Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

Published by สุทธิดา แสงมุกดา, 2022-03-01 03:13:23

Description: E-book นางสุทธิดา แสงมุกดา เลขที่ 21 ห้อง 5

Search

Read the Text Version



ก รายงาน เรอ่ื ง นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา จดั ทาโดย นางสทุ ธดิ า แสงมกุ ดา เลขท่ี 21 หอ้ ง 5 รหัสนกั ศกึ ษา 646550100-2 เสนอ ดร.กฤษฎาพนั ธ์ พงษ์บรบิ ูรณ์ รายวชิ า นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์ วิทยาลยั บัณฑติ เอเชยี

ก คานา รายงานฉบับน้ีเป็นส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ครู วิทยาลยั บณั ฑติ เอเชีย โดยมีจุดประสงคใ์ นการศกึ ษาและรวบรวม เร่ือง นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจาวัน เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้ ความหมายที่ถูกต้อง รวมถึงสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม หวังว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กาลังหาข้อมูลเร่ืองน้ีอยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผู้จดั ทาขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีนี้ดว้ ย สุทธิดา แสงมกุ ดา ผูจ้ ัดทา

สารบญั ข เรอ่ื ง หน้า คานา ก สารบัญ ข บทท่ี 1 นวตั กรรมทางการศึกษา 1 1 1.1 ประวัติ ความเปน็ มาของนวตั กรรมทางการศึกษา 5 1.2 นวตั กรรมทางการศึกษา ในประเด็น ความหมาย แนวคิดพนื้ ฐาน ประเภท ลกั ษณะ 11 การพฒั นา ระยะของนวตั กรรม 24 1.3 นวัตกรรมทางการศึกษาในยุคปัจจบุ นั 24 บทท่ี 2 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 26 2.1 ความหมายของสารสนเทศ 27 2.2 ความสาคัญของสารสนเทศ 28 2.3 บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information) 29 2.4 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ 30 2.5 คุณลกั ษณะของสารสนเทศทด่ี ี (Characteristics of Information) 32 2.6 คุณภาพของสารสนเทศ (Quality of Information/Information Quality) 32 2.7 สาเหตุทที่ าใหเ้ กดิ สารสนเทศ 33 2.8 ความหมายของคาว่า ขอ้ มูล 35 2.9 ชนดิ ของข้อมูล 36 2.10 กรรมวิธีการจัดการขอ้ มลู (Datamanipulation) (ใหม้ ีคุณค่าเปน็ สารสนเทศ) 37 2.11 ความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 39 2.12 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 40 2.13 เทคโนโลยีส่อื สารโทรคมนาคม 41 2.14 ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 42 2.15 คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 45 2.16 ระบบการสืบค้นผา่ นเครือข่ายเพ่ือการเรยี นรู้ 47 2.17 การสบื คน้ และรับส่งข้อมลู แฟมู ขอ้ มูล และสารสนเทศเพ่ือใช้ในการจดั การเรียนรู้ 47 2.18 หลักเกณฑก์ ารประเมินผลลพั ธ์ หรือผลผลติ (Criterias to Evaluated Outputs) 48 2.19 ววิ ฒั นาการของสารสนเทศ 53 2.20 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการใชช้ วี ิตในสงั คมปัจจุบัน 53 บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้ 56 3.1 คอมพวิ เตอร์และอินเทอร์เน็ตกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 61 3.2 เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 67 3.3 เทคโนโลยีและสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ 69 3.4 สอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู้ 3.5 การออกแบบ รายละเอียดนวัตกรรม

ค สารบญั (ตอ่ ) เร่อื ง หน้า 3.6 แหล่งเรียนร้แู ละเครือขา่ ย เพอ่ื การเรียนรู้ 74 3.7 ประเภทแหลง่ เรียนรแู้ ละเครือขา่ ยการเรยี นรู้ 75 3.8 แหล่งการเรียนรแู้ ละเครือข่าย เพ่ือการเรียนรู้ 78 3.9 การวเิ คราะหป์ ัญหาการจดั การเรียนรทู้ ่ีเกดิ จากการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 85 88 แบบทดสอบ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา 93 บรรณานุกรม

1 บทท่ี 1 นวัตกรรมทางการศกึ ษา 1.1 ประวตั ิ ความเปน็ มาของนวัตกรรมทางการศกึ ษา ความเป็นมาและความหมายของนวัตกรรม “นวัตกรรม” หมายถงึ ความคดิ การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็น การพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดมิ ทีม่ อี ยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน เมื่อนา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้ การทางานน้นั ไดผ้ ลดีมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู กว่าเดมิ ทั้งยังชว่ ย ประหยัดเวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาส่ิงใหม่ขึ้นมา ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีมีอยู่ แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในส่ิงท่ีแตกต่างจากคนอ่ืน โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ท่ีเกิดข้ึนรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ในช่วงต้นศตวรรษท่ี 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การ วิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนาไปสู่การได้มาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพ่ือประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถใน การเรยี นรู้และนาไปปฎบิ ตั ใิ ห้เกดิ ผลไดจ้ ริงอีกด้วย (พนั ธุ์อาจ ชัยรตั น์ , Xaap.com) คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คานี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก คากริยาว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปล่ียนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมา พบว่าคานมี้ คี วามหมายคลาดเคล่ือน จึงเปล่ียนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนา สิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการท่ีทาอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้น ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือ กจิ การใด ๆ กต็ าม เมื่อมีการนาเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใชเ้ พื่อปรับปรงุ งานให้ดีข้ึนกว่าเดิมก็เรียกได้ ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานาเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สาหรับผู้ที่กระทา หรือนาความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้น้ี เรียกว่าเป็น “นวตั กร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนาวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว เร่ิมต้ังแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึง นาไปปฏิบตั จิ รงิ ซึง่ มคี วามแตกตา่ งไปจากการปฏบิ ตั เิ ดมิ ที่เคยปฏบิ ตั มิ า (boonpan edt01.htm) มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทาให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง(Renewal) ซ่ึง หมายถึง การปรับปรุงส่ิงเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การน้ัน ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา (boonpan edt01.htm) ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถึง วิธีการปฎิบัติใหม่ๆ ท่ีแปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ข้ึนมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้

2 เหมาะสมและส่ิงท้ังหลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นท่ีเช่ือถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทาให้ระบบกา้ วไปสจู่ ุดหมายปลายทางได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพข้ึน จรูญ วงศส์ ายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสาเร็จ หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามท่ีเป็นไปเพ่ือจะนาสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการท่ีทาอยู่เดิมแล้ว กับอีก ระดับหนึง่ ซง่ึ วงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงท่ีมา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มี อยู่ต่อกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง คาว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง ส่ิงที่ได้นาความเปล่ียนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ ผลสาเร็จและแผก่ ว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏบิ ัตอิ ยา่ งธรรมดาสามัญ (บญุ เกอื้ ควรหาเวช , 2543) นวัตกรรม แบ่งออกเปน็ 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation)หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development)มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทาอยู่ในลักษณะของโครงการ ทดลองปฏิบตั กิ อ่ น (Pilot Project) ระยะที่ 3 การนาเอาไปปฏบิ ัตใิ นสถานการณท์ ่ัวไป ซ่งึ จัดว่าเปน็ นวตั กรรมขั้นสมบูรณ์ องค์ประกอบของนวตั กรรม 1. เป็นสงิ่ ใหม่ 2. เนน้ ใช้ความรู้ความคดิ สรา้ งสรรค์ 3. เป็นประโยชน์ ตอ้ งตอบได้ว่าสิง่ ทีเ่ ราสร้างเปน็ อย่างไร 4. เปน็ ทีย่ อมรับ 5. มีโอกาสในการพัฒนา

3 นวตั กรรมมี 4 ประเภท 1. product innovation : การเปลย่ี นแปลงในผลิตภัณฑ์หรือบรกิ ารของ 2. Process innovation : การเปลีย่ นแปลงกระบวนการผลติ หรือกระบวน การนาเสนอผลิตภณั ฑ์ 3. Position innovation : การเปลยี่ นแปลงรปู แบบของสินคา้ หรือบรกิ ารเป็นการเปล่ยี นตาแหน่งของ ผลติ ภณั ฑ์ โดยการสร้างการรับร้แู ละความเขา้ ใจในผลิตภณั ฑ์ต่อลกู ค้า 4. Paradigm innovation : การมุ่งให้เกดิ นวัตกรรมท่เี ปล่ียนแปลงกรอบความคิด ความหมายของเทคโนโลยี ความเจริญในด้านต่างๆ ที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง ประดิษฐ์คิดค้นส่ิงต่างๆ โดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เม่ือศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นาออก เผยแพรใ่ ชใ้ นกิจการด้านต่างๆ ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพในกิจการต่างๆ เหล่านั้น และวิชาการที่ว่าด้วยการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่างๆ จึงเรียกกันว่า “วิทยาศาสตรป์ ระยุกต”์ หรอื นิยมเรยี กกนั ทั่วไปว่า “เทคโนโลยี” (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยี หมายถึงการใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นาเอา เทคโนโลยมี าใช้ เรยี กว่านักเทคโนโลยี (Technologist) (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ทว่ี ่าดว้ ยวธิ ีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนาวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้ สูงข้ึนเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (boonpan edt01.htm) สภาเทคโนโลยีทางการศกึ ษานานาชาติไดใ้ หค้ าจากดั ความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่าเป็นการ พัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนามาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้าง เสริมกระบวนการเรียนรขู้ องคนให้ดียิง่ ขน้ึ (boonpan edt01.htm) ดร.เปรื่อง กุมุท ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาว่า เป็นการขยายขอบข่ายของการใช้ส่ือการ สอน ใหก้ วา้ งขวางขน้ึ ทง้ั ในด้านบุคคล วัสดุเครื่องมือ สถานท่ี และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียนการสอน (boonpan edt01.htm) Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่เครื่องมือ แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทางาน อยา่ งเป็นระบบ ใหบ้ รรลุผลตามแผนการ (boonpan edt01.htm) นอกจากนี้เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเก่ียวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ท้ังน้ี เนื่องจากโสตทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเก่ียวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดังนั้นอุปกรณ์ในสมัยก่อนมักเน้นการใช้ ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คาว่าโสตทัศนอุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา มี ความหมายทีก่ ว้างกว่า ซ่งึ อาจจะพิจารณาจาก ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยีได้เปน็ 2 ประการ คอื 1. ความคิดรวบยอดทางวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ตามความคดิ รวบยอดน้ี เทคโนโลยีทางการศึกษาหมายถึง การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของส่ิงประดิษฐ์ เช่น เคร่ืองฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้สาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เครื่องมือเหล่าน้ี มักคานึงถึงเฉพาะการ ควบคุมให้เคร่ืองทางาน มักไม่คานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเร่ืองความแตกต่างระหว่าง บุคคล และการเลือกสื่อให้ตรงกับเน้ือหาวิชา ความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามความคิด รวบยอดนี้ ทาให้บทบาทของเทคโนโลยีทางการศึกษาแคบลงไป คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่านั้น ไม่รวมวิธีการ หรือปฏิกิริยาสัมพันธ์อื่น ๆ เข้าไปด้วย ซ่ึงตามความหมายนี้ก็คือ “โสตทัศนศึกษา” นัน่ เอง

4 2. ความคิดรวบยอดทางพฤตกิ รรมศาสตร์ เป็นการนาวิธกี ารทางจิตวทิ ยา มนษุ ยวิทยา กระบวนการกลุ่ม ภาษา การสื่อความหมาย การบริหาร เครื่องยนต์กลไก การรับรู้มาใช้ควบคู่กับผลิตกรรมทาง วทิ ยาศาสตร์และวิศวกรรม เพ่ือให้ผู้เรียน เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึนมิใช่ เพียงการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปด้วย มิใช่วัสดุ หรือ อปุ กรณ์ แต่เพยี งอยา่ งเดียว (boonpan edt01.htm) ในวงการศึกษาปจั จบุ ัน มสี ิง่ ที่เรียกวา่ นวตั กรรมทางการศึกษา หรอื นวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวน มาก บางอย่างเกิดข้ึนใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็น นวัตกรรม เนื่องจาก นวัตกรรมเหล่าน้ันยงั ไมแ่ พรห่ ลายเป็นท่ีรูจ้ กั ท่วั ไป ในวงการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษาต่างๆ ที่กล่าวถึงกันมากในปัจจบุ นั E-learning ความหมาย e-Learning เป็นคาท่ีใช้เรียกเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อ ภาษาไทยที่แน่ชัด และมีผู้นิยามความหมายไว้หลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คานิยาม E-Learning หรอื Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นาเสนอ เน้ือหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของส่ือมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคล่ือนไหว ภาพสามมิติฯลฯ”เช่นเดียวกับ คุณธิดาทิตย์ จันค่านา ท่ีให้ความ หมายของ e-learning หมายถึงการศึกษาที่เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ด้วยตัวเองเรียนรู้จะเป็นไปตาม ปัจจัยภายใต้ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ เรียนตามความรู้ความสามารถของผู้เรียนเอง และ การตอบสนองใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล(เวลาที่แต่ละบุคคลใช้ในการเรียนรู้)การเรียนจะกระทาผ่านสื่อ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้สอนจะนาเสนอข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียนได้ทาการศึกษาผ่านบริการ World Wide Web หรือเวปไซด์ โดยอาจใหม้ ปี ฏิสัมพันธ์ (สนทนา โต้ตอบ สง่ ขา่ วสาร) ระหวา่ งกัน จะที่มีการ เรียนรู้ ู้ ในสามรูปแบบคือ ผู้สอนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียนอีกคนหนึ่ง หรือผู้เรียนหน่ึงคนกับกลุ่มของผู้เรียน ปฏสิ ัมพันธน์ ส้ี ามารถ กระทา ผา่ นเคร่อื งมือสองลกั ษณะคอื 1. ) แบบ Real-time ได้แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ข้อความแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน หรือ สง่ ในลกั ษณะของเสยี ง จากบรกิ ารของ Chat room 2. ) แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผ่านทางบริการ อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard News-group เป็นตน้ ความหมายของ e-Learning ท่ีมีปรากฏอยู่ในส่วนคาถามที่ถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ) ในเวป www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ Technology-based Learning นน้ั คือการศึกษาที่อาศัยเทคโนโลยีมาเป็นส่วนประกอบที่ สาคัญ ความหมาย ของ e-Learning ครอบคลมุ กวา้ งรวมไปถึงระบบโปรแกรม และขบวนการที่ ดาเนินการ ตลอดจนถึงการศึกษา ที่ใช้ ้คอมพิวเตอร์เป็นหลักการศึกษาที่อาศัยWebเป็นเคร่ืองมือหลักการศึกษาจากห้องเรียนเสมือนจริง และ การศกึ ษาที่ใช้ การทางานร่วมกันของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่าน้ีมาจากลักษณะ ของการส่งเน้ือหาของบทเรียนผ่านทาง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมทั้งจากในระบบอินเทอร์เน็ต ระบบ เครือขา่ ยภายใน (Intranets) การ ถ่ายทอดผา่ นสัญญาณทีวี และการใช้ซีดีรอม อย่างไรก็ตาม e-Learning จะ มีความหมายในขอบเขต ที่แคบกว่าการศึกษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซึ่งจะรวมการเรียน โดยอาศัยการส่ง ขอ้ ความหรือเอกสารระหว่างกันและชั้นเรียนจะเกิดขึ้นในขณะท่ีมีการเขียนข้อความส่งถึงกัน การนิยามความหมายแก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี ความแตกต่างกัน ตามแต่องค์กร บุคคลและกลุ่มบุคคลแต่ละแห่งจะให้ความหมาย และคาดกันว่าคาว่า

5 e-Learning ที่มีการใช้มาตั้งแต่ปี คศ. 1998 ในที่สุดก็จะเปลี่ยนไปเ ป็น e-Learning เหมือนอย่าง กับที่มี เปลย่ี นแปลงคาเรยี กของ e-Business เม่อื กล่าวถึงการเรยี นแบบ Online Learning หรือ Web-based Learning ซงึ่ เปน็ ส่วนหน่ึง ของ Technology-based Learning n่ีมีการเรียนการสอนผ่านระบบอนิ เตอร์เนต อินทราเนต และ เอซ็ ทราเนต (Extranet) พบว่าจะมีระดบั การจดั การท่ีแตกต่างกันออกไป Online Learning ปกติจะ ประกอบด้วย บทเรียนที่มีข้อความและรูปภาพ แบบฝึกหัดแบบทดสอบ และบันทกึ การเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ (test score) และบนั ทึกความก้าวหน้าของการเรียน(bookmarks) แต่ถ้าเปน็ Online Learning ทส่ี ูงข้ึนอีก ระดบั หนงึ่ โปรแกรมของการเรียนจะประกอบด้วยภาพเคล่ือนไหว แบบ จาลอง ส่ือทีเ่ ป็นเสยี ง ภาพจากวดิ ีโอ กลุ่มสนทนาท้ังในระดบั เดียวกันหรอื ในระดับผรู้ ู้ ผู้มปี ระสบการณ์ ท่ีปรึกษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จดุ เช่อื มโยงไปยังเอกสารอ้างองิ ที่มีอยู่ ในบริการของเวป และการส่ือสารกับระบบทบ่ี นั ทึกผลการ เรียน เปน็ ต้น 1.2 นวัตกรรมทางการศึกษา ในประเดน็ ความหมาย แนวคดิ พนื้ ฐาน ประเภท ลักษณะ การพฒั นา ระยะของนวตั กรรม นวตั กรรมทางการศึกษา Educational Innovation เป็นคาศัพท์เทคโนโลยีการศึกษาซึ่งนักการศึกษาได้ใช้คาศัพท์บัญญัติ วิชาการ 2 ลักษณะ คือ นวัตกรรมการศึกษา และนวัตกรรมทางการศึกษา ในบทเรียนน้ี ใช้คาว่านวัตกรรม ทางการศกึ ษาด้วยเหตวุ า่ เปน็ คาท่สี ือ่ ความหมายได้อยา่ งชดั เจนและไดร้ ับความนยิ มใชใ้ นปัจจบุ นั

6 ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา “นวตั กรรมทางการศกึ ษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาส่ิงใหม่ซ่ึงอาจจะอยู่ในรูป ของความคิดหรือการกระทา รวมทงั้ สิ่งประดิษฐก์ ต็ ามเข้ามาใชใ้ นระบบการศกึ ษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปล่ียนแปลง สงิ่ ท่ีมอี ยู่เดิมให้ระบบการจดั การศึกษามปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ ทาใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดทิ ัศน์เชิงโตต้ อบ(Interactive Video) สือ่ หลายมติ ิ (Hypermedia) และอนิ เตอร์เนต็ เหล่านเี้ ปน็ ตน้ นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนาแนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับการพัฒนา ปรบั ปรุงหรอื ดัดแปลงให้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกบั การนามาใชใ้ นการจัดการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแกไ้ ขปัญหา เพ่มิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และกอ่ ให้เกิดความสาเร็จสูงสุดแก่ผู้เรียน อัญชลี โพธิ์ทอง และอปั ษรศรี ปลอดเปลย่ี ว (2542 : 9), อรนุช ลมิ ตศิริ (2543 : 3) แนวคดิ พ้ืนฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา ปัจจัยสาคัญท่ีมีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพื้นฐานทางการศึกษาที่ เปลี่ยนแปลงไป อันมีผลทาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาคัญๆ พอจะส รุปได้4 ประการ คือ 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ ความสาคัญในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้ มุง่ จัดการศกึ ษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดเจน ไดแ้ ก่ การจัดระบบหอ้ งเรยี นโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมที่เกิดข้ึนเพื่อ สนองแนวความคดิ พนื้ ฐานนี้ เช่น  การเรยี นแบบไม่แบง่ ช้ัน (Non-Graded School)  แบบเรียนสาเร็จรปู (Programmed Text Book)  เครื่องสอน (Teaching Machine)  การสอนเปน็ คณะ (TeamTeaching)  การจัดโรงเรยี นในโรงเรียน (School within School)  เครอ่ื งคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction) 2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเร่ิมเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซ่ึงเป็น พัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวจิ ยั ทางดา้ นจิตวิทยาการเรยี นรู้ ชใี้ ห้เห็นว่าความพร้อมในการเรียน เป็นส่ิงท่ีสร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่ เคยเช่ือกันว่ายาก และไม่เหมาะสมสาหรับเด็กเล็กก็สามารถนามาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมท่ีตอบสนอง แนวความคิดพ้นื ฐานนี้ได้แก่ ศูนยก์ ารเรยี น การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐาน ด้านน้ี เชน่  ศนู ย์การเรียน (Learning Center)  การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)  การปรับปรงุ การสอนสามชั้น (Instructional Development in 3 Phases) 3. การใช้เวลาเพือ่ การศกึ ษา แตเ่ ดิมมาการจัดเวลาเพอ่ื การสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย ความสะดวกเปน็ เกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเปน็ ช่วั โมง เท่ากันทกุ วชิ า ทกุ วนั นอกจากนัน้ ก็ยงั จัดเวลาเรียนเอาไว้ แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของ

7 แตล่ ะวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงส้ันๆ แต่สอนบ่อยคร้ัง การเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะใน โรงเรยี นเท่าน้นั นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานดา้ นนี้ เช่น  การจัดตารางสอนแบบยืดหยนุ่ (Flexible Scheduling)  มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)  แบบเรยี นสาเร็จรปู (Programmed Text Book)  การเรียนทางไปรษณยี ์ 4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทาให้มีส่ิง ต่างๆ ท่ีคนจะต้องเรียนรู้เพ่ิมขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง จาเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปัจจัยเก่ียวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมในดา้ นนี้ทเ่ี กิดขึ้น เช่น  มหาวิทยาลยั เปดิ  การเรียนทางวิทยุ การเรยี นทางโทรทัศน์  การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรยี นสาเรจ็ รูป  ชุดการเรยี น ประเภทของนวตั กรรมทางการศกึ ษา นวัตกรรมท่ีนามาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้ว และท่ีจะมีในอนาคตมีหลายประเภทข้ึนอยู่กับการประยุกต์ใช้ นวตั กรรมในด้าน ตา่ งๆ ซึ่งจะขอแนะนานวตั กรรมการศกึ ษา 5 ประเภทดงั น้ี 1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้อง ถ่ิน และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เพ่ือให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตร กิจกรรมและประสบการณ์ และหลกั สตู รท้องถิ่น 2. นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบ ใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและ สนบั สนนุ การเรยี นการสอน 3. นวัตกรรมสื่อการสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เครือข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ใน การผลติ สื่อการ เรยี นการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ท้ังการเรียนด้วยตนเอง การเรียนเป็นกลุ่ม และการเรียน แบบมวลชน ตลอดจนส่อื ทีใ่ ช้เพ่ือสนบั สนนุ การฝึกอบรมผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล เปน็ นวัตกรรมท่ีใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผล ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการ ประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรม์ าสนับสนุนการวดั ผล ประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ 5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการ บริหาร จัดการ เพ่ือการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษา ให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการ

8 เปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการ ฐานข้อมลู ในหน่วยงานสถานศกึ ษา การจาแนกนวัตกรรมตามประเภทของผู้ใช้ 1. นวัตกรรมทีเ่ ปน็ สอื่ สาหรบั ผู้สอน 2. นวัตกรรมท่ีเปน็ ส่ือสาหรบั ผู้เรยี น จาแนกตามลกั ษณะของนวตั กรรม 1. เทคนิควธิ กี าร 2. สอ่ื การเรยี นรูจ้ าแนกตามจดุ เน้นของนวตั กรรม 1. นวัตกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผลผลติ 2. นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ เทคนิค วิธกี าร และกระบวนการ 3. นวตั กรรมทเ่ี นน้ ท้งั ผลผลิต นักการศึกษาได้แบ่งประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษาตามจุดเน้นของการพัฒนาการจัดการศึกษา หลายลักษณะ วทุ ธิศกั ดิ์ โภชนกุ ลู (2550 : 8) อธบิ ายว่า นวัตกรรมทางการศึกษา แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ (1) นวัตกรรมทางดา้ นหลักสูตร เช่น หลักสูตรบรู ณาการ หลักสตู รรายบคุ คล หลักสูตรกิจกรรม และประสบการณ์ หลักสตู รท้องถ่ิน (2) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เช่น การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่ม สัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต กระบวนการ สร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสืบสอบ กระบวนการสร้างทักษะการคิดคานวณ การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบใช้ บทบาทสมมติ การสอนโดยใช้สถานการณจ์ าลอง การเรียนแบบสัญญาการเรียน การเรียนเป็นคู่ การเรียนเพ่ือ รอบรู้ การเรียนแบบรว่ มมือ เปน็ ตน้ (3) นวัตกรรมสื่อการสอน เช่น Computer Assisted Instruction (CAI), Web-based Instruction (WBI) Web-based Training (WBT) Virtual Classroom (VC) Web Quest Web Blog บทเรียนสาเร็จรูป บทเรียนโมดูล บทเรียนออนไลน์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน จุลบท ชุดสื่อประสม วีดิทัศน์ สไลดป์ ระกอบเสียง แผน่ โปร่งใส บตั รการเรียนรู้ บัตรกิจกรรม แบบฝึกทักษะ เกม เพลง เป็นตน้ (4) นวัตกรรมการประเมินผล เช่น การพัฒนาคลังข้อสอบ การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่าย คอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ นต็ การใช้บัตรสมาร์ทการ์ดเพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา การใช้คอมพิวเตอร์ ในการตดั เกรด (5) นวัตกรรมการบริหารจัดการ เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์ และบุคลากร ในสถานศึกษา ดา้ นการเงิน บัญชี พสั ดุ และครภุ ัณฑ์ มหาวทิ ยาลัยรังสติ (2549 : 1) กลา่ วว่า นวตั กรรมทางการศึกษาด้านการจัดการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอน สรา้ งหรือพฒั นาขน้ึ เพือ่ พัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขปัญหาการจัดการเรยี นรู้ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ (1) กิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้หรือเทคนิควิธีสอน (Instruction) เช่น บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการเรียนการสอน ชดุ ฝึก แบบฝึก แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นรปู แบบการสอน, กจิ กรรมการเรียนรู้, หรือ กระบวนการเรยี นรู้ ชดุ พฒั นาคุณลกั ษณะ เป็นต้น (2) สื่อการเรียนรู้หรือสิ่งประดิษฐ์ (Invention) เช่น สื่อประสม วีดิทัศน์ แบบจาลอง รปู ภาพ, แผ่นโปร่งใส, แผนภาพ เกมประดษิ ฐ์หรือเกมฝกึ ทักษะ เป็นต้น

9 สาหรับนวัตกรรมทางการศึกษาที่เก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ ประเภทกิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้และเทคนิควิธีสอน (Learning and Instruction) และประเภทส่ือการเรยี นรู้หรอื ส่งิ ประดษิ ฐ์ (Invention) - กระบวนการพฒั นานวัตกรรมทางการศึกษา - กระบวนการพฒั นานวตั กรรมทางการศกึ ษา แบ่งเปน็ 3 ข้ันตอนหลกั คอื (1) การประดิษฐ์คิดค้น เป็นขั้นตอนการศึกษาสภาพปัญหาและการคิดค้นเพื่อกาหนดรูปแบบ นวัตกรรมทใ่ี ชใ้ นการปรบั ปรงุ แก้ไขปญั หา โดยพจิ ารณาความเป็นไปไดต้ ามหลักการทเี่ กยี่ วข้อง (2) การสร้างและพัฒนานวัตกรรม เป็นขั้นตอนการจัดทานวัตกรรมตามรูปแบบท่ีกาหนด จากข้ันตอนท่ี 1 สาหรับวิธีพัฒนานวัตกรรมอาจทาได้หลายวิธี ซ่ึงวิธีที่ได้รับความนิยมและได้รับความเชื่อถือ คอื การทดลองเพอ่ื พสิ ูจนป์ ระสิทธภิ าพของนวตั กรรมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ (3) การยอมรับและนานวัตกรรมไปใช้ เป็นขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรมท่ีได้สร้างและ พัฒนาข้ึน และนานวัตกรรมนั้นไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์และ สภาพแวดลอ้ มปกติ นวตั กรรมทางการศึกษาที่สาคญั ของไทยในปจั จุบัน (2546) นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมีการ คิดและทาส่ิงใหม่อยู่เสมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ได้เรื่อยๆ สิ่งใดท่ีคิดและทามานานแล้ว ก็ถือว่าหมด “นวตั กรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็น การพฒั นาดัดแปลงมาจากของเดมิ ท่มี อี ยแู่ ล้ว ใหท้ ันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เม่ือนา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้ การทางานน้นั ได้ผลดีมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลสงู กวา่ เดมิ ท้งั ยงั ชว่ ย ประหยัดเวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย “นวตั กรรม” (Innovation) มรี ากศพั ท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาส่ิงใหม่ขึ้นมา ความหมาย ของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ใน รปู แบบใหม่ เพ่ือทาใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในสิ่งที่แตกต่างจากคนอ่ืน โดยอาศัยการ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดข้ึนรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่ แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดน้ีได้ถูกพัฒนาข้ึนมาในช่วงต้น ศตวรรษท่ี 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปท่ีการสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนา ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนาไปสู่การได้มาซ่ึง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ( Technological Innovation) เพื่อประโยชนใ์ นเชิงพาณชิ ยเ์ ปน็ หลกั นวัตกรรมยงั หมายถึงความสามารถในการเรียนรู้และนาไป ปฎบิ ัตใิ ห้เกิดผลไดจ้ รงิ อีกดว้ ย (พนั ธ์ุอาจ ชยั รัตน์ , Xaap.com) คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาท่ีค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คานี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก คากรยิ าวา่ innovate แปลวา่ ทาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมา พบว่าคาน้มี ีความหมายคลาดเคล่ือน จึงเปล่ียนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนา ส่ิงใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทาอยู่เดิม เพ่ือให้ใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้น ดังน้ันไม่ว่าวงการหรือ กิจการใด ๆ กต็ าม เมื่อมกี ารนาเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใชเ้ พื่อปรบั ปรงุ งานให้ดีข้ึนกว่าเดิมก็เรียกได้ ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการน้ัน ๆ เช่นในวงการศึกษานาเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา”

10 (Educational Innovation) สาหรับผู้ท่ีกระทา หรือนาความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น “นวัตกร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) เป้าหมายของเทคโนโลยีการศกึ ษา 1. การขยายพิสยั ของทรพั ยากรของการเรียนรู้ กลา่ วคือ แหลง่ ทรพั ยากรการเรียนรู้ มิไดห้ มายถึงแต่เพียง ตารา ครู และอุปกรณ์การสอน ที่โรงเรียนมีอยู่เท่าน้ัน แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ต้องการ ให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนจากแหล่งความรู้ที่กว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ครอบคลุม ถึงเรอ่ื งตา่ งๆ เชน่ o 1.1 คน คนเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่สาคัญซึ่งได้แก่ ครู และวิทยากรอ่ืน ซ่ึงอยู่นอก โรงเรยี น เชน่ เกษตรกร ตารวจ บรุ ษุ ไปรษณีย์ เป็นตน้ o 1.2 วัสดุและเคร่ืองมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่องวดิ ีโอเทป ของจรงิ ของจาลองส่งิ พมิ พ์ รวมไปถงึ การใช้ส่ือมวลชนต่างๆ o 1.3 เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมน้ันการเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเน้ือหา แก่ ผู้เรียนปัจจุบันน้ัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากท่ีสุด ครูเป็นเพียง ผ้วู างแผนแนะแนวทางเทา่ นน้ั o 1.4 สถานที่ อันได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบัติการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ม ท่ีทาการ รัฐบาล ภูเขา แม่น้า ทะเล หรอื สถานที่ใด ๆ ทช่ี ว่ ยเพิม่ ประสบการณ์ท่ีดีแก่ผู้เรยี นได้ 2. การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นักเรียนจะล้นช้ัน และกระจัดกระจาย ยากแก่การจัด การศึกษาตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิด หาวิธี

11 นาเอาระบบการเรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนท่ีจะใช้ครูสอนนักเรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรียน โปรแกรม’ ซ่ึงทาหน้าท่ีสอน ซ่ึงเหมือนกับครูมาสอน นักเรียนจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรียนด้วย ตนเองในรูปแบบเรยี นเปน็ เลม่ หรอื เคร่ืองสอนหรือสอ่ื ประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้าหรือเร็วก็ทาได้ ตามความสามารถของผู้เรียนแตล่ ะคน 3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือแก้ปัญหา เป็นวิธีการท่ีเป็น วิทยาศาสตร์ ท่ีเช่ือถือได้ว่าจะสามารถแก้ปัญหา หรือช่วยให้งานบรรลุเปูาหมาย ได้ เนื่องจาก กระบวนการของวิธีระบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรือของระบบ อย่างมีเหตุผล หาทางให้สว่ นต่าง ๆ ของระบบทางาน ประสานสัมพนั ธก์ นั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4. พัฒนาเครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา วัสดุและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษา หรือการเรียน การสอนปัจจุบันจะต้องมีการพัฒนา ให้มีศักยภาพ หรือขีดความสามารถในการทางานให้สูงย่ิงขึ้นไป อีก กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา แบ่งเป็น 3 ข้นั ตอนหลัก คอื (1) การประดิษฐ์คิดค้น เป็นขั้นตอนการศึกษาสภาพปัญหาและการคิดค้นเพื่อกาหนดรูปแบบ นวัตกรรมที่ใช้ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหา โดยพิจารณาความเป็นไปได้ตามหลักการที่เก่ียวข้อง (2) การสรา้ งและพัฒนานวตั กรรม เปน็ ข้ันตอนการจัดทานวัตกรรมตามรูปแบบท่ีกาหน จากขั้นตอน ที่ 1 สาหรับวิธีพัฒนานวัตกรรมอาจทาได้หลายวิธี ซึ่งวิธีที่ได้รับความนิยมและได้รับความเชื่อถือ คือ การทดลองเพอ่ื พิสูจน์ประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมในการแก้ปญั หาหรือพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ (3) การยอมรับและนานวัตกรรมไปใช้ เป็นขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรมท่ีได้สร้างและ พัฒนาข้ึน และนานวัตกรรมนั้นไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์และ สภาพแวดล้อมปกติ 1.3 นวัตกรรมทางการศึกษาในยุคปัจจบุ ัน นวัตกรรม เปน็ ความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซ่ึงนักวิชาการหรือผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการจะมีการ คดิ และทาส่ิงใหม่อยู่เสมอ ดังนั้น นวัตกรรมจึงเป็นสิ่งที่เกิดข้ึนใหม่ได้เรื่อยๆ ส่ิงใดที่คิดและทามานานแล้วก็ถือ ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีสิ่งใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีสิ่งท่ีเรียกว่า นวัตกรรมทาง การศึกษา หรือ นวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวนมาก บางอย่างเกิดข้ึนใหม่ บางอย่างมีการใช้มา หลายสบิ ปแี ล้ว แต่ก็ยงั คงถือว่าเป็นนวตั กรรม เนอื่ งจากนวตั กรรมเหล่านัน้ ยังไมแ่ พร่หลายเปน็ ที่รู้จักทั่วไปในวง การศึกษา ประเภทของการใชน้ วัตกรรมการศึกษาในประเทศไทย ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติท่ี เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราที่สาคัญ คือ มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับ กระบวนการเรยี นรูข้ องคนไทยและในมาตรา 22 \"การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ

12 เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองได้และถือว่า ผเู้ รียนมีความสาคัญทีส่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งสง่ เสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ\" การดาเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จได้ตามท่ีระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จาเป็นต้องทาการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ไข ปัญหาทางการศึกษาทัง้ ในรูปแบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ท่ีนามาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมที่นามาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้วและท่ีจะมีในอนาคตมี หลายประเภทขนึ้ อย่กู ับการประยุกต์ใช้นวตั กรรมในด้านต่างๆ ในท่ีนีจ้ ะขอกลา่ วคอื นวัตกรรม 5 ประเภท คือ 1. นวตั กรรมทางด้านหลกั สูตร 2. นวัตกรรมการเรียนการสอน 3. นวตั กรรมสอ่ื การสอน 4. นวตั กรรมการประเมนิ ผล 5. นวัตกรรมการบรหิ ารจัดการ 1. นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สตู ร นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถ่ินและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพ่ือให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก นอกจากนี้การพฒั นาหลักสตู รยงั มคี วามจาเป็นที่จะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญา ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและ วิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางท่ีต้องการ นวัตกรรม ทางดา้ นหลักสูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรดงั ตอ่ ไปน้ี 1.หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการใน สาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากองค์ ความร้ใู นสาขาตา่ งๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมอยา่ งมจี ริยธรรม 2.หลกั สตู รรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพ่ือการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนอง แนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึ่งจะต้องออกแบบระบบเพ่ือรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ด้านต่างๆ 3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพ่ือนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณ์การเรียนรจู้ ากการสบื คน้ ด้วยตนเอง เป็นต้น 4.หลักสูตรท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรท่ีต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น เพ่ือให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมส่ิงแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถ่ิน แทนที่ หลักสูตรในแบบเดมิ ทีใ่ ช้วิธกี ารรวมศนู ยก์ ารพัฒนาอยู่ในส่วนกลาง 2.นวัตกรรมการเรยี นการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการ เรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การ พัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน

13 ตวั อย่างนวตั กรรมทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอน ได้แก่ การสอนแบบศนู ย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรยี นรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่านเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ น็ต การวิจัยในชัน้ เรยี น ฯลฯ 3.นวัตกรรมสอ่ื การสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตส่ือการเรียนการ สอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ทง้ั การเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อที่ ใช้เพอื่ สนบั สนนุ การฝึกอบรม ผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ตวั อย่าง นวตั กรรมส่ือการสอน ได้แก่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) - มลั ติมเี ดีย (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชดุ การสอน (Instructional Module) - วีดที ัศนแ์ บบมีปฏสิ มั พนั ธ์ (Interactive Video) 4.นวัตกรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล เปน็ นวัตกรรมทใี่ ชเ้ ปน็ เครอื่ งมือเพือ่ การวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทาได้อย่าง รวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มา สนบั สนนุ การวดั ผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ ตวั อยา่ ง นวัตกรรมทางดา้ นการประเมินผล ได้แก่ - การพัฒนาคลงั ขอ้ สอบ - การลงทะเบียนผ่านทางเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอนิ เตอรเ์ น็ต - การใชบ้ ตั รสมารท์ การด์ เพอ่ื การใชบ้ รกิ ารของสถาบันศึกษา - การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการตดั เกรด - ฯลฯ 5.นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจ ของผ้บู รหิ ารการศกึ ษาให้มีความรวดเรว็ ทันเหตุการณ์ ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน หน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ใน สถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มีความ ปลอดภัยของขอ้ มูลสูง นอกจากน้ียังมีความเก่ียวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบญั ญัติ ท่เี ก่ยี วกับการจดั การศกึ ษา ซ่ึงจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นท่ีดี พอซึ่งผบู้ รหิ ารสามารถสืบคน้ ขอ้ มลู มาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานท่ีซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจาเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไป พร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทาเป็นกลุ่มเพ่ือให้สามารถนามาใช้ร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

14 นวตั กรรมทางการศกึ ษาต่างๆ ท่ีกล่าวถงึ กันมากในปจั จุบัน e-Learning หมายถึง การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning รูปแบบการเรียนการสอน ซ่ึงใช้การถ่ายทอดเน้ือหา(delivery methods) ผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม และใช้ รูปแบบการนาเสนอเน้ือหาสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนที่เราคุ้นเคยกันมา พอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรืออาจอยู่ในลักษณะ ทย่ี งั ไม่ค่อยเปน็ ท่ีแพรห่ ลายนกั เช่น การเรียนจากวดิ ีทศั น์ตามอธั ยาศัย (Video On-Demand) เปน็ ต้น อย่างไรก็ดี ในปัจจุบัน เม่ือกล่าวถึง e-Learning คนส่วนใหญ่จะหมายเฉพาะถึง การเรียนเนื้อหา หรือสารสนเทศซ่ึงออกแบบมาสาหรับการสอนหรือการอบรม ซึ่งใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการถา่ ยทอดเน้อื หา และเทคโนโลยีระบบการบรหิ ารจดั การการเรียนรู้ (Learning Management System) ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ของผู้เรียนและงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนจาก e-Learning น้ี สามารถศึกษาเน้ือหาในลักษณะออนไลน์ นอกจากนี้ เน้ือหาสารสนเทศของ e-Learning จะถูกนาเสนอโดย อาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)จากความหมายที่คนส่วนใหญ่นิยาม e-Learning น้ัน จาเป็นต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนว่า e-Learningไม่ใช่เพียงแค่การสอนในลักษณะเดิม ๆ และนาเอกสารการสอนมาแปลงให้อยู่ในรูปดิจิตัล และ นาไปวางไว้บนเว็บ หรือระบบบริหารจัดการการเรียนรู้เท่าน้ัน แต่ครอบคลุมถึง กระบวนการในการเรียนการ สอน หรือการอบรมท่ีใช้เครื่องมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้เกิดความยืดหยุ่นทางการเรียนรู้ (flexible learning) สนับสนุนการเรียนรู้ในลักษณะที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered) และการ เรียนในลักษณะตลอดชีวิต (life-long learning) ซึ่งอาศัยการเปล่ียนแปลงด้านกระบวนทัศน์ (paradigm shift) ของทั้งกระบวนการในการเรียนการสอนด้วย นอกจากน้ี e-Learning ไม่จาเป็นต้องเป็นการเรียน ทางไกลเสมอ คณาจารย์สามารถนาไปใช้ในลกั ษณะการผสมผสาน (blended) กบั การสอนในช้ันเรียนได้ ลักษณะสาคัญของ e-Learning ทดี่ ี ควรจะประกอบไปด้วยลกั ษณะสาคญั 4 ประการ ดังนี้ 1. ทุกเวลาทุกสถานท่ี (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรต้องช่วยขยายโอกาสใน การเขา้ ถึงเนื้อหาการเรียนร้ขู องผู้เรียนได้จริง ในท่ีน้ีหมายรวมถึง การท่ีผู้เรียนสามารถเรียกดูเน้ือหาตามความ สะดวกของผู้เรยี น เชน่ ผเู้ รียนมกี ารเขา้ ถึงเครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ี่เช่ือมต่อกบั เครือขา่ ยไดอ้ ย่างยืดหยนุ่ 2. มัลติมีเดีย (Multimedia) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนาเสนอเน้ือหาโดยใช้ประโยชน์ จากส่ือประสมเพ่ือช่วยในการประมวลผลสารสนเทศของผู้เรียนเพ่ือให้เกิดความคงทนในการจดจาและ/หรือ การเรยี นรู้ไดด้ ีขึ้น 3. การเชื่อมโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนาเสนอเน้ือหาในลักษณะที่ไม่ เป็นเชิงเส้นตรง กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเน้ือหาตามความต้องการ โดย e-Learning จะต้องจัดหาการ เช่ือมโยงท่ียืดหยุ่นแก่ผู้เรียน นอกจากนี้ยังหมายถึงการออกแบบให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามจังหวะ(pace) การเรียนของตนเองดว้ ย เช่น ผู้เรียนที่เรียนช้าสามารถเลือกเน้ือหาท่ีต้องการเรียนซ้าได้บ่อยคร้ังผู้เรียนท่ีเรียน ดสี ามารถเลือกทจ่ี ะขา้ มไปเรียนในเนอ้ื หาท่ีต้องการได้โดยสะดวก 4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนโต้ตอบ(มี ปฏิสัมพันธ)์ กับเนอื้ หา หรอื กับผู้อ่ืนได้ กล่าวคือ

15 1) e-Learning ควรต้องมีการออกแบบกิจกรรมซึ่งผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับเน้ือหา (InteractiveActivities) รวมท้ังมีการจัดเตรียมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความ เข้าใจดว้ ยตนเองได้ 2) e-Learning ควรต้องมีการจัดหาเคร่ืองมือในการให้ช่องทางแก่ผู้เรียนในการติดต่อส่ือสาร (Collaboration Tools) เพ่ือการปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผู้สอน วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ หรือเพ่ือน ๆ ร่วมช้ันเรียนโดยในส่วนของการโต้ตอบน้ี จะต้องคานึงถึงการให้ผลปูอนกลับที่ทันต่อเหตุการณ์ (ImmediateResponse) ซ่ึงอาจหมายถึง การที่ผู้สอนต้องเข้ามาตอบคาถามหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่าง สม่าเสมอและทันเหตุการณ์ รวมถึง การที่ e-Learning ควรต้องมีการออกแบบให้มีการทดสอบ การวัดผล และการประเมินผล ซ่ึงสามารถให้ผลปูอนกลับโดยทันทีแก่ผู้เรียน ไม่ว่าจะอยู่ในลักษณะของแบบทดสอบก่อน เรยี น (pre-test) หรอื แบบทดสอบหลังเรียน (posttest) กต็ าม องค์ประกอบของ e-Learning (Component of e-Learning) 1. เน้ือหา (Content) เน้ือหาเป็นองค์ประกอบสาคัญที่สุดสาหรับ e-Learning คุณภาพของการ เรยี นการสอนของ e-Learningและการที่ผู้เรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนในลักษณะนี้หรือไม่อย่างไร สิ่ง สาคัญที่สุดก็คอื เนอ้ื หาการเรียนซ่ึงผู้สอนได้จัดหาให้แก่ผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนมีหน้าที่ในการใช้เวลาส่วนใหญ่ศึกษา เนื้อหาด้วยตนเอง เพื่อทาการปรับเปลี่ยน (convert) เน้ือหาสารสนเทศท่ีผู้สอนเตรียมไว้ให้เกิดเป็นความรู้ โดยผ่านการคิดค้น วิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผลด้วยตัวของผู้เรียนเอง คาว่า “เนื้อหา” ในองค์ประกอบแรกของ e-Learning น้ี ไม่ได้จากัดเฉพาะส่ือการสอน และ/หรือ คอร์สแวร์ เท่าน้ัน แต่ยัง หมายถงึ ส่วนประกอบสาคัญอนื่ ๆ ที่ e-Learning จาเปน็ จะตอ้ งมีเพอ่ื ให้เน้อื หามคี วามสมบูรณ์ เช่น คาแนะนา การเรียน ประกาศสาคัญตา่ ง ๆ ผลปูอนกลบั ของผ้สู อน เป็นต้น 2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) องค์ประกอบท่ีสาคัญมาก เช่นกันสาหรับ e-Learning ได้แก่ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ซึ่งเป็นเสมือนระบบท่ีรวบรวมเครื่องมือซึ่ง ออกแบบไวเ้ พื่อใหค้ วามสะดวกแก่ผู้ใช้ในการจัดการกับการเรียนการสอนออนไลน์น่ันเอง ซ่ึงผู้ใช้ในที่น้ี แบ่งได้ เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผู้เรียน (students) ผู้ช่วยสอน(course manager) และผู้ที่จะเข้ามา ช่วยผู้สอนในการบริหารจัดการด้านเทคนิคต่าง ๆ (network administrator)ซ่ึงเคร่ืองมือและระดับของสิทธิ ในการเข้าใช้ทีจ่ ัดหาไว้ให้ก็จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่การใช้งานของแต่ละกลุ่ม ตามปรกติแล้ว เคร่ืองมือ ท่ีระบบบริหารจัดการการเรียนรูต้ ้องจัดหาไว้ให้กับผู้ใช้ ได้แก่ พื้นท่ีและเคร่ืองมือสาหรับการช่วยผู้เรียนในการ เตรยี มเน้ือหาบทเรียน พ้นื ที่และเคร่ืองมือสาหรับการทาแบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกับแฟูมข้อมูล ตา่ ง ๆ นอกจากนรี้ ะบบบริหารจดั การการเรียนรู้ที่สมบูรณ์จะจัดหาเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารไว้สาหรับผู้ใช้ ระบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เว็บบอร์ด(Web Board) หรือ แช็ท (Chat) บางระบบก็ยังจัดหาองคป์ ระกอบพิเศษอืน่ ๆ เพอื่ อานวยความสะดวกใหก้ บั ผูใ้ ช้ อีกมากมาย เชน่ การจัดใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเข้าดูคะแนนการทดสอบ ดูสถติ กิ ารเขา้ ใชง้ านในระบบ การอนุญาตให้ ผ้ใู ช้สรา้ งตารางการเรยี น ปฏิทนิ การเรยี น เป็นตน้ 3. โหมดการติดต่อส่ือสาร (Modes of Communication) องค์ประกอบสาคัญของ e-Learning ท่ี ขาดไม่ได้อีกประการหน่ึง ก็คือ การจัดให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้สอน วิทยากร ผู้เชี่ยวชาญอื่น ๆ รวมท้ังผู้เรียนด้วยกัน ในลักษณะที่หลากหลาย และสะดวกต่อผู้ใช้ กล่าวคือ มีเคร่ืองมือที่จัดหาไว้ให้ผู้เรียน ใช้ได้มากกว่า 1 รูปแบบ รวมท้ังเคร่ืองมือนั้นจะต้องมีความสะดวกในการใช้งาน (user-friendly) ด้วย ซึ่ง เครอื่ งมอื ที่ e-Learning ควรจัดหาให้ผู้เรียน ได้แก่

16 3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร์ ในท่ีน้ี หมายถึง การประชุมทางคอมพิวเตอร์ท้ังในลักษณะ ของการติดต่อส่ือสารแบบต่างเวลา(Asynchronous) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อความผ่านทางกระดานข่าว อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรือ ทีร่ จู้ ักกันในชอื่ ของเว็บบอร์ด (Web Board) เปน็ ต้น หรือในลักษณะของการติดต่อสื่อสาร แบบเวลาเดียวกัน(Synchronous) เช่น การสนทนาออนไลน์ หรือที่คุ้นเคยกันดีในชื่อของ แช็ท (Chat) และ ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดให้มีการถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast / Videoconference) ผา่ นทางเวบ็ เป็นต้น ในการนาไปใช้ดาเนนิ กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถเปิด สัมมนาในหวั ข้อท่ีเก่ยี วข้องกับเน้ือหาในคอร์ส ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของการบรรยาย การสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ การ เปิดอภิปรายออนไลน์ เป็นต้น 3.2 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบสาคัญเพ่ือให้ ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้สอนหรือผู้เรียนอ่ืน ๆ ในลักษณะรายบุคคล การส่งงานและผลปูอนกลับให้ ผู้เรียน ผู้สอนสามารถให้คาแนะนาปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ท้ังน้ีเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนอย่างต่อเน่ือง ท้ังนี้ผู้สอนสามารถใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใน การให้ความคิดเหน็ และผลปูอนกลับท่ที นั ต่อเหตุการณ์ 4. แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ องค์ประกอบสุดท้ายของ e-Learning แต่ไม่ได้มีความสาคัญน้อยท่ี สดุ แต่อย่างใด ไดแ้ ก่ การจดั ให้ผเู้ รยี นไดม้ ีโอกาสในการโต้ตอบกับเนื้อหาในรูปแบบของการทาแบบฝึกหัด และ แบบทดสอบความรู้ 4.1 การจัดให้มีแบบฝึกหัดสาหรับผู้เรียน เนื้อหาที่นาเสนอจาเป็นต้องมีการจัดหาแบบฝึกหัด สาหรับผู้เรียนเพื่อตรวจสอบความเข้าใจไว้ด้วยเสมอ ทั้งน้ีเพราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซ่ึง เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนั้นผู้เรียนจึงจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีแบบฝึกหัดเพ่ือการ ตรวจสอบวา่ ตนเข้าใจและรอบรูใ้ นเร่อื งที่ศกึ ษาด้วยตนเองมาแล้วเป็นอยา่ งดีหรือไม่ อย่างไร การทาแบบฝึกหัด จะทาให้ผ้เู รยี นทราบไดว้ ่าตนนน้ั พรอ้ มสาหรับการทดสอบ การประเมินผลแล้วหรอื ไม่ 4.2 การจัดให้มีแบบทดสอบผู้เรียน แบบทดสอบสามารถอยู่ในรูปของแบบทดสอบก่อนเรียน ระหวา่ งเรยี น หรอื หลังเรยี นกไ็ ด้ สาหรับ e-Learning แลว้ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทาให้ผู้สอนสามารถ สนับสนุนการออกข้อสอบของผู้สอนได้หลากหลายลักษณะ กล่าวคือ ผู้สอนสามารถออกแบบการประเมินผล ในลักษณะของ อัตนัย ปรนัย ถูกผิด การจับคู่ ฯลฯ นอกจากน้ียังทาให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายในการสอบ เพราะผู้สอนสามารถท่ีจะจัดทาข้อสอบในลักษณะคลังข้อสอบไว้เพ่ือเลือกในการนากลับมาใช้ หรือปรับปรุง แก้ไขใหม่ได้อย่างง่ายดาย นอกจากน้ีในการคานวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยังสามารถช่วยให้การ ประเมินผลผู้เรยี นเป็นไปได้อย่างสะดวก เนื่องจากระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ จะช่วยทาให้การคิดคะแนน ผู้เรียน การตัดเกรดผู้เรียนเป็นเร่ืองง่ายขึ้นเพราะระบบจะอนุญาตให้ผู้สอนเลือกได้ว่าต้องการท่ีจะประเมินผล ผู้เรียนในลักษณะใด เช่น อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ หรือใช้สถิติในการคิดคานวณในลักษณะใด เช่น การใช้ค่าเฉล่ีย ค่า T-Score เป็นต้น นอกจากน้ียังสามารถที่จะแสดงผลในรูปของกราฟได้อีกด้วย ข้อได้เปรียบ และข้อจากัด ของ e-Learning (advantage of e-Learning)

17 ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการนา e-Learning ไปใช้ในการเรยี นการสอนมี ดังน้ี 1. e-Learning ช่วยให้การจดั การเรยี นการสอนมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขนึ้ เพราะการถ่ายทอดเนื้อหา ผ่านทางมัลติมีเดียสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนจากส่ือข้อความเพียงอย่างเดียว หรือ จากการสอนภายในห้องเรียนของผู้สอนซึ่งเน้นการบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk แต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ใช้ส่ือใด ๆ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับ e-Learning ที่ได้รับการออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ e-Learning สามารถช่วยทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า ในเวลาท่ีเร็วกว่า นอกจากน้ียังเป็นการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้เป็นอย่างดี เพราะผู้สอนจะสามารถ ใช้ e-Learning ในการจัดการเรยี นการสอนที่ลดการบรรยาย (lecture)ได้ และสามารถใช้ e-Learning ในการ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (autonomous learning) ไดด้ ีย่งิ ขน้ึ 2. e-Learning ช่วยทาให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้ อย่างละเอียดและตลอดเวลา เนื่องจาก e-Learning มีการจัดหาเครื่องมือท่ีสามารถทาให้ผู้สอนติดตามการ เรียนของผูเ้ รยี นได้ 3. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ เนื่องจากการนาเอา เทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกต์ใช้ ซึ่งมีลักษณะการเชื่อมโยงข้อมูลไม่ว่าจะเป็นในรูปของข้อความ ภาพนิ่ง เสียงกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ที่เก่ียวเน่ืองกันเข้าไว้ด้วยกันในลักษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Non- Linear) ทาให้ Hypermedia สามารถนาเสนอเน้ือหาในรูปแบบใยแมงมุมได้ ดังนั้นผู้เรียนจึงสามารถเข้าถึง ข้อมูลใดกอ่ นหรือหลังกไ็ ด้ โดยไม่ต้องเรียงตามลาดับ และเกดิ ความสะดวกในการเขา้ ถงึ ของผู้เรียนอีกดว้ ย 4. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามจังหวะของตน (Self-paced Learning) เนอ่ื งจากการนาเสนอเน้อื หาในรูปแบบของ Hypermedia เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของ ตนในด้านของลาดับการเรียนได้ (Sequence) ตามพ้ืนฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถ ทดสอบทักษะตนเองก่อนเรียนได้ทาให้สามารถช้ีชัดจุดอ่อนของตน และเลือก เนือ้ หาให้เข้ากบั รปู แบบการเรยี นของตัวเอง เช่นการเลอื กเรยี นเน้ือหาเฉพาะบางส่วนที่ต้องการทบทวนได้ โดย

18 ไมต่ อ้ งเรยี นในสว่ นท่เี ขา้ ใจแล้ว ซ่ึงถือวา่ ผูเ้ รียนได้รับอสิ ระในการควบคมุ การเรียนของตนเอง จึงทาให้ผู้เรียนได้ เรยี นรูต้ ามจังหวะของตนเอง 5. e-Learning ช่วยทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน และกับเพ่ือน ๆ ได้ เน่ืองจาก e-Learning มีเคร่ืองมือต่าง ๆ มากมาย เช่น Chat Room, Web Board, E-mail เป็นต้น ท่ีเอ้ือต่อการ โต้ตอบ (Interaction) ที่หลากหลาย และไม่จากัดว่าจะต้องอยู่ในสถาบันการศึกษาเดียวกัน (Global Choice) นอกจากนนั้ e-Learning ท่ีออกแบบมาเป็นอย่างดีจะเอ้ือให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ เช่น การออกแบบเนื้อหาในลกั ษณะเกม หรอื การจาลอง เป็นตน้ 6. e-Learning ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ รวมท้ังเน้ือหาท่ีมีความทันสมัย และ ตอบสนองต่อเรื่องราวต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างทันที เพราะการท่ีเนื้อหาการเรียนอยู่ในรูปของข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ (Etext) ซ่ึงได้แก่ข้อความซ่ึงได้รับการจัดเก็บ ประมวลผล นาเสนอ และเผยแพร่ทาง คอมพิวเตอร์ทาให้มีข้อได้เปรียบส่ืออื่น ๆ หลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของความสามารถในการ ปรับปรุงเน้ือหาสารสนเทศให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการด้วยความสะดวกและรวดเร็ว และความคงทนของขอ้ มลู 7. e-Learning ทาให้เกิดรปู แบบการเรียนท่ีสามารถจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนในวงกว้างข้ึน เพราะผู้เรียนที่ใช้การเรียนลักษณะ e-Learning จะไม่มีข้อจากัดในด้านการเดินทางมาศึกษาในเวลาใดเวลา หนึ่งและสถานที่ใดสถานท่ีหน่ึง ดังนั้น e-Learning จึงสามารถนาไปใช้เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life- Long Learning) ได้ และยิ่งไปกว่าน้ันยังสามารถนา e-Learning ไปใช้เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนท่ีขาด โอกาสทางการศึกษาในระดับต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี โดยผู้เรียนไม่ว่าจะอยู่ท่ีใด ในเมือง หรือในชนบทสามารถ เข้ามาศึกษาเน้อื หาทไี่ ด้มาตรฐานเท่าเทียมกัน 8. e-Learning ทาให้สามารถลดต้นทนุ ในการจดั การศึกษานนั้ ๆ ได้ ในกรณีท่ีมีการจัดการเรียนการ สอนสาหรบั ผเู้ รยี นที่มีจานวนมาก และเปิดกว้างให้สถาบันอ่ืน ๆ หรือบุคคลทั่วไปเข้ามาใช้ e-Learning ได้ ซึ่ง จะพบว่าเม่อื ต้นทนุ การผลิต e-Learning เท่าเดิม แต่ปริมาณผเู้ รียนมปี รมิ าณเพ่มิ มากขึ้นหรือขยายวงกว้างการ ใช้ (Scalability) ออกไปก็เท่ากับเป็นการลดต้นทุนทางการศึกษาน่ันเอง สามารถศึกษาประโยชน์ในการลด ต้นทุนของ e-Learning ได้จากรูปท่ี 6 ด้านล่าง ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เม่ือจานวนของผู้เรียนที่เข้ามาเรียนด้วย e - Learning มีจานวนมากขึ้น ๆ อัตราการลงทุนของการศึกษาจะมากขึ้นไม่มากนักและเป็นอัตราท่ีน้อยกว่า อัตราการลงทนุ เมื่อจดั การเรยี นการสอนแบบปรกติ ข้อจากดั 1. ผู้สอนท่ีนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะของสื่อเสริม โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเลย กล่าวคือ ผู้สอนยังคงใช้แต่วิธีการบรรยายในทุกเนื้อหา และส่ังให้ผู้เรียนไปทบทวนจาก e-Learning หาก e-Learning ไมไ่ ดอ้ อกแบบให้จงู ใจผ้เู รียนแลว้ ผเู้ รยี นคงใช้อยู่พักเดียวก็เลิกไปเพราะไม่มีแรงจูงใจใด ๆ ในการ ใช้ e-Learning ก็จะกลายเปน็ การลงทุนทไ่ี ม่ค้มุ คา่ แต่อยา่ งใด 2. ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เน้ือหาแก่ผู้เรียน มาเป็น (facilitator) ผู้ช่วยเหลือและให้คาแนะนาต่าง ๆ แก่ผู้เรียน พร้อมไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง จาก e-Learning ทั้งนี้ หมายรวมถึง การท่ีผู้สอนควรมีความพร้อมทางด้านทักษะคอมพิวเตอร์และรับผิดชอบ ต่อการสอนมคี วามใสใ่ จกบั ผู้เรียนโดยไมท่ ิง้ ผเู้ รียน 3. การลงทุนในด้านของ e-Learning ต้องครอบคลุมถึงการจัดการให้ผู้สอนและผู้เรียนสามารถ เขา้ ถึงเน้ือหาและการติดตอ่ สอื่ สารออนไลน์ได้สะดวก สาหรับ e-Learning แล้ว ผู้สอนหรือผู้เรียนที่ใช้รูปแบบ การเรียนในลักษณะนี้จะต้องมีสิ่งอานวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ในการเรียนที่พร้อมเพรียงและมี

19 ประสิทธิภาพ เช่น ผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ และสามารถเรียกดูเน้ือหาโดยเฉพาะ อย่างย่ิงในลักษณะมัลติมีเดีย ได้อย่างครบถ้วน ด้วยความเร็วพอสมควร เพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบใน การติดต่อสื่อสารและการเข้าถึงเนื้อหาได้สะดวก รวมท้ังข้อได้เปรียบส่ืออ่ืน ๆ ในลักษณะในการนาเสนอ เน้ือหา เชน่ มลั ตมิ ีเดยี แลว้ น้นั ผู้เรียนและผู้สอนก็อาจไมเ่ ห็นความจาเปน็ ใด ๆ ท่ีตอ้ งใช้ e-Learning 4. การออกแบบ e-Learning ที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน เช่น ผู้เรียนระดับอุดมศึกษาใน บ้านเราซ่ึงส่วนใหญ่อยู่ในวัยรุ่น e-Learning จะต้องได้รับการออกแบบตามหลักจิตวิทยาการศึกษา กล่าวคือ จะตอ้ งเนน้ ใหม้ กี ารออกแบบใหม้ กี จิ กรรมโตต้ อบอยู่ตลอดเวลา ไม่วา่ จะเปน็ กบั เน้อื หาเอง กบั ผู้เรียนอ่ืน ๆ หรือ กับผู้สอนก็ตาม นอกจากน้ันแล้ว การออกแบบการนาเสนอเน้ือหาทางคอมพิวเตอร์ นอกจากจะต้องเน้นให้ เนื้อหามีความถูกต้องชัดเจน ยังคงจะต้องเน้นให้มีความน่าสนใจ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ ตัวอย่างเช่น การออกแบบนาเสนอโดยใช้มัลติมีเดีย รวมท้ัง การนาเสนอในลักษณะ non-linear ซ่ึงผู้เรียน สามารถเลอื กทจี่ ะเรยี นเนอ้ื หาก่อนหลังไดต้ ามความต้องการ 5. ในการท่ี e-Learning จะสง่ ผลต่อประสิทธผิ ลของการเรียนรูข้ องผ้เู รยี นได้นั้น ส่ิงสาคัญได้แก่ การ ท่ผี ู้เรียนจะต้องร้จู ักวธิ ีการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (self-Learning) อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน จึงจาเป็นท่ีจะต้องมี การสนับสนุน และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างวินัยในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (selfdiscipline)รวมท้ังตระหนักถึงความสาคัญในการสร้างเสริมลักษณะนิสัย ใฝุเรียน ใฝุรู้ รู้จักวิธีการ เลือกสรรประเมิน รวบรวมสารสนเทศ รวมทั้งรู้จักการจัดระเบียบ (organize) วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการ นาเสนอสารสนเทศตามความเขา้ ใจของตนเอง ระดับของสื่อสาหรับ e-Learning (Level of media for e-Learning) สาหรับ e-Learning แล้ว การถา่ ยทอดเนื้อหาสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ลกั ษณะด้วยกัน กล่าวคอื 1. ระดับเน้นข้อความออนไลน์ (Text Online) หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดับนี้จะอยู่ ในรูปของขอ้ ความเปน็ หลัก e-Learning ในลักษณะน้ีจะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBI) ซึ่งเน้นเนื้อหาที่เป็น ข้อความ ตัวอักษรเป็นหลัก ซึ่งมีข้อดี ก็คือการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตเน้ือหาและการบริหาร จดั การการเรยี นรู้ 2. ระดับรายวิชาออนไลน์เชิงโต้ตอบและประหยัด (Low Cost Interactive Online Course) หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพ เสียง และวิดีทัศน์ ที่ผลิตข้ึนมา อยา่ งงา่ ย ๆ ประกอบการเรียนการสอน e-Learning ในระดับหนงึ่ และสองนี้ ควรจะต้องมีการพัฒนา LMS ท่ีดี เพอ่ื ช่วยผ้ใู ชใ้ นการสร้างและปรบั เนื้อหาให้ทันสมยั ไดอ้ ย่างสะดวกดว้ ยตนเอง 3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูง (High Quality Online Course) หมายถึง เนื้อหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยู่ในรูปของมัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ กล่าวคือ การผลิตต้องใช้ทีมงานในการ ผลิตทป่ี ระกอบด้วย ผเู้ ช่ยี วชาญเนอื้ หา (content experts) ผู้เชี่ยวชาญการออกแบบการสอน (instructional designers) และ ผเู้ ชย่ี วชาญการผลิตมัลติมีเดยี (multimedia experts) ซึ่งหมายรวมถึง โปรแกรมเมอร์ (programmers) นักออกแบบกราฟิก (graphic designers) และ/หรือผู้เช่ียวชาญในการผลิต แอนิเมช่ัน (animation experts) e-Learning ในลักษณะน้ีจะต้องมีการใช้เครื่องมือ หรือโปรแกรมเฉพาะ เพิ่มเติมสาหรับทั้งในการผลิตและเรียกดูเน้ือหาด้วย ตัวอย่างโปรแกรมในการผลิต เช่น Macromedia Flash และ ตัวอย่างโปรแกรมเรียกดูเน้ือหา เช่น โปรแกรม Macromedia Flash Player และ โปรแกรม Real Player Plusเปน็ ตน้

20 ระดบั ของการนา e-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน การนา e-Learning ไปใชใ้ นการเรียนการสอน สามารถทาได้ 3 ระดับ ดังนี้ 1. ใช้ e-Learning เป็นส่ือเสริม (Supplementary) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะ ส่ือเสริม กล่าวคือ นอกจากเน้ือหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษาเน้ือหา เดียวกันนี้ในลักษณะอื่น ๆ เช่น จากเอกสาร(ชีท) ประกอบการสอน จากวิดีทัศน์ (Videotape) ฯลฯ การใช้ e-Learning ในลักษณะน้ีเท่ากับว่าผู้สอนเพียงต้องการใช้ e-Learning เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสาหรับผู้เรียนใน การเข้าถึงเน้ือหาเพื่อใหป้ ระสบการณ์พเิ ศษเพิ่มเติมแก่ผูเ้ รียนเท่าน้ัน 2. ใช้ e-Learning เป็นสื่อเติม (Complementary) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะ เพิม่ เตมิ จากวธิ ีการสอนในลักษณะอื่น ๆ เช่น นอกจากการบรรยายในห้องเรียนแล้ว ผู้สอนยังออกแบบเน้ือหา ให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเน้ือหาเพ่ิมเติมจาก e-Learning โดยเน้ือหาที่ผู้เรียนเรียนจาก e-Learning ผู้สอนไม่ จาเป็นต้องสอนซ้าอีก แต่สามารถใช้เวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเน้ือหาท่ีเข้าใจได้ยาก ค่อนข้างซับซ้อน หรอื เป็นคาถามทม่ี คี วามเขา้ ใจผดิ บ่อย ๆ นอกจากน้ี ยงั สามารถใช้เวลาในการทากจิ กรรมทเ่ี น้นให้ผู้เรียนได้เกิด การคดิ วเิ คราะห์แทนได้ ในความคิดของผู้เขียนแล้วในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของเรา เม่ือได้มีการลงทุนในการ นา e-Learning ไปใช้กับการเรียนการสอนแล้วอย่างน้อยควรต้ังวัตถุประสงค์ในลักษณะของสื่อเติม (Complementary) มากกว่าแค่เพียงเป็นสื่อเสริม(Supplementary) เพ่ือให้เกิดความคุ้มทุน นอกจากน้ีอาจ ยังไม่เหมาะสมที่จะใช้ในลักษณะแทนท่ีผู้สอน (Replacement) ตัวอย่างการใช้ในลักษณะสื่อเติม เช่น ผู้สอน มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองจาก e-Learning ในวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งก่อนหรือ หลังการเข้าช้นั เรียน รวมทัง้ ให้กาหนดกิจกรรมท่ีทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาดังกล่าวใน session การเรียนตามปรกติ เป็นต้น ท้ังนี้เพ่ือให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียนของเรา ซึ่งยังต้องการคาแนะนาจาก ครผู ูส้ อน รวมทงั้ การทผ่ี เู้ รียนสว่ นใหญ่ยังขาดการปลูกฝงั ใหม้ คี วามใฝุรโู้ ดยธรรมชาติ 3. ใช้ e-Learning เป็นสื่อหลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะแทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเน้ือหาท้ังหมดออนไลน์ และโต้ตอบกับ เพื่อนและผู้เรียนอื่น ๆ ในช้ันเรียนผ่านทางเครื่องมือติดต่อสื่อสารต่าง ๆ ที่ e- Learning จัดเตรียมไว้ ใน ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการนา e-Learning ไปใช้ในต่างประเทศจะอยู่ในลักษณะlearning through technology ซ่ึงหมายถึง การเรียนรู้โดยมุ่งเน้นการเรียนในลักษณะมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น ผู้สอน ผู้เรียน และผู้เช่ียวชาญอ่ืน ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนาเสนอเน้ือหา และกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งต้องการการโต้ตอบผ่านเครื่องมือส่ือสารตลอด โดยไม่เน้นทางด้านของการเรียนรู้ รายบุคคลผ่านส่ือ (courseware) มากนัก ในขณะที่ในประเทศไทยการใช้ e-Learning ในลักษณะสื่อหลัก เช่นเดียวกับต่างประเทศน้ัน จะอยู่ในวงจากัด แต่การใช้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นในลักษณะของ learning with technology ซ่ึงหมายถึง การใช้ e-Learning เป็นเสมือนเคร่ืองมือทางเลือกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความ กระตอื รือรน้ สนกุ สนาน พรอ้ มไปกบั การเรียนรู้ในช้นั เรยี น m-Learning m-Learningหรือ Mobile-Learning หลกั การกค็ อื ทาใหผ้ ูเ้ รียนสามารถทจ่ี ะนาเอาบทเรียนมาวางไว้ บนมือถือและเรียกดูได้ตลอดเวลาทุกท่ี พร้อมทั้ง สามารถที่จะรับส่งข้อมูลได้เม่ือจาเป็นและมีสัญญาณจาก เครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากนั้น จะต้องสามารถทางานได้ทั้งสองทาง เปลี่ยนแปลงบทเรียนส่งการบ้าน หรือวิเคราะห์คะแนนจาก แบบฝึกหัดได้เช่นกัน การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการ สอนที่อาศัยส่ือหลายๆชนิดผสมผสานกัน ตั้งแต่ด้านเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณ์ที่ เหมาะสมเพอ่ื สร้างรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับ กลุ่มเปูาหมาย Global learning บทเรียนใน

21 รูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคล่ือนไหว ทาให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทาความเข้าใจ เป็นสื่อการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิต ระบบ Online Learning เป็นการเรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซึ่งจะนาเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และตัวอกั ษร ทาให้ บทเรยี น มีความน่าสนใจ และง่าย ต่อการทาความเข้าใจ เน่ืองจากผู้เรียน Online Learning สามารถเรียนรู้ทุกเรื่องราวได้ทุกท่ีทุกเวลา จึงทาให้ Online Learning เป็นส่ือการเรียนรู้ ออนไลน์ สมบูรณ์แบบท่ีสอดคล้องกับ ความต้องการและวิถีชีวิต Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน E-Learning จะเปล่ียนไปเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) เป็นผู้ฝึก (Coach) เป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) และเป็นพ่ีเลี้ยง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะที่บทบาทของผู้เรียนจะ เปลยี่ นแปลง m-Learning m-Learningหรอื Mobile-Learning หลกั การกค็ ือทาใหผ้ เู้ รียนสามารถทีจ่ ะนาเอาบทเรียนมาวางไว้ บนมือถือและเรียกดูได้ตลอดเวลาทุกท่ี พร้อมท้ัง สามารถที่จะรับส่งข้อมูลได้เมื่อจาเป็นและมีสัญญาณจาก เครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากนั้น จะต้องสามารถทางานได้ท้ังสองทาง เปล่ียนแปลงบทเรียนส่งการบ้าน หรือวิเคราะห์คะแนนจาก แบบฝึกหัดได้เช่นกัน การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการ สอนที่อาศัยสื่อหลายๆชนิดผสมผสานกัน ตั้งแต่ด้านเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณ์ที่ เหมาะสมเพอ่ื สร้างรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับ กลุ่มเปูาหมาย Global learning บทเรียนใน รูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ทาให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทาความเข้าใจ เป็นสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิต ระบบ Online Learning เป็นการเรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซึ่งจะนาเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคล่อื นไหว และตวั อกั ษร ทาให้ บทเรยี น มีความน่าสนใจ และง่าย ต่อการทาความเข้าใจ เนื่องจากผู้เรียน Online Learning สามารถเรียนรู้ทุกเรื่องราวได้ทุกท่ีทุกเวลา จึงทาให้ Online Learning เป็นสื่อการเรียนรู้ ออนไลน์ สมบูรณ์แบบท่ีสอดคล้องกับ ความต้องการและวิถีชีวิต Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน E-Learning จะเปลี่ยนไปเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) เป็นผู้ฝึก (Coach) เป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) และเป็นพ่ีเลี้ยง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะที่บทบาทของผู้เรียนจะ เปลีย่ นแปลง ความหมายของ M – Learning การให้คาจากัดความของ Mobile Learning สามารถแยกพิจารณาได้เป็น 2 ส่วน จากราก ศัพท์ท่ี นามาประกอบกัน คอื 1. Mobile (Devices) หมายถือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หรือ โทรศัพท์มือถือ และเครื่องเล่น หรือ แสดงภาพท่พี กพาตดิ ตัวไปได้ 2. Learning หมายถึงการเรยี นรู้ เป็นการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมอนั เนือ่ งมาจากบุคคลปะทะ กับ สิ่งแวดล้อมจงึ เกดิ ประสบการณ์ การเรยี นรูเ้ กิดข้ึนได้เม่ือมกี ารแสวงหาความรู้ การพฒั นาความรู้ ความสามารถ ของบุคคลให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น รวมไปถึงกระบวนการสร้างความเข้าใจ และ ถ่ายทอดประสบการณ์ท่ีเป็น ประโยชน์ตอ่ บุคคล เม่ือพิจารณาจากความหมายของคาทั้งสองแล้วจะพบว่า Learning น่ันคือแก่นของM - learning เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งก็คล้ายกับ E – Learning ที่เป็นการใช้ เครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ เพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้

22 นอกจากนี้มผี ้ใู ชค้ านิยามของ M - Learning ดังตอ่ ไปน้ี ริว (Ryu, 2007) หัวหน้าศูนย์โมบายคอมพิวต้ิง (Centre for Mobile Computing) ที่ มหาวิทยาลัยแมสซี่ เมืองโอ๊คแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ ระบุว่า M- learning คือกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีเกิดขึ้น เม่อื ผเู้ รียนอยรู่ ะหวา่ งการเดินทาง ณ ท่ใี ดกต็ าม และเมือ่ ใดก็ตาม เก็ดส์ (Geddes, 2006) ก็ให้ความหมายว่า M- learning คือการได้มาซ่ึงความรู้และทักษะผ่านทาง เทคโนโลยีของเครือ่ งประเภทพกพา ณ ทใี่ ดก็ตาม และเมื่อใดก็ตาม ซ่งึ ส่งผลเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม วัตสัน และไวท์ (Watson & White, 2006) ผู้เขียนรายงานเร่ือง M- learning ในการศึกษา (mLearning in Education) เน้นว่า M- learning หมายถึงการรวมกันของ 2 P คือ เป็นการเรียนจาก เคร่ือง ส่วนตัว (Personal) และเป็นการเรยี นจากเครอ่ื งทีพ่ กพาได้ (Portable) การที% ดังน้นั จะบทสรุปได้ว่า นวัตกรรมทางการศึกษา เป็นการนาแนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ท่ีได้รับการพัฒนาให้มี ความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนามาใช้ในการจัดการศึกษาเพ่ือแก้ไขปัญหา เพ่ิมประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล และก่อให้เกดิ ความสาเร็จสงู สดุ แกผ่ ูเ้ รียน โดยท่ัวไป นวัตกรรมทางการศึกษาจัดแบ่งได้ 2 ระดับ คือ (1) ระดับหน่วยงานการศึกษา (หน่วยงานทางการศึกษา หรือ สถานศึกษา), (2) ระดับช้ันเรียน สาหรับนวัตกรรมทางการศึกษาที่เก่ียวกับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระดับช้ันเรียน แบ่งเป็น 2 ประเภทย่อย คือ ประเภทกิจกรรมการพัฒนาการ

23 เรียนรู้และเทคนิควิธีสอน (Learning and Instruction) และประเภทส่ือการเรียนรู้หรือสิ่งประดิษฐ์ (Invention) ซึ่งในปัจจบุ นั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ก้าวหน้าอย่าง ต่อเน่ืองส่งอิทธิพลอย่างเข้มข้นต่อการพัฒนานวัตกรรม นักการศึกษาและผู้ประกอบการทางการศึกษาจึง สร้างสรรค์นวตั กรรมเพ่ือลดข้อจากัดในการเรยี นรู้, สรา้ งโอกาสเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้, และเพิ่มความสาเร็จใน การเรียนรู้ อาทิ โปรแกรมสร้างแบบทดสอบ (Online Test), โปรแกรมแปลงรูปภาพเป็นอักษร OCR (Optical Character Recognition), โปรแกรมการประชมุ ทางไกล (Video Conference), โปรแกรมควบคุม คอมพิวเตอร์ระยะไกล (Remote Desktop Connection), โปรแกรมจัดการเอกสารร่วมกัน (Collaboration Tools), ฯลฯ ซ่งึ นวัตกรรมเหล่านี้ลว้ นเป็นเคร่อื งมือที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนอันทรงพลงั ทนี่ ักการศกึ ษาควรทาความรู้จักเพ่ือนาไปปรับใช้ในการออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษาและ อานวยความสะดวกในการเรียนรใู้ หก้ ับผ้เู รยี น

24 บทที่ 2 ความรเู้ บ้อื งตน้ เก่ยี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.1 ความหมายของสารสนเทศ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 (2546, หน้า 534) เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการท่ี นาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในทางปฏิบัติและอตุ สาหกรรม รุจิจนั ทร์ พริ ยิ ะสงวนพงศ์ ไดก้ ล่าวไวว้ า่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง ชดุ ของระบบคอมพิวเตอร์ ท่ีนา ใช้ภายในองค์กรหรืออีกนัยหน่ึงคือ เทคโนโลยีที่ประกอบไปด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล เครือข่าย โทรคมนาคม ใชเ้ พ่อื จุดประสงคด์ า้ นการแลกเปล่ียนขอ้ มลู และสารสนเทศ ไพบูลย์ เกียรติโกมล และณัฎฐพันธ์ เขจรนันทร์ ได้กล่าวไว้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีท่ีประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์ สนบั สนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศทม่ี กี ารวางแผน จดั การ และใช้งานรว่ มกันอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบด้วย ระบบคอมพิวเตอร์และการส่ือสาร โทรคมนาคม รวมท้ังอุปกรณ์สนับสนุนอื่นๆ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพและ อานวยความสะดวกในชีวิตประจาวันของมนษุ ย์ ซาเรซวิค และวูด (Saracevic and Wood 1981 : 10) ได้ให้คานิยามสารสนเทศไว้ 4 นิยามดังน้ี 1. Information is a selection from a set of available message, a selection which reduces uncertainty. สารสนเทศ คือ การเลือกสรรจากชุดของข่าวสารท่ีมีอยู่ เป็นการเลือกท่ีช่วยลดความไม่แน่นอน หรือกล่าวได้ว่า สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีได้มีเลือกสรรมาแล้ว (เป็นข้อมูลที่มีความแน่นอนแล้ว) จากกลุ่มของ ข้อมลู ทม่ี ีอยู่ 2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of conventions used in their presentation. สารสนเทศ คือ ความหมายที่มนุษย์ (สั่ง) ให้แก่ ข้อมูล ด้วยวิธีการนาเสนอท่ี เป็นระเบยี บแบบแผน 3. Information is the structure of any text-which is capable of changing the image- structure of a recipient. (Text is a collection of signs purposefully structured by a sender with the intention of changing the image-structure of recipient) สารสนเทศ คือ โครงสร้างของข้อความ ใดๆ ท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทาง จินตภาพ (ภาพลักษณ์) ของผู้รับ (ข้อความ หมายถึง ท่ีรวมของ สญั ลกั ษณ์ต่างๆ มีโครงสรา้ งทีม่ ี จุดม่งุ หมาย โดยผ้สู ง่ มเี ปูาหมายท่ีจะ เปล่ียนแปลงโครงสร้างทาง จินตภาพ (+ ความรสู้ กึ นึกคิด) ของผรู้ บั (สาร) 4. Information is the data of value in decision making. สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีมีค่าในการ ตดั สนิ ใจนอกจากน้นั ยังมีความหมายทีน่ ่าสนใจดงั นี้ สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีมีการปรับเปล่ียน (Convert) ด้วยการจัดรูปแบบ (Formatting) การกล่ันกรอง (Filtering) และการสรุป (Summarizing) ให้เป็นผลลัพธ์ที่มี รูปแบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ หรือวดี ิทศั น์) และเนื้อหาท่ีตรงกับ ความต้องการ และเหมาะสมตอ่ การนาไปใช้

25  สารสนเทศ คือ ตัวแทนของข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผล (Process) การจัดการ (Organized) และ การผสมผสาน (Integrated) ใหเ้ กดิ ความเข้าใจอยา่ งถอ่ งแท้ (Post 1997 : 7)  สารสนเทศ คอื ขอ้ มลู ทม่ี คี วามหมาย (Meaningful) หรือเป็นประโยชน์ (Useful) สาหรับบางคนที่จะ ใชช้ ว่ ยในการ ปฏิบัติงานและการจัดการ องค์การ (Nickerson 1998 : 11)  สารสนเทศ คอื ข้อมูลทม่ี คี วามหมาย (Schultheis and Sumner 1998 : 39)  สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีความหมายเฉพาะภายใต้บริบท (Context) ที่เก่ียวข้อง (Haag, Cummings and Dawkins 2000 : 20)  สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการปรับเปลี่ยน (Converted) มาเป็นสิ่งที่มีความ หมาย (meaningful) และเปน็ ประโยชน์ (Useful) กบั เฉพาะบคุ คล (O’Brien 2001 : 15)  สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผล หรือข้อมูลที่มีความหมาย (McLeod, Jr. and Schell 2001 : 12)  สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีได้รับการจัดระบบเพ่ือให้มีความหมายและมีคุณค่าสาหรับ ผู้ใช้ (Turban, McLean and Wetherbe 2001 : 7)  สารสนเทศ คือ ทร่ี วม (ชุด) ข้อเท็จจริงท่ีได้มีการจัดการแล้ว ในกรณีเช่น ข้อเท็จจริงเหล่านั้นได้มีการ เพมิ่ คณุ ค่า ภายใต้คณุ คา่ ของขอ้ เท็จจริงนัน้ เอง (Stair and Reynolds 2001 : 4)  สารสนเทศ คอื ข้อมลู ทีไ่ ดร้ บั การประมวลผล หรอื ปรงุ แตง่ เพือ่ ใหม้ คี วามหมาย และเป็นประโยชน์ต่อ ผใู้ ช้ (เลาว์ดอน และเลาวด์ อน 2545 : 6)  สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายต่อผู้รับ และมีคุณค่าอัน แท้จริง หรือ คาดการณ์ว่าจะมีค่าสาหรับการดาเนินงาน หรือการตัดสินใจใน ปัจจุบัน หรืออนาคต (ครรชติ มาลยั วงศ์ 2535 : 12)  สารสนเทศ คือ เร่ืองราว ความรู้ต่างๆ ท่ีได้จากการนาข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีการอย่างใดอย่าง หน่ึง และมี การผสมผสานความรู้ หรือหลักวิชาท่ีเกี่ยวข้อง หรือความคิดเห็น ลงไปด้วย (กัลยา อุดม วทิ ติ 2537 :3)  สารสนเทศ คือ ข้อความรู้ท่ีประมวลได้จากข้อมูลต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องในเรื่องนั้นจนได้ ข้อสรุป เป็น ข้อความรู้ท่ี สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเน้นที่การเกิดประโยชน์ คือความรู้ที่เกิดขึ้นเพ่ิมขึ้นกับ ผูใ้ ช้(สชุ าดา กีระนันท์ 2542 : 5)  สารสนเทศ คอื ข่าวสาร หรือการชแี้ จงข่าวสาร (ปทปี เมธาคณุ วุฒิ 2544 : 1)  สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ผ่านการวิเคราะห์ หรือสรุปให้อยู่ในรูปท่ีมีความหมายท่ี สามารถนาไป ใชป้ ระโยชนไ์ ดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ (จิตตมิ า เทียมบญุ ประเสริฐ 2544 : 4)  สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลดิบที่ถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ ท่ีสามารถ นาไป ประกอบการทางาน หรือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ทาให้ผู้บริหารสามารถแก้ไข ปัญหา หรือทางเลือกในการ ดาเนิน งานอย่างมีประสิทธิภาพ (ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกยี รติโกมล 2545 : 40)

26  สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดระบบแล้ว เพ่ือให้มีความหมายและ คุณค่า สาหรบั ผใู้ ช้ (ทิพวรรณ หลอ่ สุวรรณรัตน์ 2545 : 9)  สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ท่ีได้จากการประมวลผลของข้อมูลดิบ (Raw Data) ประกอบไปด้วย ข้อมูล ต่างๆ ท่ีเป็น ตัวอักษร ตัวเลข เสียง และภาพ ที่นาไปใช้สนับสนุนการ บริหารและการตัดสินใจของ ผ้บู รหิ าร (นภิ าภรณ์ คาเจริญ 2545 : 14) สรปุ สารสนเทศ คอื ขอ้ มูล ข่าวสาร ข่าว ข้อเทจ็ จริง ความคิดเห็น หรือประสบการณ์ อยู่ในรูปแบบ ท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง สัญลักษณ์ หรือกล่ิน ท่ีถูกนามาผ่านกระบวนการ ประมวลผล ด้วยวิธีการท่ี เรียก ว่า กรรมวิธีจัดการข้อมูล (Data Manipulation) และผลที่ได้อาจแสดงผล ออกมาในรปู แบบของสื่อประเภทตา่ ง เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ แผนท่ี แผ่นใส ฯลฯ และเป็นผลลัพธ์ ที่ผู้ใช้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้อง ตรงและทันกับความต้องการหรือ สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่มี ความถูกต้อง ตรงตามต้องการ และทันต่อความต้องการของผู้ใช้ หรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง เป็นผลลัพธ์ท่ีได้มาจากการ นาข้อมูลมาประมวลผลด้วยกรรมวิธีจัดการข้อมูลหรือ สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่ได้มาจากการนาข้อมูลมา ประมวลผลดว้ ยกรรมวธิ ีจดั การข้อมูล ซึ่งจะตอ้ งเปน็ ผลลัพธท์ มี่ ี คุณสมบตั ิถกู ต้อง ตรงตามตอ้ งการ และทันต่อ ความตอ้ งการของผูใ้ ช้ หรือผ้ทู ีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2.2 ความสาคญั ของสารสนเทศ สารสนเทศแท้จริงแล้วย่อมมีความสาคัญต่อทุกสิ่งที่เก่ียวข้อง เช่น ด้านการเมือง การปกครอง ด้านการศกึ ษา ด้าน เศรษฐกจิ ดา้ นสังคม ฯลฯ ในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ทาให้ผู้บริโภคสารสนเทศเกิดความรู้ (Knowledge) และความเข้าใจ (Understanding) ในเร่ือง ดงั กลา่ ว ข้างตน้ 2. เม่ือเรารู้และเข้าใจในเร่ืองท่ีเก่ียวข้องแล้ว สารสนเทศจะช่วยให้เราสามารถตัดสินใจ (Decision Making) ใน เรอื่ งต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. นอกจากน้ันสารสนเทศ ยังสามารถทาให้เราสามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ที่เกิดขึ้นได้ อย่าง ถูกต้อง แมน่ ยา และรวดเร็ว ทนั เวลากบั สถานการณ์ต่างๆ ทีเ่ กดิ ขึ้น สารสนเทศได้กลายมาเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของคนในสังคมปัจจุบัน ในองค์กรต่างๆ สารสนเทศได้กลายเป็นทรัพย์สินอันมีค่า จนมีคากล่าวว่าสารสนเทศ คือ อานาจ (Information is power) ใครท่ีมีสารสนเทศมากก็จะสามารถควบคุมหรือต่อรองได้ ฝุายท่ีมีสารสนเทศมากกว่ามักจะได้เปรียบคู่แข่ง เสมอ จนอาจนาไปสู่ยคุ “ สงครามข้อมูลข่าวสาร ” ได้ ดงั นั้น สารสนเทศจงึ มีประโยชน์มากมาย เช่น ช่วยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย ช่วยแก้ปัญหา ช่วยวางแผนและการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง สารสนเทศจึงช่วยพัฒนาบุคคล ช่วยการปฏิบัติงาน ช่วยในการ ดาเนนิ ชวี ติ ซ่ึงส่งผลต่อการพัฒนาสังคมและประเทศ สารสนเทศจึงมีความสาคัญต่อบุคคล องค์กร และสังคม ดงั นี้

27 1 ความสาคัญของสารสนเทศต่อบุคคลและต่อองค์กร ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการดารงชีพ สารสนเทศมีบทบาท ตอ่ มนุษย์มากเกินกว่าท่ีบางคนตระหนักถงึ ในด้านการปฏิบัติงานและในการจัดการ สารสนเทศที่ถูกต้องนับเป็นองค์ประกอบสาคัญโดยเฉพาะ การแกป้ ญั หา การตดั สินใจ และการปฏิบตั ิงานใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคไ์ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2 ความสาคัญของสารสนเทศต่อสงั คม สารสนเทศมคี วามสาคัญต่อสงั คม 2 ด้าน คือ ดา้ นการปกครอง และด้านการพัฒนา ด้านการเมืองการปกครอง สารสนเทศจาเป็นต่อการดาเนินชีวิตและการตัดสินใจของประชาชนอัน เป็นพืน้ ฐานของสังคม ผ้ปู กครองจึงตอ้ งจดั การใหป้ ระชาชนทกุ คนสามารถเข้าถึงสารสนเทศท่ีต้องการได้ จึงจะ เกิดการบรหิ ารทโี่ ปร่งใส เป็นสงั คมประชาธปิ ไตย ไมเ่ กดิ ความวุ่นวาย ในดา้ นการพัฒนา สารสนเทศมคี วามสาคัญย่ิงท้ังในการเตรยี มแผนพัฒนาและการปฏบิ ตั ิตามแผน เช่น สารสนเทศเก่ียวกับชุมชน สารสนเทศเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สารสนเทศเก่ียวกับการเมืองการปกครอง สารสนเทศเก่ียวกับเทคนิคการแก้ปัญหา สารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานวิจัยหรือการประดิษฐ์ซ่ึงจะช่วยในการ พฒั นาต่อไป 2.3 บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information) การนาสารสนเทศไปใช้ 3 ด้าน ดังนี้ (จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ 2544 : 5) ด้านการวางแผน ด้านการ ตัดสินใจ และ ด้านการดาเนินงาน นอกจากนั้น สารสนเทศยังมีบทบาท ในเชิงเศรษฐกิจ ดังน้ี (ประภาวดี สบื สนธ์ 2543 : 7-8) 1. ช่วยลดความเส่ียงในการตัดสินใจ (Decision) หรือช่วยช้ีแนวทางในการแก้ไขปัญหา (Problem Solving) 2. ช่วย หรือสนับสนุนการจัดการ (Management) หรือการดาเนินงานขององค์การ ให้มีประสิทธิภาพ และเกดิ ประสิทธิผลมากขึ้น 3. ใช้ทดแทนทรัพยากร (Resources) ทางกายภาพ เช่น กรณีการเรียนทางไกล ผู้เรียนที่เรียนนอก ห้องเรียน จริง สามารถเรียนรู้เรื่องต่างๆ เช่นเดียวกับ ห้องเรียนจริง โดยไม่ต้องเดินทางไปเรียนที่ หอ้ งเรยี นนั้น 4. ใชใ้ นการกากบั ตดิ ตาม (Monitoring) การปฏิบัตงิ านและการตดั สนิ ใจ เพอ่ื ดูความก้าวหน้าของงาน 5. สารสนเทศเปน็ ช่องทางโนม้ นา้ ว หรอื ชกั จูงใจ (Motivation) ในกรณขี องการโฆษณาทที่ าให้ผู้ชม, ผู้ฟัง ตดั สินใจ เลือกสินคา้ หรอื บริการนนั้

28 6. สารสนเทศเป็นองค์ประกอบสาคัญของการศึกษา (Education) สาหรับการเรียนรู้ ผ่านสื่อประเภท ต่างๆ 7. สารสนเทศเป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีส่งเสริมวัฒนธรรม และสันทนาการ (Culture & Recreation) ในดา้ น ของการเผยแพรใ่ นรูปแบบต่างๆ เชน่ วดี ิทศั น์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เปน็ ต้น 8. สารสนเทศเปน็ สนิ คา้ และบริการ (Goods & Services) ท่ีสามารถซื้อขายได้ 9. สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่ต้องลงทุน (Investment) จึงจะได้ผลผลิตและบริการ เพื่อเป็นรากฐาน ของการ จดั การ และการดาเนนิ งาน 2.4 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ ประสิทธิภาพ (Efficiency)  ระบบสารสนเทศทาให้การปฏิบัติงานมีความรวดเร็วมากข้ึน โดยใช้กระบวนการประมวลผลข้อมูลซึ่ง จะทาให้สามารถเก็บรวบรวม ประมวลผลและปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้อย่างรวดเร็วระบบ สารสนเทศช่วยในการจัดเก็บข้อมูลท่ีมีขนาดใหญ่ หรือมีปริมาณมากและช่วยทาให้การเข้าถึงข้อมูล (access) เหล่านั้นมคี วามรวดเรว็ ด้วย  ช่วยลดต้นทุน การทรี่ ะบบสารสนเทศช่วยทาใหก้ ารปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ซึ่งมีปริมาณมากมี ความสลบั ซับซอ้ นให้ดาเนนิ การได้โดยเร็ว หรือการช่วยให้เกิดการติดต่อส่ือสารได้อย่างรวดเร็ว ทาให้ เกดิ การประหยดั ตน้ ทนุ การดาเนินการอย่างมาก  ช่วยให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว การใช้เครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ทาให้มีการติดต่อได้ทั่ว โลกภายในเวลาท่ีรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ด้วยกัน (machine to machine) หรือคนกับคน (human to human) หรือคนกับเคร่ือง คอมพิวเตอร์ (human to machine) และการติดต่อส่ือสารดังกล่าวจะทาให้ข้อมูลที่เป็นท้ังข้อความ เสียง ภาพนิง่ และภาพเคล่อื นไหวสามารถสง่ ไดท้ ันที  ระบบสารสนเทศช่วยทาให้การประสานงานระหว่างฝุายต่าง ๆ เป็นไปได้ด้วยดีโดยเฉพาะหากระบบ สารสนเทศนั้นออกแบบ เพ่ือเอ้ืออานวยให้หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกที่อยู่ในระบบของซัพ พลายท้ังหมด จะทาให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ และทาให้การ ประสานงาน หรือการทาความเข้าใจเป็นไปได้ด้วยดยี งิ่ ขึ้น ประสิทธิผล (Effectiveness) ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศท่ีออกแบบสาหรับผู้บริหาร เช่น ระบบ สารสนเทศที่ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision support systems) หรือระบบสารสนเทศสาหรับ ผู้บริหาร (Executive support systems) จะเอ้ืออานวยให้ผู้บริหารมีข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจได้ดี ขึน้ อันจะส่งผลให้การดาเนนิ งานสามารถบรรลุวัตถปุ ระสงคไ์ วไ้ ด้

29 ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิตสินค้า/บริการที่เหมาะสมระบบสารสนเทศจะช่วยทาให้ องค์การทราบถึงข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับต้นทุน ราคาในตลาดรูปแบบของสินค้า/บริการท่ีมีอยู่ หรือช่วยทาให้ หน่วยงานสามารถเลอื กผลิตสินคา้ /บรกิ ารที่มคี วามเหมาะสมกบั ความเชี่ยวชาญ หรอื ทรัพยากรที่มอี ยู่ ระบบสารสนเทศช่วยปรับปรุงคุณภาพของสินค้า/บริการให้ดีขึ้นระบบสารสนเทศ ทาให้การติดต่อระหว่าง หน่วยงานและลูกค้า สามารถทาได้โดยถูกต้องและรวดเร็วข้ึน ดังน้ันจึงช่วยให้หน่วยงานสามารถปรับปรุง คุณภาพของสินคา้ /บริการให้ตรงกับความตอ้ งการของลูกค้าไดด้ ขี ้ึนและรวดเร็วขึ้นดว้ ย 2.5 คุณลกั ษณะของสารสนเทศทด่ี ี (Characteristics of Information) สารสนเทศท่ีดีควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ (Alter 1996 : 170-175, Stair and Reynolds 2001 : 6- 7, จิตติมา เทียมบญุ ประเสริฐ 2544 : 12-15, ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล 2545 : 41-42 และทิพวรรณ หล่อสุวรรณรตั น์ 2545 : 12-15) 1. สารสนเทศที่ดตี ้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไมม่ คี วามผดิ พลาด 2. ผู้ท่ีมีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาท่ี เหมาะสม ตาม ความต้องการของผู้ใช้ 3. สารสนเทศตอ้ งมีความชัดเจน (Clarity) ไมค่ ลุมเครอื 4. สารสนเทศทด่ี ตี ้องมคี วามสมบูรณ์ (Complete) บรรจไุ ปด้วยข้อเท็จจริงที่มสี าคญั ครบถ้วน

30 5. สารสนเทศตอ้ งมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรดั กมุ เหมาะสมกับผู้ใช้ 6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าท่ีตัดสินใจมักจะต้องสร้าง ดุลยภาพ ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาท่ใี ชใ้ นการผลิต 7. ต้องมคี วามยดึ หยุ่น (Flexible) สามารถในไปใชใ้ นหลาย ๆ เปูาหมาย หรอื วตั ถปุ ระสงค์ 8. สารสนเทศท่ดี ีตอ้ งมรี ูปแบบการนาเสนอ (Presentation) ทเ่ี หมาะสมกบั ผู้ใช้ หรอื ผทู้ เี่ ก่ยี วข้อง 9. สารสนเทศทด่ี ตี ้องตรงกับความตอ้ งการ (Relevant/Precision) ของผ้ทู ีท่ าการตัดสินใจ 10. สารสนเทศทด่ี ตี ้องมคี วามน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมท่ีน่า เช่ือ ถือ หรอื แหล่ง (Source) ที่นา่ เชอื่ ถอื เปน็ ตน้ 11. สารสนเทศท่ีดคี วรมคี วามปลอดภยั (Secure) ในการเขา้ ถึงของผูไ้ ม่มีสทิ ธิใชส้ ารสนเทศ 12. สารสนเทศที่ดคี วรง่าย (Simple) ไมส่ ลบั ซบั ซ้อน มีรายละเอียดทีเ่ หมาะสม (ไม่มากเกนิ ความจาเปน็ ) 13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากขอ้ มลู ชนิดอน่ื ๆ 14. สารสนเทศท่ีดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือ สามารถสง่ ถึงผ้รู บั ไดใ้ นเวลาทผ่ี ู้ใช้ตอ้ งการ 15. สารสนเทศที่ดีตอ้ งเปน็ ปจั จุบนั (Up to Date) หรอื มีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นน้ันจะไม่ทันต่อ การ เปลี่ยนแปลงทดี่ าเนนิ ไปอย่างรวดเร็ว 16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความ ถูกตอ้ ง นอกจากนั้นสารสนเทศมีคุณสมบัติที่แตกต่างไปจากสินค้าประเภทอ่ืน ๆ 4 ประการคือ ใช้ไม่หมด ไม่ สามารถ ถ่ายโอนได้ แบ่งแยกไม่ได้ และสะสมเพิ่มพูนได้ (ประภาวดี สืบสนธ์ 2543 : 12-13) หรืออาจสรุปได้ วา่ สารสนเทศ ท่ีดีต้องมีคุณลักษณะครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านเวลา (ทันเวลา และทันสมัย) ด้านเนื้อหา (ถูกต้อง สมบูรณ์ ยึดหยุ่น น่าเช่ือถือ ตรงกับ ความต้องการ และตรวจสอบได้) ด้านรูปแบบ (ชัดเจน กะทัดรัด ง่าย รูปแบบการนาเสนอ ประหยดั แปลก) และดา้ น กระบวนการ (เข้าถึงได้ และปลอดภัย) 2.6 คณุ ภาพของสารสนเทศ (Quality of Information/Information Quality) คุณภาพของสารสนเทศ จะมีคุณภาพสูงมาก หรือน้อย พิจารณาที่ 3 ประเด็น ดังนี้ (Bentley 1998 : 58-59) 1. ตรงกับความต้องการ (Relevant) หรือไม่ โดยดูว่าสารสนเทศน้ันผู้ใช้สามารถนาไปใช้เพิ่ม ประสิทธิภาพได้ มากกว่าไม่ใช้สารสนเทศ หรือไม่ คุณภาพของสารสนเทศ อาจจะดูที่มันมีผลกระทบต่อ กจิ กรรมของผู้ใช้ หรอื ไม่ อย่างไร 2. น่าเช่ือถือ (Reliable) เพียงใด ความน่าเช่ือถือมีหัวข้อท่ีจะใช้พิจารณา เช่น ความทันเวลา (Timely) กับผู้ใช้ เมื่อ ผู้ใช้จาเป็นต้องใช้มีสารสนเทศน้ัน หรือไม่ สารสนเทศที่นามาใช้ต้องมีความถูกต้อง (Accurate) สามารถพิสจู น์ (Verifiable) ไดว้ ่าเปน็ ความจรงิ ดว้ ยการวิเคราะหข์ อ้ มลู ทเี่ กีย่ วข้อง เปน็ ต้น

31 3. สารสนเทศน้ันเข้มแข็ง (Robust) เพียงใด พิจารณาจากการท่ีสารสนเทศสามารถเคล่ือนตัวเองไป พร้อมกับกาลเวลาท่ีเปลี่ยนไป (Rigorous of Time) หรือพิจารณาจากความอ่อนแอของมนุษย์ (Human Frailty) เพราะมนษุ ย์ อาจทาความผิดพลาดในการปูอนข้อมูล หรือการประมวลผลข้อมูล เพราะฉะน้ันจะต้อง มีการควบคุม หรือตรวจสอบ ไม่ให้มีความผิดพลาดเกิดข้ึน หรือพิจารณาจากความผิดพลาด หรือล้มเหลวของ ระบบ (System Failure) ท่ีจะส่งผล เสียหายต่อสารสนเทศได้ ดังน้ันจึงต้องมีการปูองกันความผิดพลาด (ที่ เนื้อหา และไม่ทันเวลา) ที่อาจเกิดข้ึนได้ หรือ พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลง การจัดการ (ข้อมูล) (Organizational Changes) ที่อาจจะส่งผลกระทบ (สร้างความเสียหาย) ต่อสารสนเทศ เช่น โครงสร้าง แฟมู ขอ้ มูล วิธกี ารเข้าถงึ ขอ้ มลู การรายงาน จักต้องมีการปูองกัน หากมีการ เปลย่ี นแปลงในเรื่องดงั กลา่ ว นอกจากน้ันซวาสส์ (Zwass 1998 : 42) กล่าวถึง คุณภาพของสารสนเทศจะมีมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับ การทันเวลา ความสมบูรณ์ ความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการ ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง (Precision) และรูปแบบทีเ่ หมาะสม ในเรื่องเดียวกัน โอไบร์อัน (O’Brien 2001 : 16-17) กล่าวว่าคุณภาพของสารสนเทศ พจิ ารณาใน 3 มติ ิ ดังน้ี 1. มติ ดิ ้านเวลา (Time Dimension) 1. สารสนเทศควรจะมกี ารเตรยี มไวใ้ ห้ทันเวลา (Timeliness) กบั ความตอ้ งการของผู้ใช้ 2. สารสนเทศควรจะต้องมคี วามทันสมัย หรือเปน็ ปจั จุบัน (Currency) 3. สารสนเทศควรจะต้องมีความถี่ (Frequency) หรอื บ่อย เท่าทผ่ี ู้ใชต้ อ้ งการ 4. สารสนเทศควรมเี รอื่ งเกย่ี วกบั ช่วงเวลา (Time Period) ต้งั แต่อดตี ปจั จบุ ัน และอนาคต 2. มติ ดิ ้านเนอ้ื หา (Content Dimension)  ความถกู ตอ้ ง ปราศจากข้อผดิ พลาด  ตรงกบั ความต้องการใช้สารสนเทศ  สมบรู ณ์ สิ่งที่จาเปน็ จะตอ้ งมใี นสารสนเทศ  กะทัดรดั เฉพาะทีจ่ าเปน็ เท่านั้น  ครอบคลุม (Scope)ท้ังดา้ นกวา้ งและดา้ นแคบ (ดา้ นลกึ ) หรือมจี ุดเนน้ ท้ังภายในและายนอก  มีความสามารถ/ศักยภาพ (Performance) ที่แสดงให้เห็นได้จากการวัดค่าได้ การบ่งบอกถึงการ พฒั นา หรอื สามารถเพมิ่ พูนทรพั ยากร 3. มิติด้านรปู แบบ (Form Dimension)  ชัดเจน งา่ ยตอ่ การทาความเขา้ ใจ  มที ัง้ แบบรายละเอยี ด (Detail) และแบบสรปุ ย่อ (Summary)  มกี ารเรียบเรยี ง ตามลาดบั (Order)  การนาเสนอ (Presentation) ทห่ี ลากหลาย เช่น พรรณนา/บรรยาย ตัวเลข กราฟกิ และอนื่ ๆ  รูปแบบของสือ่ (Media) ประเภทตา่ ง ๆ เช่น กระดาษ วดี ทิ ศั น์ ฯลฯ

32 ส่วนสแตรแ์ ละเรยโ์ นลด์ (Stair and Reynolds 2001 : 7) กล่าวถึง คุณค่าของสารสนเทศขึ้นอยู่กับ การที่ สารสนเทศน้ัน สามารถช่วยให้ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจทาให้เปูาหมายขององค์การสัมฤทธิ์ผลได้มากน้อย เพียงใด หาก สารสนเทศ สามารถทาให้บรรลุเปูาหมายขององค์การได้ สารสนเทศนั้นก็จะมีคุณค่าสูงตามไป ด้วย 2.7 สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กิดสารสนเทศ 1. เม่ือมีวิทยาการความรู้ หรือสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ พร้อมกันน้ัน ก็จะเกิด สารสนเทศ มาพร้อมๆ กันด้วย จากนั้นก็จะมีการเผยแพร่ หรือกระจายสารสนเทศ เกี่ยวกับ วิทยาการความรู้ หรือ ส่ิงประดษิ ฐ์ ผลิตภัณฑ์ ชนดิ นน้ั ๆไปยงั แหล่งต่างๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือสาคัญในการผลิตสารสนเทศ เน่ืองจากมี ความสะดวกใน การปูอน ข้อมูล การปรับปรุงแก้ไข การทาซ้า การเพิ่มเติม ฯลฯ ทาให้มีความ สะดวกและง่ายต่อการผลิต สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีส่ือสารยุคใหม่มีความเร็วในการสื่อสารสูงข้ึน สามารถเผยแพร่สารสนเทศ จากแหล่ง หนึง่ ไปยงั สถานที่ตา่ งๆ ท่วั โลกในเวลาเดียวกันกับเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดข้ึนจริง อีกทั้งสามารถส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง หลากหลาย รูปแบบ พร้อมๆ กนั ในเวลาเดียวกัน 4. เทคโนโลยกี ารพิมพท์ มี่ คี วามสามารถในการผลิตสารสนเทศสูงข้ึน สามารถผลิตสารสนเทศได้ครั้ง ละจานวน มากๆ ในเวลาสั้นๆ มสี สี นั เหมือนจริง ทาใหม้ ปี ริมาณสารสนเทศใหมๆ่ เกิดข้นึ อยตู่ ลอดเวลา 5. ผู้ใช้มีความจาเป็นต้องใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษา เพ่ือการค้นคว้าวิจัย เพ่ือการ พัฒนาคุณภาพ ชีวิต เพ่ือการ ตัดสินใจ เพื่อการแก้ไขปัญหา เพ่ือการปฏิบัติงาน หรือปรับปรุง ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน, การบรหิ ารงาน ฯลฯ 6. ผู้ใช้มีความต้องการใช้สารสนเทศ เพ่ือตอบสนองความสนใจ ต้องการทราบแหล่งที่อยู่ของ สารสนเทศ ต้องการเข้าถึงสารสนเทศ ต้องการสารสนเทศท่ีมาจากต่างประเทศ ต้องการสารสนเทศอย่าง หลากหลาย หรอื ตอ้ งการ สารสนเทศอย่างรวดเร็ว เป็นต้น 2.8 ความหมายของคาวา่ ขอ้ มูล ข้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ท่ีอยู่ในความควบคุมของกลุ่มของส่ิงต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหน่ึง ซึ่งมักจะ เป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อท่ีมีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสรา้ งกราฟ (กล่มุ ของจดุ ต่อทีเ่ ชอ่ื มระหวา่ งกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวัดและสามารถทาให้ เห็นได้โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่าที่สุดของ ภาวะนามธรรมท่ีสืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคา หนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวมจานวนและอักขระต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดข้ึนตามปกติในการประมวลผล ข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากระยะหนึ่งอาจถือว่าเป็น ข้อมูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ข้อมูลสนามหมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกาเนิด ท่ีไม่อยู่ในการควบคุม ข้อมูล

33 เชิงทดลองหมายถึงข้อมูลที่สร้างข้ึนภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและ การบันทกึ 2.9 ชนดิ ของขอ้ มูล ภาษาซเี ป็นอีกภาษาหนึ่งท่ีมีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละอย่างมี ขนาดเน้ือท่ีท่ีใช้ในหน่วยความจาที่แตกต่างกัน และเน่ืองจากการท่ีมีขนาดที่แตกต่างกันน้ันเอง ทาให้มี ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลแต่ละประเภทแตกต่างกันไป ดังน้ันในการเลือกงานประเภทข้อมูลก็ควรจะ คานงึ ถึงความจาเปน็ ในการใช้งานดว้ ย สาหรับประเภทของขอ้ มลู มดี ังนคี้ ือ 1. ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Character) คือ ข้อมูลท่ีเป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือค่าจานวนเต็ม ได้แก่ ตวั อกั ษร ตัวเลขและกลุ่มตวั อกั ขระพเิ ศษใชพ้ ้นื ท่ีในการเกบ็ ข้อมูล 1 ไบต ์ 2. ข้อมูลชนิดจานวนเต็ม (Integer) คือ ขอ้ มูลทเี่ ปน็ เลขจานวนเตม็ ไดแ้ ก่ จานวนเต็มบวก จานวน เตม็ ลบ และศนู ย์ ข้อมูลชนิดจานวนเตม็ ใช้พ้นื ทีใ่ นการเก็บข้อมลู ขนาด 2 ไบต์ 3. ข้อมูลชนิดจานวนเต็มที่มีขนาด 2 เท่า (Long Integer) คือ ข้อมูลที่เป็นเลขจานวนเต็ม ใช้ พื้นที่ในการเกบ็ เป็น 2 เท่าของ Integer คือมีขนาด 4 ไบต ์ 4. ขอ้ มลู ชนิดเลขทศนิยม (Float) คอื ขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ เลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์ 5. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยมอย่างละเอียด (Double) คือ ข้อมูลท่ีเป็นเลขทศนิยม ใช้พื้นท่ีในการ เก็บขอ้ มูลเปน็ 2 เท่าของ float คอื มีขนาด 8 ไบต์ ขนาดความ ช่วงของค่า การใช้งาน ชนิด กวา้ ง ASCII character (-128 ถึง Char 8 บิต 127) เก็บข้อมลู ชนิดอักขระ Unsignedchar 8 บิต 0-255 เก็บข้อมูลอักขระแบบไม่คิด เครือ่ งหมาย Int 16 บิต -32768 ถงึ 32767 เกบ็ ข้อมลู ชนดิ จานวนเตม็ -2147483648 ถึ ง เก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็ม long 32 บิต 2147483649 แบบยาว

34 ขนาดความ ช่วงของค่า การใชง้ าน ชนิด กว้าง 3.4E-38 ถึง 3.4E+38 หรือ Float 32 บิต ทศนิยม 6 เกบ็ ขอ้ มูลชนดิ เลขทศนยิ ม 1.7E-308 ถึง 1.7E+308 หรือ Double 64 บิต ทศนิยม 12 เกบ็ ข้อมูลชนดิ เลขทศนิยม Unsigned int 16 บิต 0 ถึง 65535 เก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็ม ไม่ คิดเครื่องหมาย Unsigned เ ก็ บ ข้ อ มู ล ช นิ ด จ า น ว น เ ต็ ม แบบยาว ไม่คดิ เคร่ืองหมาย long int 32 บิต 0 ถึง 4294967296 สาหรับรูปแบบของรหัสควบคุมน้ัน จะเร่ิมต้นด้วยตัวอักษร back slash(\\) จากน้ันก็ตามด้วยตัวอักษร พเิ ศษรหัสควบคมุ ที่นิยมใชก้ ันท่วั ไปมีดังน้ีคอื คา่ คงท่ตี วั อักษร รหสั ควบคมุ ความหมาย Bell(Alert) \\a สง่ เสยี ง Beep Backspace \\b ย้อนกลบั ไป 1 ตวั อักษร Horizontal tab \\t แทบ็ ในแนวนอน Newline(Line Feed) \\n ขึน้ บรรทัดใหม่ Vertical tab \\v แท็บในแนวต้งั Form feed \\f ขึ้นหนา้ ใหม่

35 Carriage return \\r รหสั Return Quotation mark(“) \\” แทนตัวอักษร Double Quote(’’) Apostrophe(‘) \\’ แทนตัวอักษร Single Quote(’) Null \\0 ไม่มีค่า 2.10 กรรมวธิ ีการจดั การขอ้ มลู (Datamanipulation) (ให้มีคุณค่าเปน็ สารสนเทศ) การจัดการข้อมูลให้มีคุณค่าเป็นสารสนเทศ กระทาได้โดยการเปล่ียนแปลงสถานภาพของข้อมูล ซ่ึงมี วิธกี าร หรอื กรรมวิธดี งั ต่อไปน้ี (Kroenke and Hatch1994 : 18-20) 1. การรวบรวมข้อมูล (Capturing/gathering/collecting Data) ท่ีต้องการจากแหล่งต่างๆ โดยการ เครื่องมือ ช่วยค้นท่ีเป็นบัตรรายการ หรือ OPAC แล้วนาตัวเล่มมาพิจารณาว่ามีรายการใดท่ีสามารถ นามาใช้ประโยชนไ์ ด้ 2. การตรวจสอบข้อมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเนื้อหาของข้อมูลที่หามาได้ ใน ประเด็นของ ความถูกต้องและความแม่นยาของเน้ือหา ความสอดคล้องของตาราง, ภาพประกอบ หรอื แผนที่ กบั เน้ือหา 3. การจัดแยกประเภท/จัดหมวดหมู่ข้อมูล (Classifying Data) เม่ือผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง สอดคล้องกัน ของเนื้อหาแล้ว นาข้อมูลต่างๆ เหล่าน้ันมาแยกออกเป็นกอง หรือกลุ่ม ๆ ตามเร่ืองราว ทีป่ รากฏในเนื้อหา 4. จากนัน้ กน็ าแต่ละกอง หรือกลุ่ม มาทาการเรียงลาดับ/เรียบเรียงข้อมูล (Arranging/sorting Data) ให้ เปน็ ไป ตามความเหมาะสมของเน้อื หาว่าจะเร่ิมจากหวั ข้อใด จากน้ันควรเป็นหวั ข้ออะไร 5. หากมีข้อมูลเก่ียวกับตัวเลขจะต้องนาตัวเลขน้ันมาทาการวิเคราะห์หาค่าทางสถิติท่ีเกี่ยวข้อง หรือทา การ คานวณข้อมลู (Calculating Data) ใหไ้ ด้ผลลัพธ์ออกเสียก่อน 6. หลังจากนน้ั จงึ ทาการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เนือ้ หาในแตล่ ะหัวขอ้ 7. เสรจ็ แล้วทาการจดั เก็บ หรอื บันทึกข้อมลู (Storing Data) ลงในส่ือประเภทต่างๆ เช่น ทาเป็นรายงาน หนังสอื บทความตีพิมพ์ในวารสาร หนังสือพมิ พ์ หรอื ลงในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (แผ่นดิสก์ ซีดี-รอม ฯลฯ) 8. จดั ทาระบบการค้นคนื เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคนื สารสนเทศ (Retrieving Data) จะได้ จัดเกบ็ และคน้ คืนสารสนเทศอย่างถกู ตอ้ ง แม่นยา รวดเร็ว และตรงกับความต้อง

36 9. ในการประมวลผลเพ่ือให้ได้มาซ่ึงสารสนเทศ จักต้องมีการสาเนาข้อมูล (Reproducing Data) เพื่อ ปอู งกนั ความเสยี หายที่อาจเกดิ ขึน้ กับขอ้ มลู ท้ังจากสาเหตทุ างกายภาพ และระบบการจัดเก็บขอ้ มลู 10. จากน้ันจึงทาการการเผยแพร่ หรือสื่อสาร หรือกระจายข้อมูล (Communicating/disseminating Data) เพอ่ื ใหผ้ ลลพั ธ์ทไ่ี ดถ้ งึ ยงั ผ้รู บั หรือผู้ท่ีเกีย่ วข้อง การจัดการข้อมูลให้มีสถานภาพเป็นสารสนเทศ (Transformation Processing) ในความเป็นจริงแล้ว ไม่จาเป็นที่ จะต้องทาครบ ท้ัง 10 วิธีการ การท่ีจะทาก่ีขั้นตอนน้ันขึ้นอยู่กับ ข้อมูลที่นาเข้ามาในระบบการ ประมวลผล หากข้อมูลผ่าน ขั้นตอน ที่ 1 หรือ 2 มาแล้ว พอมาถึงเรา เราก็ทาข้ันตอนท่ี 3 ต่อไปได้ทันที แต่ อย่างไรก็ตามการให้ได้มาซ่ึงผลลัพธ์ที่มี คุณค่า จักต้องทาตามลาดับดังกล่าวข้างต้น ไม่ควรทาข้ามข้ันตอน ยกเว้นขั้นตอนที่ 5 และข้ันตอนที่ 6 กรณีที่เป็นข้อมูล เก่ียวกับตัวเลขก็ทาข้ันตอนที่ 5 หากข้อมูลไม่ใช่ตัวเลข อาจจะข้ามข้ันตอนที่ 5 ไปทาข้ันตอนที่ 6 ได้เลย เป็นต้น ผลลัพธ์ หรือผลผลิตท่ีได้จากการประมวลผล หรือ กรรมวิธีจัดการขอ้ มลู ปรากฏแกส่ งั คมในรปู ของสือ่ ประเภทต่างๆ เช่น เป็น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ ซีดี- รอม สไลด์ แผน่ ใส แผนที่ เทปคลาสเซท ฯลฯ แตอ่ ย่างไรกต็ ามไม่ได้หมายความว่า ผลผลิต หรือผลลัพธ์น้ันจะ มีสถานภาพเป็นสารสนเทศเสมอไป 2.11 ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ สามารถอธิบายความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านท่ีมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง พฤตกิ รรมด้าน ต่าง ๆ ของผคู้ นไว้หลายประการดงั ต่อไปนี้ (จอหน์ ไนซ์บิตต์ อา้ งถงึ ใน ยนื ภ่วู รวรรณ)  ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็น สงั คมสารสนเทศ  ประการท่ีสอง เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิจเปล่ียนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจ โลก ที่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเช่ือมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทา ให้เกิดสงั คมโลกาภวิ ฒั น์  ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบ มากขึน้ หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกนั กับหน่วยธุรกิจอนื่ เป็นเครือข่าย การดาเนินธุรกิจมี การแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการส่ือสาร โทรคมนาคมเปน็ ตัวสนับสนนุ เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเรว็  ประการทส่ี ี่ เทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เทคโนโลยีแบบสนุ ทรยี สมั ผัส และสามารถตอบสนองตามความ ต้องการการใช้เทคโนโลยใี นรูปแบบใหมท่ ่ีเลือกไดเ้ อง  ประการที่ห้า เทคโนโลยสี ารสนเทศทาให้เกดิ สภาพทางการทางานแบบทกุ สถานทแี่ ละทกุ เวลา  ประการท่ีหก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให้ วิถีการตัดสนิ ใจ หรอื เลือกทางเลือกได้ละเอยี ดข้นึ

37 กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทท่ีสาคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลก ด้านความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการ วจิ ยั และการพฒั นาตา่ ง ๆ 2.12 องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบ คือ กลุ่มขององค์การต่างๆ ท่ีทางานร่วมกันเพื่อจุดประสงค์อันเดียวกัน ระบบอาจจะ ประกอบด้วยบุคคลากร เคร่ืองมือ เครื่องใช้ พัสดุ วิธีการ ซ่ึงทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบจัดการอันหนึ่งเพ่ือให้ บรรลจุ ุดประสงค์อนั เดียวกนั สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์หรือประมวลผลแล้ว พร้อมจะใช้งานได้ ทันที โดยไมต่ อ้ งแปล หรือตคี วามใด ๆ อกี เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศ ตามท่ี ต้องการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศน้ันอาจกล่าวได้ว่าประกอบข้ึนจากเทคโนโลยีสองสาขาหลักคือ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม สาหรับรายละเอียดพอสังเขปของแต่ละเทคโนโลยีมี ดงั ตอ่ ไปนี้คอื เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจาข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบัติ ตามคาสั่งที่บอก เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหน่ึงให้ คอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์น้ีจะต้องทางานร่วมกับโปรแกรม

38 คอมพิวเตอร์หรือท่ีเรียกกันว่า ซอฟต์แวร์ (Software) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2546: 4) ฮาร์ดแวร์ ประกอบดว้ ย 5 ส่วน คอื อปุ กรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น แผงแปูนอักขระ (Keyboard), เมาส์ , เคร่ืองตรวจกวาดภาพ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เคร่ืองอ่าน บตั รแถบแมเ่ หลก็ (Magnetic Strip Reader), และเครอ่ื งอา่ นรหัสแท่ง (Bar Code Reader) อุปกรณส์ ง่ ข้อมูล (Output) เชน่ จอภาพ (Monitor), เครื่องพมิ พ์ (Printer), และเทอร์มนิ ลั หน่วยประมวลผลกลาง จะทางานร่วมกับหน่วยความจาหลักในขณะคานวณหรือประมวลผล โดยปฏิบัติหน้าท่ี ตามคาสง่ั ของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ โดยการดึงขอ้ มลู และคาส่งั ท่เี ก็บไวไ้ วใ้ นหน่วยความจาหลกั มาประมวลผล หน่วยความจาหลัก มีหน้าท่ีเก็บข้อมูลท่ีมาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพื่อใช้ในการคานวณ และผลลัพธ์ของการ คานวณก่อนทจ่ี ะส่งไปยงั อปุ กรณส์ ่งข้อมูล รวมทง้ั การเก็บคาส่ังขณะกาลงั ประมวลผล หนว่ ยความจาสารอง ทาหน้าท่ีจดั เกบ็ ข้อมลู และโปรแกรมขณะยังไม่ได้ใชง้ าน เพื่อการใชใ้ นอนาคต ซอฟต์แวร์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญและจาเป็นมากในการควบคุมการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายใน ระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์หรือฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบสามารถ แบ่งเปน็ 3 ชนิดใหญ่ คอื โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใช้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อกับเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ ตัวอยา่ งโปรแกรมท่นี ยิ มใช้กนั ในปัจจุบัน เช่น UNIX, DOS, Microsoft Windows โปรแกรมอรรถประโยชน์ ใช้ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่างการประมวลผล ข้อมลู หรอื ในระหวา่ งที่ใช้เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ ตวั อย่างโปรแกรมท่ีนิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น โปรแกรมเอดิเตอร์ (Editor) โปรแกรมแปลภาษา ใช้ในการแปลความหมายของคาส่ังท่ีเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยู่ในรูปแบบท่ี เคร่อื งคอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามทีผ่ ู้ใช้ตอ้ งการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมท่ีเขียนข้ึนเพ่ือทางานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์น้ี สามารถแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพ่ืองานท่ัวไป เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพ่ือใช้งานท่ัวไปไม่ เจาะจงประเภทของธุรกิจ ตัวอย่าง เช่น Word Processing, Spreadsheet, Database Management เป็น ตน้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างข้ึนเพ่ือใช้ในธุรกิจเฉพาะ ตามแต่วัตถุประสงค์ของ การนาไปใช้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์อื่น ๆ เปน็ ซอฟต์แวรท์ ี่เขียนขึ้นเพอ่ื ความบนั เทงิ และอ่นื ๆ นอกเหนือจากซอฟต์แวร์ ประยุกต์สองชนิดข้างต้น ตัวอย่าง เช่น Hypertext, Personal Information Management และซอฟต์แวร์ เกมตา่ ง ๆ เปน็ ต้น สาหรับกระบวนการการจดั การระบบสารสนเทศ เพ่อื ให้ไดส้ ารสนเทศตามต้องการอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แมน่ ยา และมีคุณภาพ ดงั แผนภาพต่อไปนี้คอื

39 แผนภาพแสดงกระบวนการจัดการระบบสารสนเทศ 2.13 เทคโนโลยสี ่ือสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อส่ือสารรับ/ส่งข้อมูลจากที่ไกล ๆ เป็นการส่ง ของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเคร่ืองมือที่อยู่ห่างไกลกัน ซ่ึงจะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลหรือ สารสนเทศไปยังผู้ใช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซ่ึงรูปแบบของข้อมูลท่ีรับ/ส่งอาจเป็นตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสยี ง (Voice) เทคโนโลยีท่ีใช้ในการสื่อสารหรือเผยแพร่สารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบ โทรคมนาคมท้ังชนิดมีสายและไร้สาย เช่น ระบบโทรศัพท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วทิ ยุกระจายเสียง, วิทยุโทรทัศน์ เคเบิ้ลใยแกว้ นาแสง คลน่ื ไมโครเวฟ และดาวเทยี ม เป็นต้น สาหรับกลไกหลักของการส่ือสารโทรคมนาคมมีองค์ประกอบพ้ืนฐาน 3 ส่วน ได้แก่ ต้นแหล่งของ ข้อความ (Source/Sender), สื่อกลางสาหรับการรับ/ส่งข้อความ (Medium), และส่วนรับ ข้อความ (Sink/Decoder) ดังแผนภาพตอ่ ไปน้ี คอื แผนภาพแสดงกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคม นอกจากน้ี เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจาแนกตามลกั ษณะการใช้งานไดเ้ ป็น 6 รปู แบบ ดงั นต้ี ่อไปนี้ คอื 1. เทคโนโลยีท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิจิทัล, กล้อง ถา่ ยวดี ีทัศน,์ เครอื่ งเอกซเรย์ ฯลฯ 2. เทคโนโลยีท่ีใช้ในการบันทึกข้อมูล จะเป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก, จาน แมเ่ หลก็ , จานแสงหรือจานเลเซอร์, บตั รเอทีเอม็ ฯลฯ

40 3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และ ซอฟตแ์ วร์ 4. เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการแสดงผลข้อมลู เช่น เครอื่ งพมิ พ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ 5. เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เคร่อื งถ่ายเอกสาร, เครอ่ื งถ่ายไมโครฟิล์ม 6. เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือส่ือสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์, วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้ง ระยะใกลแ้ ละไกล ลักษณะของขอ้ มูลหรอื สารสนเทศทีส่ ง่ ผา่ นระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละการส่ือสาร ดังนี้ ข้อมูลหรอื สารสนเทศทใ่ี ช้กนั อยทู่ ัว่ ไปในระบบส่ือสาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของ สัญญาณเป็นคล่ืนแบบต่อเน่ืองท่ีเราเรียกว่า \"สัญญาณอนาลอก\" แต่ในระบบคอมพิวเตอร์จะ แตกต่างไป เพราะระบบคอมพิวเตอร์ใช้ระบบสัญญาณไฟฟูาสูงต่าสลับกัน เป็นสัญญาณท่ีไม่ ต่อเนื่อง เรียกว่า \"สัญญาณดิจิตอล\" ซ่ึงข้อมูลเหล่าน้ันจะส่งผ่านสายโทรศัพท์ เม่ือเราต้องการส่ง ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงไปยังเครื่องอื่น ๆ ผ่านระบบโทรศัพท์ ก็ต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วย แปลงสญั ญาณเสมอ ซงึ่ มชี ื่อเรียกวา่ \"โมเดม็ \" (Modem) 2.14 ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ การกาเนิดของคอมพิวเตอร์เม่ือประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสาคัญที่นาไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเคร่ืองคานวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์สาคัญสาหรับการจัดการข้อมูล เม่ือเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทาให้สามารถ สร้างคอมพิวเตอรท์ ่ีมขี นาดเล็กลง แต่ประสิทธภิ าพสงู ขึ้น สภาพการใชง้ านจงึ ใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของ เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่าง กวา้ งขวาง ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยรวมกลา่ วได้ดงั น้ี การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม เพื่อตดิ ต่อส่อื สารใหส้ ะดวกขน้ึ มีการประยกุ ตม์ าใชก้ บั เครือ่ งอานวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใชค้ วบคมุ เคร่ืองปรับอากาศ ใชค้ วบคมุ ระบบไฟฟูาภายในบา้ น เปน็ ตน้ เสรมิ สรา้ งความเทา่ เทยี มในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดการกระจายไปทั่วทุก หนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทาให้มีการกระจายโอการการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล การกระจายการเรยี นรูไ้ ปยังถิ่นห่างไกล นอกจากนใ้ี นปัจจบุ นั มคี วามพยายามท่ีใช้ระบบการรักษาพยาบาลผ่าน เครือข่ายสื่อสาร สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนาคอมพิวเตอร์และ เครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดิทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัด

41 การศึกษา จัดตารางสอน คานวณระดับคะแนน จัดชั้นเรียน ทารายงานเพ่ือให้ผู้บริหารได้ทราบถึงปัญหาและ การแก้ปญั หาในโรงเรียน ปจั จุบนั มกี ารเรยี นการสอนทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศในโรงเรยี นมากขนึ้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับส่ิงแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจาเป็นต้องใช้ สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาปุา จาเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพ อากาศ การพยากรณ์อากาศ การจาลองรูปแบบสภาวะส่ิงแวดล้อมเพ่ือปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูล คณุ ภาพนา้ ในแม่นา้ ตา่ ง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรียกว่า โทรมาตร เปน็ ตน้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการปูองกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธ ยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบปูองกันภัย ระบบเฝูา ระวงั ทีม่ ีคอมพิวเตอรค์ วบคุมการทางาน การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม จาเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ ขอ้ มูลขา่ วสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การดาเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริการกับลูกค้า เพ่ือให้ซื้อ สินค้าไดส้ ะดวกขน้ึ 2.15 คอมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ นต็ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกันโดยใช้ สื่อกลางต่างๆ เช่น สายสัญญาณ คลื่นวิทยุ เป็นต้น เพื่อทาให้สามารถส่ือสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้ ทรพั ยากรร่วมกันได้ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเปน็ 6 ประเภท 1. เครอื ขา่ ยเฉพาะที่ หรอื แลนด์ 2. เครอื ข่ายนครหลวง หรอื แมน 3. เครอื ขา่ ยบรเิ วณกวา้ ง หรือแวน 4. เครอื ข่ายภายในองคก์ ร หรืออนิ ทราเน็ต 5. เครอื ข่ายภายนอกองค์กร หรืออินทราเนต็ 6. เครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีองค์ประกอบพ้ืนฐาน 2 ส่วนหลัก คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ และ องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ โดยองค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้งานและเชื่อมต่อภายใน เครือข่าย เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ แปูนพิมพ์ สายสัญญาณ เป็นต้น ส่วนองค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ หมายถึง ระบบปฏิบัติการ หรือโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้สนับสนุนการทางานและให้บริการด้านต่างๆ เพ่ืออานวย ความสะดวกใหแ้ ก่ผู้ใชใ้ หส้ ามารถติดต่อสื่อสารผ่านเครอื ข่ายได้ อินเทอร์เน็ต (internet) มาจากคาว่า interconnection network หมายถึง การใช้ประโยชน์ของ ระบบเครือข่ายที่นาเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เคร่ืองมาเชื่อมต่อกันโดยผ่านส่ือกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น

42 สายโทรศัพท์ ดาวเทียม เป็นต้น เพื่อสื่อสารข้อมูลกัน โดยอินเทอร์เน็ตเป็นการนาเครือข่ายขนาดเล็กมา เชื่อมต่อกันจนเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่คลอบคลุมทั่วโลกโ ดยมีมาตรฐานการรับส่งข้อมูล ระหว่างกันเป็นแบบเดียวกัน ซึ่งภายในเครือจ่ายแต่ละเครื่องสามารถรับและส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้ หลากหลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษร ภาพกราฟฟิก ภาพเคล่ือนไหว เสียง เป็นต้น ทาให้อินเทอร์เน็ตเปูนส่วน สาคัญในการดาเนนิ ชีวิตของมนษุ ยใ์ นปัจจบุ นั 2.16 ระบบการสบื ค้นผ่านเครอื ข่ายเพอ่ื การเรยี นรู้ ความหมายของเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ หมายถึง การเรียนรู้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมทางการศึกษาทุกระดับ มอี งค์ประกอบสาคญั คอื อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ คุณลกั ษณะพเิ ศษของเครอื ข่ายการเรยี นรู้ 1.สามารถเขา้ ถึงได้กวา้ งขวาง งา่ ย สะดวก เรียกข้อมลู มาใช้ได้งา่ ย 2.เป็นการเรยี นแบบร่วมกนั และทางานร่วมกันเปน็ กลุ่ม 3.สร้างกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลางเรยี นการสอน 5.จดั ใหเ้ ครอื ข่ายการเรยี นรูเ้ ปน็ เสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์ แนวทางการบริหารจัดการและพฒั นาเครือข่ายการเรียนรู้ 1. ข้นั การก่อรปู เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ (Leaning Network Forming) 2. ขนั้ การจัดระบบบรหิ ารเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ (Leaning Network Organizing) 3. ขนั้ การใช้เครือข่ายการเรียนรู้ (Leaning Network Utilizing)

43 4. ขนั้ การธารงรกั ษาเครอื ข่ายการเรยี นรู้ (Leaning Network Maintaining) กระบวนการและวธิ กี ารสรา้ งเครือขา่ ยการเรียนรู้ มขี นั้ ตอนและวธิ ตี า่ งๆ ดงั นี้ 1.การตระหนักถึงความจาเป็นในการสรา้ งเครอื ข่าย 2.การติดตอ่ กับองคก์ รทจ่ี ะร่วมเป็นเครือขา่ ย 3.การสรา้ งพันธกรณีรว่ มกัน 4.การพัฒนาความสัมพนั ธ์ร่วมกนั 5.การทากิจกรรมร่วมกัน 6.การรวมตัวกันจดั ต้ังองค์กรใหม่ร่วมกนั ความหมายของ E-Learning หมายถึง การเรียนการสอนในลักษณะใดก็ได้ ท่ีใช้การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอรืเน็ต หรือระบบอื่นๆ ท่ีคล้ายคลึงกัน ซ่ึงเนื้อหา หรือสารสนเทศสาหรับการสอน หรอื การอบรม ใช้การนาเสนอตวั อกั ษร ภาพนิง่ ผสมผสานกบั การใชภ้ าพเคลือ่ นไหว วดี ที ัศนแ์ ละเสยี ง E-Learning ในประเทศไทย แบ่งได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ คอื - การนาเสนอในลกั ษณะ Web Based Instruction (WBI) - การนาเสอนในลกั ษณะ E-Learning ปญั หาการพฒั นาระบบการเรียนรูผ้ า่ นเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ ในประเทศไทย 1. ปัญหาการสนบั สนุนด้านงบประมาณและบุคลากร 2. ปญั หาเรอ่ื งราคาของซอฟตแ์ วร์ CMS/LMS และการลิขสิทธิ์ 3. ปัญหาเร่ืองทีมงานดาเนินการ 4. ปัญหาเกี่ยวกบั Infrastructure 5. ปัญหาเก่ียวกับมาตรฐานการจดั ทาระบบ CMS/LMS ข้อดีและข้อเสียของการเรยี นรูผ้ ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต ข้อดี 1.ผเู้ รียนและผู้สอนไม่ต้องการเรียนสอนในเวลาเดียวกัน 2.ผ้เู รยี นและผูส้ อนไมต่ ้องมาพบกนั ในหอ้ งเรียน

44 ขอ้ เสยี 1.ไม่สามารถรบั ร้คู วามรู้สกึ ปฏิกริ ิยาท่แี ท้จริงของผูเ้ รยี นและผสู้ อน 2.ไมส่ ามารถสือ่ ความรสู้ ึกอารมณ์ในการเรียนรู้ได้อย่างแทจ้ รงิ ขอ้ คานงึ ในการจดั การเรียนรูผ้ า่ นระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต 1. ความพรอ้ มของอุปกรณ์และระบบเครือขา่ ย 2. ทกั ษะใช้คอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ต 3. ความพรอ้ มของผู้เรียน 4. ความพรอ้ มของผู้สอน 5. เนื้อหา บทเรียน เวบ็ ไซตท์ ่เี ปน็ เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ ♣ Trueplookpanya.com

45 ♣ Kroobannok.com 2.17 การสืบค้น และรบั ส่งขอ้ มูล แฟม้ ข้อมลู และสารสนเทศเพือ่ ใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ แหล่งความรู้ออนไลน์ บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet Services ) ระบบเครือขาย อินเทอร์เน็ต คือระบบการให้บริการเช่ือมโยงเครือขายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกนทั่วโลกโดยใช้โปรโตคอล (protocol ) หรือรูปแบบวิธีการส ื่ อสารข้อมลของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์บนระบบเครือ ข่ายที่เรียกว่า ทีซีพีไอ พี (TCP/ IP) อินเทอร์เน็ตจงเปรียบเสมือนเครื่องมือในการให้บริการสงผ่านข้อมูล ข่าวสาร เอกสารและสื่อใน รปู แบบดจิ ติ อลคือเป็นไฟล์ข้อมลูเพอ่ื การนาไปเก็บไว้และเรียกใช้ขอดจากเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือขาย ที่มักเรียกกันว่าเครื่องแม่ข่ายหรือเครื่องแม่ข่ายเว็บ (Web Server) ปัจจุบัน ระบบเครือขายอินเทอร์เน็ต ครอบคลมหลายร้อยประเทศทั่วโลก ที่สามารถติติ่ออส่ือสารกันได้ ผ่านทางบริการต่างๆโดยมีอัตราการ เจริญเติบโตสูงถึง 160 % ในปีค.ศ.1993 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีบริการสาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ี สามารถเช่ือมตอ่ เขา้ กบั ระบบฯ ไดใ้ ช้งาน ดงั นี้ 1. บริการรบั -สง่ จดหมายอเล็กทรอนิกส์ (E-mail / Electronic Mail ) 2. บริการการใช้เครื่องจากระยะไกล (Telnet / Remote Login) เป็นบริการท่ีอนุญาติให้เข้าใช้ งานเคร่ืองคอมพิวเตอรบ์ นระบบเครือข่ายได้ จากทห่ี ่างไกล เสมอื นหน่ึง ใช้งานอยหน้าเครอื่ งน้ัน 3. บริการถ่ายโอนแฟูมข้อมลู (FTP: File Transfer Protocol) เป็นบริการท่ีอนุญาตให้ใช้เคร่ือง บนระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตส่งหรือรบั ไฟล์ (แฟมู ข้อมูล) จากเครือ่ งอนื่ ๆ บนระบบได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook