Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3

Published by panuchak.golf, 2020-05-03 09:37:34

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3

Search

Read the Text Version

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแขง้ พทุ ธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | 1 ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 2 ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คำนำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้จัดทำขึ้นตาม แนวทางที่กำหนดไว๎ในตัวชี้ และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แห่ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ซึ่งกำหนดให้ สถานศึกษามีหน้าท่ีจัดทำสาระของหลักสตู รสถานศกึ ษาตามหลักการจดุ หมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐานตอบสนองต่อความต้องการ กำหนดเพ่ือการในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น คุณลกั ษณะทพี่ ่ึงประสงค์ เยาวชนเปน็ สมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครวั ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ ปี พ.ศ.2553 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินงาน โครงการโรงเรียน มาตรฐานสากล เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ยกระดับโรงเรียนให้มีการจัดการเรียนการ สอน และการบริหาร ระบบคณุ ภาพ (Quality System) มงุ่ ให้ผูเ้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Learner Profile) มคี วามรู๎เทียบเคียง มาตรฐานสากล (World Class Standard) ผู้เรียนมีคุณภาพเป็นพลโลก(World citizen) คือ มีความเป็นเลิศทาง วิชาการ สอ่ื สารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานสร้างสรรค์ และร่วมกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก โรงเรียนบ้านหมากแข้ง ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล และได้ผ่านเกณฑ์ รางวลั คุณภาพแห่งสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (OBECQA) ของโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล ปี 2557-2558 แล้วนั้นและเข้าร่วมโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู๎” ตามนโยบายของรัฐบาล โดยสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน โรงเรียนมุ่งม่ันในการดำเนินงานโครงการนี้ เพื่อบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช2563 ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) และตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หวงั เพ่อื ให้นกั เรยี นเปน็ ผู้ประพฤติดี มีความรู้ เป็นพลโลกที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล การศกึ ษาข้อมูลทิศทาง และกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12 ฉบับที่ (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งเกิดขึ้นใน ช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศและสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลง และเชื่อมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้น โดยจัดทำบน พื้นฐานของกรอบ ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ..2560 - 2579) ซ่งึ เปน็ แผนหลกั ของการพฒั นาประเทศ และเป้าหมาย ของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2579 รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติทีจ่ ะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาใน ระยะ 20 ปี ต่อจากนี้ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการ สร้างความสามารถในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ด้านการ สร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็น มิตรกบั สิง่ แวดล้อม (6) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพอ่ื มุ่งสู่วิสัยทัศน์ และทิศทางการพฒั นาประเทศ“ความมั่นคง มั่งคั่ง ”ยั่งยนื เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ ใหก้ ารขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์ชาติ เพอ่ื เตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับผล การเปล่ยี นแปลงได้อย่างเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดเป็นนโยบายสำคัญและเร่งด่วนใหม้ ีการปรับปรุง หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู๎สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมรวมทั้งเทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการ โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหมากแขง้ พทุ ธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปที ี่ 3 | 3 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. เทคโนโลยี) ดำเนินการปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นร๎ูคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูว๎ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และมอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ดำเนนิ การปรบั ปรุงสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทง้ั น้ีการดำเนินงาน ประกาศใช้หลกั สตู รยงั คงอยู่ในความรบั ผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การปรบั ปรุงหลักสูตร ครั้งนี้ ยังคงหลักการและ โครงสร้างเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ แต่ มุ่งเน้นการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ คำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียน มีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 เป็นสำคัญ เตรียมผู้เรียนให้มคี วามพร้อมทีจ่ ะ เรยี นรส๎ู งิ่ ต่าง ๆ พร้อมทจ่ี ะประกอบการศกึ ษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดบั ทสี่ ูงข้ึน สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับ ประชาคมโลกได้ กรอบในการปรับปรุง คือ ให้มีองค์ความรู้ที่เป็นสากลเทียบเท่านานาชาติ ปรับมาตรฐานการ เรยี นรู้และตัวชวี้ ดั ให้ มคี วามชดั เจน ลดความซ้ำซอ้ น สอดคล้องและเชอื่ มโยงกนั ภายใน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ตลอดจนเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เข้า เรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นตามพัฒนาการแต่ละ ช่วงวัย ให้มีความเชื่อมโยงตาม กระบวนการเรียนรู้ โดยให้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด หลักสูตรสถานศึกษาฉบับนี้ ประกอบด้วยส่วน โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา คำอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และเกณฑ์การจบ การศกึ ษา ซ่ึงทางโรงเรยี นได้กำหนดไว๎ในหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องและผู้ทีน่ ำหลกั สูตรไปใช้ได้เข้าใจ และสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้องและบรรลุผลตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบางกะปิพุทธศักราช 2562 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู๎แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบับนี้ สำเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดกี ็ด้วยความร่วมมือและช่วยเหลือจากบุคลากร หลายฝ่าย ประกอบด้วย ผู้อำนวยกการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา ศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนบ้านหมากแข้ง ผู้ปกครองนักเรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้าน หมากแขง้ คณะครูและผู้ท่มี สี ่วนเกีย่ วขอ้ งทุกภาคส่วนทีม่ ีส่วนร่วมดำเนนิ การทางโรงเรยี นจงึ ขอขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้ สายช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 4 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สารบญั สว่ นนำ ........................................................................................................................................ หนา้ ความนำ ........................................................................................................................ 5 วิสัยทัศนข์ องโรงเรยี น .............................................................................................. 5 คา่ นิยมองค์กร BMK : Core value ………………………………………………….. 7 หลักการ .................................................................................................... 8 จุดมุง่ หมาย ................................................................................................ 8 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ..................................................................................... 9 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ...................................................................................... 9 มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชว้ี ดั .............................................................................. 10 โครงสร้างเวลาเรยี น /โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 .................. 11 โครงสรา้ งเวลาเรียน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 .............................................................. 18 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ............................................. 19 คำอธิบายรายวิชา ......................................................................................................... 20 กลุ่มสาระการเรยี นภาษาไทย ................................................................................. 21 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ............................................................................ 22 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ................................................... 28 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ...................................... 34 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ........................................................... 40 กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ..................................................................................... 48 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ........................................................................ 54 กลุ่มสาระการเรียนเรยี นภาษาตา่ งประเทศ ........................................................... 60 INDEPENDENT STUDY (IS) ................................................................................ 68 กจิ กรรมแนะแนว .................................................................................................. 76 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ................................................................................................. 81 เกณฑ์การจบการศึกษา ............................................................................................... 79 88 ภาคผนวก ................................................................................................................................ 128 คณะผจู้ ัดทำ ....................................................................................................................... 129 โรงเรียนบ้านหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแขง้ พทุ ธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 | 5 ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแขง้ พทุ ธศักราช 2563 ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็นหลักสูตร แกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธกิ าร,2544) พร้อมกันนไี้ ด้ปรบั กระบวนการพฒั นาหลักสตู รให้มคี วามสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่มุ่งเน้นการกระจาย อำนาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลกั สูตร เพ่อื ให้สอดคล้อง กบั สภาพ และความองคก์ ารของท้องถิน่ (สำนกั นายกรฐั มนตรี,2542) จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา (สำนักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา, 2546 ก., 2546 ข., 2548 ก., 2548 ข.; ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2547 ;ส านัก ผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล,2548; สุวิมล ว่องวาณิชและนงลักษณ์ วิรัชชัย,2547; Nutravong, 2002; Kittisunthorn, 2003) พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วย ส่งเสริมการกระจายอำนาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญพัฒนาหลกั สตู ร ให้สอดคล้องกบั ความองค์การของท้องถิน่ และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแบบองคร์ วม อยา่ งชดั เจน อยา่ งไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถงึ ประเดน็ ที และความไม่ชดั เจนของหลักสูตร หลายประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใช้ หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วน ใหญ่กำหนดสาระการเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ที่คาดหวังไว้มากทำให้ปัญหาหลักสูตรแน่นการวัดและประเมินผลไม่ สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทำเอกสารหลกั ฐาน การศึกษาและการเทยี บโอนผลการเรียน รวมทั้งปญั หา คุณภาพ ของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันยังไม่เป็นที่นําพอใจ การศกึ ษาข้อมลู ทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 12 ฉบบั ที่ (พ.ศ. 2560 - 2564) ซ่ึงเกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาของการปฏิรูปประเทศและสถานการณ์โลกที่เปล่ยี นแปลง และเชือ่ มโยงใกล้ชดิ กันมาก ขึ้น โดยจัดทำบนพื้นฐานของกรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ..2560 - 2579) ซึ่งเป็นแผนหลักของการพัฒนา ประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 ซง่ึ ยุทธศาสตรช์ าติท่จี ะใช้เป็น กรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปีต่อจากน้ี ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยทุ ธศาสตร์ด้านความม่ันคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั (3) ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน (4) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั ทางสงั คม (5) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม (6) ยุทธศาสตรด์ ้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ และทิศทางการพฒั นาประเทศ“ความมัน่ คง มั่งคั่ง ”ยั่งยืนเป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วย การพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประเด็นท่ีสำคัญเพอ่ื แปลงแผนไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธ์ิได้ อย่างแท้จริงตามยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน คือ การเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการ เสริมสร้างศักยภาพของประชากรทุกช่วงวัย มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนให้ เหมาะสมตามช่วงวัย อย่างมีคุณภาพ การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม การเตรียมความพร้อมของกำลังคนด้าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เพอื่ ใหก้ ารขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ เพอ่ื เตรยี มความพร๎อมคนให้สามารถปรับตวั รองรับผลของการเปล่ียนแปลงได้ อยา่ งเหมาะสม กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ กำหนดเป็นนโยบายสำคัญและเร่งด่วนให้มกี ารปรับปรุงหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ สาระภูมศิ าสตร์ ใน กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมรวมทง้ั เทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเ(สสวท.เทคโนโลยี) ดำเนินการปรับปรุง โรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมอื งอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 | 6 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู๎คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ และสาระเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรียนรกู๎ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี และมอบหมายใหส้ ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ดำเนนิ การปรับปรงุ สาระภมู ศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทง้ั นี้ การดำเนนิ งาน ประกาศใช้หลักสูตรยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2553 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินงาน โครงการโรงเรียนสู่ มาตรฐานสากล เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ยกระดับโรงเรียนให้มีการจัดการเรียนการสอน และการบริหาร ระบบคุณภาพ (Quality System) มงุ่ ให้ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (Learner Profile) มีความรู๎เทียบเคียง มาตรฐานสากล (World Class Standard) ผู้เรียนมีคุณภาพเป็นพลโลก (World citizen) คือ มีความเป็นเลิศทาง วิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานสร้างสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก โรงเรียน บ้านหมากแข้ง ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการโรงเรยี นสู่มาตรฐานสากล และได้ผ่านเกณฑ์รางวัลคณุ ภาพ แห่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) ของโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ปี 2557-2558 แล้วนั้นและเข้าร่วมโครงการ“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ตามนโยบายของรัฐบาล โดยสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนมุ่งม่ันในการดำเนินงานโครงการนี้ เพื่อบรรลุตามวตั ถุประสงคใ์ นการจดั ทำหลกั สตู ร สถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง 2560) และตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรโรงเรียน มาตรฐานสากล หวงั เพือ่ ใหน้ กั เรยี นเป็นผูป้ ระพฤตดิ ็ี มีความรู้ เป็นพลโลกทม่ี คี ณุ ภาพตาม มาตรฐานสากล หลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 256 ได้จัดทำขึ้นตามแนวทางที่กำหนดไว้ในตัวชี้ และสาระการ เรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง 2560) และตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ี แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ซึ่งกำหนดให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตาม หลกั การจดุ หมายของหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานกำหนด เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการในสว่ นท่ีเก่ียวกับ สภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเยาวชนเป็นสมาชิกที่ดีของ ครอบครัว ชุมชน สังคมแลประเทศชาติ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ัดท่ีกำหนดไว้ในเอกสารนี้ช่วยทำให้หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องในเห็นผลคาดหวังที่ ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนวซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงานในระดับท้องถ่ินและ สถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมนั่ ใจ ทำใหก้ ารจดั ทำหลกั สูตรในระดับมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีคุณภาพและ มีความเป็นเอกภาพยิง่ ขน้ึ อีกทั้งยงั ช่วยใหเ้ กิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมนิ ผล และช่วยแก้ปัญหาการเทียบ โอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดบั จนกระทั่งถงึ สถานศึกษาจะต้องสะท้อนคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัดทีก่ ำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทาง ในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้รียนกลุ่มเป้าหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต้องการวางแผนดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก๎ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการ เรียนร๎ทู ่กี ำหนดไว้ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 | 7 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 วสิ ัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซง่ึ เป็นกที่มคี วามกำลงั ของชาติให้เหมาะสม สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ มีจิตสาธารณะ คุณธรรมในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง เจตคติ ทางการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตมุ่งเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ โดยสำคัญบนพื้นฐานความ เช่ือมโยงกับความสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง มวี ิสยั ทศั น์ ดงั นี้ วสิ ัยทศั น์ของหลักสูตรโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง วสิ ยั ทัศน์ (VISION) โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง เป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ พัฒนาครแู ละผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พันธกิจ (MISSION) 1. พัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล และยดึ มั่นในคณุ ธรรม จริยธรรม ตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนาระบบบริหารหารจดั การศึกษาดว้ ยระบบคุณภาพ ตามเกณฑ์ OBECQA 3. พฒั นาหลกั สูตรและการจดั การเรยี นรู้ใหม้ คี ุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล 4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรท่งการศึกษาใหม้ ีความสามารถ มคี วามเช่ียวชาญ ในการใช้สอื่ เทคโนโลยี นวัตกรรม และกระบวนการวจิ ัยในการพฒั นาผู้เรยี น 5. สร้างภาคีเครือข่ายการจดั การเรียนรู้ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ รวมทงั้ ผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียเพอื่ ร่วม พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปรัชญา (Philosophy) นตถิ ปญญา สมาอาภา “แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี” ความหมาย ผมู้ สี ติปญั ญายอ่ มร้แู จ้งเห็นกระจา่ งยงิ่ กว่าแสงสวา่ งใด ๆ อตั ลกั ษณ์ (Identity) เรยี นดี มคี ณุ ธรรม กจิ กรรมเด่น เอกลักษณ์ (Highlight) ยิ้มงา่ ย ไหว้สวย วฒั นธรรมโรงเรียน (School culture) แต่งกายดี วจีไพเราะ เป้าประสงค์ (OBJECTIVE) 1. ผเู้ รียนเปน็ เลิศทางวิชาการ และมคี ณุ ธรรม จริยธรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 2. ระบบการบริหารจัดการมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. หลักสตู รและกระบวนการจดั การเรยี นรูม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 4. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามกี ระบวนการจดั การความรูเ้ ปน็ ครูมอื อาชีพ 5. ภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคสว่ น ร่วมจัดการศกึ ษาของโรงเรียนอยา่ งมีคุณภาพ โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมอื งอดุ รธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 | 8 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คา่ นยิ มองค์กร BMK : Core value B = Being Professional ความเปน็ ครมู อื อาชพี M = Moral ความมีคุณธรรม จรยิ ธรรม Maintenance การทำนบุ ำรุงรักษาไว้ Management การจดั การใหส้ ำเร็จ Meeting การหันหน้าเขา้ หากนั เม่ือมีปญั หา K = Knowledge บุคลากรทุกคนมีความรู้ Knowledge Transfer การแลกเปลยี่ นการเรียนรู้ซึง่ วกนั และกนั ผลผลติ ของสถานศึกษา ผลผลิตที่ 1. นกั เรียนจบการศกึ ษาภาคบังคับหลกั สตู รการศึกษา ตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากำหนด ผลผลิตท่ี 2. นกั เรียนจบการศึกษาขั้นพน้ื ฐานหลักสตู รตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนด ตวั ชีว้ ัดความสำเรจ็ 1. ร้อยละของนกั เรยี นท่จี บการศกึ ษาภาคบงั คบั ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด 2. รอ้ ยละของนักเรียนที่จบการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด 3. ร้อยละของนกั เรยี นทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขนั ความรู้ ความสามารถในระดับนานาชาติ 4. ระดบั คะแนนเฉล่ีย (GPA) ของสถานศึกษาและคําเฉล่ียของคะแนนการทดสอบระดับชาติ (O-net) 5. ลำดับท่ีของคะแนนเฉลย่ี การทดสอบระดบั ชาติ เมื่อเทยี บเคยี งกับโรงเรยี นในเขตพ้ืนที่การศกึ ษา 6. ระดับความพงึ พอใจของนกั เรยี น ผูป้ กครองและชมุ ชนต่อการให้บรกิ ารทางการการศึกษาของ สถานศกึ ษา 7. รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทม่ี ีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการศึกษามาตรฐานสากล เป้าหมายความสำเรจ็ 1. นกั เรยี นจบการศึกษาภาคบังคบั ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99 2. ระดบั คะแนนเฉลี่ย (GPA) ของนักเรียน ไมน่ อ้ ยกวา่ 80 และคําเฉลีย่ ของคะแนนการ ทดสอบ ระดบั ชาติ ไม่น้อยกวา่ คําเฉล่ียระดบั เขตพื้นที่การศกึ ษา 3. ระดับความพงึ พอใจของนักเรียน ผปู้ กครองและชุมชนต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและคณุ ลกั ษณอัน พึงประสงคใ์ นระดบั ดมี าก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 4. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกบั การจดั การเรยี นการสอนหลกั สูตรสถานศึกษา มาตรฐานสากลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 95 5. ร้อยละของงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปที ่ีมีผลการประเมนิ ตวั ชวี้ ดั ความสำเรจ็ ในระดับดี มาก หลักการ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแขง้ พุทธศกั ราช 2563 หลักการท่สี ำคัญ ดงั น้ี 1. เปน็ หลกั สตู ร ที่มจี ุดหมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เพือ่ พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรู๎ ทักษะ คณุ ธรรมบน พนื้ ฐานของความเปน็ ไทยควบคู่กับความเปน็ สากล มศี กั ยภาพเปน็ พลโลก 2. เปน็ หลักสตู รเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ โรงเรียนบ้านหมากแขง้ อำเภอเมอื งอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | 9 ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 3. เป็นหลกั สูตรทสี่ นองการกระจายอำนาจ ให้ชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา ให้สอดคล๎องก สภาพ ความต้องการของท้องถิ่นและมคี วามเปน็ สากล 4. เปน็ หลักสตู รทีม่ โี ครงสร้างยืดหยุ่นทงั้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้ เปน็ หลกั สูตรที่ เน้นผู้เรยี นสำคัญที่สดุ จดุ มุง่ หมาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความรู้ มีปญั ญา มีความสขุ มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเป็นจดุ หมาย ดงั น้ี 1. นกั เรียนเป็นเด็กดี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคาํ นิยมท่พี งึ ประสงค์ เห็นคณุ คําของตนเอง มาปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. นกั เรยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะ ในการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ การแก้ปญั หา การใช้ เทคโนโลยี มีทกั ษะชีวติ และส่ือสาร ได้หลายภาษาอย่างถกู ต้องและเหมาะสม 3. มีความเปน็ เลิศทางวิชาการ และเชีย่ วชาญวิชาชพี ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ได้ 4. มที ักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ 5. สามารถค้นคว้า ขา่ วสาร ขอ้ มูลจากแหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสือ่ สารและคอมพวิ เตอร์ 6. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มีสขุ นิสัย และรกั การออกกำลงั กาย 7. มคี วามรักชาติ มีจติ สำนกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวิถีชวี ิตและการปกครอง ระบบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ 8. มจี ติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาสง่ิ แวดล้อม สาธารณะที่ มุ่งทำประโยชน์สร้างสรรคส์ ิ่งที่ดงี ามเพ่อื สังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมุ่งใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการสำคัญดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไม่รบั ข้อมลู ขา่ วสารด้วยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกวิธีการ สอ่ื สาร ท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือสาร การตัดสินใจ เก่ยี วกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ทเี่ ผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลย่ี นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มาใช้ในการปอ้ งกันและแก้ไข และมกี าร ตดั สนิ ใจท่มี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กิดขึ้นต่อตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันด้วยการสร้างเสริม ความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคลการจัดการปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู๎ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 | 10 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลุม่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์เพอื่ ให้สามารถ อยู่ รว่ มกบั ผู้อนื่ ในสังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลกดังนี้ 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. ซอื่ สตั ย์สจุ ริต 3. มีวนิ ยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ คณุ ลกั ษณะผู้เรยี นในศตวรรษ21 หลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก โดยมุ่งหวังใหค้ ุณภาพ ผู้เรียนมีความสัมพันธ์สอดคล้องและส่งเสริมต่อยอดผเู้ รยี นให้มศี ักยภาพเปน็ พลโลก ดงั น้ี 1. ใฝ่รู๎ใฝ่เรยี น 2. มีภมู ิรู้ 3. รู้จกั ใช้วิจารณญาณ 4. เปน็ นกั คิด 5. สามารถสื่อสารได้ 6. มีระเบียบวนิ ยั 7. ใจกว้าง 8. รอบคอบ 9. กลา้ ตัดสนิ ใจ 10. ยตุ ิธรรม คุณภาพผ้เู รยี นมศี ักยภาพพลโลก 1. เป็นเลิศวิชาการ (Smart) 2. สือ่ สารสองภาษา (Communicator) 3. ล้ำหน้าความคดิ (Thinker) 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์ (Innovator) 5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก (Global Awareness) ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านหมากแข้ง จึงมุ่งสะท้อนคุณภาพของผู้เรียนต่อยอดจาก สมรรถนะและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพ่อื เสรมิ สร้างผู้เรยี นใหม้ ศี กั ยภาพเปน็ พลโลก สรปุ ได้ดังตาราง คณุ ภาพผู้เรียนโรงเรยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คณุ ลักษณะผ้เู รยี นในศตวรรษ 21 มาตรฐานสากล 1. รักชาตศิ าสน์ กษัตรยิ ์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. ใฝร่ ๎ูใฝเ่ รยี น 1. เปน็ เลิศวิชาการ 2. ซื่อสัตยส์ จุ ริต 2. ความสามารถในการคดิ 2. มภี มู ริ ู้ 2. สือ่ สารสองภาษา 3. มีวินยั 3. ความสามารถในการ 3. รจู้ ักใช้วิจารณญาณ 3. ล้ำหนา้ ความคิด 4. ใฝเ่ รียนรู้ แกป้ ญั หา 4. เป็นนักคดิ 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์ 5. อยู่อย่างพอเพียง 4. ความสามารถในการใช้ 5. สามารถสอื่ สารได้ 5. รว่ มกันรับผิดชอบตอ่ สงั คม 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน ทักษะชวี ติ 6. มีระเบียบวนิ ยั โลก 7. รกั ความเปน็ ไทย 5. ความสามารถในการใช้ 7. ใจกวา้ ง 8. มจี ิตสาธารณะ เทคโนโลยี 8. รอบคอบ 9. กล้าตดั สนิ ใจ 10. ยตุ ธิ รรม โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดับมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 11 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 มาตรฐานการเรยี นรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จึงกำหนดให้ผ้เู รยี นเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังน้ี 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 2. กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ 3. กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชพี 8. ภาษาตาํ งประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน มาตรฐานการเรยี นรู้ระบุสิง่ ที่ผู้เรียนพงึ รู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และคํานิยามการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู๎ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาระบบ เพราะมาตรฐานการ เรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการ ตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพ ภายนอก ซึ่งรวมถงึ การทดสอบระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา และการทดสอบระดบั ชาติ ระบบการตรวจสอบเพอื่ ประกนั คุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนา มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการ เรียนรู้กำหนดเพียงใด ตวั ชว้ี ัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งทีน่ ักเรยี นพึงรู้และปฏบิ ัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน มาตรฐานการ เรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรปู ธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเน้ือหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการ เรียนการสอน และเปน็ เกณฑส์ ำคัญสำหรบั การวดั ประเมนิ ผลเพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพผู้เรยี น 1 . ตวั ช้วี ดั ชั้นเปน็ เปาู หมายในการพัฒนาผู้เรยี นแต่ละช้นั ปใี นระดบั การศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปที ี่ 1-มัธยมศกึ ษาปีท่ี3) 2 . ตวั ชีว้ ัดชว่ งชน้ั เป็นเปูาหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีท่ี4-6) หลกั สตู รได้มกี ารกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรียนรแู๎ ละตัวชวี้ ัด เพ่ือความเขา้ ใจและให้ สื่อสารตรงกัน ดังน้ี โรงเรยี นบ้านหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแขง้ พทุ ธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 | 12 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ความสมั พันธ์ของการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ มีจิตสคุณธรรมานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อ การศึกษา การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสโดยสำคัญ ความเชื่อว่าทุกคน สามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคํานิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณคําของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติหลักธรรมของ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มคี วามรู๎อนั เป็นสากลและมีความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแก๎ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะชวี ิต 3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสุขนิสัย และรกั การออกกำลังกาย 4. มีความรกั ชาติ มีจติ ส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวิถชี ีวติ และระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ 5. มีจิตสำนึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่ง ทำประโยชน์และสร้างสง่ิ ทีด่ ีงามในสังคม และอยู่ร่วมกนั ในสงั คม สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2.ซ่ือสตั ย์สุจรติ 2. ความสามารถในการคิด 3. มีวนิ ัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 3. ความสามารถในการแก๎ปัญหา 6. มงุ่ มั่นในการทำงาน 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 7. รกั ความเป็นไทย 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. มจี ิตสาธารณะ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 1. ภาษาไทย 2. คณติ ศาสตร์ 3. วทิ ยาศาสตร์ 1. กิจกรรมแนะแนว 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 2. กจิ กรรมนักเรียน 5. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 6. ศิลปะ 3. กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปที ี่ 3 | 13 ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวน 57 มาตรฐาน ดงั นี้ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน ชวี ติ และมนี ิสยั รักการอ่าน สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี น เขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวในรปู แบบ ตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกใน โอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่าและ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลท่ี เกิดขน้ึ จากากรดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนนิ การและการนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ พิ จน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรอื ชว่ ยแก้ปญั หาทีก่ ำหนดให้ สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพน้ื ฐานเกย่ี วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ที่ต้องการวดั และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป เรขาคณ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบื้องต้น ความนาํ จะเป็น และนำไปใช้ โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดบั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 | 14 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ สาระท1่ี วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบ นิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการ อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำความสำเร็จไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตการลำเลียงสารเข้าและออกจาก ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่ทำงานสัมพนั ธ์รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาสิ่งมีชีวิต รวมทงั้ นำความรไู๎ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท2่ี วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนที่ตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกีย่ วข้อง เสียง แสง และ แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทงั้ นำประโยชน์ไปใช้ประโยชน์ สาระท3่ี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการคิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว ฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมทง้ั ปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะทส่ี ่งผลต่อสง่ิ มีชีวิต และการ เทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายในโลก และบน ผวิ โลก ธรณีพิบตั ภิ ยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟาู อากาศและภูมโิ ลก รวมทัง้ ผลต่อชีวติ สิง่ แวดล้อม สาระท4ี่ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพือ่ การดำรงชวี ิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวด ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรืองานอยํางมีความคิด สร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่งิ แวดล้อม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก๎ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศและการสื่อสารในการเรียนรู๎การทำงาน และการแก้ปัญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมีจริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นบั และศาสนาอนื่ มีศรทั ธาท่ีถกู ต้อง ยึดมั่น และปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรม เพอ่ื อยู่ร่วมกัน มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาท่ี ตนนับถอื โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมอื งอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 | 15 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนร้แู กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระที่ 2 หนา้ ท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการด าเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีคํานิยมที่ดีงาม และธำรงรักษา ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สงั คมโลกอยํางสันตสิ ุ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จุบนั ยึดม่ัน ศรทั ธา และธำรงรกั ษาไวซ๎ ่งึ การ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค การใช้ทรพั ยากรที่ มีอยู่จำกัดได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือดำรงชีวิตอย่างมดี ุลย ภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความ จำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ ทาง ประวตั ศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณอ์ ย่างต่อเนอ่ื ง ตระหนักถงึ ความสำคญั และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรกั ความภมู ิใจ และธำรง ความเปน็ ไทย สาระท5่ี ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องสรรพสิง่ ซงึ่ มีผลต่อกันใช้แผนท่ี เครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรปุ และใช้ข้อมูลตามกระบวนการทาง ภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิ สารสนเทศอยํางมีประสิทธภิ าพ มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษยก์ ับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถี การดำเนนิ ชีวิตมีจิตสำในการจัดการทรัพยากรทางธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เพ่อื การพัฒนาที่ ย่ังยืน กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา สาระท่ี 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ สาระท่ี 2 ชวี ิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เขา้ ใจและเห็นคณุ คําตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที กั ษะในการดำเนินชวี ติ สาระที่ 3 การเคลือ่ นไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลอ่ื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจำสม่ำเสมออย่างมี วินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มีน้ าใจนักกีฬา มจี ิตวญิ ญาณในการแข่งขนั และชน่ื ชมในสนุ ทรียภาพ ของการกฬี า สาระท่ี 4 การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกนั โรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสรมิ สุขภาพ การดำรงสุขภาพ การปอ้ งกันโรคและการ สร เสรมิ สมรรถภาพเพอื่ สขุ ภาพ สาระท5ี่ ความปลอดภัยในชวี ติ มาตรฐาน พ 5.1 ปอ้ งกันและหลีกเลี่ยงปจั จยั เสยี่ งพฤติกรรมเส่ยี งต่อสขุ ภาพอบุ ัตเิ หตุ การใช้ยาสารเสพตดิ ความรนุ แรง โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแขง้ พทุ ธศักราช 2563 ระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 | 16 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ สาระท1่ี ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ คุณคํางานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู๎สึก ความคิดต่องานศิลปะอยํางอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่างานทัศน เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล สาระท2่ี ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณคําดนตรี ถา้ ความรู้สึก ความคิดตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีท่ี มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล สาระท3่ี นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลปถ์ า่ ยทอดความรู๎สกึ ความคดิ อย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ นาฏศิลป์ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและสากล กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระท1่ี การดำรงชีวิตและครอบครวั มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการท างาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการททักษะางานการจัดการ ทักษะกระบวนการแก๎ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกันและทักษะ การแสวงหาความร๎ู มีคุณธรรมและลักษณะ นิสัยในการทำงาน มจี ติ สำนกึ ในการใช้พลังงาน ทรพั ยากร และสิง่ แวดล้อม เพ่ือการดำรงชีวิตและครอบครัว สาระท2่ี การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสงิ่ ของเครือ่ งใช๎หรอื วิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ดำรงชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจดั การเทคโนโลยีท่ีย่งั ยนื สาระท3ี่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เหน็ คุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นขอ้ มูลการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การแก้ปญั หา การทและอาชีพอยํางมีประสทิ ธภิ าพางาน ประสทิ ธิผล และมีคุณธรรม สาระท4่ี การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกั ษะท่จี ำเปน็ มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยเี พ่ือพัฒนา อาชีพ มีคณุ ธรรม และมเี จตคติที่ดีตอ่ อาชพี กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระท1ี่ ภาษาเพื่อการสอื่ สาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเร่อื งท่ฟี งั และอ่านจากสอ่ื ประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี เหตมุ ผี ล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู๎สึกและความ คิดเห็นอย่างมีประสทิ ธิภาพ โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ พทุ ธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 | 17 ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางกล่มุ สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรื่องต่าง ๆ โดยการพดู และ การ เขยี น สาระท2ี่ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากบั ภาษาและ วัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระท3ี่ ภาษากับความสัมพนั ธ์กบั กล่มุ สาระการเรยี นรู้อน่ื มาตรฐาน ต3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชือ่ มโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเป็นพื้นฐานใน การพัฒนา แสวงหาความร๎ู และเปิดโลกทศั นข์ องตน สาระท4่ี ภาษากับความสัมพนั ธ์กบั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณต์ ่าง ๆ ท้ังในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการ แลกเปลีย่ นเรียนรู้กับสงั คมโลก กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น มุง่ ใหผ้ ูเ้ รียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็น มนษุ ย์ ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม ปลูกฝังและสร้าง จติ สำนึกของการทำประโยชน์เพ่อื สังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกบั ผู้อนื่ ไดอ้ ย่างมีความสุข กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดงั นี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมท่ีส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนใหร้ ู้จกั ตนเอง รู้รกั ษส์ ิ่งแวดล้อม สามารถคดิ แก้ปัญหา กำหนด เป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยงั ช่วยให้ครูรู้จกั และเข้าใจผู้เรียน ทงั้ ยังเปน็ กิจกรรมทีช่ ่วยเหลอื และให้คำปรึกษา ส่วนร่วมพัฒนาผู้เรยี น 2. กิจกรรมนกั เรียน เป็นกิจกรรมทม่ี ุ่งพัฒนาความมรี ะเบียบวนิ ัย ความเป็นผู้นำผตู้ ามที่ดี ความรบั ผดิ ชอบ ร่วมกันการรู้จัก แกป้ ญั หา การตัดสนิ ใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตผุ ล การช่วยเหลือแบ่งปันกนั เอื้อเฟื้อ สมานฉันท์โดยจดั ให้สอดคล้อง กับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษา วิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน โดยเน้นการร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความ เหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรยี น บรบิ ทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กจิ กรรมนกั เรียนประกอบด้วย 2.1 กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร 2.2 กิจกรรมชุมนมุ ชมรม 3. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมทีส่ ่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถ่ิน สนใจในลักษณะ อาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสงั คม มีจิตสาธารณะ กิจกรรมอาสาพฒั นา ต่าง ๆ กจิ กรรมสร้างสรรคส์ ังคม โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 3 | 18 ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โครงสร้างเวลาเรียน / โครงสรา้ งหลกั สตู ร ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ โรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมืองอดุ รธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 3 | 19 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โครงสร้างเวลาเรยี นตามหลักสูตรโรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ / กิจกรรม เวลาเรียน ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน หน่วยกติ ➢ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120 3 คณติ ศาสตร์ 120 3 วทิ ยาศาสตร์ 120 3 เทคโนโลยีคำนวณ 40 1 สงั คมศึกษา 120 3 ประวัตศิ าสตร์ 40 1 สุขศึกษา 40 1 พลศกึ ษา 40 1 ศิลปะ (ทัศนศิลป์) 40 1 ดนตรี - นาฏศิลป์ 40 1 การงานอาชีพ 40 1 ภาษาองั กฤษ 120 3 รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) 880 22 ➢ รายวิชาเพ่ิมเติม คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ 80 2 โครงงานวิทยาศาสตร์ 40 1 การปอ้ งกนั การทุจรติ 40 1 ภาษาอังกฤษเพิม่ เติม 80 2 INDEPENDENT STUDY 40 1 รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เตมิ ) 280 7 ➢ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมแนะแนว 20 - กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี 20 - กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม 20 - กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ รวมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 120 - รวมเวลาเรียนท้ังหมด 1,160 29 โรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหมากแขง้ พุทธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 20 ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 สาระการเรียนรู้ / กิจกรรม สาระการเรียนรู้ / กจิ กรรม ➢ สาระการเรียนรู้พน้ื ฐาน ช่วั โมง หนว่ ยกติ ➢ สาระการเรยี นร้พู นื้ ฐาน ชวั่ โมง หนว่ ยกิต ท23101 ภาษาไทยพ้นื ฐาน 5 3 1.5 ท23102 ภาษาไทยพืน้ ฐาน 6 3 1.5 ค23101 คณติ ศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 5 3 1.5 ค23102 คณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 6 3 1.5 ว23101 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 5 3 1.5 ว23102 วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน 6 3 1.5 ว23103 เทคโนโลยีคำนวณ 5 1 0.5 ว23104 เทคโนโลยีคำนวณ 6 1 0.5 ส23101 สงั คมศึกษา 5 3 1.5 ส23103 สังคมศกึ ษา 6 3 1.5 ส23102 ประวตั ิศาสตร์ 5 1 0.5 ส23104 ประวัตศิ าสตร์ 6 1 0.5 พ23101 สขุ ศกึ ษา 5 1 0.5 พ23103 สุขศึกษา 6 1 0.5 พ23102 พลศกึ ษา 5 1 0.5 พ23104 พลศึกษา 6 1 0.5 ศ23101 ศลิ ปะ 5 1 0.5 ศ23103 ศลิ ปะ 6 1 0.5 ศ23102 ดนตรี – นาฏศลิ ป์ 5 1 0.5 ศ23104 ดนตรี – นาฏศิลป์ 6 1 0.5 ง23101 การงานอาชีพ 5 1 0.5 ง23102 การงานอาชพี 6 1 0.5 อ23101 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 5 3 1.5 อ23102 ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน 6 3 1.5 รวมสาระการเรยี นร้พู นื้ ฐาน 22 11 รวมสาระการเรยี นรูพ้ นื้ ฐาน 22 11 ➢ สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เติม ช่ัวโมง หน่วยกติ ➢ สาระการเรยี นร้เู พ่ิมเติม ชว่ั โมง หน่วยกติ ค23201 คณิตศาสตร์เพม่ิ เติม 5 2 1.0 ค23202 คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม 6 2 1.0 ว20305 โครงงานวิทยาศาสตร์ 5 1 0.5 ว20306 โครงงานวิทยาศาสตร์ 6 1 0.5 ส23211 การป้องกันการทจุ ริต 5 1 0.5 ส23212 การป้องกันการทุจรติ 6 1 0.5 อ23201 ภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ 5 2 1.0 อ23202 ภาษาองั กฤษเพ่มิ เติม 6 2 1.0 I20201 Independent Study 1 1 0.5 I20202 Independent Study 2 1 0.5 รวมสาระการเรียนรู้เพมิ่ เติม 6 3.0 รวมสาระการเรียนรู้พืน้ ฐาน 6 3.0 ➢ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ➢ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ก23901 แนะแนว 5 1 - ก23904 แนะแนว 6 1- ก23902 ลูกเสอื / เนตรนารี 5 1 - ก23905 ลูกเสือ / เนตรนารี 6 1- ก23905 ชมุ นุม / กจิ กรรมเพอ่ื สังคม 1 - ก23906 ชุมนมุ / กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม 1 - และสาธารณะประโยชน์ 5 และสาธารณะประโยชน์ 6 รวมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 3 - รวมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 3 - รวมท้ังหมด 31 14.0 รวมท้ังหมด 31 14.0 โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมอื งอดุ รธานี จังหวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 | 21 ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธบิ ายรายวิชา ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนบ้านหมากแขง้ โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | 22 ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนบ้านหมากแขง้ โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดบั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 | 23 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 รายวิชากล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 ท่ี รหสั วิชา รายวิชา เวลาเรียน หน่วยกิต 1 ท 23101 รายวิชาภาษาไทย 5 60 1.5 2 ท 23102 รายวชิ าภาษาไทย 6 60 1.5 โรงเรยี นบ้านหมากแข้ง อำเภอเมอื งอดุ รธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 | 24 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน รหสั วชิ า ท 23101 วิชาภาษาไทย 5 กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ระบบแตกตา่ งของคำท่ีมีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั ระบุใจความสำคญั และรายละเอียดของข้อมูลที่ สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน อ่านเรื่องต่าง ๆ เขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน วิจารณ์ ประเมนิ เร่ืองทอ่ี ่านโดยใชว้ ิธกี ารเปรยี บเทียบ เพอื่ ใหผ้ ูอ้ ่านเขา้ ใจไดด้ ขี ้ึน การมมี ารยาท ลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตามระดับภาษา เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ โดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคดิ เหน็ และทศั นคตใิ นเรอื่ งต่าง ๆ เขยี นยอ่ ความ เขียนอธิบาย ชแ้ี จงความคิดเห็นและโต้แยง้ อย่างมีเหตุผล การมี มารยาทในการเขยี นแสดงความคดิ เห็นและประเมนิ เรื่องจากการอ่าน และการดู วิเคราะห์และวิจารณ์เร่อื งที่ฟังและ ดู เพื่อนำขอ้ คดิ มาประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ ตรงตามวตั ถุประสงค์มีมารยาทในการฟัง การดูและการพดู จำแนก และใช้ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน วิเคราะห์ระดับภาษาสรุปเนื้อหา วรรณคดวี รรณกรรมและวรรณกรรมทอ้ งถิ่นท่ียากยิ่งขึ้น วิเคราะห์วถิ ไี ทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี อา่ นสรุปความรู้และข้อคิดนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง ทอ่ งจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีกำหนด นำบทร้อย กรองที่มีคณุ ค่าที่สนใจนำไปใช้อ้างอิง ฝึกทกั ษะโดยใช้กระบวนการอ่านเพอื่ สรา้ งความรู้และความคิดในเรื่องต่าง ๆ ใชก้ ระบวนการเขียนศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพดู สามารถเลอื กฟัง ดู และ พูดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ ฝึกทกั ษะโดยใช้กระบวนการอา่ นเพื่อสรา้ งความร้แู ละความคิดในเรื่องต่าง ๆ ใชก้ ระบวนการ เขียนศึกษา ค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟัง ดู และพูดอย่างมี วิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สามารถตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และมี มารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟงั การดูและการพดู รหสั ตวั ชี้วัด 1.1 ม . 3/1 ,ม. 3/2 2.1 ม . 3/1 ,ม. 3/2 3.1 ม . 3/1 ,ม. 3/2 4.1 ม . 3/1 ,ม. 3/2 5.1 ม . 3/1 ,ม. 3/2 ,ม. 3/3 , ม. 3/4 ,ม. 3/5 ,ม. 3/10 ,ม. 3/3 , ม. 3/4 ,ม. 3/6 ,ม. 3/10 ,ม. 3/4 ,ม. 3/6 ,ม. 3/3 ,ม. 3/3 , ม. 3/4 รวม 23 ตวั ชีว้ ัด โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 25 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน รหสั วิชา ท 23102 วิชาภาษาไทย 6 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาหลักการประเมินความถูกต้องของขอ้ มูลทใ่ี ช้สนับสนนุ ในเรื่องทีอ่ ่าน วจิ ารณ์ ความสมเหตุสมผล การลำดบั ความ และความเป็นไปไดข้ องเรอ่ื ง วเิ คราะห์เพอ่ื แสดงความคดิ เหน็ โต้แย้งเกยี่ วกับเรื่องท่อี ่านและประเมิน คณุ คา่ ท่ไี ดร้ บั จากงานเขยี นอย่างหลากหลาย เพอื่ นำไปแก้ปญั หาในชีวิต และมีมารยาทในการเขยี นจดหมายกิจธุระ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดเห็นหรือโต้แย้งในเรื่องตา่ งๆ การเขียนสมัครงานตามแบบฟร๎อม เขยี นบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะของตนเองที่เหมาะสมกับงาน เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าและโครงงาน และมีมารยาทในการเขียน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดูเพื่อนำข้อคิดมาใช้ในการดำเนินชีวิต พูดรายงาน เร่ืองหรือประเด็นที่ศกึ ษาค้นคว้าจากการฟงั การดู และการสนทนา พดู โดยนำเสนอหลักฐานตามลำดับเนื้อหาอย่าง มีเหตุผลและน่าเชื่อถือ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ อธิบายความหมาย คำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชพี และแต่งบทร้อยกรองสรุปวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่ินในระดับท่ี ยากยิ่งขึ้น วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพอื่ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าาตามความสนใจและ นำไปใช้อ้างอิง ฝึกทักษะโดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสรา้ งความรู้และความคิดในเรื่องต่างๆ ใช้กระบวนการเขียน ศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟัง ดู พูดอย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สามารถตดั สนิ ใจแก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวิต มนี ิสยั รักการอ่าน การเขียน และมมี ารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด รหสั ตัวชี้วดั 1.1 ม .3/6 ,ม.3/7 , ม.3/8 ,ม.3/9 , ม.3/10 2.1 ม .3/5 ,ม.3/7 , ม.3/8 ,ม.3/9 , ม.3/10 3.1 ม .3/2 ,ม.3/3 , ม.3/5 ,ม.3/6 4.1 ม .3/4 , ม.3/5 ,ม.3/6 5.1 ม .3/1 ,ม.3/2 , ม.3/3 ,ม.3/4 รวม 21 ตัวชี้วัด โรงเรียนบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมอื งอดุ รธานี จังหวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 | 26 ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมอื งอดุ รธานี จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแขง้ พทุ ธศักราช 2563 ระดับมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 27 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวชิ ากล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 ท่ี รหสั วิชา รายวิชา เวลาเรียน หนว่ ยกิต 1 ค 23101 รายวิชาคณิตศาสตร์ 5 60 1.5 2 ค 23102 รายวชิ าคณิตศาสตร์ 6 60 1.5 3 ค 23201 รายวชิ าคณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 5 40 1.0 4 ค 23202 รายวชิ าคณิตศาสตรเ์ พิม่ เตมิ 6 40 1.0 โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมืองอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 | 28 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน รหัสวชิ า ค 23103 วชิ าคณติ ศาสตร์5 กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการคดิ คำนวณ จัดการเรียนรูโ๎ ดยจัดประสบการณห์ รือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน ของผู้เรียนท่ีเกี่ยวกับสถานที่ ทรัพยากร ผลิตภัณฑ์สินค้า อาชีพและเรื่องราวต่าง ๆ ของกลุ่มประชาคมอาเซียนให้ ผูเ้ รยี นศึกษาค้นคว้าโดยการปฏบิ ัตจิ รงิ สรปุ รายงาน แบบฝึกทกั ษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นสาระต่อไปน้ี อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการนำ ความรู้เกี่ยวกับการแก้อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา ฟงั กช์ ันกำลังสอง กราฟของฟงั ก์ชนั กำลังสอง การนำความรู้เกยี่ วกับฟงั กช์ ันกำลังสองไปใช้ในแกป้ ัญหา พื้นที่ ผิวการหาพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลมการนำความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของพีระมิดกรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปญั หา ปรมิ าตร การหาปริมาตรของพีระมดิ กรวย และทรงกลมการนำความรูเ๎ ก่ยี วกบั ปรมิ าตรของพีระมดิ กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปญั หา สถิติ ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพกล่อง การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ใน ชวี ติ จริง ความน่าจะเปน็ การนำความรู้เกี่ยวกบั ความนาํ จะเปน็ ไปใช้ในชวี ิตจริง เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือ ความหมายทาง คณติ ศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรยี นร๎ูส่งิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทง้ั เห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความ เชอ่ื ม่ันในตนเอง รหสั ตัวชี้วดั 1.2 ม.3/1 2.1 ม.3/1 , ม.3/2 3.1 ม.3/1 รวม 4 ตวั ชี้วัด โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมืองอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | 29 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน รหสั วชิ า ค 23104 วิชาคณติ ศาสตร์ 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ฝึกทกั ษะการคิดคำนวณ จัดการเรียนร๎โู ดยจดั ประสบการณ์หรอื สร้างสถานการณใ์ นชีวิตประจำวนั ของผเู้ รยี นทเี่ ก่ยี วกบั สถานที่ ทรัพยากร ผลติ ภณั ฑ์สินค้า อาชพี และเร่อื งราวตา่ ง ๆ กลมุ่ ประชาคมอาเซียนให้ผู้เรียน ศึกษาคน้ คว้าโดยการปฏบิ ัตจิ ริง สรปุ รายงาน แ ฝกึ ทักษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในสาระต่อไปนี้ สมการเชิงเส้นสองตวั แปร สมการกำลงั สองตวั แปรเดยี ว การแก้สมการกำลงั สองตัวแปรเดียว การนำ ความรู้เกี่ยวกบั การแก้สมการกำลงั สองตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา ระบบสมการ ระบบสมการสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชงิ เส้นสองตวั แปรการนำความรเ๎ู กยี่ วกับ การ แกร้ ะบบสมการเชงิ เส้นสองตวั แปรไปใช้ในการแก้ปัญหา ความคลา้ ย รปู สามเหลยี่ มทีค่ ล้ายกนั การนำความรู้เกี่ยวกับความคล้ายไปใช้ในการแก้ปญั หา อัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิตกิ ารนำอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา ไปใช้ในการแก้ปญั หา วงกลม วงกลม คอร์ด และเส้นสมั ผัส ทฤษฎบี ทเกี่ยวกบั วงกลม การแยกตวั ประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รสี ูงกว่าสอง เพ่อื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทักษะในการคิดคำนวณ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล การสื่อ ความหมายทาง คณิตศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนรู้สิง่ ต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทง้ั เห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความ เชื่อมั่นในตนเอง รหัสตวั ช้ีวดั 1.2 ม.3/2 1.3 ม.3/2 , ม.3/3 2.2 ม.3/1 , ม.3/2 , ม.3/3 3.2 ม.3/1 รวม 7 ตัวช้ีวัด โรงเรยี นบ้านหมากแข้ง อำเภอเมืองอดุ รธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 3 | 30 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คำอธิบายรายวชิ าเพิม่ เติม รหัสวิชา ค 23201 วชิ าคณิตศาสตร์เพมิ่ เติม 5 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษา และฝกึ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อนั ได้แก่ การแก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การสื่อการสื่อ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเช่ือม คณิตศาสตร์กับศาสตรอ์ น่ื ๆ และมคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ กรณฑ์ท่ีสอง การบวก การลบ การคณู และการหารจำนวนจรงิ ทอ่ี ยู่ในรปู เมอ่ื a a ≥ 0 โดยใช้สมบตั ิ เมอื่ a ≥ 0 และ b ≥ 0 และ เมือ่ a ≥ 0 และ b > 0 การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง การ แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรีสองโดยวิธีทำเปน็ กำลังสองสมบรู ณ์ การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกร สองโดย ใชส้ มบัติการแจกแจง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว สมการกำลังสองตัวแปรเดียว โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัว แปรเดยี ว พาราโบลา สมการพาราโบลา พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ y= ax2 เมื่อ a ≠ 0 กำหนดด้วยสมการ y = ax2+k เมื่อ a ≠ 0 พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ y= a(x-h)2 + k พาราโบลาที่ เมื่อ a ≠ 0 พาราโบลาท่ี กำหนดด้วยสมการ y = ax2 + bx +c เมื่อ a ≠ 0 โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหาการให้ เหตุผล การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการ ได้ไปใช้ในการ เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติ คณิตศาสตร์ สามารถ ทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ และม ความเชือ่ มน่ั ในตนเองการ วัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพตามความเป็นจริงให้สอดคล้อง กับเนื้อหาและทักษะที่ ตอ้ งการวัด ผลการเรียนรู้ 1. บวก ลบ คณู และหารจำนวนจริง ซ่งึ เก่ยี วกับกรณฑท์ ่สี องท่กี ำหนดให้และนำไปใช้แกป้ ญั หา ตระหนกั ถึง ความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ 2. แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรีสองโดยวธิ ีทำเปน็ กำลงั สองสมบรู ณ์ได้ 3. แยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี ูงกว่าสองโดยใช้สมบัตกิ ารแจกแจงได้ 4. แกส้ มการกำลังสองตวั แปรเดยี วได้ 5. แกโ๎ จทย์ปญั หาเกยี่ วกบั สมการกำลังสองตวั แปรเดียวได้ 6. เขียนกราฟพาราโบลาที่กำหนดให้ได้ 7. บอกลักษณะของกราฟพาราโบลาท่ีกำหนดใหไ้ ด้ รวม 7 ผลการเรยี นรู้ โรงเรียนบ้านหมากแขง้ อำเภอเมอื งอดุ รธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 3 | 31 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกล่มุ สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ รหสั วชิ า ค 23202 วชิ าคณติ ศาสตร์เพ่มิ เติม 6 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อม คณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อนื่ ๆ และมคี วามคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรคใ์ นสาระต่อไปน้ี การใหเ้ หตผุ ลเกี่ยวกบั รูปสามเหล่ียมและรปู สเ่ี หล่ยี ม ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต ทฤษฎบี ทเกย่ี วกับรปู สามเหลีย่ มและรปู ส่เี หลี่ยม ระบบสมการ ระบบสมการท่ีประกอบด้วยสมการเชงิ เส้นและสมการดีกรีสอง ระบบสมการท่ปี ระกอบด้วย สมการดีกรสี องทั้งสองสมการ วงกลม วงกลมมุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม คอร์ท เส้นสัมผัสวงกลม โดยจัด ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก๎ปัญหาการให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณติ ศาสตร์ และนำประสบการณด์ ้านความรู้ ความคดิ ทักษะและกระบวนการ ได้ไปใช้ในการเรยี นรูส๎ ่งิ ต่าง ๆ และ ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเองการวัดและ ประเมินผล ใช้วิธกี ารทห่ี ลากหลายตามสภาพตามความเป็นจรงิ ให้สอดคล้อง กับเนือ้ หาและทักษะทต่ี ้องการวัด ผลการเรียนรู้ 1. ใชส้ มบตั ิเกย่ี วกับรูปสามเหล่ียมและรูปส่ีเหล่ียมในการให้เหตุผลได้ 2. สร้างและให้เหตุผลเกย่ี วกบั การสร้างที่กำหนดให้ได้ 3. แกร้ ะบบสมการสองตวั แปรที่สมการมีดกี รีไม่เกินสองท่ีกำหนดใหไ้ ด้ 4. แก๎โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ระบบสมการสองตัวแปรท่ีสมการมดี กี รีไม่เกินสองทกี่ ำหนดให้ พร้อมทงั้ ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบทีไ่ ด้ 5. ใชส้ มบัตเิ กีย่ วกับวงกลมในการให้เหตผุ ลและแกป๎ ัญหาท่ีกำหนดให้ได้ รวม 5 ผลการเรียนรู้ โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | 32 ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแขง้ พทุ ธศกั ราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 | 33 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนบ้านหมากแขง้ สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 ท่ี รหัสวชิ า รายวิชา เวลาเรียน หนว่ ยกติ 1 ว 23101 รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 60 1.5 2 ว 23102 รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 6 60 1.5 3 ว 20305 รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1 20 0.5 4 ว 20306 รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 2 20 0.5 5 ว 23103 รายวิชาเทคโนโลยีคำนวณ 5 20 0.5 6 ว 23104 รายวิชาเทคโนโลยีคำนวณ 6 20 0.5 โรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 | 34 ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหัสวิชา ว 23101 วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาอธิบายปฏสิ ัมพนั ธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศทีไ่ ด้จากการสำรวจ องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ ที่ไม่มีชีวิต องค์ประกอบระบบนิเวศที่มีชีวิต รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ใน แหลง่ ทอี่ ยเู่ ดียวกัน ท่ีไดจ้ ากการสำรวจ สรา้ งแบบจำลองในการอธบิ ายการถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร อธบิ าย ความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ การสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิต ในโซ่ อาหาร ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไม่ทำลายสมดุลของระบบนิเวศ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจำลอง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดยี วท่ีแอลลีลเด่นขม่ แอลลีลดอ้ ยอย่างสมบูรณ์ อธบิ ายการเกิดจีโนไทป์และฟีโน ไทป์ของลูก และคำนวณอัตราส่วนการเกิด จีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก อธิบายความแตกต่างของการแบ่ง เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส บอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของยีน หรือโครโมโซมอาจทำให้เกดิ โรคทางพันธุกรรม พรอ้ มท้งั ยกตัวอย่างโรคทางพนั ธุกรรม ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความรู้เร่ืองโรคทางพนั ธุกรรม โดยรวู้ ่ากอ่ นแต่งงาน ควรปรึกษาแพทย์เพ่ือตรวจและวินจิ ฉัยภาวะเส่ียงของลูกที่อาจเกดิ โรคทางพันธุกรรม อธิบายการใช้ประโยชนจ์ าก สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถึง ประโยชน์และผลกระทบของสง่ิ มีชวี ิตดัดแปรพันธกุ รรมที่อาจมีต่อมนุษย์และสงิ่ แวดล้อม โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ ได้จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ซึ่งมีข้อมูลสนับสนุน เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพ ในระดับชนิด สงิ่ มชี วี ิตในระบบนิเวศต่าง ๆ อธบิ ายความสำคัญของความหลากหลายทางชวี ภาพท่มี ีต่อการรกั ษาสมดุลของระบบ นิเวศ และตอ่ มนษุ ย์ ตระหนกั ในคุณคา่ และความสำคญั ของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมสี ่วนร่วมในการดูแล รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วสั ดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวัสดผุ สม โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ และสารสนเทศ ตระหนักถึงคณุ ค่าของการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรา มิกส์ และวัสดุผสม แนะแนวทางการใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึง การ จัดเรียงตวั ใหม่ของอะตอมเมือ่ การเกิด ปฏิกิริยาเคมี โดยใช้แบบจำลองและสมการข้อความ กฎทรงมวล วิเคราะห์ ปฏกิ ริ ิยาดดู ความร้อน และปฏกิ ริ ยิ าคายความร้อน การเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอ้ นของปฏกิ ิริยาอธบิ ายปฏิกิริยา การเกิดสนิมของเหลก็ ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั โลหะ ปฏกิ ิรยิ าของกรดกบั เบส และปฏกิ ริ ิยาของเบสกับโลหะ ปฏิกิริยา การเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้สารสนเทศ รวมทั้งเขียนสมการข้อความแสดงปฏิกริ ิยา ดงั กลา่ ว ระบปุ ระโยชนแ์ ละโทษของปฏิกริ ิยาเคมีท่ีมีตอ่ ส่งิ มชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม และวิธีการปอ้ งกันและแก้ปัญหาที่ เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน จากการสืบค้นข้อมูล ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน โดยใช้ ความรูเ้ กี่ยวกบั ปฏิกิรยิ าเคมี โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสังเกต การสำรวจ รวบรวมข้อมูล สร้าง แบบจำลอง การอธิบาย การทดลอง การคำนวณ การวิเคราะห์ และการอภิปราย เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความ เข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิต ประจำวันอย่างมีคุณธรรม มีจิต โรงเรียนบ้านหมากแข้ง อำเภอเมอื งอดุ รธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 | 35 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 วทิ ยาศาสตร์ ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มนั่ ในการทำงาน บรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ได้ อย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการนำความรู้ด้านเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และให้มีพื้นฐานการศึกษา 4 ด้าน มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบา้ นเมือง มีพื้นฐานชีวิตท่ี ม่นั คง มีคณุ ธรรม มงี านทำ มอี าชีพ และเปน็ พลเมืองดี รหัสตัวชว้ี ัด ว.1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6 ว.1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11 ว.2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8 รวม 25 ตัวชว้ี ัด โรงเรยี นบ้านหมากแข้ง อำเภอเมืองอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 36 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน รหสั วิชา ว 23102 วิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาวงจรไฟฟ้าเบื้องต้นวิเคราะห์สัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน และ คำนวณปริมาณที่เกี่ยวข้องโดยใช้สมการ ������=������������ เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่าง ศักย์ไฟฟ้า ใชโ้ วลต์มเิ ตอร์ แอมมิเตอร์ ในการวัดปริมาณทางไฟฟ้าวเิ คราะห์ความต่างศักย์ไฟฟา้ และกระแสไฟฟ้าใน วงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานหลายตัว แบบอนุกรมและแบบขนาน เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัว ต้านทานแบบอนุกรมและขนาน บรรยายการทำงานของวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ชนิ้ ส่วนอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ย่างง่ายในวงจร จากข้อมูล ที่รวบรวมได้ เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้าอธิบายและคำนวณ พลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ ������=������������ รวมทั้งคำนวณค่าไฟฟา้ ของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ตระหนักในคุณค่าของการ เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยเสนอแนะวธิ ีการใช้เครื่องใช้ไฟฟา้ อย่างประหยัดและปลอดภยั สร้างแบบจำลองอธิบาย การเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจาก ข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถึงประโยชน์และอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยนำเสนอการใช้ประโยชน์ในด้าน ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ออกแบบกรทดลอง และทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสม อธิบายกฎการสะท้อนของแสง เขียน แผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา อธิบายการหักเหของแสงผ่านตัวกลางโปร่งใสท่ี แตกต่างกัน และอธิบายการกระจายแสงของแสงขาวเมื่อผ่านปริซึมเขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสงแสดงการ เกดิ ภาพจากเลนส์บาง และอธิบายปรากฏการณ์ทีเ่ กี่ยวกบั แสงการเกดิ รงุ้ การทรงกรด มิราจ และการทำงานของ ทัศนอุปกรณ์จากข้อมูล ที่รวบรวมได้ เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพของทัศนอุปกรณแ์ ละ เลนส์ตา ส่วนประกอบของตา การมองเห็นภาพอธบิ ายผลของความสว่างท่ีมตี อ่ ดวงตา วดั ความสวา่ งของแสงโดยใช้ อปุ กรณว์ ดั ความสว่างของแสง ตระหนกั ในคุณค่าของความสวา่ งของแสงทมี่ ตี อ่ ดวงตาใหเ้ หมาะสมในการทำกิจกรรม ต่าง ๆ อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วงจากสมการ F=(Gm1m2) / r2 สร้าง แบบจำลองที่อธิบายการเกิดฤดู และการเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดขา้ งข้ึนข้างแรม การเปลี่ยนแปลง เวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน้ำขึ้นน้ำลง อธิบายการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ กล้อง โทรทรรศน์ ดาวเทียมและยานอวกาศ นักบินอวกาศโครงการสำรวจอวกาศและยกตัวอย่างความก้าวหน้าของ โครงการสำรวจอวกาศ จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสังเกต การสำรวจ การอธิบาย การ วิเคราะห์ จดั แสดงผลงาน และการอภปิ รายเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่อื สารสิง่ ทเี่ รียนรู้ เห็น คุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างมีคุณธรรม มีจิตวิทยาศาสตร์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน บูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ได้อยา่ งเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการนำความรู้ด้านเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และให้มีพื้นฐานการศึกษา 4 ด้าน มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพ้ืนฐานชีวิตท่ี มั่นคง มีคุณธรรม มงี านทำ มีอาชพี และเป็นพลเมืองดี โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 | 37 ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รหัสตัวชี้วัด ว 2.3 ม.3/1 , ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 , ม.3/6 , ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11, ม.3/12, ม.3/13, ม.3/14, ม. 3/15, ม.3/16, ม.3/17, ม.3/18, ม.3/19, ม.3/20, ม.3/21 ว 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 รวม 25 ตัวชว้ี ัด โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 | 38 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลุม่ สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เติม รหัสวชิ า ว 23201 วชิ าโครงงานวิทยาศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาค้นคว้าสืบค้นข้อมูลฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์กำหนดตัวแปรและควบคุมตัวแปร การจัดระเบียบข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้กราฟแสดงข้อมูล การแปลข้อมูลและการลงข้อสรุปและกิจกรรมใน รูปแบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสำรวจ การทดลอง สิ่งประดิษฐ์และทฤษฎี วิเคราะห์ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษาเอกสารและสำรวจธรรมชาติรอบตัวในทอ้ งถ่นิ เพื่อนำไปสู่การระบุปัญหาและหัวเรื่องใน การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตรท์ ีเ่ น้นการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ฝึกทักษะการตัง้ ปัญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง กำหนดและควบคุมตัวแปรการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ กระบวนการโครงงานวิทยาศาสตรก์ ารสังเกตเปรียบเทียบรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ บันทึก และอธิบายการทดลอง นำเสนอ เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์จากประสบการณ์ตรง ตามวิธที างวิทยาศาสตร์ส่ือสารสง่ิ ท่ีเรียนรู้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม จรยิ ธรรม และลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั 1. สบื คน้ ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. บอกหรืออธิบายความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ 3. บอกหลักการและจุดม่งุ หมายในการทำโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้ 4. บอกหรอื อธบิ ายคณุ ค่าของการทำโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้ 5. เขา้ ใจและจำแนกประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้ 6. บอกหรอื อธบิ ายลกั ษณะของโครงงานวทิ ยาศาสตรแ์ ต่ละประเภทได้ 7. บอกหรืออธิบายแนวทางในการเลือกหวั ขอ้ เร่ืองในการทำโครงงานได้ 8. บอกหรอื อธบิ ายหลกั การต้ังชื่อโครงงานได้ 9. สามารถตั้งชื่อโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ 10. กำหนดปญั หาและต้ังสมมติฐาน ออกแบบการทดลองในสงิ่ ทีต่ ้องการศึกษาได้ 11. บอกความสำคัญของเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับโครงงานได้ 12. สบื ค้นข้อมูล วเิ คราะห์ และอธบิ ายขน้ั ตอนการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้ 13. อธบิ ายและวเิ คราะหร์ ูปแบบการเขยี นเค้าโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้ 14. เขียนเค้าโครงยอ่ ของโครงงานได้ รวม 14 ตัวชี้วดั โรงเรียนบ้านหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 | 39 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เติม รหัสวชิ า ว 23202 วิชาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาค้นคว้าเอกสาร สำรวจสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น อันนำไปสู่การระบุชื่อเรื่องหรือปัญหาสำหรับทำ โครงงานวิทยาศาสตร์ ค้นคว้าเอกสารทั้งด้านทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ทำ รวบรวม ขอ้ มูลเบอ้ื งต้น ออกแบบการทดลอง วางแผนการดำเนินงาน ทำการทดลอง การเขยี น เค้าโครงยอ่ ของโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละการเขยี นรายงานโครงงาน ศึกษาค้นคว้าเอกสาร สำรวจสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น อันนำไปสู่การระบชุ ื่อเรื่องหรือปัญหาสำหรับทำ โครงงานวิทยาศาสตร์ ค้นคว้าเอกสารทั้งด้านทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ทำ รวบรวม ข้อมูลเบื้องต้น ออกแบบการทดลอง วางแผนการดำเนินงาน ทำการทดลอง การเขียนเค้าโครงย่อของโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์และการเขยี นรายงานโครงงาน เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถฝึกทักษะกระบวนวทิ ยาศาสตร์จากประสบการณ์ตรงตาม วิธีทางวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรมและลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง 1. ระบุปัญหาจากชวี ติ ประจำวันเพ่อื นำไปส่กู ารทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2. ตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 3. สบื ค้นข้อมลู ประกอบการทำโครงงานวิทยาศาสตรจ์ ากแหลง่ ข้อมูลทีห่ ลากหลาย และมคี วาม น่าเชื่อถอื 4. วิเคราะห์ปญั หา วางแผนการทดลองไดถ้ ูกตอ้ ง 5. สามารถสำรวจและเลือกหัวข้อโครงงานวิทยาศาสตร์ไดอ้ ย่างเหมาะสม 6. ทำงานเปน็ กลุ่มมีความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ในการแสดงความคิดเหน็ การออกแบบหรือ ดดั แปลงการทดลอง ตลอดจนวสั ดุอุปกรณ์ในการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 7. ทำโครงงานวทิ ยาศาสตรต์ ามความถนัดและสนใจกลมุ่ ละโครงงาน 8. นำเสนอและจัดแสดงผลงานในรปู แบบการนำเสนอปากเปล่า หรอื นิทรรศการ รวม 8 ตัวชี้วดั โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง พทุ ธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 | 40 ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 คาํ อธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน รหัสวิชา ว 23103 วิชาเทคโนโลยีคำนวณ (วิทยาการคาํ นวณ) กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนา แอปพลิเคชัน ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผล ซอฟต์แวร์ หรือบรกิ ารบน อินเทอร์เนต็ ที่ใชใ้ นการจดั การขอ้ มูล การประเมนิ การความนา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มลู การสืบค้นหาแหล่ง ต้นตอของข้อมูล เหตุผลวิบัติ ผลกระทบจากข่าวสารที่ผิดพลาด การรู้เท่าทันสื่อ กฎหมายที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การใชล้ ิขสิทธิ์ของผู้อน่ื โดยชอบธรรม รวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิหรือทุตยิ ภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก และนําเสนอ การตัดสินใจได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ออกแบบและเขียนโปรแกรม เพ่อื พัฒนาแอปพลเิ คชนั ทีม่ ีการบูรณาการกับวิชา อื่นอย่างสร้างสรรค์ ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทันและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ตวั ช้ีวัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) 1. พัฒนาแอปพลเิ คชนั ทีม่ ีการบรู ณาการกบั วชิ าอื่นอยา่ งสร้างสรรค์ 2. รวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล ประเมินผล นาํ เสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ ตามวัตถปุ ระสงคโ์ ดยใช้ซอฟต์แวร์ หรอื บริการบนอินเทอร์เนต็ ทห่ี ลากหลาย 3. ประเมนิ ความน่าเช่อื ถอื ของขอ้ มูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการใหข้ า่ วสารท่ีผิด เพ่ือการใช้งาน อย่างรเู้ ท่าทัน 4. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั และมีความรับผิดชอบตอ่ สังคมปฏิบตั ิตามกฎหมายเกีย่ วกับ คอมพวิ เตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อน่ื โดยชอบธรรม รวมทัง้ หมด 4 ตัวชีว้ ัด โรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | 41 ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนร้แู กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหัสวชิ า ว23104 วชิ าเทคโนโลยคี ำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของ เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อสรุปกรอบของ ปัญหาเปรียบเทียบและเลือกขอ้ มลู ที่จําเป็นโดยคํานงึ ถึงทรพั ย์สนิ ทางปัญญา เพ่อื ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาใน งาน อาชีพด้านการเกษตร อาหาร พลังงานและขนส่ง โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้ วัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นการแก้ปัญหาได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และ ปลอดภัย ตวั ชี้วัด ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 1. วเิ คราะห์สาเหตุ หรอื ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยี กบั ศาสตร์อนื่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณติ ศาสตร์ เพื่อเปน็ แนวทางการแก้ปัญหาหรอื พฒั นางาน 2. ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรอื ทอ้ งถิ่น เพอ่ื พัฒนางานอาชีพ สรปุ กรอบของปัญหารวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคิดท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ปญั หา โดยคํานงึ ถึงความถกู ต้องด้านทรัพย์สินทางปญั ญา 3.ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหาโดยวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอ้ มลู ท่จี าํ เปน็ ภายใต้เงอ่ื นไขและ ทรพั ยากรทีม่ อี ยู่ นาํ เสนอแนวทางการแก้ปัญหาใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรอื วิธีการทีห่ ลากหลาย วางแผนข้นั ตอน การทาํ งานและดาํ เนินการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ขน้ั ตอน 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรอื ข้อบกพร่องทเ่ี กิดขน้ึ ภายใตก้ รอบเงอื่ นไข พร้อมทัง้ หาแนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข และนาํ เสนอผลการแก้ปญั หา 5. ใช้ความรู้ และทกั ษะเกยี่ วกบั วสั ดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ สใ์ หถ้ ูกตอ้ งกับ ลักษณะของงาน และปลอดภัยเพื่อแกป้ ญั หาหรือพฒั นางาน รวมทงั้ หมด 5 ตัวชวี้ ัด โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมอื งอุดรธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พุทธศกั ราช 2563 ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | 42 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง อำเภอเมืองอดุ รธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | 43 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกล่มุ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนบ้านหมากแข้ง สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 ท่ี รหัสวิชา รายวชิ า เวลาเรียน หนว่ ยกิต 1 ส 23101 รายวชิ าสังคม 5 60 1.5 2 ส 23102 รายวิชาสังคม 6 60 1.5 3 ส 23102 รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ 5 20 0.5 4 ส 23104 รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ 6 20 0.5 5 ส 23211 รายวชิ าการป้องกนั การทจุ ริต 5 20 0.5 6 ส 23212 รายวชิ าการป้องกนั การทุจริต 6 20 0.5 โรงเรยี นบ้านหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแข้ง พทุ ธศักราช 2563 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 | 44 ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน รหสั วชิ า ส23101 วชิ าสังคมศึกษา 5 กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระพระพุทธศาสนา ศกึ ษาความสำคญั ของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ ประวตั ิพทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา และชาวพุทธตัวอยา่ ง หลักธรรม หน้าท่แี ละมรรยาทชาวพทุ ธ ศาสนพิธี วิธกี ารบริหารจิตและเจรญิ ปัญญา ตลอดจน การสัมมนาพระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนาเพื่อให้สามารถนำไปใช้เป็นพ้ืนฐานและได้แนวทางใน การปฏบิ ตั ิตนและดำรงชีวติ อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งเป็นสุข สาระภูมิศาสตร์ ศึกษาการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ได้แก่แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม และระบบสารสนเทศทั้งจากระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้อง ใน การ รวบรวมวิเคราะห์และนำเสนอขอ้ มูล ในเรือ่ งลักษณะทางกายภาพและสังคม ไดแ้ ก่ ที่ตงั้ ลักษณะภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ การแบ่งภูมิภาค ประชากรและการตัง้ ถิน่ ฐาน กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ลักษณะทาง วัฒนธรรม สถานการณป์ ัจจบุ นั และปัญหาสงิ่ แวดล้อมของทวปี อเมรกิ าเหนอื และอเมรกิ าใต้ เพือ่ ให้เข้าใจถึงระบบ ธรรมชาติและลักษณะประชากรและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ ตลอดจนตระหนักถึง วิกฤตการณ์ทางสิ่งแวดล้อม ความเปลี่ยนแปลงของภาวะประชากรและสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และเสนอ แนวทางในการจัดการทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์แก้ไขปัญหาเพื่อนำไปสู่การพัฒนาโลกอย่างยั่งยืน เพื่อให้รักการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีวิจารณญาณ รู้เท่าทันสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลง ทางสงั คมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมอื ง รู้จักตนเอง ภมู ใิ จในความเป็นไทย รักชาติ รกั ท้องถิน่ ศรทั ธาและรักษาไว้ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุข มีค่านิยมที่ดีงาม มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ และพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มอย่างย่งั ยืน ยดึ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือเปน็ หลักในการดำเนิน ชีวิต มุ่งมั่นในการทำความดี และสามารถนำหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ตวั ช้วี ัด ส 1.1 ม3/1 ส 1.1 ม3/2 ส 1.1 ม3/3 ส 1.1 ม3/4 ส 1.1 ม3/5 ส 1.1 ม 3/6 ส 1.1 ม 3/7 ส 1.1 ม 3/8 ส 1.1 ม 3/9 ส 1.1 ม 3/10 ส 1.2 ม3/1 ส 1.2 ม3/2 ส 1.2 ม3/3 ส 1.2 ม3/4 ส 1.2 ม3/5 ส 1.2 ม3/6 ส 1.2 ม3/7 ส 5.1 ม3/1 ส 5.1 ม3/2 ส 5.2 ม 3/1 ส 5.2 ม 3/2 ส 5.2 ม3/3 ส 5.2 ม 3/4 รวมทง้ั หมด 23 ตัวช้ีวัด โรงเรยี นบ้านหมากแขง้ อำเภอเมืองอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พทุ ธศักราช 2563 ระดับมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 | 45 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน รหสั วิชา ส23103 วิชาสงั คมศึกษา 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระหน้าท่ีพลเมอื ง ศกึ ษาเกีย่ วกับวัฒนธรรมและภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ของไทย ศึกษาความรเู้ กย่ี วกบั รฐั และ ระบอบการเ มอื งการปกครองทีส่ ำคญั ของโลก เพื่อให้เกิดความภาคภมู ิใจและตระหนกั ถึงคุณค่าของวฒั นธรรมและ ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ของไทย ตลอดจนศึกษาลักษณะและการใช้อำนาจอธิปไตย และการจัดรูปแบบการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ศึกษาความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และกฎหมายต่าง ๆ ที่ เยาวชนควรรู้ รวมท้ังแนวทางปฏบิ ัตติ นในฐานะพลเมอื งดีตามรฐั ธรรมนูญไทยฉบบั ปัจจบุ ัน ตามกฎหมายตา่ ง ๆ และ การปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองโลกท่ีเคารพในสทิ ธิมนุษยชนและศักด์ิศรีความเปน็ มนุษย์ เพ่ือให้สามารถดำเนินชีวิต ในฐานะสมาชิกทดี่ ขี องสังคม ประเทศ ภมู ิภาค และโลก สาระเศรษฐศาสตร์ ศกึ ษาระบบเศรษฐกจิ การผลิตและการบริโภค การพัฒนาเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ ภูมภิ าค และการรวมกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ตลอดจนระบบเศรษฐกิจ ของไทย และแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ปจั จบุ นั ซึง่ เนน้ ความสำคญั ของแนวพระราชดำริเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศไทยกับภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก เข้าใจ ความสำคัญและความจำเปน็ ในการพฒั นาและวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจไทยให้สอดคล้องกบั เศรษฐกิจของโลก และ ตระหนักในคุณค่าของการน้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาชุมชน ประเทศชาติ และ ชีวติ ประจำวัน เพอื่ ใหร้ กั การเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม มีวิจารณญาณ รู้เทา่ ทนั สถานการณ์และการ เปล่ยี นแปลงทางสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกจิ การเมือง รู้จักตนเอง ภมู ิใจในความเปน็ ไทย รกั ชาติ รกั ทอ้ งถ่ิน ศรัทธา และรักษาไว้ซ่งึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุข มคี ่านิยมทดี่ ีงาม มีจิตสำนึกในการอนุรักษแ์ ละพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ยึดหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับ ถือเป็นหลักในการดำเนินชีวิต มุ่งมั่นในการทำความดี และสามารถนำหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน ชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รหสั ตวั ช้ีวัด ส 2.1 ม3/1 ส 2.1 ม3/2 ส 2.1 ม3/3 ส 2.1 ม3/4 ส 2.1 ม3/5 ส 2.2 ม3/1 ส 2.2 ม3/2 ส 2.2 ม3/3 ส 2.2 ม3/4 ส 3.1 ม3/1 ส 3.1 ม3/2 ส 3.1 ม3/3 ส 3.2 ม3/1 ส 3.2 ม3/2 ส 3.2 ม3/3 ส 3.2 ม3/4 ส 3.2 ม3/5 ส 3.2 ม3/6 รวมทั้งหมด 18 ตัวช้ีวัด โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมอื งอดุ รธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 | 46 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน รหัสวชิ า ส23102 วชิ าประวัตศิ าสตร์ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ การนำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่องราวท่ี เกีย่ วขอ้ งกับชมุ ชน วิเคราะหเ์ หตกุ ารณส์ ำคญั สมยั รตั นโกสนิ ทร์โดยใช้วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ ศึกษาและวเิ คราะห์ พัฒนาการทางสังคมเศรษฐกิจและการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆของโลก ที่นำไปสู่ความร่วมมือและความขัดแย้ง เพ่ือให้ มวี จิ ารณญาณ ร้เู ทา่ ทนั สถานการณ์และการเปล่ียนแปลงทางสงั คมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง ภูมิใจใน ความเป็นไทย รักชาติ รักทอ้ งถิน่ ศรัทธาและรกั ษาไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์เป็น ประมขุ มคี า่ นิยมทีด่ ีงาม มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษ์และธำรงไว้ซ่งึ อธิปไตยของประเทศ รหัสตัวชี้วดั ส 4.1 ม3/1 ส 4.1 ม3/2 ส 4.2 ม3/1 ส 4.2 ม3/2 รวมท้ังหมด 4 ตัวช้ีวดั โรงเรียนบ้านหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหมากแขง้ พุทธศักราช 2563 ระดับมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | 47 ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหัสวชิ า ส23104 วชิ าประวัตศิ าสตร์ 6 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาและวิเคราะห์พัฒนาการประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม ของไทยและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ท่มี ีตอ่ สังคมไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก ปัจจุบันเพื่อให้ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของมรดกทางวัฒนธรรมของไทยและความสำคัญของวีรกรรมของบรรพบุรุษไทย รวมท้ังผลงานสำคัญของบุคคลท่ีมสี ว่ นสรา้ งสรรค์ชาติไทยให้เจริญรงุ่ เรืองจนถงึ ปัจจบุ ัน รหัสตัวชี้วดั ส 4.3 ม3/1 ส 4.3 ม3/2 ส 4.3 ม3/3 ส 4.3 ม3/4 รวมท้ังหมด 4 ตัวช้ีวัด โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นหมากแขง้ พุทธศกั ราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 | 48 ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม รหัสวชิ า ส23211 วชิ าการป้องกันการทจุ ริต 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาเกยี่ วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความละอายและความไมท่ น ต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ รหู้ น้าทขี่ องพลเมอื งและรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมในการต่อต้านการ ทุจริตโดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การท าโครงงานกระบวนการเรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปญั หา ทกั ษะการอ่านและการเขยี นเพื่อใหม้ ีความ ตระหนักและ เห็นความสำคัญของการตอ่ ตา้ นและการปอ้ งกันการทจุ รติ ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต 3. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ รติ 4. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ 6. ปฏบิ ัตติ นเป็นผู้ละอายและไม่ทนตอ่ การทจุ ริตทุกรูปแบบ 7. ปฏิบัติตนเป็นผู้ที่ STRONG : จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ 8. ปฏิบัตติ นตามหนา้ ท่ีพลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 9. ตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการตอ่ ต้านและป้องกันการทจุ ริต โรงเรยี นบ้านหมากแข้ง อำเภอเมอื งอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหมากแข้ง พทุ ธศกั ราช 2563 ระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 | 49 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนร้แู กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำอธิบายรายวชิ าเพ่มิ เตมิ รหสั วชิ า ส23212 วชิ าการป้องกนั การทุจริต 6 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทน ต่อการทจุ รติ STRONG : จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทุจรติ รู้หนา้ ที่ของพลเมอื งและรบั ผิดชอบต่อสงั คมในการต่อต้านการ ทุจริตโดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การท าโครงงานกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกป้ ัญหา ทกั ษะการอา่ นและการเขียนเพื่อให้มีความ ตระหนกั และ เห็นความสำคัญของการตอ่ ต้านและการป้องกนั การทุจรติ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต 3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั STRONG : จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต 4. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับพลเมอื งและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม 5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 6. ปฏิบัติตนเปน็ ผู้ละอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรปู แบบ 7. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้ท่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต 8. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม 9. ตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกนั การทจุ รติ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหมากแข้ง พุทธศักราช 2563 ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 | 50 ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนบ้านหมากแขง้ โรงเรยี นบา้ นหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร