Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1414005TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป4[230125]

1414005TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป4[230125]

Published by captionthanakorn.n, 2023-07-16 05:50:46

Description: 1414005TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป4[230125]

Search

Read the Text Version

á¼¹¼Ñ§¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÌÙÃÒ»‚ ˹ѧÊ×ÍàÃÂÕ ¹ ÊØ¢È¡Ö ÉÒáÅоÅÈ¡Ö ÉÒ ».๔กลามเน�้อ-๑๒ ป าคนดีที่ทุกคนรั องคประกอบ Ê˹آѧȻÊÖ¡.×ÍôÉàÃÒÕÂϹทกั กษทากกะแรักากาบทรษารปบดรเะกออสเแรใสกตลุปงชบัรบอาคนิกกมิอปรบบปหารปุเสรรเลสรณวะรคกแงุิหนมางสรลบางขณรมรอื่บสปรารนปมอถรมรทระรยภถตะกรกี่ูกภกาถาตออพภับขาิกงบชบาพหาทากรเยวกพี่บตะาอิกลรลางเกลหานทวเรทคแดงเักชขลลสจษรนา่ือองับะมแบนหกอฮตาสไวลรนามหะเดลขเรวนพบรา ใถอยลหลนิ สใัมจพันธก ระÁดÁูก°แ.°ลก.¾พกะเเกขฬีกจิ¾ัฒมอกมóหตาหรเหอลóรน.รเñนมยีรปน.าแ/ษนñว บนวกแา/ยบบกย¾ยาบทล¾ทราาó่ีเี่วมค๖ó๕.ิเòเลศ.นò/ื่อ�้อษนแ¾ไลหะôรจกิตาร.ใงñจะกวดาธิ ูกยเี ใกชบ็ ยรกากักผกแกปษาิดหารมาราพแใรระพลนยชเลฒับเงจยาภฒั ะวาสารนทไดนยตัญิดขาเาวจทรกเกก บั็บตาาี่ดัÁจสบิรร๑ตา°ชาขโอก.วรตกอยตงเา¾แอคงัวาเมลเยรñรกีุะา๙.าñรใปชฐยมาลพÁอวยค°ยดา°.หรบทภ.อน¾า่ียั¾บล๔ว คòยõดร.ท.ññูแวั ่ี แลห๒โโททสลนษษุขะÁวขขเภ°ยออพ.งาทงบพสง¾อื่ ี่หุบรุ๓นรุหาôี่รี.่แñละสุราอารพมะฤณกผตลก ิกิตบั ภปรสญรัณขุหมกภรฑากปาททาาสวรฏมี่ราพธิจุบิขปผีงรีัดตัคภลฏเกั บพวติตษบิาาานอศาัตพมนตสสติสเขอุง�ิ นสาํแภครคตวมิรกาญัอดาอพสิบเลรบรพัตปอาสคิตอ่ืฏมงภนรนเิสวสัาใภหวธาะอเผวหทนั ละกมาตทตางารอารอาะฉเงสายสลอลขุรทมือาาภมากรกกาณงมซับพเ้ือณพเพศ ศวิถีกา แ แฮนดบอล การปฏ กอบ พ อาหารแล ภาพ ว สง�ิ แวดลอ มรอบตวั โทษขอ Á หชนีวิตป องยา หลั เคกาล่ืรอทํนาไทหาวกตาายมบจั ผ ัลด รเ ลน ีกฬา การ

เอกสารประกอบคมู ือครู กลมุ สาระการเรียนรู สุข กษาและพล กษา สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สาํ หรับครู 4ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี หม ลักษณะเดน คูมอครู ขยายพืน้ ทร่ี ูปเลม ใหญข ้นึ กวา เดิม จดั แบงพนื้ ทอี่ อกเปน โซน เพ่อื คน หาขอมลู ไดงา ย สะดวก รวดเรว็ และดเู ปน ระเบียบ กระตนุ Enคgวagาeมสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore Explain Expand Evaluate Explore เปา หมายการเรยี นรู สมรรถนะของผเู รยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค น1 หนา หนา น1 หนั สอเรยน หนั สอเรยน กระตนุ ความสนใจ Engage สาํ รวจคน หา Explore อธบิ ายความรู Explain ขยายความเขา ใจ Expand ตรวจสอบผล Evaluate ขแอนสวอบNเนTน กาOร-คNิดET ขอสอบเนน กาNรTคิด เกรด็ แนะครู แนว ขอ สอบ O-NET นกั เรยี นควรรู บรู ณาการเช่อื มสาระ น2 น3 น 2 น3 กจิ กรรมสรา งเสรมิ บเศูรณราษกาฐรกจิ พอเพียง กจิ กรรมทาทาย บูรณาการอาเซียน มุม IT No. มู อ รู ูมอ รู No. น 1 ขัน้ ตอนการสอนแบบ น 2 ว ยครูเตรยี มสอน น 3 ว ยครเู ตรียมนักเรียน พอ่ ให รู ตรยี มจัดกจิ กรรมการ รียน พ่อ วยลดภาระ รูผสู อน ดยแนะนา พอ่ ให รสู ะดวกตอ การจดั กจิ กรรม ดยแนะนา การสอน ดยแนะนาขัน้ ตอนการสอนและ กรด วามรูสาหรั รู วามรู สริมสาหรั กิจกรรม ูรณาการ ่อมระหวางกลุมสาระ วิ า การจัดกิจกรรมแ อยางละ อยี ด นกั รียน รวมทั้ง ูรณาการ วามรูส ูอา ียน กจิ กรรมสรา ง สรมิ กจิ กรรมทา ทาย รวมถง นอ้ หา พ่อใหน ัก รยี น รรลุตามตวั ้วี ดั และมุม ที่ ยออกขอ สอ กงขอ สอ และแนวขอ สอ นน การ ดิ พรอ ม าอ ิ าย และ ลยอยางละ อียด

แถบสีและสั ลักษณ ท่ ช นคูมือครู แถบสีแสดงข้นั ตอนการสอนและการจดั กิจกรรม แบบ 5Es เพ่อื ใหค รทู ราบวา เปน ขนั้ การสอนขนั้ ใด สแี ดง สเี ขยี ว สสี ม สฟี า สมี ว ง กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล 2สรม Engage Explore Explain Expand Evaluate • เปนข้ันท่ผี ูส อนเลอื กใช • เปนข้นั ที่ผูส อน • เปน ขั้นท่ผี สู อน • เปน ขนั้ ท่ผี ูสอน • เปนข้ันทผี่ สู อน เทคนิคกระตนุ ใหผ ูเรยี นสํารวจ ใหผูเรยี นคนหา ใหผูเรียนนําความรู ประเมนิ มโนทัศน ความสนใจ เพ่ือโยง ปญ หา และศกึ ษา คาํ ตอบ จนเกิดความรู ไปคดิ คน ตอ ๆ ไป ของผเู รยี น เขาสบู ทเรยี น ขอ มลู เชิงประจกั ษ ก สั ลกั วตั ปุ ระส ค สั ลกั วตั ปุ ระส ค เปาหมายการเรยี นรู แสดงเปาหมายการเรยี นรูที่นกั เรยี น ขอ สอบ O-NET ชแี้ นะเนอ้ื หาทเ่ี คยออกขอ สอบ ตอ งบรรลุตามตวั ชว้ี ัด ตลอดจนสมรรถนะ -NE โดยยกตวั อยา งขอ สอบ ทจ่ี ะตอ งมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขนึ้ (เฉพาะ า ัน ที่ อบ O-NET) กับนักเรยี น พรอ มวเิ คราะหค าํ ตอบ ขแอนสวอบNเนTน กาOร-คNดิ ET อยา งละเอยี ด หลักฐานแสดง แสดงรอ งรอยหลักฐานตามภาระงาน ผลการเรียนรู ทคี่ รมู อบหมาย เพอ่ื แสดงผลการเรียนรู (เฉพาะ า นั ที่ อบ NT เปน ตวั อยา งขอ สอบทม่ี งุ เนน เกร็ดแนะครู ตามตวั ชว้ี ดั เพอ่ เตรยี มพรอ ม อบ O-NET) การคดิ และเปน แนวขอ สอบ นักเรียนควรรู แทรกความรเู สริมสําหรับครู ขอ เสนอแนะ N / -NE ในระดบั ประถมศกึ ษา ขอควรระวงั ขอ สังเกต แนวทางการจดั ขอสอบเนน กาNรTคิด มที งั้ ปรนยั - อตั นยั พรอ มเฉลย กจิ กรรมและอน่ื ๆ เพื่อประโยชนใ นการ แนว อยา งละเอยี ด จัดการเรียนการสอน แนวขอ สอบ N ในระดบั ขยายความรเู พิ่มเติมจากเน้ือหา เพือ่ ให (เฉพาะ า นั ท่ี อบ NT) ประถมศกึ ษา มที งั้ ปรนยั - อตั นยั ครูนาํ ไปใชอ ธบิ ายเพมิ่ เติมใหน กั เรียน พรอ มเฉลยอยา งละเอยี ด โดยเนน ไดมคี วามรมู ากขึ้น บรู ณาการเช่ือมสาระ การอา นออกเขยี นไ  บูรณาการ กจิ กรรมเสรมิ สรา งพฤติกรรมและปลูกฝง การค เลข เศรษฐกจิ พอเพยี ง คา นยิ มตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค าม ามารถ า นการค บูรณาการอาเซียน ความรหู รอื กจิ กรรมเสรมิ ใหค รนู าํ ไปใช ละการ หเ หตผล เตรยี มความพรอ มใหก บั นกั เรยี นกอ นเขา สู แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม ประชาคมอาเซยี นใน พ.ศ. 2558 โดย เชอ่ื มกบั สาระหรอื กลมุ สาระ บรู ณาการกบั วชิ าทกี่ าํ ลงั เรยี น การเรยี นรู ระดบั ชนั้ หรอื วชิ าอน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ ง แนะนาํ แหลงคน ควา จากเวบ็ ไซต เพือ่ ให กจิ กรรมสรา งเสรมิ แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม ครูและนกั เรียนไดเ ขาถงึ ขอ มูลความรู กิจกรรมทา ทาย ซอ มเสรมิ สาํ หรบั นกั เรยี นทคี่ วร ไดร บั การพั นาการเรยี นรู มุม IT ท่ีหลากหลาย ท้ังไทยและตางประเทศ แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม ตอ ยอดสาํ หรบั นกั เรยี นทเ่ี รยี นรู ไดอ ยา งรวดเรว็ และตอ งการ ทา ทายความสามารถในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ คมู อครู

5Es การจดกจิ กรรม ามขน อนว จกรการเรยนรู ส3รม ข้ันตอนการสอนท่ีสัมพัน กั ข้ันตอนการคิดและการทางานทางสมองของผู รียนที่นิยมใ อยางแพรหลาย อ วั ักรการเรียนรู ่งผูจัดทา ูมอ รูไดนามาใ  นแนวทางออกแ กิจกรรมการ รียนการสอนในแตละหนวย ตามลาดั ขั้นตอนการ รยี นรู ดงั น้ี ข้ัน 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage) นขนั้ ทผ่ี สู อนนา ขา สู ท รยี น พอ่ กระตนุ วามสนใจของผู รยี นดว ย รอ่ งราวหรอ หตกุ ารณทน่ี า สนใจ ดยใ  ท นิ วิ กี ารสอน และ าถามท ทวน วามรหู รอ ระส การณ ดมิ ของผู รยี น พ่อ อ่ ม ยงผู รยี น ขาสู วามรขู อง ท รียนใหม วยใหผ ู รยี นสามารถ สรุ ระ ดนสา ั ท่ี นหัวขอ และสาระการ รียนรขู อง ท รียนได จง นขั้นตอนการสอนท่สี า ั พราะ นการ ตรยี ม วามพรอ ม และสรา งแรงจงู ใจใ รยี นรแู กผู รียน ขน้ั สาํ รวจคนหา (Explore) นขนั้ ทผ่ี สู อน ด อกาสใหผ ู รยี นลงมอ กษา สงั กต หรอรว มมอกนั สารวจ พอ่ ให หนขอ ขา ยของ หา รวมถงวิ กี าร กษา น วา การรว รวมขอ มลู วามรทู ี่จะนาไ สูการสรา ง วาม ขา ใจ ระ ดน หานน้ั ม่อผู รยี นทา วาม ขา ใจใน ระ ดนหวั ขอ ทีจ่ ะ กษา น วาอยา งถองแทแลว กลงมอ ิ ตั ิ พ่อ ก รว รวมขอ มลู วามรู สารวจตรวจสอ ดยวิ ีการตาง น สมั ภาษณ ทดลอง อา น น วาขอมลู จาก อกสาร แหลงขอมลู ตา ง จนไดข อ มูล วามรูตามทตี่ ง้ั ระ ดน กษาไว ข้นั อธิบายความรู (Explain) นขนั้ ที่ผูสอนมี ิสัมพนั กั ผู รียน น ใหก ารแนะนา ตัง้ าถามกระตนุ ให ิด พ่อใหผ ู รียน น หา าตอ และนาขอมูล วามรูจากการ กษา น วาในข้ันท่ี มาวิ ราะห สรุ ผล และนา สนอผลที่ได กษา น วามาในรู แ สารสน ท ตาง น ขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงม นทั น ขียน วาม รียง ขียนรายงาน นตน ในข้ันตอนนี้ กใหผู รียนใ สมอง ิดวิ ราะหและ สงั ราะหอยาง นระ ข้นั 4 ขยายความเขาใจ (Expand) นขน้ั ทผี่ สู อน ลอกใ  ท นิ วิ ีการสอนตา ง ทีส่ ง สรมิ ใหผ ู รยี นนา วามรูท ี่ กิดข้นไ ิด น ส น ตอ ไ พ่อพั นาทักษะ การ รียนรูและการทางานรวมกัน นกลุม ระดมสมอง พ่อ ิดสรางสรร รวมกัน ผู รียนสามารถนา วามรูท่ีสรางข้นใหมไ ่อม ยง กั ระส การณ ดมิ ดยนาขอ สรุ ทไ่ี ดไ ใ อ ิ าย หตกุ ารณตา ง หรอนาไ ิ ตั ใิ นสถานการณใหม ท่ี กยี่ วขอ งกั วี ติ ระจาวนั ของตน อง พ่อขยาย วามรู วาม ขาใจใหกวางขวางยิ่งข้น ในขั้นตอนน้ี กสมองของผู รียนใหสามารถ ิดริ ร่ิมสรางสรร อยางมี ุณภาพ สรมิ สรางวิสยั ทั นใหก วางไกลออกไ ขั้น ตรวจสอบผล (Evaluate) นขนั้ ทผี่ สู อน ระ มนิ ม นทั นของผู รยี น ดยตรวจสอ จาก วาม ดิ ท่ี ลย่ี นไ และ วาม ดิ รว ยอดท่ี กดิ ขน้ ใหม ตรวจสอ ทักษะ กระ วนการ ิ ัติ การแก หา การตอ าถามรว ยอด และการ ารพ วาม ิดหรอยอมรั หตุผลของ นอ่น พ่อการ สรา งสรร วามรรู ว มกนั ผู รยี นสามารถ ระ มนิ ผลการ รยี นรขู องตน อง พอ่ สรุ ผลวา มี วามรอู ะไร พมิ่ ขน้ มา า ง กดิ วาม ขา ใจ มากนอย พียงใด และจะนา วามรู หลาน้ันไ ระยุกตใ ในการ รียนรู ร่องอ่น ไดอยางไร ผู รียนจะ กิด จต ติและ หน ุณ าของ ตน องจากผลการ รยี นรูท่ี กดิ ข้น ง่ นการ รียนรทู ม่ี ี วามสุขอยางแทจริง การจดั กจิ กรรมการ รียนรตู ามขัน้ ตอนวั จักรการสราง วามรูแ จง นรู แ การ รยี นการสอนที่ นน ผู รยี น นสา ั อยา งแทจ รงิ พราะสง สรมิ ใหผ ู รยี นไดล งมอ ิ ตั ติ ามขนั้ ตอนของกระ วนการสรา ง วามรดู ว ยตน อง และ ก นใหใ กระ วนการ ดิ และกระ วนการกลมุ อยา ง านา กอ ให กดิ ทักษะ วี ิต ทกั ษะการทางานและทักษะการ รยี นรทู มี่ ี ระสทิ ภิ าพ สง ผลตอ การยกระดั ผลสมั ท ขิ องผู รยี น ตาม าหมายของการ ริ ู การ กษาท วรรษท่ี พ ทุก ระการ คมู อครู

คาอ ิบายรายวิ า กลมุ สาระการ รยี นรู สขุ กษาและพล กษา ภา รียนที่ รายวิ า สุข กษาและพล กษา วลา ่ัว มง น้ั ระถม กษา ที่ รหสั วิ า พ ส4รม กษา วิ ราะห อ ิ าย การ จริ ติ ตและพั นาการของรา งกายและจติ ใจตามวยั ใน ว งอายุ วามสา ั ของกลาม น้อ กระดูกและขอท่ีมีผลตอการ จริ ติ ตและพั นาการ การดูแลรักษากลาม น้อ กระดูกและขอใหทางานอยางมี ระสิท ิภาพ ุณลักษณะของ วาม น พ่อนและสมา ิกท่ีดีของ รอ รัว พ ติกรรมท่ี หมาะสม วิ ีการ ิ ส การกระทาท่ี นอันตราย และไม หมาะสมใน ร่อง พ ผลพั นาการ ของตน องในดานการออกกาลังกาย ลน กม และ ลนกี า วามสัมพัน ระหวางสิ่งแวดลอมกั สุขภาพ การจัดสง่ิ แวดลอมท่ถี ูกสุขลกั ษณะและ ออ้ ตอสุขภาพ สภาวะอารมณ และ วามรูสก ผลทีม่ ีตอสุขภาพ ขอมลู น ลากอาหารและผลติ ภณั สขุ ภาพ วามสา ั ของการใ ย าและหลกั การใ ย าอยา งถกู วิ ี วิ ี มพยา าล ผล สยี ของการสู หุ ร่ีและด่มสรุ า ิ ัติ แสดง าพูดหรอทาทาง พ ติกรรมท่ี หมาะสมกั พ ของตนตามวั น รรมไทย วิ ีการ มพยา าล มอ่ ไดร ั อนั ตรายจากการใ ย าผดิ สาร มี แมลงสตั วกดั ตอ ย และการ าด จ จากการ ลน กี า ิ ตั ิกิจกรรม ทดสอ ว มุ การ ล่อนไหวในลักษณะผสมผสานไดท ้งั แ อยกู ั ท่ี แ ล่อนท่ี และแ ใ อุ กรณ ระกอ กาย ริหารมอ ลา ระกอ จังหวะ กม ลน ลียนแ และกิจกรรมแ ผลัด การ ลนกี าพน้ าน ตามก กตกิ าการ ลน สมรรถภาพทางกาย ดยใ ทักษะกระ วนการ ิ ัติ ทักษะการ ล่อนไหวรางกาย กระ วนการ ิดในการส นขอมูล การแก หาและการอภิ ราย พ่อให กิด วามรู วาม ิด วาม ขาใจ สามารถส่อสารส่ิงท่ี รียนรู มี วามสามารถตัดสินใจและ นา วามรไู ระยุกตใ ใน วี ติ ระจาวัน มกี ารพั นาทางดานรา งกาย จติ ใจ อารมณ สัง ม และมีจรยิ รรม ณุ รรม และ านยิ มท่ี หมาะสม ตวั ว้ี ัด พ. พ. พ. พ. พ. พ. รวม ตวั วี้ ัด คมู อครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ˹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×¹é °Ò¹ ÊØ¢È¡Ö ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ ».ô ª¹éÑ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·èÕ ô ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÊØ¢ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈ¡Ö ÉÒ µÒÁËÅ¡Ñ ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢¹éÑ ¾é¹× °Ò¹ ¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõõñ ¼àŒÙ ÃÂÕ ºàÃÂÕ § ¹ÒªªÙ ÒµÔ ÃÍ´¶ÒÇà ¹ÒÂÀÒÊ¡Ã ºÞØ ¹ÂÔ Á ¼ÙµŒ ÃǨ ¹Ò§ÊÁØ ÒÅÕ ¢ÍÁã¨à¾çªÃ ¹Ò§ªÞÒ´Ò ÊØ¢àÊÃÁÔ ¹Ò¾¹Ô ¨Ô ˧ÉÀ ‹Ù ºÃóҸ¡Ô Òà ¹Ò§ÇÃÔÈÃÒ ·ºÑ ¾Ã ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸Ôµì ÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞµÑ Ô ปท ่ีพมิ พ ๒๕๖๖ พิมพค ร้ังที่ ๒๒ จาํ นวนพมิ พ ๓๐,๐๐๐ เลม ISBN : 978-616-203-849-5 ÃËÊÑ ÊÔ¹¤ÒŒ ñôñôððõ ¾ÔÁ¾¤ çéÑ ·èÕ ññ ÃËÑÊÊ¹Ô ¤ŒÒ ñôôôðñó

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate คำ� ชแ้ี จง ในกำรใช้สอื่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ศกึ ษาเกยี่ วกบั เรอ่ื งการเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการของมนษุ ย์ ชวี ติ และครอบครวั การเคลอ่ื นไหว การออกกา� ลงั กาย การเลน่ เกม กฬี าไทย กฬี าสากล การ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพ การปอ้ งกนั โรค และความปลอดภยั ในชวี ติ มเี ปา้ หมาย เพอื่ การดา� รงสขุ ภาพ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชนใหย้ ง่ั ยนื หนงั สอื เรยี น สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔ ฉบบั นี้ ภายในเลม่ นา� เสนอการจดั การเรยี น การสอนเปน็ หนว่ ยการเรยี นรคู้ รบถว้ นตามมาตรฐานตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี และสาระการเรยี นรู้ แกนกลาง โดยเนน้ การออกแบบกจิ กรรมใหส้ มั พนั ธก์ บั ธรรมชาตกิ ารเรยี นรขู้ องแตล่ ะกลมุ่ สาระ และความสนใจของผเู้ รยี นแตล่ ะคน โดยไดป้ รบั แกไ้ ขเนอ้ื หาใหถ้ กู ตอ้ งและสอดคลอ้ ง ตามพระราชบญั ญตั คิ วามเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบญั ญตั กิ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รนุ่ พ.ศ. ๒๕๕๙ และกฎหมายอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ซงึ่ แกไ้ ข ปรบั ปรงุ เนอื้ หาภายใตห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดย ปรบั แกไ้ ขเนอื้ หาในสาระท่ี ๑ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สาระที่ ๒ ชวี ติ และครอบครวั สาระท่ี ๓ การเคลอ่ื นไหว การออกกา� ลงั กาย การเลน่ เกม กฬี าไทย และ กฬี าสากล สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพ และการปอ้ งกนั โรค และสาระ ที่ ๕ ความปลอดภยั ในชวี ติ เฉพาะเรอื่ งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เพศวถิ ี ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ ซงึ่ ไดก้ �าหนดคา� สา� คญั ความหมาย เนอ้ื หา และตวั อยา่ ง ซงึ่ สา� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สา� นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน รว่ มกบั ผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ากหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง และภาคประชาสงั คม ได้จัดท�าข้ึน เพ่ือเป็นกรอบและแนวทางให้ส�านักพิมพ์ใช้ในการปรับแก้หนังสือเรียน ใหถ้ กู ตอ้ งเปน็ ทเี่ ขา้ ใจตรงกนั ทกุ ระดบั ชน้ั ทงั้ น้ี การปรบั ปรงุ หนงั สอื เรยี นดงั กลา่ ว ยงั คงยดึ ถอื รากฐานเดมิ ของสงั คมไทย ไปพรอ้ มกบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คมโลก ซงึ่ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ นกั เรยี น ผปู้ กครอง ครู และทกุ คนในสงั คม ในการรว่ มสรา้ งความเขา้ ใจและยอมรบั การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในศตวรรษท่ี ๒๑ อยา่ งเทา่ เทยี มไปพรอ้ มกนั 

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate เนอ้ื หา ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ คาํ ถามกระตนุ เพ่ือใหผ ูเรียน ใชทักษะการคิด ครบตามหลกั สตู รแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นาํ เสนอ วเิ คราะห ตอ ยอดความรูท ่ีไดในบทเรียน เหมาะสมกบั การเรยี นการสอนในแตล ะระดับชั้น ¡ÅÒŒ Áà¹×éÍËÃ×Í¡Ãд¡Ù ·Õè·íÒãËŒ ¡ÒÃÃÙŒ¨Ñ¡´Ùáŵ¹àͧ กลา มเนอ้ื กระดกู และขอ เปน อวยั วะทส่ี าํ คญั àÃÒà¤Åè×͹äËÇä´Œ¹Ð การสงเสรมิ การเจริญเติบโต ¨Ð·íÒãËŒàÃÒÁÕ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ ในการเคล่ือนไหวรางกาย วัยของนักเรียนเปน และพฒั นาการของรา งกายและจติ ใจ áÅо²Ñ ¹Ò¡Ò÷ÕÊè ÁÇÑ วัยที่มีการเจริญเติบโตทางรางกายและมีทักษะ การเคล่ือนไหวเพิ่มมากข้ึน กลามเนื้อ กระดูก เราควรปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับ และขอ จึงเปนอวัยวะสําคัญที่จะทําใหเกิดการ เจริญเตบิ โตและพฒั นาการที่สมวยั การเจรญิ เติบโต และพฒั นาการตามวัย ๑ กลามเนื้อ โดยปฏิบตั ไิ ด ดังน้ี กลามเนอ้ื เปน อวยั วะสาํ คญั ที่ใชในการเคลื่อนไหว ๑) กนิ อาหารครบ๕หมูในปรมิ าณ ๑.กลา มเน้ือมีหลายประเภทดงั จะไดศึกษาตอ ไปน้ี ประเภทของกลา มเนอ้ื ทเี่ พยี งพอตอ ความตอ งการของรา งกาย กลา มเนื้อ แบง ออกเปน ๓ ประเภท ดังน้ี ๒) ออกกาํ ลงั กายอยา งสมํ่าเสมอ ñ. ¡ÅÒŒ Áà¹×Íé ÅÒ เปน กลา มเนอ้ื ทม่ี ขี นาดใหญท ส่ี ดุ ซงึ่ ยดึ ๓) นอนหลบั พักผอนใหเพียงพอ เดก็ ๆ ควรออกกําลังกายอยา งนอย ติดกบั โครงกระดกู สว นตา งๆ ของรา งกาย ๔) ฝก ทกั ษะการฟง พดู อา น และ สัปดาหละ ๒-๓ ครง้ั จึงทําใหเกิดการเคล่ือนไหว กลามเน้ือ ชนิดนจ้ี ะอยบู รเิ วณแขน ขา คอ ศรี ษะ เขยี นอยา งสมา่ํ เสมอ ò. ¡ÅŒÒÁà¹Íé× ËÑÇ㨠๕) ทาํ การบานและหมัน่ ทบทวน เปน กลา มเนอ้ื ทที่ าํ งานนอกเหนอื อาํ นาจ จิตใจ และมีความแข็งแรงมาก เพราะ บทเรยี น สามารถทํางานไดตลอดเวลา โดยไมมี การหยดุ พกั จนตลอดชวี ติ ของคนเรา ๖) ฝก ควบคุมอารมณของตนเอง ó. ¡ÅŒÒÁà¹Íé× àÃÕº ๗) รบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผอู น่ื เปนกลามเน้ือที่ทํางานโดยอัตโนมัติ เพ่ือทําใหการทํางานของรางกายเปน ๘) หมั่นพูดคุย และทํากิจกรรม การทํากจิ กรรมรว มกัน ทําใหม ีพฒั นาการ ปกติ กลามเน้ือชนิดนี้ เชน กลามเนื้อ รวมกบั เพ่ือนๆ ทางรา งกายและจติ ใจทดี่ ี ของลาํ ไส กลา มเนอ้ื หรู ดู ของทวารหนกั กลา มเนอ้ื ของกระเพาะอาหาร เปน ตน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷèÕ ò สาระสาํ คญั วดั สว นสงู และชัง่ นํ้าหนักของตนเอง แลว นาํ มาเปรียบเทียบกับเกณฑม าตรฐาน แลวบอกวา นักเรียนอยูในเกณฑใ ด ควรเสรมิ สรา งพัฒนาการทางดา นรางกายอยางไร แกนความรูท่ีเปนความเขาใจคงทน ติดตวั ผเู รียน ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ ๙ กจิ กรรมใดทสี่ ง เสรมิ พฒั นาการทางดา นรา งกาย ๗ และจติ ใจที่เหมาะสมกบั วัยของนกั เรยี น ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠มอบหมายใหผเู รยี นฝก ปฏบิ ัติ เพ่อื พัฒนาความรูแ ละทักษะประจาํ หนวย ñหนวยการเรยี นรทู ่ี ñบทที่ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของเรา สาระสาํ คัญ ตวั เรา คนทกุ คนมกี ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ ตลอดเวลา ดงั นัน้ เราจึงควรดูแลตนเองใหมี ÇÂÑ ¢Í§¹Ñ¡àÃÂÕ ¹ การเจริญเติบโตและพฒั นาการทส่ี มวัย ¤ÇÃã¡ÅàŒ ¤ÂÕ §¡ºÑ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹íÒÊ¡‹Ù ÒÃàÃÂÕ ¹ à´ç¡¤¹ã´ã¹ÀÒ¾¹éÕ áÅÐᵡµ‹Ò§¨Ò¡ ๑๒ ๓๔ ๕ à´ç¡¤¹Í×è¹ÍÂÒ‹ §äà ๑เปา หมายการเรยี นรูป ระจําหนวยท่ี ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹·ÃÒº ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊ¡Ù‹ ÒÃàÃÂÕ ¹ ËÃÍ× äÁÇ‹ Ò‹ ¤¹ã¹ÀÒ¾ เมอื่ เรยี นจบหนว ยน้ี ผเู รยี นจะมคี วามรคู วามสามารถตอ ไปน้ี ÍÂã‹Ù ¹ÇÂÑ ã´ºŒÒ§ áÅÐ นาํ เขา สบู ทเรยี นใชก ระตนุ ความสนใจ ๑. อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของรา งกาย ᵋÅÐÇÂÑ ¤ÇÃÁÅÕ ¡Ñ ɳÐÍÂÒ‹ §äà และวัดประเมินผลกอนเรยี น และจิตใจตามวยั (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๑) ๒. อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอ ท่ีมีผลตอสุขภาพ การเจริญเตบิ โต และพฒั นาการ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๒) ๓. อธบิ ายวิธดี แู ลกลามเน้อื กระดูกและขอ ใหท ํางานอยางมปี ระสิทธภิ าพ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๓) เปา หมายการเรยี นรู กาํ หนดระดับความรูความสามารถ ของผเู รียนเมือ่ เรียนจบหนวย

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ๑ห น่ ว ย สารบญั การเรียนรทู้ ่ี ตัวเรา ๑ บทที่ ๑ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของเรา ๒ บทที่ ๒ กลา้ มเนอ้ื และกระดูก ๘ ๒ห น่ ว ย ๑๗ การเรียนรู้ท ี่ ครอบครวั และเพอื่ น ๑๘ ๒๒ บทท ่ี ๑ คนดที ท่ี ุกคนรัก บทท ่ี ๒ พฤตกิ รรมทางเพศ ๒๗ ๓ห น่ ว ย ๒๘ ๓๕ การเรียนรู้ท ี่ ดูแลสุขภาพ ๔๐ บทท ี่ ๑ ส่ิงแวดล้อมรอบตวั ๕๑ บทท ี่ ๒ อารมณ์กับสขุ ภาพ บทที ่ ๓ อาหารและผลิตภณั ฑ์สุขภาพ ๕๒ ๕๗ ๔ห น่ ว ย ๖๖ การเรียนรู้ที่ ชวี ิตปลอดภยั ๗๓ บทท ี่ ๑ การใชย้ า ๗๔ บทท ี่ ๒ การปฐมพยาบาล ๘๒ บทท ี่ ๓ โทษของบุหรแี่ ละสรุ า ๘๙ ๕ห น่ ว ย ๙๘ การเรยี นรู้ท ่ี พัฒนาการเคล่อื นไหว ๙๙ ๑๐๙ บทท่ี ๑ เคล่อื นไหวให้สมั พนั ธ ์ ๑๑๘ บทท่ ี ๒ จังหวะเพลนิ ใจ ๑๒๕ บทท ่ี ๓ เกมหรรษา พิเศ๑๑๑๑ษ๓๓๓๓๗๗๘๑๖ ๖ห น่ ว ย การเรยี นรทู้ ่ี กฬี าเป็นยาวิเศษ บทท ่ี ๑ แฮนด์บอล บทท ่ี ๒ แชรบ์ อล บทท ่ี ๓ หว่ งข้ามตาขา่ ย บทท่ ี ๔ สมรรถภาพทางกาย โครงงานสุขศึกษา กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมบูรณาการจิตอาสา บรรณานุกรม ภาคผนวก

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate ñหนวยการเรียนรูท่ี Engage Expand Engage กระตนุ ความสนใจ ตัวเรา ครูถามคําถาม แลวใหน ักเรียนแสดงความ คดิ เหน็ อยา งอสิ ระ ÇÂÑ ¢Í§¹Ñ¡àÃÂÕ ¹ ¤ÇÃã¡ÅàŒ ¤Õ§¡Ñº • นักเรียนมีวัยใกลเคียงกับเด็กๆ ในภาพ à´¡ç ¤¹ã´ã¹ÀÒ¾¹Õé หรือไม áÅÐᵡµ‹Ò§¨Ò¡ (แนวตอบ คาํ ตอบขน้ึ อยกู บั นกั เรยี นแตล ะคน) à´ç¡¤¹Í×è¹Í‹ҧäà • นกั เรียนคดิ วา ปจจยั ใดบา งท่ีทาํ ใหคนเรา เจริญเตบิ โต (แนวตอบ คนเราเจรญิ เตบิ โต เพราะมีการ เปลยี่ นแปลงทางรางกาย โดยมีปจ จัยท่ีทํา ใหเกิดการเจรญิ เตบิ โตทีส่ มวัย คือ อาหาร การออกกาํ ลังกาย และการพักผอน) • นกั เรยี นคดิ วา ในวัยของตนเองมีการเจริญ เตบิ โตอยางไรบาง (แนวตอบ ในวัยของฉนั จะเปน วัยที่รา งกาย มกี ารเจรญิ เตบิ โต โดยสงั เกตไดง า ยๆ คอื รา งกายมสี ว นสงู และนา้ํ หนกั เพมิ่ ขนึ้ มกี าร เคลอ่ื นไหวของรา งกายไดค ลอ งแคลว มากขนึ้ เน่อื งจากกลามเนอื้ ทกุ ๆ สว นของรางกายมี พฒั นาการที่ดขี น้ึ ) ๑เปาหมายการเรยี นรูประจําหนว ยท่ี เมอ่ื เรยี นจบหนว ยน้ี ผเู รยี นจะมคี วามรคู วามสามารถตอ ไปนี้ ๑. อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกาย และจติ ใจตามวัย (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๑) ๒. อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอ ทม่ี ผี ลตอ สขุ ภาพ การเจรญิ เติบโต และพัฒนาการ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๒) ๓. อธิบายวิธดี ูแลกลา มเนอื้ กระดูกและขอ ใหทาํ งานอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๓) เกรด็ แนะครู ครูอาจสนทนากบั นกั เรียนเพิม่ เตมิ เพือ่ เกรนิ่ นําเขาสบู ทเรียน โดยครถู าม นกั เรียนเก่ียวกับพฒั นาการตา งๆ ของนักเรียน ตง้ั แตจาํ ความไดจ นถึงปจจบุ นั เชน นักเรยี นจําตอนเปน ทารกไดหรอื ไม นกั เรยี นเร่มิ พูดหรอื เดินไดเ มื่อใด ตอนเปนทารกนกั เรยี นมีฟนกซี่ ี่ และปจจบุ นั มฟี นก่ีซ่ี เปนตน คูมอื ครู 1

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปาหมายการเรยี นรู อธิบายการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของ ñบทที่ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของเรา รา งกายและจิตใจตามวยั (พ 1.1 ป.4/1) สาระสําคัญ คนทกุ คนมกี ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ สมรรถนะของผเู รียน ตลอดเวลา ดงั นนั้ เราจึงควรดูแลตนเองใหม ี การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการทสี่ มวยั 1. ความสามารถในการส่อื สาร ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí Ê‹¡Ù ÒÃàÃÕ¹ 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป ญ หา คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ๑๒ ๓๔๕ 1. มวี ินยั รบั ผิดชอบ 2. ใฝเ รียนรู 3. มงุ ม่ันในการทาํ งาน กระตนุ ความสนใจ Engage ใหนกั เรียนดูภาพ หนา 2 แลวตอบคาํ ถาม ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹·ÃÒº • นักเรยี นทราบหรอื ไมว า คนในภาพอยูใน ËÃÍ× äÁ‹Ç‹Ò¤¹ã¹ÀÒ¾ Í‹ãÙ ¹ÇÂÑ ã´ºŒÒ§ áÅÐ วัยใดบา ง ᵋÅÐÇÂÑ ¤ÇÃÁÅÕ Ñ¡É³ÐÍÂÒ‹ §äà (ตอบ ภาพที่ 1 วยั เรียน ภาพที่ 2 วยั ชรา ภาพท่ี 3 วยั แรกเกดิ ภาพท่ี 4 วัยผใู หญ ภาพท่ี 5 วัยรุน) • นักเรยี นคดิ วา คนในแตล ะชว งวัยนนั้ มีความแตกตางกันหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ ตา งกัน เพราะรา งกายของเรา เม่อื มีการเจริญเตบิ โตขึน้ ขนาดของรางกาย จะมีการเปลี่ยนแปลงแตกตา งกนั ไป) เกรด็ แนะครู ครูจดั กระบวนการเรยี นรโู ดยการใหน ักเรียนปฏิบัติ ดังน้ี • สงั เกตการเจรญิ เตบิ โตของตนเองและผอู ่นื • สบื คนขอมูลเก่ียวกับการเจรญิ เตบิ โต • เปรยี บเทียบขอมลู การเจรญิ เติบโตของตนเองและผูอื่น • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพ จนเกิดเปน ความรคู วามเขาใจวา ทกุ คนมีการเจริญเติบโต โดยลกั ษณะการ เจรญิ เตบิ โตของคนเรา จาํ แนกไดตามชว งวยั และแตล ะชว งวัยจะมพี ฒั นาการที่ เหมาะสมกับวยั ของตนเอง 2 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explain Expand Evaluate Explore Explore สาํ รวจคน หา ¹¡Ñ àÃÕ¹ʹ·¹Ò ทุกคนมีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการ ¡Ñºà¾×è͹æ ÊÇÔ ‹Ò ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹ÁÕ 1. ใหนกั เรียนดภู าพ หนา 3 แลว บอกวา อยางตอเนื่องต้ังแตระยะถือกําเนิดเกิดในครรภ ¡ÒÃà»ÅèÂÕ ¹á»Å§ÍÂÒ‹ §äúҌ § ภาพน้สี อื่ ถึงอะไร ของมารดา แลวคลอดออกมาเปนเด็กแรกเกิด โดยรางกายจะมีขนาดรูปรางพัฒนาข้ึนตามวัย àÁ×èÍà·Õº¡Ñº»‚·Õ¼è ‹Ò¹ÁÒ 2. ใหน กั เรียนสํารวจตนเองวา นักเรยี นอยใู น และอวัยวะตา งๆ ทําหนาทีไ่ ดซ บั ซอนมากยงิ่ ข้ึน ชว งวัยใด โดยดจู ากภาพ áÃ¡à¡´Ô ระยะทท่ี ารก 1 3. ครูนําสอ่ื การเรียนรูบัตรคาํ ทแ่ี บงเปนขอ ความ 2 สว น คอื ขอ ความที่บง บอกถึงพฒั นาการ คลอดจากครรภ ทางดา นรางกาย และพฒั นาการทางดา น มารดาจนถงึ ๓ ป จติ ใจ สว นละ 5 คํา เชน สวนสงู เพมิ่ ขึน้ ·Òá นา้ํ หนักเพมิ่ ขน้ึ เคล่ือนไหวคลองแคลว 㹤ÃÃÀ ระยะตัง้ แตปฏสิ นธิ ÇÂÑ à´ç¡ อารมณเ ปลี่ยนแปลงงาย ชอบการยกยอง ¢Í§ÁÒÃ´Ò ตัวออนฝง อยใู นครรภของ µÍ¹µ¹Œ เปน ตน จากนนั้ ครูสมุ นักเรียน 4 คน เพือ่ (»°ÁÇÂÑ ) มาทาํ กจิ กรรม โดยใหน กั เรยี น 2 คน เลือก มารดา ๙-๑๐ เดือน บัตรคาํ ท่บี ง บอกถงึ พัฒนาการทางดานรา งกาย และอกี 2 คน เลือกบัตรคาํ ที่บงบอกถงึ ระยะตั้งแตอายุ พฒั นาการทางดานจติ ใจ แลวนาํ มาตดิ ไว ๓ ป ถึงอายุ ๖ ป บนกระดานดาํ ÇÑÂÃع‹ 4. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรปุ ความรูทีไ่ ดจ าก ระยะตัง้ แตอายุ กิจกรรม ๑๒ ป ถงึ อายุ ๒๐ ป ÇÂÑ àÃÂÕ ¹ ระยะตงั้ แตอายุ ๖ ป ถึงอายุ ๑๒ ป ÇÂÑ ¼ŒãÙ ËÞ‹ ระยะตง้ั แตอ ายุ ÇÂÑ ªÃÒ ๒๐ ป ถึงอายุ ๖๐ ป ระยะต้งั แต อายุ ๖๐ ป ขนึ้ ไป ๓ ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT เกร็ดแนะครู ฝนกําลังศึกษาอยูใ นชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ฝนอยูใ นวัยใด และควรมี ครูสอบถามนักเรียนเพ่มิ เตมิ วา สมาชิกในครอบครวั ของนักเรียนมใี ครบาง ลักษณะรูปรา งอยา งไร และแตละคนอยใู นวยั ใด โดยเปรยี บเทียบกับภาพ หนา 3 แนวตอบ ฝนควรจะมอี ายปุ ระมาณ 14 - 15 ป ซง่ึ ผทู ีม่ อี ายุ 14 - 15 ป จัดอยใู นวยั รนุ ฝนควรมลี ักษณะรปู ราง เชน หนาอกขยาย สะโพกผาย นักเรียนควรรู มปี ระจาํ เดือน มขี นข้นึ ที่อวยั วะเพศ เปน ตน 1 ครรภ การต้ังครรภจะเรมิ่ หลงั การปฏิสนธิ ซ่งึ เกิดจากการทไี่ ขและอสจุ ผิ สมกัน บูรณาการเชอื่ มสาระ ในสภาวะและชวงเวลาทเี่ หมาะสม แลวไดต วั ออ นเกิดขนึ้ หลังการปฏสิ นธิ ตัวออ น จะไปฝง ตวั ที่เยอื่ บุโพรงมดลูก แลว คอ ยๆ เจรญิ เตบิ โตขึน้ จนกลายเปน ทารก ครบู ูรณาการความรใู นสาระสขุ ศกึ ษาฯ กบั สาระศลิ ปะ วชิ าทัศนศิลป การตัง้ ครรภปกตจิ ะมอี ายคุ รรภป ระมาณ 40 สัปดาห หรือ 280 วัน โดยนับจาก เร่อื ง การวาดภาพตามจนิ ตนาการ โดยใหนกั เรยี นวาดภาพการเจรญิ วันแรกของการมีประจําเดือนครั้งลา สุด เติบโตของนกั เรียนในอีก 20 ป ขางหนา ตามจนิ ตนาการวาจะมพี ัฒนาการ เปลยี่ นไปอยางไร พรอมทง้ั เขยี นขอความใตภาพ แลวระบายสีใหสวยงาม คูมอื ครู 3 เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกยี่ วกบั การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของตนเอง

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เติมใหน กั เรียนเขา ใจเรอื่ ง ๑ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการทางดา น การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทางดา น รา งกายและจติ ใจ เพ่อื ใหเ ห็นลักษณะของการ รา งกาย (ชว งอายุ ๙-๑๒ ป) เจริญเตบิ โตแตละชว งวยั และพัฒนาการใน ดานตาง ๆ วาแตกตา งกันอยา งไร เชน ในวัยของนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในช้ันประถมศึกษาปท่ี ๔ ซ่ึงจัดอยูใน • พฒั นาการทางดานรา งกาย สามารถมอง วัยเรียนน้ัน จะพบวามีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเกิดขึ้นในหลายๆ ดาน เห็นไดอยา งชดั เจน ท่ีสงั เกตเห็นไดชัด คือ เม่อื เปรยี บเทียบกับปท่ีผานมา นํ้าหนักและสวนสูงท่ีเปลย่ี นแปลงไป • พัฒนาการทางดา นจติ ใจ เราไมส ามารถ 150 มองเห็นได เน่ืองจากเปนความรสู กึ ของ 140 แตละคนท่ีอยูขางในจติ ใจ เชน อารมณ เปน ตน 130 2. ครูถามนกั เรยี นวา 120 • นกั เรียนจะมีพฒั นาการทสี่ มวยั ไดอยา งไร (แนวตอบ กนิ อาหารใหค รบ 5 หมู เพือ่ ให 110 รางกายไดสารอาหารตามตองการ ออกกําลังกายอยา งสม่าํ เสมอ Á¹Õ Òíé ˹¡Ñ áÅÐÊÇ‹ ¹Ê§Ù à¾ÁèÔ ¢¹Öé ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ Á·Õ ¡Ñ ÉСÒÃà¤ÅÍè× ¹äËǤÅÍ‹ §á¤ÅÇ‹ นอนหลบั พักผอนใหเพียงพอ áÅоѲ¹Ò¡Òà ทาํ จติ ใจใหร า เริงแจมใส) ·Ò§´ŒÒ¹Ã‹Ò§¡Ò (ª‹Ç§ÍÒÂØ ù-ñò »)‚ ãªÍŒ ÇÂÑ ÇТͧÃÒ‹ §¡Ò¤Ǻ¤ÁØ Ê§èÔ ¢Í§ä´´Œ Õ 80 70 ๔ 60 50 40 ¡ÒûÃÐÊÒ¹ÃÐËÇÒ‹ §ÁÍ× áÅÐÊÒµҴ¢Õ ¹Öé เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT บคุ คลใดมีพฒั นาการทางดานรางกายท่ีสมวัย ครูทบทวนเกณฑอ า งองิ การเจริญเติบโตของเด็กในชวงอายุ 9 - 12 ป ดงั น้ี 1. จอยมอี ารมณเปล่ยี นแปลงงา ย 2. ตุกวิ่งและเดนิ ไดอยา งคลอ งแคลว อายุ (ป) เพศชาย เพศหญงิ 3. กอยรสู ึกดใี จเมือ่ มีคนอ่ืนชมเชย 4. บาสเขาใจความรูสกึ ของเพอ่ื น น้ําหนกั (กก.) สวนสูง (ซม.) นํ้าหนัก (กก.) สวนสูง (ซม.) วเิ คราะหค ําตอบ ขอ 1, 3, และ 4 เปน พฒั นาการทางดา นจิตใจ ทไ่ี มส ามารถมองเห็นไดอ ยางชัดเจน สวนการเดนิ และวง่ิ อยางคลอ งแคลว 9 21.8 - 35.8 122.8 -139.3 21.5 - 36.8 123.0 -140.4 เปน ความสามารถของกลา มเนือ้ ท่ีทาํ ไดด ีข้ึนเม่อื เราเจรญิ เตบิ โตขนึ้ 10 23.8 - 40.6 127.1 -145.2 24.0 - 43.4 129.0 -148.4 ดงั น้นั ขอ 2. เปน คาํ ตอบทถ่ี กู 11 26.1 - 46.4 132.0 -152.3 27.4 - 50.3 135.7 -155.5 12 29.4 - 53.9 138.3-161.1 31.4 - 55.6 141.8 -160.4 (อา งองิ จาก สาํ นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข 2564) 4 คมู อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ñ 1. ใหน กั เรียนทํากิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 1 หนา 5 โดยใหน ักเรยี นสาํ รวจการเจริญเตบิ โต ๑ สํารวจการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดานรางกายของตนเอง โดยชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง และพัฒนาการดานรางกายของตนเอง โดย และปฏบิ ัติกิจกรรมตามท่กี าํ หนด แลวบนั ทึกผล ชัง่ นํ้าหนัก วดั สวนสูง แลวปฏิบตั ติ ามกิจกรรม ทก่ี ําหนดและบนั ทกึ ผลลงในสมดุ แบบบนั ทกึ 2. ใหน ักเรยี นทํากิจกรรมการเรียนรทู ี่ 1 ขอ 2 การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการทางดา นรา งกาย เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและพฒั นาการ ของ ด.ช./ด.ญ. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ทางดานรางกายของตนเอง ในปจจุบนั และ บันทึกเม่อื วนั ที่ ………………………………. เดือน …………………………………………………. พ.ศ. …………………… ตอนอยูช ั้น ป.1 วา มคี วามแตกตางกัน นํ้าหนัก …………………………………… กิโลกรมั สว นสงู …………………………………….. เซนตเิ มตร อยา งไร แลวบันทึกผลลงในสมุด กจิ กรรม ผลการปฏิบัติ 3. ใหน ักเรยี นสรปุ ผลการทาํ กิจกรรมและ ทาํ ไดด ี ทาํ ไดพอใช ทําไมได เปรยี บเทยี บตนเองกบั เพ่อื นๆ วา การทาํ ๑. ยนื ขาเดียวทรงตวั ประมาณ ๑๕ วินาที แตละกิจกรรม ผลเปน อยา งไร และทําไม ๒. รบั ลกู บอลมอื เดียว ตัวอยางแบบบันทึกการเจรญิ เตบิ โต…………………………… ………………………….. ………………………….. ถงึ เปนเชน น้ัน ๓. เขยี นหนงั สือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั นาการทางดา นรา งกาย…………………………… …………………………… …………………………… 4. ครูขยายความเขาใจวา วัยของนักเรยี น และครึ่งบรรทัด …………………………… …………………………… ………………………….. เปน วัยที่มีพัฒนาการทางรางกายในการ ๔. วาดรูปทรงกระบอก เคล่อื นไหว ใชอวัยวะควบคุมส่งิ ของไดดี ๕. วาดรปู ทรงสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก และพฒั…………………………… …………………………… …………………………… และมกี ารทํางานประสานกันของอวัยวะ ไดด ี แตบางคนอาจทํากจิ กรรมไมได เพราะมี …………………………… ………………………….. …………………………… พัฒนาการทไี่ มสมวยั จากผลการสาํ รวจ นักเรยี นคิดวา ตนเองมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการดานรา งกายอยูใน เกณฑใ ด ดี พอใช ควรปรบั ปรุง ๒ จากการสาํ รวจการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการทางดา นรางกายของตนเอง เม่ือนาํ ไป เปรียบเทียบกบั ชวงวัยเมอื่ นักเรียนอยชู ั้น ป.๑ มีความแตกตางกนั อยา งไร ๕ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT เกร็ดแนะครู ถานักเรยี นยืนขาเดียวทรงตัวประมาณ 15 วนิ าที ไมได แตเ พอ่ื นๆ หลังจากทีน่ ักเรยี นทาํ กจิ กรรมการเรยี นรทู ่ี 1 ขอ 1 เสรจ็ แลว ครูใหน กั เรยี น ทําได จะแปลความหมายไดวาอยางไร สาํ รวจตนเองวา มีพฒั นาการทางดานรางกายท่สี มควรปรบั ปรุงในเร่ืองใดบา ง แนวตอบ นักเรยี นมพี ัฒนาการทางรา งกายทไี่ มส มวยั เพราะการยนื แลวใหน กั เรียนหาวธิ ปี รับปรุงแกไขขอบกพรอ งของตนเอง จากนนั้ ครแู นะนําให ขาเดียวทรงตวั เปนพัฒนาการที่เดก็ ในวยั ของนักเรียนควรทําได ดงั นั้น นักเรียนนาํ ไปปฏิบัตจิ รงิ ในชวี ิตประจาํ วัน นักเรยี นจึงควรสรา งเสริมพฒั นาการของตนเอง ดว ยการฝก ยนื ทรงตัว เฉลย กิจกรรมการเรยี นรูที่ 1 จนสามารถทําได ขอ 2. แนวตอบ เมอื่ เปรยี บเทียบตอนปจ จบุ นั กับตอนอยชู ้ัน ป.1 นักเรยี นตอน ปจจบุ ันจะมพี ฒั นาการทางดา นรา งกายท่เี ปล่ียนไป คือ มีนํา้ หนกั และสวนสูง บูรณาการเชื่อมสาระ เพิม่ ขน้ึ อยา งรวดเร็ว และมีการเคลอื่ นไหวคลอ งแคลว ข้ึน สามารถใชอ วยั วะ ควบคมุ ส่งิ ตางๆ ไดดขี ้นึ ครูบรู ณาการความรูใ นสาระสุขศึกษาฯ กับสาระภาษาไทย เรอื่ ง การคดั ลายมือ โดยใหนักเรียนคดั ลายมือในวชิ าภาษาไทย แลวนาํ ผลการคัด คมู ือครู 5 มาตรวจสอบวา นักเรียนสามารถคัดไดถกู ตอง สวยงาม หรอื ไม แลวนาํ ไป เปรียบเทียบกับการคัดลายมือของตนเอง เมอ่ื เรยี นอยชู ั้น ป.3 เพ่อื ตรวจสอบ พฒั นาการการเจริญเตบิ โตของตนเอง

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ครูถามนกั เรยี นวา ๒ พฒั นาการทางดานจิตใจ (ชวงอายุ ๙-๑๒ ป) • เมือ่ นักเรยี นมีอารมณโ กรธ ควรทําอยางไร (แนวตอบ ควรควบคมุ อารมณ และทาํ ในชว งแรกของวยั กจิ กรรมอน่ื ๆ ท่ีตนเองช่ืนชอบ จะยึดตนเองเปนหลกั เพอื่ ผอ นคลายอารมณ) อารมณ เมอื่ อายุ ๑๐ - ๑๑ ป 2. ใหนกั เรยี นทํากิจกรรมรวบยอดท่ี 1.1 จาก เปล่ียนแปลงงาย จะเร่ิมควบคมุ อารมณ แบบวดั ฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.4 ไดดีข้ึน ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝกฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมนิ ตัวช�ว้ ดั พ 1.1 ป.4/1 แบบประเมนิ ผลการเรียนรตู ามตวั ชว้ี ัด ประจาํ หนว ยที่ ๑ บทท่ี ๑ เขาใจความรสู กึ การไดรับการยกยอ ง ของคนรอบขาง ชมเชยมีผลตอการ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑ ไดห ลากหลายขนึ้ ÇÑÂàÃÂÕ ¹ ปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม แบบประเมินตัวชว้ี ัด พ ๑.๑ ป.๔/๑ • อธบิ ายการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของรางกายและจติ ใจตามวยั ชุดที่ ๑ ๕ คะแนน ตดิ รปู ภาพของตนเองในปจจุบนั แลว บอกพัฒนาการทีเ่ ปล่ยี นไป เม่อื เทียบกับชว งอายุ ๖ - ๗ ป ยอมรบั กฎเกณฑ มีเหตผุ ล (ตวั อยาง) แตมคี วามขดั แยงระหวา ง รูจกั พิจารณาส่งิ ตางๆ พฒั นาการทเี่ ปลี่ยนไป มีดงั น้ี ดวยความเปน ธรรม ดานรา งกาย …-…น……าํ้ …ห…น…ัก……ส……วน……ส…ูง…เพ……่ิม…ข้ึน….. ขอตกลงของกลมุ …-…เ…ร…่มิ …ม…ีห…น…า …อ…ก………ต…ะโ…พ…ก……ผ…าย…………………………… กับกฎของผใู หญ มากขนึ้ เฉฉบลบั ย (ตดิ รูปภาพ) …-…เ…ค…ล…อ่ื …น…ไ…ห…ว…ไ…ด…ค…ล…อ…ง…แ…ค…ล……ว ข…น้ึ ……………………… ……………………………………………………………………………… ดา นจติ ใจ ………-……อ…า…ร…ม…ณ…เ…ป…ล…ยี่ …น…แ…ป…ล…ง…ง…า…ย… …-…ต…อ…ง…ก…า…ร…เ…ป…น …ท…ยี่…อ…ม……ร…บั …ข…อ…ง…เพ…ื่อ…น………………… ……………………………………………………………………………… นิยมคนเกง คนดงั ……………………………………………………………………………… ตัวชวี้ ัด พ ๑.๑ ขอ ๑ õไดคะแนน คะแนนเตม็ เกณฑประเมินชน้ิ งาน ๒.๕ คะแนน ¤ÇÒÁÃÙ¤Œ ÙÊ‹ Ø¢ÀÒ¾ ๒ คะแนน ดา นรา งกาย (๒.๕ คะแนน) ดานจิตใจ (๒.๕ คะแนน) ๑.๕ คะแนน คือ พนั ธุกปรรจมจ1ัยแทล่ีมะีคสง่ิวแามวดสลําอคมัญตโดอยกพานัรเธจุกรริญรมเตจิบะเโปตนแตลวัะกพาํัฒหนนาดกลากั รษขณองะรรปูางรกา งาหยแนลา ตะจาแิตลใจะ • อธิบายการเปลีย่ นแปลงไดถกู ตองสมบรู ณ ๑ คะแนน พฒั นาการของเรา สว นสิ่งแวดลอ ม คอื อาหาร การพักผอ น การออกกาํ ลังกาย จะทําให • อธิบายการเปล่ียนแปลงไดถ กู ตอง แตไมสมบูรณ เรามีการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการทสี่ มวยั • อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงไดถูกตอง แตมีผิดบา ง • อธิบายการเปล่ยี นแปลงไดถกู ตอ งนอย ผดิ มาก ๖ ๒ นกั เรียนควรรู ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT ขอ ใดเปนสาเหตสุ ําคัญท่ที าํ ใหเดก็ มีอาการซมึ เศรา 1 พนั ธุกรรม คอื การถายทอดลักษณะตา งๆ ของส่ิงมีชีวติ จากรนุ หน่ึงไปสูอีก 1. ปูย าเปน ผูเลี้ยงเด็กเอง รนุ หน่งึ เชน คนรนุ พอ แมส ามารถถายทอดลักษณะตางๆ เชน สีผิว สีผม ความสูง 2. พอแมทะเลาะกันเสมอ ลงไปสูรุน ลกู รนุ หลานของตนได โดยในการถายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมระหวาง 3. พอแมทาํ งานนอกบาน รนุ หน่งึ สอู กี รนุ หนึ่ง จะมีหนว ยพนั ธุกรรมท่เี รยี กวา ยนี (Gene) ทาํ หนา ท่ีควบคุม 4. พอแมม ฐี านะยากจน ลกั ษณะตา งๆ ทไ่ี ดร ับการถา ยทอดมา ซึง่ ลักษณะทางพันธกุ รรมที่ไดร ับมาน้นั วิเคราะหคําตอบ หากปรากฎใหเ ห็นลักษณะดงั กลา วจะเรยี กวา ยนี เดน หรอื ลกั ษณะเดน และหาก 1. เดก็ มผี ูใหญท ่ีคอยอบรมเลยี้ งดูเปนอยางดี จึงไมขาดความอบอุน ลกั ษณะทางพันธุกรรมท่ไี ดรับมาไมไดป รากฏใหเ หน็ ลกั ษณะดงั กลา วจะเรียกวา 2. เด็กไมไดรบั ความอบอนุ จากพอ แมและเกดิ ความเครียด และทกุ ขใ จจาก ยีนดอ ย หรอื ลักษณะดอย การท่เี หน็ พอแมท ะเลาะกัน 3. พอแมม ีภาระงานทีต่ องทาํ เปน ปกติ เพอื่ หาเงินมาเลีย้ งดูลูก ลกู จึงควร 6 คมู อื ครู เขา ใจพอ แม 4. ถา พอ แมยากจน แตม คี วามเอาใจใสด ูแลลกู ก็จะทําใหลกู ไมมปี ญหา ทางดานจิตใจ ดังนน้ั ขอ 2. เปนคาํ ตอบท่ถี ูก

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ขยายความเขา ใจ Expand ¡ÒÃèٌ ¡Ñ ´Ùáŵ¹àͧ 1. ใหนกั เรียนทาํ กจิ กรรมการเรยี นรูท่ี 2 โดยการ การสง เสริมการเจริญเติบโต ¨Ð·íÒãËŒàÃÒÁÕ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµºÔ âµ เปรยี บเทียบน้าํ หนกั และสวนสงู ของตนเองกับ และพฒั นาการของรา งกายและจิตใจ áÅоѲ¹Ò¡Ò÷èÕÊÁÇÂÑ เกณฑมาตรฐาน แลวบอกวา นกั เรยี นอยใู น เกณฑใด และควรเสริมสรางพฒั นาการทาง เราควรปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับ ดานรางกายอยางไร การเจริญเติบโต และพฒั นาการตามวัย 2. ใหน กั เรียนรวมกนั ตอบคําถามขยายความรู สูการคดิ โดยปฏบิ ัติได ดังนี้ ทเ่ี พยี ๑งพ) อกตนิ อ อคาวหาามรคตรอ บงก๕าหรขมอูในงรปา รงมิ กาาณย1 ตรวจสอบผล Evaluate ๒) ออกกาํ ลังกายอยา งสม่ําเสมอ 1. ครตู รวจสอบการเปรียบเทยี บการเจริญเตบิ โต ของนกั เรียนวา นักเรยี นบอกความแตกตา งได ๓) นอนหลบั พักผอนใหเ พียงพอ เดก็ ๆ ควรออกกําลังกายอยา งนอ ย ถกู ตองหรอื ไม ๔) ฝก ทกั ษะการฟง พดู อา น และ สปั ดาหละ ๒-๓ คร้ัง 2. ครตู รวจสอบผลการทาํ กิจกรรมรวบยอดท่ี 1.1 เขยี นอยางสม่ําเสมอ จากแบบวัดฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.4 ๕) ทาํ การบานและหม่นั ทบทวน หลกั ฐานแสดงผลการเรยี นรู บทเรียน • ผลการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและ พฒั นาการของตนเองในปจ จุบนั กบั ชวงวยั ๖) ฝกควบคุมอารมณข องตนเอง ที่ผานมา ๗) รบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผอู น่ื ๘) หม่ันพูดคุย และทํากิจกรรม การทํากิจกรรมรวมกนั ทําใหม ีพฒั นาการ รวมกับเพอื่ นๆ ทางรา งกายและจิตใจที่ดี ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ·Õè ò วดั สว นสูงและชงั่ นํ้าหนักของตนเอง แลวนาํ มาเปรียบเทียบกบั เกณฑมาตรฐาน แลวบอกวา นักเรียนอยูในเกณฑใด ควรเสริมสรา งพัฒนาการทางดา นรางกายอยา งไร ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ Òä´Ô กจิ กรรมใดทส่ี ง เสรมิ พฒั นาการทางดา นรา งกาย ๗ และจิตใจท่ีเหมาะสมกับวัยของนกั เรียน กจิ กรรมสรา งเสรมิ นักเรียนควรรู ใหนักเรยี นชั่งน้าํ หนักและวัดสวนสูงทุกเดอื น และจดบันทึกผล เพื่อดู 1 กนิ อาหารครบ 5 หมู ในปรมิ าณทีเ่ พยี งพอตอความตอ งการของรางกาย ในวยั การเจรญิ เติบโตของตนเอง ของนกั เรยี นทง้ั เพศชายและเพศหญงิ ตอ งการพลงั งาน 1,600 กโิ ลแคลอรใี นแตล ะวนั ดังนั้นการกนิ อาหารใหครบ 5 หมู ในปริมาณทเี่ หมาะสม จงึ ควรกินอาหารตาม กจิ กรรมทาทาย ขอ แนะนาํ ของธงโภชนาการ ดงั น้ี ใหนกั เรยี นชัง่ นาํ้ หนักและวดั สวนสงู ของตนเองทกุ เดอื น แลว จดั ทาํ เปน • อาหารกลมุ ขาว แปง ควรกินวนั ละ 8 ทพั พี ขอมูลในรปู กราฟ หรอื แผนภูมิ เพอื่ ดูการเจริญเตบิ โตของตนเอง จากนนั้ ให • อาหารกลุม ผัก ควรกินวนั ละ 4 ทัพพี นักเรยี นพจิ ารณาวา ตนเองอว นหรือผอมไปหรอื ไม ถา พบวา อว นหรือผอม • อาหารกลมุ ผลไม ควรกนิ วนั ละ 3 สว น ควรหาวิธแี กไ ขเพ่ือใหมีการเจริญเติบโตทสี่ มวัย • อาหารกลุมเนอื้ สัตว ควรกินวันละ 6 ชอนกนิ ขาว และดมื่ นมวันละ 2 แกว เฉลย ขยายความรูส ูการคดิ แนวตอบ กจิ กรรมกฬี า เชน วา ยนํา้ เลน ปงปอง เปนตน เพราะเปนการสรางเสรมิ การ เคลือ่ นไหวและสงเสริมใหม ีนํา้ ใจเปนนักกฬี า เหมาะสมกบั วัยของนักเรียน คมู อื ครู 7

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปา หมายการเรียนรู 1. อธบิ ายความสาํ คัญของกลามเน้อื กระดูก òบทท่ี กลา มเนอื้ และกระดกู และขอที่มีผลตอสุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการได (พ 1.1 ป.4/2) สาระสําคัญ กลา มเนอื้ กระดกู และขอ มคี วามสาํ คญั 2. อธบิ ายวิธีดแู ลกลา มเน้ือ กระดูก และขอให ทาํ งานอยา งมีประสทิ ธิภาพได (พ 1.1 ป.4/3) ในการชวยพยุงรางกายใหคงรูป และทําให รา งกายเคลอ่ื นไหวได สมรรถนะของผูเรียน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí ÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค 1. มีวนิ ยั รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู กระตนุ ความสนใจ Engage ใหนักเรยี นดูภาพในหนังสอื เรยี น หนา 8 แลวใหนกั เรียนตอบคาํ ถาม • นักเรียนคิดวา เด็กในภาพเคลอ่ื นไหวได อยา งไร (แนวตอบ คาํ ตอบขึ้นอยูกบั นกั เรยี นแตล ะคน) • นักเรียนคดิ วา อวยั วะใดทท่ี าํ ใหรางกาย เคลอื่ นไหวได (ตอบ กลา มเนือ้ กระดกู และขอ) ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¤Ô´ÇÒ‹ à¾ÃÒÐà˵ãØ ´à´ç¡ã¹ÀÒ¾ ¨§Ö ·íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹éÕä´Œ เกรด็ แนะครู ครจู ดั กระบวนการเรยี นรูโดยการใหน ักเรียนปฏิบตั ดิ งั น้ี • สังเกตและสาํ รวจรา งกายตนเอง • สืบคน ขอ มลู เรือ่ งกลามเนือ้ กระดูก และขอ • ปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ โดยการรวมกันสืบคน ขอมลู เรอ่ื ง กลามเนือ้ กระดกู และขอ แลวนําเสนอหนา ชน้ั เรยี น • เปรยี บเทยี บขอมลู จากผลการสืบคน แหลงท่มี าของขอ มูล รวมถงึ วิธกี าร นําเสนอขอ มูลเรอ่ื งกลามเนอื้ กระดูก และขอ • วเิ คราะหจ ากประเด็นคําถามและภาพท่ีใชในการกระตนุ การเรยี นรู และทดสอบความเขาใจ จนเกิดเปน ความรูความเขา ใจวา กลามเน้อื กระดูก และขอ ทาํ งานสัมพันธก ัน โดยกลามเน้ือและขอ ทําใหรา งกายเคล่ือนไหวได สวนกระดูกจะเปน ทใี่ หกลา มเนอ้ื ยดึ เกาะ ทาํ ใหร างกายพยงุ ตัวอยไู ด 8 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Expand Evaluate Explore Explain Explore สาํ รวจคน หา กลา มเนอื้ กระดกู และขอ เปน อวยั วะทสี่ าํ คญั ¡ÅÒŒ Áà¹é×ÍËÃ×Í¡Ãд١ ·è·Õ íÒãËŒ 1. ใหน กั เรียนดภู าพในหนงั สือเรียน หนา 9 ในการเคล่ือนไหวรางกาย วัยของนักเรียนเปน àÃÒà¤Å×Íè ¹äËÇä´Œ¹Ð แลวรว มกนั แสดงความคิดเห็นวา ภาพท่ี วัยท่ีมีการเจริญเติบโตทางรางกายและมีทักษะ นักเรียนดูนน้ั มีลกั ษณะอยา งไร การเคล่ือนไหวเพิ่มมากข้ึน กลามเนื้อ กระดูก และขอ จึงเปนอวัยวะสําคัญที่จะทําใหเกิดการ 2. ใหน ักเรียนแบง กลุม กลมุ ละ 3 - 4 คน เจริญเตบิ โตและพฒั นาการทส่ี มวัย แตละกลุมรว มกันสืบคน หนาทข่ี องกลา มเน้ือ การทาํ งานของกลามเน้ือ และวิธดี แู ลรักษา ๑ กลามเนอ้ื 1 กลามเนือ้ แลว สง ตวั แทนกลุม ออกมานาํ เสนอ กลามเนอ้ื เปนอวยั วะสําคัญท่ีใชในการเคลอื่ นไหว ผลการสบื คน โดยการจบั สลาก ๑.กลา มเนอ้ื มีหลายประเภทดงั จะไดศกึ ษาตอไปนี้ อธบิ ายความรู Explain ประเภทของกลา มเนอ้ื กลา มเน้ือ แบงออกเปน ๓ ประเภท ดังน้ี ครูจบั สลากสุมหากลุมทจี่ ะนําเสนอ เปนกลุมแรกในเร่อื ง หนาทข่ี องกลา มเน้ือ ñ. ¡ÅÒŒ Áà¹éÍ× ÅÒ และถามคําถามเม่อื จบการนําเสนอ เชน เปน กลา มเนอ้ื ทม่ี ขี นาดใหญท ส่ี ดุ ซง่ึ ยดึ • กลา มเนื้อแตละชนิดมีหนาท่ีตางกันอยางไร ติดกบั โครงกระดกู สว นตา งๆ ของรา งกาย (ตอบ จึงทําใหเกิดการเคล่ือนไหว กลามเน้ือ - กลามเนอ้ื ลาย ทาํ ใหรางกายเคลือ่ นไหวได ชนดิ นีจ้ ะอยบู ริเวณแขน ขา คอ ศีรษะ - กลามเนอื้ หัวใจ ทําใหห วั ใจเตน เปนปกติ - กลามเนอ้ื เรยี บ ทาํ ใหการทาํ งานของระบบ ò. ¡ÅŒÒÁà¹éÍ× ËÑÇ㨠ในรางกายเปน ปกต)ิ เปน กลา มเนอ้ื ทที่ าํ งานนอกเหนอื อาํ นาจ • กลา มเน้อื ชนิดใดมคี วามแข็งแรงมากท่ีสดุ จิตใจ และมีความแข็งแรงมาก เพราะ เพราะอะไร สามารถทํางานไดตลอดเวลา โดยไมมี (ตอบ กลา มเน้ือหวั ใจ เพราะหัวใจตอง การหยุดพักจนตลอดชวี ิตของคนเรา ทาํ งานตลอดเวลา ไมม ีการหยุดพัก กลา มเน้อื หัวใจจงึ ตอ งมีความแขง็ แรงมาก) ó. ¡ÅŒÒÁà¹éÍ× àÃÂÕ º เปนกลามเนื้อท่ีทํางานโดยอัตโนมัติ เพื่อทําใหการทํางานของรางกายเปน ปกติ กลามเนื้อชนิดน้ี เชน กลามเน้ือ ของลาํ ไส กลา มเนอื้ หรู ดู ของทวารหนกั กลา มเนอ้ื ของกระเพาะอาหาร เปน ตน ๙ ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT นักเรยี นควรรู การเคลือ่ นไหวรา งกายเกยี่ วของกับอวยั วะใดมากทสี่ ุด 1 กลา มเนอ้ื มีคณุ สมบตั ิ 4 ประการคือ 1. ปอด 1. ความสามารถในการหดตัว (contractility) 2. หัวใจ • เปน ความสามารถท่ที าํ ใหเ กดิ การทํางานและการเคล่ือนไหวรา งกาย 3. กลามเนื้อ 2. มีความไวตอการกระตนุ (excitability) 4. กระเพาะอาหาร • กลา มเน้ือจะมีการตอบสนองตอสิ่งเรา เม่อื ถกู กระตนุ เชน การกระตกุ วเิ คราะหคําตอบ ปอดเปน อวยั วะที่สาํ คัญในการหายใจ หัวใจเปนอวยั วะ เม่อื ถกู เคาะท่หี วั เขา เปน ตน สาํ คญั ในการไหลเวยี นเลอื ดไปเล้ยี งทว่ั รางกาย กระเพาะอาหารเปน 3. ความสามารถในการยืด (extensibility) อวัยวะสําคญั ในการยอ ยอาหาร สว นกลามเนอ้ื เปนอวยั วะสําคญั ทีย่ ึดติด • การขยายตวั ของกลามเน้อื เปน กลไกทชี่ วยลดการฉีกขาดของกลา มเนอ้ื กับกระดูก สามารถยืดและหดได ซงึ่ จะชวยทาํ ใหก ารเคลือ่ นไหวเปน ไปได 4. ความสามารถในการยืดหยุน (elasticity) • การยืดหยุนกลับสสู ภาวะปกตภิ ายหลงั จากที่กลามเนื้อถกู ยดื ออก ดยี ่งิ ข้ึน ดงั นั้น ขอ 3. เปนคําตอบท่ีถูก คูมอื ครู 9

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. กลมุ ทีน่ าํ เสนอเปนกลุมแรก จับสลากเพอื่ ๒. การทํางานของกลา มเนอ้ื หากลมุ ทีจ่ ะนําเสนอเปนกลมุ ตอ ไป โดยให กลามเน้ือประกอบไปดวยเสนใยกลามเนื้อขนาดเล็ก ทํางานโดยการ กลุมตอ ไปออกมานําเสนอเรือ่ ง การทาํ งาน ขหอดงตกวั ลจางึมทเาํนใือ้หจเ กะถดิ ูกกการรเะคตลุนอ่ื โนดยไหระวบแบละปกราะรสทาาํทง1านของอวยั วะภายใน ซงึ่ การหดตวั ของกลามเน้ือ ระบบประสาท 2. ครูตั้งคาํ ถามเมอ่ื จบการนําเสนอของแตล ะกลมุ หล่งั สารเคมีออกมา เชน • กลา มเนอื้ ทําใหร า งกายเคล่ือนไหวไดอยา งไร กลามเนอ้ื หดตวั (แนวตอบ กลามเนือ้ ไดรับคาํ สง่ั จากระบบ ประสาทใหมกี ารหดตวั และคลายตวั จงึ ทาํ ให การเคล่อื นไหว การทาํ งานของ รางกายเกดิ การเคล่ือนไหว) รางกาย อวยั วะภายใน • การกระทาํ ใดบาง ที่อาจทําใหกลามเนอื้ ไดรับบาดเจบ็ และทํางานไดไ มด ี ตัวอยาง การทาํ งานของกลา มเนอ้ื แขน ตัวอยาง (แนวตอบ เชน ยกสิ่งของอยา งผดิ วธิ ี การทาํ งานของกลามเนอ้ื ออกกาํ ลงั กายอยางหกั โหม เคลอ่ื นไหว ขณะงอแขน ขณะเหยียดแขน รา งกายไมถ ูกสุขลักษณะ) หลอดอาหาร • ถา กลา มเน้อื ไดรับบาดเจ็บจะสง ผลตอ การทํา กิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวันอยา งไร คลายตัว ก ล  า ม เ นื้ อ ว ง แ ห ว น (แนวตอบ ทําใหใชช วี ติ ไดลาํ บากขึ้น เชน หดตัว หดตัว บีบใหอาหาร ถา กลา มเน้ือบริเวณมอื ไดรบั บาดเจบ็ จะทําให เคลือ่ นลงสูก ระเพาะ- หยิบส่ิงของลําบากข้นึ ) กลา มเนอื้ ไบเซ็ปส (เปนกลามเน้ือท่อี ยทู างดานหนา ของตนแขน) อาหาร กลามเน้อื ไทรเซป็ ส (เปนกลามเนื้อท่ีอยูทางดา นหลงั ของตน แขน) 3. ใหน กั เรยี นจับสลากกลุมที่จะนําเสนอเปนกลุม ตอ ไปในเร่ือง วธิ ดี ูแลรักษาระบบกลา มเน้ือ 4. ครแู ละนักเรียนรวมกนั สรปุ ความสาํ คญั ของ กลา มเน้อื และวธิ ดี แู ลรกั ษาโดยสรปุ เปนขอ ๆ กลามเน้ือจะทํางานประสานกับระบบอื่นๆ เพ่ือใหรางกายสามารถ เคลอื่ นไหวได เชน โครงกระดกู จะทําหนาทชี่ ว ยพยุงรางกายไว สว นกลามเนื้อ เม่ือหดตัวจะทําใหเกิดแรงในการเคลื่อนไหว โดยอวัยวะทั้งสองสวนนี้ทําหนาที่ เคล่อื นไหวภายใตก ารควบคมุ ของสมองและระบบประสาท ๑๐ นักเรียนควรรู ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT ขอใดเปนวธิ กี ารดแู ลรกั ษากลา มเนอื้ ทถี่ กู ตอง 1 ระบบประสาท คอื ระบบหน่งึ ในรางกายทม่ี หี นา ที่ในการออกคําสง่ั การทาํ งาน 1. ซื้ออาหารเสริมมากนิ แทนอาหารมอ้ื เย็น ของกลามเนอื้ ควบคมุ การทาํ งานของอวัยวะตา งๆ ในรา งกาย และประมวลขอมลู 2. กนิ แตอาหารประเภทโปรตนี อยางเดียว ท่ไี ดรบั มาจากประสาทสมั ผัสตา งๆ และสรางคําส่ังใหอ วยั วะตางๆ ทาํ งาน 3. ออกกาํ ลังกายอยางสมา่ํ เสมอ สปั ดาหล ะ 3 คร้งั 4. เวลายกของหนักไมตอ งใชแ รงขาชวย แตใหใชแ รงแขนยกอยางรวดเรว็ มุม IT วิเคราะหค าํ ตอบ 1. อาหารเสรมิ ควรกินควบคกู บั อาหารจานหลกั และการออกกําลังกาย ครศู กึ ษาเรือ่ ง ทา บริหารเสรมิ สรา งกลา มเนือ้ ไดจากเวบ็ ไซต 2. ไมค วรกนิ อาหารประเภทโปรตนี อยา งเดียว แตค วรกินอาหารอยา ง http://share.psu.ac.th/blog/teddy-healthy/11838 หลากหลาย เพอื่ ใหร า งกายไดร บั สารอาหารอยา งครบถว น 3. ควรออกกาํ ลังกายอยา งสมา่ํ เสมอเพือ่ ใหกลามเนือ้ แขง็ แรง 4. ควรใชแ รงขาชวยในการยกของทกุ คร้งั เพือ่ ไมใ หกลา มเนือ้ หลงั อกั เสบ ดงั นัน้ ขอ 3. เปน คาํ ตอบที่ถูก 10 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ขยายความเขา ใจ Expand ๓. วิธดี แู ลรกั ษาระบบกลา มเนอ้ื ใหน ักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 ขอ 1 จากแบบวัดฯ สุขศกึ ษาฯ ป.2 โดยใหน ักเรียน ๑ ทํากิจกรรมขอ ที่ 1) - 3) การกินอาหารที่มีประโยชน จะชวยสรางเสริม ความแขง็ แรงของกลา มเนอ้ื เชน อาหารประเภท ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝก ฯ โปรตีนจะชวยสรางเสริมความเจริญเติบโตของ สุขศกึ ษาฯ ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 กลา มเน้ือ แบบประเมินตวั ช�ว้ ดั พ 1.1 ป.4/2 แบบประเมนิ ผลการเรียนรูตามตัวชว้ี ัด ประจําหนว ยที่ ๑ บทท่ี ๒ กจิ กรรมรวบยอดท่ี ๑.๒ แบบประเมนิ ตัวช้วี ัด พ ๑.๑ ป.๔/๒ • อธิบายความสําคัญของกลา มเนื้อ กระดกู และขอ ทมี่ ีผลตอสุขภาพ การเจริญเตบิ โต และพัฒนาการ ชดุ ที่ ๑ ๑๐ คะแนน ๑ บอกความสําคัญของอวัยวะทกี่ าํ หนดให (๕ คะแนน) ๒ ๑) กลา มเนอ้ื ลาย ……ท…าํ ใ…ห…ร…า…ง…ก…า…ย…เ…ค…ล…่ือ…น…ไ…ห…ว…ไ…ด… ……………………………………………………. ๒) กลามเน้ือเรียบ …ท…าํ …ให…อ…ว…ัย…ว…ะ…ใ…น…ร…า…ง…ก…า…ย…ท…าํ ง…า…น…ไ…ด…เ…ป…น…ป…ก……ต…ิ …………………………. เราควรออกกําลังกายเปนประจํา อยางนอย ๓) กลามเนื้อหวั ใจ ท……ําใ…ห…ห…ัว…ใ…จ…ท…าํ …ง…า…น…ไ…ด…ต …ล…อ…ด…เ…วล……า……………………………………………… สัปดาหละ ๓ คร้ัง เพราะจะทําใหกลามเนื้อ ๔) กระดกู …เ…ป…น …โ…ค…ร…ง…ร…า…ง…ข…อ…ง…ร…า …งก……าย…แ…ล…ะ…เ…ป…น…ท…ย่ี…ึด…เ…ก…า…ะ…ขอ…ง…ก……ล…า ม…เ…น…ื้อ………………. เจรญิ เติบโตและแขง็ แรง เฉฉบลับย ๕) ขอ ตอ ……เ…ป…น …ต…ัว…เ…ชอื่…ม…ร…ะ…ห…ว…า …ง…ก…ร…ะ…ด…กู ……ท……าํ ใ…ห…ร…า…ง…ก…า…ย…เค……ล…่อื …น…ไ…ห…ว…ได…… …………… ๒ ดูภาพ แลวอธบิ ายการทาํ งานของกลามเนอ้ื กระดูกและขอ ท่ีทาํ ใหอวัยวะน้เี คลอื่ นไหวได (๕ คะแนน) …………ก…ล…า…ม…เน……อื้ …ล…า…ย…ย…ดึ …เก…า…ะ…บ…ร…เิ ว…ณ……ก…ร…ะด……กู …แ…ขน……ท…อ …น…บ…น… กลา มเน้�อไบเซ็ปส …แล……ะท……อ…น…ล…า …ง…โ…ด…ย…ม…ีข…อ…ต…อ…เป…น……ต…ัว…เช…ือ่ …ม…ก…ร…ะ…ด…ูก……ท…ง้ั …ส…อ…ง.. …เม…อื่ …ก…ล…า…ม…เ…น…อ้ื …ไ…บ…เ…ซ…ป็ …ส…ห …ด…ต……วั แ…ล…ะ…ก…ล……า ม…เ…น…ือ้ …ไ…ท…ร…เ…ซ…็ป…ส.. กลามเนอ�้ ไทรเซ็ปส …ค…ล…า…ย…ต…ัว……แ…ข…น…จ…ึง…ง…อ…ไ…ด… ………………………………………………….. ตวั ชี้วดั พ ๑.๑ ขอ ๒ ñðไดค ะแนน คะแนนเตม็ เกณฑประเมนิ ช้นิ งาน ๑ คะแนน ๓ คะแนน ขอที่ ๑ (๕ คะแนน) ๒ คะแนน • บอกความสาํ คัญของอวยั วะไดถกู ตอ ง ขอ ละ ๓ ไมควรยกของหนักเกินไป หรือถาจําเปน ขอ ท่ี ๒ (๕ คะแนน) ตองยกของหนกั ใหใชแ รงยกจากขา ไมค วร • อธิบายการทํางานของกลา มเน้อื ไดถูกตอ งสมบรู ณ ใชแ รงยกจากหลงั เพราะจะทาํ ใหก ลา มเนอ้ื • ใชภ าษาท่เี ขาใจงาย หลังอกั เสบได ✗ ๖ ตรวจสอบผล Evaluate ✓ ครูตรวจสอบความถูกตอ งของคาํ ตอบ โดยพจิ ารณาจากเกณฑก ารประเมิน ดงั นี้ • นกั เรียนบอกความสาํ คญั ของอวยั วะได ถกู ตอ ง ๑๑ ขอ สอบ O-NET เกร็ดแนะครู ขอ สอบป ’52 ออกเกี่ยวกบั เร่อื ง การสรา งเสรมิ สุขภาพ ครูอาจแนะนําวิธีการดแู ลรกั ษากลา มเนอื้ ดวยการเคลือ่ นไหวรา งกายให การเขารวมกิจกรรมท่ีสรา งเสริมสขุ ภาพควรปฏิบัติตามขอใด ถูกสุขลกั ษณะ เชน การยกของไมค วรยกของท่ีหนักจนเกนิ ไป หรือควรใชแรงขา 1. ออกกาํ ลงั กายในวนั เสาร - อาทติ ย ครง้ั ละ 2 ช่ัวโมง ในการชว ยยกของ เปน ตน โดยครอู าจสาธติ การยกของทผี่ ดิ วธิ ี และถกู วธิ ใี หน กั เรยี นดู 2. ออกกําลงั กายอยา งนอยสปั ดาหละ 3 วนั ครง้ั ละประมาณ 30 นาที จากน้ันถามนกั เรียนวา การยกของแบบใดถูกตอ ง และนกั เรยี นควรปฏิบัติตาม 3. ออกกาํ ลังกายเฉพาะวนั ทวี่ า ง คร้งั ละ 30 นาที การยกแบบใด 4. ออกกําลังกายทกุ วันหลงั รบั ประทานอาหารครั้งละ 30 นาที วเิ คราะหคาํ ตอบ การออกกาํ ลังกายควรยดึ หลัก 3 ประการ คอื 1. ความบอ ย ควรออกกาํ ลงั กายอยา งสมาํ่ เสมอสปั ดาหล ะ 3 วนั วนั ละครง้ั 2. ความหนกั ควรออกกาํ ลังกายใหม อี าการเหนอื่ ย หอบ แตสามารถ พูดคุยได 3. ความนาน คร้งั ละ 20 - 30 นาที ทง้ั นี้ข้นึ อยกู บั รปู แบบของการ ออกกําลังกาย รวมถงึ ไมควรออกกําลงั กายกอนหรือหลงั อาหาร อยางนอ ย 2 ช่วั โมง ดงั น้นั ขอ 2. เปนคําตอบทีถ่ กู คูมอื ครู 11

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain กระตนุ ความสนใจ Engage ใหน กั เรียน 2 คน ท่ีมีความสูงตา งกนั ออกมา ๒ กระดกู และขอตอ ยนื หนา ชน้ั เรยี น แลว ใหน ักเรยี นสังเกตและรว มกนั โครงสรางของรางกายประกอบไปดวยกระดูกท่ีแข็งมาตอกันดวยขอตอ แสดงความคดิ เห็นวา เพราะอะไรทง้ั สองคนจึงมี มีหนาที่ในการชวยพยุงใหรางกายคงรูปและเคลื่อนไหวได แลวยังชวยปองกัน รปู รา งทแ่ี ตกตางกัน และทําไมคนทตี่ วั สูงกวา ๑.อวยั วะภายในดวย จงึ ยังคงรูปรางอยไู ด ลกั ษณะของกระดกู และขอ ตอ สาํ รวจคน หา Explore 1. ครูวาดรูปรางคนบนกระดานดํา แลว สุม ๑) โครงกระดูก เปนโครงสรางของรางกายที่ทําใหรางกายคงรูปราง นกั เรียนออกมาวาดภาพกระดูกในรูปรา งคนที่ อยูได และเปนสวนที่แข็งแรงมาก ทารกแรกเกิดมีกระดูกประมาณ ๓๐๐ ช้ิน ทาํ ใหร า งกายสามารถคงรปู รา งและเคลอื่ นไหวได เมื่อเจรญิ เติบโตเต็มท่ี กระดูกจะเชื่อมตอกันจนเหลือเพียง ๒๐๖ ชน้ิ ซงึ่ มีความ แลวนักเรยี นตรวจสอบกับหนังสอื หนา 13 แขง็ แรงแตม นี าํ้ หนกั เบา กระดกู แบง ออกเปน ๒ สว น คอื แกนหรอื สว นของลาํ ตวั และรยางคห รอื สวนที่ยื่นออกไป 2. ใหนักเรียนสืบคนขอ มลู เกี่ยวกบั กระดูกและ ๒) ขอตอ ขอ ตอเปน จุดที่กระดูก ๒ ชิ้น มาเชอ่ื มตอกันในรางกายมี ขอตอจากหนังสอื หนา 12 - 14 อธบิ ายความรู Explain ประโยชนในการชว ยทาํ ใหร างกายเคล่ือนไหวได ขอ ตอแบงออกเปน ๓ ชนิด คอื 1. ใหน กั เรยี นรว มกนั อภปิ รายจากภาพรปู รา งคน ขอตอที่เคล่ือนไหวไมได ขอตอท่ีเคลื่อนไหวไดบาง และขอตอที่เคลื่อนไหวได บนกระดานดาํ วา คนเราคงรูปรา งอยูไ ด เพราะ มาก ๒. หนา ทสี่ าํ คัญของกระดกู และขอตอ มกี ระดูกทอ่ี ยภู ายในรา งกายของเราชว ยพยุง ๑) เปนแกนยึดเพื่อใหรา งกายสามารถยนื ขึน้ หรือเคลื่อนไหวได รา งกายของเราเอาไว และกระดกู ยงั เปน ท่ี ๒) ปองกันอวัยวะสําคัญท่ีบอบบางและอาจถูกกระทบกระเทือนหรือ ยดึ เกาะของกลา มเนอื้ ทาํ ใหรางกายสามารถ ถกู ทําลายไดง า ย เชน สมอง ปอด หัวใจ เปน ตน เคลื่อนไหวได ๓) เปนแหลงท่ีเก็บสะสม ¡Ãд١ 2. ใหนักเรียนชว ยกันอธิบายวา รา งกายของเรา มกี ระดูกทัง้ หมดกีช่ ิ้น อะไรบา ง แคลเซยี ม และผลติ เม็ดเลอื ดจากโพรง á¡●¹ËกÃะ×ÍโหÊล‹Çก¹ศีร¢ษÍะ1§ÅíÒµÑÇ øð ªÔé¹ ภายในกระดกู ● กระดกู สันหลงั ๔) เปนท่ียึดเกาะกลามเนื้อ ● กระดูกอก พังผืด และเอ็น เพื่อชวยใหเกิดการ ● กระดูกซโี่ ครง เคลอื่ นไหวได ๑๒ เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT อารมตกตน ไมจงึ ขาหัก จะทําใหเกดิ ผลเสียในขอใดมากทส่ี ุด ครอู าจใหน กั เรยี นอธบิ ายถงึ สว นประกอบของกระดกู ในรา งกายวา มที งั้ หมดกชี่ น้ิ 1. หัวใจหยุดทํางาน อะไรบาง โดยผา นการเลนเกมทายคาํ ใบ คอื ใหนักเรียนผลดั กันออกมาทําทาทาง 2. เสน เลือดตบี ตนั เพอ่ื บอกใหเพ่อื นทายวา ทาทางท่นี ักเรียนใบนัน้ หมายถงึ อะไร เชน นกั เรยี นอาจจะ 3. เชอื้ โรคเขา สรู า งกายไดงาย ทาํ ทาจบั ขาดวยมือขางหน่งึ แลว กใ็ ชม ืออีกขางหนงึ่ ทาํ ทาเหมอื นตดั กระดาษแลว ให 4. เคลอ่ื นไหวรา งกายไมส ะดวก เพอ่ื นทาย วิเคราะหคาํ ตอบ กระดกู เปนอวยั วะสาํ คัญท่ใี ชใ นการเคล่อื นไหวรางกาย ดงั น้นั ถากระดกู ไดรับบาดเจ็บ เชน หกั ก็จะสง ผลทําใหเ คลอ่ื นไหวรา งกาย นกั เรียนควรรู ไมส ะดวก โดยเฉพาะกระดกู ที่ขา จะทาํ ใหเ คลอื่ นทีล่ ําบาก ดงั นั้น ขอ 4. เปน คําตอบท่ีถูก 1 กะโหลกศีรษะ คือ กระดูกศีรษะและใบหนา รวมทั้งกระดูกขากรรไกรลา ง กะโหลกศีรษะเปน โครงกระดกู ท่จี ัดไวสําหรบั เปน กลองบรรจุสมองและทําหนาที่ ปองกันสมอง มชี องทางสาํ หรับเปนทางผานของอาหารและอากาศ มฟี นและ ขากรรไกรสาํ หรับบดเค้ียวอาหาร 12 คมู อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain ¢ÍŒ µÍ‹ กะโหลกศรี ษะ อธบิ ายความรู à¤Å×è͹äËÇäÁä‹ ´Œ ขากรรไกร 1. ใหนักเรยี นดรู ูปภาพทีว่ าดบนกระดานดาํ ● ขอตอในเบาฟน กระดกู ไหปลารา แลวถามวา ● ขอ ตอรอยตอ กระดูก กระดกู ตนแขน • กระดูกในรางกายของเราเชอื่ มตอ กนั ได ● ขอตอกะโหลกศีรษะ กระดกู ซีโ่ ครง อยา งไร กระดกู สนั หลัง (ตอบ เชือ่ มตอกนั โดยมีขอตอเปนตวั เช่ือม) à¤Å×Íè ¹äËÇä´ŒºÒŒ § กระดกู แขน กระดูกเชิงกราน 2. ใหน ักเรยี นรวมกนั อภิปรายหนา ทีข่ องกระดูก ● ขอตอ ใน และขอ ตอ จากนั้นครถู ามนกั เรยี นวา กระดกู สนั หลงั กระดูกมอื • ถา คนเราไมม ีกระดกู เราจะเปน อยางไร (แนวตอบ รางกายไมสามารถคงรูปรา งอยูไ ด à¤ÅÍ×è ¹äËÇ1ä´ŒÁÒ¡ กระดกู ตน ขา2 และทรงตวั อยูไมได) • นกั เรยี นคิดวา การกระทําใดบางท่ีเปน ● ขอ ตอไหล กระดูกสะบา อันตรายตอ กระดูกและขอตอ ● ขอ ตอ บรเิ วณโคนขา (แนวตอบ การท่ีรางกายโดนกระแทกอยาง กระดูกหนา แขง รนุ แรง เชน จากอุบตั เิ หตุ จากการเลน กบั กระดกู เชงิ กราน กระดูกนอง โลดโผน เปน ตน) ÃÂÒ§¤Ë ÃÍ× Ê‹Ç¹·ÂèÕ è×¹ÍÍ¡ä» ñòö ªéÔ¹ 3. ใหน กั เรยี นชว ยกนั บอกวิธกี ารดแู ลรักษา ● กระดกู ไหล ● กระดกู เชิงกราน3 กระดูกและขอตอ โดยครชู ว ยแนะนาํ เพมิ่ เติม และตั้งคาํ ถามใหน กั เรยี นชว ยกันตอบ ● กระดกู แขน ● กระดกู ขา • ถานักเรียนตองกินอาหารที่เสริมสรา ง ● กระดูกมอื ● กระดูกเทา กระดกู นักเรียนควรกินอะไร เพราะอะไร (แนวตอบ ปลาเล็กปลานอ ยที่กนิ ไดท้งั กาง นม ผกั ใบเขยี ว เชน กยุ ชาย กวางตุง คะนา ผกั กระเฉด เปน ตน เพราะอาหารเหลา น้ี มแี คลเซยี มสงู ซง่ึ แคลเซยี มเปน สว นประกอบ สาํ คญั ของกระดกู ) ๑๓ ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT นักเรียนควรรู การกระทาํ ในขอใดมคี วามเส่ียงทจ่ี ะเปน อันตรายตอ กระดูกมากทส่ี ดุ 1 ขอ ตอ ไหล เปน ขอ ตอท่ีชวยใหแ ขนสามารถเคลอ่ื นไหวไดอ ยางเปนอิสระ 1. นอนดึก ทกุ ทิศทุกทาง เพราะตรงปลายของกระดูกตนแขน จะมลี กั ษณะกลมคลายลูกบอล 2. ดื่มกาแฟ โดยเช่ือมตดิ กับโพรงกระดูกรปู ถวยของกระดูกสะบกั ทําใหก ระดกู หมุนไดอยา งอิสระ 3. ปน ตน ไม 2 กระดกู ตนขา เปนกระดูกทยี่ าวและแขง็ แรงทส่ี ดุ ในบรรดากระดูกทัง้ หมด 4. กนิ ของหมักดอง ทอ นบนของกระดกู นจ้ี ะติดอยูกับกระดูกเชิงกราน ทอ นลา งจะตดิ อยกู บั หวั เขา วเิ คราะหคําตอบ การปนตน ไม อาจทําใหพ ลดั ตกลงมากระแทกกับพนื้ 3 กระดกู เชงิ กราน เปนกระดูกชนิ้ ใหญ รปู รา งไมเ รียบ ประกอบเปน องุ เชิงกราน แลว ทาํ ใหก ระทบกระเทอื นถงึ กระดูก ซ่ึงอาจทาํ ใหกระดูกงอ ราว แตก ดานหนา และดานขา ง ในวัยเดก็ กระดกู นจ้ี ะแยกออกเปน 3 สว น คอื กระดูกสะโพก กระดกู กน และกระดกู หวั หนา ว แตเ ม่อื เปนหนมุ สาวกระดกู ทั้งสามชนิ้ น้ีจะเชอื่ ม หรอื หกั ได ดงั นั้น ขอ 3. เปนคาํ ตอบท่ถี ูก ติดกัน คมู ือครู 13

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหน กั เรยี นแบง กลมุ ใหส มาชกิ ในกลมุ ลองงอนว้ิ ๓. วธิ ีดแู ลรกั ษากระดกู และขอ ตอ กาํ มอื และแบมอื แลว ตอบคาํ ถามจากกจิ กรรม กระดูกและขอตอมีความสําคัญ ตามท่ีนักเรียนไดทราบมาแลว การเรยี นรู ขอ 1 หนา 14 ดังนัน้ เราจึงควรดูแลกระดกู และขอ ตอ ของเราอยางถูกวธิ ี 2. ใหนกั เรียนอานพฤติกรรมจากกจิ กรรม ออกกําลังกาย Ç¸Ô ´Õ ÙáÅÃÑ¡ÉÒ ไมเลน ผาดโผน การเรียนรู หนา 14 แลวบอกวาดตี อ สขุ ภาพ อยางสม่ําเสมอ ¡Ãд١áÅТŒÍµÍ‹ หรือเลนรุนแรง หรอื ไม พรอ มทั้งบอกเหตผุ ล กนิ ผกั ใบเขียว เพ่ือใหก ระดูก กนิ อาหารที่มี 3. ใหนักเรยี นทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 ขอ 1 แคลเซยี มสงู เชน นม และ 2 จากแบบวดั ฯ สขุ ศึกษาฯ ป.4 เกย่ี วกับ แขง็ แรง ปลาตัวเล็กๆ เปนตน กระดกู และขอ ตอตอ จากกิจกรรมครง้ั ทีแ่ ลว 4. ใหน ักเรียนแตล ะกลุมอานเรอื่ งท่กี ําหนด ในหนา 15 แลวตอบคําถามลงในสมุด 5. ใหน ักเรียนชวยกนั ตอบคาํ ถามขยายความรู สูการคดิ ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝกฯ สุขศกึ ษาฯ ป.4 กจิ กรรมรวบยอดท่ี 1.2 แบบประเมนิ ตัวชว�้ ดั พ 1.1 ป.4/2 คะนา กวางตุง แบบประเมินผลการเรียนรตู ามตวั ชวี้ ัด ประจาํ หนว ยท่ี ๑ บทท่ี ๒ กิจกรรมรวบยอดท่ี ๑.๒ นม ปลาตัวเล็กๆ แบบประเมนิ ตัวชว้ี ัด พ ๑.๑ ป.๔/๒ ตาํ ลึง ถั่วพู • อธบิ ายความสําคัญของกลามเนอื้ กระดกู และขอท่ีมีผลตอสขุ ภาพ การเจริญเตบิ โต และพฒั นาการ ชดุ ที่ ๑ ๑๐ คะแนน ๑ บอกความสาํ คญั ของอวยั วะทีก่ าํ หนดให (๕ คะแนน) ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ ๑) กลา มเนอื้ ลาย ……ท…ําใ…ห…ร…า…ง…ก…า…ย…เ…ค…ล…ือ่ …น…ไ…ห…ว…ไ…ด… ……………………………………………………. ๑ แบงกลุม ใหทุกคนลองงอน้วิ กํามอื และแบมือ จากน้ันตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมดุ ๒) กลา มเน้ือเรยี บ …ท…ํา…ให…อ…ว…ยั …ว…ะ…ใ…น…ร…า …ง…ก…า…ย…ท…าํ ง…า…น…ไ…ด…เ…ป…น…ป…ก……ต…ิ …………………………. ๑) สมาชิกในกลมุ สามารถงอน้วิ กํามือ และแบมือ ไดครบทกุ คนหรือไม ๓) กลา มเนอื้ หัวใจ ท……ําใ…ห…ห…วั…ใ…จ…ท…าํ …ง…า…น…ไ…ด…ต …ล…อ…ด…เ…วล……า……………………………………………… ๒) นักเรียนคดิ วา นกั เรียนสามารถงอนว้ิ กาํ มือ และแบมอื ได เพราะเหตใุ ด ๔) กระดูก …เ…ป…น…โ…ค…ร…ง…ร…า…ง…ข…อ…ง…ร…า…งก……าย…แ…ล…ะ…เ…ป…น …ท…ีย่…ึด…เ…ก…า…ะ…ขอ…ง…ก……ล…าม…เ…น…ื้อ………………. ๓) นักเรยี นคิดวา การงอนว้ิ กาํ มือ และแบมือ มีประโยชนต อ ชีวติ ประจําวนั อยา งไร เฉฉบลับย ๕) ขอตอ ……เ…ป…น …ต…วั …เ…ชื่อ…ม…ร…ะ…ห…ว…า …ง…ก…ร…ะ…ด…กู ……ท……ําใ…ห…ร …า …ง…ก…า…ย…เค……ล…่อื …น…ไ…ห…ว…ได…… …………… ๒ อานพฤติกรรมทีก่ าํ หนดให แลว บอกวาดีตอ สขุ ภาพรา งกายหรอื ไม พรอ มทั้งบอกเหตุผล ๒ ดภู าพ แลวอธบิ ายการทาํ งานของกลามเนอ้ื กระดูกและขอ ท่ที ําใหอวัยวะนเ้ี คลื่อนไหวได ๑) ออกกาํ ลังกายวันละ ๓๐ นาที (๕ คะแนน) ๒) นานๆ คร้งั จึงกินอาหารทีม่ ีประโยชน …………ก…ล…า…ม…เน……อื้ …ล…า…ย…ย…ดึ …เก…า…ะ…บ…ร…เิ ว…ณ……ก…ร…ะด……กู …แ…ขน……ท…อ …น…บ…น… ๓) ยกส่งิ ของทห่ี นกั เกินกําลงั กลา มเนอ�้ ไบเซป็ ส …แล……ะท……อ…น…ล…า …ง…โ…ด…ย…ม…ขี …อ …ต…อ …เป…น……ต…วั …เช…่ือ…ม…ก…ร…ะ…ด…ูก……ท…้งั …ส…อ…ง.. …เม…อ่ื …ก…ล…า…ม…เ…น…ือ้ …ไ…บ…เ…ซ…็ป…ส…ห …ด…ต……ัวแ…ล…ะ…ก…ล……าม…เ…น…้อื …ไ…ท…ร…เ…ซ…็ป…ส.. ๑๔ กลามเนอ้� ไทรเซ็ปส …ค…ล…า…ย…ต…วั ……แ…ข…น…จ…ึง…ง…อ…ไ…ด… ………………………………………………….. ตวั ช้วี ดั พ ๑.๑ ขอ ๒ ñðไดค ะแนน คะแนนเตม็ เกณฑป ระเมนิ ช้ินงาน ๑ คะแนน ๓ คะแนน ขอที่ ๑ (๕ คะแนน) ๒ คะแนน • บอกความสาํ คัญของอวัยวะไดถ กู ตอง ขอละ ขอ ท่ี ๒ (๕ คะแนน) • อธิบายการทาํ งานของกลา มเนือ้ ไดถูกตองสมบรู ณ • ใชภ าษาทเ่ี ขาใจงา ย ๖ เฉลย กิจกรรมการเรยี นรู ขอ 1 2) ตอบ การทเ่ี ราสามารถงอน้วิ กาํ มือ และแบมอื ได เปนเพราะเราสามารถบงั คับน้ิวและมือของเราได โดยระบบประสาทจะ รบั คําสัง่ และสง่ั การใหก ลา มเน้อื นวิ้ และกลามเนอื้ มอื หดตัว ทาํ ใหเกดิ การเคลอ่ื นไหว 3) ตอบ ทาํ ใหเ ราสามารถหยบิ จบั สิง่ ตา งๆ ได ทาํ กิจกรรมตางๆ ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ เชน ใชม อื จบั ไมกวาดกวาดบา นได อยา งสะดวก ขอ 2 1) ตอบ ดีตอ สขุ ภาพ เพราะการออกกําลงั กายทาํ ใหกลามเนอื้ และกระดกู แข็งแรง 2) ตอบ ไมดีตอสขุ ภาพ เราควรกินอาหารท่ีมปี ระโยชนต อ รา งกายทกุ วนั เพราะอาหารที่มปี ระโยชนจ ะมสี ารอาหารทจ่ี ําเปน ตอ รางกาย ชว ยทาํ ใหร างกายเจริญเติบโตสมวัย 3) ตอบ ไมดตี อสุขภาพ เพราะการยกส่ิงของที่หนักเกนิ กาํ ลัง จะสงผลใหกลามเนอ้ื ออกแรงมากเกนิ ไปจนบาดเจ็บได 14 คมู อื ครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ๓ แบง กลมุ ใหแ ตละกลุม อานเรื่องทก่ี าํ หนดให และตอบคาํ ถามลงในสมดุ ใหนกั เรยี นทาํ กิจกรรมรวบยอดท่ี 1.3 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.4 โดยดภู าพแลว ตอบวา ÂÍ´Á¹ÉØ Âµ ÇÑ »ÅÍÁ เปนผลดี หรือผลเสียตอ กลามเน้ือ กระดูกและ ขอตอ พรอ มทั้งบอกเหตุผล และวธิ แี กไ ข แกวเปนเดก็ ทซ่ี กุ ซนมาก เธอชอบเลน โลดโผนเปน ท่ีสุด แมคณุ แมจ ะคอยหา ม แตเธอ ก็ไมเ ชอ่ื ฟง เพราะรสู กึ วา สนกุ ตนื่ เตน ทา ทาย และทําใหเพื่อนๆ นบั ถอื ได ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝกฯ สขุ ศึกษาฯ ป.4 กจิ กรรมรวบยอดที่ 1.3 เม่ืออยูโรงเรียน แกวมักจะชวนเพ่ือนๆ ไปปนปายตนไมเลนหรือกระโดดจากท่ีสูง แบบประเมินตัวช้�วดั พ 1.1 ป.4/3 เพอ่ื เลยี นแบบยอดมนษุ ยท เ่ี ธอเคยดใู นภาพยนตร เพอ่ื นๆ บางคนกท็ าํ ตาม แตบ างคนกเ็ ตอื น วาเปน อนั ตราย แตเธอก็ไมเ ชอ่ื กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๓ แบบประเมินตวั ชวี้ ดั พ ๑.๑ ป.๔/๓ วันหน่ึง แกวชักชวนเพื่อนๆ ไปเลนเปนยอดมนุษยมาปราบเหลาราย เธอสมมุติให • อธบิ ายวธิ ดี ูแลกลา มเนอ้ื กระดกู และขอใหท าํ งานอยางมีประสทิ ธิภาพ ตวั เองเปน ยอดมนษุ ยท เ่ี หาะมาจากนอกโลก เธอจงึ ขนึ้ ไปยนื บนโตะ หนิ แลว ทาํ ทา กระโดดเหาะ ลงมา แตเน่ืองจากเม่ือคืนฝนตกจึงทําใหโตะหินเปยกเธอจึงลื่นตกลงมา ทําใหแขนและขา ชุดท่ี ๑ ๑๐ คะแนน กระแทกพน้ื จนรสู กึ เจบ็ ขอ มอื และขอ เทา มาก เพอื่ นๆ รบี ตามคณุ ครมู าดแู กว คณุ ครจู งึ พาแกว ไปหาหมอ หมอบอกเธอวากลามเน้ือที่บริเวณมืออักเสบและขอเทาหัก ตองเขาเฝอก และ ๑ ดูภาพแลววิเคราะหวา พฤติกรรมในภาพเปนผลดีหรือผลเสียตออวัยวะใด พรอมท้ังบอก ตองอยูเ ฉยๆ หา มเลนจนกวาจะหายเปน ปกติ เหตผุ ล ถา เปน ผลเสียใหบ อกวธิ ปี อ งกันและแกไ ข (๕ คะแนน) ๑) ปญหาของแกว คอื อะไร ๒) เพราะเหตุใดแกวจึงกลา มเนอื้ มืออกั เสบและขอ เทา หกั ๑) ภาพน้ีเปน ❍✓ ผลดี ❍ ผลเสีย ๓) นักเรียนคดิ วา แกวควรปฏิบตั อิ ยางไรจึงจะทําใหก ระดูกไมหกั ตอ ❍✓ กลา มเนอื้ ❍✓ กระดูกและขอ ๔) นกั เรียนคิดวา ผลของกลามเนื้อมอื อักเสบและขอเทา หักจะเปน อยางไร เพราะ …ก…า…ร…อ…อ…ก…ก…ําล…งั …ก…า…ยท…ํา…ใ…ห…ก …ล…าม…เ…น…อ้ื ……ก…ระ…ด…ูก…แ…ล…ะข…อ.. ๕) นักเรยี นคดิ วา ถาไมมีกลามเนอ้ื และกระดกู เราจะเปน อยางไร ๔ แบงกลุม ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลอาหารท่ีมีประโยชนตอกลามเนอ้ื และกระดูก จากน้ัน …แ…ข็ง…แ…ร…ง……เค…ล…ือ่ …น…ไ…ห…วไ…ด…ค…ล…อ…ง…แค…ล…ว………………………………………. สงตัวแทนออกมารายงาน วธิ ปี อ งกันแกไข -……………………………………………………………… ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ ………………………………………………………………………………………………. เฉฉบลบั ย การดูแลกลา มเนือ้ กระดกู และขอตอ ใหท ํางาน อยางมีประสทิ ธภิ าพเปน ผลดอี ยางไรกบั วยั ของนกั เรยี น ๒) ภาพนี้เปน ❍ ผลดี ❍✓ ผลเสยี ตอ ❍✓ กลา มเนื้อ ❍✓ กระดกู และขอ ๑๕ เพราะ …อา…จ…ไ…ด…ร บั…บ……าด…เ…จบ็……ถา…พ…ล…า…ด…พ…ล…้ังพ……ลดั…ต…ก…ล…ง…ม…า……….. ………………………………………………………………………………………………. วธิ ีปองกนั แกไข …ไม…เ ล…น…ป…น…ป…า…ย…บ…น…ท…ส่ี …งู ห…ร…อื …ค…ว…รร…ะ…ม…ดั ร…ะ…ว…งั …เว…ล…า…เล…น……แ…ล…ะ…อ…ยใู…น…ค…ว…าม…ด…แู …ล…ข…อ…งผ…ใู …ห…ญ… ……………………………. ๒ บอกวธิ กี ารดูแลรักษากลา มเนอ้ื กระดกู และขอมา ๕ ขอ (๕ คะแนน) ๑) …กนิ……อา…ห…าร…ป…ร…ะ…เภ…ท…โป…ร…ต…นี ……เช…น …เ…น…อ้ื ส…ตั…ว… น……ม…ไ…ข …เพ…อ่ื …เส…ร…มิ …ส…รา… ง…ก…าร…เ…จร…ญิ …เ…ต…บิ …โต…ข…อง…ก…ล…า …มเ…น…อ้ื . ๒) …ด…ื่มน……มเ…ป…น…ป…ร…ะจ…าํ ……เส…ร…มิ …ส…ร…า…งค…ว…า…ม…แข…ง็ …แ…ร…งใ…ห…ก…ร…ะด…ูก………………………………………………………. ๓) …ออ…ก…ก…ํา…ล…งั …ก…าย…อ…ย…า…งน…อ…ย…ส…ัป…ด…า…ห…ล …ะ…๒……-…๓……ค…ร…ั้ง……………………………………………………………. ๔) …ไม…เล…น……ผา…ด…โ…ผน……ห…รือ…เ…ล…น…ก…ับ…เพ…ือ่ …น…ด…ว …ย…ค…วา…ม…ร…ุน…แ…รง……………………………………………………………. ๕) …ไม…ค…ว…ร…ยก…ข…อ…ง…เก…ิน…ก…ํา…ล…งั ……………………………………………………………………………………………………. ตวั ชว้ี ัด พ ๑.๑ ขอ ๓ ñð ๗ไดค ะแนน คะแนนเต็ม ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT เฉลย กิจกรรมการเรียนรู ขอ 3. ตน ดืม่ นมทุกวนั การกระทําของตน มปี ระโยชนต ออวยั วะใด เพราะอะไร 1) แนวตอบ แกว ชอบเลน ซกุ ซนและโลดโผน จึงมักไดร ับบาดเจ็บเปนประจาํ แนวตอบ นมเปนเครอ่ื งดม่ื ทม่ี ีแคลเซยี มสงู ซึ่งแคลเซยี มเปนแรธาตทุ ่ี 2) แนวตอบ เพราะแกวเลน อยา งไมระวงั จงึ ทําใหลืน่ ตกจากทีส่ งู จนแขนและ ชว ยบาํ รงุ กระดกู ใหแ ขง็ แรง ดังน้นั การด่ืมนมทุกวันจึงเปนผลดตี อ กระดูก เพราะทาํ ใหก ระดกู แขง็ แรง จงึ สง ผลใหมกี ารเจรญิ เติบโตที่ดี และสมวัย ขากระแทกพ้นื 3) แนวตอบ แกว ไมค วรเลนโลดโผน กจิ กรรมสรา งเสรมิ 4) แนวตอบ กลา มเน้อื มอื อกั เสบทาํ ใหมอื ไดรบั บาดเจบ็ หยบิ จับสิ่งของได ใหนักเรียนหาภาพอาหารทม่ี ปี ระโยชนตอกลามเน้ือ กระดูกและขอ ตอ ลาํ บาก ขอเทาหกั ทําใหเคลื่อนไหวลําบาก มา 10 ชนดิ แลวจัดทาํ เปนสมุดภาพ โดยเขียนชอ่ื อาหาร และประโยชน 5) แนวตอบ รา งกายจะไมส ามารถคงรูปไดแ ละไมสามารถเคลอื่ นไหวได ทไ่ี ดร บั เฉลย ขยายความรูสูการคิด แนวตอบ วยั ของนักเรยี นเปน วัยทีม่ พี ัฒนาการทางดานการเคล่ือนไหวไดดี คลอ งแคลว ถา นกั เรียนดแู ลกลามเนอ้ื กระดกู และขอ ไดไ มดี กจ็ ะสงผลใหการเคลื่อนไหว ไมม ปี ระสทิ ธิภาพ ทาํ ใหม ีพัฒนาการไมเ ปน ไปตามวยั คูมอื ครู 15

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Explain Expand Engage Evaluate Evaluate ตรวจสอบผล 1. ครตู รวจสอบวานกั เรยี นสามารถงอนว้ิ กาํ มอื ÊÒ¨´ÃШÊíÒíÒäǤŒ ÑÞ พฒั นาการของเรา พัฒนาการของรางกายตามวัย และแบมือได และสามารถบอกเหตุผลไดว า รา งกาย ทาํ ไมถึงงอน้ิว กํามือ และแบมือได พรอมทงั้ µÑÇàÃÒ  นํ้าหนัก สว นสูงเพม่ิ บอกประโยชนข องการงอนิว้ กาํ มอื และแบมือ  เคลอ่ื นไหวคลองแคลว ที่มตี อ ชีวติ ประจาํ วันได กลามเนอ�้ และกระดกู  มือและสายตาประสานกนั ดี  ชอบเคลื่อนไหว 2. ครตู รวจสอบวานกั เรียนสามารถบอกถงึ เหตุผล ประเภทของกลามเน�้อ กลา มเ จติ ใจ ของพฤติกรรมที่กาํ หนดใหไ ดวาดีหรือไมดี ๑. กลา มเน้อ� ลาย  ยดึ ตนเองเปนหลัก อยางไร ๒. กลามเนอ�้ หวั ใจ  ควบคมุ อารมณไ ด ๓. กลา มเนอ้� เรียบ  อารมณเ ปลี่ยนแปลงงาย 3. ครตู รวจสอบวานักเรยี นสามารถตอบคําถามได วธิ ดี ูแล  ชอบการชมเชย ถกู ตอง ใหเหตผุ ลไดช ัดเจน และบอกวธิ ีการ  กนิ อาหารทมี่ ปี ระโยชน การสงเสรมิ ดูแลรักษากระดกู และขอ ไดถกู ตอง จากการทาํ  กนิ อาหารมปี ระโยชน กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 โดยเฉพาะประเภทโปรตนี  ดืม่ นม  ออกกําลังกาย  ราเรงิ แจม ใส 4. ครตู รวจสอบความถูกตอ งของการตอบคําถาม  ไมย กของหนกั อยา งผิดวธิ ี จากการอานเร่ืองที่กําหนด กระดูกและขอตอ พกั ผอ นเพียงพอ 5. ครูตรวจสอบความถูกตอ งของการตอบคําถาม และการบอกวิธีดแู ลรักษากลามเนอ้ื กระดกู และขอตอ จากการทาํ กจิ กรรมรวบยอดท่ี 1.3 หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู �้นอ โครงกระดูก และขอตอ ชวยพยุง 1. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 และ 1.3 จากแบบวดั รา งกายใหค งรปู ทาํ ใหเ คลอ่ื นไหวได สขุ ศกึ ษาฯ ป.4 และปอ งกันอวยั วะภายใน วิธีดูแล 2. ผลงานการบอกพฤตกิ รรมทด่ี ตี อ สขุ ภาพ อกอนิ กอกาหําลางัรกทาม่ี ยีแคลเซียมสูง1    ไมเลน รุนแรง µÃǨÊͺµ¹àͧ นักเรียนลองสงั เกตตนเองดวู า ปฏบิ ัติตามส่ิงตางๆ เหลานี้ไดห รอื ไม ❏ อธิบายการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทางรางกายและจิตใจในวัยของตนได ❏ บอกอวัยวะทส่ี ําคญั ในการเคลอื่ นไหวรา งกายได ❏ อธบิ ายประเภทและหนาท่ีของกลามเนือ้ ได ❏ อธิบายหนาทขี่ องกระดกู และขอได ❏ อธบิ ายความสมั พนั ธระหวา งกลามเนอ้ื กระดกู และขอได ๑๖ ❏ รูวธิ ีดแู ลรักษากลามเน้ือ กระดกู และขอได เกร็ดแนะครู กจิ กรรมทาทาย ครูใหนกั เรยี นตรวจสอบตนเองหลงั จบหนวยนี้ เพื่อตรวจสอบความรูความเขาใจ ใหนกั เรยี นบนั ทกึ กจิ กรรมตา ง ๆ ทีท่ ําในชีวิตประจําวัน และบันทึก ของนกั เรยี น รายการอาหารท่นี กั เรยี นรับประทานในแตล ะม้อื เปนเวลา 7 วนั จากน้ัน ใหนักเรยี นวิเคราะหว ามกี ิจกรรมใดบาง ท่ีอาจเปน อนั ตรายตอ กลามเน้อื นักเรยี นควรรู กระดกู และขอ รวมถงึ อาหารทนี่ กั เรียนรับประทานมอี ะไรบางท่ีควร หลกี เล่ยี ง และจากผลการวิเคราะหน ้นั นักเรียนจะมีแนวทางการแกไข 1 อาหารทีม่ แี คลเซียมสูง ไดแ ก นมและผลติ ภัณฑจ ากนม ปลาเลก็ ปลานอย หรือปฏบิ ตั ิตนอยางไรในการดแู ลรกั ษากลา มเนือ้ กระดกู และขอ จากนน้ั กงุ ฝอย พชื ผัก เชน ราํ ขาว มันเทศ สาคู งาดํา งาขาว ถว่ั ฝกยาว ถว่ั พู ถวั่ แขก ถ่ัวดํา ใหนําแนวทางการแกไขที่ตนเองวเิ คราะหม าปฏิบัติ เปน เวลา 7 วัน แลว ถัว่ เหลอื ง เมลด็ ดอกทานตะวนั เมลด็ ดอกคาํ ฝอย เปน ตน เขียนรายงานบอกวา มีการเปลีย่ นแปลงอยางไรบาง และจากการปฏบิ ตั ิ ดังกลาว นักเรยี นไดประโยชนอ ยางไรบา ง 16 คมู อื ครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Evaluate òหนวยการเรยี นรทู ี่ Engage Explore Expand Engage กระตนุ ความสนใจ ครอบครวั และเพือ่ น 1. ครถู ามคาํ ถาม แลว ใหน กั เรียนแสดงความ คดิ เห็นไดอยางอสิ ระ ¡ÒÃ໚¹à¾èÍ× ¹·è´Õ Õ • นักเรยี นคิดวา คนในภาพ หนา 17 µÍŒ §ÁÕÅ¡Ñ É³Ð มีความสัมพนั ธก ันอยางไร (แนวตอบ คนในภาพเปน เพอ่ื นกัน Í‹ҧäà เปน สมาชิกในสังคมเดยี วกนั ) • ในครอบครัวของนกั เรยี นประกอบดว ย สมาชิกเปนใครบา ง (แนวตอบ คาํ ตอบขึน้ อยูก บั นักเรียนแตล ะคน) 2. ครูสมุ นกั เรยี นใหอ อกมาเลาเกี่ยวกบั สมาชิก ในครอบครัวของตนเองแบบส้นั ๆ ๒เปา หมายการเรยี นรูป ระจําหนว ยที่ เมอื่ เรยี นจบหนว ยน้ี ผเู รยี นจะมคี วามรคู วามสามารถตอ ไปน้ี ๑. อธบิ ายคณุ ลักษณะของความเปนเพ่อื น และสมาชิก ทด่ี ีของครอบครวั (มฐ. พ ๒.๑ ป.๔/๑) ๒. แสดงพฤตกิ รรมท่ีเหมาะสมกับเพศของตนตาม วัฒนธรรมไทย (มฐ. พ ๒.๑ ป.๔/๒) ๓. ยกตัวอยางวิธกี ารปฏิเสธการกระทําที่เปนอันตราย และไมเหมาะสมในเรื่องเพศ (มฐ. พ ๒.๑ ป.๔/๓) เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนกั เรยี นจดั ทาํ สาแหรกครอบครวั (Family Tree) โดยวาดภาพสมาชกิ ในครอบครัว หรือติดภาพสมาชกิ ในครอบครัว กอ นเร่มิ เรยี นช่วั โมงนี้ จากน้ันนาํ ออกมาแสดงท่ีหนาชั้น พรอมกับเลา เกีย่ วกบั สมาชกิ ในครอบครัวของตนเองสน้ั ๆ คมู ือครู 17

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปา หมายการเรยี นรู อธบิ ายคุณลักษณะของความเปนเพือ่ นและ ñบทที่ คนดีท่ีทกุ คนรกั สมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครัว (พ 2.1 ป.4/1) ¡¡¨Ô ¨Ô ¡¡ÃÃÃÃÁÁ¹¹íÒíÒÊÊÙ¡‹ Ù‹¡ÒÒÃÃàÃàÃÕÂÂÕ ¹¹ สมรรถนะของผูเ รียน สาระสําคญั การปฏิบัติตนเปนเพื่อนท่ีดีและเปน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ สมาชกิ ในครอบครวั ทดี่ ี จะทาํ ใหเ ปน ทร่ี กั ใคร 3. ความสามารถในการแกป ญหา ของทุกคน 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ¾Ù´¨Òä¾àÃÒÐ ªÇ‹ ·Òí ¡ÒúŒÒ¹ ầ‹ ¢¹Á ¡Ñº·¡Ø ¤¹ ãËàŒ ¾Íè× ¹ ãËàŒ ¾è×͹¡¹Ô 1. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มงุ มนั่ ในการทํางาน 4. มีจิตสาธารณะ กระตนุ ความสนใจ Engage ªÇ‹ ¾‹ÍáÁ‹ËÃ×Í ª‹ÇÂà¾×è͹ ¾Ù´¤ÂØ ¼»ÙŒ ¡¤Ãͧ á¡Å§Œ Ê¹Ø Ñ¢ ¡Ñºà¾Í×è ¹ ครตู ัง้ คําถามใหน ักเรยี นชวยกนั ตอบ ·Òí §Ò¹ºŒÒ¹ • นกั เรยี นคดิ วา พฤติกรรมใดบางทจ่ี ะทาํ ให เราเปน ทร่ี ักของทุกคน (แนวตอบ เชน ราเริงแจมใส พูดจาไพเราะ มีน้าํ ใจชวยเหลือผูอื่น) • การที่ตัวเราเปน ที่รกั ของคนในครอบครวั มีผลดอี ยางไร (แนวตอบ ทาํ ใหเ รามีครอบครัวทม่ี คี วามสุข) ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¤Ô´Ç‹Ò ÁվĵԡÃÃÁã´ºÒŒ §·è¨Õ зÒí ãËŒ àÃÒ໚¹·ÃèÕ Ñ¡¢Í§·Ø¡¤¹ เกร็ดแนะครู ครจู ัดกระบวนการเรยี นรโู ดยการใหนกั เรยี นปฏิบัติ ดงั น้ี • สาํ รวจ สืบคน ขอมลู เกยี่ วกบั การปฏิบตั ติ นท่ีเหมาะสม เพ่อื เปนทรี่ กั ของทกุ คน • แสดงความคิดเห็นวา การเปน ท่ีรกั ของทกุ คนนัน้ ตองปฏบิ ัตติ นอยา งไร • วเิ คราะหจ ากประเดน็ คาํ ถามและภาพวา หากอยูในเหตกุ ารณด งั ภาพจะมีการ ปฏิบัติตนอยา งไร จนเกดิ เปนความรคู วามเขา ใจวา การทจ่ี ะเปนทร่ี กั ของครอบครวั และเพอ่ื น ตอ งปฏบิ ตั ติ นใหเ ปน คนดี ซงึ่ การเปน ทร่ี กั ใครข องครอบครวั และเพอื่ น จะทาํ ใหเ ราอยู รวมกันอยางมคี วามสุข 18 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate สาํ รวจคน หา Explore ค น ทุ ก ค น ท่ี เ กิ ด ม า ไ ม  ว  า จ ะ เ ป  น เ พ ศ ใ ด àÁÍ×è ÍÂÙ·‹ ÕèºÒŒ ¹ ¹¡Ñ àÃÕ¹ 1. ครูถามนกั เรียนวา เมือ่ อยูบา นนักเรียนทํา ก็มีความสําคัญไมนอยไปกวากัน ทุกคนตาง ÁÕ˹Ҍ ·èÕÍÐäúҌ §¹Ð อะไรบา งโดยเขยี นลงในกระดาษ จากน้ัน มีหนาที่ มีขอดีและขอดอยท่ีแตกตางกันออกไป ครถู ามนักเรยี นตอวา ส่ิงทน่ี กั เรยี นทาํ เม่ืออยู เราตองรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสมตอสมาชิกใน ทบี่ า นเปน สงิ่ ท่ีดีหรอื ไม ถา ดีใหวงกลมรอบ ครอบครัวและเพื่อน เพ่ือใหเปนท่ีรักของทุกคน พฤตกิ รรมนัน้ ดว ยสีเขยี ว ถาไมดีใหว งกลม ตลอดไป รอบพฤตกิ รรมน้นั ดวยสแี ดง ๑ การปฏบิ ตั ติ นทเ่ี หมาะสมกบั สมาชกิ ในครอบครวั 1 2. ครูถามนักเรียนวา คนในครอบครัวจะรสู ึก ครอบครัวที่มีความสุขสามารถเกิดข้ึนได ถาสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติ อยางไร ถานกั เรยี นปฏบิ ัติตามพฤติกรรม ตอกันดวยความรักและความเขาใจ และในฐานะท่ีเราเปนสมาชิกในครอบครัว ในวงกลมสีเขยี วและสแี ดง เราควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี อธบิ ายความรู Explain ¡Òû®ºÔ µÑ µÔ Í‹ ¾Í‹ áÁ‹ËÃ×ͼ»ÙŒ ¡¤Ãͧ ¡Òû®ºÔ ѵµÔ ‹Í¾è¹Õ ŒÍ§ 1. ใหน กั เรียนรวมกันแสดงความคดิ เหน็ วา ควรจะปฏบิ ตั ิตนอยา งไร จงึ จะทําใหค นใน ● เคารพและเช่ือฟง คําส�งั สอน ● รักใครกลมเกลียวกนั ครอบครัวรักนกั เรยี น ● ตง้ั ใจศึกษาเลา เรยี น ● ไมท ะเลาะเบาะแวงกนั ● ชวยเหลอื งานในบา น ● ใหค วามชวยเหลอื 2. ใหนกั เรยี นรวมกนั สรปุ วา การปฏิบตั ิตนท่ี ● พูดจาไพเราะออ นหวาน เหมาะสมตอสมาชิกในครอบครัวจะเกิดผลดี ซง่ึ กันและกนั ตอ การอยรู วมกันในครอบครวั อยา งไร ● เอ้ือเฟอเผ่อื แผกัน ขยายความเขา ใจ Expand ¡Òû®ÔºÑµÔµÍ‹ ÞÒµÔ¼ãÙŒ ËÞ‹ 1. ใหนกั เรียนสาํ รวจตนเองในการปฏบิ ตั ิตน ËÃÍ× ¼ãÙŒ ËÞã‹ ¹ºÒŒ ¹ เมอ่ื อยูที่บา นเปนเวลา 5 วัน แลว บันทึกขอ มูล ในสมุด ● เคารพและเช่ือฟง ● ชว ยเหลือดวยความเตม็ ใจ 2. ใหนักเรยี นเขยี นพฤติกรรมของตนเองท่ี ● พูดจาสุภาพ ออนนอม ปฏิบตั ิแลว ทุกคนในครอบครวั พงึ พอใจ และพฤติกรรมท่ปี ฏิบัตแิ ลว ทกุ คนใน ครอบครวั ไมพ ึงพอใจ โดยทําลงในสมุด ตรวจสอบผล Evaluate 1. ครูตรวจสอบความถูกตอ งและครบถว นของ ขอมูลทีน่ กั เรยี นบันทึก 2. ครูตรวจสอบผลการสํารวจพฤติกรรมของ ๑๙ ตนเองวา นักเรียนสามารถบอกพฤติกรรมที่ ขอสอบ O-NET เหมาะสม และไมเหมาะสมไดถกู ตอ ง ขอสอบป ’52 ออกเกี่ยวกบั ครอบครวั นักเรียนควรรู กิจกรรมวนั หยดุ ขอ ใดทีท่ ําใหส มาชกิ ในครอบครัวมสี ุขภาพดี 1 ครอบครัว คนตัง้ แต 2 คนขึ้นไป ท่ีมคี วามสมั พนั ธก นั ทางการแตงงาน ทาง และมคี วามสขุ มากทส่ี ดุ สายเลอื ด ทางการรบั เลย้ี งเปน บตุ รบญุ ธรรม และพอ แมบ ญุ ธรรม หรอื ความสมั พนั ธ 1. พอแมไ ปตีกอลฟ สวนลูกเลน เกมท่ีบา น แบบคูชวี ิต 2. พอ แมส ง ลูกไปอยูกบั ตายายแลวไปทํางานพเิ ศษ 3. พอ แมส งลูกไปเรยี นพเิ ศษแลวไปซื้อของท่ีหางสรรพสินคา 4. ไปสวนสาธารณะเพือ่ ออกกําลงั กายและกลับมาทาํ อาหารรวมกนั วเิ คราะหค ําตอบ ครอบครวั จะมคี วามสขุ กเ็ มอื่ ไดทาํ กิจกรรมรวมกัน คือ ทาํ อาหารรว มกนั และจะมสี ขุ ภาพดีเมือ่ ไดออกกาํ ลังกายรวมกนั สว น 1, 2, 3 เปน การตา งคนตางทํากิจกรรม ทําใหค รอบครวั อาจไมม คี วามสขุ ดังนนั้ ขอ 4. เปน คําตอบทถ่ี กู คมู อื ครู 19

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขาาใจใจ ตรวจสอบผล Evaluate Engage Explore Explain Expand กระตนุ ความสนใจ Engage ครถู ามนกั เรยี นวา นกั เรียนประทบั ใจเพื่อน ๒ การปฏบิ ตั ิตนทเ่ี หมาะสมตอ เพ่ือน คนไหนมากทีส่ ดุ แตไมต องพูดชอ่ื เพอ่ื นออกมา เม่ือนักเรยี นอยูที่โรงเรยี น นกั เรียนตองอยูรว มกับเพ่ือนๆ นักเรียนตองทาํ และประทับใจเพ่อื นคนนัน้ เพราะเหตใุ ด โดยครูเนน กิจกรรมตางๆ รวมกบั เพอ่ื น เชน เรียน เลน กินอาหาร เปน ตน ดงั นนั้ เพ่อื ให ใหนักเรยี นใชถอยคาํ ทีส่ ภุ าพ สามารถอยรู วมกันอยางมคี วามสุขเราจึงควรปฏิบัตติ อ เพื่อน ดังนี้ สาํ รวจคน หา Explore 1. ครูแจกกระดาษใหนกั เรยี นคนละแผน โดยให ๑ มีจิตใจโอบออ มอารี เออื้ เฟอ เผือ่ แผเมอื่ มีโอกาส ¢ÍÂ×ÁÊäÕ ÁŒ ¹¨èÕ ÐŒ เขยี นชือ่ ตนเองทหี่ วั มมุ ดา นขวาของกระดาษ ๒ ใหค วามชวยเหลอื เม่อื เพอ่ื นเจ็บปวยหรอื ä´ŒäËÁ¨Ð ¢Íºã¨¨ÐŒ จากน้นั ใหน ักเรยี นสงกระดาษใหเ พอ่ื นในหอ ง เขยี นความรูสกึ ทม่ี ีตอ เจาของกระดาษ โดยครู ประสบอุบตั ิเหตุ à¸Íà¡‹§¨§Ñ àÅ เนนใหน กั เรยี นใชถอ ยคําท่ีสุภาพ Êͺ䴷Œ èÕ ñ ´ŒÇ ๓ ใหเ กยี รติ ยกยอง พดู ใหกาํ ลังใจเพื่อนเสมอ ©Ñ¹´Õ㨴nj ¹Р2. เม่ือเขยี นกระดาษจนครบแลว ใหนักเรยี นสง ๔ พดู กบั เพื่อนดว ยถอ ยคาํ สุภาพ กระดาษคืนใหเ จาของ จากน้นั ครสู ุมนักเรียน ๕ แนะนาํ เพ่ือนใหเ ลอื กคบคนทีด่ ี ตักเตือนไมใ หเพ่ือน ออกมาบอกวา เพ่อื นๆ มคี วามรสู กึ กับตน อยา งไรบา ง ประพฤติไมด ี เชน ไมใหย ุงเก่ียวกบั สารเสพติด อธบิ ายความรู Explain ๖ ชกั ชวนเพอ่ื นใหป ฏบิ ตั ใิ นสงิ่ ทดี่ แี ละเปน ประโยชน เชน รักษาสุขภาพใหแข็งแรง ออกกําลังกาย 1. ครูสมุ นักเรียน 2 - 3 คน ออกมาเลา วา เพอ่ื น ทบทวนบทเรียน ทาํ บญุ ชว ยเหลือผูอืน่ เปน ตน เขียนความรสู ึกถึงตนอยา งไร แลว ถามนักเรียน วา นกั เรียนคดิ วา เพราะเหตุใดเพื่อนจึงรูสกึ กบั ¢ŒÍ¹Õé นกั เรียนเชน นน้ั โดยหากเปน ความรสู ึกดา นลบ ·íÒÂѧ䧨Ѝ ครอู าจแนะนาํ วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นทด่ี ีตอเพือ่ น à´ÕÂë ǼÁÊ͹ 2. ใหน ักเรียนอา นการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมตอ ãËŒ¤ÃºÑ เพ่อื น หนา 20 ขยายความเขา ใจ Expand ครูยกตวั อยางสถานการณ แลว ใหนกั เรียน และนอกจากนี้ ถา นักเรยี นมเี พือ่ นตา งเพศ1ควรรูจ กั วางตวั ใหเ หมาะสม แสดงวธิ ีปฏบิ ตั ิท่เี หมาะสมกับเพ่ือน ตวั อยางเชน ๒๐ • เพอ่ื นลมื นําดินสอมาโรงเรียน • เพื่อนสอบไดท ี่ 1 หรอื เพ่ือนสอบตก • เพือ่ นไมเขาใจการบาน • เพื่อนสะดุดหกลม หรือบาดเจ็บไมสบาย เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT ขาวหอมใหเ พื่อนยมื ดินสอ เพราะเพ่อื นลืมเอามา นกั เรียนคดิ วา การใหน ักเรียนออกมาเลา ความรูส ึกที่เพอ่ื นเขียนใหนนั้ ครคู วรระมดั ระวงั การใช ขาวหอมปฏบิ ตั ดิ ีกับเพ่ือนในดา นใด คาํ พูดทร่ี นุ แรง หยาบคาย หรือทํารา ยจติ ใจจากความรูสกึ ทีเ่ พอ่ื นเขยี น เพราะอาจ 1. ใหเ กียรติเพ่อื น จะทําใหนักเรยี นที่ออกมาเลา เกิดความรูสกึ อาย หรอื เสียใจได 2. มีน้าํ ใจกบั เพอ่ื น 3. พดู สุภาพกับเพื่อน นักเรียนควรรู 4. ใหค ําแนะนํากบั เพ่อื น วิเคราะหคาํ ตอบ การทข่ี า วหอมใหเพอ่ื นยืมดนิ สอ เปนการแสดงถงึ 1 เพอ่ื นตา งเพศ หมายถึง เพื่อนท่มี ลี กั ษณะตางจากเพศของตนเอง การคบเพือ่ น การเอ้ือเฟอเผอ่ื แผ มีจิตใจโอบออ มอารี รจู ักแบงปน ดงั นั้น ขอ 2. ตา งเพศจะแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะคอื คบแบบเพอ่ื น และคบแบบครู กั ซง่ึ การคบเพอ่ื น เปนคาํ ตอบทถ่ี กู ตา งเพศ ควรมกี ารปฏบิ ตั ติ นตอ กนั อยา งเหมาะสม เชน ใหเ กยี รตซิ งึ่ กนั และกนั พดู จา กนั ดว ยถอยคาํ ทีส่ ุภาพ ไมแสดงกริ ยิ าสนิทสนมเกนิ ขอบเขต และคบหากนั โดยอยใู น สายตาของผใู หญ 20 คมู อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ขยายความเขา ใจ Expand ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ 1. ใหนกั เรียนอา นเหตุการณท่กี ําหนดใหใน กิจกรรมการเรยี นรู ขอ 3 หนา 21 แลว บอกวา ๑ สํารวจตนเองในการปฏิบัติตนเมอื่ อยทู บ่ี า นเปนเวลา ๕ วัน แลวบนั ทึกขอ มูลลงในสมดุ นักเรียนจะปฏิบตั ติ นอยา งไร ๒ สาํ รวจและเขยี นพฤตกิ รรมของตนเองที่ปฏิบตั แิ ลว ทุกคนในครอบครวั พึงพอใจ และพฤติกรรม 2. ใหน ักเรยี นบอกผลเสียของการปฏบิ ตั ติ นเปน ทป่ี ฏบิ ตั แิ ลวทกุ คนในครอบครัวไมพ ึงพอใจ เพอ่ื นทีไ่ มด ี 3 ขอ ๓ อานเหตุการณตอไปนี้ แลว บอกวา นกั เรียนจะปฏิบัติตนอยางไร 3. ใหน กั เรียนดภู าพ หนา 21 แลวสมมตุ วิ า ๑) เมื่อเห็นแมถ อื ของมาพะรุงพะรัง นักเรยี นเปน ของเดก็ ในภาพ นักเรียนจะ ๒) ถานอ งไมเ ขาใจการบาน ตอบวา อยา งไร ๓) ถาเพ่ือนของนกั เรยี นลมื เอาดนิ สอมาโรงเรียน ๔) เมอื่ เหน็ พอกาํ ลังตดั หญาอยูหนา บา น 4. ใหน ักเรียนรว มกันตอบคาํ ถามขยายความรู ๕) ถานกั เรยี นซ้ือขนมมาหลายอยา ง สูการคดิ ๔ บอกผลเสียของการปฏบิ ตั ติ นเปนเพ่อื นทไี่ มดี มา ๓ ขอ ๕ ดูภาพ แลว สมมุตวิ านกั เรียนเปนเพอ่ื นของเดก็ ในภาพ นกั เรียนจะตอบวาอยางไรใหวาดภาพ ตรวจสอบผล Evaluate ลงในสมดุ พรอ มกบั เขียนคําพดู ประกอบ 1. ครตู รวจสอบผลการแสดงบทบาทสมมุติ ๑ ¢ÍÂ×ÁÂҧź䴌äËÁ ๒ àÅ¡Ô àÃÕ¹áÅŒÇä»àÅ‹¹ โดยดจู ากความถูกตองเหมาะสมของการ ¿ØµºÍÅ¡ºÑ àÃÒäËÁ ปฏิบัตจิ ากสถานการณทค่ี รูยกตัวอยา ง ©Ñ¹ÅÁ× àÍÒÁÒ 2. ครตู รวจสอบความถกู ตอ งของพฤติกรรมท่ี นักเรียนปฏิบัติ 3. ครตู รวจสอบวา นักเรยี นบอกผลเสยี ของ การปฏิบตั ิตนเปน เพื่อนท่ไี มดไี ดถ กู ตอ ง 4. ครูตรวจสอบภาพวาดประกอบคําพูดของ นกั เรียน ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ หลกั ฐานแสดงผลการเรียนรู การปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว 1. แบบประเมินผลการสาํ รวจพฤตกิ รรม และเปน เพอ่ื นท่ีดี มผี ลดีตอตนเอง ครอบครวั และสังคม 2. ผลงานการเขียนอธบิ ายพฤติกรรมท่ีทาํ ให อยางไร ๒๑ ทุกคนในบานพอใจ และไมพอใจ 3. ภาพวาดประกอบคาํ พูดที่จะพูดกับเพ่ือน เฉลย กจิ กรรมการเรียนรู 3. แนวตอบ 2) สอนการบา นนอง เพื่อใหน องเขาใจ และสามารถทําการบานได 1) รีบเขาไปชวยแมถ อื ของ 3) ใหเ พอื่ นยมื ดนิ สอ 4) ชวยพอ เกบ็ หญาท่ีตดั แลวไปทิง้ 5) แบง ขนมใหเพือ่ นๆ กินดว ย 4. แนวตอบ เชน 1) เพ่อื นไมรกั ไมอยากคบ 2) เพื่อนไมช วยเหลือเมอื่ เรามีปญหา 3) มปี ญหาเวลาทํางานกลมุ 5. แนวตอบ เชน 1) “ไดสิ เอายางลบเราไปใชกอนกไ็ ด เรามีหลายกอ น” 2) “ไปสิ สนกุ ดี ฉันชอบเลน ฟุตบอลมากเลย ขอบใจท่ีชวน” เฉลย ขยายความรูสกู ารคดิ แนวตอบ การปฏิบตั ติ นเปนสมาชกิ ที่ดีของครอบครัวและเพื่อนจะทําใหเ ปนท่ีรกั ของทกุ คน มคี นคอยชวยเหลือ ครอบครัวรกั ใคร กลมเกลียว มีความอบอนุ ซึ่งจะสงผลใหอยูร วมกนั ในสังคมไดอ ยางสงบสขุ คูมอื ครู 21

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปาหมายการเรียนรู 1. แสดงพฤติกรรมทีเ่ หมาะสมกับเพศของตนตาม òบทท่ี พฤติกรรมทางเพศ สาระสาํ คญั วฒั นธรรมไทย (พ 2.1 ป.4/2) ทุ ก ค น เ กิ ด ม า มี คุ ณ ค  า ทั้ ง เ พ ศ ห ญิ ง ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí Ê¡Ù‹ ÒÃàÃÂÕ ¹ 2. ยกตวั อยางวธิ กี ารปฏิเสธการกระทาํ ทเ่ี ปน เพศชายและเพศอ่ืนๆ เราจึงควรปฏิบัติตน อันตรายและไมเ หมาะสมในเร่อื งเพศ ใหเหมาะสม และดูแลปกปองตนเองให (พ 2.1 ป.4/3) ปลอดภยั จากอนั ตรายทางเพศ สมรรถนะของผเู รียน ó ò 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการแกปญ หา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค ñ ô 1. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 2. รกั ความเปนไทย กระตนุ ความสนใจ Engage õ ö ใหนักเรียนดภู าพ หนา 22 แลว ถามวา • นักเรียนชอบส่งิ ของใดในภาพ เพราะอะไร (ตอบ คาํ ตอบขน้ึ อยกู บั นกั เรยี นแตล ะคน) ÷ àÅ×Í¡ÊÔ觢ͧ·Õè ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹ªÍº เกร็ดแนะครู ครจู ัดกระบวนการเรยี นรโู ดยใหน กั เรยี นปฏิบตั ิ ดังนี้ • สบื คนขอ มลู เร่อื งการปฏบิ ตั ิตนใหเหมาะสม และการปฏเิ สธการกระทําทีเ่ ปน อนั ตรายและไมเ หมาะสมในเรือ่ งเพศ • แสดงบทบาทสมมตุ ิในการปฎบิ ัตติ นใหเหมาะสม และปฎเิ สธการกระทาํ ที่ เปน อันตรายและไมเหมาะสมในเร่ืองเพศ • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพ โดยสามารถบอกไดวา พฤตกิ รรมใด เหมาะสมหรือไมควรกระทํา จนเกิดความรคู วามเขา ใจวา ทกุ คนมีพฤติกรรมและการแสดงออกแตกตา งกนั จงึ ควรปฏิบัตติ นใหเ หมาะสม และตอ งรูจักดแู ลตนเองใหม ีความปลอดภยั ทางเพศ 22 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate สาํ รวจคน หา Explore เพศวิถี เปนลักษณะที่เกี่ยวของกับจิตใจ ¹Ñ¡àÃÕ¹¨Ð»¯ÔºÑµÔµ¹ 1. ใหนกั เรียนแบงกลมุ โดยสมาชิกภายในกลุม พฤติกรรม และสังคม ดานเพศของบุคคล เชน ãËŒàËÁÒÐÊÁ¡Ñºà¾È ตอ งมที ้งั เพศหญงิ และเพศชาย ตองการเปนเพศใด และการแสดงออกตอ สาธารณะเกย่ี วกบั เพศของตน เชน ชายแสดงออก ¢Í§µ¹ÍÂÒ‹ §äà 2. ใหน ักเรียนในกลมุ รวมกนั อภปิ รายวา เปนหญิงในท่ีสาธารณะอยางเปดเผย การปฏบิ ตั ติ นใหเ หมาะสมกับเพศวถิ ี เปน อยา งไร ใหแ ตล ะกลมุ สง ตัวแทนออกมา นาํ เสนอหนา ชั้น ๑ การปฏบิ ตั ติ นใหเหมาะสมกับเพศวถิ ี อธบิ ายความรู Explain เพศ หมายถงึ ลกั ษณะทแ่ี สดงใหร วู า เปน เพศใด ซง่ึ กาํ หนดโดยลกั ษณะทาง ชีววิทยา เรยี กวา เพศโดยกาํ เนดิ และลักษณะทีเ่ กย่ี วของกับจิตใจ พฤตกิ รรม ตวั แทนแตละกลุมออกมานําเสนอผลการ และสงั คม เรยี กวา เพศวถิ ี ไมว า เราจะแสดงออกทางเพศลักษณะใด เรากค็ วร อภปิ รายเรอื่ ง เพศชายและเพศหญิง ควรมี ปฏิบัติตนใหเ หมาะสมกับเพศวิถีของตนเอง ซึ่งปฏบิ ัติไดด ังน้ี พฤตกิ รรมอยางไร และควรปฏิบตั ติ อเพศตรงขาม อยางไร โดยครูชวยอธบิ ายเพ่ิมเติม ขยายความเขา ใจ Expand ● มกี ิรยิ ามารยาททสี่ ภุ าพเรยี บรอ ย ● รจู กั ใหเ กยี รติและยกยองผอู น่ื 1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรู ขอ 1 ● เหน็ คุณคาของตนเอง ● มคี วามเสยี สละ รับผิดชอบและหวงใยผอู น่ื หนา 25 โดยบอกวา พฤตกิ รรมของเดก็ ใน ● มคี วามจริงใจและซื่อสตั ย ไมเ อาเปรียบผอู ่นื ● มีความอดทนอดกลัน้ เขมแข็ง และ ภาพเหมาะสมหรือไม แลวเขียนลงในสมดุ ● แสดงความเอาใจใส หวงใยซ่ึงกันและกัน ไมกาวรา วรุนแรง 2. ใหน ักเรยี นเขยี นพฤตกิ รรมทนี่ กั เรียน ควรปฎบิ ัตใิ หเหมาะสมกบั ตนเองลงในสมดุ ● พดู จาสภุ าพเรยี บรอย เปนผูฟง ท่ดี ี ● ชวยเหลอื ผทู ี่เดือดรอ น ¡ÒÃäËÇŒ¼ŒÙ ● ใหความเคารพและเชอื่ ฟงผูใหญ ออนนอมถอมตน ● ดูแลสุขภาพรางกายใหแขง็ แรงอยเู สมอ ต1.รควรจตู สรวอจบสอผบลคãวËาÞม‹àถ»ูก¹š ตÁอ ÒงÃขÂอÒงค·าํ ·ตÕè¹อEบ¡Ñ vจàaÃาÕÂlกu¹a¾t§Öe»¯ÔºÑµÔãËà ความชอบและการแสดงออกทางเพศของคนซ่ึงอาจจะแตกตา งกนั ทุกคน กิจกรรมการเรียนรู ขอ 1 ไมจําเปนตองมีความชอบและการแสดงออกทางเพศที่ตรงกับเพศโดยกําเนิด 2. ครูตรวจสอบความถูกตอ งของคาํ ตอบวา หรือไมตองตรงกับบทบาทความเปนชายหรือความเปนหญิงท่ีเคยเห็นโดยทั่วไป ในสงั คมมคี า นยิ มเรอื่ งเพศหลายประการทนี่ าํ ไปสพู ฤตกิ รรมเสยี่ งทางเพศ ดงั นนั้ นกั เรียนสามารถบอกพฤติกรรมท่เี หมาะสมกบั เราจึงควรเลือกรับคานิยมในเรื่องเพศที่ถูกตองและเหมาะสม และไมทําใหเกิด ตนเองได โทษตอตนเองและผอู น่ื ๒๓ ขอสอบ O-NET เกร็ดแนะครู ขอสอบป ’52 ออกเกยี่ วกบั พฤติกรรมทางเพศ ครใู หนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลมุ คดิ สถานการณเ กี่ยวกบั การปฏบิ ตั ิตน พฤติกรรมใดที่เหมาะสมในการปฏบิ ตั ิตัวตอ เพ่ือนเพศตรงขาม หลังจาก กบั เพอื่ น แลวออกมาแสดงทีห่ นาช้นั จากน้นั ใหเพ่อื นตา งกลุมพิจารณาวา เปนการ ปฏบิ ัติตนท่ีเหมาะสมหรือไม อยา งไร ไดร บั ชยั ชนะในการแขง ขนั กีฬา 1. แสดงความดีใจดว ยการกอดเพ่ือนทกุ คน คมู อื ครู 23 2. แสดงความดีใจดว ยการดม่ื ของมึนเมา 2. แสดงความดีใจดวยการกระโดดตบมอื และย้ิมดว ยความยินดี 4. แสดงความดีใจดวยการปรบมอื และกอดเพอื่ นทกุ คน วเิ คราะหคาํ ตอบ ขอ 1 และ ขอ 4 เปน การแสดงความดใี จทไี่ ม เหมาะสม เนอ่ื งจากวัฒนธรรมไทยไมนิยมการกอดกนั โดยเฉพาะการกอดกนั ในท่ีสาธารณะหรอื กอดกบั เพศตรงขาม ขอ 2 การดมื่ ของมึนเมาจะสง ผลเสยี ตอ รา งกาย จงึ เปนการแสดงความดใี จ ทีไ่ มเหมาะสม ขอ 3 การกระโดดปรบมือและย้ิมเปน การแสดงความดใี จท่ีเหมาะสมและ ไมขัดตอวัฒนธรรมไทย เพราะไมมกี ารถูกเนอ้ื ตอ งตัวกันกบั เพศตรงขา ม ดงั นั้น ขอ 3 เปน คําตอบที่ถูก

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain กระตนุ ความสนใจ Engage ครตู ั้งคําถามกระตุนการเรยี นรู เชน นกั เรียน ๒ การปฏิเสธการกระทาํ ท่ีเปน อนั ตราย เคยเหน็ ขา วเกีย่ วกับการลวงละเมดิ ทางเพศหรอื ไม พบจากสือ่ ใด ในเรอ่ื งเพศ ในปจจุบันถาเราติดตามขาวสารรอบตัวอยูเสมอ จะพบวามีขาวการ (แนวตอบ เคยเหน็ ในหนังสอื พมิ พ โทรทัศน) สาํ รวจคน หา Explore ลว งละเมดิ ทางเพศและอาชญากรรมทางเพศเพม่ิ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ โดยอนั ตรายทางเพศ ท่ีเกิดข้ึนอาจจะมาจากคนแปลกหนา แตบางครั้งก็อาจเกิดจากคนใกลชิดหรือ 1. ใหน กั เรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 4 - 5 คน คนที่รูจักก็ได การรูจักวิธีการปองกันตนเองจากอันตรายทางเพศเหลาน้ีจึงเปน จากนน้ั ครนู าํ ขา วเกย่ี วกบั การลว งละเมดิ สิ่งสาํ คญั ทจ่ี ะชว ยใหต วั เราปลอดภัย ทางเพศ แจกใหนักเรียนในแตล ะกลุม เราตอ งรจู กั ระมดั ระวงั ตนเองและรวู ธิ ปี อ งกนั หรอื หลกี เลยี่ งอนั ตรายทางเพศ ซง่ึ สามารถปฏบิ ตั ิได ดังนี้ 2. ใหนักเรยี นแตล ะกลุมรวมกนั วเิ คราะหข า วที่ อยา รับส่งิ ของ ªÇ‹ ´ŒÇ ! ÁÕ¤¹ กลุมตนเองไดวา เกดิ ขนึ้ ทไี่ หนกบั ใคร มีสาเหตุ อยาอยตู ามลําพัง หรือกนิ อาหาร หรอื ด่มื นา้ํ ÅǹÅÒÁ¼Á¤ÃºÑ ! มาจากอะไร และการลว งละเมิดทางเพศตาม กับคนแปลกหนาหรอื ขาวสง ผลกระทบอยางไร คนอน่ื ๆ ที่ไมใ ชสมาชิก ของคนแปลกหนา 3. ใหนักเรียนรว มกนั คดิ วธิ ีการปอ งกันการ ในครอบครวั ลวงละเมดิ ทางเพศ แลวสงตัวแทนกลุม ออกมาเสนอหนา ชั้นเรยี น ถามคี นจะมาลว งละเมิด ทางเพศ ใหตะโกนขอความ อธบิ ายความรู Explain ä»àÍҢͧàÅ‹¹ ·ÃèÕ ¶¾Õäè ËÁ ชว ยเหลือดงั ๆ 1. ตวั แทนนกั เรยี นออกมานาํ เสนอผลการ วเิ คราะหข า วเก่ียวกบั การลวงละเมิดทางเพศ อยาหลงเชื่อคําชักจงู ËÂØ´ ÍѹµÃÒ ไมค วรเปด ประตู ของคนแปลกหนา ·Ò§à¾È รบั คนแปลกหนา 2. ใหนักเรียนรว มกนั สรุปสาเหตุของการ หรือคนท่ีไมนาไววางใจ เม่อื อยูบา นเพียงลําพงั ลว งละเมิดทางเพศ และการปองกนั ตนเองและ หลกี เลย่ี งการลว งละเมิดทางเพศ โดยครชู ว ย ถามเี หตุการณทีผ่ ิดปกตใิ ดๆ แตง กายสุภาพ อธบิ ายเพิ่มเตมิ เกดิ ขนึ้ ตอ งรีบบอกพอแม ครู ไมย่ัวยุอารมณท างเพศ หรือผใู หญท ีไ่ วใ จไดท นั ที อยา เลนในทเ่ี ปลย่ี วตามลําพงั ขณะไปเลน ควรไปกับพอ แม ผปู กครอง ครู หรือผใู หญท ่ไี วใจไดมากท่สี ดุ และไมไปไหนคนเดยี ว ควรใหผ ูปกครองไปเปนเพอ่ื น ๒๔ เกร็ดแนะครู ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT พฤตกิ รรมของใครในขอตอไปนท้ี อ่ี าจทําใหเกดิ อันตรายทางเพศได ครูแนะนํานกั เรียนเกี่ยวกับหนว ยงานท่จี ะใหค วามชว ยเหลอื เมื่อเกิดการ 1. อารท รบี บอกครูเม่ือเหน็ ผชู ายคนหนึ่งไมนาไวใ จ ลว งละเมิดทางเพศ เชน 2. แตว ปฏเิ สธขนมทีล่ งุ ขา งบา นใหโ ดยบอกวาอมิ่ แลว • มูลนิธปิ วณี าหงสกลุ เพอื่ เดก็ และสตรี โทร. 025770500 - 1, 025770496 - 8 3. จว๋ิ ไมยอมพูดคยุ กบั คนแปลกหนา หรอื คนไมคนุ เคย • มลู นิธิเพอ่ื นหญิง โทร. 025131001 4. ออ มมีบา นอยูในซอยเปลย่ี วและชอบกลบั บา นดึกๆ คนเดยี ว • ศูนยป ระชาบดี โทร. 1300 วเิ คราะหค าํ ตอบ ขอ 1, 2 และ 3 เปน การปฏบิ ัตติ นท่ีชวยในการ ปอ งกันการเกิดอันตรายทางเพศได แตขอ 4 เปน การปฏิบตั ติ นท่ีทําให มมุ IT เส่ยี งตอการเกิดอนั ตรายทางเพศ เพราะอาจถกู ลว งละเมดิ ทางเพศหรอื ถูกปลน จ้ชี ิงทรัพยไ ด ดังนั้น ขอ 4. เปนคาํ ตอบท่ีถูก ครสู บื คน ขอมูลเรอื่ ง ดแู ลตนเองอยา งไรใหปลอดภัยจาก “ภัยทางเพศ” ไดจ าก เว็บไซต http://www.jvkk.go.th/jvkkfifirst/story/general/4.htm 24 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ 1. ใหนกั เรียนบอกวิธกี ารปฏิเสธการกระทาํ ที่ เปนอันตราย และไมเ หมาะสมในเร่ืองเพศ ๑ ดูภาพแลวบอกวา เด็กในภาพมีพฤตกิ รรมทางเพศวถิ ีอยางไร เพราะอะไร จากภาพในกจิ กรรมการเรียนรู ขอ 3 หนา 25 ๑ ๒ ÊÇÊÑ ´¤Õ ÃºÑ ๓ ÍÂàÅÒ‹ ÂàʹÕÂÐ㨠2. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกนั สมมติ สถานการณต ามขาว แลว ออกมาแสดงบทบาท ÊÇÑÊ´¤Õ Ћ สมมติแสดงวธิ ีการปองกันหรือหลกี เลี่ยง อันตรายทางเพศ และใหเ พือ่ นกลุมอ่ืนรวมกัน ๒ เขียนพฤตกิ รรมท่เี หมาะสมกับตนเองลงในสมดุ ประเมิน และแสดงความคดิ เห็นเพม่ิ เติม ๓ บอกวธิ ีการปฏเิ สธการกระทําทเ่ี ปนอันตรายในเร่อื งเพศจากภาพที่กาํ หนด 3. ใหน ักเรียนสรปุ การปฏบิ ัติตนเปนสมาชกิ ท่ี ดีของครอบครวั และเพ่ือน การปฏบิ ัตติ นให เหมาะสมกบั ตนเอง และการปฏิเสธอนั ตราย ทางเพศ โดยสรุปเปนแผนผังความคดิ 4. ใหน ักเรยี นทํากจิ กรรมรวบยอดท่ี 2.3 จากแบบวดั ฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.4 ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝกฯ สขุ ศึกษาฯ ป.4 กจิ กรรมรวบยอดท่ี 2.3 ๑ ๒ à¢ÒŒ ÁÒàÅ‹¹ แบบประเมินตัวช�้วัด พ 2.1 ป.4/3 àÍÒ¢¹ÁäËÁ à´ÂëÕ Ç¹ÒŒ ãËŒ ·ºèÕ ÒŒ ¹¹ŒÒäËÁ ¾èÕÃÙ¨Œ Ñ¡à¢Ò ¤¹¹éÕ໹š ã¤Ã ËÃ×Íà»ÅÒ‹ กิจกรรมรวบยอดที่ ๒.๓ แบบประเมนิ ตัวชว้ี ดั พ ๒.๑ ป.๔/๓ • ยกตวั อยางวิธีการปฏิเสธการกระทําท่เี ปนอันตรายและไมเ หมาะสมในเรอื่ งเพศ ชดุ ที่ ๑ ๑๐ คะแนน เขยี นคําพดู หรือการกระทําทีน่ กั เรียนจะปฏบิ ัตเิ พื่อหลกี เล่ียงเหตุการณท ่กี าํ หนดให (ตวั อยา ง) ๑) ¶ŒÒÁÁÒÕ¤¢¹ÍËáÍ»ÁÅá¡¡ËŒÁ¹ÒŒ …บ…อ…ก…ว…า…ม…ัน…ไ…ม…ด …ีเด…๋ยี…ว…โ…ด…น…แ…ม…ต…ี……… …แ…ล…วร…ีบ……เด…ิน……ห…น…ี ……………………………… ๒) ¡ºÑ ྶÈÒŒ µµÍŒÃ§§Í¢ÂÒŒ Áµ‹Ù ãÒ¹ÁÅËÒíÍŒ ¾§à§Ñ ÃÂÕ ¹ …เด…ิน……อ…อ…ก…ม…า…อ…ย…ูน……อ…ก…ห…อ…ง……ท…ี่ม…ีค…น… ËÅ§Ñ âçàÃÂÕ ¹àÅ¡Ô …อ…ย…ูเย…อ…ะ……ห…ร…ือ…ไ…ม…เ …ป…น …ท…่ีล…ับ…ส……าย…ต……า เฉฉบลบั ย ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ Òä´Ô ๓) ¶ÒŒ ÁÕ¤¹á»Å¡Ë¹ŒÒ …ขอ…บ……ค…ุณ…แ…ต…ไ…ม…ร …บั …ข…น……ม…………………… ãË¢Œ ¹ÁàÃÒ …แ…ล…ว ร…บี……เด…นิ……ห…น…ีไ…ป…………………………… นักเรียนคิดวา การปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับ เพศสภาพมีผลดีอยางไร ๔) àöÒäŒÒ»Á¤Õ˹ºԺ¢ÍÍ¡§ãàËÅ‹¹Œ …บ…อ…ก…ป…ฏ…ิเ…ส…ธ…แ…ล…ว …เด…นิ……ห…น…ไี …ป…………… ๒๕ 㹺ŒÒ¹¢Í§à¢Ò …………………………………………………………… ๕) ¶ÒŒ Á¤Õ ¹ÁҪǹ …บ…อ…ก…ว…า …พ…อ …แ…ม…ไ ม…อ…น……ุญ…า…ต………………… àÃÒä»à·èÂÕ Ç …………………………………………………………… เกณฑป ระเมนิ ชิน้ งาน ๒ คะแนน ตวั ชี้วดั พ ๒.๑ ขอ ๓ ๑ คะแนน ๕ ขอ (ขอละ ๒ คะแนน) ñð ๑๗ไดค ะแนน คะแนนเตม็ • เขยี นคําพูดหรอื การกระทาํ ไดถ กู ตอ งและเหมาะสม • เขียนคาํ พูดหรือการกระทําได แตไมค อยเหมาะสม ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEดิT เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 1. แนวตอบ หากนกั เรยี นตอ งอยใู นสถานการณท่เี สีย่ งตอการเกิดอันตรายทางเพศ นกั เรยี นควรปฏบิ ตั อิ ยา งไรจงึ จะสามารถเอาตวั รอดจากอนั ตรายทางเพศนนั้ ได 1) ไมเ หมาะสม เพราะเพศชายไมค วรรังแกเพศหญงิ หรอื ไมค วรเลนกันแบบ แนวตอบ เม่อื เกิดเหตกุ ารณที่เปน อันตรายทเ่ี สีย่ งตอการเกิดอันตราย ถึงเน้อื ถึงตวั ทางเพศ เชน พบคนแปลกหนา ทห่ี ลอกลอหรอื ชักชวนใหทําส่ิงตางๆ นักเรยี นควรตง้ั สติ ไมตนื่ ตระหนก ตกใจ เมือ่ ตั้งสติแลว นักเรียนควรพยายาม 2) เหมาะสม เพราะการไหวเปน พฤติกรรมท่ดี ตี ามวัฒนธรรมไทย และการ สงั เกตทางหนี หรอื มองหาบคุ คลทจี่ ะสามารถชว ยเหลอื ได แตว ธิ กี ารทีด่ ีที่สุด ลงทายดวยคาํ ที่เหมาะสมกับเพศของตน เปนพฤติกรรมทเ่ี หมาะสมกับเพศ ในการหลีกเลี่ยงอันตรายทางเพศ คือ การไมพ ยายามพาตนเองเขา ไปอยใู น ตามวฒั นธรรมไทย จดุ เส่ยี ง รวมถึงควรติดตามขา วสารอยเู สมอ เพ่อื ใหร ูเทา ทันอนั ตรายทางเพศ รปู แบบตา งๆ และหาทางปอ งกนั ตนเองได 3) เหมาะสม เพราะเพ่ือนควรปลอบใจเพอ่ื นเมอ่ื เพอื่ นเสียใจ 3. แนวตอบ ตอบไดห ลากหลาย เชน 1) “ไมเอาคะ ขอบคุณคะ พอดหี นเู พิง่ กินขา วเสร็จ อม่ิ มากเลยคะ ” 2) “ไมค ะ แมบ อกใหหนรู บี กลบั บา นคะ” เฉลย ขยายความรูสกู ารคดิ แนวตอบ มีผลดคี อื ทาํ ใหเ พศตรงขามใหเ กียรติเรา โดยไมลว งละเมดิ ทางเพศ คมู อื ครู 25

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Explain Expand Engage Evaluate Evaluate ตรวจสอบผล 1. ครตู รวจสอบความถกู ตอ งของคาํ ตอบจาก ÊÒ¨´ÃШÊíÒíÒäǤŒ ÑÞ การปฏิบัติตนตอสมาชิกในครอบครัว กิจกรรมการเรียนรู ขอ 3 นดที ท่ี กุ คนรกั การปฏิบัติตนตอเพ่ือน พพอ อแมหรือผปู กครอง 2. ครูประเมินความถกู ตอง และความเหมาะสม ค พ่ีนชเตคเชตองั้วค้ังวางใยาใยรจรจเเพพเเหหรรเลเยีลชยีชือน่อือืนงอ่ื ฟงาฟนงาบนงา บนาน ของการแสดงบทบาทสมมุติ และให พี่นอรกั งใครป รองดอง คําแนะนําเพมิ่ เติม ับ ิตตนใ หเหมาะสม ักบเพศสภาพ เออื้ เฟอ เผ่อื แผ ญญารเาตอเชเตักอควิผ้อืิผใาื้อยคใูเรูใเหเฟฟหพหรญอเปญลอ ชเอืเรผ่ือหผอือ่ฟรอื่แงงือผแด ผอง ¤Ãͺ¤ÃÑÇ  ชว ยเหลอื เพอ่ื น ผใู หพญดู จในาสบุภานพ 3. ครตู รวจสอบแผนผงั ความคดิ เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ิ áÅÐà¾×Íè ¹  ใหเ กยี รตกิ ัน  เคารพเชื่อฟง ตนเปน สมาชกิ ทีด่ ีของครอบครัวและเพ่อื น  พดู จาไพเราะ การปฏิบตั ติ นใหเหมาะสมกับตนเอง และ  ชกั ชวนทําสง�ิ ทด่ี ี การปฏเิ สธอนั ตรายทางเพศ โดยพจิ ารณา พฤตกิ รรมทางเพศ  ชว ยเหลือ จากความถกู ตองสมบูรณข องขอมูล และ การปฏิเสธอันต  พดู จาสุภาพ ความคดิ สรางสรรค 4. ครตู รวจสอบผลการทาํ กิจกรรมรวบยอดที่ 2.3 จากแบบวัดฯ สุขศกึ ษาฯ ป.4 หลักฐานแสดงผลการเรียนรู รายทางเพศ 1. การเขียนพฤตกิ รรมทนี่ ักเรียนควรปฏิบัติให  สภุ าพเรยี บรอ ย การปฏิ  ไมร บั สิง� ของจากคนแปลกหนา เหมาะสมกบั ตนเอง  แสดงความเอาใจใส  รอ งขอความชว ยเหลือเมอ่ื เกดิ 2. กจิ กรรมรวบยอด 2.3 จากแบบวัดฯ หว งใยกันและกนั อันตราย สุขศึกษาฯ ป.4  เปน สภุ าพชน  ไมเ ปดรับคนแปลกหนาเขา บาน  เสยี สละ  ไมอ ยูในทีเ่ ปล่ียว 3. การแสดงบทบาทสมมตกิ ารปฏเิ สธอนั ตราย  อดทน  เมอื่ เกดิ สงิ� ผดิ ปกติใหบ อกพอ แม ทางเพศ  ชว ยเหลอื ผูอื่น ผปู กครอง ครู หรอื ผใู หญท ไ่ี วใ จได 4. แผนผงั ความคดิ เร่ือง การปฏบิ ตั ิตนเปนสมาชกิ ท่ดี ขี องครอบครวั และเพ่อื น การปฏบิ ัติตนให µÃǨÊͺµ¹àͧ เหมาะสมกบั ตนเอง และการปฏิเสธอันตราย ทางเพศ นกั เรยี นลองสังเกตตนเองดวู า ปฏิบตั ิตามส่งิ ตา งๆ เหลานไ้ี ดห รือไม ❏ บอกลกั ษณะของเพอ่ื นและสมาชิกทด่ี ขี องครอบครัวได ❏ บอกการปฏบิ ตั เิ มือ่ อยทู ่ีบา นและที่โรงเรียนได ❏ บอกพฤติกรรมท่ีเหมาะสมกับเพศวถิ ีของตนได ❏ แสดงพฤตกิ รรมที่เหมาะสมกับเพ่อื นตา งเพศ ๒๖ ❏ บอกวิธีปอ งกันและหลีกเลยี่ งปจ จยั เส่ยี งตอการลวงละเมิดทางเพศได เกร็ดแนะครู กจิ กรรมสรา งเสรมิ ครใู หนักเรียนตรวจสอบตนเอง หลงั จบหนว ยนี้ เพอื่ ตรวจสอบความรู ครใู หน กั เรียนทาํ การดปณธิ านคนละ 1 ใบ โดยใหน กั เรียนเขยี นปณธิ าน ความเขาใจของนกั เรยี น ที่นกั เรียนต้ังใจวา จะปฏิบตั เิ พ่ือใหเ ปนที่รักของครอบครวั และเพอื่ นมาคนละ 1 ขอ พรอ มทงั้ ระบายสีตกแตง การด ปณธิ านของนกั เรียนใหส วยงาม แลว ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติมโดยใหนกั เรียนจดั ทําแบบความเปน เพอ่ื นที่ดี โดยให นําการด มาตดิ ทบ่ี อรด หนาหอ งเรยี น โดยครแู ละนกั เรยี นอาจจะตกลงกนั วา นักเรียนรวมกันกําหนดคณุ สมบตั ขิ องเพือ่ นทดี่ ี แลว บันทกึ ลงในกระดาษ จากนั้น เมื่อครบเทอมการศึกษาแลว จะกลบั มาดวู า นักเรียนไดป ฏบิ ัตติ ามปณิธานท่ี ใหแตละคนสํารวจวา ตนเองตรงกับคณุ สมบัตใิ นขอใดบา ง แลวนําสงครู ครพู ิจารณา นักเรียนตง้ั ใจไวห รือไม วา ถา มีคนใดมคี ณุ สมบัติเกิน 5 ขอ ใหถือวาเปน เพ่ือนทด่ี ี ใหค รูและเพื่อนๆ กลาวชมเชย 26 คมู อื ครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate óหนวยการเรยี นรทู ่ี Engage Expand Engage กระตนุ ความสนใจ ดแู ลสุขภาพ ครตู ั้งคาํ ถามกระตุน การเรียนรู โดยใหน กั เรียน แสดงความคิดเห็นไดอ ยางอสิ ระ ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¤Ô´Ç‹Ò ÊÔ觷àèÕ Ëç¹ã¹ÀÒ¾ • การที่เรามสี ุขภาพดีเกิดจากปจ จัยใดบาง ¨Ðʧ‹ ¼Å¡Ãзº (แนวตอบ เกิดขน้ึ ไดจากหลายปจจัย เชน • กนิ อาหารที่มีประโยชน ÍÐäúŒÒ§ • การมจี ติ ใจราเริงแจมใส ไมเ ครยี ด • การออกกาํ ลงั กายอยางสม่าํ เสมอ • การอยใู นที่ท่มี ีสิ่งแวดลอมทดี่ ี เชน อากาศบริสุทธ์ิ แหลงนํ้าสะอาด ไมเนาเหมน็ ) ๓เปาหมายการเรยี นรปู ระจําหนวยท่ี เมอ่ื เรยี นจบหนว ยนี้ ผเู รยี นจะมคี วามรคู วามสามารถตอ ไปน้ี ๑. อธบิ ายความสัมพนั ธระหวางสง่ิ แวดลอมกบั สขุ ภาพ (มฐ. พ ๔.๑ ป.๔/๑) ๒. อธบิ ายสภาวะอารมณ ความรสู กึ ที่มีผลตอสขุ ภาพ (มฐ. พ ๔.๑ ป.๔/๒) ๓. วิเคราะหขอมลู บนฉลากอาหารและผลติ ภัณฑ สขุ ภาพเพื่อการเลอื กบรโิ ภค (มฐ. พ ๔.๑ ป.๔/๓) เกรด็ แนะครู ครเู ปดเพลงสขุ บญั ญตั แิ หงชาติใหนักเรียนฟง แลว สนทนากับนักเรียนวา ใครปฏบิ ตั ติ ามหลกั สุขบัญญัติแหง ชาติไดครบทัง้ 10 ขอ บาง และเมอื่ ปฏบิ ัตแิ ลว เกิดผลดอี ยางไร แลว ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรปุ วา ถาอยากมสี ขุ ภาพดี ตอ งปฏิบตั ิ ตามหลักสุขบัญญัติแหง ชาติ จากน้นั ใหนักเรยี นรวมกนั รอ งเพลงสุขบัญญัติแหงชาติ พรอมกับทาํ ทาทางประกอบ คูม ือครู 27

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปา หมายการเรยี นรู อธิบายความสมั พนั ธร ะหวา งส่ิงแวดลอ มกบั ñบทที่ ส่งิ แวดลอมรอบตัว ธรรมชาติ (พ 4.1 ป.4/1) ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ¡‹ ÒÃàÃÂÕ ¹ สมรรถนะของผูเ รยี น สาระสาํ คัญ ส่ิงแวดลอมมีความสัมพันธกับสุขภาพ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ การอยใู นสง่ิ แวดลอ มทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะจะทาํ ให 3. ความสามารถในการแกป ญ หา มสี ขุ ภาพท่ดี ี คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ 2. อยอู ยางพอเพยี ง 3. มจี ติ สาธารณะ กระตนุ ความสนใจ Engage ใหนักเรียนดูภาพ หนา 28 แลวถามวา ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¤Ô´Ç‹Ò • นักเรยี นคดิ วา สง่ิ แวดลอ มในภาพใดทสี่ ง ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁã¹ÀÒ¾«ÒŒ ÂËÃÍ× ÀÒ¾¢ÇÒ·ÊèÕ ‹§¼ÅàÊÂÕ µ‹Í梯 ÀÒ¾ ผลเสยี ตอสุขภาพ และมีผลเสยี ตอ สุขภาพ áÅÐÁ¼Õ ÅàÊÕµ͋ 梯 ÀҾ͋ҧäà อยางไร (ตอบ ส่ิงแวดลอมในภาพดา นขวาเปน น้าํ เนาเสยี สงกล่นิ รบกวนผอู ยอู าศยั เปน แหลงเพาะพันธแุ ละแพรก ระจายของเช้อื โรค ซ่งึ มีผลทาํ ใหผอู ยบู ริเวณนน้ั มีอาการเจ็บปว ย ไดงาย) • นกั เรียนชอบอยูใ นสิง่ แวดลอมใด เพราะเหตใุ ด (ตอบ อยใู นสง่ิ แวดลอ มทสี่ ะอาด มตี น ไมม าก อากาศบรสิ ทุ ธ์ิ เพราะทาํ ใหส ดชน่ื เมอื่ อยอู าศัย) เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรโู ดยการใหน กั เรยี นปฏิบัติ ดังน้ี • สบื คนขอมูลความหมายและความสาํ คัญของส่ิงแวดลอ ม ปญ หาส่งิ แวดลอม ทมี่ ผี ลตอ สุขภาพ • ศึกษาแนวทางการปฏบิ ตั ทิ ี่ชว ยในการดแู ลส่ิงแวดลอ ม • รวมกลมุ กนั เพอ่ื ลงมือปฏิบตั ใิ นการดแู ลส่ิงแวดลอ มตามแนวทางท่ีไดศึกษามา • วเิ คราะหปญ หาและหาแนวทางแกไ ขปญหาสิ่งแวดลอมท่มี ีผลตอสุขภาพ จากคําถามและภาพที่ครยู กเปน ตัวอยา ง จนเกดิ เปนความรคู วามเขา ใจวา ส่งิ แวดลอ มมผี ลตอสุขภาพของเรา การอยใู น ส่ิงแวดลอมเชน ไร ยอมสงผลใหสุขภาพเราเปนเชน นัน้ ดังนั้นเราจึงควรชว ยดูแล รักษาสิง่ แวดลอมใหสะอาด เพือ่ ใหตัวเรามสี ขุ ภาพดี 28 คมู ือครู

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Evaluate Engage Explore Expand Engage กระตนุ ความสนใจ ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงตางๆ ท่ีอยูรอบ ÊÔ§è ·èÕÍÂÃÙ‹ ͺµÇÑ ¹Ñ¡àÃÕ¹ ครถู ามนกั เรียนวา ตัวเรา ท้ังส่ิงท่ีมีชีวิตและส่ิงที่ไมมีชีวิต รวมถึง ÁÊÕ §Ôè ã´à»¹š ÊÔè§áÇ´ÅÍŒ ÁºÒŒ § • นักเรียนคดิ วา “สิง่ แวดลอม” หมายถึงอะไร สิ่งท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และส่ิงท่ีมนุษย สรา งข้นึ (แนวตอบ สง่ิ แวดลอม คอื ส่ิงตา งๆ ทีอ่ ยรู อบ ตัวเรา เชน คน สัตว พืช สิง่ ของ เปน ตน ) ๑ ความสําคัญของส่ิงแวดลอม • นักเรยี นคดิ วา ส่ิงแวดลอมมีความสาํ คัญ สิ่งแวดลอ มมคี วามสาํ คัญตอชวี ิตมนษุ ยม าก เพราะมนุษยใชป ระโยชนจ าก ตอ เราอยางไร สง่ิ แวดลอ มตางๆ ในการดํารงชวี ิต เชน (แนวตอบ เราใชประโยชนและพง่ึ พา ส่งิ แวดลอ มในการดาํ รงชีวิต เชน ใชน าํ้ ใน การดืม่ กนิ ใชอากาศหายใจ เปน ตน ถาส่ิงแวดลอมไมดี กส็ ง ผลเสยี ตอการ ดาํ รงชีวิตและสขุ ภาพของเราดว ย) ● ใชด นิ เปน แหลง สาํ รวจคน หา Explore เพาะปลกู ● ใชน าํ้ ในการดมื่ 1. ใหนักเรยี นแบงกลุม กลุม ละ 4-5 คน และชาํ ระลา ง ครใู หนักเรยี นแตล ะกลุม แยกยายกันไปสํารวจ สง่ิ แวดลอ มตามที่ตา งๆ ภายในโรงเรยี น โดยครูใหเ วลาในการสาํ รวจ 15 นาที 2. ใหนกั เรียนเกบ็ รายละเอียดสงิ่ แวดลอ มท่ี ตนเองไปสาํ รวจวา มีลักษณะเปนอยา งไร มีประโยชนห รือความสําคัญอยางไร 1 ● ใชอ ากาศหายใจ ● ใเปชพน ชือาแหลาะรส2แตั ลวะ ๒๙ ยารกั ษาโรค ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT นักเรียนควรรู พฤตกิ รรมในขอ ใดตอ ไปนท้ี ี่อาจกอใหเกิดปญ หาสิ่งแวดลอ มได 1 พชื ทใี่ ชเ ปน ยารกั ษาโรค หรอื พชื สมนุ ไพรมอี ยมู ากมายหลายชนดิ แตล ะชนดิ 1. ปด กอ กน้าํ ทกุ คร้ังหลังใชเ สร็จ มสี รรพคณุ ในการรกั ษาอาการเจ็บปว ยหรือโรคได เชน 2. นาํ ขยะเหลอื ใชมาเผา 3. ปลกู พืชท่ชี ว ยรักษาหนา ดิน • กระเทียม ใชเ ปนยาแกโรคความดันโลหิตสูง โรคกลากเกลื้อน 4. ใชพ ชื มาทํายารกั ษาโรคเทา ทีจ่ ําเปน • ขา ใชเ ปนยารักษาอาการทองขึ้น ทองอดื ทอ งเฟอ และชว ยขบั ลมในทอง วิเคราะหคาํ ตอบ 1. การปดกอกน้าํ ทกุ ครง้ั หลงั ใชงานเสร็จเปนการชว ย • นอยหนา ใชเ ปน ยารักษาเหา และโรคหิด ประหยดั ทรัพยากรส่ิงแวดลอ ม 2 ยารกั ษาโรค หมายถึง วตั ถหุ รือสารเคมที ใ่ี ชใ นการรกั ษาโรคภัยไขเจ็บของ 2. การนําขยะเหลอื ใชมาเผา จะทําใหอ ากาศเปนพษิ มนุษยและสตั ว ยารักษาโรคมีแหลง กําเนิดท่ีสําคญั 2 แหลง คือ 3. การปลกู พืชทชี่ ว ยรกั ษาหนาดิน เปน การชว ยรกั ษาสงิ่ แวดลอ ม • ยาจากแหลงธรรมชาติ ไดแ ก ยาที่ไดจ ากพชื ยาทไ่ี ดจากอวยั วะของสัตว 4. การใชพ ืชมาทาํ ยารกั ษาโรคเทา ทจี่ าํ เปน เปน การใชทรัพยากรสิง่ แวดลอม และยาที่ไดจ ากแรธาตตุ างๆ อยางรคู ณุ คา ดังน้นั ขอ 2. เปนคาํ ตอบทถ่ี ูก • ยาจากแหลงสังเคราะหทางเคมี ไดแก การนําสารสกัดจากพืชสมุนไพร จากธรรมชาติมาสงั เคราะหดวยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร เพื่อใหไ ดย าทม่ี ี คุณสมบตั ติ ามท่ีตองการและมีปริมาณมาก คมู อื ครู 29

กระตุน ความสนใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain สาํ รวจคน หา Explore 1. ใหน ักเรียนนาํ ขอมูลท่ีไดจ ากการสาํ รวจมา ดังนั้น ถาสิ่งแวดลอมถูกทําลายลง ก็จะสงผลกระทบตอการดํารงชีวิต อภิปรายรว มกนั ในกลุมวา จากการสํารวจ ของมนุษยดวย เชน ถาพืชตาย ทําใหสัตวไมมีอาหารกินและตายตามไปดวย นักเรียนพบปญ หาสิ่งแวดลอมอะไรบา ง และ เมื่อมนษุ ยไมมอี าหารท่ีไดจ ากพชื และสตั ว มนษุ ยก็จะตายไปในทีส่ ุด เปนตน มีสาเหตมุ าจากอะไร จากน้ันใหนักเรียนศึกษา เร่อื ง ปญ หาส่ิงแวดลอ มที่มผี ลตอ สุขภาพใน ๒ ปญหาส่งิ แวดลอ มท่ีมผี ลตอ สขุ ภาพ หนา 30 - 31 แลว วเิ คราะหว า ปญ หาทน่ี กั เรยี นพบ ส่ิงแวดลอมมีความสัมพันธตอสุขภาพของคนเรา กลาวคือ ถาคนอาศัย ตรงกบั ปญ หาสงิ่ แวดลอ มหวั ขอ ใดตอไปน้ี อยูในสิ่งแวดลอมที่ดี เชน สะอาด ปลอดเชื้อโรค จะทําใหมีรางกายท่ีแข็งแรง • ปญหาน้าํ เนาเสีย • ปญ หาขยะมลู ฝอย และจติ ใจแจม ใส แตถ าอาศัยอยูในสิ่งแวดลอมท่ีไมด ี เชน มนี ํา้ เนาสงกล่ินเหม็น • ปญ หาอากาศเปนพษิ • ปญ หาสารพษิ มีฝุน ละอองมาก จะทําใหเ กิดโรคภัยไขเจ็บ และขาดความสขุ ในชวี ิตได • ปญหาทางแสง • ปญหาทางเสียง ในปจจุบัน พบปญหาส่ิงแวดลอมท่ีมีผลตอสุขภาพอยูหลายชนิด เชน 2. ใหนกั เรียนสบื คน ขอมูลปญหาสิง่ แวดลอม นํ้าเนา เสยี อากาศเปนพษิ เปน ตน ซงึ่ สาเหตุของปญหาส่งิ แวดลอ ม มีดังน้ี ในหัวขอท่ไี ดรับ • สาเหตขุ องปญหาสง่ิ แวดลอ ม ÊÒà˵¢Ø ͧ»˜ÞËÒÊè§Ô áÇ´ÅŒÍÁ • ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากปญหาส่งิ แวดลอ ม จากนนั้ ใหแ ตละกลุม ออกมานาํ เสนอผลการ สืบคน ขอมลู หนา ชน้ั เรียน อธบิ ายความรู Explain ๑. ปญ หาน้าํ เนาเสยี เกดิ จากสาเหตุ ดงั นี้ ๒. ปญ หาอากาศเปน พษิ ● ชุมชนไมม ีระบบกําจัดนํา้ ทง้ิ กอนปลอยลงสู 1. ใหนักเรยี นกลมุ ท่ีไดรบั ปญ หาน้าํ เนาเสีย ปญหา ขยะมลู ฝอย และปญ หาอากาศเปน พษิ ออกมา แหลง น้ํา นําเสนอขอมลู ● โรงงานอุตสาหกรรมปลอยนํ้าเสยี ลงสแู หลงนํ้า ● การท้งิ ขยะ สิง่ ปฏกิ ลู และสารเคมลี งในแหลง นํา้ 2. ครถู ามนักเรยี นวา • ปญ หาสขุ ภาพที่มีสาเหตุมาจากนํ้าเนาเสีย เกดิ จากสาเหตุ ดงั น้ี สงผลกระทบตอ สุขภาพเราอยางไร ● การจราจรท่ตี ิดขัดทาํ ใหม ีแกส คารบ อนไดออกไซด (แนวตอบ ทําใหเราไมมีน้ําสะอาดเอาไวดื่ม ไวใช น้ําสงกล่นิ เหม็นรบกวน ทาํ ใหเสยี มาก สขุ ภาพจติ รวมถึงเปนแหลงสะสมเช้อื โรค ● โรงงานอุตสาหกรรมปลอ ยควนั พิษออกมามาก ทาํ ใหเ กิดโรคระบาดไดงา ย) ● ฝนุ ละอองทเ่ี กดิ จากการกอสรา งตา งๆ • ปญหาสขุ ภาพท่ีมีสาเหตมุ าจากขยะมลู ฝอย สงผลกระทบตอ สขุ ภาพเราอยา งไร ๓๐ (แนวตอบ ขยะมูลฝอยเปน แหลง แพรเชอื้ โรค และเปนทอี่ ยอู าศยั ของพาหะนาํ โรค ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEิดT สงกลิ่นเหม็นรบกวนสุขภาพจิต และทําให เจ็บปว ยไดงาย) บรู ณาการอาเซียน เพ่อื ใหสอดคลอ งกับเปาหมายของอาเซียนที่จะใหม ีสิ่งแวดลอ มทด่ี ี ทาํ ใหเรา ปญ หาสุขภาพที่มสี าเหตมุ าจากอากาศเปนพษิ สง ผลกระทบตอ มสี ขุ ภาพทแี่ ข็งแรงและปลอดภัย โดยครปู ลูกฝงใหน ักเรยี นมีจติ สาธารณะ สุขภาพเราอยา งไร ในการดูแลสิ่งแวดลอม เร่ิมจากการดูแลสง่ิ แวดลอ มใกลตัวของนักเรียน เชน แนวตอบ ทําใหเกิดโรคระบบทางเดนิ หายใจ โรคภมู ิแพ ทาํ ใหดาํ เนนิ จัดหอ งนอนของตนเองใหเปน ระเบียบ และทาํ ความสะอาดอยา งสมาํ่ เสมอ ชวี ติ ไดไมส ะดวก ทํางานหรอื เรยี นไดไมมปี ระสิทธิภาพ เนื่องจากมอี าการ และชว ยรกั ษาสง่ิ แวดลอ มทอี่ ่นื เหมอื นทีป่ ฏบิ ตั กิ ับหองนอนและบา นของตนเอง เจบ็ ปว ย หรืออาจทาํ ใหเ สยี ชวี ติ ได เพราะเจ็บปว ยเฉียบพลันหรือเจบ็ ปว ย ครอู าจใหนกั เรียนรายงานผล โดยการถายภาพหองนอนและบา นของตนเอง เร้ือรัง มาใหครูประเมินทุก 2 สปั ดาห หรือทกุ 1 เดอื น 30 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate อธบิ ายความรู Explain ๓. ปญ หาขยะมลู ฝอย เกดิ จากสาเหตุ ดงั นี้ 1. ใหกลมุ ท่ีไดรับปญหาสารพิษ ปญหาทางแสง ๔. ปญหาสารพษิ ● การกาํ จัดขยะไมถูกวิธี เชน เผาขยะ ทิ้งขยะ และปญหาทางเสียง ออกมานาํ เสนอ ๕. ปญหาทางแสง ¹Òíé ในทสี่ าธารณะ เปนตน ๖. ปญหาทางเสยี ง 2. ครูถามนักเรียนวา ● การท้งิ ขยะไมเ ปน ทอ่ี าจกอ ใหเ กดิ การสะสม • ปญ หาสุขภาพที่มสี าเหตมุ าจากสารพิษ ของเช้อื โรค สง ผลกระทบตอสุขภาพเราอยา งไร (แนวตอบ สารพิษทาํ ใหเ กิดโรคระบบทางเดนิ เกดิ จากสาเหตุ ดงั น้ี หายใจ โรคผวิ หนงั อาจทําใหเ ราเจบ็ ปวย ● การใชส ารเคมไี มถ กู วธิ ีหรือไมร ะมดั ระวังอันตราย ดวยโรคเรื้อรงั เน่ืองจากผลของสารเคม)ี • ปญหาสขุ ภาพทีม่ สี าเหตุมาจากปญ หาทาง ขณะใช เสยี ง จะสง ผลกระทบตอสุขภาพเราอยางไร ● การท้ิงสารเคมีไมถกู ที่ เชน ทิ้งในที่สาธารณะ (แนวตอบ เสยี งทมี่ ีความดงั มากๆ นอกจาก จะทําใหเ กิดความรําคาญแลว ยังทําใหเ กดิ ทง้ิ ปนกับขยะอ่นื เปน ตน โรคเกีย่ วกบั หูและการไดย ิน เพราะแกวหไู ด รับการกระทบกระเทอื นจากการไดร บั เสยี ง เกดิ จากสาเหตุ ดงั น้ี ดงั เปน เวลานาน) ● การตกแตง สถานทีใ่ หสวยงามดว ยหลอดไฟตา งๆ ขยายความเขา ใจ Expand ● กกลาราใงชแแสสงงแสดวดา จงาทหี่จราอืมดาโูกทเรชทนศั นกาใ กรอลาจ นอหมานกังเสกอื ินไป1 1. ใหนกั เรียนดูภาพในกจิ กรรมการเรยี นรทู ี่ 1 หรอื ไดร บั แสงสะทอ นจากกระจกเขา ตา จนแสบตา ขอ 1 แลว บอกวา เปนสงิ่ แวดลอมประเภทใด เคืองตา นํ้าตาไหล การจดุ ดอกไมไ ฟ เปนตน 2. ใหนักเรียนสาํ รวจปญ หาส่งิ แวดลอมในชุมชน เกดิ จากสาเหตุ ดงั นี้ ของนักเรียนตามหัวขอ ที่กําหนด จากน้นั ครู ● เสียงทีเ่ กดิ จากพาหนะตางๆ เชน รถไฟ เคร่ืองบนิ สุมนักเรียน 2 - 3 คน ออกมานําเสนอ หนา ชั้นเรยี น รถจกั รยานยนตท ป่ี รบั แตง ทอ ไอเสยี ใหเ กดิ เสยี งดงั เปน ตน ตรวจสอบผล Evaluate ● เสียงเกดิ จากสถานประกอบการตา งๆ เชน การทํางานของเครอื่ งจกั รขนาดใหญในโรงงาน ครูตรวจสอบความถูกตองและสมบรู ณของ การทํางานของเครอื่ งมอื กอ สรา ง เปน ตน ขอมูลตามหัวขอทกี่ ําหนดใหจากการนาํ เสนอ ● เสยี งทีเ่ กิดจากชุมชนและสถานบริการตางๆ เชน ปญ หาส่ิงแวดลอมในชุมชนของนกั เรียน การเปด เสยี งวทิ ยุ หรอื โทรทศั นด งั เกนิ ความจาํ เปน ลําโพงทมี่ เี ครื่องขยายเสียงดังกกึ กอง เปน ตน ๓๑ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT นักเรยี นควรรู ออ มแอมนั่งกนิ ขนมกบั เติ้งอยทู ีศ่ าลารมิ นา้ํ เตงิ้ แกะหอ ขนมแลว ทิ้งลงน้ํา 1 ดโู ทรทัศนใ กลจอมากเกนิ ไป หมายถึง การดโู ทรทศั นในระยะหา งท่ใี กลก วา โดยบอกวา ขี้เกียจเดนิ ไปทิง้ ที่ถงั ขยะ ถา นักเรยี นเปน ออมแอมนกั เรียนจะทํา ระยะท่เี หมาะสม ซึง่ การดโู ทรทศั นแ บบใกลจ อมากเกินไป นอกจากจะทาํ ใหมองเหน็ อยางไร ภาพเปน เสนๆ แลว ยังอาจทาํ ใหไดร บั อนั ตรายจากการแผร งั สีดวย ดงั น้นั ในการดู แนวตอบ การทิ้งขยะลงนํ้าจะทําใหน ํ้าเนาเสยี และเปน แหลงสะสม โทรทัศนค วรใหมรี ะยะหา งอยางนอ ย 4 เทา ของความสงู ของหนาจอ เชน เชื้อโรค ทําใหสัตวน ้าํ ตาย สงกล่ินเหม็น และเปนผลเสียตอ สุขภาพ ดงั น้นั ออมแอมจงึ ควรบอกเตง้ิ วา การทิ้งหอขนมลงนา้ํ เปน สิง่ ไมดี เตงิ้ ควรนําหอ โทรทัศนข นาด 32 นิ้ว ควรมรี ะยะหา งในการดเู ทา กบั 32 x 4 = 128 น้วิ หรอื ขนมไปทงิ้ ในถงั ขยะ แตถ า หากเตง้ิ ยงั กนิ ขนมไมเ สรจ็ กใ็ หเ กบ็ หอ ขนมไวก อ น ประมาณ 10 ฟตุ เมือ่ กินขนมเสรจ็ แลว คอ ยนําหอขนมไปทงิ้ ลงถงั ขยะก็ได ซง่ึ เปนระยะหา งในการดูโทรทัศนท ป่ี ลอดภยั กับสายตา คูม อื ครู 31

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain กระตนุ ความสนใจ Engage ครูหาภาพขา วการรณรงครกั ษาสงิ่ แวดลอมมา ๓ วิธปี ฏบิ ัติตนเพ่ือรักษาสิง่ แวดลอ ม ใหน กั เรยี นดู แลว สนทนากบั นกั เรียนวา นักเรยี น สง่ิ แวดลอมมีผลตอสุขภาพของทุกคน ดังน้ัน เราจงึ ควรชว ยกนั ดูแลรกั ษา เคยเห็นการรณรงคร กั ษาสิง่ แวดลอมหรือไม สิ่งแวดลอ ม ซึ่งในวยั ของนักเรียนสามารถปฏบิ ัตไิ ด ดังน้ี เปนการรณรงคเ ร่อื งอะไร แลวมวี ธิ กี ารรณรงค อยา งไร ๑) ลดหรือหลีกเล่ียงการใชสิ่งของท่ีทําใหเกิดมลภาวะตอส่ิงแวดลอม เชน ใชถ งุ ผาหรือตะกราแทนการใชถ งุ พลาสติก ลดการใชสารเคมกี าํ จดั ศัตรูพืช สาํ รวจคน หา Explore แลวเปล่ียนมาใชว ธิ กี ารทางธรรมชาตแิ ทน เปนตน ใหนกั เรียนกลมุ เดมิ ท่ีทําการสํารวจปญหา ๒) แยกขยะกอนทิ้ง และทิ้งขยะลงในถังขยะท่ีมีฝาปดมิดชิด นอกจากนี้ ส่ิงแวดลอมชว ยกนั สบื คน วิธปี ฏบิ ัตติ นเพอ่ื รักษา ควรกาํ จัดขยะในบา นทุกวนั สง่ิ แวดลอม ª¹´Ô ¢Í§¢ÂÐ อธบิ ายความรู Explain 1. ใหแตละกลุมออกมานาํ เสนอวธิ ปี ฏบิ ัตติ น เขปยยะก รไี ขซยเคะลิ อนั ขตยระาย ขยะ เพ่อื รกั ษาสงิ่ แวดลอม ท่ัวไป 2. ครูยกตวั อยางวิธกี ารปฏบิ ตั ติ นเพ่ือรักษา ● เศษอาหาร เศษผัก ● กระดาษ ขวดนาํ้ ● แกว แตก ของมคี ม ● เศษถงุ พลาสตกิ ส่งิ แวดลอม คือการแยกขยะกอ นท้งิ โดยการ เปลือกผลไม ซากสตั ว เศษผา ถุงพลาสตกิ หลอดไฟฟา กระปอ ง เปลอื กลกู อม ถงุ ขนม บอกลักษณะของขยะแลว ใหนกั เรยี นบอกวา เศษเนือ้ สตั ว กลอ งนม บรรจุสารเคมี ถา น- เศษไม เปนขยะประเภทใด ควรท้ิงในถังใด ไฟฉาย แบตเตอรี่ 3. ครยู กตัวอยา งเพม่ิ เตมิ วา การรักษาสิ่งแวดลอม ที่นกั เรียนสามารถทําไดด วยตนเอง และ สามารถทาํ ไดอ ยา งสมาํ่ เสมอ คือการรักษา ความสะอาด การจัดบา นเรือนใหถูกสุขลกั ษณะ ๓) ทําความสะอาดบรเิ วณตา งๆ ในบา นหรอื โรงเรยี นอยา งสมา่ํ เสมอ ๔) กําจัดนํ้าเสียในบานหรือในโรงเรียนดวยวิธีท่ีถูกตอง เชน ไมปลอย นํ้าเสยี ลงสแู มน าํ้ ลาํ คลอง กาํ จดั เศษอาหารกอ นท้ิงนํา้ ลงสูทอสาธารณะ เปนตน ๕) ใชทรัพยากรและพลังงานอยางประหยัด เชน ใชกระดาษอยางคุมคา ปดน้ํา ปดไฟ หลงั ใชงานเสรจ็ แลว ทกุ คร้ัง เปนตน ๓๒ เกร็ดแนะครู ขอสอบ O-NET ขอ สอบป ’52 ออกเก่ยี วกับการกาํ จัดขยะ ครูพานักเรยี นไปสํารวจรอบๆ บรเิ วณโรงเรียน แลวใหนักเรียนชวยกันคิดวา การกาํ จัดขยะท่ถี กู ตอ งควรปฏิบตั ิอยา งไร จะดูแลส่ิงแวดลอ มในโรงเรียนอยางไร จากน้นั ใหนักเรียนนาํ เสนอวิธดี ูแลรกั ษา 1. เผาขยะทกุ ชนิด 2. ฝงกลบขยะทกุ ชนิด สงิ่ แวดลอ มในโรงเรียน เพื่อนําไปปฏบิ ัติจรงิ 3. แยกขยะทงิ้ ตามประเภท 4. กําจัดขยะดวยสารเคมี วเิ คราะหคาํ ตอบ เบศูรณรากษารฐกจิ พอเพียง 1. การเผาขยะ จะทําใหขยะบางชนดิ ทม่ี ีสว นประกอบของสารเคมถี ูกเผา ทําใหเ กิดควันพิษ ใหนักเรยี นแตละคนคิดวธิ ปี ฏิบัตติ นเพอื่ รกั ษาสิ่งแวดลอม โดยการนาํ เศษวัสดุ 2. การฝง กลบขยะ ขยะบางชนดิ ยอยสลายยากหรือไมย อยสลายเลย ที่เหลือใชม าประดิษฐเ ปน ส่งิ ของตา งๆ แลว ออกมานําเสนอหนา ชั้นเรียน โดยบอก จนอาจเปนพิษตอดนิ วิธีการทาํ และประโยชนทไ่ี ดร ับ 3. การแยกขยะทงิ้ ตามประเภท จะทําใหสามารถนาํ ขยะแตละประเภทไป ทําลายไดถ ูกวิธี 32 คูมือครู 4. การกําจดั ขยะดว ยสารเคมี ขยะบางประเภทอาจทําปฏกิ ริ ิยากับสารเคมี ทาํ ใหเ ปนพิษ และสิน้ เปลอื งสารเคมีในการกําจัด ดงั นน้ั ขอ 3. เปนคําตอบทถี่ ูก

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๔ การจดั บานเรอื นใหถูกสขุ ลักษณะ1 1. ใหน กั เรียนรวมกันแสดงความคดิ เหน็ วา บาน เปนที่อยูอาศัย และพักผอน บา นที่นาอยคู วรมลี กั ษณะอยางไร การจดั บานใหถ ูกสขุ ลักษณะนัน้ จะทําให ผอู ยอู าศัยมสี ขุ ภาพดี 2. ใหนกั เรียนอานหนงั สือ หนา 33 แลวรว มกนั สรุปวิธกี ารจัดบา นใหถกู สขุ ลักษณะ โดยครู บา นทถี่ กู สขุ ลกั ษณะมลี กั ษณะ ดงั นี้ ชวยอธบิ ายเพิม่ เตมิ ขยายความเขา ใจ Expand ● ภายในบา นสะอาด เปน ระเบียบ 1. ใหนกั เรียนทํากจิ กรรมรวบยอด 3.1 จาก ● อากาศถา ยเทสะดวก แบบวัดฯ สุขศกึ ษาฯ ป.4 ● มแี สงแดดสองถงึ ● หองนํ้าสะอาด ไมม ีกลน่ิ เหมน็ ¡ÒÃ¨Ñ ÕÁÊØ¢ÀÒ¾ Õ´ ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝกฯ ● บริเวณบา นสะอาด ไมเ ฉอะแฉะ สขุ ศกึ ษาฯ ป.4 กิจกรรมรวบยอดท่ี 3.1 ● มีทีเ่ ลี้ยงสัตวเ ล้ยี ง เปนสดั สวน ´ºŒÒ¹àÃÍ× ¹ãËŒÊÐÍÒ´·íÒãËŒ¼ÙŒÍÂÙ‹ÍÒÈÑ แบบประเมนิ ตวั ชว้� ดั พ 4.1 ป.4/1 Ç¸Ô ¡Õ Òè´Ñ ºÒŒ ¹àÃÍ× ¹ã˶Œ ¡Ù Ê¢Ø Å¡Ñ É³Ð แบบประเมินผลการเรยี นรูตามตวั ชวี้ ดั ประจําหนวยท่ี ๓ บทที่ ๑ ● หองนอน ตองมอี ากาศถายเทได กจิ กรรมรวบยอดที่ ๓.๑ สะดวก ไมอ ับชืน้ แบบประเมนิ ตวั ชว้ี ัด พ ๔.๑ ป.๔/๑ ● หอ งครัว มีท่รี ะบายอากาศและกลน่ิ • อธิบายความสมั พันธระหวางส่งิ แวดลอมกับสขุ ภาพ ไดด ี ถงั ขยะมฝี าปด มดิ ชดิ เพอื่ ปอ งกนั การรบกวนจากสัตวต างๆ ชดุ ที่ ๑ ๑๐ คะแนน ● หอ งอาหาร ตองสะอาด และไมควร ๑ บอกผลเสยี ตอ สขุ ภาพเมื่ออยูในสิง่ แวดลอ มตอไปนี้ (๕ คะแนน) (ตัวอยาง) อยไู กลจากหอ งครัว ๑) บา นอยรู ิมคลองที่เนาเสยี …อ…า…จ…ท…าํ …ใ…ห…เ ป…น…โ…ร…ค…เ…ก…ยี่ …ว…ก…บั …ร…ะ…บ…บ…ท…า…ง…เด……นิ …ห…า…ย…ใจ… …เพ…ร…า…ะ…ก…ล…ิ่น……น…้ํา…เน…า…เ…ส…ีย……เ…ส…ีย…ส…ุข…ภ…า…พ…จ…ิต……………………………………………………………………. ● หอ งนา้ํ และหอ งสว ม ตอ งดแู ลให ๒) เสน ทางที่ไปโรงเรยี นมีการจราจรตดิ ขัดมาก …ค…ว…นั……จ…าก…ท……อ …ไอ…เ…ส…ยี ……อ…า…จ…ก…อ . ถกู สุขลักษณะ มอี ากาศถายเทได …ให……เ ก…ิด…อ…นั……ต…ร…า…ย…ต…อ…ร…ะบ……บ…ท…า…ง…เด…ิน……ห…า…ย…ใจ…………………………………………………………………. สะดวก ไมสง กลน่ิ เหม็นรบกวน และ ๓) กองขยะกองใหญอ ยูใจกลางหมบู าน …เป…น……แห……ล…ง ส……ะส……ม…ขอ…ง…เ…ช…อื้ …โร…ค……แ…ล…ะส……ตั …ว เก็บทีน่ อนทกุ ครงั้ หลงั จากตน่ื นอน ตอ งดแู ลรักษาความสะอาดหอ งสว ม …ท…ีเ่ ป…น……พ…า…ห…ะ…น…าํ …โร…ค………ซ…่ึง…ส…ง…ผ…ล…ต…อ…ส……ุขภ…า…พ…………………………………………………………………. เฉฉบลับย จดั วางจานชามไวบ นช้นั ใหเ ปน ระเบียบ เปน ประจาํ ๔) โรงงานตงั้ อยูในแหลง ชมุ ชน …ค…วน…ั …พ…ษิ …ห…ร…อื …ส…า…ร…พ…ษิ…อ…า…จ…ร…วั่ …ไ…ห…ล……เป…น…อ…นั……ต…ร…า…ย …ต…อ …ร…ะ…บ…บ…ห…า…ย…ใ…จ…แ…ล…ะ…ระ…บ…บ……ท…า…ง…เด…ิน……อ…าห…า…ร………………………………………………………………. ๕) ไมม ีถังขยะสาํ หรบั แยกขยะกอ นทิ้ง ……เป……น…แ…ห…ล……ง…ส…ะ…ส…ม…ข…อ…ง…เ…ช…้ือ…โ…ร…ค…แ…ล…ะ.. …ไม…ส……าม…า…ร…ถ…แ…ย…ก…ข…ย…ะ…น…าํ …ม…า…ร…ีไ…ซ…เค…ิล…ใ…ห…ม…ไ…ด… ………………………………………………………………. ๒ บอกวิธีการจดั บา นเรือนใหถ กู สุขลักษณะ (๕ คะแนน) ๑) หอ งนอน …จ…ัด…เ…ต…ยี …ง……ผ…า…ป…ทู……นี่ …อ…น…แ…ล…ะ…ผ…า …ห…ม…ใ…ห…เ …ร…ีย…บ…ร…อ …ย…ห…ล…ัง…ต……น่ื …น…อ…น………………… ๒) หองครวั ท…ง…ิ้ ข…ย…ะ…ล…ง…ใน…ถ…ง…ั ม…ฝี…า…ป…ด …ท…า…ํ ค…ว…า…ม…ส…ะอ…า…ด…ภ…า…ช…น…ะท……กุ …ค…ร…ง้ั …ห……ล…งั ใ…ช…เ ส…ร…จ็…แ…ล…ว .. ๓) บรเิ วณบา น ……ต…ัด…ห……ญ…า …แ…ล…ะ…แ…ต…ง…ต…น…ไ…ม…ใ …ห…เป……น …ร…ะ…เบ…ยี…บ………ไ…ม…ร…ก……………………………. ๔) หอ งรบั แขก ……ท…าํ …ค…ว…า…ม…ส…ะ…อ…า…ด…ท…ุก…ว…นั ………แ…ล…ะ…จ…ัด…ข…อ…ง…ให……เป…น ……ร…ะเ…บ…ีย…บ……………………. ๕) หอ งสว ม …………ล…า…ง…ห…อ…ง…น……้าํ เ…ป…น…ป…ร…ะ…จ…าํ……อ…ย…า…ง…น……อ …ย…อ…าท……ิต…ย…ล …ะ……๑……ค…ร…้ัง……………. เกณฑป ระเมนิ ช้ินงาน ๑ คะแนน ตวั ช้ีวดั พ ๔.๑ ขอ ๑ ขอ ๑ และขอ ๒ (ขอ ละ ๕ คะแนน) ñð ๒๑ไดค ะแนน คะแนนเต็ม • ตอบคาํ ถามไดถูกตอ ง ขอละ 2. ใหน กั เรียนเขยี นอธบิ ายวา จะจดั บานของ ตนเองใหถ กู สขุ ลกั ษณะอยางไรบาง โดยเขยี น ๓๓ 3. ลงในสมดุ ใหนกั เรียนรวมกนั ตอบคาํ ถามขยายความรสู ู กจิ กรรมสรา งเสรมิ การคดิ หนา 34 เกร็ดแนะครู ใหน กั เรยี นวาดภาพเมืองในฝนท่ีมสี ่งิ แวดลอมทด่ี ี แลว ระบายสี ครูอธิบายเพ่มิ เตมิ ขอมูลวนั สง่ิ แวดลอมโลก ซ่ึงตรงกบั วนั ท่ี 5 มิถนุ ายน ใหส วยงาม โดยครคู ดั เลือกภาพทด่ี ที ่ีสดุ มาตดิ ทีบ่ อรด หนาชั้นเรยี นคูก บั ของทุกป เกดิ ขน้ึ จากความรวมมือของนานาชาติ ในการประชมุ สหประชาชาติเรอื่ ง คําขวญั เพอ่ื เปน การกระตนุ ใหน กั เรียนเกิดความสนใจในการรกั ษา สิง่ แวดลอม ณ กรงุ สตอกโฮลม ประเทศสวเี ดน พ.ศ. 2515 โดยมวี ัตถปุ ระสงค ส่ิงแวดลอม เพ่ือหามาตรการในการแกไขปญหาตา งๆ ดา นส่ิงแวดลอม กจิ กรรมทา ทาย นกั เรยี นควรรู ใหนักเรียนคิดคําขวญั รณรงคเร่ืองการรักษาสงิ่ แวดลอม โดยครู 1 การจัดการบา นเรือนใหถูกสุขลักษณะ มหี ลกั การสาํ คญั 4 อยา ง ดงั น้ี คัดเลือกคําขวญั ทด่ี ที ่ีสุด มาติดทบ่ี อรด หนาช้นั เรยี น 1. จดั ตามความตอ งการพน้ื ฐานของรา งกาย เชน มกี ารระบายอากาศทเี่ หมาะสม 2. จดั ตามความตองการทางดานจิตใจและสังคม เชน มีความสะอาดเรียบรอย 3. จัดใหผ อู ยอู าศยั ปลอดภยั จากโรคติดตอ เชน มนี ้ําและอาหารที่สะอาด 4. จดั ใหผ อู ยูอาศัยมีความปลอดภยั จากอบุ ตั ิเหตุ เชน อคั คีภยั ไฟฟา ดดู สารเคมี คูมือครู 33

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Explain Expand Engage Evaluate Evaluate ตรวจสอบผล 1. ครตู รวจสอบวา นกั เรยี นสามารถบอกผลเสียตอ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ สขุ ภาพเม่อื อยใู นสง่ิ แวดลอ มท่ไี มดไี ดถูกตอ ง ๑. ดภู าพตอ ไปนแี้ ลว บอกวา แตละภาพสง ผลอยางไรตอ สุขภาพ 2. ครูตรวจสอบการเขยี นอธิบายการจัดบา น ใหถกู สขุ ลักษณะไดถ ูกตอ ง ๑๒ หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. กิจกรรมรวบยอด 3.1 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.4 2. การเขียนอธบิ ายวธิ กี ารจัดบานใหถูกสขุ ลักษณะ ๒. ดภู าพแลว บอกวาภาพใดเปนการดแู ลสิ่งแวดลอ มท่ถี ูกวธิ ี มผี ลดีอยางไร และบอกวาภาพใด เปน การดแู ลรักษาสิ่งแวดลอ มทไ่ี มดี มผี ลเสยี อยางไร และควรปรับปรงุ แกไขอยา งไร ๑ ๒๓ ๔๕๖ ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ การจดั สิ่งแวดลอ มใหถกู สุขลกั ษณะ สงผลดีตอ ๓๔ สุขภาพทงั้ ดานรางกาย และดา นจิตใจอยา งไร เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 1. แนวตอบ 1) สิง่ แวดลอมทม่ี ีตน ไมมาก จะทําใหบรเิ วณนั้นมีอากาศบริสทุ ธ์ิ ซึง่ จะทาํ ใหระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหติ ทํางานเปน ปกติ สง ผลดตี อสขุ ภาพ 2) การจราจรตดิ ขัด การเผาไหมของเครื่องยนตทาํ ใหเ กิดแกส คารบอนมอนอกไซด ซงึ่ เปน แกส พษิ ท่สี ง ผลเสยี ตอ ระบบหายใจ 2. แนวตอบ 1) ท้ิงขยะลงในถงั ขยะ เปนการดแู ลสง่ิ แวดลอ มท่ดี ี เพราะไมท าํ ใหเกิดแหลง สะสมเชื้อโรค 2) ขีดเขียนสถานที่สาธารณะ เปน การดูแลสง่ิ แวดลอ มทีไ่ มด ี เพราะทําใหเ กดิ ความสกปรก ควรปรับปรุงโดยไมขีดเขยี นในทีส่ าธารณะ 3) ลางหองนํา้ เปนการดูแลสิ่งแวดลอมทด่ี ี เพราะเปนการรักษาความสะอาดสิ่งของเครือ่ งใช ไมทาํ ใหเกิดเปน แหลงเช้อื โรค 4) จดั โตะ เรยี นใหเ ปน ระเบยี บ เปนการดูแลส่งิ แวดลอ มทดี่ ี เพราะทําใหทําความสะอาดไดงาย ไมเปนแหลงสะสมของขยะและเช้อื โรค 5) ทง้ิ ขยะลงบนพ้ืน เปน การดแู ลสิ่งแวดลอ มท่ีไมดี เพราะจะทาํ ใหเ กดิ การสะสมเช้อื โรค ควรปรับปรงุ โดยทิง้ ขยะลงในถงั 6) คดั แยกขยะกอ นทิง้ เปน การดแู ลสง่ิ แวดลอมทีด่ ี เพราะทําใหทาํ ลายขยะแตละประเภทไดถกู ตอ ง และชวยลดการใชทรพั ยากร เฉลย ขยายความรสู ูการคิด แนวตอบ การจดั สิง่ แวดลอ มใหถูกสุขลักษณะ จะทาํ ใหไ มเปนแหลง สะสมเชือ้ โรค ซ่งึ มีสว นชวยใหเราไมเ จ็บปวยไดง า ย และสงผลใหม สี ขุ ภาพจิตท่ีดี 34 คมู อื ครู

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate เปาหมายการเรยี นรู òบทที่ อารมณก บั สขุ ภาพ • อธบิ ายสภาวะอารมณ ความรสู กึ ที่มผี ลตอ สขุ ภาพ (พ 4.1 ป.4/2) ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹íÒÊ¡‹Ù ÒÃàÃÂÕ ¹ สาระสําคัญ สมรรถนะของผเู รยี น การรูจักอารมณของตนเอง และรูวิธี 1. ความสามารถในการคดิ ผอ นคลายอารมณท ไี่ มด จี ะทาํ ใหม สี ขุ ภาพกาย 2. ความสามารถในการแกป ญ หา และสขุ ภาพจติ ท่ดี ี และทําใหอยรู วมกับผอู ืน่ 3. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ อยา งมีความสุข ´ãÕ ¨ â¡Ã¸ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค 1. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 2. ใฝเ รียนรู กระตนุ ความสนใจ Engage àÊÂÕ ã¨ ใหน กั เรยี นดภู าพใบหนา แสดงอารมณ หนา 35 แลว ถามวา ¨Ò¡ÍÒÃÁ³ ·Õè¡íÒ˹´ ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¤Ô´ÇÒ‹ ¢íҢѹ • จากภาพ นกั เรียนคดิ วา อารมณใ นแตละ ¤ÇÃÁÊÕ ËÕ ¹ŒÒહ‹ äà ภาพควรมสี ีหนาอยา งไร (แนวตอบ คําตอบข้ึนอยกู ับนักเรียนแตล ะคน) • ในแตล ะวัน นักเรียนมีสหี นา แบบใดบาง และเพราะเหตุใดจงึ แสดงสหี นาเชน น้ัน (แนวตอบ คาํ ตอบขน้ึ อยูก บั นกั เรียนแตละคน) • นกั เรียนชอบสีหนาแบบใดมากท่ีสดุ เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ คาํ ตอบขนึ้ อยกู ับนกั เรียนแตล ะคน) เกร็ดแนะครู ครจู ัดกระบวนการเรยี นรูโดยการใหนกั เรยี นปฏิบัติ ดังน้ี • สบื คนขอมลู เรอื่ งสภาวะทางอารมณ และความรูส ึก • เปรยี บเทียบขอ มลู เรอื่ งสภาวะทางอารมณแ ละความรสู กึ ทีส่ ง ผลตอ สขุ ภาพ • วเิ คราะหป ระเด็นคาํ ถามและภาพในการสรางเสริมสภาวะทางอารมณต ามที่ ครยู กตัวอยา ง จนเกดิ เปน ความรคู วามเขา ใจวา สภาวะทางอารมณ มีผลตอ สขุ ภาพของเรา ถาสภาวะทางอารมณไ มด ี ก็จะมีผลทาํ ใหสขุ ภาพไมดีตามไปดว ย คมู อื ครู 35

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore สาํ รวจคน หา Explore 1. ใหนกั เรียนแสดงสีหนา ดังนี้ เราทุกคนมีอารมณท่ีแตกตางกันไป ตาม àÁ×è͹¡Ñ àÃÂÕ ¹Á¤Õ ÇÒÁ梯 • ดใี จ • เครยี ด สถานการณตางๆ ในวันหน่ึงๆ เราอาจแสดง ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¨ÐáÊ´§ÍÍ¡ • หัวเราะ • สบายใจ อารมณ ทงั้ รกั เกลยี ด โกรธ เศรา หรอื แมแ ตเ หงา • โกรธ • อจิ ฉา และการแสดงออกทางอารมณข องแตล ะคนกอ็ าจ Í‹ҧäà • เศรา • เสียใจ จะแตกตางกันไป • ผิดหวงั • หงุดหงิด ๑ สภาวะทางอารมณแ ละความรสู ึก 2. ครถู ามนักเรียนวา สภาวะทางอารมณและความรูสึกที่อาจเกิดข้ึนกับตัวเราในแตละวันน้ัน • สภาวะทางอารมณใ ดบาง เปน สภาวะอารมณ มีทั้งดานบวกและดานลบ ยกตวั อยา งเชน ดานบวก (แนวตอบ สภาวะอารมณด านบวกเปนอารมณ ปลื้มปต1ิ ท่ที ําใหเ กิดผลดตี อ สุขภาพ เชน ดีใจ หัวเราะ ขาํ ขัน สนกุ ช่นื ชม สบายใจ สนุก ช่นื ชม) • สภาวะทางอารมณใดบาง เปน สภาวะทาง ชอบใจ อารมณดา นลบ รกั ดใี จ สบายใจ (แนวตอบ สภาวะอารมณด านลบเปน อารมณ ทีท่ าํ ใหเ กิดผลเสยี ตอ สขุ ภาพ เชน โกรธ หงดุ หงดิ เครียด อิจฉา กา วรา ว เกลยี ด เศรา เสยี ใจ) 3. ใหน ักเรยี นอา นหนงั สอื หนา 37 เพ่อื ศกึ ษาวา สภาวะทางอารมณ และความรูสึกมีผลตอ สุขภาพอยางไร เกลียด อิจฉา เศรา โกรธ กาวรา ว เสยี ใจ เครียด2 หงดุ หงิด ๓๖ ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT หมวยเปน คนขีห้ งดุ หงดิ โกรธงาย และมกั วิตกกงั วลเรื่องตา งๆ นกั เรยี น นักเรียนควรรู คิดวา หมวยมีสภาวะอารมณดานใด และสภาวะอารมณนนั้ จะสง ผลตอ สุขภาพอยางไร 1 ปลม้ื ปต ิ เปนการแสดงออกถึงความรสู ึกดใี จ ประทับใจ หรือซาบซ้ึงใจ เชน แนวตอบ การหงุดหงิด โกรธงา ย และวิตกกงั วลตลอดเวลา ประชาชนมีความปล้มื ปต ิทีพ่ ระราชาทรงหายจากพระอาการประชวร หมายถงึ เปน สภาวะอารมณดา นลบ ซึง่ จะสง ผลตอ สขุ ภาพคอื ทําใหสขุ ภาพจิตเสยี ประชาชนรูสึกดีใจท่พี ระราชาทรงหายจากอาการปวย เปนตน เกิดความเครยี ด และทําใหการทาํ งานในระบบตางๆ ของรา งกาย 2 เครียด เปน การแสดงออกของภาวะจิตใจทเี่ กดิ จากความกดดันจากสิง่ ตา งๆ แปรปรวน เชน เมื่อหมวยเครียดหรอื กังวล จนไมอ ยากกินอาหาร กจ็ ะ หรอื การตองปรับตวั กับสถานการณแ วดลอม เชน การเรยี น การสอบแขงขนั ทาํ ใหกระเพาะอาหารหล่ังน้ํายอ ยออกมามาก แตไ มมีอาหารใหย อ ย ความเจบ็ ปว ยของสมาชิกในครอบครวั เปน ตน น้ํายอ ยในกระเพาะอาหารจึงไปกดั ผนังกระเพาะจนเปนแผล ทําใหเกดิ โรคกระเพาะอาหาร เปนตน ความเครียดทีไ่ มมาก อาจเปนแรงผลักดนั หรอื แรงกระตนุ ใหทาํ ในสงิ่ ที่เปน สาเหตใุ หเ ครยี ดจนสาํ เรจ็ ได แตถาเครยี ดมาก อาจทาํ ใหเกดิ ปญหาทง้ั รางกายและ จติ ใจ เชน ปวดศีรษะ อาเจียน นอนไมห ลับ เปน ตน 36 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate อธบิ ายความรู Explain ๒ สภาวะทางอารมณและความรูสึกที่มีผลตอ 1. ใหน กั เรียนเปรียบเทียบวา สีหนาที่ครูให นักเรยี นแสดง เชน สหี นา ตอนดใี จ กับสหี นา สุขภาพ ตอนโกรธวานกั เรียนรูสกึ อยา งไร และการ แสดงสีหนาทงั้ สองแบบสงผลอยา งไรกับ อารมณและความรูสึกท่ีแตละคนไดแสดงออกมาน้ัน มีท้ังอารมณท่ีเปน นักเรยี น ผลดตี อ สขุ ภาพ เชน รกั ชื่นชม ดีใจ สนกุ สบาย เปนตน และอารมณท่ีเปน ผลเสียตอสขุ ภาพ เชน โกรธ หงดุ หงิด เกลยี ด กลัว เปนตน ซ่ึงมีผลกระทบ 2. ใหน กั เรียนชวยกันบอกวา เมื่อนักเรียนมี ตอสุขภาพ ดงั นี้ สภาวะทางอารมณด านบวก จะมีผลดีตอ สขุ ภาพอยา งไร และถา มีสภาวะทางอารมณ ดานลบ จะมผี ลกระทบตอสุขภาพอยางไร ÊÀÒÇзҧ ผลทีม่ ีตอสุขภาพทางบวก ขยายความเขา ใจ Expand ÍÒÃÁ³ • รางกายแข็งแรง • ปลอดโรคภัยไขเจบ็ 1. ใหน กั เรยี นเขียนแผนผังความคดิ แสดง • สขุ ภาพจติ แจม ใส รา เรงิ ผลเสยี ของการมีสภาวะทางอารมณ และ • เปนทร่ี กั ใครข องทุกคน ความรสู กึ ในดานลบตอ สขุ ภาพลงในสมดุ ผลทีม่ ตี อ สขุ ภาพทางลบ 2. ใหน กั เรยี นรวมกนั อภปิ รายเก่ยี วกับผลเสยี ของ การมสี ภาวะทางอารมณและความรสู ึกใน • รางกายออ นแอ เชน เด็กทรี่ า เริงแจม ใส ดา นลบ พรอมกบั ยกตวั อยางประกอบ เบ่อื อาหาร ออ นเพลยี ยอ มมสี ขุ ภาพทีแ่ ขง็ แรง ตรวจสอบผล Evaluate • เกิดโรคภัยไขเ จ็บไดงา ย • สุขภาพจติ เส่ือม หมนหมอง อารม•ณซ ไึมมเศม รใี า1ครอยากเขาใกล 1. ครตู รวจสอบความถกู ตอ งและครบถว น ทําใหรางกายเจ็บปวยงาย สมบรู ณข องขอมลู ในแผนผังความคิด 2. ครตู รวจสอบผลการอภปิ ราย โดยพิจารณา จากคําตอบของนกั เรียน และการยกตัวอยาง ประกอบ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù èÕ ñ ๑ เขียนแผนผังความคิดแสดงผลเสียของการมสี ภาวะทางอารมณและความรูส ึกในดา นลบ ตอ สขุ ภาพลงในสมดุ ๒ รว มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ผลเสยี ของการมสี ภาวะทางอารมณแ ละความรสู กึ ในดา นลบ พรอ มกบั ยกตวั อยางประกอบ ๓๗ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT นักเรยี นควรรู เมื่อเพ่ือนของนักเรียนแขงขนั กีฬาแพ และรูสกึ เสยี ใจมากทไี่ มไ ด 1 อารมณซ มึ เศรา เปนภาวะทางอารมณทมี่ ีผลมาจากสภาพจิตใจ โดยจะมคี วาม เหรียญรางวลั นักเรียนจะมวี ิธกี ารอยา งไรทจ่ี ะชว ยใหเพือ่ นมสี ภาวะทาง รูสึกส้นิ หวัง รูสกึ ผดิ มคี วามกลัว และความกังวล ซึ่งอารมณซ มึ เศราจะมีผลตอการ ดา นอารมณด ขี ้ึน ทํางานของสมอง ทําใหผทู ีอ่ ยูใ นอารมณซ มึ เศรา แสดงพฤติกรรมทีผ่ ดิ ไปจากปกติ แนวตอบ พดู ปลอบใจเพื่อนวา ไมตอ งเสยี ใจ เธอพยายามเต็มที่แลว เชน นอนไมห ลับ เบื่ออาหาร เปน ตน หรือบอกเพ่ือนวา ไมเ ปน ไร คร้ังนี้เธออาจจะยงั ฝกซอ มไมพอ เอาไวแขง คราวหนา ถาเธอพยายามใหมากขนึ้ เธอตอ งชนะแนๆ หรือถาหากเพือ่ น มมุ IT ยงั ไมรสู กึ ดีข้นึ เราอาจชวนเพอื่ นไปทาํ กิจกรรมอ่ืนๆ ทีช่ วยผอนคลาย ความเครียด เชน ไปปน จกั รยาน อานหนังสือตลก หรือเลนดนตรี เปน ตน ครูอาจดาวนโหลดแบบทดสอบเกยี่ วกบั สขุ ภาพจิตทีน่ า สนใจ แลว นาํ มาให นกั เรยี นทดสอบไดท่เี ว็บไซตของกรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข www.dmh.go.th/test/download/ คมู อื ครู 37

กกรระตะตนุ Eุน nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain กระตนุ ความสนใจ Engage ครูถามนักเรียนวา เวลาท่นี กั เรียนมสี ภาวะทาง ๓ การเสริมสรางสภาวะทางอารมณด า นบวก อารมณด า นลบ นักเรยี นทําอยา งไร การมสี ภาวะทางอารมณด า นบวก เชน ยม้ิ ราเรงิ หวั เราะ สนกุ เปน ตน จะทําใหตัวเรามีสุขภาพดีและมีความสุข ซึ่งทําใหผูอื่นอยากเขาใกลเราและ สาํ รวจคน หา Explore อยากคบหา ดงั นนั้ เราจึงควรทาํ จติ ใจและอารมณใหราเรงิ แจม ใสอยูเ สมอ ดงั น้ี 1. ใหน กั เรยี นศกึ ษาเร่ืองการเสริมสรา งสภาวะทาง มองโลกในแงดี และยอมรบั หากิจกรรมทีช่ ว ยเสริมสรา ง อารมณด านบวกในหนงั สือเรยี น หนา 38 ในบางเรื่องวาเปน เรื่องปกติ ความรา เรงิ ใหก ับตนเอง เชน 2. ครสู มุ นกั เรยี น 2 - 3 คน ใหเตรยี มตวั มาอธิบาย ● คุยกบั เพ่อื นดว ยเรอ่ื งสนุกๆ ถงึ การเสรมิ สรางสภาวะทางอารมณด า นบวกวา ● อา นหนังสอื ตลก นกั เรียนมีวิธกี ารอยา งไร อธบิ ายความรู Explain 1. ใหนกั เรยี น 2 - 3 คน ออกมาอธิบายถึง ÊÀÒÇзҧÍÒÃÁ³ สรางความสนกุ สนานและ การเสริมสรางสภาวะทางอารมณด า นบวกของ ´ÒŒ ¹ºÇ¡ กระตือรือรนใหกับตนเอง เชน นกั เรยี น โดยใหนกั เรยี นยกตวั อยางกจิ กรรม ท่นี กั เรียนทําประกอบดวย ถาไมสบายใจ ● ทํากจิ กรรมท่ีตนเองชอบ ควรหาวธิ ผี อ นคลาย เชน ● ทาํ กจิ กรรมทใ่ี หป ระโยชน 2. ครชู วยอธบิ ายและยกตวั อยางกจิ กรรม เพิม่ เตมิ เพ่อื ใหน กั เรียนเขาใจมากข้ึน เชน ● ปรึกษาผูมีประสบการณ ในเชงิ สรา งสรรค กิจกรรมหัวเราะบําบดั ซ่ึงเปนกิจกรรมทท่ี าํ ได ดวยตวั เอง โดยกจิ กรรมหัวเราะ เปน การฝก หรือพูดคยุ กับ1เพ่อื น พฒั นาจิตใจใหเขมแข็ง เชน หวั เราะดว ยเสยี งตาง ๆ เชน โอ อา อู เอ ● หม่ันพิจารณาเหตุการณท่ี ซ่งึ อาจใชวธิ ีการออกเสยี งเปนจงั หวะเพลง เพื่อ ● ทํางานอดเิ รกท่ตี นเองชอบ ใหเกิดความสนกุ สนานมากขึ้น การหวั เราะ ● ใหกาํ ลังใจตนเอง ผิดพลาดที่ผานมา แลวให บําบัดนอกจากจะชวยในเรอ่ื งของสขุ ภาพจิต แลวยังชว ยในเรอ่ื งของสุขภาพกาย เชน ปรับปรุง2แกไข ชวยเรอ่ื งระบบหายใจ เปนตน ● ฝก สมาธิใหจ ติ ใจสงบ ไมห วน่ั ไหวงา ย ๓๘ นักเรียนควรรู ขอ สอบ O-NET ขอ สอบป ’52 ออกเกย่ี วกับอารมณเครียด 1 งานอดเิ รก เปนกจิ กรรมทที่ ําในเวลาวา ง ซ่ึงเกดิ จากความสนใจ และ เมอื่ นกั เรียนมีความวิตกกังวลในเรอ่ื งการสอบ นักเรยี นมีวธิ ีการแกปญหา ความชอบของผทู ํา โดยไมมงุ หวงั ผลตอบแทนท่เี ปนเงนิ เชน ปลกู ตนไม ทเี่ หมาะสมกบั สขุ ภาพอยางไร อา นหนังสอื สะสมส่ิงของ ประดิษฐส่ิงของ ทาํ งานฝม อื เปนตน 1. ดหู นงั สือและรับประทานอาหารเพ่มิ ขนึ้ 2. ดหู นังสือและแบงเวลาออกกาํ ลงั กาย การทํางานอดเิ รกเปน วธิ ีผอนคลายความเครียดท่ีไดผ ลดีวิธหี น่งึ และยังสง ผล 3. ดหู นงั สือและเลนเกมในคอมพิวเตอร ใหเ กิดความชาํ นาญหรือเกดิ ทกั ษะในสงิ่ ท่ที าํ ดวย เน่อื งจากเปนงานที่ทาํ ดว ยใจรัก 4. ดูหนงั สอื ทง้ั กลางวันและกลางคืน 2 ฝก สมาธิ เปนการทําใหจติ ใจสงบ การฝก สมาธสิ ามารถฝก ไดท กุ ขณะอริ ยิ าบถ วิเคราะหคําตอบ เม่อื เกดิ ความเครยี ดในเรอื่ งสอบ ควรมแี นวทางใน คือ การยืน การเดนิ การน่ัง การนอน การแกปญ หา ดังนี้ - ทบทวนบทเรียน ใหเกิดความเขาใจตามเวลาท่ีเหมาะสม การฝกสมาธิจะทาํ ใหผ ฝู ก สมาธิมอี ารมณท ม่ี น่ั คง ไมว อกแวก สามารถควบคุม - ออกกาํ ลงั กาย เพื่อใหรา งกายและจิตใจไดผอ นคลาย ไมห มกมุนกบั อารมณของตนเองไดด ี จึงทาํ ใหผูฝ ก สมาธมิ สี ุขภาพจติ ที่ดี และการมสี ขุ ภาพจิตที่ดี ปญหา ยังสงผลถงึ บคุ ลิกภาพที่ดอี ีกดวย ดงั นน้ั ขอ 2. เปนคําตอบทีถ่ ูก 38 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ขยายความเขา ใจ Expand ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò 1. ใหนกั เรียนเขยี นวิธผี อ นคลายอารมณข อง ตนเองมา 5 ขอ แลว บอกเหตผุ ลที่ปฏิบตั ิ ๑ เขียนวิธผี อนคลายอารมณของตนเองมา ๕ ขอ แลวบอกเหตผุ ลทีป่ ฏบิ ัติ เชนนนั้ ๒ สังเกตวาเพอ่ื นคนใดทมี่ อี ารมณร าเริงแจม ใสอยเู สมอ แลว สอบถามวิธปี ฏิบัติตน เพ่อื ใหมี 2. ใหนักเรียนสังเกตวา เพอื่ นคนใดมอี ารมณ อารมณดี จากนนั้ บันทึกขอมูลลงในสมุด รา เรงิ แจม ใสอยูเ สมอ แลวสอบถามวิธปี ฏบิ ตั ิ ๓ จบั คกู ับเพือ่ น แลวผลดั กันเลา เรือ่ งขําขันใหคูของตนฟง จากน้ันสนทนาซักถาม ความรสู กึ ตนเพอื่ ใหม ีอารมณดี จากนน้ั บันทกึ ขอมูลลง ในสมุด หลังจากฟง เรอ่ื งขําขนั จบแลว ๔ ดูภาพ แลว เขียนบอกอารมณของเด็กในภาพ จากน้ันอธิบายวา อารมณทเี่ กิดข้นึ เปนอารมณ 3. ใหนกั เรียนจับคูกับเพ่อื น แลว ผลดั กันเลา เร่อื ง ขําขันใหค ูของตนฟง จากนัน้ สนทนาซกั ถาม ดา นใด และสงผลอยางไร ความรสู กึ หลงั จากฟง เร่ืองขาํ ขนั จบแลว ๑๒ 4. ใหน กั เรียนชว ยกนั ตอบคาํ ถามขยายความรู สกู ารคิด ในหนา 39 ตรวจสอบผล Evaluate 1. ครตู รวจสอบการบอกวธิ ีผอ นคลายอารมณของ นกั เรยี น แลวสังเกตจากเหตุผลท่ีนักเรยี นบอก 2. ครตู รวจสอบผลการบันทึกของนกั เรยี น เกยี่ วกบั วธิ ปี ฏิบัตติ นเพอ่ื ใหมีอารมณดี 3. ครูสังเกตการสนทนาของนักเรียนและ สอบถามความรูสึกหลงั จากฟง เรอื่ งขาํ ขัน แลวถามวา ความรสู กึ นั้นสง ผลอยา งไรกับ ตัวนักเรยี น ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู แสดงความคิดเหน็ จากขอความที่กาํ หนดให 1. แผนผังความคิดแสดงผลเสยี ของการมีสภาวะ ๑ “สุขภาพจิตท่ีดี ยอมอยูในรา งกายทีแ่ ข็งแรง” อารมณและความรูส กึ ในดา นลบตอสขุ ภาพ ๒ “โกรธคือโง โมโหคอื บา ” 2. ผลงานวธิ กี ารคลายเครียด ๓๙ เฉลย กิจกรรมการเรยี นรู 4. แนวตอบ 1) อารมณของเดก็ ผชู ายในภาพ คือ ดใี จ เปนสภาวะทางอารมณด า นบวก สงผลใหเดก็ คนน้ี รา เริงแจม ใส จิตใจเบกิ บาน 2) อารมณข องเด็กผหู ญิงในภาพ คอื โกรธ เปนสภาวะทางอารมณด า นลบ สง ผลใหเ ด็กผูหญงิ มีจติ ใจมวั หมอง อาจทําใหเกิดการโตต อบและทะเลาะกันได เฉลย ขยายความรสู กู ารคิด แนวตอบ 1. การท่เี รามสี ุขภาพดี เชน รา เริง แจม ใส ไมเครยี ด ไมโ กรธงาย สง ผลใหร า งกายไมต อ งเครยี ดไปดว ย เพราะสภาวะทางอารมณของคนเราสง ผลตอ การทํางานของ ระบบตา งๆ ในรางกาย เชน ถาเราดใี จมีความสขุ เรากจ็ ะกนิ อาหารได นอนหลับสบาย แตถาเราเศรา เครยี ด ทําใหเราไมอยากกนิ อาหาร นอนไมห ลบั เปนตน ดงั น้ันจงึ กลา วไดว า สุขภาพจิตท่ีดียอมอยูในรางกายทีแ่ ขง็ แรง 2. โกรธคอื โง โมโหคอื บา หมายถงึ การมีอารมณโกรธหรอื โมโห จะทาํ ใหเ ราขาดสติ ในการยบั ยั้งตนเอง ทาํ อะไรโดยขาดเหตผุ ล ไมตางจากการกระทําของคนโง และคนบา ผลท่อี อกมาจึงมีแตผ ลเสีย คมู อื ครู 39

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปา หมายการเรยี นรู • วิเคราะหขอมลู บนฉลากอาหารและผลติ ภณั ฑ óบทท่ี อาหารและผลติ ภณั ฑส ุขภาพ สขุ ภาพเพื่อการเลอื กบรโิ ภค (พ 4.1 ป. 4/3) สาระสําคญั อาหารและผลิตภัณฑสุขภาพเปนสิ่งที่ สมรรถนะของผูเรียน จําเปนตอการดํารงชีวิต ดังน้ันเราจึงควร มีความรูในการเลือกบริโภคอาหารและ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร ผลิตภณั ฑสุขภาพ เพอ่ื ความปลอดภยั 2. ความสามารถในการคดิ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí Ê¡‹Ù ÒÃàÃÕ¹ 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ñò 1. มีวินัย รบั ผดิ ชอบ 2. ใฝเ รยี นรู กระตนุ ความสนใจ Engage ใหนกั เรยี นดภู าพจากหนังสอื เรยี น หนา 40 óô õ แลว ครูถามวา ¨Ò¡ÀÒ¾ÍÒËÒà • อาหารหมายเลข 1-5 คืออาหารชนิดใด ËÁÒÂàÅ¢ ñ - õ และมีหลักในการเลือกซือ้ อยา งไร ¤×ÍÍÒËÒê¹´Ô ã´ áÅÐÁÇÕ ¸Ô Õ (แนวตอบ àÅÍ× ¡«éÍ× ÍÂÒ‹ §äà • ๑ ผกั : เลอื กผกั ที่สด สะอาด และปลอด สารพิษ หรือมีรอยหนอนกดั เล็กนอย • ๒ นม : เลอื กนมทบ่ี รรจอุ ยูในกลอ งหรือ ขวดท่ีปดสนิท ดูวนั หมดอายุ ขอมูล โภชนาการทฉี่ ลาก • ๓ ไกย าง : เลอื กไกย างท่ยี างสุกใหมๆ และสะอาด • ๔ อาหารกระปอ ง : เลือกท่บี รรจุอยใู น กระปอ งทไี่ มเ ปน สนมิ ไมม รี อยบบุ มวี ันหมดอายุกาํ กบั ชดั เจน • ๕ ไข : เลอื กไขที่สะอาด ไมม ขี ี้ไกต ิดอยู เขยา แลว ไมคลอน ถาคลอนแสดงวา เปน ไขเ กา หรือไขเนา ) เกร็ดแนะครู ครจู ัดกระบวนการเรียนรโู ดยการใหนกั เรยี นปฏิบตั ิ ดังน้ี • สบื คน ขอ มูลอาหารและผลิตภัณฑสขุ ภาพ • อภปิ รายขอ มลู อาหารและผลิตภัณฑสขุ ภาพ • วเิ คราะหขอ ดี ขอ เสยี ของอาหารและผลติ ภณั ฑจ ากประเดน็ คาํ ถามและ ภาพประกอบท่ีครูยกตัวอยา ง จนเกดิ เปนความรูค วามเขาใจวา อาหารและผลิตภณั ฑส ุขภาพ เปน สง่ิ จําเปน ในการบรโิ ภค ดงั น้นั เราจึงควรรูวธิ กี ารเลือกบริโภคอาหารและผลติ ภัณฑสขุ ภาพ เพ่ือความปลอดภัย และมปี ระโยชนตอ สขุ ภาพ 40 คูม ือครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook