Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรม เกม เพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

กิจกรรม เกม เพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Description: กิจกรรม เกม เพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Keywords: วิทยาศาสตร์,เกม

Search

Read the Text Version

Activities & Games for Science Learning 8 ลูกเทนนิส 9. ลกู ปิงปอง 10. แก้ว 11. ขันน้�ำ 12. หนงั ยางร้อยเป็นเส้นยาว ท่กี ระโดดเชือก 13. ลูกปัดและภาชนะสำ� หรับใสล่ ูกปัด (กลุ่มละ 1ชุด) ขั้นแนะนำ� การเรยี นรู้ ครูหานกั เรียนทสี่ มคั รใจรว่ มกจิ กรรม โดยใหน้ กั เรยี นน�ำขวด 10 ใบ วางห่างกันเป็น ระยะเทา่ ๆกัน โดยไมต่ อ้ งวดั ระยะ หลังจากนัน้ ทดสอบโดยใช้ไมเ้ มตรวัดระยะแต่ละชว่ งว่าเทา่ กันหรือไม่ ครูปล่อยธนบัตรที่อยู่ระหว่างน้ิวของนักเรียนและให้นักเรียนใช้นิ้วหนีบธนบัตรให้ได้ เพื่อเปน็ การกระตนุ้ ความสนใจและสร้างบรรยายกาศการเรียนรู้เรื่องมิตกิ บั มติ ิ และมติ ิกับเวลา ข้นั ดำ� เนินกจิ กรรม 1. ครนู �ำภาชนะรูปทรงตา่ งๆ ใส่ไวใ้ นภาชนะ 5 ภาชนะ ให้นักเรียนพิจารณาปรมิ าณ นำ้� ในภาชนะ และเลือกหลอดทดลอง กระบอกตวง หรอื บิก๊ เกอร์ ท่ีสามารถใส่น้�ำในภาชนะ น้นั ไดห้ มด กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 51

Activities & Games for Science Learning 2. ให้นักเรียนพิจารณาปริมาตรของภาชนะทเ่ี ตรียมให้ และพิจารณาปรมิ าตรของ ลกู ปัด นักเรียนคดิ วา่ ต้องใสล่ กู ปัดกล่ี กู จงึ จะเตม็ ภาชนะ และให้นักเรยี นลองหยิบลูกปัดโดย ประมาณการวา่ หยิบเพียงครงั้ เดียวสามารถเทลกู ปัดใหเ้ ต็มภาชนะได้ 3. ใหน้ กั เรียนดึงแถบกระดาษจากเครือ่ งเคาะสัญญาณดว้ ยความเร็วคงที่ โดยให้มี ระยะหา่ งของชว่ งจุดเท่ากนั ตลอด 4. เตรียมลูกเทนนิสและลกู ปิงปอง โยนและใหน้ ักเรียนใชภ้ าชนะทเ่ี ตรียมไว้รบั ลูก ปิงปองหรือลูกเทนนสิ ไมใ่ หม้ เี สียงและไมใ่ หก้ ระดอนออกมา 5. ใหน้ ักเรียน 2 คน แกว่งหนังยางหรือเชอื ก ใหเ้ ปน็ จงั หวะคงท่ี และใหเ้ พ่อื น นกั เรียนทเี่ หลือผลัดกันหาจังหวะกระโดดเข้าไปในเชอื กใหพ้ ร้อมกับจังหวะของเชอื กท่แี กวง่ โดยไมส่ ะดดุ เชือก โดยผู้แกว่งเชอื กจะคอ่ ยๆ เรง่ จงั หวะให้เรว็ ข้ึนเรื่อยๆ ขนั้ สรปุ การเรียนรู้ ครูนำ� สรุปเพือ่ ใหน้ กั เรียนเกิดการคดิ วเิ คราะหแ์ ละประมวลความร้ทู ไ่ี ด้รบั โดยน�ำ อภปิ รายด้วยค�ำถามดังน้ี 1. นกั เรียนมีความเขา้ ใจเรื่อง มิตหิ รือไมอ่ ย่างไร 2. การตักของใส่ภาชนะ การเลือกขนาดรองเท้า การจอดรถตามชอ่ งจอดเป็นการใช้ ทกั ษะใด 3. เหตกุ ารณ์ในชีวติ จริงอะไรบา้ งทีเ่ ก่ยี วกับมิตกิ บั เวลา 52 กิจกรรม เกม เพื่อการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 5 ทักษะมติ กิ ับมิติ และมติ กิ ับเวลา 1. การเลอื กภาชนะ ก .การเลอื กหลอดทดลอง บิก๊ เกอร์ กระบอกตวง เพอื่ บรรจุน�ำ้ จากภาชนะตา่ งๆ ต้องใช้ทกั ษะใดเป็นพนื้ ฐานบา้ ง .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ข. ในการรนิ น้�ำจากภาชนะต่างๆ ตอ้ งอาศัยทกั ษะใด .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 2. ลกู ปัดและปริมาตรของภาชนะ ก. ปรมิ าตรของลูกปัด............................................................................................. ข. ปรมิ าตรของภาชนะ........................................................................................... ค. จำ� นวนลูกปัดท่ใี สภ่ าชนะได้เตม็ ......................................................................... 3. ลักษณะของแถบกระดาษที่มคี วามเรว็ คงที่เปน็ อย่างไร 4. หลักการโยนลกู เทนนสิ หรือลกู ปิงปอง ลงในภาชนะไมใ่ หม้ เี สยี งกระทบภาชนะ ท�ำอย่างไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 5. การกระโดดหนังยางตอ้ งอาศยั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ใดบา้ ง .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. กิจกรรม เกม เพ่อื การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 53

Activities & Games for Science Learning ขอ้ ค�ำถามนำ� สู่การอภปิ ราย 1.นกั เรยี นมีความเข้าใจเรื่องมติ หิ รอื ไมอ่ ยา่ งไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 2. การตกั ของใส่ภาชนะ การเลือกขนาดรองเทา้ การจอดรถตามช่องจอด เปน็ การใช้ทักษะใด .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 3. เหตกุ ารณใ์ นชีวิตจรงิ อะไรบ้างทีเ่ กยี่ วกบั มติ กิ ับเวลา .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 54 กจิ กรรม เกม เพ่อื การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning กจิ กรรมท่ี 6 ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล และการพยากรณ์ จดุ มง่ หุ มาย 1. เพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรู้ในการฝึกทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมูล 2. เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะการพยากรณจ์ ากการทดลอง จำ� นวนนักเรียน 5 คน/กลมุ่ เวลา 50 นาที ขน้ั เตรียมกจิ กรรม 1. เตรียมภาพวาดท่ีแสดงถึงสถานการณ์ หรือเหตุการณต์ ่างๆ ทดี่ ูแลว้ สามารถ บรรยายเรื่องราวได้ 2. เตรยี มรถทดลองขนาดเลก็ และทดสอบการหมนุ ของลอ้ ว่าไมม่ คี วามฝดื 3. แผนภูมแิ สดงความสมั พันธร์ ะหว่างความสงู ของพ้นื เอียงกบั ระยะทางทร่ี ถ เคล่อื นท่ี อปุ กรณ์ 1. ภาพค�ำถาม (กลมุ่ ละ 1 ชุด ) 2. รถทดลอง และกระดานไม้ 3. ตลับเมตร 4. ไมบ้ รรทดั กจิ กรรม เกม เพื่อการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 55

Activities & Games for Science Learning ข้นั แนะนำ� การเรยี นรู้ ครกู ระต้นุ ความสนใจนกั เรียน โดยน�ำภาพปรศิ นามาให้นักเรียนดู และใหน้ ักเรียนแต่ ละคนแสดงความคดิ เห็นว่าภาพท่ีเห็นเป็นภาพอะไร เพ่อื แสดงใหน้ ักเรยี นเห็นวา่ แตล่ ะคนอาจ มีความคดิ เหน็ ไมต่ รงกันในข้อมลู เดย่ี วกัน เพือ่ น�ำสกู่ จิ กรรมทกั ษะการลงความเหน็ หลงั จาก นัน้ ครูน�ำเสนอการท�ำนายบุคลิก ลกั ษณะ นสิ ยั จาการดูลายมือพรอ้ มกระตุ้นใหน้ ักเรียนเกดิ การวเิ คราะหว์ า่ การท�ำนายต่างจากการเดาตรงไหน และการทำ� นายเกิดความแมน่ ย�ำได้ อย่างไร เพ่ือน�ำไปสู่ทกั ษะการพยากรณ์ ภาพปรศิ นาภาพเดยี วกัน แต่มองในดา้ นทตี่ า่ งกนั ขัน้ ดำ� เนนิ กจิ กรรม 1. ครูนำ� ภาพทเี่ ตรยี มไวใ้ หน้ กั เรียนพิจารณาและร่วมกันอภปิ รายว่า (กลุ่มใหญ่) - นกั เรยี นสงั เกตเห็นอะไรจากภาพ - ของทห่ี ล่นน่าจะเป็นอะไร และเป็นของใคร เพราะเหตใุ ด - ภาพนน้ี ่าจะต้งั ชอื่ ว่าอะไร  ภาพส�ำหรับคำ� ถามในกิจกรรมลงความเหน็ 56 กจิ กรรม เกม เพ่ือการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning 2. ครจู ัดการทดลองเร่อื ง การปลอ่ ยรถทดลองจากพน้ื เอียงทีม่ ีความสูงต่างกนั และนำ� นักเรียนอภปิ ราย - นักเรยี นมคี วามเหน็ อยา่ งไรกับการทดลองนี้ 3. ครนู ำ� เสนอข้อมูลการทดลองในรูปของตารางและกราฟและนำ� อภิปราย - ถ้าปล่อยรถจากท่สี งู 7 cm รถจะเคลื่อนท่ีได้ระยะทางประมาณเท่าไร - ถา้ ปล่อยรถจากทสี่ ูง 16 cm รถจะเคลอื่ นทีไ่ ดร้ ะยะทางประมาณเท่าไร 3 m. 2 m. 1 m. ขัน้ สรปุ การเรียนรู้ ครนู �ำนกั เรียนเขา้ สู่การสรุปความรูท้ ีไ่ ดร้ บั โดยการกระต้นุ ใหน้ ักเรยี นคดิ วิเคราะห์ ด้วยคำ� ถามน�ำดังน้ี 1. ก่อนทน่ี ักเรียนจะลงความเห็นเกี่ยวกับภาพ นักเรยี นตอ้ งใชท้ กั ษะใดกอ่ น 2. การลงความเห็นกบั การสรปุ เหมอื นหรอื แตกตา่ งกัน 3. นกั เรยี นช่วยกนั ใหค้ วามหมายของค�ำวา่ พยากรณ์ 4. ขอ้ ค�ำถามในขั้นดำ� เนนิ กจิ กรรม เกย่ี วกบั การปล่อยรถจากท่สี งู 7 cm และ 16 cm มีความแตกตา่ งกนั เกีย่ วกบั การพยากรณ์หรอื ไม่อย่างไร 5. นักเรียนคดิ ว่าการพยากรณม์ ีก่ีแบบอะไรบา้ ง กิจกรรม เกม เพื่อการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 57

Activities & Games for Science Learning แบบบันทึกกิจกรรมที่ 6 ทักษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล และการพยากรณ์ 1. พจิ ารณาภาพ 1.1 นกั เรียนสังเกตเหน็ อะไรจากภาพ...................................................................... ........................................................................................................................ 1.2 ของท่หี ล่นน่าจะเป็นของของใคร เพราะเหตุใด................................................ ........................................................................................................................ 1.3 สตั วใ์ นภาพคอื ตัวอะไร..................................................................................... 1.4 ใหน้ ักเรียนตั้งช่ือภาพนตี้ ามความคดิ ของนักเรยี น ............................................ ........................................................................................................................ 2. กิจกรรมความสูงกบั การเคล่อื นทข่ี องรถ นักเรยี นให้ความเห็นเก่ียวกับความสงู ของพื้นเอียงกับการเคล่ือนทข่ี องรถ .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... นกั เรียนทดลองปล่อยรถจากพืน้ เอียงด้วยความสูงหลายๆ ค่า และจดบันทึกผล พรอ้ มเขยี นกราฟ ระยะความสงู ของพืน้ เอยี ง (cm) 4 6 8 10 12 14 ระยะทางทร่ี ถเคลอื่ นที่ได้ (cm) วาดกราฟความสัมพันธ์ ความสูงเอียงกบั ระยะทางทีร่ ถเคลือ่ นทีไ่ ด้ 58 กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning - นักเรยี นคิดวา่ ถ้ารถอยบู่ นพ้นื เอยี งสงู จากพน้ื 9 cm, 11cm, 13 cm รถจะเคลอ่ื นท่ไี ด้เทา่ ไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... - นักเรียนคดิ ว่าถา้ รถอยสู่ ูงจากพนื้ 16 cm รถจะเคลือ่ นท่ีไดร้ ะยะเทา่ ไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... - นักเรยี นคิดว่าระยะความสูงของพนื้ เอียงมคี วามสัมพนั ธ์กับระยะการเคลอ่ื นทีข่ องรถอยา่ งไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ขอ้ คำ� ถามน�ำส่กู ารอภปิ ราย 1. นักเรยี นคิดวา่ การลงความเหน็ จากข้อมลู มีความหมายอยา่ งไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 2. การลงความเห็นข้อมลู กับการสังเกตแตกต่างกนั อย่างไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 3. การพยากรณ์มคี วามหมายอย่างไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นคดิ วา่ เราสามารถพยากรณ์ไดก้ แี่ บบอยา่ งไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... กจิ กรรม เกม เพื่อการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 59

Activities & Games for Science Learning กจิ กรรมที่ 7 ทกั ษะการต้ังสมมติฐาน กำ� หนดตวั แปร และนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร จดุ ม่งุหมาย 1. เพื่อให้เกิดการเรยี นรใู้ นการใชท้ กั ษะการตัง้ สมมติฐาน กำ� หนดตัวแปร และนิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร จ�ำนวนนกั เรยี น เวลา 3 - 4 คน/กลมุ่ 90 นาที ขัน้ เตรยี มกจิ กรรม ครเู ตรียมตม้ ไขโ่ ดยให้ไข่แดงไมส่ กุ ดี (เปน็ ยางมะตมู ) และลวกไข่ โดยให้ไขแ่ ดงแข็งไข่ ขาวเหลว ให้กลุ่มละ 2 ชดุ อุปกรณ์ 1. ไขต่ ้มแบบไข่แดงสกุ (กลมุ่ ละ 1 ชุด) 2. ไข่ต้มแบบยางมะตูม (กล่มุ ละ 1 ชดุ ) 3. ถว้ ยชาม (กลมุ่ ละ 1 ชุด) 60 กิจกรรม เกม เพื่อการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ข้นั แนะนำ� การเรียนรู้ ครสู รา้ งพืน้ ฐานของการตั้งสมมตฐิ าน โดยใหน้ กั เรียนทำ� กิจกรรมตอ่ ไปนี้ - ลองต้งั ประโยคเงือ่ นไขโดยใชค้ �ำวา่ “ถา้ ...............แล้ว .......” - จากเงือ่ นไขท่ีนกั เรียนตง้ั ค�ำใดจะมคี วามสัมพนั ธต์ ่อกัน - นกั เรยี นช่วยกนั ให้ความหมายคำ� ตอ่ ไปนี้ การเจริญเตบิ โต เก่ง สงู อ้วน ................................ ขั้นด�ำเนนิ กจิ กรรม ครูให้นกั เรยี นจดั กลุ่มอภปิ ราย โดยมีไขต่ ม้ และไขล่ วกเปน็ สถานการณใ์ นการอภิปราย ดังนี้ 1. ครนู �ำไขล่ วก ไข่ต้ม มาให้นกั เรยี นพิจารณาและนำ� อภปิ ราย (กล่มุ ย่อย) - ลกั ษณะการสุกของไข่ต่างกันหรือไม่ - นกั เรียนคดิ ว่าอะไรเปน็ ผลทท่ี ำ� ให้ไข่สุกต่างกนั และจะใหเ้ หตุและผลอยา่ งไร - ถา้ ให้นกั เรยี นด�ำเนินการทดลองเร่อื งน้ี นกั เรียนจะให้ความหมายค�ำต่อไป นี้คอื - การสุกของไข่ - การใหค้ วามรอ้ น 2. ครูนำ� นักเรียนพจิ ารณา โดยยกสถานการณว์ ่าถา้ ดำ� เนินการทดลองจรงิ นกั เรียนจะ ก�ำหนดตวั แปรอยา่ งไร ขนั้ สรุปการเรยี นรู้ ครูน�ำนักเรียนสรปุ การเรียนรู้ โดยการอภปิ รายรว่ มกนั ดว้ ยค�ำถามกระตุน้ การ คดิ วเิ คระหด์ ังนี้ 1. นกั เรียนคดิ ว่าสมมติฐานมีความหมายอยา่ งไร 2. จากกิจกรรมนักเรียนต้ังสมมตฐิ านว่าอยา่ งไรจงึ จะเหมาะสม 3. การท่จี ะต้องสมมติฐานไดต้ อ้ งมีความช�ำนาญในเร่ืองใดบา้ ง 4. จากกจิ กรรมเรามนี ยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ ารหรือไม่ 5. ตวั แปรคืออะไร 6. สมมตฐิ าน ตวั แปร มคี วามสมั พันธอ์ ย่างไร กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ 61

Activities & Games for Science Learning แบบบันทกึ กิจกรรมที่ 7 ทักษะการตง้ั สมมตฐิ าน กำ� หนดตัวแปร และนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ แนวคดิ ท่ี 1 ชอื่ เรอื่ ง.................................................................................................................................. จดุ ประสงค์การทดลอง.......................................................................................................... .............................................................................................................................................. ตวั แปรตน้ .............................................................................................................................. ตัวแปรตาม............................................................................................................................ ตวั แปรท่ตี ้องควบคุม.............................................................................................................. นยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ............................................................................................................... .............................................................................................................................................. สมมตฐิ าน.............................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. แนวคิดท่ี 2 ชือ่ เร่ือง.................................................................................................................................. จุดประสงคก์ ารทดลอง.......................................................................................................... .............................................................................................................................................. ตวั แปรตน้ .............................................................................................................................. ตัวแปรตาม............................................................................................................................ ตัวแปรท่ีต้องควบคมุ .............................................................................................................. นิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร............................................................................................................... .............................................................................................................................................. สมมติฐาน.............................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 62 กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ข้อค�ำถามนำ� สกู่ ารอภปิ ราย 1. นักเรียนคดิ ว่าสมมตฐิ านมีความหมายอยา่ งไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 2. การที่จะตัง้ สมมติฐานได้ต้องมคี วามช�ำนาญในเร่ืองใดบา้ ง .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 3. จากกจิ กรรมเรามนี ยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการหรือไม่ .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 4. ตัวแปรคืออะไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 5. สมมตฐิ าน ตวั แปร มีความสมั พันธ์อยา่ งไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ 63

Activities & Games for Science Learning กจิ กรรมที่ 8 การทดลอง การตคี วามหมายข้อมลู และการลงขอ้ สรุป จุดมง่ ุหมาย 1. เพ่ือฝกึ การออกแบบการทดลอง 2. เพอื่ ฝกึ การตีความหมายข้อมูล การลงความเห็น 3. เพ่อื ฝกึ การสรปุ ผลการทดลองจากขอ้ มลู ทีไ่ ด้มา จำ� นวนนักเรยี น 3 - 4 คน/กลมุ่ เวลา 120 นาที อปุ กรณ์ 1. ไข่ไก่ (กลมุ่ ละ 6 ฟอง) 2. ชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล ์ (กลุ่มละ 1 ชดุ ) 3. เทอรโ์ มมเิ ตอร์ 4. บิก๊ เกอร์ ขนาด 250 cc (กลมุ่ ละ 2 ใบ) 5. อุปกรณ์อ่ืนๆ ตามที่แตล่ ะกลมุ่ กำ� หนด และคดิ วา่ จ�ำเปน็ ต้องใช้ 64 กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ขน้ั แนะน�ำการเรียนรู้ ครูให้ความรเู้ กีย่ วกบั การออกแบบการทดลอง การปฏิบตั ิการทดลอง การบนั ทกึ ผล การทดลอง และการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรปุ ครกู ำ� หนดปญั หาใหน้ ักเรียนพจิ ารณาดงั น้ี - นักเรยี นคดิ ว่าไข่ขาวและไขแ่ ดงจะแข็งตัวด้วยความร้อนเทา่ กนั หรือไม่ และปรมิ าณความร้อนมผี ลต่อลักษณะการสุกของไขห่ รอื ไมอ่ ยา่ งไร ขน้ั ด�ำเนินกิจกรรม ให้นักเรยี นตั้งช่ือการทดลอง 1. ก�ำหนดจดุ ประสงค์การทดลอง 2. ก�ำหนดตัวแปรนิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและสมมตฐิ าน (ถา้ ม)ี  3. ออกแบบวิธีการทดลอง 4. ออกแบบวธิ ีการจัดบันทึกผลการทดลอง 5. ปฏบิ ตั ิการทดลอง 6. บนั ทึกผลการทดลอง 7. อภิปราย และสรุปผลการทดลอง ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานำ� เสนอการออกแบบการทดลอง การออกแบบตาราง บันทกึ ผลการทดลอง และขอ้ สรุป ขน้ั สรุปการเรยี นรู้ ครปู ระเมนิ การปฏบิ ัตงิ านในแต่ละกลุ่ม และสรปุ ผลที่ได้จากการร่วมกิจกรรม ข้อมลู เพม่ิ เตมิ สำ� หรบั ครู ไข่ขาวจะแขง็ ตัวท่อี ณุ หภมู ิประมาณ 80o C ไขแ่ ดงจะแข็งตวั ทอ่ี ณุ หภมู ิประมาณ 65o C กิจกรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 65

Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทกึ กิจกรรมที่ 8 การทดลอง การตีความหมายข้อมลู และการลงขอ้ สรปุ ชอื่ การทดลอง....................................................................................................................... จดุ ประสงคก์ ารทดลอง.......................................................................................................... .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. วิธีทดลอง.............................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ผลการทดลอง....................................................................................................................... .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 66 กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning การอธบิ ายผลการทดลอง (การตคี วามหมายข้อมูล)............................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. สรปุ ผลการทดลอง................................................................................................................ .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ข้อคำ� ถามน�ำสู่การอภปิ ราย 1. นักเรยี นคดิ ว่าหวั ใจส�ำคัญของการทดลองคอื อะไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 2. ในการสรปุ ผลการทดลองนกั เรียนต้องอาศัยทกั ษะใดบ้าง .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 67

Activities & Games for Science Learning สง่ิ ทว่ี เิ ศษสดุ ส�ำหรบั การเรียนรู้ คือ ไมม่ ใี ครสามารถเอามันไปจากคณุ ได้ The beautiful thing about learning is nobody can take it away from you. ทมี่ า : https://positioningmag.com/59781 By : B.B. King 68 กิจกรรม เกม เพือ่ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning กิจกรรมเพ่อื พฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ทางวทิ ยาศาสตร์ forAScctiiveintiecse &LeGaarnminegs บทท่ี SN กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 69

Activities & Games for Science Learning 3บทที่ กิจกรรมเพอ่ื พัฒนา ความคิดสรา้ งสรรค์ ทางวิทยาศาสตร์ ในโลกปัจจุบันได้พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเปน็ ความเป็นอยขู่ องมนษุ ย์ทม่ี ีเคร่ืองอำ� นวยความสะดวกทกุ ด้าน การติดตอ่ สอ่ื สารท่ี พัฒนาถึงระบบใยแกว้ นำ� แสง ระบบอนิ เทอรเ์ น็ต ทางการแพทย์มกี ารใช้เลเซอร์ช่วยในการ ผ่าตดั หรอื การสำ� รวจอวกาศ มนุษย์ได้สร้างยานอวกาศ ดาวเทียม และอุปกรณต์ ่างๆ มากมาย ความเจริญกา้ วหนา้ เหลา่ นเ้ี รม่ิ ต้นจากความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการแสวงหาความ ร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ของมนุษย์ และส่งิ สำ� คญั ทที่ �ำใหม้ นุษยส์ ามารถสรา้ งส่ิงใหม่ๆ อยู่เสมอ คือ ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ของมนุษย์ ดังนั้นในการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรท์ ด่ี ี นอกจากจะมุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนมีความ รทู้ างวิทยาศาสตร์ มีความสามารถด้านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีความรูเ้ กี่ยวกับ การทำ� โครงงานวิทยาศาสตรแ์ ล้ว ควรสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมีความคดิ ริเริม่ สร้างสรรคท์ ท่ดี ี รจู้ ัก คดิ ร้จู กั ประดษิ ฐแ์ ละคดิ ค้นหาวทิ ยาการใหมอ่ ย่เู สมอ 70 กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ 71 ความคิดสร้างสรรค์เป็นคุณลักษณะที่มีอยู่ในตัวของบุคคลทุกคนสามารถที่จะส่งเสริม และพฒั นาให้เจริญงอกงามได้ ซึ่งนกั จิตวทิ ยาและนักการศกึ ษาได้ใหค้ วามหมายของความคิด สร้างสรรค์ไวด้ งั นี้ กลิ ฟรอด (Guiford)1 ได้กล่าวถงึ ความคดิ สร้างสรรค์วา่ เป็นความสามารถทางสมอง เป็นความสามารถท่ใี นการคิดได้หลายทศิ ทาง หรือคดิ แบบอเนกนยั ความคิดท่ีสรา้ งสรรคน์ ้ี ประกอบดว้ ยความคล่องในการคดิ ความคิดท่ยี ดื หยนุ่ และความคิดที่เป็นของตนเองโดย เฉพาะ วอลเลช และโคแกน (Wallach and Kogan)2 กล่าวถึงความคิดสรา้ งสรรค์วา่ หมาย ถงึ ความคิดโยงสัมพนั ธ์คนมีความคิดสร้างสรรค์ คือ คนทส่ี ามารถคิดอะไรไดอ้ ยา่ งสมั พันธก์ ัน เป็นลูกโซ่ แอนเดอรส์ นั (Anderson)3 ไดใ้ หค้ วามหมายความคดิ สร้างสรรคว์ ่า คอื ความสามารถ ของบคุ คลในการคดิ แก้ปญั หาดว้ ยการคดิ อยา่ งลึกซ้งึ ทนี่ อกเหนือไปจากการคดิ อย่างปกติ ธรรมดา เปน็ ลกั ษณะภายในตัวบคุ คลที่สามารถจะคิดไดห้ ลายมุมผสมผสานจนไดผ้ ลติ ผลใหม่ ทีถ่ ูกต้องสมบูรณ์ ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา4 ไดใ้ ห้ความหมายของความคิดสร้างสรรคว์ า่ เป็นความ สามารถในการมองเหน็ ความสัมพนั ธ์ของสิ่งต่างๆ โดยมีสิง่ เรา้ เป็นตัวกระตนุ้ ทำ� ใหเ้ กิดความ คิดใหม่ต่อเนือ่ งกนั และความคิดสรา้ งสรรค์นีป้ ระกอบด้วยความคลอ่ งในการคิด ความคดิ ยืดหยุน่ ความคิดทเ่ี ปน็ ของตนเองโดยเฉพาะหรือความคิดรเิ ร่ิม อารี พนั ธ์มณี 5 ไดอ้ ธิบายความหมายความคิดสร้างสรรคไ์ ว้ 3 ลักษณะ คือ 1. ลักษณะทางกระบวนการ หมายถงึ ความร้สู กึ ไวตอ่ ปัญหาและสามารถแก้ไขปัญหา ไดอ้ ยา่ งมีข้ันตอนและเป็นระบบ และน�ำผลไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นสง่ิ ใหม่ต่อไป 2. ลักษณะบคุ คล หมายถึง บุคคลที่มคี วามอยากรู้อยากเห็น กระตอื รอื รน้ กล้าคิด กลา้ แสดง มีความคดิ ริเรมิ่ มีอารมณ์ขัน มจี ติ นาการ และมีความยืดหยนุ่ ทง้ั ความคิด และ การกระทำ� และเป็นบคุ คลทม่ี คี วามสขุ กบั การท�ำงาน หรอื สงิ่ ท่ีตนพอใจและไม่หวงั ผลจากการ ประเมินภายนอก 3. ลกั ษณะทางผลิตผล หมายถึง คณุ ภาพของผลงานทเ่ี กดิ ขึน้ มีต้งั แต่ข้นั ต�ำ่ ที่แสดง ผลท่เี กดิ จากความพอใจของตนทจ่ี ะแสดงออกซงึ่ ความคิดและการกระท�ำ จนกระทง่ั พฒั นาขน้ึ เปน็ การฝกึ ทกั ษะและค่อยคิดได้เองจนถึงระดับการคดิ คน้ พบทฤษฎี หลกั การและการประดิษฐ์ คดิ ค้นต่างๆ กิจกรรม เกม เพ่อื การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning จากแนวความคิดของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาสามารถสรุปแนวคิดเกี่ยวกับ ความคดิ สรา้ งสรรค์ไดว้ ่า ความคดิ สรา้ งสรรค์เป็นความสามารถทางสตปิ ัญญาท่สี ามารถคิดได้ หลายทศิ ทาง มคี วามคิดริเรม่ิ มีความคลอ่ งในการคดิ ดว้ ยความคดิ ท่ีเปน็ ของตวั เอง ความหมายของความคิดสร้างสรรคท์ างด้านวิทยาศาสตร์ พิลทซ์และซนั ด์ (Piltz and Sund)6 ไดใ้ ห้ความหมายความคิดสร้างสรรคท์ างดา้ น วทิ ยาศาสตร์วา่ หมายถึง แนวทางการคดิ และการกระท�ำของบุคคลในการเรียนร้ปู ัญหา โดยใช้ หลกั การและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ผลผลติ ของความคดิ สร้างสรรคท์ างวิทยาศาสตร์ นอกจากจะเน้นถงึ ความคดิ รเิ ร่มิ ในการพัฒนาการ เพอื่ ให้ได้มาซง่ึ ผลผลิตใหม่แลว้ ยังเนน้ ถงึ ความมคี ุณค่าอกี ด้วย ผลผลติ จึงเปน็ เคร่อื งท่ชี ีใ้ ห้เหน็ ว่า ใครมคี วามคิดสร้างสรรคท์ าง วิทยาศาสตร์ ทง้ั นก้ี ารทจ่ี ะตัดสินใจว่าสิง่ ใดเปน็ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างวิทยาศาสตร์นัน้ มสี ิง่ ท่ี ตอ้ งค�ำนึงถงึ พรอ้ มกนั 2 ประการคือ (1) ความคิดริเรม่ิ หรือความใหม่ (2) ลีลาและความ งอกงาม โมราฟสิค (Moravesik)7 กลา่ วถงึ ความคดิ สรา้ งสรรค์ทางวิทยาศาสตรว์ า่ หมายถึง การคดิ ค้นหาความรใู้ หม่ๆ อนั เป็นการตอบสนองความมุง่ หมาย 3 ประการของวิทยาศาสตร ์ 1. เพ่อื เปน็ พืน้ ฐานของเทคโนโลยี 2. เพ่ือสนองความอยากรอู้ ยากเห็นของมนษุ ย์ ซ่ึงพยายามท่ีจะรูแ้ ละอธิบายสงิ่ ทีเ่ กดิ ขนึ้ รอบๆ ตวั ได้ 3. เพื่อกอ่ ผลกระทบตอ่ ทัศนะของคนทม่ี บี คุ คลิกและหน้าที่ (ของปัจเจกชน) ทม่ี ตี ่อ สังคมและตอ่ โลก อนันต์ จันทรก์ ว8ี กล่าวถงึ ความคิดสร้างสรรคท์ างวิทยาศาสตรว์ า่ หมายถึง ความ สามารถในการคิดคน้ ส่ิงประดษิ ฐ์ใหม่ๆ ทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถคน้ คว้าทดลองและแสวงหา คำ� ตอบได้หลายวธิ ีหลายแนว ณฐพั งษ์ เจริญทิพย์ 9 ให้ความหมายความคดิ สรา้ งสรรค์ทางวิทยาศาสตรว์ า่ หมายถงึ ความคดิ ในการแก้ปัญหาตา่ งๆ ท่คี ้นพบโดยใชค้ วามร้แู ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ บคุ คลทแ่ี สดงออกไดห้ ลายมิติ แต่โดยท่ัวไปมกั วดั ความคดิ สร้างสรรค์ใน 3 องค์ประกอบ คือ ความคิดคล่อง ความคดิ ยดื หยุ่น และความคดิ ริเร่ิม จากแนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์สามารถสรุปความหมายของ ความคิดสรา้ งสรรค์ทางวทิ ยาศาสตร์ไดว้ ่า ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์หมายถงึ เปน็ ความคิดในการแกป้ ัญหา คดิ ค้นสง่ิ ใหมด่ ้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 72 กจิ กรรม เกม เพ่ือการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning องคป์ ระกอบของความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการคิดท่ีมีองค์ประกอบของความคิดหลายๆ ด้านรวมอยู่ ทำ� ให้เกดิ ความคิดทเ่ี ป็นอเนกนยั หรอื การคดิ แบบกระจาย (divergent thinking) ตามทฤษฎโี ครงสร้างทางสติปญั ญาของกิลฟอรด์ (Guilford) องค์ประกอบของความคิดทกี่ ล่าว ถงึ นี้ ได้แก่ 1. ความคดิ ริเร่ิม (Originality) 2. ความคดิ คลอ่ ง (Fluency) 3. ความคิดยืดหยุน่ (Flexibility) 4. ความคิดละเอียดละออ (Elaboration) 1. ความคิดริเร่มิ 11 หมายถึง ลักษณะความคดิ แปลกใหมแ่ ตกตา่ งจากความคิดปกติ หรอื ความคิดงา่ ยๆ ความคดิ รเิ ร่ิมเปน็ ลกั ษณะของความคิดที่เกิดข้นึ คร้งั แรก เปน็ ความคดิ ทยี่ งั ไมม่ ีใครคิด มาก่อน ความคิดริเรมิ่ ต้องอาศยั จินตนาการในการคดิ แต่เปน็ จนิ ตนาการที่ไมใ่ ช่คิดฝนั เพยี ง อย่างเดย่ี วจำ� เปน็ ตอ้ งคดิ สร้าง และหาแนวทางท�ำใหค้ วามคิดเกิดผล ตวั อย่างของความส�ำเรจ็ ในการคดิ ริเร่มิ เช่น การสรา้ งเครื่องบินของพ่ีน้องตระกูลไรต์ การสรา้ งหลอดไฟฟ้าของ เอดสิ นั เปน็ ตน้ 2. ความคดิ คล่อง12 หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการคดิ หาค�ำตอบไดอ้ ย่าง คลอ่ งแคล่วรวดเรว็ และมีค�ำตอบในปรมิ าณท่ีมากในเวลาจ�ำกัดแบ่งเปน็ 2.1 ความคิดคลอ่ งทางดา้ นถ้อยค�ำ ซึ่งเปน็ ความสามารถในการใช้ถ้อยคำ� อย่างชำ� นาญ 2.2 ความคิดคล่องในดา้ นการโยงสัมพนั ธ์ เปน็ ความสามารถคิดหาถ้อยคำ� ท่ี เหมือนกันหรือคลา้ ยกนั ไดม้ ากท่สี ุดเท่าท่ีคดิ ไดภ้ ายในเวลาทีก่ �ำหนด 2.3 ความคลอ่ งดา้ นการแสดงออก เปน็ ความสามารถในการเรยี งค�ำอย่าง รวดเรว็ เพอ่ื ให้ได้ประโยคทต่ี อ้ งการ 2.4 ความคล่องในการคดิ เป็นความสามารถทจี่ ะคิดส่งิ ท่ตี ้องการภายในเวลา ทีก่ ำ� หนด เปน็ ความสามารถในการทจี่ ะพยายามเลอื กให้ไดค้ วามคิดทดี่ แี ละเหมาะสมท่ีสดุ กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 73

Activities & Games for Science Learning 3. ความคิดยืดหยุ่น เป็นการคดิ หาค�ำตอบได้หลายทศิ ทางแบ่งออกเปน็ 3.1 ความคิดยดื หยุน่ ท่เี กดิ ขนึ้ ทันท่ีเป็นความสามารถทีจ่ ะพยายามคดิ ให้ หลายประเภทอยา่ งอิสระ ซึง่ คนทีม่ ีความคดิ ธรรมดาอาจคิดไดเ้ พียงประเภทเดียวหรอื สอง ประเภทเทา่ นน้ั 3.2 ความคดิ ยืดหยนุ่ ด้านการดดั แปลง เปน็ ความคดิ ทีม่ ปี ระโยชนต์ อ่ การแก้ ปญั หา คนทีม่ ีความคิดยืดหยนุ่ จะเกดิ ได้ไม่ซำ�้ กัน 4. ความคิดละเอียดละออ เปน็ ความคดิ ในรายละเอยี ดเพื่อตกแต่งความคดิ หลกั ให้ สมบรู ณ์ ซึ่งความสามารถในการคดิ อยา่ งละเอียดละออขึน้ อยูก่ บั พฒั นาการของความคดิ ดงั นี้ 4.1 อายุ เด็กทม่ี ีอายมุ ากจะมคี วามสามารถทางด้านนี้มากกวา่ เดก็ ทม่ี ีอายุ น้อย 4.2 เพศ เด็กหญงิ จะมีความสามารถในการคิดอย่างละเอียดมากกวา่ เด็กชาย 4.3 ความสงั เกต เด็กทม่ี ีความสามารถในการสังเกตสงู จะมคี วามสามารถใน การคดิ อยา่ งละเอยี ดละออสงู ด้วย ลักษณะของบุคคลทม่ี คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ผู้ทมี่ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์เป็นผู้ท่มี ีความคดิ ริเรม่ิ คิดคลอ่ ง คดิ ยืดหยนุ่ และมคี วาม ละเอยี ดละออในการคดิ ดงั นน้ั บคุ ลิกภาพของผทู้ ่มี คี วามคิดสรา้ งสรรคย์ ่อมแตกตา่ งไปจาก บุคคลอ่นื ซ่ึงไดม้ ีนกั จิตวิทยา นักการศึกษา ไดใ้ หแ้ นวคดิ ถึงลักษณะของบคุ คลที่มีความคิด สร้างสรรคไ์ วห้ ลายแนวทาง ซ่งึ สามารถสรุปเป็นลักษณะที่สำ� คัญดงั นี้ 13 1. เป็นตัวของตัวเองมีความคดิ เปน็ อสิ ระไม่คล้อยตามความคดิ ของผู้อ่ืนอย่างไมม่ ี เหตผุ ล กล้าคดิ กลา้ ท�ำ กลา้ แสดงออก 2. รักความกา้ วหนา้ มมี านะอดทนบากบั่นท่จี ะทำ� งานยากและซบั ซ้อนใหส้ �ำเรจ็ มี ความต่นื ตัวอยเู่ สมอ 3. ไวตอ่ ปญั หา มีความสามารถในการคดิ ในการแกป้ ัญหาใชค้ วามคดิ ไดอ้ ยา่ ง คลอ่ งแคลว่ มีความคดิ ท่ยี ดื หยนุ่ พรอ้ มท่ีจะเปล่ยี นแปลงวธิ เี ก่ามาสวู่ ิธีการใหม่ 4. เป็นผมู้ ีสมาธิมคี วามสามารถในการคดิ อยา่ งถีถ่ ้วน 74 กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning 5. มคี วามคิดริเร่ิม ชอบคิด แสวงหาส่ิงใหม่ มีความสามารถในการตงั้ คำ� ถามและซัก ถามสงิ่ ทตี่ ้องการรู้ 6. ยอมรับในสิ่งท่ีไมแ่ น่นอนและยังไม่ทราบคำ� ตอบ อดทนตอ่ การแสวงหาคำ� ตอบใน สิ่งท่ยี งั ไม่รู้ เป็นคนช่างคดิ ชา่ งสงสยั 7. เปน็ บคุ คลท่ไี ม่ชอบท�ำตามระเบียบหรือกฎเกณฑ์ ไมช่ อบการถูกบังคับ 8. มีอารมณข์ นั ชอบคดิ เลน่ ไปเรอ่ื ยๆ มีจนิ ตนาการ เม่ือพิจารณาถงึ ลกั ษณะของบคุ คลทม่ี ีความคดิ สรา้ งสรรค์ กับเจตคติทางวิทยาศาสตร์ แลว้ จะเห็นวา่ เปน็ ลกั ษณะทคี่ ล้ายคลึงกนั ซง่ึ อาจกลา่ วได้วา่ บคุ คลทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ผูม้ คี วามคดิ สร้างสรรค์ คือ บุคคลที่มเี จตคตทิ างวิทยาศาสตร์ (Scientific attitude) นนั่ เอง คือ เป็นผู้มี ลักษณะอยากรอู้ ยากเหน็ มคี วามเพยี รพยายาม มีเหตผุ ล มคี วามซ่อื สัตย์ มคี วามรอบคอบ มี ความใจกว้าง ดงั นนั้ การสร้างเสริมใหน้ กั เรยี นมีเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ จึงเป็นการสรา้ ง ลกั ษณะนสิ ยั ของความคิดสร้างสรรค์แนวทางหนงึ่ อุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถที่มีอยู่ในแต่ละบุคคลและแตกต่างกันตาม บคุ ลิกลักษณะนิสัย และสภาพแวดล้อมทต่ี ่างกนั การเลย้ี งดูทต่ี า่ งกนั ซง่ึ อาจเปน็ อปุ สรรคท่ีสกัด กนั้ ความคดิ ไมใ่ หพ้ ัฒนาเทา่ ทค่ี วร อุปสรรคทก่ี ล่าวถงึ มีดังน้ี 14 1. ไมม่ ีโอกาสในการซักถามเนอื่ งจากผู้ใหญไ่ มช่ อบและไมส่ นบั สนุนให้เด็กเป็นคนช่าง ซักช่างถาม และมกั ยบั ยง้ั การถามของเดก็ และรสู้ ึกรำ� คาญและไมพ่ อใจท่เี ดก็ ซักถามบอ่ ย โดย เฉพาะคำ� ถามแปลกๆ ของเดก็ เชน่ - ส่ิงมชี ีวติ มาจากไหน - โลกหมุนไดอ้ ย่างไร - สูญญากาศ คืออะไร - ท�ำไมนำ�้ ตกจงึ ไม่ไหลย้อนข้นึ ไปบนภเู ขา - อะไรยดึ โลกไวไ้ มใ่ หแ้ ตกแยกออกเปน็ เสยี่ งๆ ในขณะทโ่ี ลกหมนุ ซง่ึ ค�ำถามเหลา่ น้ีเปน็ ค�ำถามทน่ี กั วทิ ยาศาสตรข์ องโลกเคยถามเมือ่ อย่ใู นวยั เดก็ กจิ กรรม เกม เพ่อื การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 75

Activities & Games for Science Learning 2. การท�ำตามอยา่ งกนั ความรกู้ ลวั การหัวเราะเยาะ กลวั การไม่ยอมรับการกระท�ำ ของตนในสงั คมท�ำให้เกดิ การเอาอย่างกัน คดิ ตามกนั คดิ ในสิง่ ทม่ี อี ยูแ่ ล้ว เลยี นแบบของเดมิ เปน็ การทำ� ในแตส่ ง่ิ ทยี่ ังเหมอื นเดิม ไมม่ คี วามแปลกใหม่ ซ่ึงเปน็ สาเหตุทีจ่ ะท�ำใหค้ วามคิด สรา้ งสรรคไ์ ม่มโี อกาสพฒั นาขึ้น 3. บทบาททแตกตา่ งกนั ระหวา่ งเพศ สภาพสังคมมสี ว่ นส�ำคญั ในการสกดั ก้นั ความคดิ สรา้ งสรรค์ เน่อื งจากสภาพสังคมเป็นตวั ก�ำหนดบทบาทของชายและหญิง และบทบาทท่แี ตก ต่างกัน ทำ� ใหเ้ กิดความเหล่ือมล้ำ� ในการพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์เป็นอยา่ งมาก เช่น ผชู้ ายถกู กำ� หนดบทบาทให้เป็นผ้มู ีความเขม้ แขง็ อดทน เป็นผนู้ �ำทำ� ใหม้ คี วามคดิ ความตันสนิ ใจทดี่ แี ละ ขาดความอ่อนนมุ่ ความละเอียดอ่อน สว่ นผหู้ ญงิ ถกู จำ� กดั บทบาทตอ้ งเป็นแม่บ้านแม่ศรเี รอื น ไมม่ ีโอกาสไดต้ อ่ สู้ หรือถกู สอนใหเ้ ปน็ ผูต้ าม จงึ ขาดการคิดรเิ ริ่ม เป็นตน้ 4. วฒั นธรรมท่มี งุ่ เนน้ ความส�ำเรจ็ การทส่ี ังคมมคี า่ นยิ มตอ่ ความสำ� เร็จมากเกินไปและ ไมย่ อมรับความลม้ เหลว ท�ำให้มนษุ ยข์ าดความกลา้ ทจี่ ะท�ำในส่งิ ใหม่ๆ เพราะกลวั ความลม้ เหลว และผลทีไ่ ด้รบั จากสังคม เช่น พ่อแม่ปรารถนาที่จะเห็นความส�ำเรจ็ ของลกู จนไมย่ อมรบั ความผดิ พลาดหรือความล้มเหลวทเี่ กิดข้นึ ท�ำให้เดก็ ไมก่ ล้าคิดหรือกลา้ ทำ� ในสง่ิ ทีใ่ หมๆ่ หรือ ทำ� ตามความคิดของตนเองเนอื่ งจากไม่เปน็ ทยี่ อมรบั ของพ่อแม่ เป็นต้น 5. ความเครง่ ครัด - เคร่งเครียด ในการกำ� จดั สิทธิ หรอื การก�ำหนดมาตรการระเบยี บ แบบแผนท่เี ครง่ ครัด หรอื ความเอาจริงเอาจงั จนเกนิ ขอบเขต ทำ� ให้เกดิ บรรยากาศทีเ่ คร่ง เครยี ด ความรู้สกึ อึดอัด เบ่อื หน่าย หวาดกลัว เปน็ อีกสาเหตุที่ท�ำใหไ้ ม่เกิดความคดิ สรา้ งสรรค์ 6. ความกลัว ความไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าท�ำใหไ้ มก่ ลา้ แสดงความคิดเห็น ไมว่ า่ จะ มาจากสาเหตุใดก็ตามยอ่ มเปน็ การบ่นั ทอนความคิดสร้างสรรคใ์ ห้หมดส้นิ ไป 7. ความเคยชิน การยอมรบั หรือการติดอยูก่ บั รูปแบบ แนวคดิ วิธกี ารเดิมๆ โดยไมม่ ี การเปล่ยี นแปลง ท�ำใหเ้ กิดความเคยชินและไมพ่ อใจต่อการเปลี่ยนแปลง มีความร้สู ึกว่าการ เปลีย่ นแปลง เปน็ ตน้ เหตขุ องความเดอื ดรอ้ น ความรสู้ กึ เชน่ นจี้ งึ เปน็ อุปสรรคตอ่ การปรบั ปรงุ ตอ่ การคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ 76 กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning 8. โลกทัศนท์ ี่คับแคบและอคติความล�ำเอยี ง ความเชือ่ และยดึ ติดกับทัศนคตขิ องตน ไม่ยอมรบั การเปล่ยี นแปลง มีความคิดทีค่ ับแคบไม่ยอมเชอ่ื ถอื แนวคดิ ใหมๆ่ ไม่เปดิ โอกาสทีจ่ ะ พสิ ูจน์วธิ ีการใหมท่ �ำให้โลกทัศนค์ บั แคบ ความคดิ จงึ ไมพ่ ฒั นาทง้ั ความคิดริเรม่ิ และความคดิ ยืด หย่นุ 9. การเฉื่อยชา หมายถงึ การเชอ่ื งชา้ อืดอาดในการคดิ ในการกระท�ำ ขาดแรงกระตุ้น ในการแสวงหาสิ่งใหม่ๆ ท�ำให้โอกาสที่จะคิดหรอื สร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่หมดสิ้นไป เพราะส่ิงทค่ี ิด อาจเปน็ สง่ิ ทผ่ี ู้อืน่ ได้กระทำ� ไปกอ่ นแลว้ 10. ความเกยี จคร้าน เปน็ ลกั ษณะของการหลกี หนหี ลกี เลี่ยง ไม่เต็มใจ ไม่รบั ผดิ ชอบ ไมห่ วังผลในการงานทีท่ ำ� ดังนนั้ บคุ คลใดก็ตามแม้จะมีความคดิ ท่ีดีแต่ขาดความพยายาม ความ ตัง้ ใจในการกระทำ� ใหส้ ำ� เรจ็ ความคิดสร้างสรรคน์ ั้นก็หมดคณุ ค่าไปดว้ ย จากอุปสรรคที่กล่าวถึงนี้เป็นต้นเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้ความคิดสร้างสรรค์ไม่เกิดการ พัฒนา ดังนน้ั ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่มงุ่ พัฒนาผู้เรียนใหเ้ กดิ ความคิดสร้างสรรค์ จ�ำเป็นต้องศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นและหาวิธีการแก้ไขอย่างจริงจังจึงจะพัฒนา ความคดิ ของเดก็ ใหเ้ จริญงอกงามขน้ึ ได้ แนวปฏบิ ัติทวั่ ไปในการพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคท์ างวทิ ยาศาสตร์ ในการพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคท์ างวทิ ยาศาสตร์ใหก้ บั นักเรียน ครูผู้สอนจะเปน็ ผทู้ ี่ มีบทบาทส�ำคัญอย่างยง่ิ ซ่ึงมแี นวในการปฏิบตั เิ พือ่ พัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ของนักเรยี น ดงั น้ี 13 1. ใหก้ ารเสริมแรงดว้ ยการยกย่องเพ่อื ให้นักเรยี นเกดิ ความเช่อื ม่นั ในการตัดสนิ ใจดว้ ย ตนเอง 2. กระต้นุ ใหน้ ักเรยี นแสดงออกซึ่งจินตนาการทางวิทยาศาสตร์ ในลกั ษณะท่ีสมั พนั ธ์ กบั ความคดิ แบบอเนกนัยผ่านกจิ กรรมต่างๆ เช่น การเลน่ การตอบค�ำถาม การแกป้ ญั หาทาง วิทยาศาสตร์ 3. ยอมรับแนวคดิ การแสดงออกและผลงานทางวิทยาศาสตร์ ที่มีลักษณะแปลกใหม่ ของเด็กและสง่ิ เสริมใหค้ ดิ ในหลายๆ ทศิ ทาง กิจกรรม เกม เพือ่ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 77

Activities & Games for Science Learning 4. ตอบค�ำถามทางวิทยาศาสตรท์ ่มี เี นื้อหาสาระน่าสนใจ แปลกใหม่ อย่างตรงไปตรง มา เมอื่ นกั เรยี นเกิดความสงสยั และซักถามด้วยความตง้ั ใจ 5. ใหก้ ำ� ลงั ใจและค�ำแนะน�ำกับนกั เรียนที่ยงั ไม่ประสบความสำ� เรจ็ หรือยงั มคี วามล้ม เหลวในการคิด 6. ใหโ้ อกาสกบั นักเรยี นท่มี ีวุฒภิ าวะทางความคดิ ต่�ำกวา่ ไดม้ ีสว่ นรว่ มในการวางแผน และดำ� เนนิ การในกิจกรรมต่างๆ ในทางวิทยาศาสตร์อยา่ งเหมาะสม 7. ใหน้ กั เรียนมโี อกาสทจ่ี ะเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ดว้ ยกิจกรรมทีม่ ุ่งส่งเสริมความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เชน่ การทดลอง การส�ำรวจ ทศั นศกึ ษา การจดั ค่ายวิทยาศาสตร์ ส�ำหรบั นักเรียน กจิ กรรมที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ จากความร้เู บอ้ื งต้นเกีย่ วกบั ความคดิ สร้างสรรค์ ลักษณะ และรูปแบบของความคดิ สร้างสรรค์ ตลอดจนแนวคิดในการพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ที่ไดก้ ล่าวถึงไว้ในข้างต้นน้ีเปน็ แนวทางส�ำคัญในการจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นและสร้างบรรยากาศของความรู้สึกที่ดีในการคิด ในการสรา้ งและแสวงหาส่ิงใหม่ ความรใู้ หม่ โดยกจิ กรรมท่ีเสนอเป็นตวั อยา่ งนีม้ จี ดุ มงุ่ หมายท่ี จะพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ในลักษณะทางกระบวนการและลักษณะของบุคคล เท่านนั้ คอื 1. ม่งุ พัฒนาใหผ้ ้เู รยี นมีความรู้สกึ ไวต่อปญั หา 2. ส่งเสริมให้ผู้เรยี นเรียนรู้ และกระต้นุ ให้ผู้เรยี นร้จู กั แสวงหาวิธกี ารในการแก้ปัญหา และประดษิ ฐค์ ดิ สร้างสงิ่ ใหมด่ ้วยตนเอง 3. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นเกิดความยากรอู้ ยากเหน็ กระตอื รืนรน้ ทจี่ ะแสวงหาคำ� ตอบ 4. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นกลา้ คิด กลา้ ทำ� กล้าตัดสินใจ และกลา้ แสดงออก 5. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ ซึง่ เปน็ ลักษณะของผูม้ คี วามคิด สร้างสรรค์ที่ดี จากจดุ ม่งุ หมายดังกลา่ วน้ี จะเป็นพื้นฐานท่ีมคี วามส�ำคญั และส่งเสริมการเรยี นการ สอนวทิ ยาศาสตรใ์ ห้มีประสิทธิภาพ และบรรลเุ ป้าหมายของการเรยี นการสอน และพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ ของผู้เรยี นใหม้ ีคณุ คา่ ต่อสงั คมเสมอ 78 กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ตัวอย่างกิจกรรมพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ กจิ กรรมที่ 1 ความแขง็ ของกระดาษ จุดม่งุหมาย 1. เพื่อพฒั นาความคิดคลอ้ งในการแกป้ ัญหา 2. ฝกึ การคิดยดื หยุ่นในการน�ำความรู้ที่ไดร้ บั มาดัดแปลง ระดับนกั เรยี น แก้ไขปญั หา จ�ำนวนนักเรยี น มัธยมศึกษาตอนตน้ เวลา 3 - 4 คน/กลุ่ม 60 นาที ตอนที่ 1 อุปกรณ์ 1. กระดาษความหนา 100 แกรม ขนาด A4 1 แผ่น 2. นอต จ�ำนวน 10–20 ตัว กจิ กรรม ให้นกั เรียนหาวิธีการท่ีจะน�ำกระดาษ A4 พาดระหวา่ งโต๊ะสองตวั ท่ีอยูห่ ่างกัน ประมาณ 15 cm และสามารถรองรบั ตวั นอตไดจ้ �ำนวนมากท่สี ดุ (นกั เรียนมีอิสระในการคิดที่ จะกระทำ� กับกระดาษ) ภาพแสดงการวางกระดาษ เพอื่ เป็นสะพานรบั นำ้� หนกั กจิ กรรม เกม เพ่อื การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 79

Activities & Games for Science Learning ตอนที่ 2 อปุ กรณ์ 1. กระดาษความหนาประมาณ 100 แกรม ขนาด A4 จำ� นวน 1 แผ่น 2. ลวดตะขอ 1 ตัว 3. เสน้ ด้ายทม่ี คี วามเหนียวหรือเอ็นพลาสตกิ 4. นอตขนาด.......... จำ� นวน 10 ตวั กิจกรรม ใหน้ ักเรยี นคิดวิธีการพับกระดาษใหม้ ขี นาด 5 cm x 20 cm และปฏบิ ัติตามข้ันตอน ตอ่ ไปน้ี 1. นำ� กระดาษพาดระหวา่ งขอบโตะ๊ สองตวั โดยขอบโตะ๊ ทั้งสองหา่ งกันประมาณ 15 cm 2. น�ำเส้นดา้ ยที่เตรยี มไวม้ าผกู หรือคลอ้ งระหวา่ งกึ่งกลางกระดาษ พรอ้ มแขวนลวด ตะขอ 3. นำ� นอตมาใส่ในลวดตะขอให้ไดม้ ากที่สุด ภาพแสดงการวางกระดาษเพื่อเปน็ คานรบั น�้ำหนักแบบแขวน 80 กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ตอนที่ 3 อปุ กรณ์ 1. กระดาษความหนาประมาณ 100 แกรม ขนาด A4 จ�ำนวน 1 แผน่ 2. กาว 3. กระดาษแขง็ ตดั เปน็ วงกลมรศั มี 5 cm จ�ำนวน 2 แผ่น 4. ลวดตะขอ 1 ตัว 5. นอตขนาด.......... จ�ำนวน 10 - 20 ตัว กจิ กรรม ให้หาวธิ ีพบั หรอื ตดั กระดาษใหม้ รี ูปทรงอย่างไรกไ็ ด้แต่ต้องมีความสูง 20 cm แลว้ ปฏบิ ัตติ ามข้นั ตอนดังน้ี 1. น�ำกระดาษแขง็ ที่ตัดเป็นแผ่นวงกลมทากาวและติดปลายท้งั สองของกระดาษ 2. นำ� แกว้ กระดาษวางบนแผน่ กระดาษวงกลม 3. ใสน่ อตลงในแกว้ ใหไ้ ดม้ ากที่สุด ภาพแสดงการวางตมุ้ น�้ำหนักบนกระดาษ กจิ กรรม เกม เพื่อการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 81

Activities & Games for Science Learning ตอนที่ 4 อปุ กรณ์ 1. ไข่ไก่ 1 ฟอง 2. กระดาษความหนา 100 แกรม จ�ำนวน 2 แผ่น 3. กาว กจิ กรรม ให้นักเรียนคิดและสร้างภาชนะใส่ไข่ที่สามารถป้องกันไข่จากน้�ำหนักที่ทับลงมาจาก แรงกระแทก และให้มีรูปทรงสวยงาม โดยใช้แนวคดิ จากกจิ กรรม ตอนท่ี 1 ถงึ 3 การทดสอบ 1. นำ� ภาชนะท่นี ักเรยี นประดิษฐ์ข้นึ ใส่ไข่ และพจิ ารณารองรบั น้�ำหนกั จากวัตถมุ วล มากทส่ี ดุ 2. ปลอ่ ยภาชนะทป่ี ระดิษฐ์จากท่ีสูง และพจิ ารณาสภาพของไขใ่ นภาชนะ เง่ือนไข ภาชนะทป่ี ระดิษฐ์ขนึ้ ตอ้ งสามารถปกปอ้ งไขไ่ ด้และตอ้ งมีมวลนอ้ ยท่สี ดุ จากกิจกรรม ขา้ งตน้ นน้ี ักเรียนสามารถน�ำไปประยกุ ต์ประดิษฐไ์ ดอ้ กี หรือไม่ แนวคิด : รปู ทรงของกระดาษทำ� ใหก้ ระดาษมีความแขง็ แรงแตกตา่ งกนั ในการรบั น�ำ้ หนัก ตอนท่ี 1 82 กิจกรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ตอนท่ี 2 ตอนที่ 3 ตอนท่ี 4 กิจกรรม เกม เพอื่ การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 83

Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทกึ กจิ กรรมท่ี 1 ความแขง็ ของกระดาษ กลุ่มที่.............. ตอนที่ 1 รูปแบบของการพบั กระดาษ ตอนที่ 2 รูปแบบของการพบั กระดาษ ตอนท่ี 3 รปู แบบของการพบั กระดาษ ตอนที่ 4 การออกแบบภาชนะที่ใชป้ อ้ งกนั ไข่แตกเนื่องจากแรงกระแทก 84 กจิ กรรม เกม เพอ่ื การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning จดุ มง่ หุ มาย กจิ กรรมที่ 2 รถแขง่ 1. เพอื่ ฝึกการคดิ ยืดหยุน่ ในการดดั แปลงวัสดตุ า่ งๆ มาเป็นส่วน ประกอบของสง่ิ ประดษิ ฐ์ 2. สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีความคดิ ริเริ่มโดยให้นักเรยี นมอี ิสระ ระดบั นกั เรียน ในการคดิ จำ� นวนนักเรียน อุปกรณ์ 3. พัฒนาความคิดยดื หยุ่นในการน�ำความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ มาประยุกตใ์ ช้ ต้ังแตร่ ะดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 3 - 4 คน/กลมุ่ 1. แผน่ ไ่ ม้ 2. กรรไกร 3. วงเวียน 4. ตะป ู 5. ทห่ี นบี กระดาษ 6. แท่งไม้ 7. ดินน�ำ้ มัน กิจกรรม ให้นักเรยี นออกแบบ และประดษิ ฐร์ ถสีล่ อ้ ตามลกั ษณะรถตน้ แบบ พร้อมคิดวธิ ีท่ี ท�ำให้รถเคลอื่ นที่ในแนวตรงไดไ้ กลทส่ี ดุ โดยห้ามใช้มอเตอรห์ รอื วัสดุอปุ กรณท์ เี่ กี่ยวกบั ไฟฟา้ (นักเรยี นสามารถกำ� หนดอปุ กรณเ์ พิม่ เตมิ ได้) รูปแบบรถตวั อยา่ ง กิจกรรม เกม เพอ่ื การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 85

Activities & Games for Science Learning แบบบันทกึ กจิ กรรมที่ 2 รถแขง่ กลุ่มท่.ี ............. อปุ กรณ์เพิม่ เตมิ 1. ....................................................... 5. ...................................................... 2. ....................................................... 6. ....................................................... 3. ....................................................... 7. ....................................................... 4. ....................................................... 8. ....................................................... รปู แบบรถประดิษฐ์ (พรอ้ มชแ้ี จงวัสดุของส่วนประกอบตวั รถ) หลักการในการทำ� ให้รถเคลือ่ นทแี่ ละเหตผุล .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 86 กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning จดุ มง่ ุหมาย กิจกรรมท่ี 3 ตอ่ ให้สงู 1. ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นรู้วิธกี ารแก้ปญั หา ระดับนกั เรยี น 2. พัฒนาความคิดให้คิดคล่อง จ�ำนวนนักเรียน 3. ฝกึ การปฏบิ ัติงานแบบกระบวนการกลมุ่ เวลา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ อปุ กรณ ์ 3 - 4 คน/กลมุ่ 60 นาที หลอดกาแฟ (กลุ่มละ 1 ห่อ) กิจกรรม ใหน้ กั เรยี นน�ำหลอดกาแฟมาต่อกนั ใหส้ ูงที่สดุ เท่าท่สี ามารถทำ� ได้ โดยมกี ติกาดงั นี้ 1. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ สามารถขอวัสดุ เพอื่ เชื่อมต่อหลอดกาแฟได้ กลมุ่ ละ 2 อย่าง (ยกเวน้ กาว, แปง้ เปยี ก, เทปกาว) 2. รูปทรงทนี่ ักเรยี นออกแบบควรเปน็ รปู ทรงท่มี ีความหมาย 3. ผลการตดั สนิ จะวัดจากความสงู ของหลอดและความหมายของรปู ทรง ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับหลังกจิ กรรม 1. นกั เรียนสามารถคิดวิธีเชื่อมต่อหลอดกาแฟให้แข็งแรง 2. นกั เรยี นได้มีโอกาสพัฒนาความคดิ ในการออกแบบรปู ร่างของหลอดทแี่ ข็งแรงไม่ ลม้ งา่ ย 3. นักเรียนมีโอกาสฝกึ การคิดอยา่ งละเอยี ดละออถงึ โครงสร้างท่ีนักเรียนออกแบบไว้ การอภปิ รายหลงั กิจกรรม - นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มมวี ิธีเชือ่ มตอ่ หลอดกาแฟอยา่ งไร - ในการต่อหลอดใหส้ งู ส่วนสำ� คัญท่ตี ้องระวังคืออะไร - นักเรยี นมีหลักการในการคดิ และสร้างงานอย่างไร กจิ กรรม เกม เพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 87

Activities & Games for Science Learning แนวคดิ - ในการตอ่ วตั ถใุ หม้ ีความสงู จะต้องสรา้ งฐานใหม้ ั่นคงเสียกอ่ น เพราะฐานเป็นส่วนที่ ตอ้ งรองรบั นำ�้ หนักมากทสี่ ุด ภาพตัวอยา่ งการต่อหลอดกาแฟ 88 กิจกรรม เกม เพือ่ การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทึกกิจกรรมท่ี 3 ตอ่ ใหส้ งู กลุ่มท่ี.............. วิธหี รือหลักการในการเชื่อมต่อหลอดกาแฟ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. หลักการในการต่อหลอดกาแฟใหส้ ูง ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. รูปแบบโครงสร้างในการตอ่ หลอดกาแฟ กิจกรรม เกม เพอื่ การเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 89

Activities & Games for Science Learning กจิ กรรมที่ 4 ไข่จอมพลัง จดุ ม่งหุ มาย 1. เพื่อพัฒนาให้นักเรยี นมคี วามคดิ ละเอยี ดละออช่างสงั เกต 2. เพอื่ พัฒนาให้นักเรยี นมคี วามคิดยดื หยุ่นและความคิดริเร่มิ ในการ แก้ปัญหาตา่ งๆ ได้ ระดับนักเรียน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำ� นวนนักเรยี น 3 - 4 คน/กลมุ่ เวลา 30 - 40 นาที อปุ กรณ ์ ใหน้ กั เรยี นคดิ และก�ำหนดอปุ กรณ์เอง เงื่อนไข ก�ำหนดให้มวล 1 กิโลกรัม เท่ากับ แรง 10 นิวตนั กิจกรรม 1. ให้นกั เรียนคดิ หาวธิ ใี นการทดสอบว่า ไขไ่ ก่ 1 ฟอง สามารถรบั น้�ำหนัก หรอื แรง กระทำ� เทา่ ไร 2. ใหน้ กั เรียนทดสอบและหาคำ� ตอบว่า โครงสร้างของไข่ส่วนใดรบั นำ้� หนกั หรอื แรง กระแทกไดด้ ที ส่ี ดุ 3. ใหน้ กั เรยี นใช้ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรมในข้อ 1 และ 2 คิดหาวธิ ีในการใช้ ไขไ่ กจ่ �ำนวน นอ้ ยทส่ี ุดเพ่ือรองรับนำ�้ หนกั ของน้ำ� 1 ถัง (16ลติ ร) นกั เรียนสามารถคิดหาวิธีท�ำกรอบเพือ่ ปอ้ ง กันไม่ใหไ้ ขก่ ล้งิ ได้ และสามารถใช้ฟองน�ำ้ ความหนาไมเ่ กิน 1 cm ปอ้ งกันความแข็งของถงั นำ้� และลื่น แนวคดิ การทไ่ี ขจ่ ะรบั น�้ำหนักไดม้ ากที่สุดและใช้ไขจ่ �ำนวนน้อยสุด จึงจำ� เปน็ ทีจ่ ะต้องคำ� นงึ ถงึ จุด c.g (จุดศนู ย์ถว่ ง) ของถังน้�ำ และจดุ ศนู ยถ์ ่วงของไข่ ตอ้ งหาวิธวี างให้ไข่แตล่ ะฟองรบั การ ถ่ายทอดน้ำ� หนกั ทเ่ี ทา่ กนั 90 กิจกรรม เกม เพ่อื การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ภาพแสดงการทดสอบความแข็งของไข่ ภาพแสดงตวั อยา่ งการวางถงั นำ�้ บนไข่ กจิ กรรม เกม เพื่อการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 91

Activities & Games for Science Learning แบบบนั ทึกกิจกรรมท่ี 4 ไขจ่ อมพลงั กลุม่ ที่.............. อปุ กรณ์ 1. ....................................................... 4. ...................................................... 2. ....................................................... 5. ....................................................... 3. ....................................................... 6. ....................................................... 1. วิธที ดสอบความแข็งของไข่ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 2. โครงสรา้ งของไข่ท่ีนักเรยี นคดิ ว่าแขง็ ท่สี ุด น้�ำหนกั ทร่ี บั ได.้ ................ น�้ำหนกั ท่รี ับได.้ ................ น้ำ� หนักที่รบั ได้................. 3. รูปแบบการสร้างกรอบป้องกันการกลงิ้ ของไข่ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 4. วธิ กี ารวางไขแ่ ละการวางถงั น�ำ้ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 92 กิจกรรม เกม เพือ่ การเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning จุดม่งหุ มาย กิจกรรมท่ี 5 ฟองลกู โป่ง ระดับนกั เรียน 1. ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนมีอิสระในการคิด จ�ำนวนนักเรยี น 2. ฝึกการแกป้ ญั หาดว้ ยการทดลอง เวลา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น อปุ กรณ ์ 2 คน/กลุ่ม 30 - 40 นาที 1. สบู่ 2. ผงซักฟอก 3. น�ำ้ ตาลทราย 4. กลีเซอรีนเหลว 5. แชมพสู ระผม 6. COMPERLAN - KD (ชว่ ยทำ� ใหฟ้ อง เหนยี วขน้ึ ฟองแตกตัวชา้ ) 7. ลวดเหลก็ 8. เส้นดา้ ยเหนยี ว กิจกรรม 1. ให้นักเรยี นคิดส่วนผสมของสารละลายทท่ี ำ� ใหเ้ กิดฟองมากและมคี วามเหนยี วไม่ แตกง่าย 2. ใหน้ กั เรยี นคดิ วิธีท�ำอปุ กรณใ์ นลักษณะกรอบหรอื หวังทส่ี ามารถท�ำให้เกิดฟอง ลกู โป่งขนาดใหญ่ทส่ี ดุ หรือยาวทสี่ ุดทส่ี ามารถท�ำได้ กจิ กรรม เกม เพ่ือการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 93

Activities & Games for Science Learning แนวคิด 1. ในผงซกั ฟอกมสี ่วนผสมของ - LAS ท�ำใหเ้ กดิ ฟอง - SODIUM TRIPOLY PHOSPHATE เสรมิ ประสทิ ธิภาพการท�ำงานของ LAS 2. แชมพมู ีส่วนผสมของ - COMPERLAN - KD ช่วยท�ำให้ฟองเหนยี วข้น แตกตวั ชา้ ลง - TEXAPON NO.40 ทำ� ใหเ้ กดิ ฟอง ภาพแสดงการท�ำลกู โปง่ ฟองสบู่ 94 กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning แบบบันทกึ กิจกรรมที่ 5 ฟองลูกโป่ง กลมุ่ ท.ี่ ............. อุปกรณ์เพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. สว่ นผสมของสารละลายที่ทำ� ให้เกิดฟอง ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ลกั ษณะของอปุ กรณ์ (หว่ งหรอื กรอบ) ทีท่ ำ� ใหเ้ กดิ ฟอง ................................................................ ................................................................ ................................................................ ................................................................ ................................................................ ................................................................ ขนาดของฟองลกู โปง่ ทย่ี าวทีส่ ุดท่ีสามารถทำ� ได้ ครัง้ ที ่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ข(cนmา)ด กจิ กรรม เกม เพือ่ การเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ 95

Activities & Games for Science Learning จุดม่งหุ มาย กจิ กรรมท่ี 6 บมู เมอแรง ระดับนกั เรยี น 1. ศึกษาการเคลอื่ นที่ของบมู เมอแรง จำ� นวนนกั เรียน 2. คดิ คน้ การท�ำบมู เมอแรงในรูปทรงท่ีแตกต่างจากเดมิ เวลา มัธยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย อปุ กรณ ์ 2 คน/กลุ่ม 50 นาที 1. กระดาษแข็งหรือพลาสตกิ แขง็ 2. กรรไกรหรือคดั เตอร ์ กิจกรรม ตอนที่ 1 1. วาดรปู บมู เมอแรงตามรูปตวั อย่างท่กี �ำหนดให้บนกระดาษแขง็ 2. ตัดกระดาษแข็งตามเส้นทว่ี าดใหไ้ ด้รปู บูมเมอแรง 3. วางปลายข้างหนึง่ ของบมู เมอแรงบนนวิ้ ชี้ พยายามใหท้ รงตัวอยู่ได้ แลว้ ใชน้ ิ้วช้อี กี ข้างดีดปลายบูมเมอแรงอีกขา้ ง สงั เกตการเคล่อื นทีข่ องบมู เมอแรง 4. ท�ำกจิ กรรมซำ�้ ข้อ 1 ถงึ 3 แตเ่ ปล่ยี นกระดาษเป็นรูปสามเหลี่ยมตามขนาดดังรปู 5. ท�ำกจิ กรรมซ้ำ� ขอ้ 1 ถงึ 3 แตเ่ ปลี่ยนกระดาษเปน็ รปู กากบาท ตอนท่ี 2 ใหน้ ักเรียนน�ำแนวคิดจากกิจกรรมตอนที่ 1 มาดดั แปลงเพือ่ ทำ� บูมเมอแรง ท่ีมรี ปู ทรง แตกต่างจากเดมิ และตอ้ งสามารถเคลือ่ นทก่ี ลับทเ่ี ดิมไดเ้ หมอื นบมู เมอแรง (นักเรยี นสามารถ ใช้วิธีพบั กระดาษ ตัดกระดาษตามรูปทรงทนี่ ักเรยี นออกแบบเอง และตกแต่งให้สวยงาม) 96 กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning ภาพแสดงตวั อยา่ งบูมเมอแรง กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 97

Activities & Games for Science Learning แบบบันทึกกจิ กรรมที่ 6 บูมเมอแรง กลุ่มที.่ ............. อุปกรณ์เพิ่มเติม ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ตอนที่ 1 รูปทรงกระดาษ ลกั ษณะการเคลอ่ื นท่ี บมู เมอแรง รูปสามเหลย่ี ม รูปกากบาท 98 กจิ กรรม เกม เพอื่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

Activities & Games for Science Learning เอกสารอา้ งอิง 1 Guilford, J.P. Structure of Intellect. 1856. p. 62. 2 Wallach, Michacl A., and Kogan, Nathan. Modes of Thinking in young Children, 1965. p. 34. 3 Anderson, H.H. Creativity and Its Cultivation. 1959. p. 90-93. 4 งานทดสอบทางการศกึ ษา, สำ� นกั . ความคิดสร้างสรรค์ : หลกั การทฤษฎกี ารเรียน การสอนการวัดผลประเมนิ ผล. 2532. หนา้ 2. 5 อารี พันธ์มณี. คดิ อยา่ งสร้างสรรค.์ 2540. หนา้ 25. 6 Piltz. A and Soun R. Creative Teaching in Science in the Elementary School. 1969. p. 4. 7 Moravcsik, M.J. “ Crcativity in Science Education ” Science Education. 65(2) : 221-227, 1981. 8 อนนั ต์ จันทรก์ วี. “ โครงการพัฒนาและสง่ เสรมิ ผมู้ ปี รชี าญาณทางวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลย.ี ” วิทยาจารย์ 7 : 3-10 ; พฤษภาคม - สิงหาคม 2525. หนา้ 3. 9 ณฐัพงษ์ เจรญิ ทพิ ย.์ ความคดิ สร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ : รอยตอ่ กบั ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละการเปล่ยี นแปลง. 2539. หน้า 157. 10 แหลง่ เดมิ . หน้า 35. 11 แหล่งเดมิ . หน้า 9. 12 แหล่งเดิม. หน้า 15. 13 แหล่งเดมิ . หน้า 176. 14 แหล่งเดมิ . หน้า 129. กิจกรรม เกม เพอื่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 99

Activities & Games for Science Learning การเป็นอจั ฉริยะ ประกอบดว้ ยแรงบันดาลใจ 1% และหยาดเหงื่ออกี 99% Genius is one percent inspiration and ninety-nine percent perspiration. ที่มา : https://positioningmag.com/59781 By : Thomas Alva Edisons 100 กจิ กรรม เกม เพ่ือการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์