Activities & Games for Science Learning กิจกรรมส่งเสรมิ การตอบ ค�ำถามดว้ ยการทดลอง forAScctiiveintiecse &LeGaarnminegs บทที่ กจิ กรรม เกม เพื่อการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ 101
Activities & Games for Science Learning 4บทท่ี กิจกรรมสง่ เสริมการตอบ คำ� ถามด้วยการทดลอง เมือ่ พจิ ารณาถงึ จดุ เร่ิมต้นของวทิ ยาศาสตร์ตรจ์ ะพบวา่ สืบเนือ่ งมาจากมนุษยม์ ีความ สนใจถงึ ปรากฏการณท์ เ่ี กิดข้นึ ในธรรมชาติ ต้องการทจ่ี ะสบื คน้ หาความจริงเก่ียวกบั ธรรมชาติ โดยใชก้ ระบวนการแสวงหาความรู้ ซึ่งเริ่มจากการลองผิดลองถกู พัฒนามาจนเป็นการทดลอง อย่างมรี ะบบ มเี หตแุ ละผลเป็นค�ำอธบิ ายเพื่อใหไ้ ดข้ ้อเท็จจริง วทิ ยาศาสตร์ (Scintific facts) และรวบรวมเป็นมโนมติ (Concept) หลักการ (Principles) กฎ (laws) สมมติฐานทาง วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Hypotheses) ดังน้ันในการพัฒนานักเรียนให้รู้จักคิดแบบวิทยาศาสตร์จะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สบื ค้นหาความจริงดว้ ยตนเอง ซึ่งอาจจะเริ่มจากการแสวงหาความรู้อยา่ งไมเ่ ป็นระบบ แล้วจงึ พัฒนากระบวนการแสวงหาความรนู้ ั้นใหเ้ ปน็ ระบบมากข้ึน การทดลองจึงเปน็ วธิ กี ารแสวงหา ค�ำตอบทดี่ ีวิธหี นง่ึ เป็นการได้คำ� ตอบดว้ ยการพิสจู นใ์ ห้เห็นจรงิ 102 กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning จดุ มง่ ุหมายของการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การตอบคำ� ถามดว้ ยการทดลอง 1. สง่ เสริมให้นักเรียนมโี อกาสฝึกทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นรจู้ ักการแสวงหาคำ� ตอบจากการทดลอง 3. พฒั นาความคดิ และการใชเ้ หตุผลจากการทดลองในการตอบคำ� ถาม 4. ส่งเสริมการพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ทางวทิ ยาศาสตร์ 5. เพ่อื เสรมิ สร้างเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ให้กบั นักเรียน 6. เพ่ือใหน้ กั เรยี นมเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์ หลักการในการจัดกิจกรรม ในการจัดกิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การตอบค�ำถามดว้ ยการทดลอง เปน็ การที่สง่ เสริมให้ นักเรียนมีเหตุและผลในการแสดงความคิดเห็นและตอบค�ำถามหรือแก้ปัญหาได้มากขึ้นไม่ใช่ เปน็ การตอบคำ� ถามดว้ ยความรสู้ ึก หรือด้วยความเขา้ ใจท่ไี ม่ได้มีการพสิ จู น์ ดังนนั้ หลักการ สำ� คญั ของกจิ กรรม คือ การสร้างสถานการณข์ องปัญหาและเงอ่ื นไขทเี่ ก่ยี วขอ้ ง เพอื่ ให้นักเรียน ได้ใช้กระบวนการคิด กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการแกป้ ัญหานนั้ โดยมีหลกั การพ้ืนฐาน ดงั น้ี 1. ก�ำหนดสถานการณ์ของปญั หา 2. ก�ำหนดเงอ่ื นไขในการแก้ปญั หา 3. จัดเตรยี มอุปกรณห์ ลกั ทใี่ ชใ้ นกิจกรรม 4. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นไดท้ ดลองและแสวงหาค�ำตอบดว้ ยตนเอง 5. สรปุ ผลกิจกรรมและนำ� เขา้ ส่กู ารตอบค�ำถาม กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 103
Activities & Games for Science Learning ความรู้พน้ื ฐานของนักเรยี นในการรว่ มกจิ กรรม กิจกรรมท่ีจัดข้ึนนี้เป็นกิจกรรมท่ีเน้นการสร้างกระบวนการความรู้มากกว่าตัวความรู้ ดังน้ันพืน้ ฐานความรู้ท่ีนักเรียนควรมี คือ 1. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ - การสังเกต - การวดั - การคำ� นวณ - การจ�ำแนกประเภท - การหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างมติ กิ ับมติ แิ ละมติ ิกับเวลา - การจดั กระทำ� และสอ่ื ความหมายข้อมลู - การลงความเห็นจากข้อมูล - การพยากรณ์ - การตงั้ สมมตฐิ าน - การกำ� หนดนิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการ - การก�ำหนดและควบคุมตัวแปร - การทดลอง - การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงข้อสรุป 2. วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ - ขนั้ ระบุปญั หา - ตั้งสมมติฐาน - การรวบรวมข้อมลู - สรปุ ผลการสังเกตการทดลอง 104 กิจกรรม เกม เพอื่ การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ตัวอยา่ งการตอบค�ำถามดว้ ยการทดลอง กจิ กรรมที่ 1 จะไหม้อยา่ งไร จดุ มง่ ุหมาย 1. ฝกึ ทักษะการสังเกต 2. ฝกึ การหาเหตุผลและคำ� ตอบจากการทดลอง ระดบั นักเรียน มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำ� นวนนกั เรียน 2 - 3 คน/กลุ่ม อปุ กรณ ์ 10x15 cm 1. แกว้ น�้ำ 1 ใบ 2. กระดาษถา่ ยเอกสารขนาด 15 x 10 cm จ�ำนวน 1 แผ่น 3. ไมข้ ีดไฟ 4. เหรยี ญบาท 1 เหรยี ญ สถานการณ ์ เมือ่ นำ� กระดาษเรียบวางบนปากแกว้ โดยใสเ่ หรยี ญบาทวางบนกระดาษให้กระดาษ แนบติดปากแก้วพอดี หลังจากนน้ั จุดไฟเผากระดาษ ค�ำถาม 1. นักเรียนคดิ วา่ กระดาษจะถูกเผาไหม้อย่างไร (ถูกเผาไหมจ้ นหมดหรอื ไม)่ 2. ถ้าไมว่ างเหรียญบาทบนกระดาษการเผาไหม้จะเป็นอยา่ งไร 3. ถา้ นักเรียนจดุ ไฟเผากระดาษ 2 ดา้ นพรอ้ มๆ กัน ผลจะเป็นอย่างไร กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 105
Activities & Games for Science Learning กิจกรรม 1. วางกระดาษบนปากแก้วพร้อมวางเหรยี ญบนกระดาษ จดุ ไฟเผากระดาษด้านใด ด้านหน่งึ (รปู a) 2. เอาเหรยี ญบาทออกและจดุ ไฟเผากระดาษเหมือนเดิม สังเกตการเปล่ียนแปลง (รปู b) 3. วางกระดาษและเหรยี ญบาทเหมอื นขอ้ 1 แลว้ จุดไฟเผากระดาษ 2 ด้าน (รูป c) รปู a รปู b รปู c ภาพแสดงลักษณะการวางกระดาษและการเผากระดาษ 106 กิจกรรม เกม เพอื่ การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning แบบบันทกึ กิจกรรมที่ 1 จะไหม้อย่างไร การคาดเดาค�ำตอบก่อนการท�ำกิจกรรม 1. ........................................................................................................................................ 2. ........................................................................................................................................ 3. ........................................................................................................................................ คำ� ตอบหรอื ผลท่ีได้หลงั กจิ กรรม 1. คำ� ตอบ............................................................................................................................ เหตผุ ล............................................................................................................................ 2. คำ� ตอบ............................................................................................................................ เหตผุ ล............................................................................................................................ 3. คำ� ตอบ........................................................................................................................... เหตุผล............................................................................................................................ เฉลย 1. กระดาษจะถูกเผาไหม้ไม่หมด โดยจะถกู เผาไหมเ้ ฉพาะสว่ นท่เี กนิ ออกมาจาก ขอบแก้วจะเหลอื กระดาษเป็นวงกลม เมือ่ ขอบกระดาษถูกเผาอากาศร้อนบรเิ วณปากแกว้ จะลอยตวั สูงขนึ้ อากาศเย็นเขา้ ไปแทนที่ภายในแก้ว ทำ� ให้กระดาษแนบติดกับปากแก้ว ไม่สามารถเกดิ การเผาไหมข้ องกระดาษภายในแกว้ ได้ 2. ถ้ากระดาษท่ีใชบ้ างเบา เมื่อเผากระดาษจะยกตัวสูงข้นึ ทำ� ใหเ้ กดิ เผาไหมจน หมด ถ้ากระดาษมนี ้ำ� หนกั มากพอการเผาไหมจ้ ะเป็นดงั ข้อ 1 ด้วยเหตผุ ลเดมิ 3. ถา้ เผากระดาษ 2 ด้านกระดาษจะถูกเผาไหมจ้ นหมด เพราะความร้อนทำ� ให้ อากาศรอบปากแกว้ ลอยสงู ขน้ึ ชว่ ยยกกระดาษออกจากปากแกว้ จงึ เกดิ การเผาไหมจ้ น หมด กิจกรรม เกม เพื่อการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 107
Activities & Games for Science Learning จุดมง่ หุ มาย กิจกรรมที่ 2 จไุ ด้มากแค่ไหน ระดับนกั เรียน จ�ำนวนนกั เรยี น เพอ่ื ทดลองหาคำ� ตอบเก่ียวกับแรงดงึ ผิวของนำ�้ อปุ กรณ ์ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2 - 3 คน/กล่มุ 2. คลปิ หนีบกระดาษ (จำ� นวนตามทีน่ กั เรยี นตอ้ งการ) 1. แก้วน้�ำ สถานการณ์ วางแกว้ น�้ำบนโต๊ะเรียนสม�่ำเสมอ รินน้ำ� ใสแ่ กว้ ให้น�้ำเตม็ แกว้ พอดี (ระดับนำ�้ เสมอ ปากแกว้ พอด)ี คำ� ถาม ถา้ หยอ่ นคลิปหนบี กระดาษลงในแกว้ น�้ำทล่ี ะอนั นกั เรียนคดิ วา่ แก้วน�ำ้ ใบน้ีสามารถจุ คลิปหนีบกระดาษได้มากท่ีสดุ กอ่ี นั จึงจะท�ำให้นำ้� ลน้ ออกมาจากแก้ว กจิ กรรม 1. คาดเดาจ�ำนวนคลปิ ท่นี กั เรยี นคดิ วา่ มากพอท่ีจะท�ำใหน้ �้ำเรม่ิ ล้นจากแกว้ 2. นำ� คลิปตามจ�ำนวนที่คาดเดาไว้หย่อนใส่แก้วนำ�้ ท่ีละตวั จนครบตามจำ� นวนสังเกต ระดับนำ้� ในแกว้ 3. ถา้ จ�ำนวนคลปิ ท่คี าดเดาไวไ้ มส่ ามารถทำ� ใหน้ �ำ้ ในแก้วล้นได้ให้ใส่คลปิ ต่อจนกวา่ น�้ำ จะลน้ พรอ้ มนับจ�ำนวนคลปิ ที่ใส่ 108 กิจกรรม เกม เพอื่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ภาพแสดงการหยอ่ นคลปิ ลงในแก้วน�้ำ แบบบนั ทึกกิจกรรมท่ี 2 จุได้มากแคไ่ หน 1. นกั เรียนคิดว่าแก้วน�้ำใบน้ีจะจคุ ลปิ ได้มากทส่ี ดุ ก่ีตวั น้�ำจงึ จะลน้ ออกมา คำ� ตอบ ..................... ตวั 2. จากกิจกรรมแก้วน้�ำใบนี้สามารถจคุ ลปิ ได้ท้ังหมดกี่ตัว คำ� ตอบ ..................... ตวั เหตผุ ล ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ เฉลย สามารถหย่อนคลิปลงในแก้วน�้ำทลี่ ะตัวเปน็ จำ� นวนมาก (มากกว่า 50 ตวั ) จึงจะ ทำ� ใหน้ ำ้� ล้น เหตผุ ล เนื่องจากโมเลกุลของน�ำ้ มีแรงยดึ เหนย่ี วต่อกัน ท�ำใหน้ �ำ้ ที่คลิปไปแทนท่ยี ดึ เกาะกัน บริเวณปากแกว้ ซงึ่ เราเรยี กวา่ แรงตึงผวิ กจิ กรรม เกม เพ่อื การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ 109
Activities & Games for Science Learning กิจกรรมที่ 3 ไมข้ ดี ไฟรูปดาว จุดม่งหุ มาย 1. ฝึกการแกป้ ัญหาดว้ ยวิธที ดลองปฏิบตั ิ 2. เพือ่ ฝึกแรงดึงผวิ ของน�้ำ ระดบั นกั เรยี น มธั ยมศึกษาตอนตน้ จ�ำนวนนักเรียน 2 คน/กลุ่ม อปุ กรณ ์ ไมข้ ดี ไฟ หรือไม้จ้ิมฟนั จำ� นวน 5 กา้ น สถานการณ ์ 1. น�ำไม้ขดี ไฟมาหักครึ่งใหไ้ มข้ ดี งอทง้ั 5 กา้ น 2. น�ำไม้ขีดไฟท้งั 5 กา้ นมาประกบคูกนั เป็นรปู ดอกจนั คำ� ถาม นักเรยี นมวี ธิ ีการอย่างไรจึงจะท�ำให้ไมข้ ีดไฟเปล่ยี นจากรปู ดอกจนั เป็นรูปดาว โดยห้ามใช้มือหรอื อปุ กรณใ์ ดๆ มาเข่ียหรือขยบั กา้ นไม้ขีด กิจกรรม 1. น�ำกา้ นไม้ขีดมาต่อกนั เปน็ เครอ่ื งหมายดังรปู ก วางบนโตะ๊ เรียน 2. หาวธิ ีการในการทำ� เครื่องหมายในรูปใหเ้ ปน็ รปู ดาวโดยห้ามใช้มือหรอื วสั ดุใดมา เขยี่ หรอื ขยบั ไมข้ ีดไฟ 3. นักเรยี นสามารถขออปุ กรณว์ สั ดเุ พิ่มเตมิ เพือ่ น�ำมาชว่ ยแกป้ ญั หาได้ ภาพแสดงการวางก้านไม้ขีดเพอ่ื ทำ� ใหเ้ ปน็ รูปดาว 110 กิจกรรม เกม เพือ่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning แบบบันทึกกิจกรรมท่ี 3 ไม้ขดี ไฟรูปดาว กิจกรรมท่ี 1 กลุ่มท.ี่ ............ อปุ กรณ์ เปน็ วัสดุอปุ กรณท์ ่ีนักเรียนต้องการใชใ้ นการช่วยแก้ปญั หา ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ คร้งั ท่ี 1 วธิ ีการในการแกป้ ญั หา 1. ......................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................... 3. ......................................................................................................................... ผลการแกป้ ญั หา ส�ำเรจ็ หรือไมส่ �ำเร็จ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ครั้งท่ี 2 ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ผลการแกป้ ญั หา คร้งั ที่ 2 ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ เฉลย วธิ ีการ - นำ� หลอดกาแฟ 1 หลอดบรรจุน�้ำให้เตม็ หลอดเอาน้วิ กดปลายหลอดด้านหนึ่ง เพือ่ ป้องกันนำ้� ไหลออกจากหลอด - หยดน้ำ� จากหลอดใหล้ งตรงกึง่ กลางของรอยตอ่ กา้ นไมข้ ีด น้ำ� จะช่วยดนั กา้ น ไมข้ ีดใหแ้ ยกออก เหตผุ ล แรงดึงผิวของน�ำ้ จะช่วยดนั ใหก้ า้ นไมข้ ดี ขยายออกจากกนั กิจกรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 111
Activities & Games for Science Learning จุดมง่ หุ มาย กิจกรรมที่ 4 เรือ่ งของความเฉอื่ ย ระดับนักเรียน 1. เพอื่ ศึกษาลกั ษณะของความเฉ่อื ย จ�ำนวนนักเรยี น 2. น�ำความร้เู รอ่ื งความเฉือ่ ยมาแกป้ ัญหาในชีวติ ประจำ� วัน ตอนท่ี 1 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อปุ กรณ์ 2 คน/กลมุ่ 1. เหรียญบาท 3 เหรียญ 2. แก้วนำ�้ 3. กระดาษ 4. ไมบ้ รรทัด สถานการณ์ ตดั กระดาษวาดเขยี นเปน็ แผน่ ยาววางปลายด้านหนงึ่ ไว้บนปากแกว้ แลว้ น�ำเหรยี ญทัง้ 3 มาวางทับใหท้ รงตวั อยบู่ นกระดาษที่พาดปากแกว้ น้ี กจิ กรรม ใหน้ ักเรียนคิดหาวิธดี ึงกระดาษแผ่นนี้ โดยพยายามให้เหรยี ญซอ้ นกัน 3 อันไม่หลน่ ลงมา ภาพแสดงการดงึ กระดาษโดยไมใ่ ห้เหรยี ญตกจากขอบแกว้ 112 กิจกรรม เกม เพ่ือการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ตอนที่ 2 อุปกรณ ์ 1. แท่งไม้ 2. ด้ายเหนยี ว สถานการณ์ 1. ตดั ดา้ ยเปน็ 2 เสน้ เสน้ แรกผกู แท่งไม้สี่เหลีย่ ม โดยเหลอื ปลายอีกด้านสำ� หรับ แขวนกบั เพดาน 2. เส้นดา้ ยเสน้ ทส่ี องผกู กับแท่งไม้ ใหป้ ลายเส้นด้ายอยูด่ ้านล่างของแทง่ ไม้ กจิ กรรม 1. ให้นักเรยี นหาวิธดี งึ ดา้ ยเสน้ ลา่ งให้เส้นด้ายเส้นบนขาด (รปู ก) 2. ใหน้ กั เรียนหาวิธีดึงเส้นด้ายเส้นลา่ งและใหเ้ ส้นดายเส้นลา่ งขาด (รูป ข) รปู ก รูป ข ภาพแสดงการดงึ เชือกให้ขาดในลักษณะต่างๆ กิจกรรม เกม เพ่ือการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 113
Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทึกกิจกรรมที่ 4 เรอ่ื งของความเฉ่อื ย ตอนที่ 1 หลกั การ................................................................................................................. ................................................................................................................. วิธีการ ................................................................................................................. ................................................................................................................. ตอนที่ 2 หลักการ................................................................................................................. ................................................................................................................. วธิ ีการ ................................................................................................................. ................................................................................................................. เฉลย ใช้หลกั ของความเฉอื่ ยคือวตั ถุจะพยายามรักษาสภาพเดิมของ ตอนที่ 1 การเคล่ือนทไ่ี ว้ ดังนัน้ ถ้าต้องการใหเ้ หรยี ญอยู่ในสภาพเดมิ ต้อง หลกั การ ดงึ กระดาษให้เรว็ ใหย้ กปลายกระดาษขึ้นในแนวระดับ ใช้ไม้บรรทัดตีลงกระดาษ แรงๆ โดยใหต้ �ำแหนง่ ทตี่ ีห่างจากเหรยี ญประมาณ 1 - 1.5 cm วิธกี าร ใช้หลักการเดียวกบั ตอนท่ี 1 ข้อ 1 ดงึ ดา้ ยเสน้ ล่างเบาๆ ด้วยแรงสม่ำ� เสมอด้ายเส้นบนจะขาด ขอ้ 2 ดึงด้ายเสน้ ล่างแรงๆ เพียงครัง้ เดยี ว ตอนที่ 2 หลกั การ วธิ ีการ 114 กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning จุดม่งหุ มาย กจิ กรรมท่ี 5 หักหรือไม่หกั ระดบั นักเรียน จำ� นวนนกั เรียน เพือ่ พสิ ูจน์วา่ รอบตัวเราถูกกระทำ� ด้วยความกดดนั ของอากาศ อปุ กรณ ์ มัธยมศกึ ษาตอนต้น 2 คน/กลมุ่ 2. ไมบ้ รรทัดพลาสตกิ 1. กระดาษหนังสอื พิมพ์ สถานการณ ์ เอากระดาษหนังสือพิมพ์คลมุ ไมบ้ รรทดั ไว้ให้ปลายขา้ งหน่งึ ของไม้บรรทัดส่วนที่โผล่ ออกมานอกโตะ๊ ค�ำถาม 1. ถา้ เอามือทุบไม้บรรทดั ท่โี ผล่ออกมาจากหนังสอื พมิ พแ์ รงๆ จะเปน็ อยา่ งไร 1.1 เมือ่ เอาหนังสือพิมพค์ ลมุ ไม้บรรทดั ทง้ั แผ่น 1.2 เมือ่ เอาหนังสอื พิมพพ์ ับเป็น 4 ทบ แลว้ วางบนไมบ้ รรทัด 2. ถา้ เอาหนงั สอื พมิ พ์ออกและทบุ ไม้บรรทดั เหมอื นเดมิ ผลจะเปน็ อย่างไร กิจกรรม ให้นกั เรยี นปฏบิ ัตติ ามสถานการณ์ที่ก�ำหนดใหเ้ พอื่ หาค�ำตอบจากค�ำถามทง้ั 2 ขอ้ ภาพแสดงการทุบไมบ้ รรทดั โดยมีกระดาษหนังสอื พมิ พค์ ลมุ อยู่ และไม่มีกระดาษหนงั สือพมิ พค์ ลุม กิจกรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 115
Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทึกกิจกรรมท่ี 5 หักหรือไมห่ ัก กลุ่มท.่ี ............ ค�ำตอบ................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ เหตผุ ล................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ เฉลย 1. เมอ่ื มีหนังสอื พมิ พท์ ้งั แผน่ คลุมไมบ้ รรทัดจะหกั แตห่ นังสอื พมิ พไ์ มข่ าดเน่อื งจาก ความกดอากาศทีก่ ดบนหนังสอื ทำ� ให้ไม้บรรทดั ไมเ่ ผยอขนึ้ และกดไม้บรรทัดลงที่โตะ๊ ท�ำให้ ไมบ้ รรทัดหกั 2. ถ้าหนงั สอื พิมพพ์ ับ 4 ทบแลว้ วางบนไมบ้ รรทัด ไมบ้ รรทดั จะมีโอกาสหกั น้อย ลง เพราะอากาศทีก่ ดทับจะนอ้ ยลง 3. ถ้าไมม่ หี นงั สือพิมพ์คลมุ ไม้บรรทดั ไม่หักเนื่องจากไมม่ คี วามกดอากาศมากดทบั ไมบ้ รรทดั ให้ตัดกบั โต๊ะ (รอบๆ ตัวเรามีความกดอากาศประมาณ 15 ปอนด์/ตารางน้ิว) 116 กิจกรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning กจิ กรรมท่ี 6 ความร้อนและความเย็นเคลอื่ นทอี่ ย่างไร จุดม่งุหมาย เพอ่ื ศกึ ษาลกั ษณะการเคลือ่ นทข่ี องโมเลกุลนำ้� เมื่อได้รบั ความร้อน ระดบั นักเรยี น มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำ� นวนนกั เรยี น 2 - 3 คน/กลุ่ม อุปกรณ ์ HOT COLD 1. ขวดนมเปล่า 2 ขวด (ขวดปากกว้าง) 2. น้�ำหมึก 3. น้�ำรอ้ น และนำ�้ เยน็ 4. กระดาษแข็ง ค�ำถาม เมอ่ื นำ� น�้ำรอ้ นและน�ำ้ เยน็ มาผสมกับโมเลกลุ ของน�้ำรอ้ นและน�ำ้ เยน็ มีลกั ษณะการ เคลอื่ นที่อย่างไร กจิ กรรม 1. เตมิ น้�ำเย็นให้เตม็ ขวดนมใบที่ 1 และเตมิ นำ้� รอ้ นใหเ้ ตม็ ขวดนมใบท่ี 2 พรอ้ มหยด นำ้� หมกึ 2. น�ำกระดาษวางบนปากขวดใบท่ี 2 (น�้ำร้อน) 3. คว�ำ่ ขวดน�้ำเยน็ บนขวดน�ำ้ ร้อน โดยมกี ระดาษกั้นปากขวดทงั้ สอง 4. ดงึ กระดาษออก สงั เกตการเปลี่ยนแปลง 5. ทำ� การทดลองซ้ำ� ข้อ 1 - 4 โดยเปลี่ยนเอาขวดน�ำ้ ร้อนคว�่ำบนขวดน�้ำเย็น ภาพแสดงตัวอย่างการคว่�ำขวดแกว้ เพื่อดูการถ่ายเทความร้อนของน้�ำ กจิ กรรม เกม เพื่อการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 117
Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 6 ความร้อนและความเย็นเคล่อื นทอี่ ยา่ งไร กลุม่ ท.่ี ............ เหตุการณ ์ สง่ิ ทส่ี งั เกต 1. ขวดน้ำ� เย็นควำ่� บนขวดนำ้� รอ้ น 2. ขวดน�ำ้ รอ้ นคว�่ำบนขวดนำ�้ เยน็ สรปุ หลักการ...................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ เฉลย หลักการ คือ น้�ำร้อนจะเคลอื่ นที่ข้ึนสูง สว่ นน้�ำเยน็ จะไหลลงมาแทนท่ีน�้ำร้อน 118 กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning กิจกรรมท่ี 7 ความร้อนตดั ขวดได้หรอื ไม่ จดุ ม่งุหมาย 1. เพ่อื ศึกษาวิธีการตัดขวดดว้ ยความรอ้ น 2. ฝึกการน�ำหลกั การทางวทิ ยาศาสตรม์ าประยกุ ต์ในชีวิตประจำ� วนั ระดบั นกั เรียน มธั ยมศึกษาตอนปลาย จ�ำนวนนักเรยี น 2 - 3 คน/กลุ่ม อปุ กรณ์ 1. กระดาษหนังสือพมิ พ ์ 2. ขวดเปลา่ 3. ท่ตี ะไบเหลก็ 4. ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล ์ ค�ำถาม นักเรียนมวี ิธีการอย่างไรในการนำ� ความร้อนมาช่วยในการตัดขวด กจิ กรรม 1. น�ำกระดาษหนงั สือพมิ พม์ าพับเปน็ สี่ทบ ให้มคี วามกวา้ งประมาณ 5 cm 2. นำ� กระดาษหนงั สอื พิมพ์ไปชุบน�้ำทงิ้ ไว้ 10 – 15 นาที 3. นำ� ตะไบเหลก็ ตะไบ ณ ต�ำแหน่งท่ตี ้องการตัด 4. นำ� กระดาษทช่ี ุบนำ�้ แล้ว พบั รอบขวดท้ังดา้ นบนและด้านลา่ งของรอยขีด ทตี่ ะไบไว้ ให้กระดาษท้งั 2 แผน่ หา่ งกันประมาณ 1 – 2 cm 5. นำ� ขวดไปรนไฟตรงทีร่ อยขดี ภาพแสดงการตัดขวดด้วยความรอ้ น กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 119
Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทึกกิจกรรมที่ 7 ความรอ้ นตัดขวดไดห้ รือไม่ กลุ่มที่............. ผลจากการทดลอง ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ค�ำถาม 1. ถา้ ไม่ใช้ตะไบเหลก็ ขดี ใหข้ าดเปน็ รอย เม่ือนำ� ขวดไปรนไฟ ผลจะเป็นอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2. กระดาษหนังสือพมิ พ์มสี ว่ นชว่ ยในการตัดขวดอยา่ งไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 3. จงอธิบายหลักการของผลทเ่ี กิดขน้ึ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ เฉลย ผลการทดลองขวดจะแยกเปน็ 2 สว่ น ตามรอยขีดของตะไบ 1. ถ้าไม่มีรอยตะไบขวดจะไมแ่ ยกออกจากกนั 2. กระดาษหนังสอื พิมพช์ ุบน�้ำ ช่วยปอ้ งกันไมใ่ ห้ความร้อนขยายไปยงั ส่วนอ่นื ของขวด 3. ความร้อนทำ� ใหโ้ มเลกลุ ของขวดบริเวณรอยขีดขยายตัวขวดจงึ แยกเป็น 2 ส่วน 120 กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning กิจกรรมท่ี 8 ล้นหรอื ไม่ล้น จดุ ม่งหุ มาย เพื่อศกึ ษาความหนาแน่นของนำ้� และน�้ำแข็ง ระดับนักเรียน มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำ� นวนนกั เรียน 2 คน/กล่มุ อปุ กรณ์ 2. น�้ำแข็ง 1. แกว้ นำ�้ สถานการณ์ นักเรียนคงรจู้ ักน้ำ� แขง็ เกล็ดหมิ ะทนี่ ำ� มาราดด้วยน�้ำหวาน ซึง่ มีขายตามท้องตลาดหรือ นำ้� หวานทร่ี ู้จกั กนั ในชอ่ื สเลิฟบี้ ซึ่งเวลาซอื้ เรามกั จะกดใหเ้ กล็ดน้�ำแขง็ น้ไี หลมาจนพูนออก จากแก้วหรือภาชนะท่ีใส่ นักเรียนคิดว่าเม่อื เกลด็ น้ำ� แข็งเหลา่ นี้ละลายแล้ว จะเหลือเป็นน�ำ้ หวานเต็มแกว้ หรอื ไม่ ค�ำถาม 1. นักเรียนคดิ ว่านำ�้ และน้ำ� แขง็ มีความหนาแนน่ แตกต่างกันหรอื ไม่อย่างไร 2. เมอ่ื น้ำ� แข็งละลายเปน็ นำ�้ จะมปี ริมาณเท่าเดมิ หรือไม่ กิจกรรม 1. นำ� นำ้� แขง็ มาใสใ่ นแกว้ ใหล้ ้นออกมาจนสูงเท่ากบั ความสงู ของแกว้ 2. ปลอ่ ยให้นำ�้ แข็งละลายสงั เกตการเปลยี่ นแปลง ภาพแก้วบรรจุน้�ำแขง็ จนล้นออกมา กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ 121
Activities & Games for Science Learning แบบบันทกึ กจิ กรรมที่ 8 ล้นหรือไม่ลน้ กลมุ่ ที่............. ผลของการสงั เกต ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ขอ้ สรปุ จากการสงั เกต ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ เฉลย เม่อื น�ำน�้ำแขง็ มาใสแ่ กว้ จนพนู ออกมา และปล่อยใหน้ ้�ำแข็งละลาย จะพบวา่ เม่ือ นำ้� แข็งละลายเปน็ น�้ำ นำ้� จะไม่ลน้ ออกมา เนอ่ื งจากน้ำ� มคี วามหนาแนน่ มากกว่าน�้ำแขง็ ดงั นั้นเมื่อน�ำ้ แขง็ ละลายเป็นน้�ำจะมีปรมิ าตรน้อยกวา่ เดิม 122 กิจกรรม เกม เพ่อื การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning กจิ กรรมท่ี 9 โลกและดวงจนั ทร์หมนุ อย่างไร จดุ มง่ หุ มาย 1. เพอื่ ศึกษาลักษณะการหมนุ ของโลกและดวงจันทร์ 2. ฝึกการแกป้ ญั หาดว้ ยการสร้างสถานการณ์จำ� ลอง ระดบั นักเรยี น มัธยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำ� นวนนกั เรยี น 3 - 4 คน/กล่มุ สถานการณ์ โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบใชเ้ วลาประมาณ 365 วนั และหมุนรอบตัวเอง 1 รอบใชเ้ วลาประมาณ 1 วนั ส�ำหรับดวงจนั ทรโ์ คจรรอบโลก 1 รอบใชเ้ วลาประมาณ 30 วัน และหมนุ รอบตวั เอง 1 รอบใชเ้ วลาประมาณ 30 วนั เท่ากัน ค�ำถาม 1. จากสถานการณท์ ่ีกำ� หนดใหน้ กั เรยี นคดิ ว่า การทโ่ี ลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ไปพร้อมกัน จะมีลกั ษณะเหมอื นการทีด่ วงจันทร์โคจรรอบโลกและหมนุ รอบตวั เอง ไปพร้อมกนั หรือไม่ 2. ทก่ี ล่าววา่ มนษุ ย์เมอ่ื อยูบ่ นโลกจะเห็นดวงจนั ทร์เพยี งด้านเดยี วจรงิ หรือไม่ กจิ กรรม 1. ให้นักเรยี นใชว้ ธิ ีบทบาทสมมุติ โดยก�ำหนดใหส้ มาชิกในกลุม่ คนหน่งึ เปน็ ดวง อาทิตยอ์ กี คนหนง่ึ เป็นโลก 2. ให้นักเรยี นที่ถูกสมมตุ ใิ ห้เปน็ โลก คิดวธิ หี มุนหรือลักษณะการหมุนรอบตัวเองและ โคจรรอบดวงอาทติ ยไ์ ปพร้อมกนั โดยตอ้ งหมนุ รอบตัว 365 รอบ ต่อการโคจรรอบดวง อาทิตย์ 1 รอบ 3. ให้นกั เรียนท�ำกิจกรรมซำ้� เดมิ โดยสมมตุ เิ ปน็ โลกและดวงจนั ทร์ โดยมีเงอื่ นไขว่า นักเรียนตอ้ งคิดวธิ หี มุนรอบตัวและโคจรรอบโลกใน 1 รอบ ดว้ ยเวลาทีเ่ ทา่ กัน กิจกรรม เกม เพื่อการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 123
Activities & Games for Science Learning ภาพแสดงลกั ษณะการเคลอ่ื นที่ของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ภาพแสดงลักษณะการเคลื่อนทข่ี องดวงจนั ทร์รอบโลก 124 กิจกรรม เกม เพ่ือการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทึกกิจกรรมที่ 9 โลกและดวงจนั ทร์หมุนอยา่ งไร กลุ่มท่.ี ............ แนวคดิ เกย่ี วกบั โลกและดวงจันทร์ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ตอบค�ำถาม 1. ......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ 2. ......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ เฉลย ลักษณะการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์และหมุนรอบตัวเองต่างจากดวงจันทร์ หมุนรอบตัวเองและโคจรรอบโลกดงั ภาพ กิจกรรม เกม เพือ่ การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ 125
Activities & Games for Science Learning ไม่เร่ิมตน้ ในวนั น้ี จะไม่มีทางสำ� เร็จในวันพร่งุ น้ี What is not started today is never finished tomorrow. By : Johann Wolfgang von Goethe ทมี่ า : https://positioningmag.com/59781 126 กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning เกมทางวทิ ยาศาตร์ forAScctiiveintiecse &LeGaarnminegs บทที่ กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 127
Activities & Games for Science Learning 5บทที่ เกมทางวทิ ยาศาตร์ เมื่อพจิ ารณาความหมายของ “ เกม ” ซึ่งมีผใู้ ห้ความหมายไวห้ ลายความหมาย ดังตอ่ ไปน้ี ปเี ตอร์ และโจเซฟ (Peter and Joseph)1 ได้ใหค้ วามหมายคำ� วา่ เกมว่า เปน็ การ สรา้ งสถานการณ์ท่เี รา้ ใจ โดยประกอบดว้ ยกจิ กรรม กฎกตกิ า ซึง่ สามารถนำ� ไปใช้โดยมกี าร กำ� หนดสถานการณ์ทมี่ คี ณุ ค่า มีความเพลนิ เพลนิ มีการแขง่ ขนั ซมิ พส์ นั และวคิ เนอร์ (Simpson and Winer)2 ได้กล่าวถงึ “ เกม ” วา่ เป็นรปู หนง่ึ ของการเล่น การแข่งขัน หรอื กฬี า ทีม่ ีผลทำ� ให้ผเู้ ลน่ มที ักษะความแข็งแรงหรอื ความมโี ชค ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ สถาน3 เกม หมายถึง การเล่นหรือการละเลน่ เพือ่ ความสนกุ สนานเพลิดเพลิน วริ ะ4 ไดก้ ลา่ วถึงเกมวา่ เกม คือ กิจกรรมของมนษุ ยท์ ไี่ ด้มีการตกลงกนั ในเรอ่ื งของ เวลา สถานท่ีจะเล่นเป็นการเลน่ ง่ายๆ ไมใ่ ช้ทกั ษะมากนัก ใช้ไหวพริบในการเล่น กฎ กติกา ไมย่ ุง่ ยากไม่สลบั ซับซอ้ น และมขี ้อห้ามการกระทำ� บางอย่างไว้ เพอ่ื ให้ผู้เลน่ ไดเ้ ลน่ ใหเ้ ปน็ ไป ตามวตั ถุประสงคข์ องการเล่น 128 กิจกรรม เกม เพื่อการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning วรี ะชาติ สงวนไพรินทร5์ ได้กลา่ วถึงเกมว่า เกม เป็นโครงสร้างของกจิ กรรมกฎเกณฑ์ ในการเล่น ซ่งึ อาจมีผู้เล่น 2 คน หรอื มากกวา่ 2 คนเล่นกนั เพ่อื บรรลตุ ามจุดม่งุ หมายของการ สอน พรี ะพงศ์ บุญศริ ิ และมาลี สุรพงศ6์ เกมเปน็ กจิ กรรมที่นำ� มาใชเ้ พื่อความสนกุ รืน่ เรงิ บนั เทิงใจ ผ่อนคลายอารมณ์ เปน็ กจิ กรรมนอกแบบทส่ี ามารถนำ� มาประยกุ ต์ดัดแปลงใชใ้ ห้ เหมาะกับโอกาสเวลา หรอื ชว่ ยจังหวะที่อำ� นวยให้ กล่าวโดยสรปุ เกม หมายถึง กิจกรรมหรอื การเลน่ เพอ่ื ความสนุกสนาน เพื่อการ แข่งขนั ทีม่ รี ะเบยี บ มกี ฎเกณฑ์ มีกติกาทีช่ ดั เจนไม่ซบั ซ้อน ความหมายของเกมทางวิทยาศาสตร์ ในปัจจุบันน้ีได้มีการพัฒนาน�ำเกมมาปรับปรุงหรือประยุกต์ให้เข้ากับเน้ือหาการเรียน การสอนในวิชาต่างๆ และในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ กเ็ ป็นวิชาหนึ่งที่มกี ารนำ� เกมมาใช้ ประกอบการเรยี นการสอน ซึง่ เกมท่ีจดั ท�ำขึ้นเป็นเกมทางวทิ ยาศาสตร์ โดยมนี ักการศกึ ษาได้ ให้ความหมายเกมทางวทิ ยาศาสตรไ์ วด้ ังน้ี Sheffield Hallam University7 ได้กล่าวถงึ เกมทางวิทยาศาสตร์วา่ หมายถึง กิจกรรมที่กำ� หนดขึ้นอย่างมีระเบียบ มกี ฎกติกาของการเล่น และการแข่งขนั ท่ีสามารถเล่นได้ ต้ังแต่ 1 คน ขนึ้ ไป และเก่ยี วข้องกับความรทู้ างดา้ นวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางดา้ น วิทยาศาสตร์ และวิธกี ารทางดา้ นวิทยาศาสตร์ ลัดดาวลั ย์ กณั หสุวรรณ8 ได้กล่าวถึง เกมทางวทิ ยาศาสตร์ว่า เป็นกจิ กรรมซึง่ มกี ตกิ า บงั คบั และกตกิ านนั้ ใช้เป็นวิธีประเมนิ ความส�ำเรจ็ ในการเล่น และสามารถสอนแนวคดิ ทาง วิทยาศาสตร์ ความจรงิ เจตคติ และทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จากความหมายของเกมทางวิทยาศาสตรท์ ่กี ล่าวถึงข้างต้นนี้ มคี วามหมายทีใ่ กล้เคยี ง กัน ซง่ึ พอสรปุ ได้วา่ เกมทางวทิ ยาศาสตร์เป็นการเลน่ ทีม่ ีกฎกติกา และมขี ัน้ ตอนอย่างเป็น ระเบียบ ทส่ี อดแทรกด้วยเน้ือหา ทักษะกระบวนการและวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ประเภทของเกม เกมสามารถจำ� แนกไดเ้ ปน็ หลายประเภทขนึ้ อยกู่ ับเกณฑ์ท่ใี ช้ในการจำ� แนก ซง่ึ ผู้เขยี น ขอจำ� แนกเกมตามลกั ษณะหรือรูปแบบเฉพาะของเกมดังต่อไปน้ี กิจกรรม เกม เพื่อการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 129
Activities & Games for Science Learning 1. เกมการแสดงออก หมายถงึ เกมทีต่ ้องแสดงออกถึงความสามารถของบคุ คลด้วย การกระทำ� เสยี งหรือทา่ ทางตา่ งๆ เชน่ เกมประกอบเพลง เกมการแขง่ ขันตา่ งๆ 2. เกมทีม่ ีรปู แบบการเล่น เปน็ เกมทต่ี ้องอาศัยรปู แบบเฉพาะในการเลน่ ได้แก่ เกม วงกลม เกมเสน้ เกมจบั คู่ 3. เกมใช้อุปกรณ์ หมายถงึ เกมทีอ่ าศัยอุปกรณ์ตา่ งๆ มาประกอบในการเล่นเกม เชน่ เกมโดมโิ น เกมไพ่ เกมเก่ียวกบั บตั รคำ� เกมกระดานต่างๆ 4. เกมทเี่ ก่ียวกบั เหตแุ ละผล เปน็ เกมท่ใี ชค้ วามสามารถ ไหวพรบิ ความคล่องตวั ความ ถนัดทางภาษา และสตปิ ญั ญาในการแขง่ ขัน 5. เกมธรรมชาติ หมายถึง เกมทเี่ ลยี นแบบเอาลกั ษณะสง่ิ ของเคร่อื งมือเครื่องใช้หรอื สตั วม์ าเป็นการเล่นอาจเรยี กวา่ เกมเล่นเลยี นแบบกไ็ ด้ 6. เกมแบบผลดั หมายถึง เกมการแขง่ ขันระหว่างกล่มุ โดยแตล่ ะกลมุ่ ท�ำเหมือนกัน แตต่ ามล�ำดบั รายบุคคล โดยเอาผลรวมการปฏิบตั ขิ องกลมุ่ เปน็ เกณฑต์ ัดสินแพ้ชนะ 7. เกมแบบทมี หมายถึง เกมทีอ่ าศัยความสัมพันธร์ ว่ มมอื ระหว่างกล่มุ ความสามคั คใี น การเลน่ ของแต่ละชุด แตล่ ะทีม เป็นการแข่งขนั ความสามารถเป็นหมู่ ลกั ษณะของเกมทางวิทยาศาสตร์ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ทเี่ นน้ นกั เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง เกมจงึ จดั ได้ว่า เป็นกจิ กรรมหนงึ่ ทชี่ ว่ ยใหน้ ักเรยี นเกิดความเขา้ ใจในบทเรียนได้ดขี ้นึ ซง่ึ ลกั ษณะส�ำคญั ของเกม ทาวทิ ยาศาสตรม์ ดี งั ตอ่ ไปนี้ 1. สร้างความตืน่ เต้นใหก้ ับนักเรียนหรือผเู้ ลน่ 2. เป็นการแข่งขัน 3. สอนหลักความจรงิ ทางวิทยาศาสตร์ 4. เป็นกจิ กรรมท่เี ปิดโอกาสให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในกจิ กรรม 5. เปน็ กิจกรรมท่ีมคี วามสนกุ สนาน 6. สร้างแรงจงู ใจให้กบั ผู้เรยี นในการศึกษาเรยี นรู้ ในการพัฒนาเกมทางวิทยาศาสตร์ ลักษณะสำ� คัญอีกประการหนึ่งของเกม คือ ต้อง เป็นกจิ กรรมท่ีเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นตัดสนิ ใจดว้ ยเหตุและผล จึงจะเป็นเกมท่ีพฒั นาการเรียนรู้ ทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ 130 กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ประโยชน์ของเกมทางวทิ ยาศาสตร์ เกมทางวิทยาศาสตร์มีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมากซึ่ง พอสรุปไดด้ งั ต่อไปน้ี 9 1. สร้างความเข้าใจให้กบั ผู้เรยี น เกมทส่ี นกุ มีการแขง่ ขนั จะชว่ ยสรา้ งความเร้าใจใหผ้ ู้ เรียนเกดิ ความสนใจกิจกรรมการเรยี นการสอนน้นั 2. สร้างบรรยากาศที่ดีให้นักเรยี น เกมทำ� ให้นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม ความเร้าใจ ความสนกุ ของเกมเปน็ บรรยากาศท่ีดีของการเรียนการสอนอย่างหน่ึง 3. นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการเรยี นรู้ เกมเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้รว่ มกจิ กรรมได้เขา้ ใจ ถงึ หลกั การวิธกี าร ซง่ึ เป็นสว่ นหน่งึ ของการเรยี นรู้ 4. สรา้ งปฏิสัมพนั ธ์ท่ดี ีระหว่างครูกบั นักเรยี น และนักเรียนกับนกั เรียน นอกจากความ รทู้ ่ไี ดร้ ับ เกมยังช่วยลดชอ่ งวา่ งของความคดิ ความร้สู ึกระหวา่ งครกู ับนักเรียน และนกั เรียนกบั นกั เรียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี 5. สรา้ งความคงทนของความรู้ สง่ิ สำ� คัญประการหนึง่ ของการเรยี นการสอน คอื ท�ำ อย่างไรนักเรยี นจงึ จะมีความจ�ำที่ดี เก็บความรูท้ ีไ่ ด้รบั ไวไ้ ด้นาน เกมจงึ มีส่วนช่วยให้นกั เรียน ประทับใจในกจิ กรรมท่สี นุกสนาน และการท่นี กั เรยี นได้ร่วมกจิ กรรมทำ� ให้นักเรยี นมโี อกาสได้ เรียนรดู้ ้วยตัวเองวธิ หี น่ึง ซงึ่ จะมีผลต่อการจดจำ� ของนักเรียนทำ� ให้นักเรยี นจำ� เนอื้ หาท่เี รยี นได้ ดขี ้ึน 6. เปน็ การทบทวนความรู้ เมื่อจบบทเรียนแต่ละบทเรยี นหรอื กอ่ นจะเร่มิ บทเรียนใหม่ ครูอาจทบทวนความรขู้ องนกั เรยี นด้วยวธิ ีการเล่นเกม ซึ่งกจิ กรรมของเกมจะมีสว่ นช่วยในการ ทบทวนความจำ� ได้เปน็ อย่างดี 7. อธบิ ายเน้ือหาที่ซบั ซ้อนให้เข้าใจง่ายขึ้น เนื้อหาบางเรื่องบางตอนอาจจะยาก หรือ ซับซ้อนเกินกว่าที่จะบรรยายหรอื อธบิ ายให้นกั เรยี นเขา้ ใจได้ กิจกรรมจากเกมจึงมีส่วนชว่ ย อธิบาย โครงสร้าง หลกั การ หรอื เน้อื หาทีซ่ ับซอ้ นให้งา่ ยขนึ้ ได้ 8. เปน็ วธิ กี ารประเมินผลการเรียนการสอนวิธีหน่ึง เมือ่ จบการเรียนการสอนในแตล่ ะ เน้ือหาครูสามารถประเมินผลการเรียนการสอนจากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการ เล่นเกม ซึ่งผลของการประเมนิ จากเกม เป็นตัวบ่งชี้ทเ่ี ช่ือถอื ไดว้ ิธีหนึ่ง 9. เกมสามารถอธิบายเนอ้ื หาทลี่ ึกเกินบทเรยี นให้นักเรยี นเกิดความเขา้ ใจได้ ในกรณี ที่ครตู ้องอธิบายเนอื้ หาทลี่ ึก หรอื ยากเกนิ บทเรยี น ครูสามารถใหเ้ กมเป็นสอ่ื ในการอธิบาย หรอื ท�ำเนื้อหาทีย่ ากใหง้ ่ายตามระดับสติปัญญาของนักเรียนได้ กจิ กรรม เกม เพื่อการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 131
Activities & Games for Science Learning กลวิธใี นการใชเ้ กมในการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ การใช้เกมประกอบการเรยี นการสอนน้นั ถอื ไดว้ ่า เปน็ เทคนคิ อย่างหนึง่ ของการสอน ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ซึ่งทกุ ครง้ั ทนี่ �ำเกมมาชว่ ยสอน เพื่อน�ำนกั เรยี นเข้าสคู่ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์ และทกั ษะตา่ งๆ ควรค�ำนงึ ถงึ หลกั สำ� คญั 4 ประการ คอื 1. เกมเปน็ เทคนิคเสริมในการสอนเท่าน้ันไมใ่ ช่วธิ สี อน ในการจดั การเรยี นการสอนครู ควรใชเ้ กมเป็นเพยี งกิจกรรมประกอบการเรียนการสอน ซงึ่ อาจใช้ในการน�ำเขา้ ส่บู ทเรียน การ ท�ำกิจกรรมระหว่างเรียนหรอื การสรุปบทเรียน แต่ไม่ใช่ใช้เกมเปน็ วธิ สี อนตลอดเนอ้ื หา หรอื บทเรียนนน้ั 2. การใช้เกมกับการสอน ควรเลือกเกมท่ีสอดคลอ้ งกับเนื้อหา เกมแตล่ ะเกมมีรูปแบบ วธิ กี ารเลน่ และจดุ มุ่งหมายทต่ี ่างกัน ดังนั้นในการจดั เกมประกอบการสอนจึงควรเลอื กเกมท่ีมี ความสอดคลอ้ งกบั เน้อื หาใหม้ ากทส่ี ดุ 3. ไมค่ วรใชเ้ กมในการเรยี นการสอนบอ่ ยจนเกนิ ไป เพราะอาจทำ� ใหน้ กั เรยี นเบอ่ื เกม เกมเปน็ กิจกรรมท่ีจัดขนึ้ เพือ่ สร้างความเร้าใจ ความตน่ื เตน้ ใหก้ ับผู้เรียน ดงั นัน้ จงึ ไมค่ วรใช้ เกมในการเรยี นการสอนบ่อยเกินไปเพราะอาจท�ำใหน้ กั เรยี นรสู้ ึกเบื่อ 4. ควรมีการตดิ ตามผลของการใช้เกมมากกวา่ เพ่อื ความสนกุ เพยี งเท่านั้น ถงึ แม้วา่ เกมจะเปน็ กิจกรรมท่ีจดั ขนึ้ เพ่ือสรา้ งความเพลิดเพลนิ ใหก้ บั ผู้เรยี น แตใ่ นขณะเดียวกนั เกมก็ เปน็ วิธกี ารประเมินผลการเรียนรู้อยา่ งหน่งึ ดงั น้นั ครคู วรติดตามผลการเรยี นร้หู ลังจากท่มี กี าร เรยี นรดู้ ้วยเกมทุกคร้งั บทบาทของครูผสู้ อนกับเกมทางวทิ ยาศาสตร์ ในการจัดเกมทางวิทยาศาสตร์ส�ำหรบั นักเรยี น เพอื่ ได้มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมทม่ี คี วาม บนั เทิง ความสนุก ภายใต้เง่อื นไขหรือกตกิ าการเล่น ครูควรมบี ทบาทอยา่ งไร ควรมีสว่ นร่วม ในเกมมากนอ้ ยแค่ไหน เปน็ ค�ำถามทีค่ รูควรตระหนกั ถงึ และเขา้ ใจบทบาทของตนเองเป็น สำ� คญั หนา้ ท่ีของครูคือต้องตอบคำ� ถามนกั เรยี นใหเ้ กิดความเขา้ ใจในการเลน่ เกมทุกครงั้ วา่ ทำ� ไมถึงต้องเล่นเกม เกมทีเ่ ลน่ เก่ียวขอ้ งกบั วิทยาศาสตรอ์ ยา่ งไร และเงื่อนไขหรอื กฎกตกิ าใน การเล่นเปน็ อยา่ งไร นอกจากนีย้ ังมีค�ำถามทเ่ี ปน็ แนวทางส�ำหรับครผู ูส้ อน เพื่อใหท้ ราบถึง บทบาทของครใู นการจัดกิจกรรมเกมทางวทิ ยาศาสตรด์ ังตวั อยา่ ง เช่น 132 กิจกรรม เกม เพอื่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning กอ่ นการเลน่ เกม 133 - เกมทเี่ ล่นครอบคลุมถงึ เน้อื หาวิทยาศาสตร์เรือ่ งใด - เปา้ หมายในการเล่นเกมเก่ียวขอ้ งกับวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งไร - ต้องจัดเตรียมอุปกรณอ์ ะไรบ้าง - กฎ กตกิ า ในการเลน่ คืออะไร - ควรให้นกั เรียนเล่นเกมนานเทา่ ใด - เกมทเ่ี ล่นจะจบลงอยา่ งไร ขณะทเี่ ลน่ เกม - นักเรยี นควรท�ำอยา่ งไร ถา้ มีปัญหาเกดิ ขึ้นระหวา่ งเลน่ เกม - ครตู ้องเขา้ ร่วมเลน่ เกมกับนกั เรียนดว้ ยหรือไม่ - นกั เรียนจะนำ� ความรู้ที่ไดจ้ ากเกมไปใชอ้ ยา่ งไร  หลังเลน่ เกม - เกมดำ� เนนิ ไปได้ดแี คไ่ หน - ได้เรียนรู้ข้อเทจ็ จริงเรื่องอะไร - ทักษะอะไรบ้างทใ่ี ชใ้ นเกม - สามารถนำ� ไปใชอ้ ย่างไร จากค�ำถามเหล่านีเ้ ป็นแนวทางในการแสดงบทบาทของครใู นการนำ� เกม ซ่ึงสามารถ แบง่ เปน็ 3 ขัน้ ตอน คอื ขน้ั เตรยี มการ ข้ันด�ำเนนิ การ และขั้นสรุป ขนั้ เตรยี มการ 1. ครตู ้องมีการเตรยี มการทดี่ แี ละแน่ใจวา่ มีความช�ำนาญในเกม 2. ครูต้องรวบรวมความรูจ้ ากแหลง่ ความร้ตู า่ งๆ ล่วงหน้า 3. เตรยี มการนำ� เกม การอธิบายเกมใหเ้ ข้าใจ โดยเฉพาะเกมท่มี ขี ัน้ ตอนที่ซับซ้อนและ ครูตอ้ งคำ� นึงถึงทกั ษะท่ีใชด้ ว้ ย 4. ศึกษาลักษณะเกมและพจิ ารณาวา่ ต้องลงไปเลน่ กบั นักเรยี นดว้ ยหรอื ไม่ ข้ันดำ� เนนิ การ 1. ครเู ปน็ ผู้ให้การสนบั สนุน และให้ความชว่ ยเหลือเกย่ี วกับกฎกตกิ าการเลน่ แตต่ อ้ ง ใหเ้ กม การเลน่ เป็นของนกั เรยี น กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning 2. ในกรณที ่เี กมหยดุ เน่อื งจากมีปัญหาในการเลน่ ถา้ จ�ำเปน็ ครตู อ้ งเข้าชว่ ยแกป้ ญั หา และตัดสนิ ปัญหา เพ่อื ให้เกมด�ำเนินตอ่ ไป 3. ครูต้องควบคมุ เวลาให้เหมาะสม ขนั้ สรปุ 1. ดูแลตรวจสอบการจัดเกบ็ อุปกรณเ์ ก่ียวกับเกมใหเ้ รยี บรอ้ ย 2. สรปุ ทา้ ยเกมถึงประสบการณ์ความรทู้ ไ่ี ด้รับจากเกม 3. พจิ ารณาวา่ ควรมกี ารทดสอบความรู้ทักษะท่ีนักเรียนไดร้ บั หรอื ไม่ รูปแบบของเกมทางวทิ ยาศาตร์ เกมทางวิทยาศาสตร์สว่ นใหญเ่ ปน็ เกมทีป่ ระยกุ ตม์ าจากเกมการละเลน่ ทวั่ ๆ ไป โดย สอดแทรกเนอื้ หาทางวทิ ยาศาสตร์เข้าไปในเกม ซ่งึ มรี ูปแบบหลกั ๆ ดงั น้ี 1. เกมกระดาน (Board games) เป็นเกมทกี่ ระดาน ตัวเบี้ย และอาจมลี ูกเต๋าเป็น สว่ นประกอบ โดยจะมีการเคลอื่ นยา้ ยตัวเบ้ียบนชอ่ งทางตามจำ� นวนแตม้ ทีท่ อดได้จากลกู เตา๋ ตวั อยา่ งของเกมประเภทน้ี ไดแ้ ก่ เกมงตู กบนั ได เกมสแครบเบิล เป็นตน้ 2. เกมไพ่ (Card games) เปน็ เกมทใ่ี ช้ไพ่หรือบตั ร ที่ครแู ละนักเรียนอาจทำ� ขึน้ เอง โดยใชเ้ นื้อหาภาพ เครือ่ งหมายที่เกี่ยวกบั วิทยาศาสตรล์ งไปในบัตรหรอื ไพ่ ซ่งึ โครงสรา้ งของ เกมไพ่ส่วน ใหญเ่ ปน็ เกมท่ีผูเ้ ล่นถอื ไพห่ รือบัตรเป็นรายบคุ คล ซ่งึ อาจมจี ุดมงุ่ หมายเพอ่ื ชัยชนะ ดว้ ยเทคนคิ เชน่ บรดิ จ์ หรือเปน็ การเลน่ ท่ีเป็นระบบตอ่ เนื่องกนั ไป เช่น โปกเกอร์ หรือเปน็ การ สะสมคะแนนใหม้ ากทส่ี ุดจากฝ่ายตรงข้าม เชน่ สแนบ กไ็ ด้ 3. เกมโดมิโน (Dominoes) เป็นเกมที่มีตวั หมาก หรือตัวโดมิโนเปน็ อุปกรณก์ ารเลน่ โครงสร้างของเกม คอื การตอ่ ตวั หมาก หรือตัวโดมิโน โดยสว่ นทต่ี ่อกันจะต้องมีลักษณะ เหมอื นกัน หรือเปน็ พวกเดยี วกนั ซ่งึ สามารถนำ� มาประยกตุ เ์ ปน็ เกมทางวิทยาศาสตร์ โดย เลอื กคำ� ศพั ท์ทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ใจความสาคัญของเนือ้ หามาเปน็ สว่ นของเกมในการตอ่ ตวั โดมโิ น 4. เกมปรศิ นา เกมการแกป้ ญั หา (Puzzles) เปน็ เกมทีเ่ ก่ยี วกับการหาวิธีการเพอ่ื แก้ ปมปรศิ นา หรือตอบปัญหาจากเกม ซ่ึงสามารถนำ� ทักษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ และวิธีการ ทางวทิ ยาศาสตร์มาเปน็ เงอ่ื นไข หรอื วธิ กี ารในการแกป้ ญั หาปริศนาก็ได้ 134 กิจกรรม เกม เพื่อการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning หลักการสรา้ งเกมทางวทิ ยาศาสตร์ เกมทางวิทยาศาสตร์เป็นเกมที่ผู้สอนอาจสร้างขึน้ เอง หรอื อาจะน�ำเกมท่มี อี ยแู่ ล้วมา ประยกุ ต์ หรือปรบั เปลี่ยนใหเ้ ปน็ เกมทางวทิ ยาศาสตร์ โดยสอดแทรกเน้อื หาทางวทิ ยาศาสตร์ เพื่อเป็นเกมเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์หรือใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น เง่อื นไขหรอื วิธีการในการเล่นเกม เพื่อให้ได้เกมเสริมทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ ไม่ว่าผสู้ อนตอ้ งการสรา้ งเกมลักษณะใดก็ตาม มหี ลักการท่ีสำ� คญั ทีค่ รูวิทยาศาสตรค์ วรยดึ เป็น แนวทางและเปน็ หลักการและขน้ั ตอนในการสร้างเกมดังน้ี 1. การก�ำหนดรูปแบบของเกม ผู้สอนต้องพจิ ารณาถงึ วัตถุประสงคท์ ต่ี ้องการเสยี กอ่ น แล้วจงึ ก�ำหนดรปู แบบของเกมให้สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคท์ ีก่ ำ� หนดไว้ และทีส่ �ำคญั เกมทจ่ี ัด ท�ำข้ึนจะต้องเหมาะสมกบั วยั และระดบั สตปิ ัญญาของนักเรียนด้วย 2. การสอดแทรกความรูว้ ิทยาศาสตร์ ผสู้ อนต้องเลอื กเกมที่มคี วามสอดคล้อง หรือมี ความสมั พันธ์กับเน้อื หาทางวิทยาศาสตร์ทต่ี อ้ งการให้นักเรียนเรียนรู้ และเกมทส่ี รา้ งข้ึนควร จะเปน็ เกมท่เี ก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื มีเน้ือหาทาง วิทยาศาสตร์ ไมค่ วรสร้างเกมท่อี าศัยโชคในเกมทางวิทยาศาสตร์ 3. ก�ำหนดรูปแบบของเกม ผ้สู อนตอ้ งกำ� หนดรปู แบบเกมให้ชัดเจนว่าเป็นเกมแบบใด เชน่ เปน็ เกมสำ� หรับรายบคุ คล หรือเป็นเกมแบบกลมุ่ หรอื แบบผลัดเปน็ ตน้ 4. กำ� หนดวสั ดุอุปกรณท์ ีต่ ้องใช้ ในการก�ำหนดวสั ดุอุปกรณค์ วรเลือกใชอ้ ุปกรณท์ ่ีหา ไดง้ า่ ย มีสภาพคงทนเปน็ ส�ำคัญ 5. ควรทบทวนรปู แบบของเกมวา่ ซ้ำ� ซ้อนกับเกมท่นี ักเรียนเคยเลน่ แลว้ หรอื ไม่ เพราะ เกมที่คลา้ ยคลงึ กันอาจท�ำใหค้ วามสนใจ ความต่ืนเตน้ ของนักเรยี นลดน้อยลงสามารถนำ� เกม อื่นมาปรบั เปลย่ี น หรอื มาประยุกต์ใช้ได้หรอื ไม่ 6. กำ� หนดจำ� นวนผ้เู ล่น เกมแต่ละเกมอาจจะใชจ้ �ำนวนผ้เู ลน่ ไมเ่ ทา่ กัน ดงั นนั้ ควรมี การก�ำหนดจำ� นวนผ้เู ลน่ ทเ่ี หมาะสมให้ชดั เจน 7. ระยะเวลาทใ่ี ช้ การเล่นเกมครผู ้สู อนควรกำ� หนดระยะเวลาทีเ่ หมาะสม เพราะ ระยะเวลาท่นี านเกนิ ไปอาจท�ำให้นักเรยี นรสู้ กึ เบอื่ หน่ายต่อเกม 8. วธิ ีการตดิ ตามผล เกมนอกจากเป็นกจิ กรรมเพ่อื ความเพลดิ เพลินแลว้ ยงั เปน็ วธิ ี การประเมินผลอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งผู้สอนควรก�ำหนดวิธีการวัดและประเมินผลในเกมแต่ละเกม อย่างละเอยี ด กจิ กรรม เกม เพ่อื การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ 135
Activities & Games for Science Learning จดุ ม่งหุ มาย ตวั อย่างเกมทางวทิ ยาศาสตร์ ระดบั นกั เรยี น เกมท่ี 1 โดมโิ นยกกำ� ลงั จ�ำนวนผ้เู ลน่ เวลา เพือ่ ฝกึ เก่ียวกบั การใชค้ ำ� อปุ สรรคแทนเลขยกกำ� ลงั สถานท่ ี มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อปุ กรณ์ 3 - 4 คน / โดมโิ น 1 ชุด วิธเี ล่น ประมาณ 30 นาที ไม่จ�ำกดั สถานท่ี บัตรโดมโิ น, ตารางแสดงคา่ คำ� อปุ สรรคกบั ตวั พหคุ ูณ (เลขสบิ ยกกำ� ลัง) ce(cn)ti 10-12 p(ipc)o 103 1. นำ� โดมิโนทกุ ตัวมาคละกนั (ผเู้ ลน่ น่งั ลอ้ มวง) 2. ใหผ้ เู้ ล่นในกลุ่ม 1 คนเป็นตวั แทนแจกโดมโิ นให้ผูเ้ ล่นในกลุ่ม 3. ใหต้ ัวแทนหยิบโดมิโนจากกองกลาง 1 ตัวหงายข้นึ 4. ใหผ้ เู้ ล่นตกลงกันว่าใครจะเปน็ ผู้เลน่ คนแรกและล�ำดับรองลงมา 5. ผเู้ ล่นคนแรกเลอื กโดมโิ นของตนมาต่อกับโดมิโนทหี่ งายอยจู่ ากกองกลาง โดยหา คำ� อุปสรรคมาตอ่ กบั ตัวเลขสบิ ยกก�ำลงั ทม่ี ีความหมายเดยี วกนั หรือน�ำเลขสบิ ยกก�ำลงั มาต่อกบั ค�ำอุปสรรคที่มคี วามหมายเดียวกัน (หา้ มนำ� คำ� อปุ สรรคมาต่อกับคำ� อุปสรรค หรอื เลขสบิ ยกก�ำลงั มาตอ่ กับเลขยกกำ� ลัง) 6. ให้ผู้เลน่ จดั บันทึกคะแนนของตนเองทกุ ครัง้ โดยคิดคะแนนจากแต้มคะแนนในดา้ นที่ ตอ่ กัน 10-9 106 m(Meg)a d(edc)i แต้มคะแนนที่ได้ คือ (2+1) = 3 136 กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ในกรณที แี่ ตม้ คะแนนจากโดมิโนมีต่อกนั เป็นแต้มคะแนนที่เทา่ กันให้คูณสอง m(mil)li 1018 e(Exa) 109 = (2+2 ) x 2 = 8 คะแนน 7. ผูเ้ ลน่ ล�ำดบั ถัดไปให้ดำ� เนินการเล่นเชน่ เดียวกับคนแรก 8. ในกรณที ผ่ี ู้เลน่ คนใดไมม่ ีโดมิโนทจี่ ะต่อได้ ใหห้ ยบิ โดมโิ นจากกองกลาง 1 ตัว ถ้ายัง ต่อไม่ไดอ้ กี ให้ผา่ นไปยังผู้เลน่ ล�ำดับถัดมา 9. เกมการเลน่ จะสน้ิ สดุ เมอ่ื ไม่มผี เู้ ลน่ คนใดสามารถต่อโดมโิ นได้อกี (กรณผี เู้ ล่นคนใด ต่อโดมิโนหมดก่อนให้นงั่ รอจนกวา่ จะจบเกม) 10. การตดั สนิ ผู้ชนะ ตัดสินจากคะแนนรวมทัง้ หมดของผ้เู ลน่ สำ� หรบั ผเู้ ลน่ ทม่ี ีโดมิโน เหลอื ตอ้ งน�ำแต้มคะแนนท้งั หมดจากตัวโดมโิ นท่เี หลอื มาลบออกจากคะแนนสะสม ผ้ทู ไ่ี ดแ้ ตม้ คะแนนสงู สดุ เปน็ ผ้ชู นะ 10-2 he(hc)to 102 m(mill)i ตัวอยา่ งเหลือโดมโิ น 2 ตัว รวมเป็นแต้มคะแนนท่ตี ้องถูกลบออก 7 คะแนน ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ผ้เู ล่นสามารถจ�ำค�ำอุปสรรคและค่าของคำ� อปุ สรรคได้ กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 137
Activities & Games for Science Learning 102 deci (d) 10-15 103 exa (E) kio (k) giga (G) 1018 10-1 10-18 milli (m) 109 centi (c) 10-9 milli (m) 109 1015 micro (u) 10-18 10-2 atto (a) pico (p) 106 10-9 ตวั อย่าง ตัวโดมิโน 138 กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning neno (n) tera (T) 106 10-12 centi (c) pico (p) 10-18 kilo (k) 10-18 106 109 1018 10-6 peta (p) 10-3 hecto (h) 10-3 102 10-2 10-1 1012 micro (u) hecto (h) 10-18 ตวั อยา่ ง ตัวโดมิโน กิจกรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 139
Activities & Games for Science Learning ตารางแสดงค่าค�ำอปุสรรค ตัวพหุคณู ชอื่ ค�ำอปสุ รรค สัญลักษณ์ 1018 เอกซะ (exa) E 1015 เพตะ (peta) P 1012 เทระ (tera) T 109 จกิ ะ (giga) G 106 เมกะ (mega) M 103 กิโล (kilo) k 102 เฮกโต (hecto) h 10 เดคะ (deca) da 10-1 เดซิ (deci) d 10-2 เซนติ (centi) c 10-3 มิลลิ (milli) m 10-6 ไมโคร (micro) u 10-9 นาโน (nano) n 10-12 พโิ ค (pico) p 10-15 เฟมโต (femto) f 10-18 อตโต (atto) a 140 กิจกรรม เกม เพ่ือการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning เกมที่ 2 การไหลเวยี นของโลหติ จุดม่งหุ มาย 1. เพอ่ื ให้นกั เรยี นมีความร้เู กีย่ วกบั การไหลเวยี นของเลอื ด 2. เพ่อื ศกึ ษากลไกการท�ำงานของหวั ใจ ปอด ในการล�ำเลยี ง ออกซิเจนไปสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย ระดับนกั เรียน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จ�ำนวนผู้เล่น ครัง้ ละ 3 - 4 คน เวลา ประมาณ 30 นาที อปุ กรณ์ 1. กระดานเกม 1 แผน่ 2. เบ้ียเดนิ คนละ 1 ตวั โดยใหด้ ้านบนของเบี้ยทาสีแดงดา้ ยลา่ งทาสีด�ำ ลักษณะเบี้ยของแตล่ ะคนตา่ งกนั 3. ลกู เต๋า 1 ลูก 4. เบ้ยี ขนาดเล็ก สเี หลือง 10 ตัว 5. บตั ร วิธีเล่น 1. เบี้ยเดินจะท�ำหน้าท่เี ป็นเซลเม็ดเลือด ซง่ึ เปน็ ไดท้ ้ังเม็ดเลือดแดงและเมด็ เลือดดำ� โดยเร่มิ ต้นผู้แขง่ ขนั ทกุ คนจะเป็นเซลเมด็ เลอื ดด�ำ เนอ่ื งจากขาดออกซเิ จน 2. การแข่งขัน 1 คร้ังจะเดินเบ้ีย 2 รอบโดย รอบแรก เปน็ การเดินเบย้ี จากหวั ใจห้องขวาด้านล่าง (RV) ไปยงั ปอด ตบั และกลบั มายงั หัวใจ (อาจเดินจากปอดมายงั ล�ำไส้เล็ก มายังตับและมายงั หัวใจก็ได)้ รอบท่ีสอง เป็นการเดินเบีย้ จากหัวใจหอ้ งขวาด้านล่างเช่นเดิมมายงั ปอดไตและกลบั มายงั หวั ใจตามเดิม 3. การเดนิ เบย้ี ใชว้ ธิ ที อดลูกเตา๋ และเดนิ ตามจ�ำนวนช่องทที่ อดลูกเต๋าได้ เพียง 1 ครั้ง 4. ผ้แู ข่งขนั ทเี่ ดินเบีย้ ครบ 2 รอบกอ่ นเปน็ ผชู้ นะ กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 141
Activities & Games for Science Learning กตกิ า 1. เริม่ ตน้ จุดแขง่ ขันที่หวั ใจด้านขวาหอ้ งลา่ ง (RV) 2. หงายเบี้ยเปน็ สดี �ำ (ยังไม่ได้รบั ออกซิเจน) 3. การเดินให้เดินตามจำ� นวนแตม้ ทท่ี อดได้จากลกู เต๋า แตม้ สูงสดุ คือ 6 แต้ม (ทอด เพียง 1 คร้ังในการเดินแตล่ ะครง้ั ) 4. เมอื่ เดินเบย้ี มาถงึ ปอดจะหงายเป็นเบ้ียแดงก็ต่อเม่อื เดนิ เบ้ียมาที่ช่อง O2 เทา่ นั้น ถ้าเบย้ี ของผู้แข่งขันคนใดยงั ไมห่ งายเปน็ เบ้ียแดง จะเดินเบ้ียออกจากปอดไมไ่ ดจ้ ะเดนิ วนใป อดจนกว่าจะรบั O2 เป็นเซลเมด็ เลอื ดแดง (หงายเบี้ยเปน็ สแี ดง) 5. เม่ือเดินเบยี้ แดงมาที่ตับล�ำไสเ้ ล็กหรอื ไต จะต้องหงายเบย้ี เปน็ สดี ำ� ทุกครัง้ (เซลเม็ดเลือดแดงเสยี ออกซิเจนกลายเป็นเซลเมด็ เลือดดำ� ) 6. ในการเดินเบี้ยรอบสอง เมอ่ื เซลเมด็ ผ่านตบั เซลเมด็ เลือดจะรับเอาโมเลกุลของ ยเู รยี ไปดว้ ย ดังน้ันเมอื่ เจอเบยี้ สเี หลืองออกจากเบี้ยเดนิ 7. ในการเดนิ เบย้ี รอบสอง เมอ่ื มาถึงไตเซลเม็ดเลือดจะทงิ้ โมเลกลุ ของยเู รียไวท้ ่ีไต ดังน้ันให้เอาเบี้ยเหลืองออกจากเบยี้ เดินทุกครั้งทีม่ าถงึ ไต โดยการเดนิ ถงึ ไต 1 คร้ังสามารถ เอาเบี้ยเหลืองออกได้ 1 ตัวเทา่ น้ัน 8. ผชู้ นะคอื ผทู้ ่สี ามารถเดนิ เบีย้ ผา่ นตบั และไตมายงั หวั ใจได้เป็นคนแรก โดยตอ้ งไม่มี โมเลกลุ ของยเู รยี หลงเหลอื อยู่ 142 กิจกรรม เกม เพื่อการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ปอด OZ f? O2 X ?a กลับไป RY ? RA LA ถ้าคณุ คอื เมด็ เลือดดำ� กลับไปที่ X e START หัวใจ ตรงไป หา้ มเลย้ี ว RY LY เม็ดเลอื ดแดงรับของเสียจากตบั และสญู เสยี O2 ตบั ?d ถา้ เป็นเมด็ เลือดแดง ไต เดินไปอกี 4 ชอ่ ง ?c ลb�ำ?ไสเ้ ล็ก ออกซเิ จนผา่ นมายังไตทำ� ให้ของเสยี ถูกท�ำลาย * รับบัตรตรวจสขุ ภาพ / ? ต้องตอบค�ำถาม / เมด็ เลือดด�ำ จะออกจากปอดไม่ไดจ้ นกว่าจะได้รับ O2 กลายเปน็ เมด็ เลือดแดง ภาพตวั อย่างแผน่ กระดานเกมไหลเวยี นของโลหติ กิจกรรม เกม เพ่ือการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 143
Activities & Games for Science Learning คณุ เป็นผทู้ ี่ดื่มสุรา ไตของท่านถูกท�ำลาย มเี ช้อื ไวรัสในตับ คณุ รบั ประทานอาหาร มากจนทำ� ใหต้ บั เนื่องจากท่านเคย ของคณุ รสเค็มเกนิ ไป ประสบอบุ ัติเหตุ มผี ลเสียต่อไต ถกู ทำ� ลาย ถอยหลังไป 5 ช่อง หยบิ เบี้ยเหลอื ง 1 ตัว หยดเุ ดินครงั้ ต่อไป หยดุเดนิ ครง้ั ต่อไป ปอดของคุณไม่ คุณสบู บุหร่ี ผลการสูบบหุ รี่มผี ล คุณรบั ประทานมาก สมบูรณ์ เนื่องจาก มากเกินไป กระทบต่อการ เกินไปไขมนั จึง บริเวณท่ีท�ำงาน ถา้ เบี้ยของคณุ เปน็ ท�ำงานของหวั ใจ อุดตนั เส้นเลือด ของคณุ มมี ลพษิ เบี้ยแดงใหห้ งาย ถอยหลังไป 3 ชอ่ ง เปน็ เบี้ยด�ำ หยดเุ ดนิ คร้งั ต่อไป ถอยหลังไป 5 ชอ่ ง คุณต้องออกกำ� ลงั คุณเปน็ โรคหวั ใจ ไตของคุณผดิ ปกติ อาหารที่คณุ กายใหม้ ากหัวใจ รบั ประทานไมส่ ะอาด ของคุณไม่แข็งแรง ท�ำใหท้ อ้ งเสีย หยดุ เดิน 1 คร้งั หยดุ เดิน 2 คร้งั หยุดเดิน 1 ครัง้ ถอยหลังไป 4 ชอ่ ง ใช้ยาไม่ถกู วิธีมี คณุ เปน็ คนท่ี คณุ ร้จู ักรบั ประทาน คุณไมส่ บู บุหร่ี อันตรายต่ออวยั วะ ออกกำ� ลังกาย อาหารอย่างเหมาะสม และไมด่ ่ืมสรุ า ในร่างกาย สม�่ำเสมอ และมปี ระโยชน์ หยุดเดนิ 2 ครง้ั ตอ่ รา่ งกาย ได้เดินใหม่อีก 1 คร้ัง เดินไปขา้ งหน้า 3 ชอ่ ง เดนิ ไปขา้ งหน้า 4 ชอ่ ง ภาพตัวอย่างแผ่นกระดานเกมไหลเวยี นของโลหิต 144 กิจกรรม เกม เพือ่ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning a เสน้ เลือดทีอ่ อกจากปอดส่หู ัวใจมชี ือ่ วา่ อะไร (ตอบถกู เดนิ ตอ่ อกี 5 ช่อง) ตอบ pulmonary vein b ทอ่ ล�ำเลียงเลก็ ๆ ท่ีต่อไปยังไตมชี อ่ื วา่ อะไร (ตอบถกู เดินตอ่ 6 ช่อง) ตอบ venal artery c เส้นเลือดดำ� ท่อี อกจากไตเส้นนมี้ ชี อ่ื วา่ (ตอบถูกเดนิ ต่อ 4 ช่อง) ตอบ nenal vein d เดนิ ไปอีก 3 ช่อง ถา้ คณุ รู้จกั ท่อล�ำเลยี งเส้นนี้ ตอบ hepativ porta vein e เส้นเลอื ดเส้นนเ้ี ปน็ เส้นเลอื ดด�ำหรือเส้นเลือดแดง (ตอบถกู เดินตอ่ 2 ชอ่ ง) ตอบ ด�ำ f จงบอกช่อื ทอ่ ลำ� เลยี งเสน้ น้ี (ตอบถกู เดินตอ่ 3 ชอ่ ง) ตอบ pulmonary artery ค�ำถาม ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... 1 แผ่น 1 ข้อ ภาพตวั อย่างขนาดของบตั ร กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ 145
Activities & Games for Science Learning เกมท่ี 3 เกมไพ่ ไฟลมั (Phylum) จับคู่ จดุ มง่ ุหมาย 1. เพอ่ื ฝึกใหน้ ักเรียนสามารถจ�ำแนกสัตว์ต่างๆ ตามไฟลมั (Phylum) 2. เพ่อื ใหน้ ักเรียนจ�ำไฟลัม (Phylum) ต่างๆ ของสตั ว์ได้ ระดบั นักเรียน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เวลา ประมาณ 20 นาที สถานท ่ี ไม่จำ� กดั สถานท่ี อปุ กรณ ์ บตั รค�ำ 2 ชุด ชดุ ที่ 1 เป็นชอ่ื ไฟลัม (Phylum) ชดุ ท่ี 2 เป็นช่ือสัตว์ในไฟลัม (Phylum) ต่างๆ วิธเี ล่น 1. ผู้เล่นสบั บัตรคำ� ช่ือสตั ว์ใหส้ ลบั ทีก่ นั 2. ตวั แทนของผู้เล่นแจกบัตรค�ำคนละ 5 ใบ 3. บตั รคำ� ท่เี หลอื เปน็ บตั รกองกลาง 4. ผเู้ ล่นคนแรก หงายบัตรคำ� ชดุ ที่ 1 (ชอ่ื ไฟลัม (Phylum)) 1 ใบ และตอ้ งเลือกบัตรค�ำ ของตนเองที่เปน็ สัตวใ์ นไฟลัม (Phylum) น้ันมาจบั คู่ 5. ผู้เลน่ ล�ำดบั ถดั ไปดำ� เนินการเช่นเดียวกนั 6. ในกรณที บี่ ตั รค�ำของผู้เลน่ ไม่มชี ่ือสตั ว์ในไฟลมั (Phylum) ผเู้ ลน่ ตอ้ งหยิบบัตรคำ� ชอ่ื สตั วเ์ พม่ิ 1 ใบ และให้ผู้เลน่ ลำ� ดบั ถดั ไปเลน่ ตอ่ โดยให้ใชบ้ ตั รค�ำช่ือไฟลมั (Phylum) ใบเดมิ 7. ผู้ชนะ คอื ผทู้ ี่สามารถจบั คไู่ ฟลมั (Phylum) ไดห้ มดเป็นคนแรก 8. ถา้ เกมดำ� เนนิ จนบตั รค�ำชือ่ สัตวห์ รอื บัตรคำ� ช่ือไฟลมั (Phylum) ในกองกลางหมด และเกมไม่สามารถด�ำเนนิ ตอ่ ไปได้ ให้นบั จ�ำนวนบตั รคำ� ท่เี หลืออยู่ ผู้มีบตั รคำ� เหลือนอ้ ยท่ีสุด เปน็ ผู้ชนะ 146 กิจกรรม เกม เพือ่ การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ตารางแสดงตัวอยา่ งสตั ว์ในไฟลมั ต่างๆ ไฟลมั (Phylum) ตวั อยา่ งสตั ว์  1. Protozoa พารามเี ซียม อะมีบา วอลเวก เช้ือไขจ้ บส่นั 2. Porifera ฟองน้�ำนำ้� จดื ฟองน�้ำถตู ัว 3. Coelenterata ไฮดรา แมงกะพรุน ปะการัง ดอกไมท้ ะเล 4. Platyhelminthes พลานาเรยี พยาธใิ บไม้ พยาธติ วั ตดื 5. Nematoda พยาธิเสน้ ด้าย พยาธิตวั จด๊ี พยาธไิ ส้เดือน 6. Mollusca หอยงาช้าง หอยแครง หอยนางรม ปลาหมึก 7. Annelida ไสเ้ ดือนดนิ ปลิง ตัวเพรียง 8. Echinodermata ปลาดาว ปลงิ ทะเล หอยเมน่ 9. Arthropoda แมงดาทะเล กุ้ง ปู ผเี สื้อ แมงมุม 10. Chordata งู กบ ก้ิงกา่ คา้ งคาว ปลาฉลาม คน Phylum พลานาเรีย อะมีบา Protozoa ชอ่ื ไพลมั ช่อื ละ 2 ใบ ชอ่ื ตวั อย่างสัตว์ไพลมั ละ 2 ชอื่ ชอ่ื ละ 1 ใบ ภาพแสดงตัวอยา่ งไพไ่ ฟลมั (Phylum) กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 147
Activities & Games for Science Learning เกมที่ 4 โฮโดรคาร์บอน ประเภท เกมสถานการณ์จ�ำลอง จดุ มง่ ุหมาย 1. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนสามารถจำ� ชอ่ื สารไฮโดรคารบ์ อนชนดิ ต่างๆ ได้ 2. เพอ่ื ให้นักเรยี นรจู้ ักโครงสร้างของสารไฮโดรเจนคารบ์ อน แต่ละชนดิ จ�ำนวนผูเ้ ล่น นกั เรียนทกุ คนในช้นั เรยี น (40คน) เวลา ประมาณ 15 - 20 นาที อปุ กรณ์ 1. หมวกกระดาษสีเดียวกัน 10 - 15 ใบ 2. เคร่ืองเลน่ เทป และเทปเพลง 3. บัตรแสดงสูตรไฮโดรคารบ์ อน กติกา 1. กำ� หนดใหผ้ เู้ ลน่ ทสี่ วมหมวกเป็นธาตคุ ารบ์ อน ผู้ไมส่ วมหมวกเป็นธาตไุ ฮโดรเจน 2. ไฮโดรเจนตอ้ งเสยี อเิ ล็กตรอนใหก้ บั คาร์บอน แสดงนำ� โดยผูเ้ ลน่ ที่ H ต้องย่นื แขน ไปแตะผเู้ ล่นทเี่ ป็นคาร์บอน 3. คารบ์ อนกบั คาร์บอนสามารถใชอ้ ิเล็กตรอนรว่ มกนั ได้ 2 แบบ คอื พนั ธะเดีย่ ว ให้ผเู้ ลน่ ย่ืนแขนหนงึ่ ขา้ งผสมกนั พันธะคู่ ใหผ้ ู้เล่นย่ืนมือท้งั สองขา้ งผสาน (ก) ใชอ้ เลก็ ตรอนร่วนกนั (ข) การใหอ้ เิ ลก็ ตรอน ภาพแสดงท่าการถา่ ยเทอิเลก็ ตรอน 148 กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
Activities & Games for Science Learning ภาพแสดงตวั อยา่ งการจบั กลุ่มตามโครงสร้างของสารไฮโดรคาร์บอน กจิ กรรม เกม เพื่อการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 149
Activities & Games for Science Learning 4. ผู้เลน่ สามารถจบั กลมุ่ กนั ไดต้ ามโครงสรา้ งของสารไฮโดรคารบ์ อนเท่านัน้ H ใหผ้ ูเ้ ลน่ ที่เป็นไฮโดรเจนย่ืนมือแตะผเู้ ล่นทเี่ ปน็ มเี ทน C H4 โค รงสร้าง H C H คาร์บอน ตามโครงสรา้ งของ CH4 คอื มี C เคน H 4 คน H HH อเี ทน C2H6 โ ครงสร า้ ง H C C H ผู้เลน่ ในกลมุ่ ต้องมี C 2 คน H 6 คน H ตามโครงสรา้ งอเี ทน H วธิ เี ล่น 1. ผ้ทู �ำเกม (คร)ู ใหน้ ักเรยี นจับสลากเพอื่ ก�ำหนดผเู้ ล่นเปน็ H และ C 2. แจกหมวกใหก้ ับผเู้ ลน่ ที่เปน็ C 3. ให้ผูเ้ ล่นทง้ั หมดล้อมเปน็ วงกลม 4. เปดิ เพลงให้ผู้เล่นปรบมอื เข้าจงั หวะพรอ้ มเดินตามเข็มนาฬกิ า 5. เมื่อสิน้ เสยี งเพลง ผนู้ �ำเกมจะพดู ชื่อสารประกอบในกลุ่มแอลเคน และแอลคนี 1 ชื่อ 6. ให้ผเู้ ล่นทกุ คนจับกลุ่มและแสดงทำ� ตามโครงสรา้ งของสารประกอบนั้น 7. ผู้เล่นทไี่ ม่มีกล่มุ หรอื จบั กลมุ่ ชา้ ให้คัดออก 8. ใหเ้ ร่มิ เล่นซ�้ำขอ้ 3 - 7 อีกจนกวา่ จะเหลือผู้เลน่ กลมุ่ สุดทา้ ยใหเ้ ป็นกล่มุ ชนะ 150 กจิ กรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158