมอี ปุ กรณก ารเลน่ ที่ไมย่ งุ่ ยากซับซอ้ น ดังนี้ เพอ่ื เปน การอบอุนรางกาย ๑. สนาม มีลักษณะ ๒๒ ฟุต ตาข่ายสงู จากพื้นสนาม ๕ ฟุต ๑ นวิ้ 2. ใหนกั เรยี นศึกษาหัวขอ ตอไปน้ี • อุปกรณในการเลนหว งขา มตาขาย ๒.ดงั น้ี หว งยาง ทาํ มาจาก แดน ๒ ๓ ฟุต แดน ๑ • กตกิ าการเลนหวงขา มตาขา ย (เลนเด่ยี ว) ยางพารา1 แดน ๑ ๑๗ ฟุต • กตกิ าการเลน หวงขามตาขา ย (เลน ค)ู และมีลักษณะคลา้ ย • การฝก ทกั ษะการเลนหวงขามตาขา ย แดน ๒ จากนน้ั ครสู ุมเลือกตัวแทนออกมาอธบิ าย พรอ มสาธิตประกอบการอธบิ าย วงแหวน 3. ครูสุม นักเรยี นออกมาอธิบายเรอ่ื งอุปกรณ ๔๔ ฟุต ในการเลน หวงขามตาขา ยวา ประกอบดว ย อะไรบาง ๒ กตกิ าการเลน หว งขา มตาขา ย การเล่นห่วงข้ามตาข่ายสามารถเล่นเด่ียวหรือเล่นเป็นคู่ก็ได้ ซึ่งการเล่น ๑.ทั้ง ๒ แบบ มกี ติกาแตกตา่ งกัน ดงั น้ี กติกาการเลนหวงขา มตาขายแบบเลนเด่ียว ใหป้ ฏิบัติ ดังนี้ ¢³ÐÊ‹§ËÇ‹ §ÂÒ§ Á×͵͌ §ÍÂÙã‹ ¹ÃдѺµÒíè ¡ÇÒ‹ äËÅ‹ ¶ŒÒÁÍ× ÍÂàÙ‹ ˹×ÍäËÅ‹ ¶Í× Ç‹Ò¼´Ô ¡µ¡Ô Ò ¶ŒÒÃºÑ ËÇ‹ §´ÇŒ ÂÁÍ× ã´ µÍŒ §ãªŒÁ×͹é¹Ñ ʧ‹ ˋǧ ¶ŒÒà»ÅÂÕè ¹Á×Íʧ‹ ¶Í× Ç‹Ò¼Ô´¡µÔ¡Ò ¼¢³Ô´¡ÐµÊÔ¡‹§ËÒÇ‹ §ÂÒ§ à·ŒÒËÒŒ ÁàËÂÕºàʹŒ ¶ÒŒ à·ÒŒ àËÂÂÕ ºàÊŒ¹¶×ÍÇ‹Ò 11๙ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT เกร็ดแนะครู การเลนหวงขามตาขาย เปน การทาํ งานทส่ี ัมพนั ธกันระหวา งอวัยวะใด กอนการเลน หวงขา มตาขาย ครคู วรใหน ักเรียนมีการอบอนุ รา งกายกอ น และ 1. ขาและมือ ควรมกี ารเตรยี มตวั กอ นการเลน เชน แตงกายดว ยเส้ือผา ท่ีเหมาะสม ไมค ับหรือ 2. มอื และตา หลวมจนเกินไป รวมถึงควรสวมรองเทาและผกู เชอื กรองเทาใหเรยี บรอ ย เพือ่ ใหเ กิด 3. ขาและตา ความคลอ งตวั ในการทาํ กจิ กรรม 4. แขนและลําตวั วิเคราะหคําตอบ การเลน หว งขามตาขาย ผูเลนตองมีสมาธใิ นการ นักเรยี นควรรู มองดูหว งอยตู ลอด รวมถึงมีการขยับมอื รบั อยา งรวดเรว็ ในการรบั หวง เมื่อตาและมือทํางานประสานกนั ไดอยา งดีกจ็ ะทําใหรบั สงหวงไดอยาง 1 ยางพารา เปน ผลติ ภณั ฑท ีไ่ ดจากนา้ํ ยางของตน ยางพารา มีคุณสมบัติ คือ ทนการเสยี ดสี รับแรงกระแทก ยดื หยุนตัวดี ทนความรอ นไดดี คลอ งแคลว และแมนยาํ ดงั นั้น ขอ 2. เปนคําตอบที่ถูก คูมือครู 119

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ใหตัวแทนนักเรียนออกมาอธบิ ายกตกิ าการเลน ¶ŒÒʧ‹ ˋǧÂÒ§µÔ´µÒ¢Ò‹  µÍŒ §Ê‹§ËÇ‹ §Å§ã¹á´¹ ÃàÁºÕ è×ÍÊç‹ ºÑµËÍ‹ Ç‹·§Ñ¹á·ÅÕÀÇŒ Ò¨Ðã¹µàŒÍǧÅÒ หวงขา มตาขา ย (เลนเดี่ยว) ใหเพื่อนฟง พรอ ม ¶Í× ÇÒ‹ ¼Ô´¡µÔ¡Ò ¶ÒŒ ÍÍ¡¹Í¡àʹŒ ¶Í× Ç‹Ò ó Ç¹Ô Ò·Õ ¶ÒŒ à¡¹Ô àÇÅÒ ทงั้ สาธติ ทาทางการเลน ¼Ô´¡µ¡Ô Ò ¼Ô´¡µ¡Ô Ò 2. ครูถามนกั เรยี นวา การเลน่ ผิดกติกา ฝ†ายส่งจะตอ้ งเปลย่ี น • สง หว งยาง โดยมือถอื หว งยางอยูระดับ ให้ผรÙ้ ับเปนš ฝา† ยส่งแทนนะครับ หนา อก ถือวา ผดิ กติกาหรอื ไม เพราะเหตุใด (ตอบ ไมผิด เพราะถอื หว งยางอยูในระดับท่ี ตา่ํ กวา ไหล) • ถาสง หวงยางแลวตดิ ตาขาย แตหว งยาง ตกลงในแดนของฝงตรงขาม ถือวาผิดกตกิ า หรอื ไม (ตอบ ผดิ กติกา) ๒. กติกาการเลน หวงขามตาขายแบบเลน คู ให้ปฏิบตั ิ ดงั น้ี แตล่ ะฝ่ายม๑ผี )เู้ ลแน่ บม่งือผหู้เลน่นึง่ แเปล็นะม อื๒ส อฝง่า1ย ๒) ใหเ้ สยี่ งทายเพอื่ เลอื กวา่ ตาข่าย ๑ ๒ มอื สอง มือหน่งึ ฝ่ายใดจะส่งก่อน ส่วนฝ่ายท่ีไม่ได้ส่ง ๑ มือหนึง่ มือสอง ๒ จะได้เลอื กแดน ๒ ๑๒ ๑ ๑ ๒๑ ๒ ๓) เรมิ่ เลน่ โดยการใหผ้ เู้ ลน่ ๔) ฝ่ายรับต้องรับห่วงด้วย มือหน่ึงส่งห่วงจากบริเวณเขตส่งไปยัง มือข้างเดียว (มือใดก็ได้) แล้วส่งกลับ ผูเ้ ลน่ มอื หนึง่ ของฝ่ายตรงข้าม ไปฝา่ ยส่งดว้ ยมอื ขา้ งเดมิ 12๐ เกร็ดแนะครู ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ขอ ใดถกู ตอ งเกี่ยวกบั การไดคะแนนของฝา ยสงในการเลน หวงขา มตาขา ย ผูสอนควรทบทวนและสอบถามเกี่ยวกับกฎ กติกา มารยาทในการเลน หวงขา ม 1. ฝายสงผดิ กติกา ตาขายวา นกั เรยี นมีความเขาใจตรงกนั หรือไม กอนท่ีจะปฏิบตั ิหรอื ลงมอื เลน จรงิ 2. ฝายสง รับไมไ ด 3. ฝายรบั รบั ไมได นักเรียนควรรู 4. ฝายรับรบั ได แตฝ า ยสงรบั ไมได วเิ คราะหคําตอบ การเลน จะดําเนนิ ไปจนกวาฝายใดฝายหนึ่งจะรับ 1 ผเู ลนมือหนงึ่ และมอื สอง หมายถงึ ลําดบั การสง หว งในการเลน โดยเรม่ิ การ ไมไ ดหรือฟาวล เชน ถาฝา ยรบั รับไมไดหรือฟาวล ฝา ยสงจะได 1 คะแนน เลนทผี่ เู ลนมือหนง่ึ กอ น และจะเปลย่ี นเปนผูเลนมอื สอง เม่อื มกี ารเปล่ียนฝา ยและ ดงั นั้น ขอ 3. เปน คําตอบทถ่ี ูก เปลีย่ นผสู ง 120 คูมือครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู การเล่นจะ1ดา� เนินไปจนกว่าฝา่ ยหน่งึ ฝ่ายใดจะรบั ไม่ได้ 1. ใหตวั แทนนักเรยี นออกมาอธิบายกติกา การเลน หว งขามตาขา ย (เลน ค)ู พรอมสาธติ หรอื ฟาวล์ ถา้ ฝา่ ยสง่ ผิดกตกิ า ไมม่ กี ารได้หรอื เสียแตม้ ทาทา งประกอบ แต่ใหเ้ ปลี่ยนฝา่ ยส่ง แต่ถา้ ฝ่ายรบั รับไม่ไดห้ รือฟาวล์ ฝ่ายสง่ ได้ ๑ คะแนน 2. ครูถามนกั เรียนวา และทา� การสง่ ตอ่ ไปจนกว่าจะมีการเปล่ียนส่ง • ผูเ ลน มือหนงึ่ และมือสอง สามารถเปลี่ยน สลบั ตาํ แหนงกนั เวลาใดกไ็ ด ผดิ กตกิ า ๕) การเปลีย่ นส่ง มีลกั ษณะ ดังนี้ หรอื ไม เพราะเหตุใด ๑๑ ๒ (ตอบ ผดิ กติกา เพราะผูเลนมอื หนง่ึ จะสลับ ตาํ แหนง กบั ผเู ลน มอื สองไดก ต็ อ เมอื่ ฝา ยทส่ี ง ๒ ส่ง รับได้ รับไมไ่ ด้ น้นั เปนผสู งหว งอยเู หมอื นเดมิ ) • หากผลการแขงขนั เสมอกนั เชน ไดคะแนน ๑ ๒ ๒ 15 : 15 ผูแขง ขันจะตองทําคะแนนนาํ อยาง นอ ยก่ีคะแนนจึงจะเปน ฝา ยชนะ ๑ ๒๑ รับไมไ่ ด้ (ตอบ ตองทําคะแนนนําไป 2 แตม จงึ จะ เปนฝา ยชนะ เชน คะแนนเสมอกัน 15 : 15 รับไม่ได้ ๑ ฝา ยท่ชี นะจะตองทาํ คะแนนใหได 17 : 15 เปนตน ) ส่ง ถา้ ฝา่ ยสง่ ๑ ได้ ๑ คะแนน ผเู้ ลน่ ถา้ ฝา่ ยสง่ ไมไ่ ดค้ ะแนน เปลยี่ น คนเดมิ มอื หนึง่ เปลี่ยนแดนสง่ ไปให้ฝา่ ยรับ เปน็ ฝา่ ยสง่ แทน ๓๔ รับไม่ได้ รับได้ สง่ กลบั รับไมไ่ ด้ ๑ ๒๑ ๒ ๒ รบั ไมไ่ ด้ ๒ สง่ รบั ได้ ๑ รบั ไม่ได้ สง่ ๑ ถา้ ฝา่ ยสง่ ๑ ไม่ได้คะแนน ถา้ ฝา่ ย ไมไ่ ดค้ ะแนน เปลยี่ น เปลีย่ นให้ ๒ เปน็ คนสง่ ห่วงตอ่ ให้ ๑ ของฝา่ ย เปน็ คนส่งแทน 121 บรู ณาการเชือ่ มสาระ เกร็ดแนะครู ครูบูรณาการความรูในสาระสขุ ศกึ ษาฯ กับสาระภาษาไทย เร่อื ง กลุม คาํ ครคู วรเตือนใหน กั เรียนเลนหว งขามตาขาย โดยคาํ นึงถงึ ความปลอดภัย เชน โดยครอู าจทําบัตรคาํ เปนกลมุ คาํ ตางๆ วางอยูในตําแหนง ท่ีตางกนั แลวให ไมเจตนาขวา งหวงเพื่อแกลง หรือทาํ รายรางกายฝา ยตรงขา ม ขณะเลน ควรมีสมาธิ นกั เรียนฝก โยนหวงไปยงั กลุม คําน้นั ๆ ตามท่ีครบู อก เพอ่ื ใหน กั เรียนมสี มาธิ อยทู ก่ี ารรับ - สง หว ง เปนตน ในการโยนหว ง รวมถึงโยนหว งไดอยางแมน ยํา นักเรยี นควรรู 1 ฟาวล (foul) เปนการทําผดิ กตกิ า ซง่ึ เกดิ จากการกระทาํ ทีเ่ ปนเหตุรบกวน หรอื ทาํ ใหการเลนหรือการแขงขนั ตองหยุดชะงกั ซึ่งในแตละประเภทกฬี าจะระบุ ขอ กาํ หนดไวแ ตกตางกนั คมู ือครู 121

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ใหตัวแทนนักเรยี นออกมาอธิบาย และสาธิต ๖) การฟาวล1 ถ้าฝ่ายส่งฟาวลจะไม่ได้คะแนน แต่ถ้าฝ่ายรับฟาวล การฝกทักษะการเลน หว งขา มตาขา ย ฝ่ายสง่ จะได้คะแนน ลกั ษณะของการฟาวล มดี งั นี้ 2. ใหนกั เรยี นจบั คูก ันฝก ทกั ษะการเลน หว งขาม ส่ง ตาขาย รับ รับหว ง ๒ มือ รบั หว งแลว เปลยี่ นมือสง ขณะเสริ ฟ เหยียบเสน ๑-๒-๓ วนิ าที โยนหวงเหนอื ไหล หวงอยูในมอื เกิน ๓ วินาที โยนหวงออกนอกเสน ๗) การนับแต้ม ฝ่ายที่ส่งจะเป็นฝ่ายได้คะแนน ถ้าฝ่ายรับรับไม่ได้ หรอื ทาํ ฟาวล  ฝา่ ยใดได ้ ๑๕ แตม้ กอ่ น จะเปน็ ฝา่ ยชนะในเกมนนั้ แตถ่ า้ ได ้ ๑๔ แตม้ เท่ากัน ฝ่ายท่ีชนะจะต้องทําคะแนนนําไป ๒ แต้ม จึงจะถือว่าเป็นฝ่ายชนะ การแข่งขนั ใหแ้ ขง่ ภายใน ๓ เกม ฝ่ายทชี่ นะ ๒ ใน ๓ เกม ถือว่าชนะการแขง่ ขนั ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù Õè ñ แบง กลมุ ใหแ ตล ะกลมุ สบื คน ขอ มลู เกยี่ วกบั กตกิ าการเลน หว งขา มตาขา ย และจดั ทาํ เปนรายงาน จากน้นั สงตวั แทนออกมานําเสนอหนาช้ันเรียน 122 เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT การเลน หว งขา มตาขาย ชวยเสริมสรางทักษะใด ครอู าจใหนักเรยี นทําความคนุ เคยกับหว ง โดยการฝก โยนหวงและวธิ กี ารจบั ให 1. ทกั ษะความออนตวั กระชบั มือ เพ่อื ใหน ักเรยี นสามารถปรบั นา้ํ หนักในการโยนไดอ ยา งเหมาะสมและ 2. ทักษะความแมน ยํา แมนยาํ 3. ทกั ษะความรวดเรว็ 4. ทกั ษะความคลอ งตวั นกั เรียนควรรู วเิ คราะหค ําตอบ การเลน หวงขา มตาขา ย เปนกีฬาท่ีชวยพฒั นาทกั ษะ การทํางานของระบบประสาทใหส ัมพนั ธก ัน ฝกความแมน ยํา และรจู กั 1 การฟาวล ในขณะเลน ถา ผเู ลน คนใดคนหนงึ่ ทาํ ฟาวลอาจสงผลเสยี ตอจังหวะ การทํางานรว มกับผูอนื่ ดงั นน้ั ขอ 2. เปนคาํ ตอบทถ่ี ูก ในการเลน ของผเู ลน คนนัน้ เปน อยา งมาก เพราะอาจทําใหค วามมน่ั ใจหายไป แลว อาจทาํ ใหแพการแขง ขนั ได ดงั นัน้ ผเู ลน จงึ ควรระมดั ระวงั ไมท ําฟาวลท ้งั ตอนเสิรฟ และขณะแขง ขนั 122 คูมอื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ๓ การฝก ทกั ษะการเลน หวงขา มตาขาย 1. ใหนักเรียนแบง กลุมสบื คน ขอมลู เกี่ยวกบั กตกิ าการหว งขา มตาขา ย และจดั ทํารายงาน การเลน่ ห่วงขา้ มตาข่ายต้องใช้ทกั ษะการควบคมุ ทิศทาง การรับและการส่ง จากน้ันสง ตัวแทนออกมานําเสนอหนาชัน้ เรยี น หว่ งยาง ดงั น้ันผู้เล่นจึงควรฝกทักษะการเล่นหว่ งขา้ มตาข่ายเหล่านี้ใหช้ ํานาญ 2. ใหนกั เรียนจบั คู (จะเปนคเู ดมิ กไ็ ด) ทาํ การ ñ. ½ƒ¡¤ÇÒÁ¤¹ŒØ à¤Â¡ÑºËÇ‹ §ÂÒ§ แขงขนั หว งขา มตาขา ย ๑ ๒๓ ๔ 3. ใหนักเรยี นชว ยกันตอบคาํ ถามขยายความรู สูการคิด ในหนา 124 โยนหว งสลับมือซายขวา โยนหวงขนึ้ ลงสลบั มอื ซา ยขวา กล้ิงหวงแลววิ่งตาม จับครู ับ-สง หวง ๒. ½¡ƒ ¡ÒÃÃѺ-Ê‹§ËÇ‹ §ÂÒ§1 ๑๒ สง หวงตัง้ ในลกั ษณะต้ังฉากกบั พืน้ สงหว งแบน ลักษณะขนานกบั พื้น ๓ ๔ สง หว งเอยี ง ทํามุมกบั พน้ื สงหว งพลว้ิ ใหห ว งสะบัดขณะลอยอยูในอากาศ 12๓ กจิ กรรมสรา งเสรมิ เกรด็ แนะครู ครูใหนกั เรยี นสืบคน ขอมลู เก่ยี วกบั เกมหรอื กีฬาวา มีชนิดใดบางทีม่ ี ครอู าจใหนกั เรยี นฝกสรา งความคนุ เคยกบั หวงยางเปน กลุม โดยใหนกั เรียน ลักษณะการเลนใกลเ คียงกบั การเลนหวงขา มตาขา ยคนละ 1 เกม โดยใหท าํ แบงกลุม แลว ใหแตละกลุม ยืนเขา แถวเปนวงกลม จากน้ันใหคนใดคนหน่งึ โยนหวง เปน รายงานประวตั ขิ องเกม อปุ กรณก ารเลน กฎและกตกิ าในการเลน เกมนน้ั ไปใหเ พ่ือนที่อยูในวงกลมรับ โดยเปนคนใดก็ได ซึ่งผเู ลน ทอี่ ยูในวงกลมตอ งคอย สังเกตการสงหวงยางใหดี จงึ จะรับหว งยางไดท นั กิจกรรมทาทาย นักเรยี นควรรู ใหนกั เรียนบอกความแตกตางของเกมหรอื กฬี าที่นักเรยี นสืบคนมากับ การเลน หว งขา มตาขายวามีความแตกตา งกันอยางไร และนักเรียนสามารถ 1 การรับ-สงหวงยาง สายตาของผรู ับควรอยทู ่ีหว งยางตลอด เพื่อใหรับหวงยาง นาํ ความแตกตางน้ันมาประยกุ ตใ ชอยา งไรกับการเลน หว งขามตาขา ย เพอ่ื ไดอยา งแมนยาํ ใหการเลน ดีขึ้น คูม ือครู 123

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Explain Expand Engage Evaluate Evaluate ตรวจสอบผล 1. ครูประเมินการนําเสนอหนา ชั้นเรยี น และ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ò ตรวจสอบรายงาน โดยพจิ ารณาจากความ ถูกตอ งและสมบรู ณของขอมูล รวมถึงความ จบั คกู ันทําการแขง ขนั หว งขา มตาขาย จากน้นั ประเมนิ ผล และตอบคาํ ถาม เปน ระเบียบเรียบรอ ยของรูปเลมรายงาน ท่ีปทรักะษเมะิน ผลการประเมนิ ขอ เสนอแนะ 2. ครปู ระเมนิ ผลการแขง ขนั หว งขา มตาขาย และสรุปผลการประเมนิ โดยพจิ ารณาจากการ ๑. การนาํ ทักษะต่างๆ มาใช ้ ๔๓๒๑ สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนขณะทาํ กิจกรรม ๒. ความรับผดิ ชอบในหนา้ ท ่ี และแบบประเมนิ ท่ีครูบันทึก ๓. ความสามัคค ี ตัวอยางแบบประเมนิ............ ……….. ............ ............ ................................................................................... ๔. การปฏิบัติตามกฎ กติกา 3. ครตู รวจสอบความถูกตอ งของคาํ ตอบขยาย ๕. ความมนี ํา้ ใจนักกฬี า ............ ……….. ............ ............ ................................................................................... ความรูสูการคิด ............ ……….. ............ ............ ................................................................................... ............ ……….. ............ ............ ................................................................................... หลกั ฐานแสดงผลการเรยี นรู ............ ……….. ............ ............ ................................................................................... 1. รายงานเรื่องกตกิ าการเลนหวงขามตาขาย ลงช่ือ …………………………………………………. ผู้ประเมิน 2. แบบประเมนิ ผลการแขง ขนั หว งขามตาขาย 3. แบบสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนขณะปฏบิ ตั ิ เกณฑการใหค ะแนนยอย ๔ = ดมี าก ๓ = ดี ๒ = พอใช้ ๑ = ควรปรบั ปรงุ เกณฑก ารใหค ะแนนรวม ๑๘ ข้ึนไป = ดีมาก ๑๕-๑๗ = ด ี ๑๐-๑๕ = พอใช้ ตาํ่ กว่า ๑๐ = ควรปรบั ปรงุ กจิ กรรม สรุปผลการปฏิบัติ ๑) จากการประเมนิ ผล นกั เรียนอยู่ในเกณฑใด ๒) นกั เรยี นรูส้ กึ อย่างไรเมอ่ื แขง่ ขนั จบ ๓) นักเรยี นคดิ วา่ การฝกทกั ษะการเล่นหว่ งข้ามตาข่าย ส่งผลดีตอ่ การแข่งขัน อย่างไร ๔) นกั เรยี นมีขอ้ บกพร่องทีต่ ้องปรับปรุงแก้ไขอย่างไรบ้าง ๕) การเลน่ หว่ งข้ามตาขา่ ย มปี ระโยชนอ ย่างไร ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ Òä´Ô ถา้ เพอ่ื นของนกั เรยี นเลน่ หว่ งขา้ มตาขา่ ยได้ ไมด่ ี นกั เรยี นจะมวี ธิ ีการแนะนาํ เพื่อนอยา่ งไร 12๔ เกร็ดแนะครู ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT การรับหว งยาง สายตาของนกั เรียนควรเปนอยางไร ครแู นะนําใหนักเรียนนาํ การเลน หว งยางไปเปนเกมเลนกบั เพอ่ื นๆ โดยใหผูเ ลน 1. มองเพ่อื นท่สี งหวงยางมาให ยืนเปน วงกลม แลว มีผเู ลน คนหนงึ่ ยนื อยูต รงกลางคอยแยง หวงยางทเี่ พื่อนๆ สง 2. มองมือของตนเองทจ่ี ะรับสง หว งยาง ไปใหก นั ถาผูทยี่ นื อยกู ลางวงกลมรับหว งได ผทู ่สี งหวงยางตองไปยืนคอยแยง หว ง 3. มองเพ่ือนรว มทีมของตนเอง แทนที่ 4. มองหว งยางที่เคลอ่ื นทเ่ี ขามาหาตัวเรา วเิ คราะหค ําตอบ ขณะรบั หวงยาง ควรมองท่ีหวงยางทีล่ อยมา เพอื่ ใหร ูวา เฉลย ขยายความรูส กู ารคดิ ควรรับหว งยางในทิศทางใด และรบั อยา งไร จะทาํ ใหรบั ไดอ ยา งแมนยํา แนวตอบ ไมทําใหห วงตก ดงั นั้น ขอ 4. เปน คาํ ตอบท่ีถูก แนะนําใหเพื่อนฝกความคนุ เคยกบั หวงใหม ากๆ โดยการโยนสลับมือ หาจังหวะการรบั หว งใหไดแ ละฝกฝนบอ ยๆ อยา งสมาํ่ เสมอ จงึ จะทําใหส ามารถ รบั หว งไดอยา งแมนยําและคลอ งแคลว 124 คมู ือครู

กกรระตะตนุ Eุน nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate เปาหมายการเรียนรู ôบทที่ สมรรถภาพทางกาย สาระสําคัญ • ทดสอบและปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย คือ ความสามารถ ตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ของรา่ งกายท่ีจะกระท�ากิจกรรมใดๆ ได้เป็น (พ 4.1 ป.4/4) เวลานานๆ โดยไม่เหนด็ เหนอ่ื ย และไดผ้ ลท่ี มปี ระสทิ ธิภาพ สมรรถนะของผูเ รยี น 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ ñò คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. มวี นิ ัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มงุ มนั่ ในการทํางาน กระตนุ ความสนใจ Engage ó ô ใหน กั เรยี นดภู าพ หนา 125 แลว ชว ยกนั บอกวา • กิจกรรมในภาพเปนการทดสอบสมรรถภาพ ¡Ô¨¡ÃÃÁ·´Êͺ ÊÁÃöÀҾ㴷¹èÕ Ñ¡àÃÂÕ ¹Ã¨ÙŒ ¡Ñ ดานใดบาง ¹Í¡à˹Í× ¨Ò¡¡¨Ô ¡ÃÃÁã¹ÀÒ¾ (ตอบ 1. ทดสอบความออ นตัว 2. ทดสอบความออนตวั 3. ทดสอบความทนทานของกลา มเนือ้ 4. ทดสอบความแข็งแรงของกลา มเนื้อ) • แลวมีกจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพใด ทีน่ ักเรียนรูจ กั นอกเหนือจากในภาพ (แนวตอบ คําตอบข้ึนอยกู ับนกั เรยี นแตล ะคน) เกร็ดแนะครู ครจู ัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนกั เรยี นปฏิบตั ิ ดงั น้ี • สังเกตและสาํ รวจสมรรถภาพทางกายของตนเอง • สืบคน ขอมลู เก่ียวกับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย • สาธติ กิจกรรมท่ีชวยเสรมิ สรางสมรรถภาพทางกายได • ปฏบิ ัติกจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย • วเิ คราะหป ระโยชนข องการทดสอบสมรรถภาพทางกายจากประเดน็ คําถาม และภาพประกอบ จนเกิดเปนความรคู วามเขาใจวา ความสามารถของรางกายทีจ่ ะทํากจิ กรรมใดๆ ไดเ ปน เวลานานๆ โดยไมเหน็ดเหนอ่ื ย และไดผ ลที่มปี ระสทิ ธภิ าพ เรยี กวา สมรรถภาพทางกาย ซึ่งเปน ส่ิงทเ่ี ราสามารถสรา งเสริมใหม ีขึน้ ได คมู อื ครู 125

กระตุน ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore สาํ รวจคน หา Explore 1. ครูถามนกั เรยี นวา สมรรถภาพทางกาย หมายถงึ ความสามารถ ¹ÑกàรÂÕ ¹มÕÊมรร¶ÀÒ¾ • สมรรถภาพทางกายคืออะไร ของระบบตางๆของรางกายในการทํางานอยางมี ทำงกำยอยÙ่ใ¹ระดบั ใดครับ (ตอบ ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล ซง่ึ สมรรถภาพ • ความสามารถของรา งกายในการประกอบ ทางกายสามารถจดั กลมุ ไดเ ปน สมรรถภาพทางกาย การงาน หรือกจิ กรรมทางกายอยางใด เพอ่ื สขุ ภาพ และสมรรถภาพเชงิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ อยางหนงึ่ เปน อยา งดี โดยไมเ หนือ่ ยเรว็ • ความสามารถของรางกายทจ่ี ะปฏบิ ัติหนาท่ี สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพ และสมรรถภาพเชงิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ สามารถ ประจาํ ในสงั คมไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดย แบ่งไดด้ ังนี้ ไมม ีความเหนื่อยออ นจนเกนิ ไป สามารถ อขงอคงป รรางะกกาอยบ สงวนและถนอมกําลังไวใชในยามฉุกเฉิน ความออ นตัว และใชเ วลาวางเพ่ือความสนุกสนานและ ความบนั เทิง คือ ความสามารถในการ ควัดือโดปยรกิมาารณใไชขด มัชนั นใีมนวรลากงากยา1ยถาปรมิ าณ • ความสามารถของรางกายท่ใี ชอ วยั วะตางๆ เคลือ่ นไหวไดส ูงสดุ ของขอตอ ของรา งกายเคล่ือนไหวในชวี ติ ประจาํ วัน ไขมนั ตา่ํ แสดงวามสี มรรถภาพ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยไมเหน่ือยงาย ทางกายดี และมพี ลังงานเหลือในรา งกายท่ปี ระกอบ กิจกรรมฉุกเฉนิ หรอื นนั ทนาการได) คขอวางมกลแาขม็งแเนร้อื ง ÊÁÃöÀÒ¾·Ò§ ความทนทานหรอื ความ คือ ความสามารถในการ ¡ÒÂà¾×Íè 梯 ÀÒ¾ อดทนของกลา มเนอ้ื 2. ครถู ามนกั เรียนวา การทดสอบสมรรถภาพ ใชแรงสูงสดุ ในการทาํ มกี ารทดสอบดานใดบา ง กจิ กรรมคร้งั เดียว ระคบวบามไหทลนเทวาียนนขเลอืองด คอื ความสามารถในการ (แนวตอบ เชน ความแขง็ แรงของกลามเนอ้ื เชน การยกนา้ํ หนัก อดทนตอการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ความออ นตัว ความคลอ งแคลว ความอดทน เปนตน หนักๆ ท่ีตองใชก ลามเนื้อได ของกลามเนอื้ ) เปน ระยะเวลานานๆ เชน 12๖ ดันพนื้ ลุกน่งั เปน ตน คือ ความสามารถในการอดทนตอ การปฏิบตั ิกจิ กรรมหนักๆ ไดเ ปน เวลานานๆ เชน วิ่ง วายน้ํา เปน ตน เพราะกิจกรรมเหลานจ้ี ะกระตนุ หวั ใจและระบบไหลเวียนเลอื ด นักเรยี นควรรู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ขอใดในกิจกรรมเสรมิ สรา งความคลองแคลว วอ งไว 1 ดชั นีมวลกาย คือ คาดัชนที ีค่ าํ นวณจากนํ้าหนกั และสว นสูง เพ่อื ใชเ ปรียบเทียบ 1. การตอตัว ความสมดลุ ระหวางนํ้าหนักตัว ตอความสูง โดยมีสตู รการคํานวณ ดงั น้ี 2. การน่ังงอตวั 3. การว่งิ ซิกแซก็ ดัชนมี วลกาย = ความสูงเปนน ้ําเหมนตกั รตยกัวกาํ ลงั สอง 4. การทําสะพานโคง วิเคราะหคําตอบ การตอ ตัวเปน การเสรมิ สรางความทนทานของกลามเนือ้ มุม IT การทาํ สะพานโคงและการนัง่ งอตัวเปน การเสรมิ สรางความออ นตวั และ ความยดื หยนุ ของกลา มเน้ือ สว นการวงิ่ ซกิ แซก็ เปนความสามารถในการ ครูสามารถสืบคนขอมลู เกย่ี วกบั สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ไดจ ากเว็บไซต เปลีย่ นทศิ ทางการเคลอ่ื นทไ่ี ดอยา งรวดเร็วและสามารถควบคุมการเคลอื่ นท่ี http://www2.swu.ac.th/royal/book6/b6c7.html ใหมคี วามคลองแคลว ได ดังน้นั ขอ 3. เปนคาํ ตอบที่ถกู 126 คูม อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ÊÁÃöÀÒ¾ 1. ใหนกั เรยี นสืบคน เรื่อง สมรรถภาพทางกาย àªÔ§·¡Ñ ÉÐ เพอื่ สขุ ภาพ และสมรรถภาพเชงิ ทักษะปฏิบัติ »¯ºÔ µÑ Ô หรือสมรรถภาพทางกลไก ทาํ เปนรายงาน แลวออกมานาํ เสนอหนา ชั้น ความคลองแคลว ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนท่ีไดอยางรวดเร็วและควบคุมได 2. ใหตวั แทนนักเรียนออกมารายงานหนาชัน้ เชน การว่ิงซกิ แซ็ก เปน ตน เรื่อง สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สุขภาพ จากนนั้ การทรงตัว ครูชวยอธิบายเพิ่มเติมวา สมรรถภาพทางกาย เพอื่ สขุ ภาพ หมายถงึ ความสามารถของระบบ คคววาามมสเารม็วา1รถในการรกั ษาสมดลุ ของรา งกายเอาไวไ ดท ง้ั ในขณะอยกู บั ทแี่ ละเคลอ่ื นที่ ตา งๆ ในรา งกายทเี่ ปน ความสามารถเชิงสรรี ะ วทิ ยาของระบบทจี่ ะชวยปอ งกันบคุ คลจาก ความสามารถในการเคลอื่ นทีจ่ ากทห่ี นงึ่ ไปยงั อีกที่หน่งึ ไดอยางรวดเร็ว โรคตา งๆ ซึง่ มีสาเหตุมาจากภาวะของการ การประสานสัมพนั ธ ขาดออกกาํ ลงั กายเปนเวลานานๆ ความสามารถในการเคลื่อนไหวไดอยางราบรื่นกลมกลืน และมีประสิทธิภาพ ซง่ึ เปนการทํางานประสานสอดคลอ งกันระหวา งตา-มือ-เทา 3. ใหต วั แทนนกั เรยี นออกมารายงานหนาชัน้ พลงั กลามเนื้อ เรื่อง สมรรถภาพเชงิ ทกั ษะปฏบิ ัติหรือ ความสามารถในการหดตวั ของกลา มเนอื้ เพอื่ การ สมรรถภาพ ทางกลไก จากนนั้ ครชู วยอธบิ าย ทาํ งานอยา งรวดเรว็ เพยี งครง้ั เดยี ว จงั หวะเดยี ว เพม่ิ เติมวาสมรรถภาพเชิงปฏบิ ัติ หมายถงึ เชน การทมุ นาํ้ หนกั เปน ตน การวัดและประเมินคา ความสามารถในการ เวลาทม่ี กี ริ ยิ าตอบสนอง ทํางานของระบบอวัยวะตางๆ ของรางกาย ระยะเวลาทร่ี า งกายใชใ นการตอบสนองตอ สง่ิ เรา ที่สงเสรมิ ใหรา งกายมกี ารเคลื่อนไหวอยา งมี ตา งๆ เชน แสง เสยี ง สมั ผสั กจิ กรรมทท่ี ดสอบ ประสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะอยางยงิ่ การเลน กีฬา เชน การหยดุ เคลอ่ื นไหวเมอ่ื ไดย นิ เสยี ง เปน ตน 12๗ ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT นักเรยี นควรรู ขอ ใดเปนผลดที ีเ่ กิดจากการมสี มรรถภาพทางกายที่ดีซึง่ สังเกตไดช ัดเจน 1 ความเรว็ ความสามารถในการหดตวั หลายๆ คร้งั ติดตอ กันของกลา มเนอื้ ท่สี ุด สวนหนง่ึ สว นใดหรือกลา มเนือ้ หลายๆ สวนของรา งกายรวมกัน เพ่อื ทํางานใหไ ด ผลงานมากในเวลารวดเรว็ เชน การหดตัวเพอ่ื ชว ยใหร า งกายไดเ คล่ือนท่จี ากทหี่ นงึ่ 1. เปน ท่รี ักของครู ไปยังอกี ท่หี นงึ่ ไดอยางรวดเร็ว และในเวลาทีส่ ัน้ ท่สี ดุ เชน การวง่ิ 50 เมตร การวิ่ง 2. เปน ท่ชี นื่ ชมของเพือ่ น 100 เมตร เปน ตน 3. มสี ุขภาพรางกายท่ีแข็งแรง 4. เปน ท่สี นใจของเพศตรงขาม วเิ คราะหคาํ ตอบ การมีสมรรถภาพทางกายที่ดี กอใหเ กิดประโยชน หลายประการ เชน กลามเนอ้ื ตา งๆ ในรางกายมคี วามแข็งแรงขน้ึ ระบบตา งๆ ในรา งกายทํางานไดดขี ้นึ รางกายเจริญเติบโตไดอยา งเตม็ ที่ มภี มู ิตานทานโรค มบี คุ ลิกภาพท่ีดี มีความมน่ั ใจในตนเอง และทาํ ให เรยี นรสู ่ิงตา งๆ ไดด ี เปนตน ดงั น้นั ขอ 3. เปนคาํ ตอบทถ่ี กู คูมือครู 127

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ใหน ักเรียนชว ยกนั บอกถงึ ประโยชนของ ๑ กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย การมีสมรรถภาพทางกายท่ดี ี เชน ทําให การทดสอบสมรรถภาพทางกายมีการทดสอบหลายด้าน ซึง่ มีกจิ กรรมทจี่ ะ กลา มเน้อื มคี วามแข็งแรง กลา มเน้อื มีความ ใช้ทดสอบแตล่ ะดา้ นที่เหมาะสมกับนักเรยี น ดังน้ี ทนทาน รางกายมคี วามตา นทานโรค ระบบ ตา งๆ ทาํ งานมีประสิทธิภาพยงิ่ ขนึ้ ประกอบ ๑. ว่ิง ๕๐ เมตร (ทดสอบความเรว็ ) กิจกรรม ทุม พุง ขวา งกระโดด มปี ระสทิ ธิภาพ วธิ ที ดสอบ มากยงิ่ ขน้ึ และชวยใหม กี ารทรงตัวดขี ึน้ ๑) ยืนหลงั เส้นเริม่ ใหป้ ลายเท้าข้างใดขา้ งหน่งึ ชดิ เสน้ เปนตน ๒) เมื่อสญั ญาณดัง ให้ออกวง่ิ เต็มที่จนถงึ เส้นชัยท่ีระยะ ๕๐ เมตร 2. ใหน ักเรียนศึกษากจิ กรรมการทดสอบ ๒. ๓) วง่ิ ๒ รอบ แลว้ บนั ทกึ เวลาท่วี ่งิ ได้เรว็ ทสี่ ุด (หนว่ ยเปน วินาท)ี สมรรถภาพทางกายจากหนังสอื เรยี น จากนน้ั ยนื กระโดดไกล (ทดสอบพลงั ของกลามเนอื้ ขา) ใหน กั เรียนอบอุนรา งกายเพ่อื เตรยี มความพรอม วิธีทดสอบ ในการปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพของกาย ๑) ยนื ดว้ ยปลายเทา้ ชิดเสน้ เร่ิม ๒) เหว่ียงแขนทั้ง ๒ ข้าง ไปด้านหลัง พร้อมกับก้มตัวลง พอได้ จังหวะให้เหวี่ยงแขนไปข้างหน้าอย่างเร็ว พร้อมกับกระโดดให้ล�าตัวไปข้างหน้า ให้ไกลที่สุด ๓) ใช้ไม้วัดวัดระยะจากเส้นเริ่มถึงจุดที่ส้นเท้าลงบนพื้นไกลที่สุด ๓.ทา� ๒ ครั้ง ลแุกลน้วั่งบ ัน๓ท๐ึก รวะนิยาะทท1า ี ง(ทที่กดรสะอโดบดคไวดา้ไมกลททน่ีสทดุ า น(มขีหอนง่วกยลเาปมนเเนซน้ือต) เิ มตร) วธิ ที ดสอบ ๑) นอนหงาย ตั้งเข่าขึ้น ๔๕ องศา ปลายเท้าแยกจากกนั ประมาณ ๑ ช่วงไหล่ กา� มือท้ังสองขา้ งงอศอกอยขู่ า้ งศีรษะ มีเพอ่ื นจบั และกดข้อเทา้ ไว้ ๒) เม่ือได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้เริ่มจับเวลา ให้ลุกขึ้นน่ังและก้ม ศีรษะลงไประหว่างเข่าทั้ง ๒ ข้าง แล้ว กลับนอนลงในท่าเดิม ท�าเช่นน้ีติดต่อกัน อยา่ งรวดเรว็ จนครบ ๓๐ วนิ าท ี แลว้ บนั ทกึ จา� นวนครง้ั ทที่ �าได้ 128 เกรด็ แนะครู ขอสอบ O-NET ขอสอบป ’53 ออกเกี่ยวกบั การทดสอบสมรรถภาพทางกาย กอนการปฏิบัตกิ ารทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครอู าจใหน กั เรียนผลัดกนั การทดสอบความแขง แรงของกลา มเนอ้ื ขอใดทน่ี ักเรียนหญิงทาํ ไดยาก ออกมาทําทากายบริหารงา ยๆ คนละ 1 ทา เพื่อเปน การอบอนุ รา งกายและเตรียม ทสี่ ดุ ความพรอมในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. ดันพน้ื 2. ดึงขอ นักเรยี นควรรู 3. กระโดดเชอื ก 4. ลกุ - น่ัง 1 ลกุ นัง่ 30 วินาที เมอื่ ทําการทดสอบ ขณะนอนลงหลังจากลกุ น่ังแลว หลังและ วเิ คราะหค ําตอบ 1. การดนั พื้น : เปนการใชก ลา มเนอื้ แขน คอตองกลบั ไปอยใู นทา เรม่ิ และหา มเดงตัวขึน้ โดยใชขอ ศอกดนั พ้ืนหรือเอยี งตวั ไปมา 2. การดงึ ขอ : เปน การใชก ลา มเน้อื แขนและขอตอ 3. การกระโดดเชือก : เปน การใชกลามเนอ้ื ขา 4. การลกุ - น่งั : เปน การใชกลามเนือ้ หนา ทอง กลา มเนือ้ และขอตอ ของเดก็ ผหู ญิงจะแขง็ แรงนอยกวาเด็กผูชาย กิจกรรมท่ใี ชก ลามเน้ือและขอตอ พรอ มๆ กัน เด็กผหู ญงิ จึงทาํ ไดยากท่สี ดุ ดงั นน้ั ขอ 2. เปนคาํ ตอบทถี่ กู 128 คูม ือครู

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๔. วิ่งเก็บของ1 (ทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว) 1. ครูจดั ฐานกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย วธิ ีทดสอบ ดงั นี้ ๑) วางไม้ ๒ ทอ่ น ไวต้ รงกลางวงกลมทีช่ ิดเสน้ ปลายทาง • วิ่ง 50 เมตร ๒) ให้ยืนโดยเทา้ ข้างใดขา้ งหนง่ึ ชดิ เสน้ เรมิ่ • ยนื กระโดดไกล ๓) เมอ่ื ไดย้ นิ สญั ญาณ “เรมิ่ ” ใหว้ ง่ิ ตรงไปยงั เสน้ ปลายทาง แลว้ หยบิ • ลกุ นง่ั 30 วินาที ท่อนไมใ้ นวง ๑ ท่อน และวงิ่ กลบั มาวางท่อนไม้ในวงหลังเส้นเริม่ โดยหา้ มโยน • วงิ่ เกบ็ ของ ทอ่ นไม้ • นั่งงอตวั ๔) ให้วิ่งกลับไปเพ่ือหยิบท่อนไม้อีกท่อนหน่ึง แล้ววิ่งกลับมาวาง โดยครสู าธติ วธิ ีการทดสอบสมรรถภาพทาง ทอ่ นไม้ในวงกลมหลังเส้นเรมิ่ อกี คร้งั และว่ิงเลยไปหลงั เสน้ เรมิ่ กายในแตละฐานใหนกั เรียนดูเปนตวั อยา ง ๕) การวางไม้ ผู้ทดสอบตอ้ งไม่โยนไม้ และถ้าวางไม้ไม่อยู่ในวงกลม ต้องเร่มิ ตน้ ทดสอบใหม่ 2. ใหนกั เรยี นแบงกลุม 5 กลมุ กลมุ ละเทาๆ กัน ๖) ให้จับเวลาตั้งแต่เร่ิมต้นจนกระทั่งวางท่อนไม้ท่อนท่ีสองลงใน แตล ะกลุมจับสลากวาจะไดฐ านอะไร แลว เริม่ ๕.วงกลม ทา� การทดสอบ ๒ คร้ัง แลว้ บันทกึ เวลาครงั้ ที่ใชเ้ วลานอ้ ยทสี่ ดุ ทดสอบฐานนั้นเปน ฐานแรก จากน้นั แตละ นั่งงอตวั (ทดสอบความออ่ นตวั ) กลมุ เวียนกนั ทดสอบสมรรถภาพทางกาย จนครบทกุ ฐาน 3. นักเรยี นทดสอบสมรรถภาพทางกายตามฐาน ตา งๆ จนครบทุกฐานแลวบนั ทึกผลการปฏิบัติ วธิ ีทดสอบ ๑) น่ังเหยียดขาตรง เทา้ ท้งั สองขา้ งชิดกนั และตั้งฉากกบั พืน้ ฝา่ เท้า จรดแกนกลางของทีต่ ้ังไม้วัด ๒) เหยียดแขนตรงขนานกบั พนื้ แล้วค่อยๆ ก้มตวั ไปข้างหน้า ๓) ใช้ปลายนิ้วมือดันแกนที่วัดให้เลื่อนไปข้างหน้า ให้มืออยู่เหนือ ระดบั ไมว้ ดั จนไม่สามารถก้มไดต้ อ่ ไป หา้ มโยกตวั หรอื งอตัวแรง ๔) บันทึกระยะที่วัดได้เป็นเซนติเมตร ● ถ้าปลายน้วิ มอื เลยปลายเทา้ ใหบ้ ันทึกคา่ เป็น “บวก” ● ถ้าไม่ถึงปลายเทา้ ใหบ้ นั ทึกค่าเป็น “ลบ” ใช้ค่าที่ดที ่สี ุดจากการ แตล่ ะกิจกรรม ทดสอบ ๒ ครัง้ ไม่ควรท�ำอย่ำงหักโหม เพรำะอำจท�ำให้บำดเจบ็ ได้ครบั 129 ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT นกั เรียนควรรู ขอ ใดเปนการทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบเดยี วกบั การลุกน่งั 1 วง่ิ เกบ็ ของ ทางทใี่ ชส ําหรบั การทดสอบวิง่ เก็บของ ควรเปนทางวิง่ เรยี บ 30 วินาที ระหวางเสนขนาน 2 เสน ทหี่ างกนั 10 เมตร และตอ งมีทางเหลือสําหรบั วง่ิ เลย ออกไปชดิ ดานนอกของเสนทง้ั สอง มวี งกลมขนาดเสน ผานศูนยกลาง 50 ซม. 1. การดนั พ้ืน สําหรับวางทอ นไมไ วกลางวง 2. การวิ่งซิกแซก็ 3. การกระโดดสงู มมุ IT 4. การนงั่ รูปตัววี วิเคราะหคําตอบ การลุกนงั่ 30 วนิ าที เปน การทดสอบความทนทานของ ครูศึกษาขอ มูลเกยี่ วกบั การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ไดจากเวบ็ ไซตของ กลา มเน้ือ ซง่ึ วัดผลจากการจบั เวลา แลวนับจํานวนคร้งั ในเวลาทกี่ ําหนด กองสมรรถภาพการกฬี า ฝายวิทยาศาสตรก ารกฬี า การกีฬาแหงประเทศไทย sportscience.sat.or.th/utility.aspx ดังน้ัน ขอ 1. เปนคาํ ตอบท่ถี ูก คมู อื ครู 129

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. นกั เรียนนาํ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ตารางแสดงเกณฑม าตรฐานสมรรถภาพ1 ๙ ๑๐ ของตนเองมาเปรียบเทยี บกับตารางแสดง ของ นักเรยี นชายและนักเรียนหญิง อายุ ๑๐ ป เกณฑม าตรฐานสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี น ชาย - หญงิ อายุ 10 ป คะแนน วิธที ดสอบ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ 2. ครถู ามนักเรียนวา • ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของ ว๕่ิง๐ เมตร ๑๑.๒ ๑๐.๙ ๑๐.๖ ๑๐.๔ ๑๐.๑ ๙.๘ ๙.๕ ๙.๓ ๙.๐ ๘.๗ ๘.๔ นกั เรยี นเปน อยา งไร ๑๒.๒ ๑๑.๙ ๑๑.๖ ๑๑.๓ ๑๑.๐ ๑๐.๗ ๑๐.๔ ๑๐.๑ ๙.๘ ๙.๕ ๙.๒ (คาํ ตอบขนึ้ อยูก ับผลการทดสอบของนักเรยี น) (วินาที) • นกั เรยี นมขี อบกพรองอยางไร (คาํ ตอบขน้ึ อยูกบั ผลการทดสอบของนกั เรียน) ยกรนื ะโดดไกล ๑๒๙ ๑๓๒ ๑๓๕ ๑๓๘ ๑๔๒ ๑๔๕ ๑๔๘ ๑๕๑ ๑๕๔ ๑๕๗ ๑๖๐ • นกั เรยี นมวี ิธีแกไขขอบกพรอ งนั้นอยา งไร (คาํ ตอบขึ้นอยูกบั ผลการทดสอบของนักเรียน) (เซนตเิ มตร) ๑๑๒ ๑๑๖ ๑๒๐ ๑๒๕ ๑๒๙ ๑๓๓ ๑๓๘ ๑๔๒ ๑๔๗ ๑๕๑ ๑๕๕ ล๓กุ๐-วนนิ ่งั าที ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๕ ๖ ๗ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ (ครัง้ ) วิ่งเกบ็ ของ ๑๕.๖ ๑๕.๒ ๑๔.๘ ๑๔.๕ ๑๔.๑ ๑๓.๗ ๑๓.๔ ๑๓.๐ ๑๒.๖ ๑๒.๓ ๑๑.๙ (วินาท)ี น่ังงอตัว ๑๗.๐ ๑๖.๖ ๑๖.๑ ๑๕.๗ ๑๕.๒ ๑๔.๘ ๑๔.๓ ๑๓.๙ ๑๓.๔ ๑๓.๐ ๑๒.๕ ๐.๗ ๑.๒ ๑.๗ ๒.๒ ๒.๗ ๓.๒ ๓.๗ ๔.๒ ๔.๗ ๕.๒ ๕.๗ (เซนติเมตร) ๒.๕ ๓.๑ ๓.๖ ๔.๑ ๔.๖ ๕.๑ ๕.๖ ๖.๑ ๖.๖ ๗.๑ ๗.๖ แทน เดก็ ผชู าย แทน เด็กผหู ญิง แหลง่ ข้อมูล : เกณฑม าตรฐานของคณะกรรมการนานาชาติ (ICSPFT)2 13๐ นกั เรยี นควรรู 1 เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพ คอื เกณฑท่ใี ชในการเปรยี บเทียบผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดยมีความสมั พนั ธก ับ เกณฑม าตรฐานการเจรญิ เตบิ โตของเด็กไทย โดยจดั ทาํ ขนึ้ เพื่อใชในการประเมินผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายวามีความแขง็ แรง สมวัยหรอื ไม 2 คณะกรรมการนานาชาติ (ICSPFT) ในป ค.ศ.1964 (พ.ศ. 2507) ที่นครโตเกยี ว ในระหวางท่มี กี ารแขง ขนั กฬี าโอลมิ ปกคร้งั ท่ี 19 ไดมีการตง้ั คณะกรรมการนานาชาติ เพอ่ื จดั มาตรฐานการทดสอบความสมบรู ณของรา งกาย (International Committee Standard of Physical Fitess Test) เพอ่ื ทําการศึกษาหาแบบทดสอบความสมบรู ณท างกายท่จี ะใชเ ปนมาตรฐานท่ัวโลก ซ่งึ คณะกรรมการชดุ น้ี ไดศ กึ ษาวจิ ัยรวบรวมขอ มูลนาน 8 ป จึงไดนาํ ขอยตุ ิของการทดสอบสมรรถภาพทางกายทเี่ ปนมาตรฐานออกมาใชในป ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) ไดน าํ ไปทดสอบทัว่ โลก โดยถือเปน การทดสอบสมรรถภาพทางกายพื้นฐาน (Basic Physical Performance) จาก กิจกรรมของคณะกรรมการมกี ารศกึ ษาวจิ ยั มากมาย และมกี ารรวมกันเปน กลุม จงึ มีความคดิ เห็นรว มกนั วา ควรรว มมอื วิจัยกันอยาง ตอเนอ่ื ง มีการเปล่ยี นชื่อคณะกรรมการภายหลงั เปนคณะกรรมการนานาชาตเิ พ่ือวจิ ัยความสมบูรณท างกาย (ICSPFT : International Committee on Physical Fitness Research) 130 คูมอื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ขยายความเขา ใจ Expand ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃչ̷٠èÕ ñ 1. ใหนกั เรยี นรว มกันบอกวา ตนเองมขี อ บกพรอ ง ทางดานใดบา ง ให้แต่ละคนทดสอบสมรรถภาพทางกายตามวิธีท่ีกําหนดให้ แล้วบันทึกผล จากน้ัน สรุปผลการทดสอบ 2. ใหน ักเรยี นรว มกนั เสนอแนะวา ควรปรับปรุง สมรรถภาพทางกายของตนเองอยางไร การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (๑) 3. ครูและนักเรยี นรว มกันสรุปวา สมรรถภาพ ทางกายของแตล ะคนสามารถปรับปรงุ ใหดีขึน้ ไดถาออกกําลังกายอยเู สมอ ชอ่ื ชน้ั ………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………….. ตรวจสอบผล Evaluate อายุ เพศ วนั ทปี่ ฏบิ ตั ิ………………………………. ……………………………….……………………………………………………………………. ครตู รวจสอบความถกู ตองและประเมนิ ผลการ ทดสอบจากแบบบันทกึ การทดสอบสมรรถภาพ นา้� หนกั …………………………………………………. กโิ ลกรมั สว่ นสงู …………………………………………….. เซนตเิ มตร ของนักเรยี น โดยครูนาํ ผลท่ไี ดม าสรุปผล จากนนั้ ทําการวิเคราะหขอ บกพรอ ง และเสนอแนะวิธกี าร กทิจดกสรอรบม ผลการทดสอบ ปรับปรงุ แกไ ข ครัง้ ท ่ี ๑ ครัง้ ท่ ี ๒ ๓๑๒๕๔..... ลยนวว�ง�ิิงนืกุ�งั เ งนกก๕อรง�ั็บ๐ตะ ข ๓โัวดเอ๐มดง ตไวตกริน วัลาอทย ีา งแบบบนั ทกึ ……………ก……………า……………ร……………ท……………ด…………………………ส……………อ……………บ..……….เ………เซซ………น………น..…ต..ต…ววเิิเมินนิมคาาตตรททร้งัร ีี วนิ าที……………………………………… …………………………. เซนตเิ มตร ครงั้………………………………………… วินาที……………………………………. …………………………. เซนติเมตร ๑) จากการทดสอบ นา� ไปแปรผลเป็นคะแนน (๑) วิ่ง ๕๐ เมตร ได้คะแนน ………………………… คะแนน (๒) ยนื กระโดดไกล ไดค้ ะแนน ………………………… คะแนน (๓) ลกุ น่งั ๓๐ วินาท ี ไดค้ ะแนน ………………………… คะแนน (๔) วิง่ เก็บของ ได้คะแนน ………………………… คะแนน (๕) นง่ั งอตัว ไดค้ ะแนน ………………………… คะแนน ๒) นกั เรยี นมปี ัญหาอะไรบา้ งในการทา� กิจกรรม และจะมวี ิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร 131 บรู ณาการเชื่อมสาระ เกร็ดแนะครู ครูบรู ณาการความรใู นสาระสุขศึกษาฯ กบั สาระคณิตศาสตร วิชา ครอู ธบิ ายเพิม่ เติมเรอ่ื ง อตั ราการเตน ของหวั ใจสงู สุดวา เปน เคร่ืองมือในการวัด คณิตศาสตร เร่ือง การคณู โดยใหนกั เรียนคาํ นวณอตั ราการเตนของหวั ใจ การตอบสนองของหัวใจตอ การออกกําลังกายเพอื่ ใหท ราบความเขม ขน ทเี่ หมาะสม สงู สดุ ของตนเอง เพ่อื ใหน กั เรียนสามารถเลอื กฝก สมรรถภาพทางกายได ในการออกกาํ ลงั กาย โดยวิธกี ารคํานวณ ดังนี้ อยา งเหมาะสม สูตรการคาํ นวณ อัตราการเตนของหวั ใจสงู สุด = (220 - อาย)ุ x เปา หมายการออกกาํ ลงั กาย (%) = อตั ราการเตนสูงสดุ ของหวั ใจหลงั การ ออกกําลังกาย ตัวอยาง ภาคภมู ิ อายุ 35 ป มเี ปา หมายการออกกําลงั กายอยูที่ 70% วิธีทํา อัตราการเตน สงู สุดของหวั ใจ = (220 - 35) x 70 = 185 x 70 = 130 ครงั้ /นาที คมู ือครู 131

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore กระตนุ ความสนใจ Engage ใหน กั เรียนทีม่ ีผลการทดสอบสมรรถภาพ กำรทำ� กจÔ กรรมพÅÈกÖ ÉำáÅะกจÔ กรรมทดÊอบÊมรร¶Àำพ ทางกายอยูในเกณฑท ่ีดอี อกมาเลาใหเพือ่ นฟง วา ทำงกำย µอ้ งอยÙ่ใ¹ควำมดÙáÅ¢องครÙอยำ่ งใกÅ้ªÔด เพèอ× »อ้ งกั¹ นักเรยี นมกี ารปฏิบตั ติ นอยางไร จงึ ทาํ ใหม ี สมรรถภาพทางกายทีด่ ี ไม่ใหเ้ กดÔ อ¹ั µรำยระหว่ำง»¯บÔ µั ÔกÔจกรรม¹ะครบั สาํ รวจคน หา Explore การทดสอบสมรรถภาพทางกาย จะเป็นเคร่ืองบ่งชี้ถึงความสามารถ หรือสมรรถนะในการท�ากิจกรรมต่างๆ ซึ่งความสามารถหรือสมรรถนะเหล่านี้ 1. ใหนักเรยี นนาํ ผลการทดสอบสมรรถภาพทาง สามารถปรบั ปรุงเพือ่ การพฒั นาและรักษาใหค้ งสภาพเดิมได้ กายของตนเอง มาพิจาณาวามขี อ บกพรอง ดานใด และนักเรียนมวี ิธีการสรางเสริม ๒ การสรางเสรมิ สมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพดา นนน้ั อยา งไรบาง เราสามารถสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ ด้วยการปฏิบัติกิจกรรม 2. ใหนกั เรียนแบง กลุม กลมุ ละเทา ๆ กนั แตล ะ ทางกาย ออกก�าลังกายหรือเล่นกีฬา โดยปฏิบัติอย่างสม�่าเสมอ สัปดาห์ละ กลุมชว ยกันคดิ วิธีการสรา งเสริมสมรรถภาพ ๓ - ๕ ครง้ั และปฏบิ ัตคิ รั้งละ ๓๐ - ๔๐ นาที ดานตางๆ ดงั นี้ เราสามารถเลือกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพได้ตามท่ี • การทรงตัว ตัวเองสนใจและตรงกบั สมรรถภาพด้านท่ตี ้องการสรา้ งเสรมิ เชน่ • ความออนตวั • ความแขง็ แรง ความทนทาน ๑. การทรงตวั หรือความอดทน • ความวอ งไวและความเรว็ เชน่ ยนื ด้วยขาข้างเดยี ว ๒.การต่อตวั เป็นตน้ ความออ่ นตวั เชน่ กม้ ขาแขง็ สะพานโคง้ นอนยกขา ขา้ มศรี ษะ น่งั แตะปลายเท้า เป็นต้น น่ังแตะปลายเทา สรา งเสริมความอ่อนตัว การต่อตวั สองคน สรางเสรมิ การทรงตัว 132 เกรด็ แนะครู ขอสอบ O-NET ขอ สอบป ’52 ออกเกีย่ วกับเรอ่ื งการสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกายน้ี ครอู าจใหนกั เรยี นทดสอบตอนตนเทอม กิจกรรมขอ ใดท่นี ักเรยี นเลือกมาใชเ สรมิ สรา งความแข็งแรงของ เพอื่ ดูสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นแตล ะคนกอนวาอยใู นระดบั ใด และมจี ดุ ออน กลามเน้อื ขามากที่สดุ ในดา นใด เพอ่ื ครูจะใชเ ปนแนวทางในการสรางเสรมิ สมรรถภาพทางกายดว ยการ 1. กระโดดเชอื ก ปฏิบัติกิจกรรมในชั่วโมงพลศึกษาไดอ ยางเหมาะสมกับนกั เรยี นแตะ คน 2. กระโดดกระตาย 3. กระโดดไกล 4. กระโดดขามสิง่ ของ วเิ คราะหค ําตอบ การสรางเสริมความแขง็ แรงของกลามเน้อื ขา ตอง ปฏิบัติกจิ กรรมทต่ี องใชก ําลังตอเน่ืองกนั เปนเวลานาน การกระโดดกระตา ย การกระโดดขา มสิ่งของเปนกิจกรรมท่ใี ชก ําลงั เพียงครง้ั เดียว สวนการ กระโดดเชอื กเปน กจิ กรรมทีต่ อ งใชก ําลังตอ เนือ่ งกนั เปน เวลานานๆ ได ดงั นนั้ ขอ 1. เปนคําตอบท่ีถกู 132 คูมือครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๓. ความแข็งแรงและความทนทานหรอื ความอดทน 1. ใหแ ตละกลมุ ออกมานาํ เสนอวิธกี ารสรา งเสรมิ เชน่ ดันพ้นื โหนราว นั่งรูปตัววี เปน็ ตน้ สมรรถภาพทางกาย พรอ มทัง้ สาธติ การปฏบิ ตั ิ ประกอบการนําเสนอดวย ๔. ดนั พน้ื สรางเสรมิ ความอดทน ความวอ่ งไวและความเร็ว 2. ครูและนกั เรยี นรว มกันสรปุ วธิ กี ารปรบั ปรงุ เช่น ว่งิ ซิกแซก็ วง่ิ กลับตัว วิง่ เปลยี่ นทศิ ทาง เป็นตน้ สมรรถภาพทางกาย โดยยกตวั อยา งผลการ ทดสอบสมรรถภาพของนกั เรียนท่ที ดสอบ ไมผานเกณฑ ว่ิงซิกแซก็ สรางเสริมความวอ่ งไว ๓ การปรับปรงุ สมรรถภาพทางกาย การปรับปรุงระดับสมรรถภาพทางกาย อาจน�าวิธีการต่อไปน้ีไปปฏิบัติได้ อยา่ งงา่ ยๆ ดงั นี้ ¡ÊÒÁ·ÃÃһçö¡ºÑ ÀÒ»ÂÒþا ó ñ • ฝสกราปงฏเสิบรัตมิ ิกสิจมกรรรรถมภาพ1 • ทดสอบสมรรถภาพ และกจิ กรรมทดสอบ ทางกาย แลวบันทึกผล สมรรถภาพซ้ําๆ เพื่อ ใหเ กดิ ความชํานาญ ò • หาสาเหตแุ ละ ขอ บกพรอ งเพอ่ื หา วธิ ีปรบั ปรุง ลกุ น่ัง ๓๐ วินาที สรางเสริม นง่ั รูปตวั วี สรา งเสรมิ ความทนทานของกลามเนอ้ื ความแขง็ แรงของกลามเน้อื 133 กจิ กรรมสรา งเสรมิ เกรด็ แนะครู ใหน กั เรยี นแตละคนคํานวณอัตราการเตนสูงสุดของหวั ใจของตนเอง ครอู าจแนะนาํ นักเรียนเรื่อง การรับประทานอาการทชี่ วยสรางเสริมสมรรถภาพ วามอี ตั ราเทา ใด และควรเลอื กการฝก สมรรถภาพทางกายอะไรจงึ จะ ทางกาย เชน หากนักเรียนอยากมกี ลามเน้ือทแี่ ข็งแรง นอกจากการฝกปฏบิ ัติ เหมาะสมกบั รา งกายนกั เรยี น สมรรภาพทางกายแลว นักเรียนควรกนิ อาหารพวกโปรตีนใหไ ดในปริมาณทเ่ี พยี งพอ เพือ่ ชว ยในการสรางเสริมกลา มเนือ้ ใหเจริญเตบิ โตและแขง็ แรง เปนตน กจิ กรรมทา ทาย นกั เรียนควรรู ครเู พิ่มเติมใหนกั เรียนคํานวณอัตราการเตนสูงสดุ ของหัวใจของคนใน ครอบครัว พรอมทัง้ บอกดว ยวา สมาชกิ แตละคนเลือกการฝก สมรรถภาพ 1 สรา งเสรมิ สมรรถภาพ การออกกาํ ลงั กายท่ชี ว ยสรา งเสริมสมรรภาพทางกาย ทางกายอะไรจงึ จะเหมาะสม ควรเปน การออกกําลังกายท่ีมีการเคลือ่ นไหวและมีลักษณะ ดังนี้ 1. ใชก ลา มเนื้อกลมุ ใหญๆ หลายๆ กลมุ พรอมกนั และใชกลามเนื้อที่สําคัญ เชน กลา มเนอ้ื บริเวณลาํ ตัว ทอ ง หวั ไหล แขน และขา 2. สามารถปฏิบตั กิ จิ กรรมไดอ ยางตอ เน่ืองเปนเวลานาน และฝก ในระดบั ความหนกั คอ นขางตํ่ากวา หรือปานกลาง 3. การทาํ งานหรอื เคล่ือนไหวรา งกายเปน จงั หวะสมา่ํ เสมอ คมู ือครู 133

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหนักเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกาย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷÕè ò คร้งั ท่ี 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกายคร้ังท่ ี ๒ แล้วบนั ทกึ ผล จากนน้ั สรุปผลการทดสอบ 2. ใหนักเรยี นชว ยกันตอบคําถามขยายความรู การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (๒) สกู ารคดิ ชอ่ื ชน้ั ………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………….. 3. ใหนักเรียนสรุปเร่ือง การเลน แฮนดบ อล การเลน แชรบอล การเลน หวงขามตาขาย และ อาย ุ เพศ วนั ทปี่ ฏบิ ตั ิ………………………………. ………………………………. ……………………………………………………………… การทดสอบสมรรถภาพ โดยสรุปเปนแผนผงั ความคิด นา�้ หนกั …………………………………………………. กโิ ลกรมั สว่ นสงู …………………………………………….. เซนตเิ มตร 4. ครูใหน กั เรียนตรวจสอบตนเองจากหวั ขอ ผลการทดสอบ ตรวจสอบตนเอง หนา 130 กทิจดกสรอรบม ครง้ั ที่ ๑ คร้ังท ี่ ๒ ๕๓๑๔๒..... ลวนยวง�ิิ�งนืกุ�ัง เงนกก๕อร�งั็บ๐ตะ ข ๓โวั ดเอ๐มดง ตไวกริน ลตาัวทอี ยางแบบบนั ท……………ึก……………ก…………………………า……………ร……………ท……………ด……………ส……………อ..……….เ………เบซซ………น………น.….ต..ต…ววิเเิ มนิินมคาาตตรททรงั้รีี วนิ าที……………………………………… …………………………. เซนติเมตร ครัง้………………………………………… วนิ าที……………………………………. …………………………. เซนตเิ มตร จากการทดสอบ นา� ไปแปรผลเป็นคะแนน ดังน้ี (๑) ว่งิ ๕๐ เมตร ไดค้ ะแนน ………………………… คะแนน (๒) ยนื กระโดดไกล ได้คะแนน ………………………… คะแนน (๓) ลกุ นัง่ ๓๐ วนิ าที ไดค้ ะแนน ………………………… คะแนน (๔) วิง่ เก็บของ ไดค้ ะแนน ………………………… คะแนน (๕) นัง่ งอตัว ไดค้ ะแนน ………………………… คะแนน ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ การทดสอบและปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกาย มีผลดีอย่างไรต่อสุขภาพ และการเจริญเติบโตของ 13๔ นกั เรียน เกรด็ แนะครู สมรรถภาพทางกายเปนส่งิ ทส่ี าํ คญั ในการชวยสง เสรมิ ใหบ คุ คลสามารถประกอบภารกจิ และดาํ รงชวี ิตอยูอยางมปี ระสิทธภิ าพ รวมท้ังทําใหป ราศจากโรคภยั ไขเจ็บ และมคี วามแข็งแรง ความทนทาน มคี วามคลอ งแคลว วองไวท่ีจะประกอบภารกจิ ประจาํ วัน ใหลุลว งไปดวยดี นอกจากนี้ยงั กอ ใหเกดิ การพัฒนาท้งั ทางดา นจติ ใจและอารมณควบคูกันไปดว ย ในเรื่องของสขุ ภาพสว นบุคคลนนั้ ความสมบรู ณข องรา งกายและจติ ใจจะมคี วามสมั พนั ธก นั อยา งใกลช ดิ กบั สมรรถภาพทางกาย หรอื อาจกลา วไดว า สมรรถภาพทางกาย มีรากฐานมาจากการมีสขุ ภาพท่ดี ี ถา สขุ ภาพของรา งกายออ นแอไมสมบูรณ จะสงผลทําใหความสามารถของรางกายทีจ่ ะประกอบ ภารกจิ ตางๆ ในชีวิตประจาํ วนั ก็ยอ มลดนอ ยลงดวย เฉลย ขยายความรูสูการคิด แนวตอบ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย จะทําใหเ รารูข อบกพรอ งของการทาํ งานของรางกาย เราจะไดหาวธิ ีปรับปรงุ แกไขใหเหมาะสม เพื่อใหรางกายทํางานไดอยางมีประสิทธภิ าพ โดยไมเ หน็ดเหนือ่ ย มสี ุขภาพดี และเสรมิ สรา งการเจริญเตบิ โตใหสมวยั ย่ิงขน้ึ 134 คมู อื ครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ÊÒ¨´ÃШÊíÒíÒäǤŒ ÑÞ  ผู้เลน่  กตกิ าท�ัวไป  การจบั บอล  ผู้เล่น 1. ครูประเมนิ ผลการทดสอบครงั้ ท่ี 2 ของ  สนาม  การได้ประตู  การส่งบอล  สนาม นกั เรยี น แลว สรุปผลการทดสอบที่ได  ประตู  การส่งลูก  การรบั บอล  อปุ กรณ์ ไปเปรยี บเทยี บกับครั้งแรก  ลูกบอล มมุ สนาม  การเลี้ยงบอล  เวลา  เวลา ประตู  การยิงประตู  วิธีเลน่ 2. ครูตรวจสอบความถกู ตอ งของคาํ ถามขยาย  วิธีเล่น ความรสู กู ารคิด กติกา ทักษะ องคประกอบ  การได้คะแนน  อนุญาต 3. ครตู รวจสอบแผนผงั ความคดิ เร่ือง การเลน องคประกอบ ให้ผเู้ ล่นกระทา� แฮนดบ อล การเลนแชรบอล การเลน หว ง  ไมอ่ นญุ าต ขา มตาขา ย และการทดสอบสมรรถภาพ กติกา ให้ผเู้ ลน่ กระท�า โดยพิจารณาจากความถูกตองและสมบรู ณ แฮน ดบอล ของขอมูล อล ทักษะ  การส่งบอล  การรับบอล 4. ครตู รวจสอบผลการตรวจสอบตนเองของ ิกาแชรบ  การยิงประตู นักเรยี นวา มคี วามถูกตองและเปนจริงหรือไม หว่ งขา้ มตาขา่ ย โดยพจิ ารณาจากแผนผังความคดิ  เล่นเด่ียว ¡ÂÕÌÒÇÒàÔ àȻɹš  เลน่ คู่  สนาม หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู  ห่วงยาง 1. รายงานเร่อื ง สมรรถภาพทางกายเพอื่ สขุ ภาพ กต อปุ กรณก ารเลน่  ฝกความ และสมรรถภาพเชงิ ทกั ษะปฏบิ ตั หิ รอื สมรรถภาพ ค้นุ เคย ทางกลไก สมรรถภ ทกั ษะ  การรบั -ส่ง 2. แบบประเมินผลการทดสอบสมรรถภาพ าพทางกาย สมรรถภาพทางกาย ทางกายครงั้ ท่ี 1 สร้างเสริมสมรรถภาพ ทดสอบ  เพอ่ื สขุ ภาพ รุงปรับป  การทรงตวั  เชงิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ 3. แบบประเมนิ ผลการทดสอบสมรรถภาพ  ความอ่อนตัว  ว�งิ ๕๐ เมตร ทางกายครงั้ ที่ 2  ทดสอบ  ความแข็งแรง  ยนื กระโดดไกล  บนั ทึก และความอดทน  ลกุ น�ัง ๓๐ วินาที 4. แผนผงั ความคิดเรือ่ ง การเลน แฮนดบ อล  หาขอ้ บกพร่อง  ความว่องไว  ว�ิงเก็บของ การเลนแชรบอล การเลน หว งขามตาขา ย  น�ังงอตัว และการทดสอบสมรรถภาพ  ฝกปฏบิ ัติ และความเร็ว µÃǨÊͺµ¹àͧ นักเรียนลองสงั เกตตนเองดวู ่า ปฏิบตั ิตามสิง่ ต่างๆ เหลา่ น้ไี ดห้ รอื ไม่ ❏ บอกวิธกี ารเล่น กฎ และกติกาของกีฬาแฮนดบ์ อล แชรบ์ อล และห่วงขา้ มตาขา่ ยได้ ❏ ปฏิบตั ติ ามกฎและกติกาในการเลน่ กฬี าทีเ่ รยี นได้ ❏ ฝกทกั ษะการเลน่ กีฬาแฮนด์บอล แชรบ์ อล และหว่ งข้ามตาข่าย ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ ❏ รขู้ อ้ บกพรอ่ งในการเล่นกีฬาแฮนด์บอล แชรบ์ อล และห่วงขา้ มตาขา่ ย และหาวิธีการปรับปรุง ❏ ทดสอบสมรรถภาพทางกายและหาขอ้ บกพรอ่ งได้ ❏ ปรับปรงุ และหาวธิ ีสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายของตนเองได้ 13๕ ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT เกร็ดแนะครู ขอ ใดคือหลกั การสําคญั ในการเสรมิ สรางสมรรถภาพทางกาย ครเู นน ใหน กั เรยี นเหน็ ความสาํ คญั ของการออกกาํ ลงั กาย และสมรรถภาพทางกาย 1. ทาํ ใหนานกวา เพอ่ื นเสมอ โดยอธบิ ายวา สมรรถภาพทางกายจะเกดิ ขน้ึ ไดต อ งอาศยั การเคลอื่ นไหวของรา งกาย 2. ทาํ ใหม ากกวาเพอ่ื นเสมอ ออกแรงหรือออกกาํ ลังกายมากกวา ปกตทิ ีใ่ ชในกิจกรรมประจาํ วนั โดยวชิ าพลศกึ ษา 3. ทาํ อยา งสมา่ํ เสมอ เปน วิชาที่ใหน กั เรียนไดม สี ว นรวมในกจิ กรรมการออกกําลงั กายตางๆ จะชวยสง เสรมิ 4. ทาํ ใหเหมือนและพรอมเพรียงกบั เพอื่ น ใหนกั เรยี นมสี มรรถภาพทางกายไดเปน อยางดี สมรรถภาพทางกายนี้เปน สภาพของ วเิ คราะหคําตอบ การเสรมิ สรางสมรรถภาพทางกายมหี ลกั การสําคญั คือ รางกายอยา งหนง่ึ ทเ่ี กดิ ขึน้ มาได เมือ่ รางกายไดเคลอ่ื นไหวหรอื ออกกาํ ลังกาย และ 1. ความถ่ี ควรฝก 2 - 3 วัน ตอ สัปดาห จะหายและหมดไปเชนกัน ถาหากรา งกายไมม กี ารเคลื่อนไหวหรอื ออกกําลงั กาย 2. ความเขม ควรฝกใหไ ด 70 - 80 เปอรเซ็นตข องอัตราการเตน หวั ใจสูงสดุ ตอ ไปอกี ดังน้ัน วธิ ีเดยี วที่จะรักษาสมรรถภาพนีไ้ วไดก ด็ ว ยการออกกําลงั กาย 3. ระยะเวลาในการฝก แตล ะครง้ั 15 - 60 นาที เปนประจาํ วันเทาน้นั 4. ชนิดของการฝก ควรดูความเหมาะสมของการฝก แตล ะชนิดวา เหมาะสม กบั สภาพรา งกายตนเองหรือไม ดงั นน้ั ขอ 3. เปนคําตอบทถี่ กู คมู อื ครู 135

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate â¤Ã§§Ò¹... Ê¢Ø È¡Ö ÉÒ â¤Ã§§Ò¹ : ¡ÒÃÊ�ÃǨÍÒËÒèҡÌҹ¤ÒŒ ประเภทโครงงาน : ประเภทสาํ รวจรวบรวมขอ มูล ระยะเวลาในการทาํ โครงงาน : ๑ - ๒ สัปดาห วิธีทํา : ๑. สาํ รวจขอ มลู เกย่ี วกบั อาหาร ๒ ชนดิ หลากหลายตราสนิ คา จากรานคาตา งๆ เพื่อนํามาเปรียบเทยี บกัน ตวั อยา ง อาหาร ๒ ชนดิ ในหลากหลายตราสนิ คา ชนดิ ของอาหาร ตราสนิ คา ๑. ปลากระปอง ปกุ ปยุ ปลายักษ สามแมเกลอ ฯลฯ ๒. นํ้ามนั ถวั่ เหลอื ง ลาํ ไย ท็อป เพชร ก๊กิ ฯลฯ ๒. สงั เกตและบนั ทกึ ขอมูลเกยี่ วกับ ๑) สขวอนมปูลรบะนกฉอลบาคกุณขคอางทอาาหงโาภรชนเชานการป1รมิ าณของอาหาร ๒) ราคาของอาหารแตละชนิด และแตละตราสินคา ๓) ขอมลู ทีส่ ังเกตได เชน ภาชนะที่บรรจุ ๔) เปรยี บเทยี บอาหารแตล ะชนดิ จากตราสนิ คา ตา งๆ เพอื่ นํามาตดั สนิ ใจวาจะเลือกซอ้ื อาหารตราสินคาใด ๓. นาํ เสนอผลการศึกษาในรูปแบบรายงานปายนิเทศ หมายเหตุ โครงงานท่ีกําหนดข้ึนน้� เปนเพียงโครงงานเสนอแนะ เทา นน้ั นกั เรยี นอาจเลอื กทาํ โครงงานท่ตี นสนใจ หรือคิด หวั ขอโครงงานขน้ึ เองก็ได ๑๓๖ นกั เรียนควรรู 1 สวนประกอบคณุ คาทางโภชนาการ สามารถพิจารณาจากกรอบขอ มูลโภชนาการตามลําดบั ดงั น้ี 1. หนง่ึ หนวยบรโิ ภค หมายถึง ปรมิ าณการกนิ หรอื ดืม่ ตอครั้ง เชน “หน่ึงหนวยบริโภค : 1 กลอ ง (220 มิลลลิ ติ ร)” หมายถึง บรโิ ภคครงั้ ละ 1 กลอ ง หรอื 220 มลิ ลลิ ติ ร แตถ า เขยี นวา “หนงึ่ หนว ยบรโิ ภค : 5 ลกู (120 กรมั )” หมายความวา บรโิ ภคครง้ั ละ 5 ลกู 2. จํานวนหนว ยบริโภคตอภาชนะบรรจุ หมายถึง หอ นี้ ขวดน้ี หรือกลองนี้ บริโภคไดก ่ีคร้งั เชน ถาเขียนวา “จาํ นวนหนวยบริโภคตอกลอง : 1” หมายความวา สามารถบรโิ ภคใหหมดกลอ งภายใน 1 ครง้ั แตถ าเขียนวา “จํานวนหนวยบรโิ ภคตอ กลอง : 5” หมายความวา 1 กลอ งสามารถบริโภค ได 5 ครั้ง 3. คุณคา ทางโภชนาการตอหน่งึ หนวยบริโภค หมายถงึ พลังงานและสารอาหารทร่ี า งกายจะไดร ับเม่อื บรโิ ภคตามปริมาณทีร่ ะบุตอ ครงั้ กลา วคอื จะไดส ารอาหารอะไรบางในปรมิ าณนาํ้ หนักจรงิ เทา ใด และปริมาณทีไ่ ดนี้คิดเปน รอยละเทาไรของปรมิ าณทคี่ วรไดรับตอ วนั 4. รอ ยละของปริมาณที่แนะนาํ ตอ วัน หมายถงึ สารอาหารท่ีไดรับจากการบริโภคแตล ะคร้ังน้ัน คดิ เปน สดั สว นเทาใดของปริมาณสารอาหาร ทแี่ นะนาํ ใหบ รโิ ภคตอ วนั (Thai RDI) เชน การบรโิ ภคครงั้ หนง่ึ ไดร บั คารโ บไฮเดรต 8 กรมั ซงึ่ คดิ เปน รอ ยละ 3 ของปรมิ าณทแี่ นะนาํ โดย Thai RDI ดังนั้น ควรบริโภคคารโบไฮเดรตจากอาหารอนื่ ๆ อีกประมาณ 97% Thai Recommended Daily Intakes หรอื Thai RDI หมายถงึ ปรมิ าณสารอาหารท่ีแนะนาํ ใหบ ริโภคตอ วัน สําหรบั คนไทยอายุ 6 ป ข้นึ ไป โดยคดิ จากความตองการพลังงานวันละ 2,000 กโิ ลแคลอรี ตัวอยา งเชน วันหนึง่ ๆ ควรไดร ับคารโบไฮเดรตประมาณ 300 กรมั ไขมันนอ ยกวา 65 กรมั เปน ตน 136 คมู อื ครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate กจิ กรรม : สมุนไพร1นา่ รู้ ºÙóҡÒÃàÈÃÉ¡°Ô¨¡¡Ô¨¾ÃÍÃà¾ÁÕ§ จุดประสงค : เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้เก่ียวกับสมุนไพร สามารถน�ามาใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจา� วนั และสามารถแนะนา� ผอู้ นื่ ได้ ภาระงาน : ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลยาสมุนไพรพื้นบ้านท่ี สามารถใชร้ กั ษาโรคและหาไดง้ ่ายในทอ้ งถน่ิ ๒. หาสมนุ ไพรพ้ืนบ้านท่ีกลมุ่ นักเรียนสืบค้นมา แลว้ นา� มา ปลูกในแปลงหรือกระถางต้นไม ้ พรอ้ มทัง้ ท�าปา ยบอก สรรพคุณ กจิ กรรม : รกั ชมุ ชน ºÙóҡҡÃÔ¨¨Ôµ¡ÍÒÃÊÃÒÁ จดุ ประสงค : เพื่อให้นักเรียนมีจิตส�านึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมรอบตัว โดยเริ่มจากโรงเรียนและชุมชน ภาระงาน : ๑. แบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั แตล่ ะกลมุ่ ออกสา� รวจสง่ิ แวดลอ้ ม บรเิ วณโรงเรยี นและชมุ ชนรอบๆ โรงเรียน ๒. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั ทา� ความสะอาดบรเิ วณโรงเรยี น และชมุ ชนรอบๆ โดยแบง่ พน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบของแต่ละกล่มุ ๓. แตล่ ะกลมุ่ เขยี นคา� ขวญั เกยี่ วกบั การรกั ษาความสะอาดและ การอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มตดิ ตามบรเิ วณตา่ งๆ ของโรงเรยี น และชุมชน ๔. ใ ห้นักเรียนช่วยกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโรคท่ีเกิดจาก ปัญหาสิ่งแวดล้อม แล้วน�ามาจัดท�าปายนิเทศให้ความรู้ ในโรงเรยี นและชมุ ชน 13๗ บรู ณาการเช่อื มสาระ เกรด็ แนะครู ครบู รู ณาการความรใู นสาระสุขศึกษาฯ กบั สาระสังคมศกึ ษาฯ เร่ือง ครูแนะนําใหนักเรียนทีม่ ีความสนใจทําโครงงานกิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจ การรักษาส่ิงแวดลอมในชุมชน โดยใหนกั เรยี นสํารวจบรเิ วณรอบๆ ชุมชนวา พอเพียง กจิ กรรมบรู ณาการจติ อาสา ตามทเ่ี สนอแนะในหนังสอื หนา 137 หรอื มสี ว นใดบางทอี่ าจสง ผลเสยี ตอ สขุ ภาพของคนในชุมชน จากน้นั ใหน ักเรียน นกั เรยี นอาจคิดโครงงานอนื่ ๆ หรือกจิ กรรมท่ีนาสนใจข้ึนมาใหมก ไ็ ด วางแผนในการปรับปรงุ สภาพแวดลอ มในชมุ ชน แลว นําไปปฏิบัติจริงเพื่อให นกั เรยี นเกดิ จิตสํานึกในการรกั ษาสง่ิ แวดลอมในชุมชน นักเรียนควรรู 1 สมุนไพร หมายถงึ พชื ทม่ี ีสรรพคุณในการรักษาโรคหรอื อาการเจบ็ ปว ย ตา งๆ โดยเปน การนาํ สว นตา งๆ ของพชื เชน ราก ใบ ดอก ผล เปน ตน มาทาํ เปน ยา ซงึ่ สมนุ ไพรที่นาํ มาทํายาอาจเปนพืชชนดิ เดียว หรอื ต้งั แตส องชนิดขึ้นไปมาผสมกัน เพอ่ื เพ่มิ สรรพคุณในการรกั ษาก็ได คมู ือครู 137

กระตนุ้ ความสนใจ สำ� รวจคน้ หา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate บรรณานุกรม กรมพลศึกษา, ส�านัก, พัฒนาการพลศึกษา, สุขภาพและนันทนาการ. ๒๕๓๙. การทดสอบ และประเมนิ ผลสมรรถภาพทางกาย. โรงพิมพ์การศาสนา กรมการศาสนา. กระทรวงศกึ ษาธิการ, กรม, พลศึกษา. ๒๕๓๘. เกม ๑๐๘. พิมพ์ครงั้ ท่ี ๕. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ ครุ ุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธกิ าร, ส�านกั งานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน, ส�านัก, วิชาการและมาตรฐาน การศึกษา. ๒๕๕๑. ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ ชนสหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย จา� กดั . การกีฬาแห่งประเทศไทย. ประวัติและกติกา กีฬา. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http//sat.or.th/ sportslearning. (วนั ทคี่ น้ หาข้อมูล : ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๕๒). ธัญชนก ศานตอิ ลงกรณ์และคณะ. ๒๕๔๙. สารานกุ รมชุดร่างกายของเรา : โครงกระดูกและการ เคลือ่ นไหว. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. พิพัฒน์ ชูวรเวช. ๒๕๔๕. อุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล ระดับบุคคลท่ัวไป. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารค้าครุ สุ ภา. มีชัย ศรใี ส. ๒๕๔๒. พจนานกุ รมรูปภาพ ร่างกายของเรา. กรงุ เทพฯ : บริษัท ส�านกั พิมพร์ เิ วอร์ บคุ๊ ส์ จา� กดั . วีนัส ปัทมภาสพงษ.์ ๒๕๔๗. การปฐมพยาบาล. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑. ภาควชิ าสขุ ศกึ ษา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. เอกรนิ ทร์ สม่ี หาศาล. ๒๕๕๒. แมบ่ ทมาตรฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๕. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ไทยรม่ เกลา้ จา� กดั . 138 138 คูม่ ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ÀÒ¤¼¹Ç¡ แมงมมุ ÊѵǏÁÕ¾ÉÔ ผงึ้ , ตอ พษิ อยตู รงเข้ยี วทัง้ ๒ ขา ง พษิ จะทําใหเ หย่อื หผทพาื่นํายิษแใใหจพจะเข กอัดหิดยรอคูตือาลรพกื่นงิษาเไรหซสบลึม อว็กเมขาใเานจสแียทูกดน่ีอรงะยแเอูปลสักละเลเชาสืออ็ยบดคทไอปดจงวน ดทพําเิษปใจหนะ เปนอัมพาต หรือทาํ ใหค นเกดิ อาการแพ ตะขาบ คางค1ก แมพไลตงมิษมปาเ พปจเอ 2หะรนงอาลปมยวกูวัใตตถหิ ผหาริวาพือหยติษในาจเังบขขขดัาอาตดหงาชหาจว่ัยู คะใพทจริษหาําวจอใะบหทเภํายาใ่ือหวบะกกุตาาารรอหหักาายเยสใใจบจ พเกิษดิ จกะาอรยอูตกั รเสงเบข้ียแวลทะงั้เป๒น อขมัา งพพาตษิ บจระเิทวณําใทหถี่ กู กดั งูพษิ พพติษษิอ รจจะะะบทอบาํยใปูทหร่ีปเ ะกลสดิ าากยทาหราบงาทด่ีมเจีลบ็ ักอษาณกาะรเแหพม ือเปนน เพข็มษิ พษิ จะอยตู รงเขยี้ วทั้ง ๒ ขาง พษิ งจู ะมีผลตอ ระบบประสาท ระบบเลอื ด และกลามเน้ือ ตามชนิดของงู พเิ ศษ ๑ นักเรียนควรรู 1 คางคก จดั อยูในประเภทสัตวส ะเทินนาํ้ สะเทนิ บก หรือท่ีเรียกวา สัตวค ร่ึงนาํ้ ครึง่ บก คางคกมีพิษอยูใตผิวหนัง พษิ ของคางคก จะมลี ักษณะเปนเมือกสีขาว หรือทเี่ รยี กวา ยางคางคก ซงึ่ ประกอบดวยสารบูโททอ็ กซิน ซง่ึ มผี ลตอการกระตนุ การทาํ งานของหัวใจ นอกจากพิษใตผ ิวหนังแลว คางคกยงั มีพิษบางสวนอยูใ นเลือด เคร่อื งใน และไข ซง่ึ หากนําไปรบั ประทานอาจทําใหไดร บั พษิ โดยมี อาการแขนขาออ นแรง คล่ืนไส อาเจยี น ออนเพลยี หายใจหอบ เกิดภาวะหวั ใจลม เหลว และเสียชีวิตได 2 แมงปอ ง จดั อยูใ นประเภทสตั วไ มมีกระดูกสนั หลงั มรี ปู รา งคลายปู ลาํ ตัวยาวเปนปลองๆ มอี วยั วะสาํ หรบั ตอ ยอยทู ่ีปลายหาง ไมช อบแสงสวา ง มกั จะหลบอยตู ามสถานทีม่ ืดและช้ืน เชน ใตกอนหนิ ใตกองไม ใตใ บไม หรอื ขุดโพรงหรอื รอู ยตู ามปาละเมาะ และออกหากินในเวลากลางคืน พษิ ของแมงปอ งมีผลตอ ระบบประสาทและระบบโลหิต โดยผทู ่โี ดนตอ ยจะมีอาการแตกตา งกัน ขึน้ อยูก บั สายพนั ธขุ องแมงปอง และจํานวนน้าํ พษิ บางรายอาจมีอาการเจ็บเลก็ นอ ย บางรายอาจมอี าการมากถงึ ชวิี ิต คมู อื ครู 139

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ÀÒ¤¼¹Ç¡ ÃͺÃÙ¡Œ ÕÌÒ»ÃÐà·Èà¾×Íè ¹ºŒÒ¹ ปนจักสลี ัต (Pencak Silat) ปน จักลีลัต (Pencak Silat) เปนคาํ ทมี่ าจาก ภาษาอินโดนีเซีย มาจากคําวา ปนจัก (Pencak) หมายถงึ การปอ งกนั ตนเอง และคําวา สีลตั (Silat) หมายถงึ ศลิ ปะ ดงั น้ัน ปน จักสลี ตั จึงหมายถงึ ศลิ ปะ การปอ งกันตนเอง กีฬาประเภทนี้เดิมเปนศิลปะการตอสูของ คนเชื้อสายมลายู ไดแก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ฟลิปปนส สิงคโปร และรวมถึงชายแดน ภาคใตในไทย ที่เรียกวา สิละ เปนการตอสู ดวยมือเปลา เทาเปลา เนนใหเห็นลีลาการเคลื่อนไหวท่ีสวยงาม แตงกายดวยผาโพกศีรษะ เส้ือ คอกลม หรือคอตั้ง นุงกางเกงขายาว มีผาโสรงหรือท่ีเรียกวา ผาชอเกต สวมทับ ผาลือปกคาด เอว หรือคาดเข็มขัดทับโสรง และเหน็บกริช มีเคร่ืองดนตรีประกอบ คือ กลองยาว ๑ ใบ กลองเล็ก ๑ ใบ และป ๑ เลา เรา ความสนใจไมแ พม วยไทย โววีนมั (Vovinam) โววีนัม (Vovinam) เปนศิลปะการตอสูของ ประเทศเวียดนาม โว (Vo) หมายถึง ศิลปะปองกนั ตัว และ วีนมั (vinam) หมายถงึ เวยี ดนาม ถูกคิดคนเมื่อ ป ค.ศ.1938 โดยมาสเตอร เหวง ลอค เนอ่ื งจากแรง กดดันจากการเปน อาณานิคมของประเทศฝร่ังเศส โววีนัมมีการผสมผสานกันของกีฬาหลายชนิด คือ มวยไทย เทควันโด มวยจีน จุดเดนของกีฬานี้ คือ ผูเลนสามารถตอยหนาได แตตองใชนวม และ ทา กระโดดลอ็ คคอ (Flying Scissors) กระโดดหนีบ คอฝายตรงขามจนลมไดจะถือวาชนะ ไมวาคะแนน จะเปนอยา งไรกต็ าม พิเศษ ๒ ชินลง (Chinlone) ชนิ ลง (Chinlone) เปนศิลปะแบบดง้ั เดิมหรอื กีฬาโบราณของประเทศพมา เปนการผสมผสานกัน ระหวา งกฬี ากบั การเตน ราํ เลน กนั เปน ทมี ไมม คี ตู อ สู แตตองมลี ลี าในการเลนทย่ี ากและสวยงาม โดยใชล ูก ตะกรอ การเลน ชินลงจะใชผูเลน ๖ คน โดยมี ๑ คน อยูตรงกลางวง คอยควบคุมลกู ตะกรอ หากลกู ตะกรอ ตกพ้ืนจะเปนลกู ตายตองเริ่มเลน ใหม บรู ณาการอาเซยี น ตารุง เดราจตั ครูอาจแนะนํากฬี าของประเทศในกลุมอาเซียนเพิม่ เติม เชน กฬี าตารงุ เดราจตั หรือกฬี าตอสูของประเทศอนิ โดนเี ซีย คิดคน โดย นายอัชหมัด เดดจตั หรือ ซาง กูรู โดยตารงุ เดราจัต เปนการนําจุดเดนของศิลปะการตอสหู ลากหลายแขนงมาประยกุ ต เขาดว ยกันจนกลายเปนแบบฉบับของตนเอง ตารงุ เดราจัต เปน กฬี าท่ีใชท ดสอบความแขง็ แกรง ของรา งกายและจิตใจ เพราะไมไ ดใ ชเ พยี งพละกาํ ลงั ทางกาย แตย งั เปน การรวบรวมสมาธแิ ละความแขง็ แกรง ดา นจติ ใจใหมีความเปน หนงึ่ เดียวกนั กับรา งกาย โดยการใชอ าวุธหลกั 3 อยาง ไดแ ก เตะ หมัด และถบี ตารุง เดราจัต ไดรบั การบรรจใุ หเปนกฬี าสาธติ ในการแขงขนั กีฬาซีเกมสค รัง้ ท่ี 26 ป 2011 ณ ประเทศอนิ โดนีเซยี 140 คมู อื ครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook