Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม

คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม

Published by สนง.พมจ.ชลบุรี, 2022-02-10 06:41:12

Description: หมวดหมู่ : สาระน่ารู้
ชื่อหนังสือ : คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม
ชื่อหน่วยงานเจ้าของ : สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ปีที่จัดพิมพ์ : 2559
จำนวน(หน้า) : 130 หน้า

Search

Read the Text Version

¡ÃзÃǧ¡ÒþѲ¹ÒÊѧ¤ÁáÅФÇÒÁÁÑ蹤§¢Í§Á¹ØÉ



¤ÓÈѾ·¹ ‹ÒÃÙŒ à¡ÕèÂǡѺ§Ò¹¾Ñ²¹ÒÊѧ¤Á กองวช� าการ สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย www.m-society.go.th

เคร่ืองหมายราชการ ประจ�ำกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ เป็น พระประชาบดี พระประชาบดีหมายถึง เทพผู้เป็นท่ีพ่ึงของประชาชน เป็นบุตรของพระพรหม หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า เทพมเหศักดิ์ ซึ่งเป็นผู้ให้การสงเคราะห์แก่ประชาชน เป็นมนสาบุตร หมายถึง พระพรหมนึกให้เกิดพระประชาบดีและบริวาร ซึ่งเป็นฤๅษี 7 ตน หรือสัปตฤๅษี ได้รับมอบหมายจากพระพรหมให้มาสร้างมนุษย์และ สัตว์อ่ืนๆ เมื่อทรงสร้างเสร็จแล้ว ได้ถนอมเลี้ยงดูดจุ บดิ าเลี้ยงดูบุตรด้วยความเมตตากรุณา โดยไมค่ ำ� นึงผลตอบแทนแม้แต่นอ้ ย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จึงได้ก�ำหนดให้มีเคร่ืองหมายประจ�ำกระทรวง เป็นรูปวงกลม ลายตรงกลางวงกลมเป็นรูปพระประชาบดีประทับอยู่เหนือแท่น มีลายกนกเป็นภาพศีรษะฤๅษี 7 ตน อยู่รอบวงกลม เดียวกัน ซ่ึงแสดงถึงความร่วมมือของทุกส่วนในสังคม เบื้องล่างมีอักษร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนษุ ย์ ฤๅษี 7 ตน หรือสัปตฤๅษี ซึ่งน�ำมาบรรจุในเคร่ืองหมายด้วยน้ัน มีความหมายเกี่ยวกับ การพัฒนาสังคมและ สวสั ดิการ เพ่ือก่อให้เกดิ ความมัน่ คงของมนษุ ยแ์ ละความมน่ั คงทางสงั คม 7 ประเภท คือ 1. การพัฒนาสังคมและจัดสวสั ดกิ ารเด็กและเยาวชน 2. การพัฒนาสงั คมและจัดสวัสดิการครอบครวั 3. การพฒั นาสงั คมและจัดสวสั ดิการสตรี 4. การพัฒนาสังคมและจัดสวัสดกิ ารคนพกิ ารและผู้สงู อายุ 5. การพัฒนาสงั คมและจัดสวสั ดกิ ารผูด้ อ้ ยโอกาสและอน่ื ๆ 6. การพัฒนาสงั คมและจดั สวัสดิการท่อี ยู่อาศัย 7. การพฒั นาสงั คมและจัดสวัสดกิ ารชมุ ชนและสังคม ตามประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เร่ือง ก�ำหนดภาพเครื่องหมายราชการตามพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายราชการ  พุทธศกั ราช 2482 (ฉบับท ี่ 181) ในราชกจิ จานเุ บกษา เมอื่ วนั ที ่ 27 กุมภาพนั ธ ์ พ.ศ. 2546 ชื่อหนงั สือ : คำ� ศพั ทน์ า่ ร้เู กย่ี วกบั งานพัฒนาสังคม จ�ำนวนหน้า จ�ำนวนพิมพ์ : 128 หนา้ พมิ พเ์ ม่ือ จดั พมิ พโ์ ดย : 3,000 เล่ม ข้อมูลบรรณานุกรม : กนั ยายน 2559 (ฉบับปรบั ปรงุ ) พิมพ์ท่ี : กองวิชาการ สำ� นกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ถนนกรุงเกษม แขวงมหานาค เขตป้อมปราบศตั รูพ่าย กรุงเทพ 10100 โทรศัพท์ 0 2202 9051, 0 2202 9090 โทรสาร 0 2202 9049 : เอกสารวชิ าการ ล�ำดับที่ 113 เลม่ ท ี่ 3/2559 : บจก.ทเู กเตอร์ เอด็ ดูเทนเมนท์  โทรศพั ท ์ 0 2045 3348

คำ�ปรารภ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนษุ ย์ “มนุษย์” มีหลากมิติ หลายมุมมอง การพัฒนาสังคม การจัดสวัสดิการสังคม และการทำ�ให้เกิด ความมั่นคงของมนุษย์จึงเป็นภารกิจของทุกหน่วยงาน โดยมีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย์เป็นหน่วยงานหลักในการก�ำ หนดแนวทางการพัฒนา และแนวทางปฏิบัติงาน ซ่ึงการท�ำ งาน ร่วมกันจำ�เป็นต้องมีความเข้าใจที่ชัดเจน ตรงกัน ปัจจุบันทุกภาคส่วนมีการปฏิบัติงานภายใต้ภารกิจ  และมาตรฐานเฉพาะของตนเอง ซ่ึงมีความแตกต่างกันไปตามความรับผิดชอบ ในหลายกรณีเกิดความ เข้าใจที่คลาดเคล่ือนไม่ตรงกัน มีผลทำ�ให้การปฏิบัติงานร่วมกันเกิดปัญหาในการเช่ือมโยงความเข้าใจ ในการมุง่ สทู่ ศิ ทางและเปา้ หมายเดยี วกัน  กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีการขับเคล่ือนงาน 8 เรื่องเร่งด่วน 5 ด้านการปฏิรูปและพัฒนา และ 11 พันธกิจ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากร องค์กรและกระบวนงาน  ระบบการทำ�งาน กฎหมายด้านสังคม และการจัดสวัสดิการสำ�หรับบุคลากร ให้มีมาตรฐานเพ่ือ แก้ปัญหาข้างต้น ซึ่งเล็งเห็นประโยชน์ของการเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารที่จะสามารถแก้ปัญหา และลดช่องว่างในการทำ�งานร่วมกัน กระทรวงฯ จึงจัดทำ� “คำ�ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม” ขึ้น  มีวัตถุประสงค์เพ่อื ส่อื สารหลักการดำ�เนินงาน เป้าหมาย และแนวคิด รวมท้งั ความเช่อื ในการปฏิบัติงาน ของกระทรวงฯ ให้มีความชัดเจนในการกำ�หนดมุมมอง มิติในเชิงกระบวนคิด และการทำ�งาน ในทิศทางเดียวกัน อันจะส่งผลให้เกิดพลังในการทำ�งานร่วมกันอย่างแท้จริง รวมทั้งเป็นการพัฒนา งานวิชาการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในภาพรวมของประเทศเกิดการบูรณาการ ทุกหน่วย เพ่ือการพัฒนาระบบการดำ�เนินงานอย่างมีมาตรฐาน ผลักดันให้เกิดสังคมสวัสดิการ  สามารถสนับสนุนการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรอ์ ย่างแท้จริงต่อไป พลตำ�รวจเอก          (อดลุ ย ์ แสงสิงแก้ว) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์



คำ�นำ� เอกสารฉบับน้ี จัดทำ�ขึ้นเพื่อรวบรวม “คำ�ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม” ท่ีใช้ในภารกิจ ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ครอบคลุมงานด้านพัฒนาสังคม  ด้านสวัสดิการสังคม และด้านความม่ันคงของมนุษย์ ที่มีความหมายเชิงนามธรรมและการตีความ ต่างกันตามวัตถุประสงค์การใช้งาน กระทรวงฯ จึงมีเป้าหมายการจัดทำ� “คำ�ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับ งานพัฒนาสังคม” เพ่ือให้ความหมายของคำ�มีความชัดเจน และเกิดความเข้าใจท่ีตรงกันของบุคลากร ของกระทรวงฯ และบุคคลภายนอก ทงั้ นี ้ เพื่อประสิทธิภาพในการสอื่ สารและการปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั   กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน และเครือข่ายของกระทรวงฯ ในการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ชัดเจน  ตรงกนั ในการน�ำ มาใช้ประโยชนต์ ่อไป (นายไมตรี อนิ ทสุ ุต) ปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์



สารบัญ หนา้ ก คำ�ปรารภรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ค ค�ำ น�ำ 1 1 การขอทาน 2 2 การคา้ ประเวณี 2 3 การคา้ มนุษย์ 3 4 การป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ 3 5 (การ)คุ้มครอง 3 6 การคุ้มครองเด็ก 4 7 การคุ้มครองคนไรท้ ีพ่ ง่ึ 4 8 การคมุ้ ครองทางสงั คม (Social Protection) 5 9 การคุ้มครองสวสั ดิภาพ 5 10 การจัดการทางสงั คม (Social management)  6 11 การจัดระเบยี บชมุ ชน (Community Organization)  7 12 การจดั การรายกรณ ี (Case Management)  9 13 การชว่ ยเหลือคุ้มครองเบือ้ งตน้ 9 14 การฌาปนกจิ สงเคราะห์  10 15 การดูแลระยะยาว (Long term care)  10 16 การตงั้ ครรภ์ไม่พงึ ประสงค์  11 17 การเตือนภัย 

18 การทดสอบความยากจน (Means test)   หนา้ 19 การทดสอบความยากจนทางอ้อม (Proxy means test)   11 20 การแบง่ งานระหว่างหญงิ ชาย (Sexual Division of Labor)  11 21 การพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื  (Sustainable Development)  12 22 การพัฒนามนุษย์ (Human Development)  12 23 การพฒั นาสงั คม (Social Development)  15 24 การพิทักษส์ ทิ ธ ิ 17 25 การฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ  19 26 การเลือกปฏิบตั โิ ดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ  19 27 (การ)สงเคราะห ์ 20 28 การส่งเสรมิ ประชาสังคมเพอ่ื การพฒั นา  20 29 กจิ การเพอ่ื สงั คม (Social Enterprise)  20 30 กลุ่มเด็กพิเศษ เด็กที่มีความสามารถพิเศษ เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ  21 22 (Special Need Child)  31 ขบวนการทางสังคม (Social Movement)  22 32 ความต้องการขัน้ พนื้ ฐาน (Basic Needs)  23 33 ความเป็นธรรมทางเพศ (gender equity)  23 34 ความเปน็ หญิงเปน็ ชาย (gender)  24 35 ความม่นั คงของมนุษย ์ (Human Security)  24 36 ความม่ันคงทางสงั คม (Social Security)  28 37 ความยากจน (poor)  28

38 ความรุนแรงในครอบครวั   หนา้ 39 ความเหล่ือมล�้ำ ระหวา่ งหญงิ และชาย (Gender Disparity)  29 40 คุณภาพชวี ิต (Quality of Life)  30 41 คนพิการ (Persons with Disabilities)    30 42 คนไร้ท่พี ง่ึ   32 43 คนไรร้ ฐั   33 34 • คนไร้สญั ชาติ (Nationalityless) และคนไรร้ ฐั  (Stateless) 34 44 ครอบครัว  35 45 ครอบครวั เข้มแขง็   35 46 ครอบครวั ขยาย (extended family)  36 47 ครอบครัวเดย่ี ว (nuclear family)  37 48 ครอบครัวฟนั หลอ  37 49 ครอบครวั อบอุ่น  38 50 ครอบครวั อปุ ถัมภ์ (Foster Family)  38 51 เครือขา่ ย (Network)  39 52 เครอื ขา่ ยสังคม (Social Network)  39 53 เครือขา่ ยองคก์ รชมุ ชน  40 54 เครือข่ายองค์กรสวสั ดิการชมุ ชน  40 55 โครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม หรือ โครงข่ายความปลอดภัยทางสังคม 40 (Social Safety Nets) 43 56 เงินอดุ หนุนเพ่อื การเล้ยี งดูเดก็ แรกเกดิ  

57 จิตอาสา  หน้า 58 ชาตพิ นั ธ์ุ (ethnos)  44 59 ชาวเล  45 60 ชนกล่มุ นอ้ ย  45 61 ชมุ ชน  45 62 ชมุ ชนท้องถ่ินจัดการตนเอง  46 63 ชอ่ งวา่ งระหวา่ งหญงิ และชาย (Gender Gap)  49 64 ฐานการค้มุ ครองทางสงั คม (Social Protection Floor)  50 65 เด็ก (Child)  50 66 เดก็ กำ�พรา้  (Orphan)  50 67 เด็กถูกทอดทิ้ง  51 68 เด็กที่เสี่ยงต่อการกระท�ำ ผดิ  (Children in risk of offence)  51 69 เด็กที่อยูใ่ นสภาพยากลำ�บาก (Children in difficult circumstances)  51 70 เดก็ พกิ าร (Disabled Children)  52 71 เดก็ เร่รอ่ น (Street Children)  52 72 ตวั ชี้วัดทางสังคม (Social Indicator)  52 73 ทารณุ กรรม (Abuse)  52 74 ทนุ ทางสังคม (Social Capital)  53 75 ธุรกิจเพ่ือสงั คม (Social Enterprise)  54 76 ธุรกจิ ทม่ี คี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคม  56 57 (Corporate Social Responsibility : CSR)

77 นักพัฒนาสังคม หนา้ 78 นกั สงั คมสงเคราะห์ 58 79 บา้ นมนั่ คง  58 80 บุคคลทอ่ี ยูใ่ นสภาวะยากล�ำ บากและไมอ่ าจพ่งึ พาบคุ คลอื่นได ้ 58 81 บรกิ ารสงั คม (Social Servises)  59 82 บทบาทเพศ (Sex roles)  60 83 บทบาทหญิงชาย (Gender roles)  63 84 ประชานิยม  64 85 ประชารฐั   64 86 ประชาสังคม  65 87 ปญั หาสังคม (Social Problem)  65 88 ผู้ช่วยคนพกิ าร  66 89 ผูด้ แู ลคนพิการ  67 90 ผดู้ ้อยโอกาส (Vulnerable Group)  67 91 ผปู้ ระกอบวิชาชพี สงั คมสงเคราะห์ 68 92 ผปู้ ระกอบวชิ าชพี สงั คมสงเคราะหร์ บั อนุญาต 68 93 ผไู้ ร้ทีอ่ ยู่อาศัย  68 94 ผู้สงู อายุ (Older Persons)  69 95 มาตรฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ  69 96 ยากไร้  69 97 เยาวชน (Youth)  70 70

98 ระบบเตือนภัย หรือ ระบบเตอื นภัยลว่ งหนา้  (Early Warning System) หน้า 99 ระบบสวัสดกิ ารสังคม  70 71 • การชว่ ยเหลอื ทางสังคม (Social Assistance) 71 • การประกนั สังคม (Social Insurance) 72 • การบริการสังคม (Social Service) 72 • การสนับสนุนหนุ้ สว่ นทางสงั คม (Social partnership Support) 73 100 รัฐสวัสดกิ าร (Welfare State)  73 101 แรงงานขา้ มชาต ิ (Migrants)  74 102 แรงงานต่างดา้ วหลบหนเี ขา้ เมือง  75 103 แรงงานนอกระบบ (Informal Workers)  75 104 โรงรับจ�ำ นำ�  75 105 ลภี้ ยั  (Seek asylum)  76 106 วชิ าชพี สังคมสงเคราะห์ 76 107 วชิ าชีพสังคมสงเคราะหร์ บั อนญุ าต 76 108 วสิ าหกิจเพ่ือสงั คม  76 109 เศรษฐกิจพอเพยี ง (Sufficiency economy)  77 110 สถานการคา้ ประเวณี  78 111 สถานคุม้ ครองและพัฒนาอาชีพ  78 112 สถานค้มุ ครองสวสั ดภิ าพ (Welfare and Protection Home)  79 113 สถานธนานุเคราะห ์ 79 114 สถานพฒั นาและฟื้นฟ ู (Development  and Rehabilitation center) 80

115 สถานพนิ จิ   หน้า 116 สถานรับเล้ียงเดก็   80 80 (Children care Center/Pesidential care for Children) 117 สถานแรกรับ (Reception Home)  80 118 สถานสงเคราะห์  81 119 สภาเดก็ และเยาวชน  81 120 สภานกั เรยี น  82 121 สภาองค์กรชุมชน  82 122 สวัสดิการกระแสหลัก  83 123 สวสั ดิการกระแสรองหรือสวัสดิการทางเลือก 83 124 สวสั ดกิ ารเกบ็ ตก  84 125 สวัสดิการชมุ ชน  84 126 สวัสดิการโดยรัฐ  84 127 สวัสดิการท้องถิน่   85 128 สวสั ดกิ ารนยิ ม  85 129 สวัสดิการพหลุ ักษณ ์ 85 130 สวัสดกิ ารพ้ืนถน่ิ   85 131 สวสั ดกิ ารสงั คม (Social Welfare)  86 132 สวสั ดกิ ารถ้วนหนา้  (Welfare for All)  91 133 สงั คมนยิ ม  91 134 สังคมสวัสดกิ าร (Welfare Society)  92

135 สงั คมสงเคราะห ์ (Social Work)  หนา้ 136 สญู เสยี  (Loss)  92 137 อารยสถาปัตย ์ (Universal design)  101 138 อาสาสมคั ร (Volunteer)  102 139 อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย ์ 103 140 อาสาสมัครเพือ่ สังคม  104 141 องคก์ ารสวัสดกิ ารสงั คม  104 142 องค์กรชุมชน  105 143 องค์กรพัฒนาเอกชน  105 144 องคก์ รภาคประชาชน  105 145 องค์กรภาคประชาสงั คม  105 146 องคก์ รสาธารณประโยชน ์ 106 147 องค์กรสวัสดกิ ารชมุ ชน  106 148 องคก์ รอาชญากรรม  106 149 อพยพ (Evacuate)  107 ภาคผนวก  107 คณะผู้จดั ท�ำ 108 111

คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 1 คำ�ศพั ทใ์ นงานพัฒนาสงั คม  สวัสดกิ ารสังคม และความม่ันคงของมนษุ ย์ คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า 1 การกระทำ�อย่างใดอย่างหน่ึงดังต่อไปน้ีให้ถือว่า พระราชบัญญตั ิ เปน็ การขอทาน ควบคุมการขอทาน  การขอทาน 1. การขอเงินหรือทรัพย์สินจากผู้อ่ืนเพื่อเลี้ยงชีวิต  พ.ศ.2559 ไม่ว่าจะเป็นการขอด้วยวาจา ข้อความ หรือการ แสดงกริ ิยาอาการใด 2. การกระทำ�ด้วยวิธีการใดให้ผู้อื่นเกิดความสงสารและ ส่งมอบเงินหรือทรพั ย์สินให้ ท้ังน้ี การแสดงความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นการเล่น ดนตรีหรือการแสดงอื่นใด เพ่ือให้ได้มาซ่ึงเงินหรือ ทรัพย์สินจากผู้ชมหรือ ผู้ฟัง การขอเงินหรือทรัพย์สิน กันฐานญาติมิตร หรือการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมการเรี่ยไร ไม่ถือว่าเป็นการขอทานตาม พระราชบญั ญตั นิ ี้ ก. ขอเงินหรือส่ิงของเลี้ยงชีวิต, หากินทางขอสิ่งท่ี พจนานุกรมฉบับ ผู้อืน่ ให้ ราชบัณฑติ ยสถาน  พ.ศ.2542 น. เรียกบุคคลที่หาเล้ยี งชีพอย่างนั้นว่า ขอทาน

2 คำ�ศัพท์น่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า 2 การยอมรบั การกระท�ำ ช�ำ เรา หรอื การยอมรบั การกระท�ำ พระราชบญั ญัติ อื่นใด หรือการกระทำ�อ่ืนใดเพื่อสำ�เร็จความใคร่ในทาง ปอ้ งกันและ การค้าประเวณี กามารมณ์ของผู้อื่น อันเป็นการสำ�ส่อนเพ่ือสินจ้าง ปราบปราม หรือประโยชน์อ่ืนใด ทั้งน้ีไม่ว่าผู้ยอมรับการกระทำ� การค้าประเวณี  3 และผ้กู ระท�ำ จะเปน็ บุคคลเพศเดียวกันหรอื คนละเพศ พ.ศ.2539 การจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย เอกสารวิชาการ การค้ามนุษย์ หรือการรับไว้ซ่ึงบุคคลด้วยวิธีการขู่เข็ญ หรือด้วยการ การปอ้ งกนั ใช้กำ�ลัง หรือด้วยการบีบบังคับในรูปแบบอ่ืนใด  ปราบปราม ด้วยการลักพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วยการหลอกลวง  การค้ามนุษย์:  ด้วยการใช้อำ�นาจโดยมิชอบ หรือด้วยการใช้สถานะ วาระแห่งชาติ  ความเส่ียงภัยจากการค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือ สำ�นักงานเลขาธิการ มีการให้หรือรับเงิน หรือผลประโยชน์เพ่ือให้ได้มา สภาผ้แู ทนราษฎร ์ ซ่ึงความยินยอมของบุคคลผู้มีอำ�นาจ ควบคุมบุคคลอ่ืน 2558 (ศูนย์ต่อต้าน เ พ่ื อ ค ว า ม มุ่ ง ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร แ ส ว ง ป ร ะ โ ย ช น์   การค้ามนษุ ย์ การแสวงประโยชน์อย่างน้อยที่สุดให้รวมถึงการ ระหว่างประเทศ)  แสวงประโยชน์จากการค้าประเวณีของบุคคลอ่ืนหรือ การแสวงประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอ่ืน การบังคับ ใช้แรงงานหรือบริการ การเอาคนลงเป็นทาสหรือ การกระทำ�อื่นเสมือนการเอาคนลงเป็นทาส การทำ�ให้ ตกอยใู่ ตบ้ ังคบั  หรือการตดั อวยั วะออกจากร่างกาย

คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 3 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งท่มี า 4 การดำ�เนินการเก่ียวกับการป้องกันปรามปราม  พระราชบัญญตั ิ และแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ เช่น การป้องกัน  ปอ้ งกนั การป้องกนั � การคุ้มครองช่วยเหลือ การให้ท่ีพักอาหาร การรักษา และปราบปราม และปราบปราม� พยาบาล การบำ�บัดฟื้นฟูทางร่างกายและจิตใจ  การคา้ มนุษย ์ การค้ามนษุ ย์ การดำ�เนินคดีและการบังคับใช้กฎหมาย การส่งกลับ พ.ศ.2551 และคืนสู่สังคม ความร่วมมือระหว่าประเทศ รวมท้ัง 5 การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในด้านอ่ืนๆ  ต า ม ที่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม (การ) คมุ้ ครอง การค้ามนุษย์กำ�หนด เปน็ ต้น  6 ก. ปอ้ งกนั และรกั ษา, ระวงั รักษา, ปกป้องรกั ษา พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน  การคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ.2542 ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร กั บ ค ว า ม รุ น แร ง  UNICEF Thailand,  การแสวงหาประโยชน์และการกระทำ�มิชอบต่อเด็ก  2011 www.unicef. ซ่ึงรวมถึงการแสวงประโยชน์ทางเพศเพื่อการ org/thailand/tha/ พาณิชย์ การค้ามนุษย์ การใช้แรงงานเด็กและจารีต protection. ประเพณีต่างๆ ท่ีเป็นภัยต่อเด็ก เช่น การแต่งงาน html ก่อนวัยอันควร 

4 คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า 7 การจัดสวัสดิการสังคม การเสริมสร้างสมรรถภาพทาง พระราชบัญญตั ิ ร่างกายและจิตใจ การรักษาพยาบาล การส่งเสริม การค้มุ ครอง การคุม้ ครอง� การศึกษาและอาชีพ การส่งเสริมและสนับสนุน คนไรท้ ่พี ่ึง  คนไร้ที่พึ่ง  การสร้างโอกาสในสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต  พ.ศ.2557 การสนับสนุนให้คนไร้ท่ีพึ่งมีงานทำ�และมีที่พักอาศัย  8 และการป้องกันมิให้มีการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อ คนไร้ท่พี งึ่ การคมุ้ ครอง� ก า ร จั ด ร ะ บ บ ห รื อ ม า ต ร ก า ร ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ  สำ�นกั งานคณะ ทางสงั คม เพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนทุกคน กรรมการพฒั นา (Social � ตามท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติไว้  เศรษฐกจิ Protection)  ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น บ ริ ก า ร สั ง ค ม   ก า ร ป ร ะ กั น สั ง ค ม  และสังคมแห่งชาติ การช่วยเหลือทางสังคม การค้มุ ครองอย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ ซ่ึงครอบคลุมถึงการจัดโครงข่าย ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ท า ง สั ง ค ม   ( S o c i a l   S a f e t y   N e t s )  สำ�หรับผู้ด้อยโอกาสและคนยากจน และการจัดการกับ ความเส่ียงทางสังคม (Social Risk Management)  ที่เกิดขึ้นจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ สังคม และภัยพิบัติ ตา่ งๆ 

คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 5 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า 9 กระบวนการจัดความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคล พระราชบญั ญัติ ในครอบครัวใหม่ เพ่ือไม่ให้เกิดอันตรายต่อเด็ก คมุ้ ครองเด็ก  การคุ้มครอง และเพ่ือไม่ให้เด็กกระทำ�ผิดหรือเส่ียงต่อการกระทำ�ผิด พ.ศ.2546 สวัสดิภาพ เด็กทีค่ วรได้รับการค้มุ ครองสวัสดิภาพ ได้แก่ • เด็กทถ่ี ูกทารุณกรรม 10 • เด็กที่อยู่ในสภาพที่จำ�เป็นต้องได้รับการคุ้มครอง การจัดการ� สวัสดภิ าพ  ทางสงั คม � ตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง การคุ้มครองสวัสดิภาพ (Social � รั ฐ อ า จ มี ค ว า ม จำ � เ ป็ น ต้ อ ง แ ย ก ตั ว เ ด็ ก อ อ ก จ า ก management)  ครอบครัว เพ่ือความปลอดภัยของเด็ก ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง   แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ใ ด ๆ  จะกระทำ�อย่างรอบคอบ โดยเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง เพอื่ ประโยชน์สงู สดุ ของเด็กเปน็ ท่ีต้ัง กลไก แนวคิดการดำ�เนินงาน เพ่ือการจัดการตนเอง/ ดร.เพญ็ จนั ทร ์ ชีวิต การจัดการครอบครัว การจัดการองค์กร/ เชอร์เรอร ์ กลุ่ม การจัดการชุมชน/ท้องถ่ิน การจัดการเครือข่าย  และคณะ การจัดการความรู้ในชุมชนท่ีสำ�คัญและเป็นประโยชน์  มหาวิทยาลัยมหิดล การดำ�เนินงานทางสังคมเพ่อื ประโยชน์ในการป้องกัน  แก้ไขปัญหาความรุนแรงในเด็กและเยาวชน โดยกลุ่ม ประชาคม องคก์ รชุมชน และเครือขา่ ยทางสงั คม

6 คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า 11 การจัดระเบียบชุมชน เป็นกระบวนการบริหารจัดการ รวบรวมคำ�สำ�คญั ด้านพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในชุมชนท่ีอยู่อาศัย ในงานพัฒนาสังคม  การจัดระเบยี บ ท่ีมีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาชุมชนที่อยู่อาศัยอย่าง สวสั ดิการสงั คม ชุมชน เป็นระบบ โดยการจัดทำ�คู่มือการอยู่อาศัย การจัดต้ัง และความมัน่ คง (Community � กรรมการชุมชน การฝึกอบรมผู้นำ�ชุมชนให้รู้จักระบบ ของมนุษย ์ Organization)  การบริหาร และพัฒนาชุมชนตนเองเพื่อให้ชุมชน สมพ. 02/2546 มีความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย น่าอยู่อาศยั การจัดระเบียบชุมชนเป็นวิธีการสังคมสงเคราะห์ ทศั นยี  ์ วิธีหนึ่งท่ีนักสังคมสงเคราะห์ยึดถือเป็นแนวทาง ลกั ขณาภิชนชชั ปฏิบัติงานกับชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ชุมชน (2533:3)  สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างย่งั ยืน เป็นการเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตของชุมชนด้วยกิจกรรมหลายๆ ด้าน เพื่อ ตอบสนองลักษณะปัญหาความต้องการของชุมชน โดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจของชุมชน การระดม ทรัพยากรในสังคมมาสนับสนุน และมีการทำ�งาน แบบสหวิชาการ รูปแบบการปฏิบัติงานจึงครอบคลุม ท้ังการพัฒนาชุมชน การวางแผนทางสังคม และปฏิบัติ การทางสังคม

คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 7 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา 12 การจัดการรายกรณี (Case management) เป็นการ รศ. ดร. กิติพัฒน์ ปฏิบัติงานของนักวิชาชีพที่ทำ�งานด้านบริการสุขภาวะ  นนทปทั มะดลุ ย์ การจัดการ� (Healthcare Professions) ซึ่งผู้ท่ีทำ�หน้าที่เป็น มหาวทิ ยาลยั รายกรณ�ี ผู้จัดการรายกรณีส่วนใหญ่ ได้แก่ วิชาชีพนักสังคม ธรรมศาสตร์ (Case � สงเคราะห์และวิชาชีพพยาบาล management)  • การบริหารจัดการให้เกิดการบริการที่มีคุณภาพ  รศ.อภิญญา เวชยชัย มีการดำ�เนินงานอย่างเป็นระบบ เป็นกระบวนการ  มหาวทิ ยาลยั ท้ังนี้เพ่ือเป็นการสร้างหลักประกันให้การทำ�งาน ธรรมศาสตร์ บรรลุผลสำ�เร็จ และผู้ใช้บริการได้รับการช่วยเหลือ แก้ปัญหาของตนได้รวมท้งั ได้พัฒนาศักยภาพตนเอง เข้าสวู่ ิถีชีวติ ที่ปกติในทสี่ ุด • กระบวนการทำ�งานที่อาศัยความร่วมมือในการ ประเมิน วางแผนดำ�เนินการ การประสานงาน  การติดตามกำ�กับงาน และการประเมินทางเลือก  บริการที่สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของ ผู้ใช้บริการ โดยอาศัยการส่ือสารและการจัดการ ทรัพยากรให้เกิดบริการท่ีมีประสิทธิภาพ และเกิด การเปลี่ยนแปลงที่ดีต่อคุณภาพชีวิตของผู้ใช้บริการ ( ท่ี ม า   :   T h e   C o m m i s s i o n   C a s e   M a n a g e r  C e r t i f i c a t i o n - C C M C   C e r t i f i c a t i o n   G u i d e  (Rolling Meadows, IL:2003)  • กระบวนการทำ�งานที่อาศัยความร่วมมือในการ ประเมิน การวางแผน การประสานงานเพ่ืออำ�นวย ความสะดวก ให้เกิดการพิทักษ์สิทธิผู้ใช้บริการ  โดยมีการประเมินบริการที่สอดคล้องและตอบ สนองความต้องการของผู้ใช้บริการ ผ่านการจัดการ ทรัพยากรให้เกิดบริการท่ีมีประสิทธิภาพและเกิด การเปล่ียนแปลงที่ดีต่อคุณภาพชีวิตของผู้ใช้บริการ (ทม่ี า : Case Manager Society of America-CMSA  Standards of Practice for Case Management, The  Case Manager14, no.3(2003) :54) 

8 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า • กระบวนการให้ความช่วยเหลือผู้ใช้บริการผ่าน การทำ�งานอย่างเป็นระบบ ต้งั แต่การประเมินปัญหา  การประเมินจุดแข็ง/ความเข้มแข็ง ของผู้ใช้บริการ  และครอบครัว ประเมินทรัพยากรท่ีจะตอบสนอง ปัญหา วางแผนและเชื่อมโยงให้ผู้ใช้บริการเข้าถึง และไดร้ ับบรกิ ารอย่างเหมาะสม • เปน็ วธิ ีการ(approach) หนง่ึ ในการจดั บรกิ าร • เป็นกระบวนการทำ�งานกับผู้ใช้บริการ ที่มุ่งเน้นไป ทเี่ ปา้ หมายและความจำ�เปน็ ของผใู้ ชบ้ รกิ าร • พัฒนายุทธวิธีการทำ�งานอย่างยืดหยุ่น เพ่ือให้ผู้ใช้ บ ริ ก า ร บ ร ร ลุ ต า ม เ ป้ า ห ม า ย ที่ ตั้ ง ไ ว้   ( ที่ ม า   : :  National Case Managament Working Group,  Australia, 1997)  • เป็นกระบวนการร่วมมือกัน ประเมิน วางแผน  อำ � น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ล ะ พิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ   เ พ่ื อ ส ร้ า ง ทางเลือกและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการ จำ�เป็นด้านสุขภาพ อนามัยของผู้ใช้บริการ โดย ใช้การสื่อสารและทรัพยากรท่ีมีอยู่ เพ่ือส่งเสริม ให้เกิดผลลัพธ์ (Outcome) ที่มีคุณภาพและมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ   ( ที่ ม า   :   C a s e   M a n a g e m e n t  Society of America, 2004) 

คำ�ศัพท์นา่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 9 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา 13 การให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรง พระราชบัญญัติ ในครอบครัวที่ได้รับอันตรายแก่ร่างกายและจิตใจ ค้มุ ครองผถู้ ูกกระทำ� การช่วยเหลือ โดยชี้แจงให้ผู้ถูกกระทำ�ฯ ทราบถึงสิทธิในการได้ ดว้ ยความรุนแรง ค้มุ ครองเบอื้ งต้น รับความคุ้มครอง เพื่อกำ�หนดมาตรการหรือวิธีการ ในครอบครัว เพ่ือให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรง พ.ศ.2550 ในครอบครัวเบ้ืองต้น โดยเม่ือพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติฯ ทราบการกระทำ�ความรุนแรง จึงเข้าไปในเคหสถานหรือสถานท่เี กิดเหตุเพื่อสอบถาม ผู้กระทำ�ความรุนแรงในครอบครัว ผู้ถูกกระทำ�ด้วย ค ว า ม รุ น แ ร ง ใ น ค ร อ บ ค รั ว   ห รื อ บุ ค ค ล อื่ น ท่ี อ ยู่ ใ น สถานท่ีนั้นเก่ียวกับการกระทำ�ที่ได้รับแจ้ง รวมทั้งจัด ให้ผู้ถูกกระทำ�ความรุนแรงในครอบครัวเข้ารับการ ตรวจรักษาจากแพทย์ และขอรับคำ�ปรึกษาแนะนำ�จาก จิตแพทย์ นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ ในกรณี ท่ีผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัวประสงค์จะ ดำ�เนินคดี ใหจ้ ัดให้ผนู้ น้ั รอ้ งทุกข ์ ตามประมวลกฎหมาย พิจารณาความอาญา แต่ถ้าผู้น้ันไม่อยู่ในวิสัยหรือ มี โ อ ก า ส ที่ จ ะ ร้ อ ง ทุ ก ข์ ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง ใ ห้ พ นั ก ง า น เจา้ หนา้ ทเี่ ป็นผรู้ อ้ งทกุ ข์แทนได้ 14 กิจการที่บุคคลหลายคนตกลงเข้าร่วมกันเพื่อทำ�การ พระราชบญั ญัติ สงเคราะหซ์ ง่ึ กนั และกนั ในการจดั การศพ หรอื จดั การศพ การฌาปนกิจ การฌาปนกจิ และสงเคราะห์ครอบครัวของบุคคลใดบุคคลหน่ึง สงเคราะห์ สงเคราะห์ ท่ีตกลงเข้าร่วมกันนั้นซึ่งถึงแก่ความตาย และมิได้ พ.ศ.2545 ประสงคจ์ ะหากำ�ไรหรอื รายไดเ้ พื่อแบง่ ปนั กัน

10 คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่มี า 15 การจัดบริการสาธารณสุขและบริการสังคมเพื่อ หลกั ประกันสุขภาพ ตอบสนองความต้องการความช่วยเหลือของผู้ที่ประสบ แหง่ ชาต ิ ปี 2559 ภาวะยากลำ�บาก อันเน่ืองมาจากภาวะการเจ็บป่วย การดูแลระยะยาว� เรื้อรัง การประสบอุบัติเหตุ ความพิการต่างๆ ตลอด (Long term care)  จนผู้สูงอายุท่ีชราภาพ ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ในชีวิตประจำ�วัน โดยมีรูปแบบท้ังท่ีเป็นทางการ (ดูแล โดยบุคลากรด้านสาธารณสุขและสังคม) และไม่เป็น ท า ง ก า ร   ( ดู แ ล โ ด ย ค ร อ บ ค รั ว   อ า ส า ส มั ค ร   เ พื่ อ น  เพื่อนบ้าน) ซ่ึงบริการทดแทนต่างๆ มักเป็นบริการ สังคม เพื่อมุ่งเน้นในด้านการฟื้นฟู บำ�บัด รวมถึงการ ส่งเสริมสุขภาพให้แก่กลุ่มคนเหล่าน้ีอย่างสมำ่�เสมอ และต่อเน่ือง เพื่อให้เขามีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถ ดำ�รงชีวิตได้ให้เป็นอิสระเท่าท่ีจะเป็นไปได้ โดยอยู่บน พ้ืนฐานของการเคารพศกั ด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ 16 สถานการณ์ของการตั้งครรภ์ไม่ได้ตั้งใจ ไม่ได้มีการ www.thai- วางแผนการณ์จะให้เกิดขึ้น การไม่มีความรู้ความเข้าใจ goodview.com/ การต้ังครรภ�์ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการต้ังครรภ์และการคุมกำ�เนิด การ node/50843 ไมพ่ ึงประสงค์ ถูกข่มขืนจนต้ังครรภ์ การต้ังครรภ์ก่อนการสมรส  ต ล อ ด จ น ค ว า ม ไ ม่ พ ร้ อ ม ใ น ด้ า น ภ า ว ะ ต่ า ง ๆ   ด้ า น เศรษฐกิจ การไม่รับผิดชอบของบิดาของเด็กในครรภ์  เป็นตน้

คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 11 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่ีมา 17 “การเฝ้าระวัง ระบบและกลไกท่ีสร้างขึ้นเพื่อติดตาม รายงานผล สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง เพ่ือใช้ในการวางแผน  การศึกษา การเตือนภัย ควบคุม ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น หรือนำ�ไปใช้ การสรา้ งและพัฒนา เพ่อื การดำ�เนินการลดปัจจัยเส่ยี งอย่างมีประสิทธิภาพ” ระบบการเฝา้ ระวงั 18 สถานการณ์ท่ีต้องเฝ้าระวัง ประเด็นหรือเหตุการณ์ และเตือนภัย ท่ีสำ�คัญ และสามารถบ่งชี้ถึงปัญหา หรือคาดว่าจะเกิด ทางสังคม  การทดสอบ� ปัญหาหากไม่ได้แก้ไขอย่างเหมาะสม “สาระสำ�คัญ พ.ศ.2548 ความยากจน � ท่ีบ่งบอกถึงอันตราย หรือแนวโน้มของอันตราย คณะพฒั นาสงั คม (Means test)  ท่ีอาจเกิดในอนาคตอันใกล้ การเตือนภัยดังกล่าว และสิง่ แวดล้อม  อาจกระท�ำ โดยผ้มู ีหน้าทโ่ี ดยตรงหรือผพู้ บเห็นเหตุการณ์ สถาบันบณั ฑิต 19 ก็ได้ โดยการส่งข้อมูล ข่าวสาร ที่ผ่านการวิเคราะห์ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ หรือตรวจสอบความถูกต้องแล้วถึงผู้มีอำ�นาจท่ีมีหน้าที่ การทดสอบ� บรรเทาปัญหาโดยตรงและผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ความยากจน� สาธารณชนท่ตี ้องรับผลกระทบทอ่ี าจจะเกดิ ขึน้ ” ทางออ้ ม การทดสอบความยากจนเป็นวิธีการหลัก ท่รี ัฐสวัสดิการ รศ.ดร.สุรพล  (Proxy � ใช้เพ่ือตัดสินว่าผู้ขอรับความช่วยเหลือมีสิทธิจะได้ ปธานวนิช  means test)  รับเงินสงเคราะห์หรือไม่, เป็นวิธีท่ีใช้มาแต่ดั้งเดิม มหาวทิ ยาลยั จนกระท่งั ปัจจุบัน โดยหลักการจะใช้การทดสอบรายได้  ธรรมศาสตร์ (Income test) และการทดสอบทรพั ยส์ นิ  (Assets test)  พ.ศ.2558 เพ่ือพิจารณาว่าผู้ขอรับความช่วยเหลือในรายน้ันๆ  มสี ทิ ธิได้รับเงินสงเคราะห์หรอื ไม่ การคัดกรองผู้ท่ีเหมาะสมจะรับความช่วยเหลืออีกวิธี รศ.ดร.สรุ พล  หนึ่ง คือ การทดสอบความยากจนทางอ้อม ซ่ึงองค์การ ปธานวนิช  อาหารและเกษตรแห่งชาติกล่าวว่าเป็นทางเลือกหนึ่ง มหาวทิ ยาลยั ท่ีใช้วัดความมั่งค่ังของบุคคลหรือครอบครัว วิธีการน้ี ธรรมศาสตร์ ใช้วัดตัวช้ีวัดการครอบครองทรัพย์สิน ลักษณะบ้าน  พ.ศ.2558 ลักษณะประชากร ระดับการศึกษา เพ่ือแสดงถึงความ ยากจนหรือความเปราะบาง ตัวชี้วัดที่ใช้ครอบคลุม มากกว่าทรัพย์สินที่ครอบครอง เพราะสามารถนำ� ลักษณะของประชากร ลักษณะท่ีอยู่อาศัยและอ่ืนๆ  ของกลุม่ เปา้ หมายมาประกอบการพิจารณาด้วย

12 คำ�ศัพท์นา่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งท่มี า 20 การแบ่งงานและความรับผิดชอบของผู้ชายและ พจนานุกรม ผู้หญิง โดยคำ�นึงถึงบทบาทหญิงชาย ท้ังงานการผลิต  ดา้ นการส่งเสรมิ งานในบ้านและงานเพื่อชุมชน ข้ันตอนแรกจะทำ�ให้ ความเสมอภาค การแบง่ งาน สามารถประมาณลักษณะ ปริมาณ และขอบเขต หญิงชาย (http:// ระหว่างหญิงชาย  ของงานของผู้หญิงและผู้ชายได้ อาจจะมีการไม่ให้ www.gender.go.th)  (Sexual Division � ความสำ�คัญแก่คุณค่าและการมีส่วนร่วมของผู้หญิง  หากปราศจากข้อมูลที่เพียงพอในเรื่องความยืดหยุ่น of Labor)  ของเวลาและแรงงานท่ผี ้หู ญิงมี และอาจเกิดข้อผิดพลาด ได้อีกด้วย ความแตกต่างระหว่างงานของผู้ชายและ ผู้หญิง อาจเป็นสาเหตุของความสัมพันธ์ท่ีไม่ราบรื่น  แต่ก็อาจเปน็ พืน้ ฐานของความร่วมมอื กนั ด้วย  21 การพัฒนาท่ีสนองตอบต่อความต้องการของคนใน รวบรวมค�ำ สำ�คัญ รุ่นปัจจุบัน โดยไม่ทำ�ให้คนรุ่นต่อไปในอนาคต ในงานพัฒนาสังคม  การพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน ต้องประนีประนอมยอมลดทอนความสามารถในการ สวัสดกิ ารสังคม (Sustainabe � ท่ีจะตอบสนองความต้องการของตนเอง (Sustainable  และความมัน่ คง Development)  Development is development that meets the  ของมนุษย ์ needs of the present without compromising the  สมพ. 02/2546 ability of future generations to meet their own  needs) โดยมแี นวทางการพฒั นาท่ียง่ั ยืน ดังนี้ 1. การพัฒนาเศรษฐกิจจะต้องผสมผสานควบคู่ไปกับ การดูแลห่วงใยสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกับการสร้าง รายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ ใหป้ ระชากรกค็ วรกระท�ำ ไปพรอ้ มๆ กนั กับการปรับปรุงคณุ ภาพชวี ิตและสงิ่ แวดลอ้ ม 2. การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย การสูญพันธุ์ของพืช และสตั ว ์ การปลอ่ ยของเสยี และมลพษิ ตา่ งๆ ลว้ นเปน็ สาเหตทุ �ำ ใหส้ ง่ิ แวดลอ้ มเสอ่ื มโทรม ไมย่ ง่ั ยนื  น�ำ มาซง่ึ การบ่ันทอนสุขภาพและความเป็นอยู่ท่ีดีของมนุษย์ และสิ่งมีชีวิตในโลก ซ่ึงไม่อาจปล่อยให้เป็นเช่นน้ี ไดอ้ กี ต่อไป

คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 13 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งที่มา 3. จำ�เป็นต้องมีการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เพ่ือไม่ให้ ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชากร ท้ังในปัจจุบนั และรุ่นลูกร่นุ หลานในอนาคต 4. มนุษย์ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการดำ�รงชีวิต อยู่ในส่ิงแวดล้อมที่ดี ได้ด่ืมนำ้�ที่สะอาด หายใจ ในอากาศที่บริสุทธิ์และสามารถควบคุมการใช้ ทรัพยากรของตนเองได้ (United Nations)  การพัฒนาที่ยั่งยืน  มีลักษณะที่เป็นบูรณาการ  พระธรรมปฎิ ก (Intergrated) คือ ทำ�ให้เกิดเป็นองค์รวม (Holistic)  (ป.อ.ปยตุ โต),  หมายความว่า องค์ประกอบท้ังหลายท่ีเก่ียวข้องจะต้อง 2541 มาประสานกันครบองค์ และมีลักษณะอีกอย่างหนึ่งคือ  มีดุลยภาพ (Balance) หรือพูดอีกนัยหน่ึงคือการทำ�ให้ กจิ กรรมของมนษุ ยส์ อดคล้องกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย เป็นการพัฒนาท่ีต้อง คณะอนุกรรมการ คำ�นึงความเป็นองค์รวมของทุกๆ ด้านอย่างสมดุล  กำ�กบั การอนุวัติ บนพ้ืนฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา ตามแผน และวัฒนธรรมไทย ด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชน ปฏิบัติการ 21  ทุกกลุ่ม ด้วยความเอื้ออาทรเคารพซึ่งกันและกัน  และการพฒั นา เพ่ือความสามารถในการพึ่งตนเอง และคุณภาพชีวิต ที่ยัง่ ยืน ร่วมกับ ที่ดีอย่างเท่าเทียม โดยมีแนวคิดหลักด้านนิเวศวิทยา  สถาบัน สังคม เศรษฐกิจ จิตวิญญาณ ศาสนา วัฒนธรรม  ส่ิงแวดล้อมไทย เป็นองค์ประกอบส�ำ คญั การพัฒนาในด้านอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และ http://www. เทคโนโลยีในช่วง 4 ทศวรรษที่ผ่านมา เป็นการพัฒนา manpattanalibrary. ที่ก่อให้เกิดผลกระทบและความเสียหายต่อทรัพยากร com/newsdetail. โลกเป็นอย่างมาก เมื่อปี 2543 ประเทศไทยและ php?id=48 ประเทศต่างๆ ทั่วโลกรวม 189 ประเทศ จึงรวมตัวกัน ในการประชุมองค์การสหประชาชาติ และเห็นพ้อง

14 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า ต้องกันในการตั้งเป้าหมายการพัฒนาท้ังในระดับชาติ และระดับสากลที่ทุกประเทศจะดำ�เนินการร่วมกันให้ได้ ภ า ย ใ น ปี   2 5 5 8   เ รี ย ก ว่ า   เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า แห่งสหัสวรรษ หรือ Millennium Development Goals  ( M D G s )   อั น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย   8   เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก   คื อ  1. ขจัดความยากจนและความหิวโหย 2. ให้เด็กทุกคน ไ ด้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า   3 .   ส่ ง เ ส ริ ม ความเท่าเทียมกันทางเพศและบทบาทสตรี 4. ลดอัตรา การตายของเด็ก 5. พัฒนาสุขภาพของสตรีมีครรภ์  6. ต่อสู้กับโรคเอดส์ มาลาเรีย และโรคสำ�คัญอื่นๆ  7 .   รั ก ษ า แ ล ะ จั ด ก า ร ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม อ ย่ า ง ย่ั ง ยื น   แ ล ะ  8. สง่ เสรมิ การเปน็ หนุ้ สว่ นเพอ่ื การพฒั นาในประชาคมโลก ระยะเวลา 15 ปีผ่านมา เป้าหมายการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษทั้ง 8 ข้อ กำ�ลังจะส้ินสุดลง โดยประสบ ความสำ�เร็จเป็นอย่างดีในหลายประเทศ ซ่ึงเพ่ือให้เกิด ความต่อเนื่องของการพัฒนา องค์การสหประชาชาติ จึงได้กำ�หนดเป้าหมายการพัฒนาขึ้นใหม่โดยอาศัย กรอบความคิดท่ีมองการพัฒนาเป็นมิติ (Dimensions)  ของเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม ให้มีความ เชื่อมโยงกัน เรียกว่าเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน  หรือ Sustainable Development Goals (SDGs)  ซ่ึงจะใช้เป็นทิศทางการพัฒนาตั้งแต่เดือนกันยายน  ปี 2558 ถึงเดือนสิงหาคม 2573 ครอบคลุมระยะเวลา  15 ป ี โดยประกอบไปด้วย 17 เป้าหมาย

คำ�ศัพท์นา่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 15 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา 22 สำ � ห รั บ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ อ ง นั้ น   น อ ก จ า ก ก า ร พั ฒ น า ใ น   3   มิ ติ   คื อ   เ ศ ร ษ ฐ กิ จ   สั ง ค ม   แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม การพัฒนามนษุ ย์ ตามแนวทางของ SDGs แล้ว ประเทศไทยยังให้ (Human  ความสำ�คัญกับมิติทางด้านวัฒนธรรมอีกด้วย และการ Development)  จะบรรลุความสำ�เร็จของเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน ได้นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ นักพัฒนาที่ทรงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางทั้งใน ประเทศและระดับนานาชาติ ได้พระราชทานเข็มทิศ การพัฒนาไว้ให้ทุกภาคส่วนน้อมนำ�ไปประยุกต์ใช้ อยา่ งเหมาะสม นน่ั คอื  หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  ซึ่ ง เ ป็ น แ น ว พ ร ะ ร า ช ดำ � ริ ที่ ตั้ ง อ ยู่ บ น ร า ก ฐ า น ข อ ง วัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาบนพ้ืนฐาน ของทางสายกลางและความไม่ประมาท คำ�นึงถึงความ พอประมาณ ความมเี หตผุ ล การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ในตวั เอง  ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐานในการ ดำ�รงชีวิต ซึ่งจะนำ�ไปสู่ความสุขในการดำ�เนินชีวิตและ สรา้ งสัมฤทธิผลแหง่ การพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง การพัฒนาปัจเจกบุคคลตลอดช่วงชีวิตให้เกิดความ รวบรวมค�ำ ส�ำ คญั กลมกลืนกับสังคมและธรรมชาติ เสริมสร้างศักยภาพ ในงานพฒั นาสงั คม  ของคนอย่างเต็มที่ โดยไม่เบียดเบียนหรือทำ�ลายสังคม สวสั ดกิ ารสังคม และสิ่งแวดล้อม และในกระบวนทัศน์การพัฒนาที่ยึด และความม่นั คง คนเป็นศูนย์กลางน้ันจะต้องสร้างความเป็นธรรมทาง ของมนษุ ย์  สังคม ไม่กดข่ีกีดกันออกจากสังคม เนื่องด้วยความ สมพ. 02/2546 แตกต่างทางวัฒนธรรม เช้ือชาติ หรือศาสนา ยอมรับ ในเรื่องสิทธิและการใช้สิทธิเพ่ือสร้างความรับผิดชอบ ในกจิ กรรมตา่ งๆ ของสงั คม

16 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทีม่ า การพัฒนาคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและมองว่า โครงการพัฒนา การพัฒนาเป็นกระบวนการที่ช่วยให้คนบรรลุศักยภาพ แห่งสหประชาชาติ สูงสุดของตนเอง แนวคิดน้ีมีหลายมิติและแยกแยะ (UNDP)  ระหว่างเป้าหมายและวิธีการ กล่าวคือ ถือว่าความ เติบโตทางเศรษฐกิจมิใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง แต่ เป็นวิธีการเพ่ือให้บรรลุถึงเป้าหมายท่ีสูงกว่า น่ันคือการ กินดีอยู่ดี ความผาสุก และคุณภาพชีวิตของประชาชน  แ น ว คิ ด นี้   ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว คิ ด ข อ ง แ ผ น พั ฒ น า เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต ิ ฉบับท่ ี 8 ประชากรคือศูนย์กลางของกิจกรรมการพัฒนาท้ังหมด สหประชาชาติ ทั้งปวง ดังน้ันการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็น เรื่องจำ�เป็นอันนำ�ไปสู่การบรรลุเป้าหมายของการ พัฒนาที่ย่ังยืน แนวคิดของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  ประกอบสำ�คัญด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ วัฒนธรรม และกิจกรรมการพัฒนาต่างๆ รวมถึงการ บู ร ณ า ก า ร แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ เข้าด้วยกันกับยุทธศาสตร์การพัฒนาภาพรวม ทั้งที่ การพัฒนามนุษย์โดยภาพรวม คือการสร้างโอกาสต่างๆ  และความจำ�เป็นด้านต่างๆ ให้แก่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น คุ ณ ภ า พ   โ ภ ช น า ก า ร   สุ ข ภ า พ อ น า มั ย   ที่ อ ยู่ อ า ศั ย  การส่ือสาร การศึกษา การอบรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รวมถึงมติ ิทางเพศดว้ ย  การพัฒนามนุษย์ สิทธิมนุษย์ และความมั่นคงของ Professor  มนุษย์น้ัน 3 คำ�น้ีมีความเชื่อมโยงกันอยู่ หากแต่ Amartya Sen แนวคิดของการพัฒนามนุษย์คือการเน้นถึงความจำ�เป็น ในการเพิ่มหรือส่งเสริมเสรีภาพและจัดความสามารถ ของบุคคลทั่วไป Sen ได้ยกตัวอย่างในเร่ืองการศึกษา  โดยช้ีให้เห็นว่าเน้นในเรื่องการศึกษาอย่างเดียว

คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 17 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า หากมนุษย์ได้รับการพัฒนาด้านการศึกษาท่ีดีแล้ว  สิ่งท่ีส่งผลตามมาคือการทำ�ให้บุคคลมีโอกาสในการ จ้างงาน อ่านออกเขียนได้ ซ่ึงได้รับรู้เข้าใจถึงสิทธิตน ควรได้รับสามารถมีปากเสียงในทางการเมือง น่ันคือ การนำ�ไปสูก่ ารลดความไม่มนั่ คงในท่ีสดุ 23 เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงทางสังคมทั้งในด้าน แผนยทุ ธศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและวัฒนธรรม สวัสดกิ ารสังคมไทย  การพัฒนาสังคม ให้ไปสู่สภาวะท่ีดีกว่าเพ่ือให้เกิดความเป็นอยู่และ ฉบับที ่ 2 (Social  คุณภาพชีวิตที่ดีของคนในสังคม ซึ่งต้องเป็นการ พ.ศ.2555-2559 development)  เปลี่ยนแปลงในสาระสำ�คัญ คุณภาพและระบบ บน คณะกรรมการ พน้ื ฐานการคำ�นงึ ถงึ ศักดิ์ศรคี วามเป็นมนุษย์ สง่ เสรมิ การจดั สวัสดิการสังคม นอกจากนี้คณะกรรมาธิการว่าด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจ แห่งชาติ และสังคมแห่งภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)  ได้อธิบายความหมายของการพัฒนาสังคมในอีกมิติหน่งึ   ซึ่งทำ�ให้มองภาพการพัฒนาสังคมได้อย่างชัดเจน  คือ กระบวนการทำ�งานที่เน้นการสร้างสถาบันใหม่  (Institutional Building) การมีส่วนร่วมของประชาชน อย่างกว้างขวาง (Popular Participation) ส่งผลกระทบ ต่อนโยบายและการวางแผนสังคม (Social Policy and  planning) รวมท้ังมุ่งสู่การกระจายรายได้ (Income  Distribution) และความยุติธรรมทางสังคม (Social  ustice)  การทำ�ให้ประชาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น สามารถปรับตัว รวบรวมค�ำ สำ�คญั เข้ากับสังคมของตนได้อย่างมีความสุข ทั้งทางร่างกาย  ในงานพัฒนาสงั คม  จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยให้ประชาชน สวสั ดกิ ารสงั คม ดังกล่าวเข้ามามีส่วนร่วมและเป็นศูนย์กลางของการ และความมน่ั คง พฒั นา น�ำ วฒั นธรรมของชมุ ชน และภมู ปิ ญั ญาในทอ้ งถน่ิ ของมนุษย์  มาร่วมในการพฒั นา ทัง้ นต้ี ้องไม่เบยี ดเบียนธรรมชาติ สมพ.02/2546

18 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทีม่ า กระบวนการทม่ี มี ติ หิ ลายๆ ดา้ นรว่ มกนั  ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ   คณะกรรมาธิการ สังคม วัฒนธรรม และกฎหมาย โดยมีแนวคิดหลักของ ว่าดว้ ยการพฒั นา การพัฒนาสังคม คอื เศรษฐกจิ และสังคม แห่งภมู ภิ าคเอเชยี 1. การเพิ่มอำ�นาจให้ประชาชน เพื่อให้ประชาสังคม และแปซิฟกิ   มีส่วนร่วมในการจัดสังคม และการตัดสินใจของ (ESCAP)  สังคมในภาพรวม 2. การพัฒนาสถาบันในทุกระดับและทุกมิติของสังคม  ซึง่ จะเอือ้ อำ�นวยต่อการพัฒนาสงั คม 3. ระบบการเมืองและรัฐ ซ่ึงเป็นการให้โอกาสในการ มสี ่วนร่วม ตรวจสอบไดแ้ ละโปรง่ ใส 4. สำ�หรับแนวคิดในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการ สร้างรายได้อย่างพอเพียงคือ การส่งเสริมสภาพ แวดลอ้ มท่เี อื้ออำ�นวยต่อการพัฒนา การพัฒนาท่ีเป็นความเท่าเทียม การบูรณาการทาง ธนาคารโลก สังคมและย่ังยืน เป็นการส่งเสริมสถาบันตั้งแต่ระดับ ท้องถิ่น ประเทศ และโลก ในการตอบสนองต่อการ พัฒนา ตรวจสอบได้ และไม่เป็นการเลือกปฏิบัติ  อีกท้ังเป็นการส่งเสริมอำ�นาจให้ผู้ยากจนและประชาชน ผู้ด้อยโอกาส ได้มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยสรุปแนวคิดจะเน้น 5 ประเด็นหลัก ของการพัฒนาสังคม คือ 1. การส่งเสริมอำ�นาจ : การให้สิทธิให้ทางเลือกแก่ ผู้ยากจน 2. การบูรณาการ (ไม่เลือกปฏิบัติ) : ส่งเสริมให้สถาบัน ให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพเข้าถึงความต้องการ ของผ้ยู ากจน 3. ความมั่นคง : การส่งเสริมความมั่นคงของสังคมและ ความมัน่ คงของมนุษย์

คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 19 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา 4. การพัฒนาคุณภาพชีวิต : ทำ�ให้บุคคลและสังคม มีการอยู่ร่วมกันด้วยความสมานฉันท์ ช่วยลดปัญหา  ความขดั แย้งและปัญหาสงั คม 5. การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทำ�ให้บุคคลและสังคม มีความรู้ ความเข้าใจในการมีความร่วมมือร่วมใจ ในการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และ คา่ นยิ มที่ดงี ามให้เกดิ ข้นึ ในสังคม 24 การมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในการบริการฟื้นฟู พระราชบญั ญัติ สมรรถภาพคนพิการ โดยกระบวนการทางการแพทย์  สง่ เสริมและพัฒนา การพทิ ักษ์สิทธิ การปรับสภาพร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม พฤติกรรม  คณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร การเรยี นรหู้ รอื เสรมิ สร้างสมรรถภาพให้ดขี ้นึ พ.ศ.2550  25 และแก้ไขเพิ่มเตมิ   (ฉบบั ที ่ 2)  การฟน้ื ฟู พ.ศ.2556 สมรรถภาพ� (ฉบับอา้ งองิ ปรบั ปรุง คนพิการ  ครง้ั ท ่ี 11)  การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือความสามารถของ พระราชบญั ญัติ คนพิการให้มีสภาพที่ดีข้ึน หรือดำ�รงสมรรถภาพหรือ ส่งเสริมและพัฒนา ความสามารถที่มีอยู่เดิมไว้ โดยอาศัยกระบวนการ คณุ ภาพชวี ติ ทางการแพทย์ การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ  คนพกิ าร หรือกระบวนการอ่ืนใด เพ่ือให้คนพิการได้มีโอกาส พ.ศ.2550  ท�ำ งานหรือดำ�รงชีวติ ในสังคม อย่างเตม็ ศักยภาพ และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ ี 2)  พ.ศ.2556

20 คำ�ศัพทน์ ่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า 26 การกระทำ�หรือไม่กระทำ�การใด อันเป็นการแบ่งแยก  พระราชบัญญัติ กีดกัน หรือจำ�กัดสิทธิประโยชน์ใดๆ ไม่ว่าทางตรง ความเท่าเทียม การเลอื กปฏบิ ัติ หรือทางอ้อม โดยปราศจากความชอบธรรม เพราะ ระหว่างเพศ  โดยไมเ่ ปน็ ธรรม เหตุท่ีบุคคลน้ันเป็นเพศชายหรือเพศหญิง หรือมีการ พ.ศ.2558 ระหวา่ งเพศ แสดงออกที่แตกตา่ งจากเพศโดยก�ำ เนิด 27 น. การช่วยเหลอื , การอดุ หนุน  พจนานกุ รมฉบบั ก. อดุ หนุน ราชบัณฑิตยสถาน  (การ) สงเคราะห์ พ.ศ.2542 28 การดำ�เนินการเพื่อปลูกฝังจิตสำ�นึกของประชาชนให้ ระเบียบ มีคุณธรรม เสียสละเพ่ือส่วนรวมและพึ่งพาตนเอง  สำ�นกั นายกรฐั มนตร ี การส่งเสรมิ � สนับสนุนการรวมกลุ่มที่หลากหลายโดยสมัครใจ  ว่าดว้ ยการส่งเสริม ประชาสงั คม� ส่งเสริมความเข้มแข็งขององค์กรด้านประชาสังคม  ประชาสังคม เพอื่ การพัฒนา สนบั สนนุ การด�ำ เนนิ กจิ กรรมขององคก์ รดา้ นประชาสงั คม  เพ่ือการพัฒนา  ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายประชาสังคม ส่งเสริมอาสา พ.ศ.2551 สมัครเพื่อสังคม และส่งเสริมธุรกิจเพื่อสังคม ตลอดจน พัฒนาระบบการประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ  องค์กรด้านประชาสังคม อาสาสมัครเพ่ือสังคม และ องค์กรธุรกิจท่ีดำ�เนินธุรกิจเพ่ือสังคม ทั้งน้ี โดยคำ�นึง ถึงความเป็นอิสระในการดำ�เนินกิจกรรมที่ไม่ขัดต่อแนว นโยบายแห่งรัฐ

คำ�ศัพทน์ า่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 21 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ท่ีมา 29 การท่ีภาคเอกชน ซ่ึงเป็นบุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชน ระเบียบ ได้ประกอบกิจการหรือดำ�เนินการโดยมีเป้าหมาย สำ�นกั นายกรฐั มนตรี กิจการเพ่อื สังคม อย่างชัดเจนต้ังแต่เริ่มต้น เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนา วา่ ดว้ ยการสรา้ งเสรมิ (Social  ชุมชน สังคม หรือส่ิงแวดล้อมเป็นหลัก และมีรายรับ กิจการเพอ่ื สงั คม Enterprise)  จากการขาย การผลิตสินค้า หรือการให้บริการ ซ่ึงมิได้ แหง่ ชาติ  มุ่งสร้างกำ�ไรสูงสุดต่อผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการหรือ พ.ศ.2554 การดำ�เนนิ การ รวมท้ังมลี กั ษณะพิเศษ ดงั ต่อไปน้ี 1. มีกระบวนการผลิต การดำ�เนินกิจการ หรือการ ดำ�เนินการในส่วนของผลิตภัณฑ์หรือบริการซึ่งมิได้ ก่อให้เกิดผลเสียในระยะยาวต่อสุขภาวะ สังคม และ สิ่งแวดล้อม 2. มีการนำ�ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ 3. มีศักยภาพท่ีจะมีความยั่งยืนทางการเงินได้ด้วย ตนเอง 4. ผลกำ�ไรส่วนใหญ่จากการประกอบกิจการหรือการ ดำ�เนินการ ถูกนำ�ไปขยายผลเพ่อื การบรรลุเป้าหมาย ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน สังคมหรือ สง่ิ แวดลอ้ ม คนื ผลประโยชน์ใหแ้ กส่ งั คม 5. สามารถมีรปู แบบองคก์ รท่หี ลากหลาย 6. มกี ารกำ�กบั ดูแลกิจการท่ดี ี กิจการเพ่อื สังคม (Social Enterprise) หมายถึง องค์กร สิรพิ รรณ  ท่ีมีการบริหารจัดการแบบเอกชน แต่มีเป้าหมายในการ นกสวน สวสั ดี ดำ�เนินงาน เพ่ือผลประโยชน์ของสังคมและสาธารณะ  และคณะ สนใจเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์  พฤศจกิ ายน 2557 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ มากกว่าท่ีจะสนใจ เรื่องผลกำ�ไรสูงสุดสำ�หรับผู้ถือหุ้นขององค์กร (share- holders) 

22 คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา 30 เด็กท่ีมีความสามารถเฉพาะด้านเกินวัย (Gifted Child)  แผนพัฒนาเดก็ และเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือสติปัญญา  และเยาวชนแห่งชาติ กลุม่ เด็กพเิ ศษ� (เด็กท่ีมีความบกพร่องทางด้านเห็น การได้ยิน การ พ.ศ. 2555-2559 เด็กที่มคี วาม สื่อสารทางร่างกาย และการเคล่ือนไหวทางอารมณ์และ สามารถพเิ ศษ� พฤติกรรมทางสติปัญญา ทางการเรียนรู้ เด็กออทิสติก  เดก็ ที่มคี วาม และเด็กท่มี ีความพิการซำ�้ ซ้อน) ซ่งึ ต้องได้รับการส่งเสริม  ตอ้ งการพเิ ศษ  � พฒั นา และฟนื้ ฟเู ปน็ พิเศษ (Special Need � Child)  31 เป็นกลุ่มพลังทางสังคมท่ีมีการจัดตั้งกันอย่างเป็นระบบ สริ พิ รรณ  เป็นองค์กรเคลื่อนไหว ซึ่งพยายามที่จะเข้าไปมีอิทธิพล นกสวน สวสั ด ี ขบวนการ� ต่อสังคมและนโยบายสาธารณะต่างๆ ขบวนการ และคณะ ทางสงั คม เคล่ือนไหวน้ีพยายามเข้าไปถ่วงดุลกับอำ�นาจรัฐ เพ่ือที่ พฤศจกิ ายน, 2557 (Social  จะรักษาผลประโยชน์สาธารณะ ขบวนการเคล่ือนไหว Movement)  ที่เกิดข้ึนน้ีไม่จำ�เป็นท่ีจะต้องมีเป้าหมายในการยึด อำ�นาจรัฐ หรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในระบบการเมือง อย่างพรรคการเมือง (political party) และแตกต่าง จ า ก ก ลุ่ ม ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์   ( i n t e r e s t   g r o u p )   ต ร ง ที่ กลุ่มผลประโยชน์ยึดมั่นในผลประโยชน์ส่วนตัวของกลุ่ม ตัวเอง แต่ขบวนการเคล่ือนไหวจะใส่ใจกับผลประโยชน์ สาธารณะมากกว่า

คำ�ศัพท์น่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 23 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า 32 โดยหลักวิชาจิตวิทยาและหลักการสร้างแรงจูงใจ  มาสโลว ์ (Maslow) (Motivation) มนษุ ย์มคี วามตอ้ งการข้ันพ้ืนฐาน คอื   ความตอ้ งการ� 1. ความตอ้ งการเกย่ี วกบั รา่ งกาย (Physiological Needs)  ข้ันพน้ื ฐาน � (Basic Needs)  ได้แก่ ปัจจัย 4 (เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย อาหาร  ยารักษาโรค)  2. ความต้องการเก่ียวกับความม่ันคงและปลอดภัย  (Safety Needs)  3. ความต้องการเก่ียวกับสังคมหรือความผูกพันทาง สงั คม (Belonging Needs)  4. ความต้องการที่จะมีเกียรติ มีช่ือเสียง (Esteem  Needs)  5. ความต้องการท่ีจะประสบความสำ�เร็จในชีวิต หรือ พิสูจน์ตนเองว่าได้ก้าวมาถึงจุดมุ่งหมายสุดยอดท่ีตั้ง ไว้แลว้  (Self Actualization Needs)  33 สถานะสิทธิ และความรับผิดชอบท่ีเหมือนกันของ พจนานุกรม ผู้หญิงและผู้ชาย (ท่ีมา : Gender Equity, Concepts  ด้านการสง่ เสรมิ ความเปน็ ธรรม� and Tools for development. CEDPA, 1996)  ความเสมอภาค ทางเพศ หญิงชาย  (Gender equity)  การเลอื กปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ ระบบหมายถงึ  การทค่ี นบางคน (http://www.  อยู่ในสถานท่ี ท่ีสามารถใช้ประโยชน์จากโอกาสต่างๆ  gender.go.th)  ได้ดีกว่าคนอื่น ดังน้ันในการพิจารณามาตรการเพื่อ ลดข้อเสียเปรียบ ไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงหรือกลุ่มผู้ด้อย โอกาส เราจึงต้องพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบถึง อุปสรรคซ่อนเร้นที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียม  โดยเน้นการประเมินผลกระทบที่เกิดข้ึนอย่างเป็นธรรม  ไม่ใช่เพียงแค่ความเท่าเทียมกันทางโอกาส (ที่มา :  Canadian Council for International Cooperation  MATCH International Center, 1997)

24 คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 34 ลักษณะต่างๆ ของผู้ชายและผู้หญิงที่สร้างขึ้น โดย พจนานุกรม กระบวนการทางสังคมสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามกาล ด้านการส่งเสรมิ ความเป็นหญิง� เวลา และมีความหลากหลายท้ังภายนอกและภายใน ความเสมอภาค เปน็ ชาย วัฒนธรรมเดียวกันและต่างวัฒนธรรม บทบาทหญิง หญิงชาย (Gender)  ชายเป็นตัวแปรทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองท่ีใช้ (http://www.  ในการวิเคราะห์บทบาทความรับผิดชอบ ข้อจำ�กัดและ gender.go.th)  โอกาสของมนุษย์ 35 การท่ีประชาชนได้รับหลักประกันด้านสิทธิ ความ แผนยทุ ธศาสตร์ ปลอดภัย การตอบสนองต่อความจำ�เป็นข้ันพ้ืนฐาน  สวสั ดิการสงั คมไทย สามารถดำ�รงชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี ไม่ประสบ ฉบบั ท่ี 2 ความม่ันคง� ปัญหาความยากจน ไม่สิ้นหวัง และมีความสุข ตลอด พ.ศ.2555-2559 ของมนษุ ย์ จนได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกันในการพัฒนา คณะกรรมการ (Human Security)  ศักยภาพของตนเอง ซ่ึงอาจถือได้ว่า ความม่ันคงของ ส่งเสริมการจดั มนุษย์เป็นเป้าหมายสูงสุดของการจัดสวัสดิการสังคม สวัสดกิ ารสงั คม นนั่ เอง แหง่ ชาติ การท่ีประชาชนสามารถแสดงออกในทางเลือกของตน โครงการพัฒนา อยา่ งปลอดภยั และเปน็ อสิ ระ ประชาชนควรจะมศี กั ยภาพ  แห่งสหประชาชาติ และได้รับอำ�นาจมากพอท่ีจะดูแลรับผิดชอบตนเอง  (UNDP)  มีโอกาสที่จะแสวงความต้องการของตนเองและรายได้ ที่เพียงพอในการดำ�รงชีวิตความมั่นคงของมนุษย์มี 2  มติ หิ ลัก คือ 1. ปลอดภัยจากภัยคุกคามที่เรื้อรัง อาทิเช่น ความ หว่ งใย โรคภัยตา่ งๆ และภาวะกดดนั

คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 25 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่ีมา 2. การคุ้มครองจากการถูกคุกคามฉับพลันในการ ดำ�เนินชีวิตปกติประจำ�วัน ไม่ว่าจะเป็นในบ้าน  การงาน หรือในชุมชน ความไม่ม่ันคงของมนุษย์  หรือปจั เจกบคุ คลอย่ใู น 6 เรือ่ งหลัก คอื • ความไมม่ ั่นคงทางเศรษฐกิจ • ความไม่มั่นคงทางอาหาร • ความไม่ม่ันคงทางส่วนบคุ คล • ความไมม่ นั่ คงทางสภาพแวดล้อม • ความไมม่ น่ั คงทางชมุ ชนและวฒั นธรรม • ความไม่มน่ั คงทางการเมอื ง การท่ีประชาชนได้รับหลักประกันด้านสิทธิ ความ แผนพัฒนา ปลอดภัย การสนองต่อความจำ�เป็นข้นั พ้นื ฐาน สามารถ สวัสดิการสังคม ดำ�รงชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี ไม่ประสบปัญหา และสงั คมสงเคราะห์ ความยากจน ไม่ส้ินหวัง มีความสุข ตลอดจน ได้รับ แหง่ ชาติ ฉบับท่ี 4  โอกาสอย่างเท่าเทียมกันในการพัฒนาศักยภาพของ (2546-2549)  ตนเอง ความม่ันคงของมนุษย์จะเน้นคุณลักษณะสำ�คัญ  New dimensions  4 ประการ คอื of human security  1. ความม่ันคงของมนุษย์เป็นความเก่ียวข้องของมนุษย์ (2003)  ท้ังหมด ทั้งประเทศรำ่�รวยและประเทศยากจน  และแนวโน้มจริงไม่ว่าเป็นประเด็นของการว่างงาน  ยาเสพตดิ  ความรุนแรง ฯลฯ

26 คำ�ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า 2. ความมั่นคงของมนุษย์ แนวคิดของการพึ่งพาระหว่าง ประเทศร่วมกัน กล่าวคือ ตามแนวคิดใหม่ของภาวะ โลกท่ีเป็นอยู่ เมื่อเกิดภาวะอันตรายหรือเดือดร้อน ในประเทศใดๆ ในโลก เป็นบทบาทของประเทศ ในโลกท้งั หลายที่จะต้องเข้าไปเกีย่ วขอ้ งสอดส่องดแู ล 3. ความมั่นคงของมนุษย์เป็นแนวคิดท่ีมุ่งการป้องกัน มากกวา่ การแทรกแซงหรือแก้ไข 4. ความม่ันคงของมนุษย์ คือ มนุษย์เป็นศูนย์กลาง (people-centered) เกี่ยวข้องกับความเป็นไป ของมนุษย์ในสงั คม กรอบแนวคิดของความม่ันคงของมนุษย์ โดยสรุปคือ Sabina Alkire  วัตถุประสงค์ของความม่ันคงของมนุษย์ คือการป้องกัน (Alkire:2002)  ปัจจัยท่ีจำ�เป็นต่อมนุษย์ทุกคน จากภาวะหวาดกลัว ฉบั พลนั  ฯลฯ โดยปราศจากการถกู ขดั ขวาง หรอื ชะงกั งนั ในการได้รับปัจจัยดังกล่าวในระยะยาว องค์ประกอบ ของความมนั่ คงม ี 5 ประการหลกั  คือ 1. การปอ้ งกนั  (Safeguarding) มใิ หเ้ กดิ ความเสย่ี งเกดิ ขน้ึ 2. เน้นปัจจัยสำ�คัญหรือจำ�เป็น (Vital core) ปลอดจาก ความหวาดกลัวและปลอดจากความต้องการ (Free- dom from fear and Freedom from want)  3. มุ่งท่ีมนุษย์ทุกคน (All human lives) และมนุษย์ เป็นศูนย์กลาง (people-centered)  4. มองถงึ ภาวะการถกู คกุ คาม วกิ ฤต (Critical pervasive  threats) ซง่ึ อาจท�ำ ใหค้ วามมน่ั คงของมนษุ ยส์ ญู เสยี ไป

คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 27 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา 5. การเพิ่มเติมให้กับมนุษย์ในระยะยาว ในแง่น้ี ความม่ันคงของมนุษย์มิอาจเพียงพอหรือเพิ่มเติม ในส่ิงท่ีมนุษย์ต้องการได้ และเป็นการป้องกันมิให้ ประชาชนสญู เสยี ปจั จยั หรอื สง่ิ จ�ำ เปน็  ดงั นน้ั  กระบวน ของความมั่นคงของมนุษย์จะต้องดำ�เนินการควบคู่ ไปกับการพัฒนามนุษย์ในประเด็นที่หลากหลาย ออกไป แนวคิดของความม่ันคงของมนุษย์จะต้องประกอบด้วย Amartya Sen ปจั จยั พืน้ ฐานอยา่ งน้อยทส่ี ดุ  4 ประเด็น คอื (Sen:2002)  1. มุ่งเน้นอย่างชัดเจนในเร่ืองเก่ียวกับความเป็นอยู่ของ มนษุ ย์ 2. เห็นคุณค่าหรือยอมรับในบทบาทของสังคม และการ กำ�หนดหรือจัดการโดยสังคมในเรื่องความเป็นอยู่ ของมนุษย์ 3. เน้นที่ความเส่ียงข้างเคียงที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของ มนุษย์มากกว่าขยายผลปัจจัยต่างๆ ท่ัวไป (ซ่ึง ตรงข้ามกับวัตถุประสงค์ของการส่งเสริมตามแนวคดิ การพฒั นามนษุ ย ์ ซง่ึ มวี ตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี วา้ งกวา่ )  4. เน้นสิทธิมนุษยชนข้ันพื้นฐานจริงๆ มากกว่าประเด็น สทิ ธิมนษุ ยชนโดยทว่ั ไปหรือทง้ั หมด

28 คำ�ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า 36 การดำ�เนินงานท้ังของรัฐและสังคมที่จะช่วยลดปัญหา แผนยุทธศาสตร์ ความยากจน ตลอดจนขจัดภัยพิบัติต่างๆ ฉะนั้นความ สวสั ดิการสังคมไทย  ม่ันคงทางสังคมจึงมีความหมายกว้างขวาง กล่าวถึง ฉบับท ่ี 2  ความมน่ั คง� มาตรการทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือท่ีจะขจัด พ.ศ.2555-2559 ทางสังคม ความยากจนและความเส่ียงภัยต่างๆ โดยทั่วไป ความ (คณะกรรมการ (Social Security)  มั่นคงทางสังคมจะครอบคลุมถึงการช่วยเหลือทางสังคม  ส่งเสริมการจัด การประกนั สงั คม และการบรกิ ารสังคม สวัสดิการสงั คม แหง่ ชาติ)  37 ความยากจน คอื  ปราศจากซง่ึ ทางเลอื กและโอกาส รวมถงึ สหประชาชาติ การไม่มีเกียรติในความเป็นมนุษย์ การขาดความ ความยากจน� สามารถในการเข้าร่วมในสังคม ไม่สามารถหาเลี้ยง (poor)  ครอบครัวได้ ไม่มีโรงเรียนหรือโรงพยาบาลให้ไป ไม่มี ท่ีดินสำ�หรับการผลิตอาหาร ไม่มีงานให้เลี้ยงชีพ และ ไม่สามารถเข้าถึงสินเชื่อได้ นอกจากน้ันยังหมายถึง ความไม่ปลอดภัย ไม่มีอำ�นาจ และถูกกีดกันท้ังใน ระดับบุคคล ครัวเรือน และสังคม มีความเส่ียงท่ีจะ เกิดความรุนแรง หรืออาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีไม่ดี  ขาดการเขา้ ถงึ น�้ำ สะอาดและสาธารณสุขทด่ี ี

คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 29 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 38 ความยากจนในเชิงเศรษฐกิจ ซ่ึงพิจารณาท่ีระดับรายได้ สถาบนั วจิ ัยเพื่อการ หรอื ฐานะทางเศรษฐกจิ ของบคุ คล วา่ มรี ายไดไ้ มเ่ พยี งพอ พฒั นาประเทศไทย ความรุนแรง� กับการดำ�รงชีวิตได้ตามมาตรฐานข้ันต่ำ� หรือมีรายได้ ในครอบครวั ตำ่�กว่ามาตรฐานคุณภาพชีวิตขั้นตำ่�ท่ียอมรับได้ในแต่ละ สงั คม การไร้ซึ่งความกินดีอยู่ดีซึ่งรวมหลายๆ ด้านเข้าด้วยกัน  ธนาคารโลก ประกอบด้วย การมีรายได้น้อย ไม่สามารถเข้าถึงสินค้า (2554)  และบริการขั้นพื้นฐานท่ีจำ�เป็นสำ�หรับการอยู่รอด ด้วยเกียรติ การมีระดับการศึกษาและสุขภาพขั้นต่ำ�  เข้าถึงน้ำ�สะอาดและสาธารณสุขได้น้อย ไม่มีความ ปลอดภัย ไม่มีเสียงในสังคม และไม่มีโอกาสท่ีจะได้มา ซ่งึ ชีวติ ทด่ี ีข้ึน ความยากจนคือสถานการณ์โภชนาการท่ีไม่ถูกต้อง  องค์การอนามัยโลก มีข้อมูลด้านสุขภาพท่ีไม่เพียงพอ และรวมถึงไม่สามารถ เข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพได้ มีความเส่ียงในการ เป็นโรคและความพิการ ซ่ึงสามารถลดการออมของ บุคคล ลดความสามารถในการเรียนรู้ ลดคุณภาพ แรงงาน และนำ�ไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่แย่ลง และ ทำ�ให้ติดอยู่ในความยากจนยาวนาน การกระทำ�ใดๆ โดยมุ่งประสงค์ให้เกิดอันตรายแก่ พระราชบัญญตั ิ ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ หรือกระทำ�โดยเจตนาใน คมุ้ ครองผู้ถูกกระทำ� ลักษณะท่นี ่าจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จิตใจ หรือ ความรุนแรง สุขภาพของบุคคลในครอบครัว หรือบังคับหรือใช้อำ�นาจ ในครอบครวั ครอบงำ�ผิดคลองธรรมให้บุคคลในครอบครัวต้องกระทำ� พ.ศ.2550 การ ไม่กระทำ�การ หรือยอมรับการกระทำ�อย่างหนึ่ง อย่างใดโดยมชิ อบ แต่ไมร่ วมถึงการกระทำ�โดยประมาท

30 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทีม่ า 39 ความแตกต่างในการเข้าถึงการบริการ ทรัพยากร  พจนานุกรม ความแตกต่างของสถานภาพ และความเหลื่อมลำ้�ทาง ดา้ นการสง่ เสรมิ อำ�นาจระหว่างผู้ชายและผู้หญิง ซ่ึงโดยปกติแล้วผู้ชาย ความเสมอภาค ความเหลือ่ มลำ้ � จ ะ ไ ด้ รั บ โ อ ก า ส ม า ก ก ว่ า   เ ป็ น ก ล ไ ก เ ชิ ง ส ถ า บั น ท่ี หญิงชาย  ระหวา่ งหญงิ และชาย  หลอ่ หลอมทางกฎหมาย และธรรมเนยี มปฏบิ ตั ใิ นสงั คม (http://www. (Gender Disparity)  gender.go.th)  40 การดำ�รงชีวิตของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสม ตาม รศ.เทเวศน์ ความจำ�เป็นพื้นฐานหน่ึงๆ ในช่วงเวลาหน่ึง ประชาชน พริ ยิ ะพฤนท ์ คุณภาพชวี ิต มีหน้าท่ีพัฒนาตนเองและครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิต และคณะ (Quality of Life) ท่ีดี โดยการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเพ่ือพัฒนาให้ตนเอง มีสุขภาพกายและจิตดี มีครอบครัวที่อบอุ่น มีท่ีอยู่อาศัย  มีรายไดพ้ อสมควร ประหยดั  สร้างตนเองและครอบครวั เสรีภาพ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านวัตถุ ด้านสังคม และด้าน ศ.นพ.ประเวศ วะสี จติ ใจ • ด้านวัตถุมีเครื่องชี้วัด คือ การมีวัตถุปัจจัยพอเพียง ไม่ถกู บบี คั้นจากความอดอยากขาดแคลน • ดา้ นสงั คมมเี ครอ่ื งชว้ี ดั  คอื  ไมม่ กี ารกดขเ่ี บยี ดเบยี นกนั ด้วยประการต่างๆ ในสังคม มนุษย์สามารถเป็น ตัวของตัวเองได้ สามารถตัดสินใจด้วยตนเองได้ และเลือกที่จะด�ำ เนินชวี ติ ทถี่ ูกต้องและดงี าม • ด้านจิตใจมีเครื่องช้ีวัด คือ การมีเสรีภาพจากการ บีบค้ัน คือ การมีเสรีภาพจากการบีบค้ันจากกิเลส ในใจของตนเอง

คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 31 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า คณุ ภาพชวี ติ เปน็ เรอ่ื งทซ่ี บั ซอ้ น ทง้ั นเ้ี พราะวา่ คณุ ภาพชวี ติ Sharma เป็นเรื่องของความพึงพอใจ อันเกิดมาจาการการได้รับ การตอบสนองความต้องการของจิตใจและสังคม ท้ังใน ระดับจุลภาคและมหภาค และยังเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ ความสามารถทางสังคมในการตอบสนองความต้องการ ข้นั พื้นฐานของสมาชกิ ในสงั คมด้วย ความรู้สึกของการอยู่อย่างพึงพอใจ (มีความสุข มีความ องคก์ ารการศกึ ษา พอใจ) ตอ่ องคป์ ระกอบตา่ งๆ ของชวี ติ  ซง่ึ เปน็ สว่ นส�ำ คญั วิทยาศาสตร์ มากทีส่ ุดของบคุ คล และวัฒนธรรม แหง่ สหประชาชาติ (UNESCO)  ชีวิตที่มีความสุข ชีวิตท่ีสามารถปรับตัวเองเข้ากับ ลปิ นนท์ เกตทุ ัต ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้ทั้งสิ่งแวดล้อมกายภาพ  สิ่งแวดล้อมทางสังคม และสามารถปรับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสังคม ให้เข้ากับตนโดยไม่เบียดเบียน ผ้อู ่นื  หรือกล่าวส้นั ๆ คือ เรียนร้ธู รรมชาติจนปรับตนเอง และธรรมชาตใิ หเ้ ขา้ กนั ได้ โดยไม่เบียดเบียนกัน ชีวิตท่ีมีคุณภาพซ่ึงเป็นชีวิตที่รอดอยู่ อยู่ดี อยู่อย่าง สุมน คณุ าวิวฒั น ์ ,  มีหลักการ และบุคคลนั้นสามารถปรับตัว และแก้ไข 2526 ปัญหาได้ เพือ่ ด�ำ เนินชีวิตไปอยา่ งสงบตามอตั ภาพ ชีวิตท่ไี ม่เป็นปัญหาทางสังคม เป็นชีวิตท่มี ีความสมบูรณ์ ชยั วัฒน์ ปัญจพงศ,์ ท้ังร่างกายและจิตใจ มีความคิดและความสามารถที่ 2525 จะดำ�รงสภาพทางเศรษฐกิจ สังคมการเมืองได้อย่าง ถูกต้อง แก้ปัญหาท่ีสลับซับซ้อนได้ สามารถหาวิธีเพื่อ ให้ได้ซ่ึงส่ิงที่ตนเองพึงประสงค์ภายใต้เคร่ืองมือและ ทรพั ยากรที่มีอยู่

32 คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า ความอุดมสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา  ยพุ า อุดมศกั ด,์ิ เฉพาะต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อม มีครอบครัวและสังคม 2516 ที่ดี เพ่ือฝึกอบรมตนเอง ช่วยตนเองและมีส่วนร่วม ในภารกิจของสังคม  อันเป็นเครื่องมือท่ีจะนำ�ไปสู่ ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนต่อไป 41 บคุ คลซง่ึ มขี อ้ จ�ำ กดั ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชวี ติ ประจ�ำ วนั พระราชบัญญตั ิ หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความ สง่ เสรมิ และพัฒนา คนพกิ าร บกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว การ คุณภาพชวี ติ (Persons with � สื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้  คนพกิ าร Disabilities)  หรือความบกพร่องเร่ืองอ่ืนใด ประกอบกับมีอุปสรรคใน พ.ศ.2550 ด้านต่างๆ และมีความจำ�เป็นเป็นพิเศษท่ีจะต้องได้รับ และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ   ความช่วยเหลือด้านหน่ึงด้านใด เพ่ือให้สามารถปฏิบัติ (ฉบับท ่ี 2 )  กิจกรรมในชีวิตประจำ�วันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทาง พ.ศ.2556 สังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ทั้งน้ี ตามประเภทและ หลักเกณฑ์ท่ี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่นั คงของมนษุ ย์ ประกาศก�ำ หนด คนท่ีไม่สามารถดูแลตนเองได้ท้ังหมด หรือบางส่วน องคก์ ารการศกึ ษา ที่จำ�เป็นสำ�หรับการดำ�รงชีวิตอยู่อย่างปกติ หรือการใช้ วิทยาศาสตร์ ชีวิตในสังคม อันมีผลมาจากความบกพร่องทางกายหรือ และวัฒนธรรม จติ ใจ ไมว่ ่าจะเป็นมาแต่ก�ำ เนดิ หรือไมก่ ็ตาม แหง่ สหประชาชาติ (UNESCO)  บุคคลซึ่งความสามารถถูกจำ�กัดในการปฏิบัติกิจกรรม รวบรวมค�ำ ส�ำ คญั ในชีวิตประจำ�วัน และการมีส่วนร่วมทางสังคมได้ ในงานพฒั นาสังคม  โดยวิธีการท่ัวไป เน่ืองจากมีความบกพร่องทางการเห็น  สวสั ดิการสังคม การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์  และความม่ันคง พฤติกรรม สติปัญญาหรือการเรียนรู้ และมีความ ของมนุษย์  ต้องการจำ�เป็นพิเศษด้านต่างๆ เพ่ือให้สามารถดำ�เนิน สมพ. 02/2546 ชีวติ  และมีสว่ นรว่ มในสังคมได้อย่างบคุ คลทั่วไป

คำ�ศัพท์นา่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 33 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า คนที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติ พระราชบญั ญัติ ปัญญา หรือทางจิตใจตามประเภทและหลักเกณฑ์ท่ี ฟ้นื ฟสู มรรถภาพ กำ�หนดในกระทรวง ได้แก่ คนพิการทางการมองเห็น  คนพิการ  คนพิการทางการได้ยินหรือการสื่อสารความหมาย  พ.ศ.2534 คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว คนพิการทาง จิตใจหรือพฤติกรรม และคนพิการทางสติปัญญาหรือ การเรยี นรู้ บุคคลใดก็ตามซ่ึงไม่สามารถประกันการจัดหามาซ่ึงส่ิง ปฏิญญาสากล อนั จ�ำ เปน็ ต่อการด�ำ รงชพี ตามปกตขิ องตนเอง และ/หรอื   วา่ ด้วยสทิ ธิคนพิการ ต่อสังคม อันเป็นผลมาจากความบกพร่องไม่ว่าจะโดย แห่งสหประชาชาติ  กำ�เนิดหรือไม่ก็ตามของสมรรถภาพทางร่างกาย หรือ พ.ศ.2518 จิตใจ 42 บุคคลซ่ึงไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การ พระราชบญั ญัติการ ยังชีพ และให้รวมถึงบุคคลท่ีอยู่ในสภาวะยากลำ�บาก คมุ้ ครองคนไรท้ ี่พงึ่   คนไร้ทพี่ งึ่ และไมอ่ าจพงึ่ พาบุคคลอ่นื ได้ พ.ศ.2557

34 คำ�ศัพทน์ ่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 43 ชนกลุ่มน้อยชาติพันธ์ุต่างๆ ที่เกิดในประเทศไทย หรือ กฤตยา อาชวนิจกลุ อาศัยในประเทศไทยมานานแล้ว ในแง่ของกฎหมาย คนไรร้ ัฐ สัญชาติ คนกลุ่มน้ีคือคนต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมาย  ขั้นตอนท่ีรัฐไทยใช้จัดระบบในการรับรองสถานะบุคคล ของคนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ คือ ปรับสถานะจากเข้าเมือง ผิดกฎหมายมาเป็นผู้มีสิทธิอาศัยอยู่ชั่วคราว ประชากร ชายขอบกลุ่มน้ีต้องเผชิญกับการเลือกปฏิบัติและการ ละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนพืน้ ฐานอยา่ งนอ้ ย 8 ดา้ น คือ 1. การถูกบงั คับใหก้ ลายเปน็ คนพลัดถ่นิ ในประเทศ 2. การขาดความม่ันคงเรอ่ื งทด่ี ินท�ำ กิน 3. การถกู ปฏิเสธใหจ้ ดทะเบยี นการเกดิ 4. ความยากลำ�บากในการเข้าถงึ บรกิ ารรักษาพยาบาล 5. การทำ�งานได้รับความคุ้มครองแรงงานตามกฎหมาย ไทย 6. ความยากล�ำ บากในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม 7. การหา้ มเดนิ ทางออกนอกพน้ื ทีค่ วบคุม 8. ความยากล�ำ บากในการเขา้ ถึงการศึกษา คนไรส้ ญั ชาติ คนท่ีไม่มีสัญชาติของประเทศใดในโลก กล่าวโดย ดร.พนั ธทุ์ พิ ย ์ (Nationalityless)  หลักกฎหมายได้ว่า คนไร้สัญชาติมีสถานะเป็นคน กาญจนะจิตรา  และคนไรร้ ฐั ต่างด้าวในทุกประเทศของโลก แต่ปัญหาไร้สัญชาติ  สายสนุ ทร จะรุนแรงมากข้ึนหากบุคคลไม่ได้รับการยอมรับ ให้สิทธิ (Stateless)  อาศัย โดยรัฐใดเลยในโลก บุคคลในสถานการณ์นี้ จึงตกเป็นคนต่างด้าว ผิดกฎหมายของทุกประเทศ หรือ กลายเป็นคนไร้รัฐ (Stateless) แต่ถ้าคนไร้สัญชาติ ได้ รับสิทธิอาศัยจากรัฐหรือประเทศใดบนโลกน้ ี คนกล่มุ น้ี ก็จะเป็นคนไร้สัญชาตแิ ตไ่ มไ่ ร้รัฐ 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook