Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมรรถนะสำคัญ 25-2-62ล่าสุด

สมรรถนะสำคัญ 25-2-62ล่าสุด

Published by โรงเรียนวัดโมคลาน, 2021-11-11 11:12:07

Description: สมรรถนะสำคัญ 25-2-62ล่าสุด

Search

Read the Text Version

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ครู และ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ในศตวรรษที่ ๒๑

โรงเรียนฐานสมรรถนะ

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ตั ติ น ผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของ ผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา ความเช่อื มโยงสมั พนั ธ์และพลังท่สี ่งผลต่อกนั ของการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียน ครู และผู้บริหาร

ชวนคดิ จะเกดิ อะไรขนึ้

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ตั ติ น ผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของ ผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนแบบ 1 ผู้บริหารไร้สมรรถนะทางการบริหาร

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ัตติ น ผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนแบบ 2 ครูลดสมรรถนะ ส่งผลให้ผู้เรียนมสี มรรถนะน้อย ผ้ ูบริหารไร้ สมรรถนะทางการบริหาร

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ตั ติ น ผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนแโรบงบเรีย1นคแรบูลบดส2มรผรู้บถรนิหะารสม่งีสผมลรใรหถ้ผนู้เระียสนงู ยไ่มงิ ่มสี มรรถนะ ผ้คูบรูเิหพา่มิ รสไรม้สรมรรถรนถะนในะทช่าวงกตา่อรมบาริหาร

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ตั ติ น ผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะ สมรรถนะ ของครู ของ ผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียน แบบ 1 ผู้บริหารไร้สมรรถนะ โรงเรียนไร้ สมรรถนะ

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ตั ติ น ผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนแบบ 2 ครูไร้สมรรถนะในช่วงแรก แต่ผู้บริหารมสี มรรถนะสงู ย่งิ

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ัตติ น ผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะ ของ ผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนแบบ 2 ผู้บริหารมีสมรรถนะสงู ย่งิ ครูเพ่มิ สมรรถนะในช่วงต่อมา

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ัตติ น ผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของ ผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนแบบ 2 ผู้บริหารมีสมรรถนะสงู ย่งิ ครู และผู้เรียนเพ่มิ สมรรถนะมากขนึ้ ในช่วงต่อมา

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ตั ติ น ผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนแบบ 2 ครูเพ่มิ สมรรถนะมากขนึ้ ส่งผลให้ผู้เรียนมสี มรรถนะ ผู้บริหารมสี มรรถนะสูงย่งิ

ผู้นาการเรียนรู้ ผู้นาการคดิ และปฏบิ ตั ติ น ผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ เป้ าหมายท่ที ้าทาย (Learning (Brain & Behavior) Leader) (Change & Challenge) สมรรถนะของครู สมรรถนะของ ผู้เรียน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรียนสมรรถนะ

คาถาม และส่วนหน่ึงของคาตอบ

คาถาม ท่านทราบหรือไม่ว่าท่าน ต้องบริหารโรงเรียนโดยใช้ หลักสูตรใดบ้าง

คาตอบ ต้ังแต่บัดนี้เป็ นต้นไป จน 3-5 ปี ท่านบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักสูตรองิ มาตรฐาน (หลักสูตรปั จจุบัน) หลังจากนั้นท่านต้องใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ (หลักสูตรใหม่)

คาถาม ทาไมต้องเปลี่ยนหลักสูตรจาก หลักสูตรองิ มาตรฐานไปเป็ น หลักสูตรฐานสมรรถนะ

คาตอบ

การเปล่ยี นแปลงของโลกและสงั คม การเปล่ียนแปลงของโลกและสังคม กระทบทุกภาคส่วน กระทบทุกมิติ การศึกษา ต้องปรับเปลีย่ น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทาให้สามารถเข้าถึงเนื้อหาและข้อมูลได้ง่าย และ รวดเร็ว ง่าย การเรียนรู้เน้ือหาจากครูจึงจาเป็นน้อยลง แต่ส่ิงท่ีผู้เรียนต้องการคือ การพัฒนา “ทกั ษะกระบวนการ” ทีจ่ ะตอ้ งใชใ้ นการจัดการกับข้อมลู มหาศาลให้มคี วามหมาย และนาไปใช้ ประโยชนแ์ ก่ชวี ติ ของตน การมีข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ใหม่ ๆ เกิดขึ้นมาก สิ่งสาคัญจาเป็นคือ ต้อง รูเ้ ทา่ ทนั สื่อ สารสนเทศ และดจิ ทิ ัล เทคโนโลยีก้าวหน้า คนในโลกเช่ือมโยงผ่านโลกออนไลน์ ต้องเพ่ิมคุณลักษณะใหม่ คือ ความเป็นพลเมอื งโลก ทักษะข้ามวัฒนธรรม (Cross- Cultural Understanding) การ เป็นพลเมอื งดิจทิ ลั (Digital Citizen)

การเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคม เกิดอาชีพใหม่ๆ ซ่ึงเป็นอาชีพท่ีเราไม่รู้จัก จึงต้องเตรียมคนในเร่ืองทักษะการเป็น ผู้ประกอบการ มีแนวคิดหลากหลายและหลายเร่ืองเป็นประเด็นถกเถียง (Controversial issue) ไม่ อาจลงข้อสรุปต้องเพ่ิมทักษะการคิดวิจารณญาณ การวิพากษ์ และวัฒนธรรมแห่งการต้ัง คาถาม (Questioning Culture) ไปจนถึงเร่ืองการให้เด็กได้เรียนรู้ปรัชญา (Philosophy for Children: P4C) มที กั ษะสาคัญท่ตี อ้ งเพม่ิ เติมเพ่ือใช้ในยคุ ศตวรรษท่ี ๒๑

Why ? การเกดิ ปัญหาสาคญั ทีร่ นุ แรง ๑) ปญั หาคณุ ภาพของผเู้ รยี นในภาพรวม ผลการทดสอบO-NET ของผูเ้ รียนตา่ มาก คุณภาพการศึกษาไทยตา่ มาก ผลการสอบ O – NET ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่๖ พ.ศ. ๒๕๖๑ ผลการสอบ O – NET ตา่ มาก ผู้เขา้ สอบกวา่ ๓๗๒,๐๐๐ คน คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ ๒๔.๕๓% ภาษาอังกฤษ ๒๘.๓๑ % วทิ ยาศาสตร์ ๒๙.๓๗ % สังคมศาสตร์ ๓๔.๗๐ % ภาษาไทย ๔๙.๒๕ % ส่วนใหญค่ ะแนนตา่ กวา่ ปีก่อน ผลคะแนนผจู้ บการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ส่วนใหญ่ตกเกณฑ์

การเกดิ ปัญหาสาคญั ทรี่ ุนแรง Why ? ๒) ปญั หาคุณภาพของผู้เรยี นในภาพรวม ผลการสอบPISA ต่ามาก อย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา ๑๕ ปี ไม่ได้มาตรฐานสากล

Why ? การเกดิ ปญั หาสาคญั ทรี่ นุ แรง ๓) ปัญหาคณุ ภาพของผู้เรยี นในภาพรวม ระดบั ความสามารถของ นกั เรียนไทยเม่อื เทยี บกบั ชาติตา่ ง ๆ อยู่ในระดับต่ามาก

คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนไม่นา่ ความรทู้ ่วมหัวเอาตวั ไม่รอด พอใจ หวั โต ตวั ลีบ ร้ธู รรมะ แต่ไม่มีธรรมะ นกแก้วนกขนุ ทอง เก่งแบบเปด็ เรียนเพือ่ สอบ เรียนแบบตัวใครตัวมนั ไม่แคร์ ไมส่ น ทจ่ี ะเรยี นรูใ้ นระบบ

คาถาม ทาไมต้องเปล่ียนหลักสูตรจากหลักสูตรองิ มาตรฐาน ไปเป็ นหลักสูตรฐานสมรรถนะ

คาตอบ

ข้อมลู อนื่ ๆ สนบั สนนุ การนาหลักสตู รฐานสมรรถนะมาใช้ ประเทศที่ปรับปรุงหลกั สตู รเดมิ ไปสูห่ ลักสตู รฐานสมรรถนะ ๑ เคนยา รวันดา คเู วต เอสทัวเนยี ร์ อเมรกิ า แคนาดา เม็กซิโก โปรตุเกส ๒ ประเทศทใ่ี ห้ความสาคญั กับการพัฒนาสมรรถนะ ฮ่องกง สิงคโปร์ ญปี่ นุ่ เกาหลีใต้ อังกฤษและไอแลนดเ์ หนือ สกอตแลนด์ ฟินแลนด์ นอร์เวย์ แคนาดา ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์ แอฟรกิ าใต้ ๓ ขอ้ มูลสนบั สนนุ การนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะมาใชใ้ นการปฏิรปู ของไทย (เอกสาร งานวิจยั ผทู้ รงคุณวุฒิ ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง การรับฟังความคดิ เหน็ Line กอปศ. และการจัดการประชมุ (สงิ หาคม ๖๐- กันยายน ๒๕๖๑)

คาถาม หลักสูตรฐานสมรรถนะคืออะไร

คาตอบ

• หลักสูตรท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่จาเป็นต้องใช้ในการ ดารงชีวิต โดยมีการกาหนดสมรรถนะหลักท่ีเหมาะสมแต่ละช่วงชั้น ให้ครูผู้สอนนาไปใช้ เป็นหลักในการจุดหมาย สาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน และการวัดและ ประเมนิ ผล • เป็นหลักสูตรท่ีให้ความสาคัญกับพฤติกรรม การกระทา การปฏิบัติของผู้เรียน มิใช่ท่ีการรู้หรือมีความรู้เพียงเท่าน้ัน แต่ผู้เรียนต้องสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ ค่านยิ ม และคุณลักษณะตา่ ง ๆ ในการแกป้ ัญหาสถานการณ์ในชีวิตประจาวนั • เป็นหลักสตู รทใ่ี ช้ผลลพั ธ์ (สมรรถนะ) นาสู่จุดมงุ่ หมายการเรียนรู้ มิใช่หลักสูตร (เน้ือหาสาระ) นาสผู่ ลลัพธ์ (สมรรถนะ) • เป็นหลักสูตรที่ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความ ตอ้ งการของผ้เู รียน ครู และสังคม หลกั สูตรฐานสมรรถนะ (Competency – Based Curriculum : CBC)

หลักสตู รฐานสมรรถนะ (Competency – Based Curriculum : CBC) หลักสูตรฐานสมรรถนะยึดความสามารถของผู้เรยี นเปน็ หลกั การออกแบบหลักสูตรตามแนวคิดน้ี จะมีการกาหนดเกณฑ์ความสามารถท่ี ผู้เรียน พึงปฏิบัติได้ หลักสูตรท่ีเรียกว่าหลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ จัดทาข้ึนเพ่ือ ประกันว่าผู้ท่ีจบการศึกษาระดับหน่ึง ๆ จะมีทักษะและความสามารถในด้านต่าง ๆ ตามที่ตอ้ งการ เป็นหลักสูตรท่ีไม่ได้มุ่งเรื่องความรู้หรือเน้ือหาวิชาที่อาจมีความเปล่ียนแปลงได้ ตามกาลเวลา แต่จะมุ่งพัฒนาในด้านทักษะ ความสามารถ เจตคติและค่านิยม อันจะมี ประโยชนต์ ่อชีวิตประจาวนั และอนาคตของผู้เรียนในอนาคต หลกั สตู รนม้ี โี ครงสร้างให้เห็นถึงเกณฑ์ความสามารถในด้านต่าง ๆ ท่ีต้องการให้ เรียนปฏิบัติในแต่ละระดับการศึกษา และในแต่ละระดับช้ัน ทักษะและความสามารถจะ ถูกกาหนดให้มีความต่อเน่ืองกัน โดยใช้ทักษะและความสามารถที่มีในแต่ละระดับเป็น ฐานสาหรับเพม่ิ พนู ทักษะและความสามารถในระดับต่อไป (ศาสตราจารย์ ดร.ธารง บวั ศรี: 2535)

จดุ แข็งของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ๑. ช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะหลักที่สาคัญต่อการใช้ชีวิต การทางาน และการ เรยี นรู้ ซึง่ จาเป็นตอ่ การดารงชวี ิตอย่างมคี ุณภาพในโลกแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเรว็ ๒. ช่วยให้การจัดการเรียนรู้ มุ่งเป้าหมายไปท่ีการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะท่ีต้องการ มใิ ชม่ งุ่ เปา้ ไปท่กี ารสอนเน้ือหาความร้จู านวนมาก ซ่งึ ไมจ่ าเป็นหรอื เปน็ ประโยชนแ์ ก่ผ้เู รยี น ๓. ช่วยลดสาระการเรียนรู้ที่ไมจ่ าเป็น อนั ส่งผลให้สถานศึกษามีพ้ืนท่ีในการจัดการเรียนรู้อ่ืนท่ี เป็นความตอ้ งการทีแ่ ตกต่างกนั ของผู้เรยี น วิถชี ีวิต วัฒนธรรม ชาติพนั ธ์ุ และบริบทไดม้ ากขน้ึ ๔. ช่วยลดภาระและเวลาในการสอบตามตัวช้ีวัดจานวนมาก การสอบวัดสมรรถนะหลักของ ผูเ้ รียน ชว่ ยใหเ้ ห็นความสามารถของผเู้ รียน ชว่ ยใหเ้ หน็ ความสามารถทีเ่ ปน็ องค์รวมของผูเ้ รยี น ๕. กรอบสมรรถนะหลักของหลักสูตรฐานสมรรถนะ ซึ่ง เป็นสมรรถนะขั้นต่าท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียนทุกคน จะเป็นสมรรถนะกลางท่ีเอ้ือให้สถานศึกษาที่มี ศักยภาพ สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการและบริบทของตนได้ โดยยึด สมรรถนะกลางเปน็ เกณฑ์เทยี บเคยี ง เป็นการสง่ เสริมให้เกดิ รูปแบบหลักสตู รที่หลากหลาย

คาถาม ถ้าผู้บริหาร ครู ไม่มีสมรรถนะ จะรับมือกับการบริหาร หลักสูตรฐานสมรรถนะทกี่ าลังจะมาถงึ ได้หรือไม่

คาตอบ .................................

คาถาม มีการเตรียมการไปถงึ ไหนแล้ว

คาตอบ

1. ในปี 2560 เร่ิมศึกษาจดั ทาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.1-ป.3) และนาสู่ การทดลอง โดย คณะทางานจดั ทากรอบสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ของคณะอนกุ รรมการจัดการเรียนการสอน ในคณะกรรมการอสิ ระเพือ่ ปฏริ ปู การศึกษา

รองศาสตราจารย์ ดร. ทศิ นา แขมมณี ประธานคณะทางานจัดทากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ของคณะอนุกรรมการจดั การเรยี นการสอน ในคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื ปฏิรูปการศกึ ษา



แนวทางการจดั การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ แนวทางท่ี ๔ สมรรถนะเปน็ ฐานผสานตวั ชีว้ ดั แนวทางที่ ๕ บูรณาการผสานหลายสมรรถนะ แนวทางท่ี๑ ใชง้ านเดมิ เสริมสมรรถนะ แนวทางที่ ๖ สมรรถนะชวี ิตในกิจวตั รประจาวนั แนวทางที่ ๒ ใชง้ านเดิมต่อเตมิ สมรรถนะ แนวทางที่ ๓ ใช้รูปแบบการเรียนรูส้ กู่ ารพัฒนาสมรรถนะ ผลการทดลอง ๔. ปจั จัยเอ้อื การทางานของครู ๑. ครูสามารถพัฒนาได้หากได้รับความช่วยเหลืออย่าง คือ เหมาะสม ๔.๑ ความเขา้ ใจสมรรถนะท้ัง ๑๐ ประการ ๔.๒ การสนบั สนนุ ให้กาลังใจและความรู้เชิงวิชาการ ๒. สมรรถนะท้งั ๑๐ ประการช่วยใหก้ ารจัดการเรียนการสอน ดีขน้ึ จัดการเรยี นร้เู ชิงรกุ และเชิงลกึ ได้มากข้นึ ๔.๓ การสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้เชงิ วิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) ๓. ครูส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ ๘๓ เห็นด้วยกับการ ๔.๔ แนวทางการจดั การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ ๖ แนวทาง ปรับหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ สามารถนาไปใช้ได้ดใี นการพัฒนาผู้เรียนใหเ้ กิดสมรรถนะท้ัง ๑๐ สมรรถนะ เห็นว่าการสอนแบเน้นสมรรถนะช่วยให้การเรียนรู้ มีประสิทธิภาพมากขนึ้

2. องค์กรเพือ่ ความร่วมมือและการพฒั นาทางเศรษฐกจิ (Organization for the Economic Cooperation and Development) : OECD และ Unicef โดย สพฐ. เปน็ เจา้ ภาพหลักไดจ้ ัดประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 3 ครั้ง เสรมิ สร้างความรู้ ความ เข้าใจ และศักยภาพในการพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ การจัดการเรยี นการสอน และการวัด และประเมินผล แกท่ มี งานที่เป็นแกนนาในการทางานพฒั นาหลกั สูตร ในขณะน้ผี ่าน ไป 1 คร้งั ในชว่ งปลายเดอื นมกราคม 2562

3. ประชุมวางแผนพจิ ารณา ROADMAP การทางานพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ เร่ิมดาเนินการ วนั ท่ี 1 มนี าคม 2562

คาถาม กรอบสมรรถนะหลักมีอะไรบ้าง มรี ายละเอยี ดอยา่ งไร

คาตอบ

สมรรถนะเดก็ ไทย คนไทยฉลาดรู้ : ใชภ้ าษาสอื่ ความคิดอย่างสรา้ งสรรค์ ผกู พันและภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย คิดตอ่ สมั พนั ธ์ ไทย-สากล ใชต้ รรกะคณติ -วทิ ย์ พชิ ิตปัญหา *********************** 1. ภาษาไทยเพ่อื การส่ือสาร (Thai Language for Communication) 2. คณิตศาสตร์ในชีวิตประจาวัน (Mathematics in Everyday Life) 3. การสืบสอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) 4. ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร (English for Communication)

สมรรถนะเดก็ ไทย คนไทยอยู่ดีมีสุข: ร้จู ักตน พ่ึงพาตน เป็นคนมีความสุข ใฝค่ วามดี มีสุนทรีย์ มีวนิ ยั ใสใ่ จเรยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียงและสมดุล มี ทกั ษะการทางาน สรา้ งพ้ืนฐานอาชพี ตามถนดั สามารถบรหิ าร จดั การ ประกอบการอย่างสรา้ งสรรค์และใสใ่ จสังคม **************** 5. ทักษะชวี ิตและความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) 6. ทักษะอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship)

สมรรถนะเดก็ ไทย คน ไทยสามารถสงู : คดิ รอบคอบ พิจารณารอบด้าน สกู่ ารแกป้ ัญหา พฒั นานวัตกรรม รเู้ ทา่ ทนั ตนเอง เท่าทนั สือ่ เท่า ทันสังคม ********************** 7. ทกั ษะการคดิ ขั้นสูงและนวตั กรรม (Higher Order Thinking Skills and Innovation) 8. การรเู้ ท่าทันส่อื สารสนเทศและดจิ ทิ ลั (Media, Information and Digital Literacy : MIDL )

สมรรถนะเดก็ ไทย พลเมอื งทใ่ี ส่ใจสงั คม: รวมพลังทางาน ร่วมกิจการสาธารณะ มี ภาวะผู้นา มคี วามสมั พนั ธอ์ นั ดี เคารพศกั ดิ์ศรีและความแตกตา่ ง สร้างความเปน็ ธรรม *************** 9. การทางานแบบรวมพลังเป็นทีมและมภี าวะผู้นา (Collaboration Teamwork and Leadership) 10.การเป็นพลเมืองต่นื รทู้ ่มี สี านกึ สากล (Active Citizens with Global Mindedness)

สมรรถนะภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร เป็ นความสามารถในการใช้ภาษาไทยเป็ นเคร่ืองมือในการตดิ ต่อ เก่ยี วข้องกับบุคคลรอบตวั ผ่านการฟัง ดู พดู อ่าน และเขยี น เพ่ือรับ แลกเปล่ียนและถ่ายทอดข้อมูล ความรู้ ความรู้สึกนึกคิด โดยใช้ความรู้ทางหลักภาษาและการใช้ภาษาร่วมกับประสบการณ์ของตนตามช่วงวัย ผ่านการคิด วเิ คราะห์ ไตร่ตรองและแก้ปัญหา อย่างมีสติ เท่าทนั และสร้างสรรค์ เพ่ือนาไปสู่การมีชีวติ ท่มี ี คุณภาพและการทาประโยชน์ให้แก่ตนเองและสังคมไทย รวมทงั้ การใช้ภาษาไทยผ่านการฟัง ดู พดู อ่านและเขียนในการเข้าถงึ องค์ความรู้ของ สังคมไทย ภาคภูมิ ผูกพัน และสืบสานส่งิ ท่ดี ีงาม อีกทงั้ สะท้อนความเป็ นไทยออกมาในผลงาน ต่างๆท่ตี นผลติ ๑ ภาษาไทยเพ่อื การส่ือสาร (Thai Language for Communication)

คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจาวนั เป็ นการบรู ณาการเนือ้ หาสาระของคณิตศาสตร์กบั อกี หลายๆ สาขาวชิ า เข้าด้วยกันเพ่อื ให้เกดิ การเรียนรู้ อย่างมคี วามหมาย เป็ นการนาความรู้ไปเช่ือมกับปัญหา สถานการณ์ในชีวติ ประจาวนั ท่ผี ู้เรียนพบ ทาให้ผู้เรียน มองเหน็ สะพานเช่ือมระหว่างคณิตศาสตร์กบั โลกท่เี ป็ นจริง เป็ นการประยุกต์เพ่อื นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั หรือ ใช้ในการทางานท่เี หมาะสมตามวยั ผู้เรียนท่มี สี มรรถนะคณิตศาสตร์ คอื ผู้เรียนท่มี ีความสามารถในการแก้ปัญหา มเี หตุผล สามารถใช้ ความหมายทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร รวมทงั้ เช่ือมโยงทางคณิตศาสตร์ได้ ผ้เู รียนสามารถนาความรู้ ความสามารถ เจตคติ ทกั ษะ ท่ไี ด้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ รวมทงั้ สถานการณ์ใหม่ๆ เพ่อื ให้ได้มา ซ่งึ ความรู้ใหม่หรือการสร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ๆและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ซ่งึ เออื้ ให้ผู้เรียนรู้เท่าทนั การเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรมและสภาพแวดล้อม ๒ คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน (Mathematics in Everyday Life)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook