Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนรวม นิทาน 1

แผนรวม นิทาน 1

Published by ORANAN POLNIKON, 2018-10-12 00:11:02

Description: แผนรวม นิทาน 1

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชานทิ านพ้นื บา้ น (ท32301) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561ผ้สู อน นางสาวอรณัญช์ พลนกิ ร โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์แผนผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ เวลา ๑๖ ชั่วโมง การงานอาชีพและเทคโนโลยี การใชอ้ ินเทอร์เนต็ ตรวจสอบแหล่งขอ้ มูลท่ีสามารถ ใหข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั นิทานพ้ืนบา้ น นิทานพืน้ บ้าน ศิลปะ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม การแสดงละครจากนิทานพ้ืนบา้ น  ความเชื่อเรื่องสถานท่ีท่ีเก่ียวกบั การวาดภาพจากนิทานพ้ืนบา้ น นิทานพ้ืนบา้ น ประกอบการเลา่ นิทาน  ท่ีมาของประเพณีบุญบ้งั ไฟ ภาพจิตรกรรมท่ีเกี่ยวกบั เรื่องสังขท์ อง  ศึกษาภูมิประเทศของภาคต่าง ๆ เพลงกลอ่ มเด็กที่กล่าวถึงเร่ืองสงั ขท์ อง จากแผนที่ประเทศไทย

ตัวชี้วดั  จบั ใจความสาคญั จากเรื่องท่ีอ่าน (ท ๑.๑ ม. ๑/๒)  ระบุและอธิบายคาเปรียบเทียบและคาท่ีมหี ลายความหมายในบริบทตา่ ง ๆ จากการอ่าน (ท ๑.๑ ม. ๑/๔)  วเิ คราะห์คุณคา่ ท่ีไดร้ ับจากการอ่านงานเขียนอยา่ งหลากหลาย เพ่ือนาไปใชแ้ กป้ ัญหา ในชีวติ (ท ๑.๑ ม. ๑/๘)  มีมารยาทในการอ่าน (ท ๑.๑ ม. ๑/๙)  เขียนจดหมายส่วนตวั และจดหมายกิจธุระ (ท ๒.๑ ม. ๑/๗)  เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน (ท ๒.๑ ม. ๑/๘)  มีมารยาทในการเขียน (ท ๒.๑ ม. ๑/๙)  เลา่ เรื่องยอ่ จากเร่ืองท่ีฟังและดู (ท ๓.๑ ม. ๑/๒)  มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู (ท ๓.๑ ม. ๑/๖)  สร้างคาในภาษาไทย (ท ๔.๑ ม. ๑/๒)  สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม. ๑/๑)  วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ (ท ๕.๑ ม. ๑/๒)  อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม. ๑/๓)  สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ นเพื่อประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง (ท ๕.๑ ม. ๑/๔)

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิทานพืน้ บ้านแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ ปริศนาอกั ษรไขว้ ใช้ความหมายขยายวงศัพท์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๑ ช่ัวโมง มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบุและอธิบายคาเปรียบเทียบและคาที่มีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จาก การอ่าน จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั ๑. อธิบายความหมายของคาศพั ทท์ ี่เกี่ยวกบั นิทานพ้ืนบา้ น (K) ๒. เขียนและอ่านคาศพั ทท์ ี่เก่ียวกบั นิทานพ้ืนบา้ น (P) ๓. เห็นความสาคญั ของการเรียนรู้คาศพั ทเ์ พื่อใชศ้ ึกษานิทานพ้ืนบา้ น (A) สาระสาคญั นิทานพ้ืนบ้านเป็ นเร่ื องเล่าท่ีเล่าสืบต่อกันมาในท้องถ่ินใดท้องถ่ินหน่ึง และแพร่หลายไปยังท้องถิ่นอ่ืน จึงมักมีการใช้คาภาษาถ่ินหรื อคาที่เก่ียวข้องกับวัฒนธรรมของท้องถ่ินน้ันการเรียนรู้คาศพั ทเ์ หล่าน้ีจะทาใหศ้ ึกษานิทานพ้ืนบา้ นไดเ้ ขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึน สาระการเรียนรู้ คาศพั ทท์ ี่เก่ียวกบั นิทานพ้ืนบา้ น

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทกั ษะการอา่ น - ทกั ษะการเขียน - ทกั ษะการฟัง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด - การวเิ คราะห์ - การสรุปความรู้ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ประสรักความเป็ นไทย ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมี ความกตญั ญูกตเวที ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๒ เห็นคุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๓ อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) - คาถามท้าทาย นกั เรียนรู้จกั นิทานพ้นื บา้ นเรื่องใดบา้ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี  นกั เรียนรู้จกั นิทานพ้ืนบา้ นเร่ืองใดบา้ ง ๒. ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เรื่อง นิทานพ้ืนบา้ น และร่วมกนั สนทนาในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี  นิทานพ้นื บา้ นมีลกั ษณะสาคญั อยา่ งไร  นิทานพ้ืนบา้ นมีความสาคญั ต่อชีวติ ความเป็ นอยแู่ ละสงั คมไทยอยา่ งไร ๓. ครูอธิบายสรุปเพ่มิ เติม และใหน้ กั เรียนบนั ทึกสาระสาคญั

๔. ครูเขียนตารางปริศนาอกั ษรไขวบ้ นกระดาน เพื่อให้นกั เรียนเล่นเกมปริศนาอกั ษรไขว้ โดยให้นกั เรียนออกมาจบั ฉลากหมายเลข คน้ หาคาศพั ทจ์ ากนิทานพ้ืนบา้ นในบทเรียนที่มีความหมาย ตรงกบัความหมายท่ีใหไ้ วใ้ นแนวต้งั และแนวนอน ๕. ใหน้ กั เรียนนาคาศพั ทท์ ่ีไดเ้ ติมลงในตารางปริศนาอกั ษรไขว้ เรียงตามลาดบั โดยออกมาเขียนเป็นคู่ ใครไดห้ มายเลขตรงกนั ท่ีเป็นแนวต้งั และแนวนอน ใหอ้ อกมาเขียนคาศพั ทพ์ ร้อมกนั เร่ิมจากฉลากหมายเลข ๑ ตามลาดบั จนครบตามจานวน ๖. ครูและนกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง แลว้ อ่านพร้อมท้งั อธิบายความหมายคาศพั ท์ร่วมกนั ๗. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี  นิทานพ้ืนบา้ นเป็ นเรื่องเล่าท่ีเล่าสืบต่อกนั มาในทอ้ งถิ่นใดทอ้ งถ่ินหน่ึง และแพร่หลายไปยงั ทอ้ งถิ่นอ่ืน จึงมกั มีการใชค้ าภาษาถิ่นหรือคาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั วฒั นธรรมของทอ้ งถ่ินน้นั การเรียนรู้คาศพั ท์เหล่าน้ีจะทาใหศ้ ึกษานิทานพ้ืนบา้ นไดเ้ ขา้ ใจมากยง่ิ ข้ึนการจัดบรรยากาศเชิงบวก ใหน้ กั เรียนจบั ฉลากคน้ หาคาศพั ท์ เล่นเกมปริศนาอกั ษรไขว้ สื่อการเรียนรู้ ๑. ตารางปริศนาอกั ษรไขว้ ๒. ฉลาก การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) ตรวจผลงานของนกั เรียน ๒. เคร่ืองมือ  แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๓. เกณฑ์การประเมนิ  การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น ๑ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน

กจิ กรรมเสนอแนะ ใหน้ กั เรียนศึกษาคน้ ควา้ คาหรือสานวนซ่ึงเป็นภาษาถ่ินของทอ้ งถ่ินต่าง ๆ คนละ ๓-๕ คา แลว้ นามา ผลดั กนั ใหค้ วามรู้กบั เพ่ือน ๆ หนา้ ช้นั เรียนทุกวนั

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ ________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (________________________) ______ /_______ /______

บันทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา/อปุ สรรค__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ นิทานพืน้ บ้าน แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ สรรคาได้ หากใช้ไวพจน์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ เวลา ๑ ชั่วโมงมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา และ พลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ตัวชี้วดั ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สร้างคาในภาษาไทย จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั ๑. อธิบายลกั ษณะของคาไวพจน์ (K) ๒. คน้ หาและรวบรวมคาไวพจน์จากวรรณคดีเป็นหมวดหมู่ (P) ๓. เห็นความสาคญั ของการรวบรวมคาไวพจน์เพอ่ื สามารถเลือกสรรคามาใชใ้ ห้เหมาะสม ในบริบทตา่ ง ๆ (A) สาระสาคญั คาพอ้ งความหมายหรือคาไวพจนเ์ ป็นคาที่มีความหมายเหมือนกนั หรือใกลเ้ คียงกนั แตใ่ ชร้ ูปเขียนต่าง ๆ กนั การเรียนรู้คาไวพจน์ทาใหส้ ามารถเลือกคามาใชใ้ นบริบทตา่ ง ๆ ไดเ้ หมาะสมและหลากหลาย สาระการเรียนรู้ คาไวพจน์

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร - ทกั ษะการอ่าน - ทกั ษะการเขียน - ทกั ษะการฟัง การดู และการพูด ๒. ความสามารถในการคิด - การวเิ คราะห์ - การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ - การสรุปความรู้ ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ประสรักความเป็ นไทย ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมี ความกตญั ญูกตเวที ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๒ เห็นคุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๓ อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) - คาถามท้าทาย เศรษฐีทางภาษาหมายความวา่ อยา่ งไร การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี  เศรษฐีทางภาษาหมายความวา่ อยา่ งไร ๒. ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เร่ือง คาพอ้ งความหมายหรือคาไวพจน์ ร่วมกนั สรุป ความเขา้ ใจและยกตวั อยา่ งคาเพ่มิ เติม

๓. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม ๕-๖ กลุ่ม แข่งขนั ตอบคาไวพจน์จากคาท่ีครูกาหนด กลุ่มใดตอบถูกตอ้ งจะไดค้ าละ ๑ คะแนน แต่ละกลุ่มจะตอบกี่คากไ็ ด้ ครูบนั ทึกคาท่ีนกั เรียนตอบเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน เช่น ทิพากร สุริยา ตะวนัภาณุมาศ พระอาทติ ย์ รวีไถง ราไพ องั ศุมาลี ครูอาจใหน้ กั เรียนแขง่ ขนั ๒-๓ รอบ ตามเวลาท่ีเหมาะสม โดยแตล่ ะรอบกาหนดคาแตกตา่ งกนั ๔. ครูกระตุน้ ใหน้ กั เรียนเห็นความสาคญั ของการเรียนรู้คาไวพจน์ โดยอธิบายวา่ “หากนกั เรียนมีคลงั ไวพจน์ นกั เรียนจะเป็นเศรษฐีทางภาษา สามารถเลือกสรรคามาใชใ้ หเ้ หมาะสมแก่บริบทตา่ ง ๆ ได้ไมต่ อ้ งใชค้ าซ้า ๆ เพราะจนต่อถอ้ ยคา” ๕. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มคน้ หาคาไวพจนจ์ ากวรรณคดีที่ไดเ้ รียนมาและหาเพมิ่ เติมจากวรรณคดีเร่ืองอื่น โดยคน้ หาเป็นหมวดหมู่  คาที่หมายถึงพระมหากษตั ริย์  คาที่หมายถึงทอ้ งฟ้า  คาที่หมายถึงพระอาทิตย์  คาท่ีหมายถึงพระจนั ทร์  คาที่หมายถึงป่ า  คาที่หมายถึงดอกไม้  คาที่หมายถึงภูเขา  คาท่ีหมายถึงน้าหรือแหล่งน้า  คาท่ีหมายถึงไฟ  คาท่ีหมายถึงผหู้ ญิง ๖. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอคาไวพจน์ท่ีรวบรวมได้ นกั เรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และช่วยกนั เพ่ิมเติม ๗. ใหน้ กั เรียนช่วยกนั รวบรวมคาไวพจน์หมวดหมูต่ ่าง ๆ นามาจดั ทาเป็นหนงั สือเล่มเลก็ เพอ่ื ใช้สาหรับศึกษาคน้ ควา้ ร่วมกนั ๘. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี

 คาพอ้ งความหมายหรือคาไวพจน์เป็นคาท่ีมีความหมายเหมือนกนั หรือใกลเ้ คียงกนัแตใ่ ชร้ ูปเขียนต่าง ๆ กนั การเรียนรู้คาไวพจนท์ าใหส้ ามารถเลือกคามาใชใ้ นบริบทต่าง ๆ ไดเ้ หมาะสมและหลากหลาย การจดั บรรยากาศเชิงบวก การมอบหมายภาระงานใหน้ กั เรียนช่วยกนั รวบรวมคาไวพจน์จดั ทาเป็นหนงั สือเล่มเล็กไวเ้ ป็นสมบตั ิของช้นั เรียน ซ่ึงนกั เรียนทุกคนสามารถใชศ้ ึกษาคน้ ควา้ ได้ สื่อการเรียนรู้ บตั รคา การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน ๒. เคร่ืองมือ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น ๑ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน ๒) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ ใหน้ กั เรียนสารวจชื่อบุคคลวา่ มีช่ือใดบา้ งที่เป็นคาไวพจน์ ซ่ึงจะทาใหน้ กั เรียนรู้จกั คาไวพจน์เพม่ิ ข้ึน

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ ________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (________________________) ______ /_______ /______

บันทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา/อปุ สรรค__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/____

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ นิทานพืน้ บ้านแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ สังข์ทองของคนไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมงมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดัมาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ดั สินใจแกป้ ัญหาใน การดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอา่ นตัวชี้วดัท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคญั จากเร่ืองท่ีอ่านท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั๑. สรุปเน้ือเรื่องสงั ขท์ อง (K)๒. อา่ นนิทานพ้ืนบา้ นเร่ืองสังขท์ อง (P)๓. แสดงละครเร่ืองสังขท์ อง (P)๔. เห็นคุณค่าของนิทานพ้ืนบา้ นของไทยท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรมไทย (A)สาระสาคญั สังข์ทองเป็ นนิทานพ้ืนบ้านท่ีได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เพราะเน้ือเร่ื องสนุกสนาน น่าติดตาม และให้ข้อคิดท่ีสะท้อนค่านิยมของคนไทยเร่ื อง ความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ และแสดงใหเ้ ห็นวา่ คุณคา่ ความดีของคนอยทู่ ี่จิตใจไมใ่ ช่รูปกายภายนอก

สาระการเรียนรู้ นิทานพ้นื บา้ นเร่ือง สังขท์ องสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทกั ษะการอา่ น - ทกั ษะการเขียน - ทกั ษะการฟัง การดู และการพูด ๒. ความสามารถในการคิด - การวเิ คราะห์ - การสังเคราะห์ - การประยกุ ต/์ การปรับปรุง - การสรุปความรู้ - การประเมินคา่ ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ประสรักความเป็ นไทย ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมี ความกตญั ญูกตเวที ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๒ เห็นคุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๓ อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย ช-ิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) คาถามท้าทาย นกั เรียนประเมินคา่ ความดีในจิตใจของคนจากส่ิงใด

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ครูเขียนหรือติดบทกลอนบนกระดานใหน้ กั เรียนอ่านพร้อมกนั แลว้ ถามนกั เรียนวา่ เกี่ยวกบันิทานพ้นื บา้ นเรื่องใดของคนไทย ดงั น้ี นางเห็นรูปสุวรรณอยชู่ ้นั ใน รูปเงาะสวมไวใ้ หค้ นหลงใครใครไมเ่ ห็นรูปทรง พระเป็นทองท้งั องคอ์ ร่ามตา ๒. ใหน้ กั เรียนศึกษานิทานพ้ืนบา้ นเรื่อง สงั ขท์ อง แลว้ ให้นกั เรียนร่วมกนั สนทนาในประเด็นต่อไปน้ี  นกั เรียนเคยทราบเรื่องราวนิทานพ้นื บา้ นเรื่อง สังขท์ อง จากแหล่งใดบา้ ง  ในแต่ละภาคของไทยมีการนานิทานพ้ืนบา้ นเรื่อง สังขท์ อง มาแตง่ เป็น ลายลกั ษณ์อกั ษรไวอ้ ยา่ งไร ๓. ครูอธิบายสรุปเพม่ิ เติมและใหน้ กั เรียนบนั ทึกสาระสาคญั ๔. ครูแบง่ นกั เรียนออกเป็ น ๙ กลุ่ม อ่านเรื่องยอ่ ของนิทานพ้ืนบา้ นเรื่อง สังขท์ อง ท่ีครู แจกให้กลุ่มละ ๑ ตอน (เน้ือเร่ืองยอ่ แต่ละตอนอยใู่ นความรู้เพ่มิ เติมสาหรับครู) ใหน้ กั เรียนช่วยกนั ดดั แปลงเป็นบทละครง่าย ๆ แลว้ ฝึกซอ้ มเพอื่ ออกมาแสดงละครใหเ้ พ่ือนดูหนา้ ช้นั เรียน ดงั น้ี  กลุ่มท่ี ๑ ตอนกาเนิดพระสงั ข์  กลุ่มที่ ๒ ตอนถ่วงพระสังข์  กลุ่มที่ ๓ ตอนนางพนั ธุรัตเล้ียงพระสงั ข์  กลุ่มที่ ๔ ตอนพระสงั ขห์ นีนางพนั ธุรัต  กลุ่มที่ ๕ ตอนทา้ วสามนตใ์ หน้ างท้งั เจด็ เลือกคู่  กลุ่มที่ ๖ ตอนพระสงั ขไ์ ดน้ างรจนา  กลุ่มท่ี ๗ ตอนทา้ วสามนตใ์ หล้ ูกเขยหาปลาหาเน้ือ  กลุ่มท่ี ๘ ตอนพระสังขต์ ีคลี  กลุ่มท่ี ๙ ตอนทา้ วยศวมิ ลตามพระสังข์ การแสดงละครของนกั เรียนมีจุดประสงคเ์ พ่ือความสนุกสนานเพลิดเพลินและการทาความเขา้ ใจเน้ือเรื่อง ๕. ใหน้ กั เรียนออกมาแสดงละครหนา้ ช้นั เรียนทีละกลุ่ม เพือ่ น ๆ ช่วยกนั พจิ ารณาการถ่ายทอดเน้ือเรื่องวา่ ถูกตอ้ งตามเร่ืองเดิมหรือไม่ เม่ือชมการแสดงของทุกกลุ่มจบแลว้ร่วมกนั สรุปเน้ือเร่ืองท้งั หมดและขอ้ คิดท่ีไดร้ ับ ๖. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี

 สังขท์ องเป็ นนิทานพ้ืนบา้ นท่ีไดร้ ับความนิยมอยา่ งแพร่หลาย เพราะเน้ือเร่ืองสนุกสนาน น่าติดตาม และใหข้ อ้ คิดที่สะทอ้ นค่านิยมของคนไทยเรื่อง ความกตญั ญูกตเวทีต่อผูม้ ีพระคุณ และแสดงให้ เห็นวา่ คุณคา่ ความดีของคนอยทู่ ่ีจิตใจไม่ใช่รูปกายภายนอก ๗. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี  นกั เรียนประเมินค่าความดีในจิตใจของคนจากสิ่งใด การจดั บรรยากาศเชิงบวก ใหน้ กั เรียนแสดงละครเพ่อื สร้างความสนุกสนานในการเรียนรู้ ทาใหเ้ ขา้ ใจเน้ือเรื่องและจดจาไดด้ ี ยง่ิ ข้ึน สื่อการเรียนรู้ ๑. บทกลอน ๒. เน้ือเรื่องยอ่ สังขท์ องการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน ๒. เครื่องมือ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น ๑ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน ๒) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรุง

ความรู้เพม่ิ เตมิ สาหรับครู สังข์ทอง ตอนท่ี ๑ กาเนิดพระสังข์ ทา้ วยศวิมลเป็นกษตั ริยไ์ ม่มีโอรสสืบราชสมบตั ิ พระองคร์ ้อนพระทยั จึงให้พระมเหสี และพระสนมบวงสรวงเทวดาเพอ่ื ขอโอรส แลว้ ใหส้ วดมนตร์ ักษาศีล หากผใู้ ดมีโอรสจะใหส้ ืบราชสมบตั ิ พระองค์ทาพิธีบวงสรวง ทรงกล่าววา่ พระองค์ปกครองบา้ นเมืองดว้ ยความเป็ นธรรมตลอดมา แต่ไม่มีโอรสไว้สืบราชสมบตั ิ ขอท่านเทวาผูร้ ักษาเมืองไดโ้ ปรดเมตตาให้ขา้ พระองค์ มีโอรสสมใจหมายดว้ ยเทอญ เทพบุตรองค์หน่ึงในสวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์จึงลงไปจุติในครรภข์ องพระมเหสี ในวนั ที่พระมเหสีจะทรงพระครรภน์ ้นั พระองคฝ์ ันเห็นดวงอาทิตยแ์ ละดาวตก มือขวาจบั ดวงอาทิตย์ มือซา้ ยจบั ดาวตก แตด่ วงอาทิตยห์ ายไปและจบั ไดอ้ ีกคร้ัง จึงใหโ้ หรทานายฝัน โหรทานายวา่ พระมเหสีทรงพระครรภจ์ ะไดพ้ ระโอรสมีบุญญาธิการมาก แต่จะพลดั พรากจากวงัไปแลว้ กลบั มาในภายหลงั ส่วนพระสนมจะต้งั ครรภไ์ ดพ้ ระธิดา นางจนั ทาพระสนมกลวั วา่ ลูกของพระมเหสีจะไดค้ รองบา้ นเมือง จึงติดสินบนโหรให้โหรทานายใหม่ ต่อมานางจนั ทเ์ ทวพี ระมเหสีคลอดลูกออกมาเป็ นหอยสังข์ สร้างความอบั อายให้ทา้ วยศวมิ ลมาก โหรเห็นเป็ นโอกาสเหมาะจึงไดก้ ราบทูลว่า หอยสังขจ์ ะนาความเดือดร้อนมาให้บา้ นเมือง ใหข้ บั ไล่ออกจากเมืองไป พระองค์ให้นางจนั ทาช่วยจดั เตรียมขา้ วของเคร่ืองใชใ้ ห้นางจนั ทเ์ ทวีอยา่ ให้ขาดตกบกพร่อง แลว้ส่งนางออกนอกเมือง นางจนั ทาติดสินบนแก่เสนาทหารท่ีเดินทางไปส่งนางออกนอกเมืองใหฆ้ ่านางจนั ท์เทวี นางจนั ทเ์ ทวอี ุม้ ลูกนอ้ ยหอยสังขอ์ อกจากเมืองไปกบั เสนา โดยทางเรือเป็นเวลา ๑๕ วนั ก็ถึงป่ าใหญ่เสนาทหารทิ้งนางไวท้ ่ีป่ าใหญ่ ส่วนเสนาที่รับสินบนใหฆ้ ่านางจนั ทเ์ ทวกี ็ทาไม่ได้ เพราะมีคนอยมู่ าก นางจนั ทเ์ ทวจี ึงรอดชีวติ พระนางเดินอยูใ่ นป่ าจนกระทง่ั พบกระท่อมของตายาย จึงเล่าเร่ืองใหฟ้ ัง ตายายไดฟ้ ังก็สงสาร และชวนให้มาอยูด่ ว้ ยกนั นางอยกู่ บั ตายายมาได้ ๕ ปี ดว้ ยความยากลาบาก ตอ้ งหาผกั หาปลา เขา้ ป่ าเก็บทุกส่ิงท่ีขายไดไ้ ปขาย เป็นกิจวตั รทุกวนั เทพารักษ์สงสารนางจนั ท์เทวีจึงแปลงกายเป็ นไก่ป่ ามาคุย้ เขี่ยขา้ วท่ีนางตากไว้ พร้อมกบั ตีปี กส่งเสียงขนั พระสังขท์ ี่ซ่อนตวั อยูใ่ นหอยสังขเ์ ห็นเขา้ ก็นึกสงสารแม่ จึงออกมาจากหอยสังขไ์ ล่ตีไก่ แลว้ เก็บขา้ วท่ีหกใหเ้ ขา้ ที่เขา้ ทาง และหุงขา้ วทากบั ขา้ วไวใ้ หแ้ ม่ วนั หน่ึงนางจนั ท์เทวีแอบเห็นลูกน้อยหอยสังข์ออกมาจากหอยสังข์ก็ดีใจ ค่อย ๆ แอบเขา้ ไปในกระทอ่ ม ควา้ ไมท้ ุบหอยสังขแ์ ตกละเอียด พระสงั ขไ์ ดย้ นิ ก็ตกใจ เขา้ กอดเทา้ แมเ่ สียดายหอยสังข์

นางจนั ท์เทวีปลอบลูกไม่ให้เสียดายหอยสังข์ เพราะหอยสังขท์ าให้แม่กบั ลูกตอ้ งลาบาก นางเล่าเรื่องที่เกิดข้ึนให้ตากบั ยายฟัง ตากบั ยายเห็นหลานชายหน้าตาน่ารักน่าเอ็นดูจึงพากนั กอดจูบหลานดว้ ยความดีใจ ตอนท่ี ๒ ถ่วงพระสังข์ ทา้ วยศวิมลเศร้าโศกเสียพระทยั คร่าครวญถึงแต่พระมเหสี ดา้ นนางจนั ทาตอ้ งการเป็ นมเหสี ก็ยงัไม่สมปรารถนา จึงส่ังสอนลูกสาวให้ไปพูดกบั ทา้ วยศวมิ ลวา่ ให้ยกตาแหน่งมเหสีใหแ้ ม่ทา้ วยศวมิ ลโกรธนางจนั ทามากจึงควา้ ดาบไล่ฟันนางจนั ทา วงิ่ หนีท้งั แมล่ ูกและสาวใช้ นางจนั ทาอบั อายจึงใหส้ าวใชไ้ ปหาหมอเสน่ห์ คือ ยายเฒ่าสุเมธา ยายเฒา่ มาหานางจนั ทา แลว้ ทาพิธีไสยศาสตร์ใหน้ างจนั ทาใชน้ ้ามนั พรายและมนตเ์ สน่ห์กบั ทา้ วยศวมิ ล เม่ือทา้ วยศวมิ ลโดนมนตร์เสน่ห์ก็หลงนางจนั ทาและลืมนางจนั ทเ์ ทวีจนหมดสิ้น ยกตาแหน่งมเหสีเอกใหน้ างจนั ทาและใหอ้ านาจทุกอยา่ งตามที่นางตอ้ งการ นางจนั ทาใชม้ นตร์เป่ าให้ทา้ วยศวิมลหลงเชื่อวา่ ลูกชายของนางจนั ทเ์ ทวจี ะกลายเป็ นเส้ียนหนามแผน่ ดินในอนาคต พระองค์จึงสั่งให้เสนาไปฆ่าลูกของนางจนั ทเ์ ทวี พวกเสนาต่างพากนั ตกใจ แต่ก็ตอ้ งกระทาตามคารับส่ัง จึงพากนั มาที่บา้ นของตายาย เห็นนางจนั ทเ์ ทวจี ึงรอให้นางเขา้ ป่ าไปก่อน ฝ่ ายนางจนั ทเ์ ทวีเกิดสังหรณ์ใจก่อนเขา้ ป่ าจึงส่ังเสียลูกอยนู่ านว่า ไม่ให้ออกไปร้ัวนอกบา้ น เด๋ียวสัตวร์ ้ายจะทาร้าย หากออกไปถูกแดดถูกลมเด๋ียวจะไม่สบาย เมื่อนางออกไปแลว้ ฝ่ ายเสนาก็เรียกพระสังข์โดยเอาของเล่นมาล่อให้พระสังขอ์ อกไป เมื่อพระสงั ขห์ ลงกล จึงจบั ตวั พระสงั ขไ์ ปวดั ทา้ ยเมือง ตากบั ยายช่วยเหลือไม่ได้ จึงร้องไหด้ ว้ ยความสงสาร พระสังข์ร้องไห้เรียกหาแม่ ถึงแมเ้ สนาจะสงสารแต่ก็ตอ้ งทาตามคาสั่งของทา้ วยศวิมล เสนาหลอกให้พระสังข์นอนจึงจะพาไปหาแม่ พอพระสังข์หลบั ก็ทุบตีดว้ ยท่อนจนั ทน์ แต่ไม่สาเร็จ เพราะเทวดาที่รักษาป่ าช่วยป้องกนั ไว้ เสนาจึงใชห้ อกใชด้ าบ แต่ท้งั หอกและดาบกบ็ ิ่นจากน้นั ไสชา้ งตกมนั ใหท้ าร้ายพระสังข์ แต่ชา้ งตวั น้นั กลบั เอางาปักดินไม่ยอมแทงพระสังข์ เสนาเห็นบุญญาธิการเช่นน้นั จึงพาพระสงั ขเ์ ขา้ เฝ้าทา้ วยศวมิ ล ฝ่ ายนางจนั ทเ์ ทวเี มื่อกบั มาถึงบา้ นไม่พบลูก พอทราบเร่ืองจากตายายก็ร้องไหจ้ นสลบไป ทา้ วยศวมิ ลเมื่อพบพระสังขก์ ็พนิ ิจดูลกั ษณะทา่ ทาง หนา้ ตา และเม่ือไดท้ รงไต่ถามถึงแม่ พระองคก์ ็แน่ใจว่าพระสังขน์ ้นั เป็ นพระโอรสของพระองค์ พระนางจนั ทาเห็นไม่ไดก้ ารจึงเป่ ามนตร์ทูลให้เอาพระสงั ขไ์ ปถ่วงน้า ทา้ วยศวมิ ลตอ้ งมนตร์ก็หลงเชื่อ ส่งั ใหเ้ สนาเอาพระสงั ขไ์ ปถ่วงน้าทนั ที นางจนั ทเ์ ทวที ราบข่าวกม็ าที่ท่าน้า พอพระสังขเ์ ห็นแม่ก็ดีใจร้องใหแ้ มช่ ่วย นางขอประทานชีวติ ลูกชาย ทา้ วยศวมิ ลเห็นแลว้ กส็ งสารจึงสั่งใหพ้ าตวั พระสงั ขข์ ้ึนมา แต่นางจนั ทารีบขดั บอกใหเ้ สนารีบจดั การโยนพระสังขล์ งน้า เหล่าเสนาจึงรีบจบั พระสังขโ์ ยนลงน้าทนั ที ทา้ วยศวมิ ลกบั นางจนั ทเ์ ทวตี กใจเป็ นลมท้งั คู่ ประชาชนท่ีมาดูเหตุการณ์สงสารนางจนั ท์เทวีที่สลบ จึงตกั น้ามาประพรมให้ฟ้ื น พอฟ้ื นข้ึนมาก็ร้องไหร้ ่าหาลูกนอ้ ย แลว้ นางก็เดินซมซานกลบั บา้ นตายาย

ขณะน้นั พระสังขจ์ มลงสู่แม่น้าตรงปล่องท่ีอยูข่ องพระยานาค แต่ไม่เป็ นอนั ตรายไดแ้ ต่ร้องไห้คร่าครวญคิดถึงพระมารดาจนสลบไป ตอนท่ี ๓ นางพนั ธุรัตเลีย้ งพระสังข์ ทา้ วภุชงคพ์ ระยานาคผูท้ รงศีล ช่วยเหลือพระสังขไ์ ว้ เพราะสงสารและรู้วา่ เป็ นผูม้ ีบุญญาธิการ จึงอุม้ พระสังขไ์ ปเมืองบาดาล นางนาคผูเ้ ป็ นภรรยาทาใหพ้ ระสังขฟ์ ้ื น เม่ือพระสังขฟ์ ้ื นก็ เล่าเร่ืองท้งั หมดใหฟ้ ัง พระยานาคและนางนาคเอน็ ดูและสงสาร จึงเล้ียงไวเ้ หมือนบุตร ตอ่ มาพระยานาคคิดถึงนางยกั ษพ์ นั ธุรัต มเหสีของพระยายกั ษส์ หายของพระองคซ์ ่ึงเป็ นม่าย จึงคิดจะส่งพระสังข์ไปให้เล้ียงเป็ นลูก โดยบอกกบั พระสังข์ว่า นาคกบั มนุษยอ์ ยู่ด้วยกันนานไปไม่ได้ จึงจาเป็นตอ้ งใหพ้ ระสังขไ์ ปอยบู่ นพ้นื ดิน พระองคเ์ นรมิตเรือสาเภาทองท่ีพรั่งพร้อมดว้ ยอาหารและเคร่ืองใชท้ ุกอยา่ งเพ่ือส่งพระสังขไ์ ปเมืองยกั ษ์ แลว้ เขียนจดหมายลงบนแผน่ ทองถึงนางพนั ธุรัตให้พระสังขถ์ ือไป จากน้นั ต้งั จิตอธิษฐานไม่ให้ยกั ษ์ตวั ใดเขา้ ใกลส้ าเภาทองได้ พระสังข์เควง้ ควา้ งอยกู่ ลางทะเล ตรงไปยงั เมืองยกั ษ์ พวกยกั ษ์เห็นเขา้ ก็จะจบั พระสังขก์ ิน แต่จบัไม่ได้ พระสังข์เห็นยกั ษ์ก็ตกใจกลวั จึงโยนแผน่ ทองที่เป็ นหนงั สือส่งถึงนางพนั ธุรัตให้ พวกยกั ษ์เอาสาส์นน้นั ไปใหน้ างพนั ธุรัต นางพนั ธุรัตรับสาส์นมาอ่านก็ดีใจ สั่งใหย้ กั ษท์ ุกตนแปลงร่างเป็ นคนแลว้ พระนางก็ไปรับพระสังข์บนเรือสาเภาทอง จากน้นั สัง่ ใหเ้ สนาอามาตยจ์ ดั งานเล้ียงตอ้ นรับพระสงั ข์ มีการแสดงหุ่น ละคร โขน หนงัดนตรี ระบา มวยปล้า งิ้ว เสภา ชาตรี มอญรา บา้ นเมืองกต็ กแตง่ อยา่ งสวยงาม พอไดฤ้ กษน์ างพนั ธุรัตก็ทาพิธีบายศรีสู่ขวญั ให้พระสังข์ แลว้ บอกวา่ จะยกเมืองให้ นางเล้ียงดูพระสังขอ์ ยา่ งดีจนพระสังขม์ ีอายุ ๑๕ ปี วนั หน่ึงนางพนั ธุรัตตอ้ งการเขา้ ป่ าจบั สัตวก์ ิน เป็นอาหาร ๗ วนั จึงสั่งพระสงั ขไ์ ม่ใหไ้ ปเล่นแถวบ่อน้าท้งั ทางซา้ ยและขวา และหอทางดา้ นหวั นอน พระสังขเ์ กิดความอยากรู้อยากเห็นจึงแอบสาวใชไ้ ปที่บ่อน้า พอไปที่ห้องครัวก็เห็น โครงกระดูกมนุษยแ์ ละสัตวม์ ากมายกต็ กใจ จึงรู้วา่ พระมารดาเป็นยกั ษ์ พอไปที่บ่อน้าดา้ นซา้ ยเอานิ้วจุ่มลงนิ้วก็กลายเป็ นเงิน พอไปท่ีบ่อน้าดา้ นขวาเอานิ้วจุ่มลงก็กลายเป็ นทอง พระสังขพ์ ยายามเช็ด แต่ก็ไม่ออกจึงเอาผา้ พนั ไว้เพราะเกรงวา่ นางพนั ธุรัตจะดุ จากน้นั ไปท่ีหอใหญ่เห็นรูปเงาะวางอยู่ ก็ลองสวมดู ใส่เกือกแกว้ ประดบัเพชร ควา้ ไมเ้ ทา้ ทองมาถือ ปรากฏวา่ เหาะได้ พระสังขร์ ีบถอดไว้ ที่เก่า พลางคิดวา่ วธิ ีน้ีเป็ นวธิ ีท่ีจะทาให้หนีนางพนั ธุรัตได้ เพราะแม่ยกั ษอ์ าจจะจบั กิน พอครบ ๗ วนั นางพนั ธุรัตกลบั เขา้ เมืองเห็นพระสังขพ์ นั ผา้ ท่ีนิ้วจึงไต่ถาม พระสังข์ไม่กลา้ บอกความจริง จึงบอกไปวา่ ถูกมีดบาดเพราะผา่ ไม้ นางพนั ธุรัตโกรธจะทาโทษพ่ีเล้ียงแต่พระสังขข์ อร้องไม่ให้ลงโทษ

ตอนท่ี ๔ พระสังข์หนีนางพันธุรัต นางพนั ธุรัตเล้ียงดูพระสังขด์ ว้ ยความรักจนเติบใหญ่ วนั หน่ึงนางรู้สึกไม่สบายใจอยากเขา้ ป่ า จึงบอกพระสงั ขว์ า่ จะไปป่ าตอนเยน็ จึงกลบั พระสงั ขค์ ิดถึงแม่ผูใ้ หก้ าเนิดจึงไปท่ีบอ่ ทองชุบองคใ์ นบ่อทองจึงเป็นทองท้งั องค์ แลว้ ลกั รูปเงาะ ไมเ้ ทา้และเกือกแกว้ เหาะหนีจากเมืองยกั ษ์ โดยคิดว่าจะมาตอบแทนพระคุณของนางพนั ธุรัตในภายหลงั พระสังขเ์ หาะมาถึงเขาหลวงซ่ึงเป็ นภูเขาท่ีสูงกวา่ เขาอ่ืน ๆ ในป่ า กน็ ง่ั พกั ดว้ ยความเหนื่อยอ่อน เม่ือนางพันธุรัตกลับมาถึงไม่พบพระสังข์ก็เสียใจ จึงส่ังให้พวกยกั ษ์ออกตามตัวพระสังข์ให้ได้ พระสังขไ์ ดย้ นิ เสียงดงั สนน่ั และแสงอาทิตยม์ ืดไปหมด ก็แน่ใจวา่ พวกยกั ษก์ าลงั ตามหาตน จึงถอดรูปเงาะออกแลว้ ข้ึนนง่ั บนตน้ ไทรทาเป็นเทวดาหลอกพวกยกั ษใ์ หห้ ลงกล พระสังข์รู้ว่าถึงหนีก็หนีไม่รอด จึงอธิษฐานขอให้คุณพระมารดาช่วยปกป้องให้ปลอดภัยถ้านางพันธุรัตมาก็อย่าให้ข้ึนมาบนเขาได้ เม่ือนางพนั ธุรัตมาถึงเชิงเขาลูกน้ันก็ร้องเรียกพระสังข์ใหล้ งมา แตพ่ ระสงั ขไ์ ม่ยอมลง ทาใหน้ างพนั ธุรัตเสียใจมาก นางจึงไตเ่ ขาจะข้ึนไปหาแตด่ ว้ ยคาอธิษฐานของพระสังข์ทาให้นางตกลงมา นางพันธุรัตคร่ าครวญร้องไห้ฟูมฟายบอกว่าจะสอนมนตร์เรียกสัตวต์ ่าง ๆ ในป่ าใหเ้ รียกวา่ มหาจินดามนตร์ พระสังข์เกรงว่าจะเป็ นอุบาย จึงให้นางเขียนมนตร์ไว้บนพ้ืนดิน นางเขียนไปร้องเรี ยกพระสังขไ์ ป แต่ออ้ นวอนเทา่ ใดพระสงั ขก์ ไ็ ม่ลงมา ขณะท่ีเขียนมนตร์นางกร็ ้องไหจ้ นอกแตกตาย พระสังข์ตกใจรีบลงมาจากเขากราบเทา้ นางยกั ษ์ ร้องไหด้ ว้ ยความอาลยั พระสังขส์ ่ังใหพ้ ลยกั ษน์ าศพกลบั เมือง แลว้ เตรียมการไวใ้ ห้พร้อม โดยรอพระสังขก์ ลบั มา จึงค่อยเผา พอพวกยกั ษน์ าศพนางพนั ธุรัตกลบั เมืองแลว้ พระสังขก์ ็เรียนคาถาท่ีนางพนั ธุรัตเขียนไวจ้ นจาได้ แลว้ข้ึนไปสวมรูปเงาะ เกือกแกว้ ถือไมเ้ ทา้ เหาะไป พระสังข์เหาะมาถึงเมืองสามลไม่แน่ใจว่าเป็ นเมืองของพระบิดาหรือไม่ จึงลงที่ปลายทุ่งนา พวกเด็กเล้ียงววั เล้ียงควายพบเข้าก็หยอกล้อเล่นกันอย่างสนุกสนาน พอถึงเวลากินก็แบ่งข้าวกันกินพอตกเยน็ เด็กตอ้ นววั ควายกลบั ชวนเจา้ เงาะกลบั บา้ นดว้ ยแต่เจา้ เงาะไม่ยอมไป เด็ก ๆ จึงให้เจา้ เงาะนอนเฝ้านา ตอนท่ี ๕ ท้าวสามลให้นางท้ังเจ็ดเลือกคู่ ท้าวสามลเป็ นผู้ปกครองเมืองสามล มีพระมเหสี ช่ื อนางมณฑา มีพระธิ ดา ๗ องค์องคส์ ุดทา้ ยชื่อนางรจนา งามกวา่ ทุกพระองค์ ทา้ วสามลกลวั เมืองจะตกเป็ นของคนอ่ืนเพราะมีแต่พระธิดาจึงคิดจะหาคู่ครองให้พระ ธิ ดาท้ัง ๗ องค์ ถ้าลู กเขยคนใดมีส ติ ปั ญญา เก่ งกล้าส ามารถกจ็ ะใหค้ รองเมืองสามลต่อไป ทา้ วสามลจึงส่ังเสนาบดีผใู้ หญ่ให้ประกาศไปยงั เมืองข้ึนท้งั ๑๐๑ เมือง วา่ ผูใ้ ดมีพระโอรส รูปงามอายุไม่เกิน ๓๐ ปี และยงั ไม่แต่งงาน ให้ส่งมาจะให้พระธิดาท้งั ๗ เลือกคู่ ถา้ พระธิดาพอใจจะจดั การอภิเษกสมรสใหท้ นั ที โดยใหม้ าพร้อมกนั ที่เมืองสามลภายใน ๑๕ วนั

พวกเมืองข้ึนท้งั หลายต่างดีใจรีบแจ้งพระโอรสให้เร่งไปเมืองสามล ทุกเมืองต่างเตรียมเครื่องบรรณาการไปประทานมากมาย บรรดากษตั ริยร์ ีบเดินทางมาเมืองสามล รุ่งเชา้ ทา้ วสามลให้กษตั ริยท์ ุกองคไ์ ปอยทู่ ่ีทอ้ งพระโรงใหญ่ เพื่อให้ธิดาท้งั ๗ องค์ ทรงเลือกคู่ เหล่ากษตั ริยต์ ่างแต่งองคท์ รงเครื่องอวดกนั แยง่ กนั ข้ึนหนา้ ไม่มีใครฟังใคร พระธิดาท้งั ๗ องค์ แต่งตวั เสร็จ กอ็ อกไปเฝ้าทา้ วสามล ทา้ วสามลตรัสใหอ้ อกไปเสี่ยงมาลยั เลือกคู่พระธิดาท้งั เจด็ เขินอายไม่กลา้ เดินออกไป แต่ในที่สุดพระธิดาท้งั ๖ องค์ ก็เลือกคูค่ รองไดเ้ หมาะสม ยกเวน้นางรจนาที่ไม่ถูกใจชายคนใดเลย จึงกราบทูลพระบิดาวา่ ขออยรู่ ับใชพ้ ระบิดา พระมารดาตลอดชีวติ ท้าวสามลกลุ้มใจจึงปรึ กษาพระมเหสี นางจึงแนะนาว่าให้นางรจนาเลือกคู่อีกคร้ังโดยป่ าวร้องให้ชาวเมืองสามลมาให้นางเลือก ชาวบา้ นต่างพากันมาให้นางรจนาเลือก แต่นางรจนาก็ยงั ไม่พบผูท้ ี่ถูกใจ จึงกราบทูลทา้ วสามลขออยู่รับใช้ต่อไป และถ้าภายหน้าเกิดทาช่ัวก็ขอให้ฆ่าเสียอยา่ ไวช้ ีวติ ตอนท่ี ๖ พระสังข์ได้นางรจนา ทา้ วสามลกลุม้ พระทยั ท่ีนางรจนายงั เลือกคู่ไมไ่ ด้ จึงประชดโดยใหเ้ สนาพาเจา้ เงาะมาให้นางเลือกคู่ เสนาออกไปจบั เจา้ เงาะแต่ก็จบั ไม่ได้ พวกเด็กเล้ียงววั ควายแนะให้เอาดอกไมแ้ ดงมาล่อ เสนาทาตามจึ ง ล่ อเจ้า เงาะ เ ข้าไปใ นวังได้ เม่ื อท้าวส า มล เห็ น เจ้าเง าะ ก็รั ง เกี ย จ จึ งตรั ส ประ ช ดนางรจนาใหอ้ อกมาดูเจา้ เงาะ เจ้าเงาะพอเห็นพระธิดาก็ตกหลุมรัก จึงต้ังจิตอธิษฐานว่าถ้าเป็ นเน้ือคู่กันขอให้นางเห็นรูปทองขา้ งใน นางรจนาทิ้งพวงมาลยั ใหเ้ จา้ เงาะ บรรดาพีเ่ ล้ียงต่างพากนั ตกใจ ทา้ วสามลน้นั ถึงกบั เป็นลมพอฟ้ื นข้ึนมากโ็ กรธด่าวา่ และจะตีนางรจนา แตน่ างมณฑาหา้ มไว้ นางรจนาจะทูลความจริงก็เกรงจะไม่มีใครเช่ือ จึงกราบขอโทษและจะขอชดใชก้ รรมให้หมด ทา้ วสามลจึงรับสั่งให้เจ้าเงาะและนางรจนาไปอยู่กระท่อมปลายนา พวกพี่ท้ังหกต่างโกรธแค้นที่ทาใหอ้ บั อายจึงด่าวา่ นางรจนา จนตดั พต่ี ดั นอ้ งกนั เจ้าเงาะกับนางรจนาช่วยกันทามาหากินอยู่ที่กระท่อมปลายนา เวลากลางคืนเจ้าเงาะถอดรู ปเงาะออก เวลากลางวนั ก็สวมรู ปเงาะไว้เพ่ือไม่ให้ใครเห็น นางรจนาเห็นว่ารู ปเงาะน้ันทาให้คนอื่นดูถูก จึงคิดทาลายโดยหลอกให้พระสังข์หลับ แล้วเอาหัวเงาะมาฟันด้วยมีด เผาไฟแต่ไมป่ ระสบความสาเร็จ พระสังขต์ ่ืนข้ึนมาเห็นนางรจนาเผาหวั เงาะกโ็ กรธ เขา้ ย้ือยดุ ฉุดกระชาก จนพระสังข์แย่งหัวเงาะไปใส่ ส าเร็ จ นางรจนาขอโทษ พระ สังข์ ต้ังแต่วันน้ันพระสังข์ไม่ไว้ใ จนางรจนาจึงสวมหวั เงาะตลอดเวลา

ตอนที่ ๗ ท้าวสามลให้ลูกเขยหาปลาหาเนื้อ ทา้ วสามลโกรธเจา้ เงาะจึงคิดอุบายจะฆ่าเจา้ เงาะ โดยส่ังเสนาไปบอกบรรดาลูกเขยวา่ พรุ่งน้ีให้หาปลามาคนละร้อยตวั ใครหาไดน้ อ้ ยจะถูกประหารชีวติ นางรจนาร้องไหค้ ร่าครวญเกรงวา่ เจา้ เงาะจะหาไม่ได้ แต่เจา้ เงาะไม่ไดว้ ติ กกงั วล เพราะตนมีมนตร์เรียกเน้ือเรียกปลา พอรุ่งเชา้ เจา้ เงาะเหาะไปที่แม่น้า ถอดรูปเงาะออก แลว้ นงั่ ท่ีใตต้ น้ ไทรท่องมนตร์มหาจินดาจนฝูงปลามารวมกนั มากมาย ฝ่ ายหกเขยหาปลาไม่ไดส้ ักตวั พบพระสังขท์ องนง่ั อยกู่ ็นึกวา่ รุกขเทวดาจึงเขา้ ไปกราบไหว้ และเล่าเร่ืองทา้ วสามลให้หาปลา ขอให้เทวดาเห็นใจ พระสังขไ์ ดท้ ีจึงขอแลกปลากบั ปลายจมูกหกเขย หกเขยจาตอ้ งยอม พระสังขต์ ดั ปลายจมูกทุกคน และแบ่งปลาใหค้ นละ ๒ ตวั เมื่อทุกคนกลบั พระสังขก์ ็สวมรูปเงาะตดั หวายมาร้อยปลา หิ้วปลาเหาะกลบั บา้ น ทา้ สามลโกรธมากท่ีหกเขยไดป้ ลามาคนละ ๒ ตวั เท่าน้นั และจมูกยงั แหวง่ ดว้ ย ส่วนเจา้ เงาะไดป้ ลามามากมาย หกเขยท้งั อายท้งั แคน้ เจา้ เงาะ ส่วนนางรจนากบั พ่ีสาวก็ทะเลาะกนั จนนางมณฑาตอ้ งบอกให้นางรจนาพาเจา้ เงาะกลบั ไป ท้า ว ส า ม ล แ ค้น ใ จ ที่ เ จ้า เ ง า ะ ห า ป ล า ม า ไ ด้ จึ ง อ อ ก อุ บ า ย ใ ห้ ห า เ น้ื อ ท ร า ย ส า ห รั บ ง า น เ ล้ ี ย งวนั พรุ่งน้ี ถา้ ใครหาไม่ไดจ้ ะฆ่าเสีย วนั รุ่งข้ึนเจา้ เงาะเหาะเขา้ ไปในป่ า ถอดรูปเงาะซ่อนไว้ แลว้ ร่ายมนตร์มหาจินดา ฝงู สตั ว์ ต่าง ๆ มาอยตู่ รงหนา้ มากมาย ทางดา้ นหกเขยเตรียมอุปกรณ์มาจบั สัตวม์ ากมาย แตก่ ็จบั ไม่ไดเ้ ลย พอเห็นพระสังขก์ ็นึกวา่ เป็นเทวดา จึงขอความช่วยเหลือใหแ้ บง่ เน้ือให้บา้ ง พระสังขจ์ ึงขอแลกใบหูกบั เน้ือทราย หกเขยยอมใหต้ ดั ใบหู พระสงั ขจ์ ึงแบง่ เน้ือใหค้ นละตวั พระสังขส์ วมรูปเงาะแลว้ มดั เน้ือ ๒๐ ตวั เหาะกลบั ไป ทา้ วสามลเห็นเจา้ เงาะหาบเน้ือมา ๒๐ ตวั ก็ประหลาดใจและหมน่ั ไส้ ย่ิงเห็นหกเขยไดเ้ น้ือ มาคนละตัว และยังหู แหว่งกลับมาก็ยิ่งแค้น เจ้าเงาะเห็นท้าวสามลไม่ลงโทษหกเขยตามท่ีพูดก็แกลง้ บอกใบใ้ หฆ้ ่าเสีย โดยทาทา่ กลอกตา เง้ือง่าเหมือนฟาดฟันแลว้ ช้ีไปที่เขยใหญ่ เจ้าเงาะทะเลาะกับหกเขย และแกล้งท้าวสามล จนท้าวสามลท้ังโกรธและกลัว จากน้ันเจา้ เงาะกเ็ ขา้ ไปลานางมณฑา กลบั ไปกระท่อมเล่าเรื่องตา่ ง ๆ ใหน้ างรจนาฟังอยา่ งสนุกสนาน ตอนท่ี ๘ พระสังข์ตคี ลี พระอินทร์ร้อนใจท่ีพระสังขไ์ ม่ยอมถอดรูปเงาะ จึงคิดอุบายโดยยกพลไปทา้ ทา้ วสามลตีคลี พระอินทร์สัง่ ใหม้ าตุลีเตรียมไพร่พล แปลงตนเป็นมนุษยไ์ ปลอ้ มเมืองทา้ วสามล ชาวเมืองสามลเห็นกองทพั มาลอ้ มเมือง ต่างพากนั ต่ืนตระหนกตกใจ ฝ่ ายทา้ วสามลก็ตกพระทยั นึกวา่ เจา้ เงาะบุกวงั แต่ฝ่ ายเสนาบอกวา่ มีกองทพั มาลอ้ มเมืองก็ยง่ิ ตกพระทยั มากข้ึน ถึงแม้ จะกลวั แต่ก็ส่ังให้เสนาทหารตระเตรียมอาวธุ รักษาประตูเมืองไว้ ฝ่ ายพระอินทร์เม่ือลอ้ มเมืองได้ ก็สั่งใหพ้ ระวษิ ณุนาสาส์นไปบอกทา้ วสามลให้มาแข่งตีคลี ถา้ แพ้จะยดึ เมืองทนั ที ทา้ วสามลท้งั กลวั ท้งั ตกพระทยั แตพ่ อนึกถึงหกเขยก็คิดวา่ เขยท้งั หกน่าจะสู้ได้ จึงรับคาทา้

ทา้ วสามลบอกใหห้ กเขยเตรียมตวั ออกตีคลี หกเขยกลวั แต่กต็ อ้ งรับคาส่งั เตรียมแตง่ องคท์ รงเครื่องแลว้ เสดจ็ ข้ึนข่ีมา้ หกเขยไม่เคยตีคลีมาก่อน จึงตีผดิ ตีถูก ข่ีมา้ กนั ชุลมุน สุดทา้ ยก็ตอ้ ง ยอมแพ้ ทา้ วสามลอบัอาย จึงด่าวา่ ลูกเขยและลูกสาวของตน พระอินทร์ข่ีมา้ มาหาทา้ วสามล บอกว่าให้ลูกเขยคนเล็กออกมาตีคลีดูบา้ ง ทา้ วสามลไม่ไวใ้ จเจา้ เงาะ แต่นางมณฑาเห็นวา่ เจา้ เงาะ มีความสามารถในการหาเน้ือหาปลาไดม้ าก น่าจะมีฝีมืออยบู่ า้ ง ทา้ วสามลจึงตกลงกบั พระอินทร์ ใหม้ าสู้กนั ใหม่ในวนั รุ่งข้ึนนางมณฑาไปตามเงาะป่ าที่กระท่อมปลายนา เล่าเรื่องทุกขร์ ้อนใหน้ างรจนาฟัง และขอให้นางช่วยขอร้องเจา้ เงาะใหอ้ อกไปตีคลี นางรจนาแกลง้ บ่ายเบ่ียงแต่ก็ช่วยขอร้อง เจา้ เงาะจึงตกลง แต่ขอเคร่ืองทรงกษตั ริยจ์ ากนางมณฑา ทา้ วสามลเลือกเคร่ืองทรงที่ไม่ดีมากมาให้ แต่เจา้ เงาะไม่รับ ทา้ วสามลจึงจดัเครื่องทรงช้นั ดีไปให้ แต่เจา้ เงาะก็ไม่รับอีก เพราะเห็นวา่ เก่าเกินไป ถา้ แต่งไปจะ เป็ นท่ีอบั อายแก่ขา้ ศึกพระอินทร์เห็นเหตุการณ์ดว้ ยญาณทิพยจ์ ึงส่ังใหพ้ ระวิษณุจดั เครื่องทรงมาใหเ้ จา้ เงาะ เจา้ เงาะจึงยอมถอดรูป และแตง่ องคท์ รงเคร่ืองน้นัเมื่อนางมณฑาเห็นพระสังขม์ ีรูปร่างสง่างาม ก็รู้ความจริงจึงไปบอกทา้ วสามล ทา้ วสามล ไม่เช่ือจนไดเ้ ห็นกบั ตา แลว้ ก็บอกวา่ พระสงั ขน์ ้นั รูปงามยงิ่ นกั และเมื่อรู้ความจริงวา่ พระสังขเ์ ป็นโอรสกษตั ริยก์ ็อดชื่นชมไมไ่ ด้พระสังขท์ ูลขอมา้ ดี ๆ สาหรับการตีคลี ทา้ วสามลก็ให้เสนาไปจับมาให้ เมื่อพระสังข์ขี่มา้ เขา้ มาในเมือง ชาวเมืองเห็นรูปทองของพระสังข์ต่างก็ช่ืนชม แซ่ซ้องกนั เป็ นอนั มาก พี่ ๆ ของนางรจนาเห็นพระสังข์ก็ตะ ลึ งใ นความส ง่างาม จึ งทะ เล า ะ กับนางรจนาด้วย ความอิจฉา จนนางรจนากับพระสังข์เล่าความจริ งเรื่ องตัดจมูกกับหูลูกเขยท้ังหกเพราะขอแลกเน้ือและปลากับพระสังข์ทา้ วสามลกบั พระธิดาท้งั หกจึงรู้ความจริง โมโหเขยท้งั หกมากเมื่อถึงเวลาตีคลีพระสงั ขก์ บั พระอินทร์ขี่มา้ ออกไปตีคลี ท้งั สองสู้กนั สุดความสามารถจนเหาะข้ึนไปกลางอากาศ พระอินทร์แกลง้ ทาเป็นออ่ นให้ แลว้ เอ่ยดงั ๆ วา่ ลูกเขยทา้ วสามลคนน้ีมีฝีมือตีคลีมาก สมควรจะใหค้ รองเมืองสืบไป แลว้ ก็เหาะกลบั ไปสวรรค์ทา้ วสามลรีบลงไปรับพระสงั ข์ จดั ขา้ วปลาอาหารมาเล้ียงดูอยา่ งดี จากน้นั ในวนั รุ่งข้ึนจึงจดั การอภิเษกใหป้ กครองบา้ นเมืองและจดั ใหม้ ีมหรสพฉลองอยา่ งใหญ่โต

ตอนที่ ๙ ท้าวยศวมิ ลตามพระสังข์ พระอินทร์สงสารนางจนั ทเ์ ทวพี ระมารดาของพระสงั ขท์ ่ีถูกขบั ไล่ออกจากเมืองไปอยกู่ บัตายายในป่ า จึงคิดช่วยเหลือโดยใหท้ า้ วยศวมิ ลไปรับนางกลบั พระอินทร์มาท่ีวงั ของทา้ วยศวิมล แลว้ ขู่ทา้ วยศวิมลว่าถา้ ไม่อยากตายให้ไปรับนางจนั ท์เทวีและพระสงั ขก์ ลบั วงั ภายในเจด็ วนั แลว้ พระอินทร์ก็บอกท่ีอยขู่ องพระสงั ขแ์ ละนางจนั ทเ์ ทวี เช้าวนั รุ่งข้ึนทา้ วยศวิมลสั่งให้เสนาจดั พลตามหานางจนั ท์เทวี นางจนั ทารู้ข่าวก็พูดจาเยาะเยย้ประชดประชนั จนทา้ วยศวมิ ลเหลืออดควา้ ไมไ้ ล่ตีนางจนั ทา ทา้ วยศวิมลและเสนาออกไปป่ าตามหานางจนั ทเ์ ทวจี นพบ ทา้ วยศวิมลเล่าเร่ืองพระอินทร์มาบอกใหฟ้ ังวา่ พระสังขน์ ้นั ยงั ไม่ตาย ตอนน้ีเป็ นลูกเขยทา้ วสามลอยู่ นางจนั ทเ์ ทวดี ีใจจึงลาสองตายายไปตามหาลูก ทา้ วยศวมิ ลใหร้ างวลั ตากบั ยายมากมาย เพื่อตอบแทนที่ดูแลนางจนั ทเ์ ทวี ทา้ วยศวิมลและนางจนั ท์เทวีมาถึงเมืองสามล ก็ปลอมตวั เป็ นคนธรรมดา ฝ่ ายพระสังข์รู้สึกกระสบั กระส่ายนอนไม่หลบั ในคืนท่ีนางจนั ทเ์ ทวีมาถึงเมือง พอรุ่งเชา้ จึงจดั พลเสด็จเลียบเมืองทนั ที ทา้ วยศวิมลและนางจนั ทเ์ ทวีรู้วา่ เจา้ เมืองเสด็จก็ออกมาดู พอเห็นพระสังขก์ ็ไม่แน่ใจวา่ เป็ นลูก เพราะผิวพระสงั ขท์ ่ีนางเห็นน้นั เป็นสีทอง นางจนั ทเ์ ทวคี ิดอุบายสมคั รเป็นคนรับใชพ้ วกวิเสทท่ีมีหนา้ ท่ีทาของเสวยในวงั วนั หน่ึงนางทาแกงฟัก แลว้ แกะสลกั ฟักเป็ นเร่ืองราวของนางกบั ลูก ชิ้นท่ี ๑ แกะสลกั นางคลอดลูกเป็ นหอยสังข์ ชิ้นท่ี ๒ อุม้ลูกไปในป่ าดว้ ยความยากลาบาก ชิ้นที่ ๓ อยูก่ บั ตายาย ลูกออกมาช่วยไล่ไก่ ชิ้นท่ี ๔ นางทุบหอยสังข์ ชิ้นท่ี ๕ เสนาจบั ตวั ลูก ชิ้นท่ี ๖ ลูกถูกฆา่ อยา่ งไรก็ไม่ตาย ชิ้นท่ี ๗ ลูกถูกถ่วงน้า เม่ือพระสงั ขต์ กั แกงฟักข้ึนมาก็สงสัยจึงจดั เรียงฟัก เห็นเป็ นเรื่องราวของพระองค์ ก็ส่ังให้ไปตามผูท้ าแกงฟัก นางจนั ทเ์ ทวีรีบข้ึนมาเฝ้าพระสังข์ พระสังขจ์ าไดว้ ่าเป็ นพระมารดาจึงว่ิงเขา้ ไปกอด พระบาทกนั แสงจนสลบไปท้งั คู่ ฝ่ ายนางรจนาตกใจที่เห็นพระสงั ขส์ ลบไป กร็ ้องไหส้ ลบตามไปอีกคน ทา้ วสามลและนางมณฑาหาหมอมาแกไ้ ขจนฟ้ื น นางจนั ทเ์ ทวกี เ็ ล่าเรื่องราวแก่ทุกคน จากน้นั จึงพากนั ไปเฝ้าทา้ วยศวิมล ทา้ วยศวิมลนึกถึงคาพูดของพระอินทร์ จึงให้พระสังขก์ ลบั เมือง โดยมีนางรจนาติดตามไปดว้ ย ทา้ วสามลและนางมณฑาฝากพระธิดา และใหก้ ลบั มาเมืองสามลบา้ ง กษตั ริยท์ ้งั ส่ีออกเดินทางกลบั เมือง ทา้ วยศวมิ ลกบั พระสังขท์ รงชา้ ง ส่วนนางจนั ทเ์ ทวกี บั นางรจนาข้ึนรถทอง มีนางกานลั หอ้ มลอ้ มท้งั ซา้ ยขวา แซ่ซอ้ งดว้ ยเสียงดนตรีอยา่ งยงิ่ ใหญ่

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ ________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (________________________) ______ /_______ /______

บันทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา/อปุ สรรค__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิทานพืน้ บ้าน แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ สังข์ทองกบั วถิ ชี ีวติ คนไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใชต้ ดั สินใจแกป้ ัญหาใน การดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคญั จากเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๘ วเิ คราะห์คุณค่าท่ีไดร้ ับจากการอ่านงานเขียนอยา่ งหลากหลาย เพื่อนาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวติ ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอา่ น มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณค่า และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ตวั ชี้วดั ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นพร้อมยกเหตุผลประกอบ ท ๕.๑ ม. ๑/๓ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น ท ๕.๑ ม. ๑/๔ สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ นเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั๑. อธิบายอิทธิพลจากเร่ืองสังขท์ องท่ีมีต่อวถิ ีชีวติ ของคนไทย (K)๒. วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ของเร่ืองสงั ขท์ องกบั วถิ ีชีวติ ของคนไทย (P)๓. วเิ คราะห์คุณค่าของเรื่องสงั ขท์ อง (P)๔. เห็นความสาคญั ของนิทานพ้ืนบา้ นที่มีอิทธิพลตอ่ วถิ ีชีวติ ของคนไทย (A)

สาระสาคญั นิทานพ้ืนบา้ นเร่ืองสังขท์ องมีความสมั พนั ธ์กบั วถิ ีชีวติ ของคนไทยในทอ้ งถิ่นตา่ ง ๆ ท้งั ดา้ นจิตรกรรม เพลงกล่อมเดก็ การละเล่นพ้ืนบา้ น ปริศนาคาทาย และสานวนโวหาร สาระการเรียนรู้ อิทธิพลจากเร่ืองสังขท์ องท่ีมีตอ่ วถิ ีชีวิตของคนไทย สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทกั ษะการอ่าน - ทกั ษะการเขียน - ทกั ษะการฟัง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด - การใหเ้ หตุผล - การวเิ คราะห์ - การสรุปความรู้ - การประเมินคา่ ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ประส รักความเป็ นไทย ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมี ความกตญั ญูกตเวที ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๒ เห็นคุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๓ อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) - คาถามท้าทาย การท่ีเร่ืองสังขท์ องมีความสัมพนั ธ์กบั วิถีชีวิตของคนไทยหลายดา้ น นกั เรียนคิดวา่ เร่ืองราวของพระสงั ขน์ ้ีน่าจะเคยเกิดข้ึนจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้๑. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ความน่าสนใจของเร่ือง สงั ขท์ องท่ีทาใหค้ นไทยช่ืนชอบจนไดร้ ับความนิยมมาทุกยุคทุกสมยั เช่น การสร้างตวั ละครเอก คือ พระสังข์การดาเนินเรื่องที่สนุกสนานชวนให้ติดตาม การผจญภยั อนั น่าตื่นเตน้ มีฉาก ท้งั เมืองบาดาลเมืองยกั ษ์ สวรรค์ โลกมนุษย์ เรื่องราวสะทอ้ นอารมณ์ท่ีหลากหลายท้งั รัก สุข เศร้า อิจฉาริษยา ตลกขบขนั๒. ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เรื่อง นิทานพ้ืนบา้ นสังขท์ องกบั วถิ ีชีวติ คนไทย๓. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม ๗ กลุ่ม จบั ฉลากหวั ขอ้ เพื่อสรุปสาระสาคญั ของอิทธิพลจากเรื่องสังข์ทองที่มีต่อวถิ ีชีวติ ของคนไทย แลว้ ส่งตวั แทนออกมาพูดใหค้ วามรู้กบั เพ่ือน ๆ ตามหวั ขอ้ ที่ไดร้ ับ ดงั น้ี ความเชื่อเร่ืองสถานท่ี นิทานที่มีเน้ือเรื่องคลา้ ยกบั เร่ืองสงั ขท์ อง ภาพจิตรกรรม เพลงกล่อมเด็ก การละเล่นพ้ืนบา้ น ปริศนาคาทาย สานวนโวหาร๔. ให้นกั เรียนทุกกลุ่มร่วมกนั เล่นเกม “ถูกหรือผิดคิดให้ดี” ครูจะเป็ นผูด้ าเนินการแข่งขนั โดยอ่านขอ้ ความที่มีเน้ือหาเก่ียวกบั นิทานพ้ืนบา้ นสังขท์ องกบั วิถีชีวิตคนไทยให้นกั เรียนฟัง เพ่ือพิจารณาวา่ขอ้ ความน้นั ถูกหรือผิด เมื่อครูอ่านขอ้ ความจบ กลุ่มใดตอบไดใ้ ห้ส่งตวั แทนเป็ นผูย้ กมือ กลุ่มท่ียกมือได้ก่อนจะมีสิทธ์ิตอบ ถา้ ตอบถูกตอ้ งได้ ๑ คะแนน ถา้ ตอบไม่ถูกตอ้ ง กลุ่มอ่ืน ๆ มีสิทธ์ิ ยกมือขอตอบต่อไปกรณีท่ีขอ้ น้นั เป็ นขอ้ ความที่ผดิ หากนกั เรียนสามารถบอกขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งได้ จะไดเ้ พิ่มอีก ๑ คะแนนขอ้ ความที่ใชใ้ นการแข่งขนั เช่น มีภาพจิตรกรรมฝาผนงั ท่ีวหิ ารลายคา วดั พระสิงห์ จงั หวดั เชียงใหม่ มีภาพจิตรกรรมฝาผนงั ท่ีวดั อมั พวนั จงั หวดั สมุทรสงคราม “เพื่อนเขาเดินดิน หอยสังขเ์ น้ือนิลถือไมเ้ ทา้ เหาะ” เป็นเพลงกล่อมเดก็ ในภาคเหนือ (ผดิ เพราะเป็นเพลงกล่อมเด็กของภาคใต)้

 การตีคลีเป็นการละเล่นพ้นื บา้ นของคนทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ  “เป็นหอยก่อนเป็ นคน นามน้นั ใดนอ” เป็นปริศนาคาทายในภาคใต้ (ผดิ เพราะเป็นปริศนาคาทายของภาคกลาง)  “เขา้ ไปในทบั เห็นไอไ้ หร” อยใู่ นตอนนางมณฑาเรียกทา้ วสามลใหเ้ ขา้ ไปดู พระสงั ขเ์ ม่ือถอดรูปเงาะ  “เงาะถอดรูป” เป็นสานวนท่ีมีที่มาจากเรื่องสงั ขท์ อง  สานวน “นางรจนากบั เจา้ เงาะ” มีความหมายวา่ ไม่คู่ควรกนั (ผดิ เพราะเป็นสานวนท่ีเปรียบเทียบผหู้ ญิงหนา้ ตาดีแตม่ ีคู่ครองหนา้ ตาไม่ดีเท่าน้นั มิไดห้ มายรวมถึงประเดน็ อื่น) ๕. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มต้งั คาถามเกี่ยวกบั อิทธิพลของนิทานพ้ืนบา้ นสังขท์ องท่ีมีต่อ วถิ ีชีวติ คนไทย กลุ่มละ ๑ คาถาม ครูตรวจสอบคาถามของทุกกลุ่มไม่ใหซ้ ้ากนั จากน้นั ส่งตวั แทนกลุ่มออกมาถาม คาถามหนา้ ช้นั เรียน ใหเ้ พื่อนกลุ่มอื่นช่วยกนั ตอบ กลุ่มที่เป็นเจา้ ของคาถามตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๖. ใหน้ กั เรียนเขียนแสดงความรู้ ความคิดท่ีไดจ้ ากการศึกษาความสาคญั และคุณค่าของเร่ือง สังขท์ อง เพือ่ แสดงวา่ นกั เรียนตระหนกั ในคุณคา่ ของเร่ืองน้ี ครูตรวจสอบผลงานของนกั เรียนเป็ น รายบุคคล ๗. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี  นิทานพ้นื บา้ นเรื่องสงั ขท์ องมีความสมั พนั ธ์กบั วถิ ีชีวติ ของคนไทยในทอ้ งถ่ินต่าง ๆ ท้งั ดา้ นจิตรกรรม เพลงกล่อมเดก็ การละเล่นพ้นื บา้ น ปริศนาคาทาย และสานวนโวหาร ๘. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี  การท่ีเร่ืองสังขท์ องมีความสัมพนั ธ์กบั วถิ ีชีวติ ของคนไทยหลายดา้ น นกั เรียนคิดวา่ เร่ืองราวของพระสังขน์ ้ีน่าจะเคยเกิดข้ึนจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด การจดั บรรยากาศเชิงบวก ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้และทาความเขา้ ใจร่วมกนั จากน้นั ตรวจสอบความเขา้ ใจ ดว้ ยการเล่นเกม และการฝึกต้งั คาถามเพือ่ หาคาตอบดว้ ยตนเอง ส่ือการเรียนรู้ ๑. ฉลาก ๒. ขอ้ ความสาหรับเล่นเกมการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม

๒) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน ๒. เครื่องมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น ๑ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน ๒) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรุงกจิ กรรมเสนอแนะ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั คน้ ควา้ ความรู้เก่ียวกบั อิทธิพลของเร่ืองสงั ขท์ องเพม่ิ เติมจากแหล่ง การเรียนรู้ต่าง ๆ แลว้ นาความรู้ท่ีไดม้ าแลกเปลี่ยนกนั

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๗ นิทานพืน้ บ้านแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๔ สังข์ทองกบั วถิ ีชีวติ คนไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ เวลา ๑ ช่ัวโมงมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดัมาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใชต้ ดั สินใจแกป้ ัญหาใน การดาเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคญั จากเร่ืองท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๘ วเิ คราะห์คุณค่าที่ไดร้ ับจากการอา่ นงานเขียนอยา่ งหลากหลาย เพ่ือนาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิต ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอา่ น มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณค่า และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ตัวชี้วดั ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ ท ๕.๑ ม. ๑/๓ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น ท ๕.๑ ม. ๑/๔ สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่านเพ่ือประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริงจุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั ๑. อธิบายอิทธิพลจากเรื่องสังขท์ องที่มีต่อวถิ ีชีวติ ของคนไทย (K) ๒. วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ของเร่ืองสงั ขท์ องกบั วถิ ีชีวติ ของคนไทย (P) ๓. วเิ คราะห์คุณคา่ ของเร่ืองสังขท์ อง (P) ๔. เห็นความสาคญั ของนิทานพ้ืนบา้ นที่มีอิทธิพลตอ่ วถิ ีชีวติ ของคนไทย (A) สาระสาคญั นิทานพ้ืนบา้ นเร่ืองสังขท์ องมีความสัมพนั ธ์กบั วถิ ีชีวติ ของคนไทยในทอ้ งถ่ินต่าง ๆ ท้งั ดา้ นจิตรกรรม เพลงกล่อมเด็ก การละเล่นพ้นื บา้ น ปริศนาคาทาย และสานวนโวหาร

สาระการเรียนรู้ อิทธิพลจากเรื่องสงั ขท์ องที่มีต่อวถิ ีชีวติ ของคนไทยสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทกั ษะการอ่าน - ทกั ษะการเขียน - ทกั ษะการฟัง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด - การใหเ้ หตุผล - การวเิ คราะห์ - การสรุปความรู้ - การประเมินค่า ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ปรระักสความเป็ นไทย ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมี ความกตญั ญูกตเวที ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๒ เห็นคุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ตวั ช้ีวดั ที่ ๗.๓ อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) - คาถามท้าทาย การที่เรื่องสังขท์ องมีความสัมพนั ธ์กบั วิถีชีวิตของคนไทยหลายดา้ น นกั เรียนคิดวา่ เรื่องราวของ พระสงั ขน์ ้ีน่าจะเคยเกิดข้ึนจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้๑. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ความน่าสนใจของเร่ือง สงั ขท์ องที่ทาให้คนไทยช่ืนชอบจนไดร้ ับความนิยมมาทุกยุคทุกสมยั เช่น การสร้างตวั ละครเอก คือ พระสังข์การดาเนินเร่ืองที่สนุกสนานชวนให้ติดตาม การผจญภยั อนั น่าต่ืนเตน้ มีฉาก ท้งั เมืองบาดาลเมืองยกั ษ์ สวรรค์ โลกมนุษย์ เรื่องราวสะทอ้ นอารมณ์ที่หลากหลายท้งั รัก สุข เศร้า อิจฉาริษยา ตลกขบขนั๒. ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เร่ือง นิทานพ้นื บา้ นสงั ขท์ องกบั วิถีชีวติ คนไทย๓. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม ๗ กลุ่ม จบั ฉลากหวั ขอ้ เพ่ือสรุปสาระสาคญั ของอิทธิพลจากเรื่องสังข์ทองท่ีมีต่อวถิ ีชีวติ ของคนไทย แลว้ ส่งตวั แทนออกมาพูดใหค้ วามรู้กบั เพ่ือน ๆ ตามหวั ขอ้ ที่ไดร้ ับ ดงั น้ี  ความเชื่อเรื่องสถานที่  นิทานที่มีเน้ือเรื่องคลา้ ยกบั เรื่องสังขท์ อง  ภาพจิตรกรรม  เพลงกล่อมเดก็  การละเล่นพ้ืนบา้ น  ปริศนาคาทาย  สานวนโวหาร๔. ให้นกั เรียนทุกกลุ่มร่วมกนั เล่นเกม “ถูกหรือผิดคิดให้ดี” ครูจะเป็ นผูด้ าเนินการแข่งขนั โดยอ่านขอ้ ความท่ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั นิทานพ้ืนบา้ นสังข์ทองกบั วิถีชีวิตคนไทยให้นกั เรียนฟัง เพ่ือพิจารณาว่าขอ้ ความน้นั ถูกหรือผิด เม่ือครูอ่านขอ้ ความจบ กลุ่มใดตอบไดใ้ ห้ส่งตวั แทนเป็ นผูย้ กมือ กลุ่มที่ยกมือได้ก่อนจะมีสิทธ์ิตอบ ถา้ ตอบถูกตอ้ งได้ ๑ คะแนน ถา้ ตอบไม่ถูกตอ้ ง กลุ่มอ่ืน ๆ มีสิทธ์ิ ยกมือขอตอบต่อไปกรณีท่ีขอ้ น้นั เป็ นขอ้ ความท่ีผดิ หากนกั เรียนสามารถบอกขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งได้ จะไดเ้ พ่ิมอีก ๑ คะแนนขอ้ ความที่ใชใ้ นการแข่งขนั เช่น มีภาพจิตรกรรมฝาผนงั ที่วิหารลายคา วดั พระสิงห์ จงั หวดั เชียงใหม่ มีภาพจิตรกรรมฝาผนงั ที่วดั อมั พวนั จงั หวดั สมุทรสงคราม “เพ่อื นเขาเดินดิน หอยสังขเ์ น้ือนิลถือไมเ้ ทา้ เหาะ” เป็นเพลงกล่อมเดก็ ในภาคเหนือ (ผดิ เพราะเป็นเพลงกล่อมเด็กของภาคใต)้ การตีคลีเป็นการละเล่นพ้นื บา้ นของคนทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ “เป็นหอยก่อนเป็ นคน นามน้นั ใดนอ” เป็นปริศนาคาทายในภาคใต้ (ผดิ เพราะเป็นปริศนาคาทายของภาคกลาง) “เขา้ ไปในทบั เห็นไอไ้ หร” อยใู่ นตอนนางมณฑาเรียกทา้ วสามลใหเ้ ขา้ ไปดู พระสังขเ์ มื่อถอดรูปเงาะ “เงาะถอดรูป” เป็นสานวนท่ีมีที่มาจากเร่ืองสังขท์ อง

สานวน “นางรจนากบั เจา้ เงาะ” มีความหมายวา่ ไมค่ ูค่ วรกนั (ผดิ เพราะเป็นสานวนที่เปรียบเทียบผหู้ ญิงหนา้ ตาดีแตม่ ีคู่ครองหนา้ ตาไมด่ ีเท่าน้นั มิไดห้ มายรวมถึงประเด็นอื่น) ๕. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มต้งั คาถามเก่ียวกบั อิทธิพลของนิทานพ้ืนบา้ นสังขท์ องท่ีมีต่อ วถิ ีชีวติคนไทย กลุ่มละ ๑ คาถาม ครูตรวจสอบคาถามของทุกกลุ่มไมใ่ หซ้ ้ากนั จากน้นั ส่งตวั แทนกลุ่มออกมาถามคาถามหนา้ ช้นั เรียน ใหเ้ พ่ือนกลุ่มอื่นช่วยกนั ตอบ กลุ่มท่ีเป็นเจา้ ของคาถามตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๖. ใหน้ กั เรียนเขียนแสดงความรู้ ความคิดท่ีไดจ้ ากการศึกษาความสาคญั และคุณค่าของเรื่องสงั ขท์ อง เพื่อแสดงวา่ นกั เรียนตระหนกั ในคุณค่าของเรื่องน้ี ครูตรวจสอบผลงานของนกั เรียนเป็ นรายบุคคล ๗. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี  นิทานพ้นื บา้ นเร่ืองสังขท์ องมีความสมั พนั ธ์กบั วถิ ีชีวติ ของคนไทยในทอ้ งถิ่นตา่ ง ๆ ท้งัดา้ นจิตรกรรม เพลงกล่อมเด็ก การละเล่นพ้นื บา้ น ปริศนาคาทาย และสานวนโวหาร ๙. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี  การที่เรื่องสังขท์ องมีความสัมพนั ธ์กบั วถิ ีชีวติ ของคนไทยหลายดา้ น นกั เรียนคิดวา่ เรื่องราวของพระสงั ขน์ ้ีน่าจะเคยเกิดข้ึนจริงหรือไม่ เพราะเหตุใดการจดั บรรยากาศเชิงบวก ดว้ ยการ ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้และทาความเขา้ ใจร่วมกนั จากน้นั ตรวจสอบความเขา้ ใจเล่นเกม และการฝึกต้งั คาถามเพอื่ หาคาตอบดว้ ยตนเอง ส่ือการเรียนรู้ ๑.ฉลาก ๒. ขอ้ ความสาหรับเล่นเกมการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน๒. เครื่องมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

๓. เกณฑ์การประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น ๑ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน ๒) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรุง กจิ กรรมเสนอแนะ การ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั คน้ ควา้ ความรู้เกี่ยวกบั อิทธิพลของเร่ืองสังขท์ องเพม่ิ เติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แลว้ นาความรู้ที่ไดม้ าแลกเปล่ียนกนั

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ ________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (________________________) ______ /_______ /______

บันทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา/อปุ สรรค__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/___

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ ________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (________________________) ______ /_______ /______

บันทกึ หลงั การสอนผลการจัดการเรียนการสอน__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ปัญหา/อปุ สรรค__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________แนวทางแก้ไข__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ__________________ (ผบู้ นั ทึก) (__________________) _____/_____/_____

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ นิทานพืน้ บ้าน แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ นิทานพืน้ บ้านสะท้อนชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใชต้ ดั สินใจแกป้ ัญหาใน การดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอา่ น ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคญั จากเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอา่ น จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั ๑. อธิบายเรื่องราวของนิทานพ้ืนบา้ นในภาคตา่ ง ๆ (K) ๒. วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นจากนิทานพ้ืนบา้ นของแตล่ ะภาค (P) ๓. เห็นความสาคญั ของการศึกษานิทานพ้ืนบา้ นในแต่ละภาคเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจสภาพแวดลอ้ มและ วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินของภาคน้นั ๆ (A) สาระสาคญั นิทานพ้ืนบา้ นในภาคตา่ ง ๆ จะมีเรื่องราวแตกตา่ งกนั ตามสภาพแวดลอ้ มและลกั ษณะทางวฒั นธรรมของแต่ละทอ้ งถ่ิน สาระการเรียนรู้

นิทานพ้นื บา้ นในภาคต่าง ๆ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทกั ษะการอ่าน - ทกั ษะการเขียน - ทกั ษะการฟัง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด - การวเิ คราะห์ - การสรุปความรู้ ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ประสรักความเป็ นไทย ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมี ความกตญั ญูกตเวที ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๒ เห็นคุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๓ อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทยชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) - คาถามท้าทาย นิทานพ้นื บา้ นสะทอ้ นภาพอะไรในทอ้ งถิ่น การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี  นิทานพ้ืนบา้ นสะทอ้ นภาพอะไรในทอ้ งถิ่น ๒. ใหน้ กั เรียนแบ่งเป็น ๕ กลุ่ม ศึกษาลกั ษณะของนิทานพ้นื บา้ นในภาคตา่ ง ๆ ดงั น้ี  กลุ่มท่ี ๑ นิทานพ้ืนบา้ นภาคเหนือ

 กลุ่มที่ ๒ นิทานพ้ืนบา้ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ  กลุ่มที่ ๓ นิทานพ้นื บา้ นภาคกลาง  กลุ่มที่ ๔ นิทานพ้ืนบา้ นภาคตะวนั ออก  กลุ่มท่ี ๕ นิทานพ้ืนบา้ นภาคใต้ ๓. เม่ือนกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเขา้ ใจแลว้ ใหส้ ่งตวั แทนออกมาอธิบายความรู้ใหเ้ พื่อนฟังหนา้ช้นั เรียน ๔. ครูช่วยอธิบายเพ่มิ เติมและสรุปใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ การศึกษานิทานพ้นื บา้ นจะช่วยใหเ้ ขา้ ใจวถิ ีชีวติ ค่านิยม และความเช่ือของบรรพบุรุษ ซ่ึงเป็นรากฐานพฤติกรรมและวถิ ีชีวติ ของคน ในปัจจุบนั จากขอ้ มูลขา้ งตน้ จะเห็นวา่ นิทานพ้ืนบา้ นมีลกั ษณะเฉพาะประจาถ่ิน แต่มีนิทาน บางเร่ืองท่ีปรากฏในทุกภาคของประเทศไทย ซ่ึงอาจเกิดจากเน้ือเรื่องของนิทานมีความสนุกสนานเพลิดเพลิน จึงเป็นที่นิยมในทุกทอ้ งถิ่น เช่น เร่ืองสังขท์ อง นางสิบสอง ปลาบู่ทอง นิทานเหล่าน้ี มีท้งั ความเหมือนและความแตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะเฉพาะของทอ้ งถิ่น ๕. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มฟังขอ้ ความหรือช่ือนิทานท่ีครูอ่าน หากเก่ียวขอ้ งกบั นิทานพ้ืนบา้ นในภาคใดให้กลุ่มที่ศึกษานิทานพ้ืนบา้ นของภาคน้นั พูดช่ือของภาคตนเองพร้อมกนั ทุกคนร่วมกนัตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๑) เน้ือเร่ืองกล่าวถึงความแหง้ แลง้ การขอฝน และบทบาทของพญาแถน (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) ๒) เน้ือเรื่องเก่ียวกบั แม่น้าลาคลอง หรือตานานของสถานที่สาคญั (ภาคกลาง) ๓) เน้ือเร่ืองเก่ียวกบั พระพุทธเจา้ หรือความเป็นมาของสถานท่ีท่ีเก่ียวกบั พระพทุ ธประวตั ิ (ภาคเหนือ) ๔) เน้ือเร่ืองเก่ียวกบั ท่ีมาของเกาะและสิ่งที่เก่ียวกบั ทะเล (ภาคตะวนั ออก) ๕) เน้ือเร่ืองเก่ียวกบั ที่มาของภูเขา เกาะ และชายหาด (ภาคใต)้ ๖) เน้ือเรื่องเกี่ยวกบั ท่ีมาของชื่อเมือง การสร้างพระธาตุเจดีย์ (ภาคเหนือ) ๗) เร่ืองพญาคนั คาก (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) ๘) เรื่องพญากงพญาพาน (ภาคกลาง)

๙) เรื่องไกรทอง (ภาคกลาง) ๑๐) เร่ืองตาม่องล่าย (ภาคตะวนั ออก) ๑๑) เรื่องเจา้ แมล่ ิ้มกอเหนี่ยว (ภาคใต)้ ๑๒) เร่ืองเกาะหนู เกาะแมว (ภาคใต)้ ๑๓) เร่ืองความเป็ นมาของชื่อคลองสองพ่นี อ้ งและบา้ นแม่หมา้ ย (ภาคกลาง) ๑๔) เรื่องก่ากาดา (ภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) ๑๕) เร่ืองสงั ขท์ อง (ทุกภาค) ๖. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี  นิทานพ้นื บา้ นในภาคต่าง ๆ จะมีเร่ืองราวแตกต่างกนั ตามสภาพแวดลอ้ มและลกั ษณะทาง วฒั นธรรมของแต่ละทอ้ งถิ่นการจดั บรรยากาศเชิงบวก ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มศึกษาความรู้ แลว้ นามาอธิบายใหเ้ พ่อื นฟังเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กนั จากน้นั ทากิจกรรมกลุ่มเพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจ สื่อการเรียนรู้ - การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน

๒. เครื่องมือ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม๓. เกณฑ์การประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น ๑ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน ๒) การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรุง

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ ________________________ (ผบู้ ริหารสถานศึกษา) (นายวนิ ยั คาวเิ ศษ) ______ /_______ /______


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook