Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เท่าทันสื่อ สร้างเมืองด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities

เท่าทันสื่อ สร้างเมืองด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities

Published by Kate Pornsiripoj, 2020-10-27 03:56:02

Description: เท่าทันสื่อ สร้างเมืองด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities

Search

Read the Text Version

เท่าทนั สื่อ : สร้างเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 151 พวกเขาสังเกตดว้ ยการผลิตงานศิลปะง่าย ๆ ในช่วงทา้ ยของกระบวนการ ซ่ึงนั่นหมายความว่าพวกเขาก�ำลังพยายามส่งสารในส่ิงที่พวกเขารับรู้หรือ ประสบพบเจอผ่านศิลปะรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ที ำ� หน้าที่เปน็ สื่อกลาง และท้าย ที่สุดทั้งผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้ชมต่างได้เรียนรู้งานท่ีท�ำเสร็จส้ินและเข้าใจ ความเป็นท้องถ่ินและชุมชนด้วยสายตาและมุมมองใหม่ กระบวนการใช้ ศิลปะแนวนี้ยังช่วยท�ำให้เกิดพ้ืนท่ีปลอดภัยส�ำหรับการน�ำเสนอและสะท้อน ความเปน็ จรงิ ผู้เขา้ ร่วมมีบทบาทสามบทบาทดว้ ยกนั ในกระบวนการสรา้ ง ศิลปะ ได้แก่ บทบาทของผู้สังเกตการณ์ (observer) ในฐานะการศกึ ษาวจิ ยั ชวี ติ จรงิ บทบาทของศลิ ปนิ (artist) ในการเลอื กสรรและนำ� เสนอประสบการณ์ ผา่ นการจดั วางองคป์ ระกอบ และบทบาทของผชู้ ม (audience) เพอ่ื สะทอ้ น ความเหน็ ตอ่ งาน ปฏสิ มั พนั ธต์ อ่ แตล่ ะบทบาททง้ั สามยงั นบั เปน็ กระบวนการ สรา้ งศักยภาพในการเรยี นรู้ดว้ ย ตวั อยา่ งกจิ กรรมทน่ี า่ สนใจ เชน่ การนำ� เสนอศลิ ปะในรปู แบบการแสดง หุ่นเงาของเยาวชน ซึ่งผ้เู ข้ารว่ มโครงการไดเ้ ขา้ ไปเก็บขอ้ มลู เรือ่ งเล่าบางชว่ ง บางตอนของประวัติศาสตร์ที่ถกู ลืมเลอื นของผู้คนในเขตเมอื งเกา่ จอร์จทาวน์ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดล้ งพนื้ ท่ี สมั ภาษณ์ เกบ็ ขอ้ มลู เขา้ รว่ มเวริ ก์ ชอป ออกแบบ หนุ่ เงาและจดั กจิ กรรมนำ� เสนอการแสดงใหก้ บั ผคู้ นในชมุ ชน การใชส้ หวทิ ยาการ ได้ช่วยให้เกิดความรทู้ างวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ เช่น ประวตั ศิ าสตรก์ ารอพยพ สถาปตั ยกรรมของเมอื ง เชน่ วดั มสั ยดิ รา้ นคา้ ภาษาและคำ� ศพั ทท์ ใ่ี ช้ ระบบ ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติแบบพุทธและเต๋า การแต่งกาย สัญลักษณ์ ต่าง ๆ ดนตรีตลอดจนศิลปะหุ่นเงา กิจกรรมในโครงการน้ีเปิดให้เยาวชน ท่ีมีทักษะและความรู้ต่าง ๆ เข้าร่วมโดยได้รับความร่วมมือในการพัฒนา หลกั สตู รกิจกรรมได้แก่ นกั กิจกรรมด้านมรดกโลก ครสู อนศิลปะ ชา่ งไม้ แกะสลักและศลิ ปินดา้ นหุ่นเงาจากประเทศไทยเข้าร่วมในหลกั สูตรดว้ ย A5_�����������.indd 151 3/23/2563 BE 4:35 PM

152 เทา่ ทนั สอื่ : สร้างเมืองดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities ชุมชนวดั ดวงแข : ศิลปะกับการเปดิ พนื้ ท่ีสรา้ งสรรค์ของชุมชน ชายขอบของเมืองใหญ่ ชุมชนวัดดวงแขต้ังอยู่บนถนนรองเมือง ด้านข้างของสถานีรถไฟ หัวล�ำโพง กรงุ เทพมหานคร ห่างจากย่านสยามพารากอน ย่านการค้าช่ือดัง ของเมืองหลวง ไมถ่ ึงสองกิโลเมตร ทั้งสองพื้นท่มี สี งิ่ ทีเ่ หมือนกนั คือมบี ริการ หลากหลาย ชุมชนวดั ดวงแขมีทางรถไฟอย่เู คยี งข้างชมุ ชน ขณะทสี่ ยามมี รถไฟฟ้าบที ีเอสอยู่กลางยา่ นนัน้ ทง้ั สองย่านลว้ นมรี ้านอาหารอร่อย มีท่ีพัก ต้อนรับคนตา่ งถน่ิ มีการแสดงงานศิลปะกลางเมอื ง สิ่งที่แตกตา่ งกันราวฟา้ กับเหวคือความเหล่ือมล�้ำทางชนชั้นของชีวิตในวิถีเมือง ชุมชนวัดดวงแข มีหอ้ งพกั บริการสำ� หรบั คนต่างถิน่ คนื ละ 70 บาทในหอ้ งคับแคบตง้ั อยใู่ น ซอกเล็ก ๆ อบั ชืน้ และแสงแดดเขา้ ไมถ่ งึ ขณะทห่ี ้องพกั ยา่ นสยามราคาสงู กวา่ ราว 100 เทา่ อยใู่ นห้องโอโ่ ถง เต็มไปด้วยแสงไฟสวา่ งเจิดจา้ อุณหภูมิ เยน็ ฉำ่� และเปน็ ยา่ นที่ ‘หา้ งใหญใ่ นกรงุ เทพฯ ใชไ้ ฟมากกวา่ ทงั้ จงั หวดั 70” ภายใต้ เง่ือนไขทีแ่ ตกตา่ งกัน ชุมชนในเขตมหานครใหญ่อยา่ งกรุงเทพฯ ควรได้รบั การพฒั นาอยา่ งไรทค่ี ำ� นงึ ถงึ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยข์ องคนทกุ กลมุ่ คำ� ถาม เช่นน้ีควรเป็นโจทยท์ า้ ทายสำ� หรับใคร ? ส�ำหรับใครหลายคน สมาชิกในชุมชนวัดดวงแขอาจถูกเรียกว่า “คนจนในซอกหลบื ของเมอื ง” ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยเรอื่ งราวของยาเสพตดิ สง่ิ แวดลอ้ ม ทกี่ ่อให้เกดิ ปญั หาสุขอนามยั ความสมั พนั ธ์ของสมาชิกในชุมชนท่ีตา่ งคน ตา่ งอยู่ โดยไมม่ คี วามผกู พนั ในระดบั ชมุ ชนแมจ้ ะเปน็ ชมุ ชนทส่ี ามารถยอ้ นรอย การกอ่ ตัง้ กลบั ไปไดน้ านนบั ศตวรรษตั้งแตม่ ีการสร้างสถานรี ถไฟหวั ล�ำโพง ณ ชุมชนชายขอบของเมืองฟ้าอมรของโลกแห่งนี้ มูลนิธิเพื่อ การพฒั นาเดก็ ไดน้ ำ� แนวคดิ “พน้ื ทสี่ รา้ งสรรค”์ เขา้ มาเปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ ม 70 https://www.voicetv.co.th/read/189777 A5_�����������.indd 152 3/23/2563 BE 4:35 PM

เท่าทันสอื่ : สร้างเมืองดว้ ยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 153 และความสมั พนั ธภ์ ายในชมุ ชน ดว้ ยเครอ่ื งมอื หลายรปู แบบ โดยเฉพาะพน้ื ท่ี เล่นและศิลปะ โดยมีกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับเด็กเป็นตัวริเริ่มในการพัฒนา พนื้ ทท่ี ่คี นภายนอกสามารถเข้าถงึ ได้ยากล�ำบาก เครอื่ งมือส�ำคญั ชิน้ แรก ๆ ท่กี รยุ ทางในการท�ำงาน ไดแ้ ก่ การเลน่ ซ่งึ ช่วงทศวรรษ 2540 เป็นหว้ งเวลา ทภี่ าคประชาสงั คมของไทยเปน็ ภาคสว่ นทก่ี ระตอื รอื รน้ ผลกั ดนั ใหป้ ระเทศไทย เข้ารว่ มสัตยาบนั ในอนสุ ญั ญาว่าดว้ ยสทิ ธิเดก็ เวลานัน้ นับเปน็ ยุคแรกของ การรณรงค์ใหส้ งั คมไทยมีความตืน่ ตวั ในเรือ่ ง “พน้ื ทเ่ี ล่นส�ำหรบั เดก็ ทกุ คน” ในทศวรรษ 2550 ได้มีการพัฒนาแนวคิดพ้นื ท่ีสร้างสรรคส์ �ำหรับเด็ก ซึ่ง หมายถึง พน้ื ท่ีสรา้ งประสบการณ์ สรา้ งโอกาส โดยการมีสว่ นรว่ มของเด็ก ครอบครวั ชุมชน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้รว่ มกนั ด�ำเนนิ การอยา่ งอสิ ระและ มคี วามสุข จนมีผลให้เกิดการเรยี นรู้ และพัฒนาการอยา่ งสร้างสรรค์ส�ำหรับ เดก็ 71 ศูนยพ์ ฒั นาเด็กดวงแข มลู นิธิเพื่อการพฒั นาเด็ก ที่มาภาพ : CIVILFRIENDSTHAILAND 71 http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_2015_5505030238_3380_3655.pdf A5_�����������.indd 153 3/23/2563 BE 4:35 PM

154 เท่าทนั สือ่ : สร้างเมืองด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities เสาวลกั ษณ์ ประดาห์ เจา้ หนา้ ทปี่ ระจำ� ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ ชมุ ชนดวงแข72 เลา่ วา่ ชว่ งแรกของการทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั เดก็ ทำ� ใหเ้ หน็ ถงึ สถานการณแ์ ทจ้ รงิ ท่ีพวกเขาเผชิญในชีวิตประจ�ำวัน ทั้งในระดับครอบครัวและระดับชุมชน นับต้ังแตเ่ รอื่ งอาหารการกนิ ชีวิตความเป็นอยู่ ความใส่ใจของสมาชกิ ใน ครอบครวั และชมุ ชน ตลอดจนคณุ คา่ ทมี่ ตี อ่ ตนเอง เธอเลา่ วา่ วนั หนง่ึ ผใู้ หญ่ ในชมุ ชนซงึ่ มาชว่ ยงานมลู นธิ เิ ลา่ ถงึ เดก็ นอ้ ยคนหนงึ่ ทอี่ ยรู่ ะหวา่ งนงั่ รอพอ่ แม่ กลบั มาจากท�ำงาน ดว้ ยความหิวเด็กนอ้ ยจงึ เดินไปควา้ เปลอื กแตงโมมากนิ แทนอาหาร เปลอื กผลไมน้ นั้ ลอยมากบั ขยะอน่ื ๆ และตดิ อยตู่ ามทอ่ ระบาย น�้ำ ทุกครั้งที่มีฝนตกและไม่สามารถระบายน้�ำได้ทัน ภาพเหล่านี้นับเป็น สภาพแวดล้อมปกตภิ ายในชุมชน เรอ่ื งเลา่ เก่ยี วกบั เหตกุ ารณเ์ ด็กน้อยนำ� เปลือกแตงโมลอยน้�ำมารับประทานประทังความหิวน�ำมาสู่การวิเคราะห์ สภาพปญั หา ซง่ึ ในเวลานนั้ เจา้ หนา้ ทขี่ องศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ ยงั ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ภายในชุมชนไดแ้ มจ้ ะมีที่ต้งั ของส�ำนกั งานอยปู่ ากทางเข้าชมุ ชนก็ตาม จาก จุดนัน้ เอง การรเิ รมิ่ ทำ� กิจกรรมกับเดก็ มุง่ ความสนใจไปยงั สง่ิ ใกล้ตวั ดว้ ย การเก็บข้อมูลโดยให้เด็กเป็นผู้เล่าเร่ืองเก่ียวกับอาหารในชีวิตประจ�ำวัน สภาพทอี่ ยอู่ าศยั ความใฝฝ่ นั และความปรารถนาทพี่ วกเขาตอ้ งการเปลย่ี นแปลง จนกระท่งั น�ำไปสู่การทำ� แผนทช่ี ุมชน จากอาหารในชวี ติ ประจำ� วนั ไดน้ ำ� มาสกู่ ารฝกึ ทำ� สอื่ “สาราน.ุ ..กนิ ” ฉบบั เดก็ ดวงแข การจดั ทำ� แผนทรี่ า้ นอาหาร ในละแวกชมุ ชนทเ่ี ดก็ ๆ พอใจในรสชาติ มคี ณุ ภาพ ราคาเหมาะสมและ เจ้าของร้านมีมนษุ ยสมั พนั ธด์ ี รายชือ่ รา้ นอาหารจำ� นวนหนึง่ ไดถ้ ูกนำ� มาอยู่ รา้ นอาหารในโครงการ “รองเมอื ง...เรอื งยมิ้ ” ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ เยาวชน กบั ผคู้ นรอบชมุ ชนเร่ิมเปิดกวา้ งขึน้ ในทางสร้างสรรค์ 72 สมั ภาษณ์เมอื่ วนั ท่ี 10 มนี าคม 2562 A5_�����������.indd 154 3/23/2563 BE 4:35 PM

เทา่ ทันสือ่ : สร้างเมืองด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 155 การฝกึ ทำ� สือ่ โดยเดก็ และเยาวชนในชุมชนดวงแข ชอ่ื สารานุ..กนิ ทม่ี าภาพ : http://library.thaihealth.or.th/product-detail/6424 จากอาหารในชีวติ ประจ�ำวนั เรือ่ งถดั มาท่ีเด็กสะทอ้ น ได้แก่ ความ ปรารถนาในการปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นภ์ ายในชมุ ชน ทมี งานจากมลู นธิ ใิ ชร้ ปู แบบ การท�ำงานอย่างมีส่วนร่วมต้ังแต่การตัดสินใจว่าการวาดภาพอะไร ใช้สี แบบไหน เลอื กพ้นื ทต่ี รงส่วนไหน การวาดภาพในชมุ ชนไม่เพียงสร้างสีสนั ใหก้ บั พนื้ ทเ่ี ทา่ นนั้ แตย่ งั เปน็ การนำ� เสนอเรอ่ื งเลา่ ในชวี ติ ประจำ� วนั ของพวกเขา ผ่านสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ เช่น การวาดระบายสปี ลาในรูปรา่ งต่าง ๆ เพอ่ื เปน็ ตวั แทนวา่ ผคู้ นทอ่ี าศยั อยใู่ นชมุ ชนมาจากบา้ นเดมิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั และมาอาศยั อยูด่ ้วยกนั การน�ำเสนอภาพเกยี่ วกับอาชพี ของคนในชุมชน เชน่ อาชีพ รับจ้างซกั ผ้า นอกเหนอื จากการดงึ การมีสว่ นร่วมของคนภายในชุมชนแลว้ การประสานความรว่ มมอื กบั เครอื ขา่ ยภายนอกเปน็ เรอ่ื งทมี่ คี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ โดยเฉพาะการปรบั เปลยี่ นพนื้ ทบ่ี รเิ วณกำ� แพงสถานรี ถไฟหวั ลำ� โพง ซ่ึงเป็นทท่ี ้งิ ขยะของร้านค้าชมุ ชนและเป็นทีอ่ าศัยของคนไรบ้ า้ น A5_�����������.indd 155 3/23/2563 BE 4:35 PM

156 เท่าทันส่ือ : สร้างเมอื งด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities การเปลยี่ นแปลงพนื้ ทด่ี งั กลา่ ว โดยใชศ้ ลิ ปะทเ่ี ขา้ กบั ความเปน็ ชมุ ชน เมอื งเปน็ ภารกจิ ทตี่ อ้ งอาศยั ความรว่ มมอื จากทกุ ฝา่ ยและนบั เปน็ เรอ่ื งทท่ี า้ ทาย อยา่ งยงิ่ ทงั้ จากเจา้ ของกำ� แพง คอื สถานรี ถไฟหวั ลำ� โพง สำ� นกั งานเขตปทมุ วนั และชุมชนวัดดวงแข ตลอดรวมถึงชมรมคณะครุศิลป์สู่สังคม นิสิตจาก จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัยทีใ่ ห้การสนับสนุนในการท�ำงานศลิ ปะ จากชุมชน ทีห่ มน่ หมอง มืดอับสูก่ ารสร้างสรรค์พื้นท่ีสวา่ งไสวสดใสซ่งึ ส่งผลให้สมาชิก ในชุมชนมีความมั่นใจในการแสดงตัวตนในฐานะสมาชิกที่มีบทบาทและมี ส่วนร่วมในการเปล่ียนแปลง แตล่ ะปี ชมุ ชนวดั ดวงแขรว่ มกบั ชมุ ชนอกี หลายแหง่ ในละแวกเดยี วกนั จะมกี ารจดั มหกรรมรองเมอื ง เรอื งยม้ิ ตอ่ เนอื่ งมาหลายปี โดยใชก้ ระบวนการ สือ่ สารสรา้ งสรรค์เรือ่ งราววถิ ชี วี ติ อาหาร เพอ่ื สร้างคณุ คา่ ในตัวเอง สรา้ ง ความรสู้ กึ รกั ชมุ ชนใหก้ บั กลมุ่ เยาวชน และใชศ้ ลิ ปะในการเปดิ พนื้ ทสี่ รา้ งสรรค์ ของชมุ ชน จนกระทงั่ “ซอยงเู หลอื ม” ซอยทเ่ี ลก็ แคบและมดื ทส่ี ดุ ในยา่ นปทมุ วนั ไดก้ ลายเปน็ หนง่ึ ในแลนดม์ ารค์ ของยา่ นรองเมอื ง เพอ่ื ใชส้ อ่ื สารกบั คนสว่ นใหญ่ ในมหานครอยา่ งกรงุ เทพไดร้ บั รกู้ ารมอี ยอู่ ยา่ งมศี กั ดศิ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ ตามวถิ ีเมืองของคนกล่มุ หนงึ่ ด้วย กจิ กรรม มหกรรมรองเมือง เรืองย้ิม 3/23/2563 BE 4:35 PM ทมี่ าภาพ : Facebook รองเมืองเรอื งย้มิ A5_�����������.indd 156

เท่าทันส่อื : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 157 ศิลปะ กบั การสร้างนิเวศนเ์ มอื งใหม่ การใชศ้ ลิ ปะเพอื่ นเิ วศนข์ องเมอื งใหม่ เปน็ แนวทางทถี่ กู นำ� มาประยกุ ตใ์ ช้ ในโครงการพนื้ ทน่ี .้ี ..ดจี งั ซงึ่ เปน็ โครงการทที่ ำ� งานรว่ มกบั สถาบนั สอ่ื เดก็ และ เยาวชน (สสย.) มานับทศวรรษ วรพจน์ โอสถาภิรัตน์ กลุ่มดินสอสแี ละ ผู้ประสานงานพ้ืนที่นี้...ดีจัง73 สรุปบทเรียนจากประสบการณ์ท่ีผ่านมาใน การใชศ้ ลิ ปะเพอ่ื สรา้ งการเปลย่ี นแปลงใหก้ บั สงั คม โดยมองวา่ พลงั ขบั เคลอื่ น สงั คมสามารถสรา้ งความเปลย่ี นแปลงจากมมุ เลก็ ๆ ดว้ ยจนิ ตนาการอนั ยง่ิ ใหญ่ ซ่งึ มีทกั ษะสามส่วนด้วยกัน ได้แก่ การคดิ วิเคราะห์ (critical thinking) ความรว่ มมือ (collaboration) และ การส่อื สาร (communication) โดยมี “พลงั ศลิ ปะ” เป็นตัวขับเคลือ่ น ทั้งนี้ พลงั ศลิ ปะ เปน็ ตวั สะท้อน พลงั ความรู้ และพลงั พลเมอื ง องคป์ ระกอบหรอื ผแู้ สดงในการขบั เคลอ่ื นพลงั สงั คมโดยใช้ พลังศิลปะ ประกอบด้วยคน 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ 1) ศลิ ปิน นักจัดการศิลปะและ นักกจิ กรรมสังคม 2) ชุมชน สถาบนั การศึกษา และเอกชน และ 3) รัฐบาล และองคก์ ารปกครองท้องถิ่น วรพจน์ให้ความเห็นเกีย่ วกบั องคป์ ระกอบของ การทำ� งานพน้ื ท่สี รา้ งสรรค์ “เราต้องมตี ้นทนุ พลเมืองท่ีแขง็ ขนั มองเหน็ เมอื งเปน็ เมอื ง มองเหน็ ความเปน็ พลเมอื งในตนเอง กา้ วขา้ มการทำ� งานเชงิ ประเดน็ ยอ่ ย ๆ อยา่ งเดยี ว แต่เนน้ การเคลื่อนงานแบบภาพรวม ท่ีส�ำคญั คอื การท�ำงานเชงิ พ้นื ที่ เกาะตดิ พน้ื ทสี่ าธารณะตา่ ง ๆ ทงั้ เขตเมอื งเกา่ ยา่ นทถ่ี กู หลงลมื สถานศกึ ษาอยา่ งเชน่ มหาวิทยาลัยกท็ �ำงานเช่อื มกับเมอื งได้ จากโครงการ MIDL for Inclusive Cities เรากจ็ ะเร่มิ เห็นการทำ� งานเกาะติดเชิงพืน้ ท่ี หรืออย่างตวั อย่างงาน สามแพรง่ ทที่ ำ� อยู่ ตอ้ งมกี ารดงึ คนนอกเขา้ มาปลกุ ใหค้ นในเหน็ ความสำ� คญั ของพื้นที่ตนเอง สร้างพลังบางอย่างในการปลุกคนในเมืองให้ลุกขึ้นมามี 73 วรพจน์ โอสถาภิรัตน์ วทิ ยากรในงานประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอื่ น MIDL for Inclusive Cities 2019 วันท่ี 29 เมษายน 2562 A5_�����������.indd 157 3/23/2563 BE 4:35 PM

158 เทา่ ทนั สือ่ : สร้างเมอื งด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities วรพจน์ โอสถาภริ ัตน์ หนง่ึ ในผู้รเิ ร่ิมโครงการพืน้ ท่นี ี้ดจี งั แลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารทำ� งาน ท่ีมาภาพ : สสย. สว่ นรว่ มในการสร้างพน้ื ทสี่ ร้างสรรค์ มีส่วนรว่ มกับทกุ สิง่ ปลูกสรา้ งในชุมชน มองเหน็ ชอ่ งทางการพัฒนาอาชพี ในชมุ ชน เพ่ือให้คนยงั คงอยใู่ นชุมชนต่อ ไปได”้ เม่ือปี พ.ศ. 2558 ทีมงานภายในโครงการพื้นทีน่ ด้ี จี งั ไดม้ ีโอกาสไป แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ในประเทศญ่ีปุ่น ท�ำให้คณะท�ำงานได้เล็ง เหน็ ถึงบทบาทของวัด พพิ ิธภณั ฑ์ ศูนย์ศลิ ปะ บา้ นเกา่ ของเมืองใหญอ่ ย่าง เกยี วโต โอซากา้ ทเี่ ขา้ มบี ทบาทในการสรา้ งสรรคพ์ น้ื ทข่ี องเมอื งทเี่ ปดิ ใหพ้ ลเมอื ง มสี ว่ นรว่ มในการออกแบบและจดั การ วรพจนเ์ ลา่ ประสบการณใ์ นครงั้ นนั้ วา่ “ทเี่ กยี วโตมวี ัดส�ำคัญ ซง่ึ เจ้าอาวาสมคี วามตอ้ งการพฒั นาวดั โดย การน�ำศิลปะมาเชือ่ มโยงกับชมุ ชน ภายในวดั มที มี งานคนรนุ่ ใหม่ทำ� หน้าท่ี จัดโปรแกรมการดงู านต่าง ๆ ใช้สญั ลกั ษณว์ งกลมแทนสัญลักษณข์ องวดั เพราะในญปี่ นุ่ วงกลมคอื การรแู้ จง้ หมายถึงร้แู จ้งในตนเองและเข้าใจโลก ภายนอกและสงั คม ภายในวดั จะมหี อ้ งสสุ าน หอ้ งเยยี วยาจติ ใจทป่ี ระกอบดว้ ย A5_�����������.indd 158 3/23/2563 BE 4:35 PM

เทา่ ทันสอื่ : สร้างเมอื งดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 159 ของเลน่ ตา่ ง ๆ มกี จิ กรรมใหเ้ ดก็ วางของเลน่ แลว้ จะมนี กั จติ วทิ ยามาวเิ คราะห์ จติ ใจของเด็ก ณ ตอนน้นั ว่าสภาพปญั หาอะไรบา้ ง แล้วจงึ มีกิจกรรมเพื่อ เยยี วยาจติ ใจ มพี นื้ ทโ่ี รงละคร แสดงดนตรี ซงึ่ ความจรงิ แลว้ เปน็ พนื้ ทอี่ โุ บสถ ทใี่ ช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา กลุ่มเป้าหมายของวดั คอื เดก็ เน่ืองจากสังคมญป่ี ่นุ จะปลูกฝงั ให้ เด็กต้องร้ตู ัววา่ โตขึ้นไปจะเปน็ อะไร เด็กญ่ปี ุน่ จึงมีความเครยี ดคอ่ นข้างสงู แตท่ วี่ ดั เนน้ ใหเ้ ดก็ ลงมอื ทำ� กจิ กรรมศลิ ปะ โดยไมใ่ หค้ วามสำ� คญั เรอื่ งเปา้ หมาย ชวี ติ มากนกั เน้นการจดั กิจกรรมศิลปะเพอ่ื ให้เดก็ เรียนร้ตู ัวเอง” วรพจนแ์ ละทมี งานไดล้ งพืน้ ท่เี รยี นรู้พิพธิ ภณั ฑแ์ หง่ หนงึ่ ซึ่งตั้งอยใู่ น ยา่ นชอ็ ปปง้ิ ในแตล่ ะชน้ั ของตวั อาคารนำ� เสนอวถิ ชี วี ติ ของผคู้ นแตล่ ะยคุ สมยั “เมอ่ื เดนิ ลงมาเรากจ็ ะสมั ผสั ผคู้ นทใี่ ชช้ วี ติ ในเมอื งเกา่ ซง่ึ มรี ายละเอยี ด เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ของเมอื ง เชน่ รอ่ งนำ�้ ผเี สอ้ื แมว ทำ� ใหเ้ หน็ โอซากา้ ในยคุ เอโดะ ทม่ี ีชีวิตชีวา มีการปรับเวลาในพิพธิ ภัณฑใ์ ห้มีทงั้ เวลาเชา้ -เย็น มกี ารปรับ สภาพอากาศใหใ้ กล้เคียงกับความเปน็ จรงิ ท�ำให้ผู้คนท่ีเขา้ มาชมสามารถ เข้าใจถึงความละเมียดละไมของชีวิตผู้คนในโอซาก้าในยุคนั้น ในชั้นที่ 7 ของอาคาร เปน็ การนำ� เสนอโอซาก้ายคุ ใหม่ ทกุ อย่างถูกย่อสว่ นใหเ้ ลก็ ลง เหน็ ภาพแรงงานอพยพในเขตชนบท ภาพแผนทเี่ มอื งโอซากา้ ทำ� ให้เกดิ จดุ สงั เกตว่าทำ� ไมเมืองเกา่ ตอ้ งสร้างใหม้ ีความอลังการ ในขณะทเี่ มืองใหม่ ถูกยอ่ ให้เล็กลง จากนน้ั มีการลงพื้นทดี่ ยู า่ นบา้ นเก่า ซงึ่ เหลืออยปู่ ระมาณ 15-20 หลัง โดยมคี ณุ ปา้ เจา้ ของบา้ นคอยตอ้ นรับ และเป็นจดุ เร่มิ ตน้ ใน การทำ� วจิ ยั เรอ่ื งการอนรุ กั ษบ์ า้ นเกา่ นาโกยา่ แหง่ นขี้ องมหาวทิ ยาลยั ในโอซากา้ เป้าประสงค์ไม่ใช่แค่การอนุรักษ์บ้านเก่า แต่ต้องเป็นการท�ำบ้านเก่าให้มี ชวี ติ ชีวา มคี นมาเชา่ อยูจ่ รงิ จึงจะทำ� ใหบ้ า้ นเกา่ น้ียังดำ� รงอยไู่ ด้ ปจั จบุ ันมี ผู้เช่าท้ังท่ีเป็นกลุ่มทอผ้า คนหนุม่ สาวรุ่นใหมท่ ่เี ข้ามาใชช้ วี ิตท่นี ”ี่ A5_�����������.indd 159 3/23/2563 BE 4:35 PM

160 เทา่ ทนั ส่ือ : สรา้ งเมอื งด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities จากกรณบี า้ นเกา่ แหง่ เมอื งโอซากา้ เมอื่ นำ� มาเทยี บเคยี งกบั กรงุ เทพ มหานครในกรณีป้อมมหากาฬ ชุมชนเก่าแก่ย่านนั้นในปัจจุบันถูกเปล่ียน เป็นสวนสาธารณะท่ีไม่มีร่องรอยของอดีต อีกทั้งยังมีคนใช้งานน้อยมาก นับเป็นตัวอย่างที่สะท้อนแนวคิดการพัฒนาเมืองที่แตกต่างกันระหว่างไทย กับญีป่ ่นุ อย่างชดั เจน วรพจน์ได้ยกตวั อยา่ ง การเปลยี่ นแปลงการใช้พืน้ ทอ่ี ันเนื่องมาจาก การเปลยี่ นแปลงของโครงสรา้ งประชากรในญปี่ นุ่ ซงึ่ มสี ภาวะเปน็ สงั คมสงู วยั เดก็ เกดิ นอ้ ยลง โรงเรยี นในกรงุ เกยี วโตหลายแหง่ จำ� เปน็ ตอ้ งปดิ ตวั ลง พวกเขา ไดม้ ีโอกาสไปเรียนรู้ Kyoto Art Center74 ซึ่งแตเ่ ดิมเคยเปน็ โรงเรยี นทีป่ รับ เปลี่ยนมาเป็นศูนย์แสดงงานศิลปะ โดยการผลักดันของคนในชุมชนและ เทศบาลเมืองเกียวโต โรงยิมของโรงเรียนถูกปรับเป็นห้องอเนกประสงค์ แสดงงานศลิ ปะ มีหอ้ งน้ำ� ชา หอ้ งบลั เลต่ ์ ซ่งึ Kyoto Art Center ไดร้ บั การสนับสนุนทุนโดยเทศบาลเมืองเกียวโตให้กับศิลปินเข้ามาจัดแสดงงาน ศิลปะ มกี ารจัดกจิ กรรมทกุ สปั ดาห์ในประเด็นตา่ ง ๆ ซ่ึงทกุ คนในชมุ ชน ทกุ ช่วงวัยตา่ งได้เข้ามาใช้ประโยชน์ในพนื้ ท่ีนี้ Kyoto Art Center ท่ีมาภาพ : http://www.kac.or.jp/eng/ 74 สนใจความเปน็ มา โปรดดูเพม่ิ เตมิ ใน http://www.kac.or.jp/eng/history/ A5_�����������.indd 160 3/23/2563 BE 4:35 PM

เท่าทันสอื่ : สร้างเมอื งด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 161 สถานท่ีต่อมาท่ีวรพจน์และคณะได้ไปเยือนในกรุงเกียวโตคือ the Higashiyama Artists Placement Service หรอื HAPS75 องคก์ รอาสาสมคั ร มอื อาชพี ซงึ่ มกี ฎหมายรบั รองอาชพี อาสาสมคั ร ทำ� งานในเขตบา้ นเกา่ ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต�ำ่ มกี ารซอ่ มแซมบา้ นเก่าให้ศิลปินเข้ามา ใชง้ านเพอ่ื จดั แสดงงานศลิ ปะในตวั บา้ น เปลยี่ นผนงั บา้ นใหก้ ลายเปน็ กระจก เพอ่ื ใหค้ นทวั่ ไปมองเหน็ ได้ มกี ารรโี นเวทบา้ นเพอื่ ใหค้ นเขา้ มาเชา่ เปน็ การสรา้ ง มูลคา่ ใหก้ บั บ้านเก่า ดว้ ยความทเี่ มืองเกียวโต โรงเรยี นสว่ นใหญจ่ ะเป็นของ ชุมชน ผปู้ กครองจงึ มบี ทบาทอย่างย่ิงในการร่วมตดั สินใจว่าจะใหโ้ รงเรยี น เก่าถูกพัฒนาไปอยา่ งไร โดยทำ� งานร่วมกับ HAPS ภายในพ้นื ทโ่ี รงเรยี นเกา่ จะถูกน�ำเสนองานศิลปะเพ่ือส่ือสารกับชุมชนในประเด็นท่ีสามารถยกระดับ ความเป็นพลเมอื งได้ เช่น เร่อื งขยะ แนวคิดเรอื่ งปฏสิ ัมพันธข์ องคนในยุค ดิจิทลั พื้นท่ีแสดงงานศลิ ปะเหลา่ นเ้ี ปน็ พ้นื ทเี่ ชอ่ื มโยงผูค้ น สรา้ งพืน้ ทีท่ าง ความคิดให้กบั ผ้คู นเพอื่ พูดคยุ ถกเถียงในประเดน็ ทม่ี ีการจัดแสดงผลงาน Higashiyama Artists Placement Service ทมี่ าภาพ : https://www.facebook.com/hapskyoto/ 75 สนใจโปรดดูเพม่ิ เตมิ ท่ี http://haps-kyoto.com/en/about/ A5_�����������.indd 161 3/23/2563 BE 4:35 PM

162 เทา่ ทนั สือ่ : สรา้ งเมอื งด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities การลงทนุ ดา้ นศลิ ปะะในเขตพนื้ ทเี่ มอื งเกา่ เปน็ แนวทางหนง่ึ ทญี่ ปี่ นุ่ ใชใ้ นการพัฒนาเมือง ซึ่งนอกจากจะท�ำให้ชุมชนน้นั เป็นท่ีรู้จักแล้ว ยงั สร้าง มูลค่าเพ่ิมให้กับอาคารเก่า ทำ� ให้ทุกคนไดป้ ระโยชนจ์ ากการท่องเท่ียวด้วย วรพจนย์ กตัวอยา่ งในเมอื งโอซากา้ ย่านคติ ะคากาย่า ซึ่งมีพื้นทโ่ี รงอาบนำ้� สาธารณะเกา่ ไดรบั การพฒั นาเปน็ สวนผักชุมชน ท่ที ุกคนสามารถเข้ามา ปลูกผกั นำ� ไปบรโิ ภคได้ ใกล้ ๆ กนั มีพ้นื ที่ให้เช่าเพอ่ื ขายผลติ ภณั ฑช์ ุมชน เชน่ ข้าวกล่องทีใ่ ช้ผกั จากสวนผัก มีอะพาร์ตเมนตร์ า้ ง ทถี่ กู เปล่ยี นเป็นพน้ื ท่ี ศลิ ปะจัดงานนิทรรศการตา่ ง ๆ มีการพัฒนาอตู่ ่อเรอื เกา่ เจ้าของบริษทั ทเ่ี ปน็ ผเู้ ชา่ ท�ำงานรว่ มกบั ศลิ ปะ จัดงานเทศกาลศิลปะโดยใช้พ้ืนทอ่ี ู่ต่อเรอื เก่านี้ มกี ารให้สญั ญาเชา่ กว่า 30 ปี กับภารกจิ การจดั แสดงงานศิลปะ มกี ารปรบั พน้ื ทอ่ี ตู่ อ่ เรอื เปน็ โรงละคร และยงั เปน็ มรดกอตุ สาหกรรมยคุ ใหมข่ องญปี่ นุ่ ดว้ ย นอกจากนี้ ยงั มีฟารม์ เพาะปลกู ศิลปะ ท่เี ปน็ แหล่งบ่มเพาะคนรุ่นใหม่เพื่อ สร้างสรรค์งานศิลปะ มีชมรมคนเฒ่าคนแก่ ท่ีสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะด้วย การแรเงาภาพแล้วน�ำมาจดั แสดง มกี ารเลา่ เร่อื งประกอบภาพแรเงาน้นั ๆ โดยผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน มงี านฝมี อื ถกั โครเชต์ จดั แสดงในรปู แบบของงานศลิ ปะ เลา่ เรอ่ื งของตนเองผา่ นผลงานทเ่ี กดิ ขน้ึ วรพจนเ์ หน็ วา่ ศลิ ปะนนั้ มพี ลงั มากกวา่ การพฒั นาระดบั บคุ คล แตส่ ามารถนำ� มาสรา้ งนเิ วศนเ์ มอื งใหม่ ทท่ี กุ คนเขา้ มา มีส่วนร่วมในการสรา้ งเมืองด้วยศิลปะ ไม่วา่ จะเป็นคนในชุมชนทุกช่วงวัย ก่อให้เกิดการท�ำงานร่วมกับอาสาสมัครมืออาชีพ ซ่ึงประเทศไทยยังขาด กฎหมายรับรองอาชีพนี้ บทเรียนในญ่ีปุ่นยังได้แสดงให้เราเห็นแนวคิด เรอื่ งการรกั ษาเมอื งเกา่ ทไี่ มใ่ ชก่ ารอนรุ กั ษไ์ วใ้ หค้ งเดมิ แตเ่ ปน็ การปรบั เปลย่ี น ใหส้ อดคลอ้ งกบั ยคุ สมยั การทำ� ใหม้ ชี วี ติ ชวี า ซง่ึ เมอ่ื ทกุ คนไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในพื้นที่ศิลปะได้นั่นคือการพัฒนาความเป็นพลเมืองให้เกิดขึ้นกับคนใน พน้ื ที่ A5_�����������.indd 162 3/23/2563 BE 4:35 PM

เทา่ ทนั สอ่ื : สรา้ งเมอื งดว้ ยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 163 Coco Room ร้านกาแฟและเกสต์เฮ้าสท์ ่ีจัดให้มีเทศกาลแสดงศิลปะ และเปิดให้คนไรบ้ า้ นเขา้ มามีส่วนร่วม ทม่ี าภาพ : https://ecophiles.com/2017/06/28/cocoroom-art-homeless-talent-osaka-hotel/ ศิลปะยังถูกน�ำมาใช้เพื่อดึงให้คนชายขอบอย่างคนไร้บ้านแห่งเมือง โอซาก้าไดเ้ ข้ามาเป็นสว่ นหนึ่งในการแสดงงานศลิ ปะอกี ด้วย วรพจนเ์ ล่าถึง โคโคร่ มู (Coco Room)76 ซง่ึ เปน็ ทง้ั รา้ นกาแฟและเกสตเ์ ฮา้ ส์ ทจ่ี ดั ใหม้ เี ทศกาล แสดงงานศิลปะ และเปิดใหค้ นไรบ้ ้านเข้ามามสี ว่ นร่วม เวทีการแสดงจะมี ผแู้ สดงทเี่ ปน็ ทงั้ คนไรบ้ า้ นและศลิ ปนิ คนไรบ้ า้ นมโี อกาสไดน้ ำ� เสนอธมี ศลิ ปะ เพอ่ื นำ� เสนอตอ่ สงั คม เสรมิ พลงั ใหค้ นไรบ้ า้ นรสู้ กึ มคี ณุ คา่ ในตนเอง มกี ารแลกเปลยี่ น ระหว่างกลุ่มคนไร้บ้านในเขตพ้ืนที่ต่าง ๆ สร้างเครือข่ายคนไร้บ้านท�ำงาน ร่วมกนั 76 https://ecophiles.com/2017/06/28/cocoroom-art-homeless-talent-osaka-hotel/ A5_�����������.indd 163 3/23/2563 BE 4:35 PM

164 เท่าทนั สอ่ื : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities ประสบการณ์ การใช้ศลิ ปะเคล่ือนเมอื ง ณ ชมุ ชนวังยาง จังหวดั อตุ รดติ ถ์ หอ้ งเรียนตกู้ ับขา้ ว ภาพตวั แทนการส่อื สารของเมืองท่ผี ้คู นมีอาหารการกิน ท่ปี ลอดภยั และผู้คนมีสขุ ภาพดี ทมี่ าภาพ : โครงการศลิ ปะเคลอื่ นเมือง พนื้ ทีส่ รา้ งสุข “Wang Yang Arts Community” การใช้ศิลปะในการเคลอ่ื นเมอื ง เปน็ แนวทางการจัดกจิ กรรมท่ีไดม้ ี การทดลองน�ำมาใช้ในเขตชุมชนวงั ยาง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั อุตรดิตถ์ โดย รดี ธนารกั ษ์ นกั วชิ าการดา้ นสอื่ สารมวลชนแหง่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อตุ รดติ ถ์ เลา่ วา่ ชุมชนวังยางอยู่ติดริมแมน่ ้ำ� น่าน ตั้งอยใู่ นเขตอำ� เภอเมอื ง เปา้ หมาย ของกจิ กรรมตอ้ งการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาสงั คมในการพฒั นา พืน้ ที่สาธารณะเพ่ือใหเ้ กดิ การใช้ประโยชนร์ ว่ มกันของสมาชกิ ในชมุ ชน ซง่ึ สภาพพ้ืนท่ีโดยรอบของชุมชนได้รับผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมจากโรงงาน น�้ำตาลและโรงงานผลิตสุรา รวมท้ังเป็นที่ตั้งของสนามบินเก่าที่ปัจจุบัน ไมไ่ ด้มกี ารเปดิ ใชง้ าน อยา่ งไรกต็ ามสภาพความเป็นเมอื งทีผ่ ้คู นต่างวนุ่ อยู่ กับกจิ กรรมของปัจเจกบุคคลและครอบครวั การท�ำความรู้จักผู้คนในชุมชน A5_�����������.indd 164 3/23/2563 BE 4:35 PM

เท่าทนั สอ่ื : สร้างเมืองดว้ ยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 165 กลายเป็นสง่ิ ท่ไี ม่เคยเกิดข้นึ มากอ่ น รดรี ว่ มมอื กบั นักวิชาการดา้ นศลิ ปกรรม จากสถาบันการศึกษาเดียวกนั เชญิ ชวนนักศึกษา และเยาวชนท้งั ในและ นอกพนื้ ทอี่ อกเดินสำ� รวจทำ� ความรู้จกั ชมุ ชนเมืองเปน็ กิจกรรมเบ้ืองตน้ โดย ตง้ั ชอื่ กจิ กรรมวา่ “เดนิ วงั ยาง ทำ� เรอื่ งเชยใหเ้ ปน็ เรอื่ งชคิ ของชมุ ชน” การเดนิ เมอื ง เป็นเครื่องมือส�ำคัญท่ีเปิดให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสัมผัสกับสภาพแวดล้อมและ เกบ็ ข้อมลู ความเป็นไป ตลอดจนความเหน็ และความต้องการของสมาชกิ ของชุมชน การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงและการแลกเปลี่ยนมุมมอง ทำ� ให้เกิดความปรารถนารว่ มกันของสมาชกิ ในชุมชน ได้แก่ การเปน็ เมอื งท่ี ผคู้ นมสี ุขภาพทด่ี ี โดยเฉพาะในเร่ือง อาหารปลอดภัย จึงน�ำมาสกู่ ิจกรรมท่ี ต้ังชื่อวา่ “หอ้ งเรียนตูก้ บั ข้าว” รูปแบบการส่อื สารการสรา้ งเมืองแห่งความสขุ ดว้ ยการมอี าหารการกนิ ทป่ี ลอดภยั ไดน้ ำ� เสนอผา่ นการจดั นทิ รรศการ การวาดภาพ จากสธี รรมชาติ การจดั ทำ� เมนอู าหารปลอดภยั และการเพน้ ทภ์ าพบนกระเปา๋ ผา้ A5_�����������.indd 165 3/23/2563 BE 4:35 PM

166 เท่าทันสื่อ : สร้างเมอื งดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities A5_�����������.indd 166 3/23/2563 BE 4:35 PM

เท่าทันสื่อ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 167 A5_�����������.indd 167 3/23/2563 BE 4:35 PM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook