Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๔๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน

๔๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน

Description: ๔๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน

Search

Read the Text Version

“เราจะครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแหง่ มหาชนชาวสยาม” พระปฐมบรมราชโองการ ในการพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก วันท่ี ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓









ค�ำน�ำ นับเป็นเวลากว่า ๖๗ ปีแห่งการครองราชย์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ เพอ่ื บ�ำบัดความทุกข์ยากและเพอื่ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนทวั่ ทกุ ภูมภิ าคของประเทศ แม้ในทอ้ งถิน่ ทรุ กันดารหา่ งไกล ทรงห่วงใย และไมเ่ คยทอดท้งิ ประชาชน จึงก่อให้เกิดโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ โดยมีจุดมงุ่ หมายให้ประชาชนมีความเป็นอยู่อย่าง พอเพยี งควบคูก่ บั การพฒั นาทย่ี ่งั ยืน ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ในฐานะ หน่วยงานกลางในการประสานแผนและความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือให้การด�ำเนินโครงการเป็นไปตามแนว พระราชด�ำริ โดยอาศัยหลกั การทรงงาน อาทิ เศรษฐกิจพอเพียง ความประหยัด เรยี บง่าย ใช้ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ แก้ไขปญั หา จากจุดเล็ก ด�ำเนินการตามล�ำดับขั้นตอน ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ การให้ประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวม โดยตลอดระยะเวลาท่ีผา่ นมาจนถึงปจั จบุ ัน ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๖ มโี ครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำ� รแิ ล้ว ๔,๓๕๐ โครงการ ที่ได้พระราชทานแก่ประชาชนท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ ท้ังโครงการด้านการพัฒนาแหล่งน้�ำ ด้านการเกษตร ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านส่งเสริมอาชีพ ด้านคมนาคมส่ือสาร ด้านสวัสดิการสังคม ด้านสาธารณสุข และด้านอื่นๆ ซ่ึงล้วนเป็นโครงการที่เป็นไป เพอื่ ประโยชนส์ ขุ แก่ประชาชน ในโอกาสท่ี ส�ำนักงาน กปร. ได้ร่วมกับกองทัพไทย จัดงานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศ์ จึงได้จัดท�ำหนังสือ “๔,๓๕๐ การทรงงาน เพ่ือประโยชน์สุข แห่งมหาชน” เพ่ือแสดงให้ประจักษ์ถึงผลส�ำเร็จท่ีเกิดข้ึนจากโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริท้ัง ๔,๓๕๐ โครงการ ประโยชนส์ ขุ ทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ประชาชนในภมู ภิ าคตา่ งๆ และเผยแพรแ่ นวพระราชดำ� ริ และหลกั การทรงงาน ซงึ่ ประชาชนสามารถนอ้ มนำ� ไปปฏิบตั ิและเดนิ ตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาทอนั จะเปน็ รากฐานของการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต และเป็นการพฒั นาอยา่ งยั่งยืนตอ่ ไป สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนกั งาน กปร.)



สารบญั สาร พลเอก ธนะศกั ดิ์ ปฏมิ าประกร ผ้บู ัญชาการทหารสูงสดุ .........................................................................๙ สาร นายสุวฒั น์ เทพอารกั ษ์ เลขาธิการ กปร. ...................................................................................................๑ ๐ สาร พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก............................................................................. ๑๒ สาร พลเรอื เอก สรุ ศกั ด์ิ หรุ่นเริงรมย์ ผ้บู ญั ชาการทหารเรือ.......................................................................๑ ๓ สาร พลอากาศเอก ประจิน จ่ันตอง ผบู้ ญั ชาการทหารอากาศ.................................................................... ๑๔ สาร พลตำ� รวจเอก อดลุ ย์ แสงสงิ แกว้ ผบู้ ญั ชาการตำ� รวจแห่งชาต.ิ .......................................................... ๑๕ สว่ นท่ ี๑ : ๔๓๕๐ การทรงงาน เพ่อื ประโยชน์สุขแห่งมหาชน........................................................๑ ๗ สว่ นที ๒ : ผลส�ำเร็จโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ.............................................................๓๓ l โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริเขตพ้นื ทภ่ี าคกลาง..................................................... ๓๓ l โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริเขตพ้นื ทภ่ี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ............................ ๕๕ l โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ� รเิ ขตพื้นทีภ่ าคเหนอื ..................................................... ๗๓ l โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริเขตพืน้ ทภ่ี าคใต.้ ......................................................... ๘๙ สว่ นที่ ๓ : การขยายผลสู่ประชาชน.................................................................................................... ๑๐๕ l เมนูทโ่ี ดดเด่นของศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาฯ ทงั้ ๖ แห่ง....................................................๑ ๐๕ l เศรษฐกจิ พอเพยี ง : กระบวนการต้นน�้ำ กลางน�ำ้ ปลายน้�ำ......................................... ๑๒๗ l โครงการพฒั นาแหลง่ น้�ำอนั เน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ ...เพราะน�้ำคือชวี ติ ... .................. ๑๓๕ l หญา้ แฝก : ความมหัศจรรย์บนผืนดนิ ............................................................................. ๑๔๗ สว่ นท่ี ๔ : ประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชน.................................................................................................... ๑๕๕ l ประโชน์สขุ ของราษฎรจากภูมิภาคตา่ งๆ.......................................................................... ๑๕๕ -  ภาคกลาง...................................................................................................................... ๑๕๕ -  ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ............................................................................................. ๑๖๐ -  ภาคเหนอื ...................................................................................................................... ๑๖๔ -  ภาคใต.้ .......................................................................................................................... ๑๖๖ สว่ นท่ี ๕ : บทสรปุ แห่งการพฒั นา..................................................................................................... ๑๗๑ ภาคผนวก......................................................................................................................................................๑ ๘๐



สารผูบ้ ญั ชาการทหารสงู สุด พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ ดว้ ย พระราชหฤทยั อนั มงุ่ มนั่ ทมุ่ เทพระวรกาย พระวริ ยิ อตุ สาหะ และทรงงานหนกั เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมุ่งหวังให้ประชาชนมีความเป็น อยู่ที่ดีขึ้น จนเป็นท่ีมาของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซึ่งปรากฏ อยู่ท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ ท่ีพระราชทานใหก้ ับปวงชนชาวไทย พลเอก ธนะศกั ด์ิ ปฏมิ าประกร กองทัพไทยเป็นหน่วยงานด้านความม่ันคงมีภารกิจส�ำคัญตาม ผ้บู ัญชาการทหารสงู สดุ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประการหนึ่งคือ การพัฒนาประเทศ จงึ ได้สนองพระราชด�ำริของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ด้วยการสนบั สนุน ก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์อย่างทุ่มเท และเต็มความสามารถ เพ่ือด�ำเนินงาน โครงการดงั กลา่ วใหเ้ ปน็ รปู ธรรมอยา่ งแทจ้ รงิ และขยายผลความสำ� เรจ็ ของโครงการไปสปู่ ระชาชน อนั จะเปน็ การเสรมิ สรา้ งยทุ ธศาสตร์ ความม่ันคงตามแนวชายแดนให้มีความเข้มแข็ง สามารถอยรู่ ว่ มกันกบั ประเทศเพ่ือนบา้ นได้อย่างสงบสขุ ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน กองทัพไทย ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน จึงได้ร่วมกัน จัด “นิทรรศการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ภายใต้หัวข้อ “ใต้ร่มพระบารมจี ักรวี งศ”์ ในระหวา่ งวันท่ี ๑๓ - ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ ศนู ยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เพือ่ แสดงออกถงึ ความจงรกั ภกั ดแี ละสำ� นึกในพระมหากรุณาธิคณุ ต่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ การจดั ทำ� หนงั สือ “๔,๓๕๐ การทรงงาน เพ่ือประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน” ทส่ี �ำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงาน โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริไดจ้ ดั ทำ� ขึน้ เพื่อแจกใหก้ บั ผทู้ ีเ่ ขา้ ชมนิทรรศการฯ นบั วา่ เปน็ หนังสือที่มีคุณค่ายงิ่ โดยไดร้ วบรวม เนอื้ หาความเป็นมา และการด�ำเนินงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริในรปู แบบต่างๆ ไวใ้ นเอกสารเลม่ เดียวกัน ซึ่งนอกจาก จะเป็นการเทดิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ และพระบรมวงศานุวงศแ์ ล้ว ยงั จะ เป็นประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยได้ศึกษาเรียนรู้ สามารถน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในการด�ำรงชีวิตให้มี ความสุขไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ตลอดไป พลเอก (ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร) ผบู้ ัญชาการทหารสูงสดุ

สารเลขาธกิ าร กปร. พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงงาน ๔,๓๕๐ โครงการใน ๗๗ จังหวัดท่ัวไทย นายสุวฒั น์ เทพอารักษ์ ผมเป็นผู้หนึ่งท่ีมีโอกาสได้ท�ำงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริมานานถึง ๓๒ ปี ภายใต้ส�ำนักงาน กปร. ซ่ึงเป็นหน่วยงาน เลขาธิการคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงาน ท่ีมีหน้าที่ประสานงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ภารกิจ โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ส�ำคัญ คือ ติดตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศ์ ในการรวบรวมพระราชด�ำริและน�ำมา ประสานกบั หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง คือ ภาครัฐ รัฐวสิ าหกิจ เอกชนตา่ งๆ เพอ่ื ใหโ้ ครงการเกดิ ประโยชน์ เกดิ ประสทิ ธภิ าพและแกป้ ญั หาใหก้ บั พนี่ อ้ งประชาชน ได้อย่างแทจ้ รงิ โครงการตา่ งๆ จึงเกิดขึ้นจากพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แหง่ มหาชนชาวสยาม” และสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ มีพระราชด�ำรัสไวต้ อนหนึ่งว่า “...ไม่พงึ พอใจ ท่ีเพียงแต่เย่ียมเยียนราษฏรหรือเพียงแต่ท�ำในส่ิงท่ีเคยท�ำกันเป็นประเพณี เราต้องพยายามท�ำดีกว่านี้ เราต้อง พยายามช่วยรัฐบาลส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เพราะว่าเราเป็นประเทศด้อยพัฒนา ดังนั้น การเพียงแต่ไปเย่ียมเยียนราษฎรถือว่าเป็นหน้าท่ีของประมุขของประเทศจะต้องท�ำตามประเพณีนั้น เป็นเร่ือง ไรส้ าระ…” จากพระราชดำ� รสั ดงั กลา่ ว แสดงใหเ้ หน็ วา่ ไมไ่ ดท้ รงตอ้ งการเสดจ็ ฯ ไปทรงเยยี่ มประชาชนเทา่ นนั้ แตส่ ง่ิ ท่ี อยใู่ นพระราชหฤทยั ตลอดเวลา คอื ตอ้ งสามารถมสี ว่ นรว่ มในการบรรเทาความทกุ ขย์ ากของประชาชน หากไมส่ ามารถ มสี ว่ นร่วมในการบรรเทาความทกุ ข์ยากของประชาชนแลว้ ก็ถอื ว่าการเป็นประมุขของประเทศประสบความลม้ เหลว โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รซิ งึ่ เปน็ โครงการแรก เกดิ ขนึ้ เมอ่ื ประมาณ ๖๐ ปที แี่ ลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทรงเย่ียมประชาชนท่ีอ�ำเภอหัวหิน ระหว่างทางรถติดหล่ม ท้ังทหาร ต�ำรวจและชาวบ้าน พยายามชว่ ยกนั เข็นรถ จนกระท่งั ขบวนเสด็จฯ เดินทางตอ่ ไปได้ เหตกุ ารณน์ น้ั ท�ำให้เหน็ วา่ แมแ้ ต่พระมหากษัตริยย์ งั ประสบความยากลำ� บากขนาดน้ี แลว้ ประชาชนในพนื้ ทต่ี อ้ งยากลำ� บากในการเดนิ ทางมาก ไดพ้ ระราชทานพระราชดำ� ริ แก้ไขปัญหา โดยพระราชทานรถส�ำหรับสร้างถนนให้กับต�ำรวจตระเวนชายแดน เพื่อไปสร้างถนนให้กับชาวบ้าน

แสดงให้เห็นว่าเมื่อทรงพบปัญหาของประชาชนก็ไม่ได้ทรงละเลยหรือทิ้งปัญหานั้นไป แต่มีพระราชด�ำริว่าจะช่วยประชาชนอย่างไร นอกจากน้ี ยงั มโี ครงการอน่ื ๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในอ�ำเภอหวั หนิ เชน่ โครงการอ่างเกบ็ น�้ำแห่งแรกท่ีเขาเต่า เนือ่ งจากบรเิ วณนนั้ มีแตน่ �้ำเคม็ จึงมีพระราชดำ� รใิ หค้ ดิ สรา้ งอา่ งเก็บน้�ำจดื โดยพระราชทานพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ ใหเ้ ร่มิ ต้นด�ำเนนิ การ ปัจจุบันทางส�ำนักงาน กปร. ได้พยายามรวบรวมข้อมูลโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริท้ังหมด นับได้เฉพาะจุด หรือสถานท่ีที่สามารถรู้พิกัดชัดเจนว่า ขณะน้ีมี ๔,๓๕๐ โครงการในทุกจังหวัดของประเทศไทย แสดงให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เคยเสด็จฯ ไปทรงเย่ียมราษฎรทั้ง ๗๗ จังหวัด โดยโครงการหลักท่ีมี พระราชด�ำริมากท่ีสุด คือ “การพัฒนาแหล่งน�้ำ” จ�ำนวน ๒,๙๕๕ โครงการ ซึ่งเป็นการบริหารจัดการน�้ำตั้งแต่บนท้องฟ้ามาสู่ ตน้ น�้ำจนถงึ ปลายนำ�้ ตั้งแตภ่ าคเหนือของประเทศไทย บริหารจัดการนำ้� ตั้งแต่เกิดเปน็ ฝนตกหยดแรก จนลงมาเป็นแม่นำ�้ ปงิ วงั ยม นา่ น ไหลมาเรอื่ ยๆ จนออกทะเล จากสถิติประเทศไทยพบวา่ ฝนจะตกปีละประมาณ ๗ แสนลา้ นลกู บาศกเ์ มตร แต่อ่างเกบ็ น้ำ� เขอื่ นเก็บนำ�้ ในประเทศไทย สามารถเกบ็ นำ�้ ฝนได้ไม่เกนิ รอ้ ยละ ๑๐ จงึ มพี ระราชด�ำรใิ หห้ าทีเ่ ก็บนำ้� และสถานที่ท่เี ก็บนำ�้ ท่ดี ที สี่ ดุ คอื “ปา่ ” ปา่ มีเนอื้ ทีเ่ ปน็ ลา้ นไร่ อมุ้ นำ้� และจะคอ่ ยๆ คายน�้ำโดยธรรมชาติ ฉะนั้นหากบ�ำรงุ รกั ษาและสร้างปา่ ใหด้ จี ะเป็นประโยชนม์ าก มีพระราชด�ำริให้ทรงท�ำฝายเล็กๆ ในป่าเพื่อชะลอน�้ำไว้ในป่าให้มากที่สุด เม่ือน้�ำค่อยๆ ไหลลงมาจึงให้ปลูกหญ้าแฝก เพื่อไปดักน้�ำไว้ ก่อนที่น้�ำจะลงมาที่เชิงเขา สร้างอ่างเก็บน้�ำ สร้างเข่ือนไว้เพื่อแก้ปัญหาน้�ำท่วม ท�ำแก้มลิง ทางก้ันน�้ำ ทางน�้ำผ่าน สดุ ทา้ ยเมื่อใชน้ �ำ้ ตา่ งๆ เป็นประโยชนแ์ ล้ว นำ้� เหล่าน้ันเกิดเป็นนำ้� เสยี จึงคิดหาวธิ บี ำ� บดั น้�ำเสีย เกดิ เป็นโครงการกังหนั นำ�้ ชัยพฒั นา ใช้พืชตา่ งๆ ในการบำ� บัดน้ำ� เสีย สุดท้ายน�้ำจะลงไปทปี่ ่าชายเลน ชว่ ยกรองนำ�้ และดักน�ำ้ เสียก่อนลงสู่ทะเล นีค่ อื ความเช่ือมโยงของโครงการท้ังหมดทีเ่ กย่ี วกับเรอ่ื งน้�ำ ทมี่ พี ระราชดำ� รบิ รหิ ารจดั การ ท่กี ล่าวมาเป็นเพยี งเรอื่ งเดียว ยังมเี รอ่ื งอืน่ ๆ อาทิ การเกษตรกรรม, ส่งิ แวดลอ้ ม, การสง่ เสรมิ อาชีพ, การคมนาคมสือ่ สาร, การสวสั ดกิ ารสังคม และอกี มากมาย โดยทง้ั ๔,๓๕๐ โครงการ แยกเป็นโครงการท่ีเกิดขน้ึ ในภาคเหนอื ๑,๕๘๘ โครงการ ภาคกลาง/กทม. ๘๑๔ โครงการ ภาคตะวัน ออกเฉยี งเหนอื ๑,๐๒๔ โครงการ และภาคใต้ ๗๗๔ โครงการ ส�ำนักงาน กปร. ขอขอบคุณ กองทัพไทย ท่ีร่วมกันจัดงานเฉลิมพระเกียรติในครั้งนี้ เพื่อแสดงให้ประจักษ์ถึงผลส�ำเร็จ ของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ “๔,๓๕๐ การทรงงาน เพ่ือประโยชน์สุขแห่งมหาชน” และเช่ือม่ันอย่างยิ่งว่าการได้ รว่ มกนั ขบั เคลอ่ื นขยายผลสำ� เรจ็ และองคค์ วามรขู้ องโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รจิ ะเปน็ แรงพลงั สรา้ งประโยชนส์ ขุ สปู่ ระชาชน อยา่ งย่ังยนื ตลอดไป (นายสุวฒั น์ เทพอารักษ์) เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ

สารผบู้ ญั ชาการทหารบก พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งม่ันในการที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของพสกนิกรชาว ผูบ้ ญั ชาการทหารบก ไทย เสมือนหนึ่งเปน็ ความทกุ ข์ของพระองค์ พระองคจ์ งึ ทรงมีพระราชดำ� ริท่จี ะพฒั นา ความเป็นอยู่ของพสกนิกรให้เกิดความ “พออยู่ พอกิน” ด้วยพระอัจฉริยภาพและ สายพระเนตรอันยาวไกลของพระองค์ จึงทรงพระราชทานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชด�ำริหลายโครงการกระจายอยู่ท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศไทย ซ่ึงนอกจากจะ แสดงถึงความห่วงใยของพระองค์ที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยแล้ว ยังสามารถยืนยัน ได้ถึงพระปรีชาสามารถของพระองค์ว่าทรงพระราชทานแนวทางในการแก้ปัญหา ตา่ งๆ เหลา่ นนั้ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและตรงเปา้ หมายอกี ดว้ ย กองทัพบก ได้สนองพระราชดำ� ริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ โดยได้ให้ความส�ำคัญสงู สดุ ตอ่ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รแิ ละถือเป็นความเร่งด่วน อันดับแรก ท่ีจะต้องด�ำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยเร็วท่ีสุด โดยการใช้ก�ำลังพลและทรัพยากรท่ีมีอยู่เข้าร่วม ด�ำเนินการ และเป็นแกนกลางในการประสานงานกับส่วนราชการต่างๆ ที่เข้าร่วมด�ำเนินการ โดยมุ่งเน้นการร่วมมือ กับทกุ หนว่ ยงาน เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดตอ่ ประชาชน ซ่ึง กองทพั บก ไดด้ ำ� เนนิ การมาอย่างต่อเนือ่ งพรอ้ มกบั สรา้ ง ประโยชน์ให้กับประชาชนในพนื้ ทเ่ี ปน็ จำ� นวนมาก ด้วยพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอย่างหาท่ีสุดมิได้ กองทัพบก จะเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท โดยการน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริในการส่งเสริมการเรียนรู้ในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริให้มีความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น เพ่ือยกระดับฐานะความเป็นอยู่และส่งเสริมอาชีพของประชาชน รวมท้ังส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และกระตุ้นจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการ เสริมสรา้ งความมั่นคง สงบสุขของชาติ และดำ� เนินงานตามอุดมการณ์ เพอ่ื ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และประชาชน รวมทั้ง พฒั นาประเทศชาติ ใหม้ คี วามร่งุ เรืองอยา่ งยง่ั ยนื ตลอดไป พลเอก (ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา) ผบู้ ัญชาการทหารบก

สารผ้บู ัญชาการทหารเรอื นับต้ังแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ พลเรือเอก สรุ ศกั ด์ิ หรุ่นเรงิ รมย์ พระองค์ได้ตั้งพระราชหฤทัย และทรงอุทิศพระวรกายในการปฏิบัติพระราช กรณียกิจเพ่ือบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขแก่ผองพสกนิกรชาวไทยเสมอมา แนวพระ ผบู้ ญั ชาการทหารเรือ ราชด�ำริในทุกๆ ด้านที่พระราชทานไว้เกิดจากการท่ีได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปทรงเย่ียมราษฎรท่วั ทุกภูมิภาค และทรงทราบถึงสภาพความเปน็ อยู่ตลอด จนปัญหาต่างๆ ได้กลายเป็นท่ีมาของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ จำ� นวนมากถงึ ๔,๓๕๐ โครงการ ซ่ึงลว้ นแลว้ แต่เป็นโครงการท่ีเป่ยี มไปดว้ ย คุณค่าอเนกอนันต์ น�ำมาซ่ึงความรุ่งเรืองเจริญก้าวหน้า และความสุขอย่าง ย่ังยืนของปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า ส่งผลให้แผ่นดินไทยมีความร่มเย็น จวบจนวันน้ี และเป็นรากฐานอันมัน่ คงสืบไปในภายหน้า นิทรรศการโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซ่ึงส�ำนักงาน คณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และกองทัพไทย ได้ร่วมกันจัดข้ึน ในคร้ังนี้ไม่เพียงแต่จะเป็นการเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงมีพระอัจฉริยภาพในทุกๆ ด้านเท่านั้น หากยังเป็นการปลูกจิตส�ำนึกของอนุชนไทยในปัจจุบันสมัยให้ตระหนัก รับรู้ และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ พร้อมทั้งยึดมั่นไว้เป็นหลักชัยในการด�ำเนินชีวิต ในฐานะ พสกนิกรชาวไทยผู้เป่ียมไปดว้ ยความจงรกั ภักดี และจกั เทิดไว้เหนอื เกลา้ ซง่ึ พระเกยี รติคุณของพระองค์สืบไป พลเรือเอก (สรุ ศกั ด์ิ หรนุ่ เริงรมย)์ ผบู้ ญั ชาการทหารเรือ

สารผู้บญั ชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก ประจนิ จ่ันตอง นับจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่น่ังไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทาน ผบู้ ัญชาการทหารอากาศ พระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่งมหาชนชาวสยาม นับจากวันน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ และทรงมีพระราชหฤทัย มุ่งมั่นท่ีจะทรงแก้ไขปัญหาเดือดร้อนของราษฎร อันน�ำไปสู่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริหลายพันโครงการ โดยเฉพาะทรงริเร่ิม วางรากฐานการด�ำเนินงานตามโครงการพระราชด�ำริต่างๆ เพ่ือพัฒนา ประเทศ นับเปน็ มหากรุณาธิคุณแกพ่ สกนิกรชาวไทยอย่างยงิ่ กองทัพอากาศเป็นอีกหน่วยงานหนึ่งท่ีได้สนองเบ้ืองพระยุคลบาทสนับสนุนโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริหลายๆ โครงการท่ีได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องนับต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ได้แก่ โครงการ พระราชด�ำริฝนหลวง ซึ่งกองทัพอากาศได้จัดเคร่ืองบินและเจ้าหน้าที่ตลอดจนอุปกรณ์และสถานที่ร่วมปฏิบัติ มาโดยตลอด ซ่ึงการปฏิบัติการฝนหลวงได้ขยายตัวมีการพัฒนาเทคนิค โดยกองทัพอากาศได้ร่วมค้นคว้า และผลิตกระสุนสารเคมีซิลเวอร์ไอโอไดด์ เพ่ือใช้ปฏิบัติการท�ำฝนในเมฆเย็นที่ระยะสูง การมีส่วนร่วม ในการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตข้าวกล้องแรกผลิ ตามโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในพ้ืนที่บ้านยางน้อย อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี การอนุรักษ์ ทรพั ยากรปา่ ไมโ้ ดยรว่ มดำ� เนนิ โครงการโปรยเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ในอากาศ การสนบั สนนุ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อันเน่ืองมาจากพะราชด�ำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บริเวณพระมหาธาตุ นภพลภูมิสิริ ดอยอินทนนท์ เป็นต้น กองทัพอากาศมีความภาคภูมิใจที่ได้น�ำเสนอผลงานท่ีได้ร่วม ในการสนองเบอื้ งพระยุคลบาท และยังเป็นประโยชน์ต่อการเผยแพรพ่ ระเกียรตคิ ุณของพระองคใ์ หเ้ ป็นทป่ี ระจักษ์ แกส่ าธารณชนอยา่ งกวา้ งขวางอกี ดว้ ย ในโอกาสท่ีกองทัพอากาศได้ร่วมกิจกรรมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เพื่อแสดงออกถึง ความจงรกั ภกั ดี และนอ้ มรำ� ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ แหง่ พระองค์ ทไ่ี ดท้ รงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ เพอื่ ประโยชน์ สขุ ของประชาชน และประเทศชาตติ ลอดไป พลอากาศเอก (ประจนิ จนั่ ตอง) ผู้บัญชาการทหารอากาศ

สารผ้บู ญั ชาการตำ�รวจแห่งชาติ ตลอดระยะเวลาแห่งการครองราชย์ เป็นท่ีประจักษ์ชัดถึง น�้ำพระทัยและพระเมตตาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงงานอย่าง หนักและเหนื่อยยาก ทรงเสียสละความสุขส่วนพระองค์ ทรงร่วมทุกข์ร่วม สุขกับเหล่าพสกนิกรผู้ทุกข์ยาก ด้วยการเสด็จฯ ไปในถ่ินทุรกันดารเพ่ือ ทรงสดับรับฟังทุกข์สุขของราษฎรด้วยพระองค์เอง จนแน่พระราชหฤทัย ในสาเหตุของปัญหาแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องเข้าช่วยเหลือตามแนวพระราชด�ำริ และจัดท�ำ พลตำ�รวจเอก อดลุ ย์ แสงสงิ แกว้ โครงการเพ่ือแก้ไขปัญหาอย่างย่ังยืนต่อไป ช่วยน�ำพาประเทศให้เจริญ ก้าวหน้าภายใต้ร่มพระบารมีและทรงดูแลราษฎรประดุจพ่อดูแลลูก ผู้บญั ชาการต�ำรวจแหง่ ชาติ เพื่อช่วยเหลือราษฎรให้พ้นจากความทุกข์ยาก ดังพระราชปณิธาน ท่ีพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการความว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่ือประโยชน์สุขแห่งมหาชน ชาวสยาม” จากพระบรมราโชบายในการแก้ไขปัญหาของประเทศ ท่ีทรงริเริ่มจนส�ำเร็จเป็นโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชด�ำริมากมายนั้น ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหน่ึงที่มีโอกาสได้รับสนองพระราชด�ำริ ในใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท โดยในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรถแทรกเตอร์ ให้แก่ต�ำรวจพลร่มค่ายนเรศวร เพ่ือใช้พัฒนาเส้นทางสัญจรในพ้ืนที่บ้านห้วยมงคล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซงึ่ นบั เปน็ โครงการพฒั นาตามพระราชดำ� รโิ ครงการแรกและนบั เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการสนองงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชด�ำริ ซึง่ ยังความปลาบปลม้ื ใจใหแ้ กส่ ำ� นกั งานต�ำรวจแห่งชาติ ทไ่ี ด้รับความไวว้ างพระราชหฤทัย มอบหมายให้ สนองงานด้านตา่ งๆ อนั เปน็ การแบ่งเบาพระราชภารกจิ ในอนั ทจ่ี ะชว่ ยเหลอื ประชาชนใหอ้ ยู่ดีกินดี มคี ุณภาพชีวติ ที่ดี มีความร่มเย็นเป็นสขุ เพื่อสรา้ งความม่ันคงใหแ้ กป่ ระเทศชาติสบื ไป พลตำ� รวจเอก (อดุลย์ แสงสิงแก้ว) ผบู้ ญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาติ

16 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

ส่วนท่ี ๑ ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอ่ื ประโยชนส์ ุขแห่งมหาชน ปี ๒๔๘๙ : ธ ผูไ้ มเ่ คยละทงิ้ ประชาชน “ถ้าประชาชนไมท่ ้งิ ข้าพเจ้า แลว้ ขา้ พเจ้าจะละท้ิงอย่างไรได”้ พระราชดำ� รสั เมอ่ื วันที่ ๑๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ท่ีจะทรงมีตอบกับประชาชนของพระองค์ในวันท่ีเสด็จ พระราชด�ำเนินกลับสวิตเซอร์แลนด์ เพ่ือทรงศึกษาต่อ แม้ จะไม่ได้ทรงตอบประชาชนที่ร้องตะโกนขึ้นว่า “อย่าละทิ้ง ประชาชน” เพราะรถยนต์พระท่ีน่ังได้แล่นเลยไปแล้ว แต่ พระราชสัจจะจากพระราชหฤทัยในวันนั้นยังคงอยู่ใน หัวใจคนไทยมาจวบจนถึงทุกวันน้ี ที่เหล่าประชาราษฎร์ ท้ังปวงได้ประจักษ์ถึงพระราชปณิธาน และพระราชกรณียกิจ ในทุกๆ ด้านอยา่ งมากมาย ๔,๓๕๐ การทรงงาน 17 เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

ปี ๒๔๙๓ : พระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชนชาวสยาม” พระปฐมบรมราชโองการ เมอ่ื วันท่ี ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ มคี วามหมายลกึ ซง้ึ แสดงถงึ พระราชปณธิ าน ตั้งม่ันท่ีจะทรงอุทิศบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพ่ือให้เกิดวามร่มเย็นเป็นสุขทั่วแผ่นดิน ด้วยทรงถือว่าทุกข์สุขของราษฎร คือ ทุกข์สุขของพระองค์เอง ทรงศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ทดสอบ และคิดค้นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริเป็นจ�ำนวนมาก เพอื่ ช่วยเหลอื เหลา่ พสกนิกรใหพ้ น้ จากสภาพความยากจน ลำ� บาก ไปส่คู วามพออย่พู อกิน และมคี วามสุข ขนานไปกบั การทรงงาน พฒั นาไดท้ รงอนรุ กั ษ์ พทิ กั ษ์ รกั ษา และแกไ้ ขปญั หาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มของแผน่ ดนิ ตง้ั แตท่ อ้ งฟา้ จรดถงึ ใตท้ อ้ งทะเล ก็เพอ่ื ความสมดุลของสรรพชีวิตให้มีความยง่ั ยืน 18 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริแหง่ แรกสู่ ๔,๓๕๐ โครงการ ทรงเรมิ่ เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงเย่ยี มเยือนราษฎรทวั่ ประเทศ โดยเร่มิ ตน้ ในภาคกลาง เมอื่ ปี ๒๔๙๕ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ เมอื่ ปี ๒๔๙๘ ภาคเหนอื เม่อื ปี ๒๕๐๑ และเสด็จฯ ไปทรงเย่ียมราษฎรภาคใต้และหมนุ เวยี นในทกุ ภาคอีกหลายครง้ั ตงั้ แต่ปี ๒๕๐๑ เปน็ ต้นมา พระราชภารกิจดังกลา่ วเป็นการทรงงานเพอ่ื รบั ทราบทกุ ขส์ ุข และปญั หาความเดือดรอ้ นท่ีแทจ้ ริงของ ประชาชนดว้ ยการศกึ ษาขอ้ มลู จากสภาพความเปน็ อยแู่ ละวถิ ชี วี ติ ทแี่ ทจ้ รงิ ตามสภาพทางภมู ศิ าสตรแ์ ละภมู สิ งั คมของแตล่ ะภมู ภิ าค เพ่อื ให้แกไ้ ขปญั หาได้ตรงจุด จนเกดิ ค�ำพดู ที่ว่า ไมม่ ีทไี่ หนในประเทศไทยที่พระเจา้ อยหู่ วั เสด็จฯ ไปไม่ถึง นบั เปน็ การทรงงานอยา่ ง หนักเพื่อต่อสู้กับความยากจน ความด้อยโอกาสด้านการศึกษาและการสาธารณสุข ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อความเป็นอยู่ของราษฎร โดยในระยะแรกมีโครงการสาธารณสุขที่ส�ำคัญ เช่น เรือเวชพาหน์ น�ำแพทย์และยาให้บริการประชาชนที่อยู่ริมแม่น้�ำ ล�ำคลอง ที่การคมนาคมไม่สะดวก พระราชทานทรัพย์เป็นกองทุนปราบอหิวาตกโรค ศึกษาวิจัยเพ่ือผลิตน�้ำเกลือใช้ในประเทศ จัดต้ังหน่วย แพทยพ์ ระราชทาน และหน่วยทันตกรรมพระราชทาน เป็นต้น จนขยายไปสโู่ ครงการพัฒนาด้านต่างๆ ครอบคลุมวิถชี ีวิตทกุ ด้าน เปน็ โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำริ เพือ่ ประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชน ๔,๓๕๐ โครงการ ๔,๓๕๐ การทรงงาน 19 เพอ่ื ประโยชนส์ ุขแห่งมหาชน

ปี ๒๔๙๕ พ.ศ. ๒๔๙๕ รถพระท่ีนั่งติดหล่ม และเป็นท่ีมา ถนนสายห้วยมงคล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริแหง่ แรก โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำ� รแิ หง่ แรก เมื่อเสด็จฯ ไปยังบ้านห้วยมงคล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซ่ึงหมู่บ้านน้ีไม่มีถนนเชื่อมต่อกับ ถนนหลัก (ถนนเพชรเกษม) ระหว่างทางเสด็จฯ รถติดหล่ม ทั้งทหาร ต�ำรวจ และชาวบ้านช่วยกันเข็นจนรถข้ึนจากหล่ม ทรงทราบถึงปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรในการเดินทาง สัญจรไปมาและการขนส่งผลผลิตการเกษตร จึงได้พระราชทาน รถบลูโดเซอร์ ให้หน่วยต�ำรวจตระเวนชายแดนค่ายนเรศวร ไป สร้างถนนเพ่ือช่วยเหลือราษฎรให้สามารถน�ำผลผลิตออกมา จ�ำหน่ายยังชุมชนภายนอกได้สะดวก จึงถือได้ว่าโครงการถนน ห้วยมงคลเป็นโครงการพัฒนาชนบทอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ แห่งแรก 20 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพือ่ ประโยชน์สุขแหง่ มหาชน

ปี ๒๔๙๖ : โครงการพัฒนาแหลง่ น�ำ้ แห่งแรก มีพระราชด�ำริให้สร้างอ่างเก็บน�้ำเขาเต่า อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ เนอ่ื งจากทรงทราบความล�ำบากของประชาชน ในหมู่บ้านเขาเต่า ซึ่งมีประชากรอยู่กันอย่างหนาแน่นขาดแคลนน้�ำ ช่วงน�้ำทะเลข้ึนน�้ำเค็มจะไหลเข้าท่วมพื้นท่ี ทรงเริ่มแก้ปัญหาการ ขาดแคลนน้�ำจืดของชาวบ้านท่ีนี่เป็นล�ำดับแรก และพระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จ�ำนวน ๖๐,๐๐๐ บาท เพ่ือสร้าง อ่างเก็บน�้ำเขาเต่า ก่อสร้างท�ำนบดินปิดกั้นน�้ำทะเล ท�ำให้เกิดเป็น อ่างเก็บน�้ำส�ำหรับชาวบ้านได้ใช้ทั้งการอุปโภค บริโภค เล้ียงปลา รวม ทั้งเพ่อื การเพาะปลูก โดยสร้างแล้วเสร็จและใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในปี ๒๕๐๖ นับเปน็ โครงการพฒั นาแหล่งนำ้� อนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริแห่งแรก เสด็จฯ ไปทรงเจิมและทรงพระสหุ ร่ายเข็มพดื เอก เมื่อวันท่ี ๙ เมษายน ๒๕๐๖ อา่ งเกบ็ น�้ำเขาเตา่ ในอดีต อา่ งเก็บนำ�้ เขาเตา่ ปัจจุบัน ๔,๓๕๐ การทรงงาน 21 เพ่ือประโยชน์สุขแห่งมหาชน

ปี ๒๔๙๘ : ก�ำเนดิ ฝนหลวง มีพระราชด�ำริให้ศึกษาทดลองท�ำฝนเทียม หรือ ฝนหลวงแก้ไขปัญหาความแห้งแล้ง ดังพระราชด�ำรัส เมือ่ วันท่ี ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ความว่า “...เรื่องฝนเทียมน้ีเร่ิมตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ แต่ ยังไม่ได้ท�ำอะไรมากมาย เพราะว่าไปภาคอีสานตอนนั้น หน้าแล้งเดือนพฤศจิกายน ท่ีไปที่เมฆมากอีสานก็แล้ง ก็ เลยมคี วามคิด ๒ อย่าง ต้องท�ำ Check dam …ตอนน้นั เกดิ ความคดิ จากนครพนม ผา่ นสกลนครขา้ มไปกาฬสินธ์ุ ลงไปสหสั ขนั ธท์ เี่ ดยี๋ วนเี้ ปน็ อำ� เภอสมเดจ็ ... ไปจอดทน่ี นั่ ไป เยย่ี มราษฎรมนั แลง้ มฝี นุ่ ...แตม่ าเงยดทู อ้ งฟา้ มเี มฆ ทำ� ไม มเี มฆอยา่ งนี้ ทำ� ไมจะดงึ เมฆนี่ใหล้ งมาได้ กเ็ คยไดย้ นิ เรอ่ื ง ทำ� ฝนกม็ าปรารภกบั คณุ เทพฤทธิ์ ฝนท�ำไดม้ ีหนงั สือ เคย อา่ นหนงั สือทำ� ได.้ ..” ใช้เวลากว่า ๑๔ ปี ฝนเทียมหรือฝนหลวงจึงตก ไดจ้ ริงครงั้ แรกเม่อื ปี ๒๕๑๒ และได้พฒั นามาอย่างต่อเน่อื ง จนถงึ ปจั จบุ นั สามารถชว่ ยพน้ื ทก่ี ารเกษตรไดป้ ระมาณ ๑๖๐ ล้านไรต่ ่อปี ปี ๒๕๐๖ : โรงเรียนพระราชทานแหง่ แรก พระราชทานพระราชทรัพย์ จ�ำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท เพือ่ จดั สร้างโรงเรยี นสอนหนังสือชาวเขาทบี่ ้านแม้วดอยปุย ตำ� บล หางดง จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนแห่งน้ีได้พระราชทานนามว่า “โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๑” นับเป็นโรงเรียนพระราชทาน แหง่ แรก 22 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอื่ ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

ปี ๒๕๐๘ : แหลง่ อาหารโปรตีนทส่ี ำ� คญั สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโต เมื่อคร้ังด�ำรงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารแห่งประเทศญี่ปุ่น ได้ทูลเกล้าฯ ถวายปลานิล แด่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว เม่ือวนั ท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๐๘ จากปลานิลจ�ำนวน ๕๐ ตัว ในสวนจิตรลดา สู่ปลานลิ สายพนั ธ์ุ จติ รลดา ซงึ่ กรมประมงนำ� ไปขยายผลสปู่ ระชาชนจนถงึ ปี ๒๕๕๑ กวา่ ๑,๕๐๐ ลา้ นตวั คดิ เปน็ มลู คา่ กวา่ ๕,๗๐๐ ลา้ นบาท นบั เปน็ แหลง่ อาหารโปรตนี ท่ีสำ� คญั และสร้างรายไดใ้ ห้แก่ประชาชนเปน็ จำ� นวนมาก ปี ๒๕๑๒ : ชว่ ยชาวเขา ชว่ ยชาวเรา ชว่ ยชาวโลก มี พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ พั ฒ น า ใ ห ้ ช า ว เขาปลูกกาแฟแทนการปลูกฝิ่น และได้ เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรไร่กาแฟที่ชาว กะเหรี่ยงปลูกไว้บริเวณพื้นที่บ้านอังกา น้อย ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยที่ ไร่แห่งน้ันมีต้นกาแฟเพียงต้นเดียว มี พระราชด�ำรัสกับข้าราชบริพารท่ีติดตาม เสด็จฯ และไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ในการ เสดจ็ ฯ ข้ามเขาสูงมาเพอ่ื การน้วี ่า “...แตก่ อ่ นเขาปลกู ฝน่ิ เราไปพดู จาชแ้ี จงชกั ชวนใหเ้ ขามาลองปลกู กาแฟแทน กะเหรยี่ งไมเ่ คยปลกู กาแฟมากอ่ นเลย ยังดที ีก่ าแฟไมต่ ายเสียหมด แตย่ งั เหลอื อย่หู น่ึงต้นน้นั ต้องถือวา่ เปน็ ความก้าวหน้าสำ� หรบั กะเหรี่ยง...” จึงตอ้ งเสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรจะได้แนะนำ� ชาวเขาตอ่ ไปวา่ ท�ำอย่างไรกาแฟจงึ จะเหลอื อยมู่ ากกวา่ หนึ่งต้น ปรากฏวา่ ปตี อ่ มาชาวกะเหร่ยี งดอยอนิ ทนนท์ขายกาแฟได้เป็นเงินตอ่ ไรต่ อ่ ปสี งู กวา่ ทเี่ คยขายฝ่นิ ได้ ปี ๒๕๑๕ : โรงงานหลวงเพอื่ ปวงชน พระราชทานความช่วยเหลือชาวเขาและชาวไร่ทางด้านเกษตรกรรม และจัดให้มีตลาดรับซ้ือผลผลิตทางการเกษตร อีกท้ังน�ำเอาผลิตผลไปเป็นอุตสาหกรรม มีสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งในระยะแรกใช้รถยนต์ดัดแปลงให้เป็น โรงงานเคลอ่ื นที่ ตอ่ มาไดใ้ ชอ้ าคารของโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนเปน็ โรงงานชว่ั คราว ซงึ่ การทตี่ ง้ั โรงงานหลวงอาหารสำ� เรจ็ รปู ขน้ึ มานน้ั เกษตรกรสามารถนำ� เอาผลผลติ มาจำ� หนา่ ยไดใ้ นราคายตุ ธิ รรม มเี งนิ สดหมนุ เวยี น และผลผลติ เขา้ สตู่ ลาดโดยสญู เสยี นอ้ ย จงึ เป็น “โรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูปที่ ๑ (ฝาง)” นบั เป็นโรงงานหลวงพระราชทานแห่งแรก ๔,๓๕๐ การทรงงาน 23 เพอื่ ประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชน

ปี ๒๕๑๖ : พัฒนาเพอื่ เสริมความม่นั คง พ.ศ. ๒๕๑๖ เสดจ็ ฯ ไปทรงเปดิ โรงเรียนร่มเกลา้ แหง่ แรก เสด็จฯ ไปทรงเปิดโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้าน เมือ่ วนั ที่ ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๑๖ หนองแคน ต�ำบลดงหลวง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นพื้นท่ี สีแดงเข้ม มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกับรัฐบาล มารวมกลุ่มกันในขณะนั้น (เป็นทางผ่านของผู้ก่อการร้าย คอมมวิ นสิ ตใ์ ชข้ ึ้นลงจากเทือกเขาภพู าน) โดยไดพ้ ระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ก่อสร้างอาคารเรียนถาวร หลังแรก และพระราชทานพระราชด�ำรัสอันเป็นท่ีมาของ ยุทธศาสตร์ “เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา” “...ขอใหค้ ิดถงึ ประชาชนเหมือนลูก ขอให้ทหารช่วยดูแลประชาชน นอกเหนอื จากหน้าทท่ี ตี่ ้องปฏิบตั ใิ นการปอ้ งกัน ประเทศ....” ปี ๒๕๑๘ : สหกรณ์ รวมกลุ่ม รวมพลงั ทรงรับเกษตรกรชาวสวนผักชะอ�ำ ๘๒ ครอบครัว และ เกษตรกรท�ำประโยชน์อยู่ในพื้นท่ีหุบกะพง ๔๖ ครอบครัว รวมเป็น ๑๒๘ ครอบครัว เขา้ เปน็ สมาชกิ สหกรณ์ และให้ใชป้ ระโยชนจ์ ากทด่ี นิ เพื่อท�ำการเกษตรครอบครัวละ ๒๕ ไร่ โดยได้รับพระราชทานเงิน ตั้งกองทนุ ส�ำหรับพฒั นา “สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จำ� กดั ” จ�ำนวน ๗,๕๕๔,๘๘๕ บาท นับเป็นสหกรณ์การเกษตรอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริแห่งแรก 24 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพื่อประโยชน์สุขแหง่ มหาชน

ปี ๒๕๒๒ : ปฐมบทศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาอนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริ มีพระราชด�ำริให้จัดต้ังศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ใน ลักษณะ “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” เพื่อเป็นตัวอย่างความส�ำเร็จ ในด้านการเกษตรกรรม และการพัฒนาอาชีพ เป็นต้นแบบและแนวทางให้แก่ เกษตรกร รวมถงึ ผ้สู นใจนำ� ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ ดงั นน้ั “ศนู ยศ์ กึ ษาการ พฒั นาเขาหนิ ซอ้ น” จงึ นบั เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตทิ ม่ี ชี วี ติ แหง่ แรก ดงั พระราช ดำ� รัสความว่า “...ประวตั มิ วี า่ ตอนแรกมที ด่ี นิ ๒๖๔ ไร่ ทผ่ี ใู้ หญบ่ า้ นใหเ้ พอ่ื สรา้ ง ต่อมา มีพระราชด�ำริให้พิจารณาจัด ตำ� หนกั ในปี ๒๕๒๒ ทีเ่ ชิงเขาหนิ ซ้อนใกลว้ ัดเขาหินซ้อน ตอนแรก กต็ อ้ ง ต้ั ง ศู น ย ์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก คน้ ควา้ วา่ ทต่ี รงนน้ั คอื ตรงไหน กพ็ ยายามสบื ถามกไ็ ดพ้ บบนแผนทพ่ี อดี อยู่ พระราชด�ำริ ขน้ึ รวม ๖ แห่ง ทวั่ ทกุ ภูมิภาค มุมบนของระวางแผนท่ี จึงต้องตอ่ แผนท่ี ๔ ระวาง ส�ำหรบั ให้ไดท้ ราบว่า สถานทน่ี ้ันอย่ตู รงไหน กเ็ ลยถามผู้ท่ีให้ที่นนั้ นะ ถ้าหากไมส่ ร้างต�ำหนกั แต่ วา่ สรา้ งเปน็ สถานทที่ จี่ ะศกึ ษาเกย่ี วกบั การเกษตรจะเอาไหม เขากบ็ อกยนิ ดี ก็เลยเริม่ ทำ� ทีน่ ั้น...” ๔,๓๕๐ การทรงงาน 25 เพือ่ ประโยชน์สุขแหง่ มหาชน

วนั ที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๓๖ เสด็จพระราชดำ� เนนิ ไปยงั แปลงทฤษฎใี หม่ วดั มงคลชัยพฒั นา จงั หวัดสระบรุ ี ปี ๒๕๓๑ : ทฤษฎใี หม่แหง่ แรก มีพระราชด�ำริให้พัฒนาบริเวณวัดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี เพื่อศึกษาและจัดท�ำเป็นศูนย์สาธิตการ เกษตรทฤษฎีใหม่อย่างเป็นรูปธรรม สามารถให้เกษตรกร นำ� ไปประยกุ ต์ใชป้ ฏิบตั ใิ นพื้นท่ขี องตน สามารถพึง่ พาตนเอง ได้อย่างพออยพู่ อกิน นบั เปน็ จดุ ก�ำเนิดของเกษตรทฤษฎใี หม่ แหง่ แรก “...ถ้าท�ำโครงการพัฒนาพ้ืนที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสระบรุ ี น้ีใหแ้ บง่ พ้ืนท่ี ๑๕ ไร่ ออกมาสัก ๓ ไร่ แลว้ ขดุ สระนำ้� เกบ็ กกั นำ้� ไวช้ ว่ ยในการปลกู ขา้ ว จะทำ� ใหไ้ ดผ้ ลทกุ ปี ได้ ๔๐ ถงั ซงึ่ จะได้ ๑๐ เทา่ ของปที ไี่ ดผ้ ลไมด่ ี หรอื ทำ� นา ๑๕ ไร่ จะเทา่ กบั ทำ� นา ๑๒๐ ไร่ ในปีทไ่ี ดผ้ ลผลิตไมด่ ี ทฤษฎีนด้ี ูประหลาด แต่มนั เป็นจริงอยา่ งน้นั ...” 26 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอื่ ประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชน

ปี ๒๕๓๔ : หญา้ แฝก ก�ำแพงธรรมชาตทิ ีม่ ชี วี ิต มีพระราชด�ำริให้พิจารณาศึกษาใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก เพ่ือ อนรุ กั ษด์ นิ และนำ�้ ปรบั ปรงุ ดนิ ทเ่ี สอื่ มโทรม และปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลาย ปัจจุบันมีการส่งเสริมพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกไปแล้ว ๔,๕๐๐ ล้านกลา้ อนุรกั ษ์ดนิ และนำ้� ในพืน้ ท่กี วา่ ๑๐ ลา้ นไรท่ วั่ ประเทศ มกี ารวจิ ยั เก่ยี วกับการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกกว่า ๒๐๐ เรื่อง ปี ๒๕๓๕ : พัฒนาลมุ่ น้ำ� ลำ� พะยงั -พฒั นาลมุ่ นำ�้ กำ�่ เสดจ็ ฯ ไปสำ� รวจพนื้ ทก่ี อ่ สรา้ งอา่ งเกบ็ นำ�้ ลำ� พะยงั จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ความจุ ๔ ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งเสริมราษฎรให้พัฒนาอาชีพการเกษตร ทฤษฎีใหม่ โดยขุดสระน้�ำประจ�ำไร่นา และระหว่างปี ๒๕๔๖ - ๒๕๔๙ ไดย้ กระดบั การกกั เกบ็ นำ�้ ของอา่ งเกบ็ นำ้� ลำ� พะยงั ใหม้ คี วามจมุ ากขนึ้ และผนั นำ�้ จากอ่างเก็บน�้ำห้วยไผ่ จังหวัดมุกดาหาร มาเพิ่มเติมให้พ้ืนท่ีลุ่มน้�ำล�ำพะยัง โดยอุโมงค์ผนั น้�ำ “ลำ� พะยงั ภมู พิ ัฒน์” พระราชทานภาพร่างฝีพระหัตถ์ “ตัวยึกยือ” เป็นแนวทางพัฒนา ลุ่มน้�ำก่�ำ จังหวัดสกลนคร - จังหวัดนครพนม โดยการสร้างประตูน�้ำเป็น ตอนๆ กกั เกบ็ น้�ำไดร้ วม ๖๘.๓ ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถชว่ ยเหลือพน้ื ท่ี การเกษตร ๑๖๕,๐๐๐ ไร่ ปี ๒๕๓๖ : พฒั นาลุ่มน้ำ� ปากพนงั - เข่ือนขนุ ด่านปราการชล มีพระราชด�ำริพัฒนาลุ่มน�้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช แก้ปัญหาน้�ำเค็มรุกตัวเข้าไปในล�ำน้�ำ ฟื้นฟูพ้ืนที่การเกษตรและนาร้าง ๑.๙ ล้านไร่ แบ่งเขตท�ำกินระหว่างการเลี้ยงกุ้งที่ใช้น�้ำเค็ม และการเกษตร ทใ่ี ชน้ ำ�้ จืด แกไ้ ขปญั หาขดั แยง้ ของคนในพนื้ ที่ มีพระราชด�ำริให้สร้างเขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก ความจุ ๒๒๔ ล้านลกู บาศกเ์ มตร แกไ้ ขปญั หานำ้� ทว่ ม ชะล้างดินเปรีย้ ว และ ช่วยเหลือพ้ืนท่กี ารเกษตร ๑๘๕,๐๐๐ ไร่ ๔,๓๕๐ การทรงงาน 27 เพ่อื ประโยชน์สขุ แหง่ มหาชน

ปี ๒๕๓๗ : พฒั นาลมุ่ นำ้� หว้ ยบางทราย - ศนู ยพ์ ฒั นา การเกษตรภสู งิ ห์ - ศนู ยพ์ ฒั นาและบรกิ ารดา้ นการเกษตร (หลกั ๒๒) สปป.ลาว มีพระราชด�ำริพัฒนาพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำห้วยบางทราย จังหวัดมุกดาหาร โดยสร้างอ่างเกบ็ นำ้� ๗ แหง่ ความจรุ วม ๒๔.๕ ล้านลูกบาศกเ์ มตร สง่ นำ้� ได้ ๘,๙๐๐ ไร่ พฒั นาอาชีพแบบบรู ณาการและฟืน้ ฟูป่าไม้ จดั ตั้งศนู ยพ์ ัฒนาการเกษตรภูสิงห์ จงั หวัดศรสี ะเกษ ช่วยเหลอื การ ประกอบอาชพี ของราษฎรในพ้นื ที่ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนล่าง พระราชทานโครงการศูนย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตร (หลัก ๒๒) นครหลวงเวยี งจันทร์ สปป.ลาว เพอ่ื ให้บรกิ ารดา้ นความรู้ ปัจจัย การผลิต พัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชน สปป.ลาว ๙ หมู่บ้าน เป็นการขยายผลการพัฒนาสู่สากล และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ให้แนน่ แฟน้ ตอ่ มา สปป.ลาว ได้ขยายผลโครงการไปยงั แขวงอื่นๆ ทวั่ ประเทศ ได้แก่ แขวงสวุ รรณเขต และจำ� ปาศกั ดิ์ เปน็ ต้น ปี ๒๕๔๒ : เขื่อนปา่ สกั ชลสิทธิ์ มีพระราชด�ำริให้สร้างเข่ือนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี ความจุ ๙๖๐ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร ชว่ ยเหลอื พนื้ ทก่ี ารเกษตร ๑๗๔,๕๐๐ ไร่ รวมทั้งช่วยบรรเทาปัญหาน้�ำท่วมในพื้นที่ภาคกลางตอนล่าง และ กรุงเทพมหานคร ปี ๒๕๔๖ : เขื่อนแควนอ้ ยบำ� รุงแดน มีพระราชด�ำริให้สร้างเข่ือนแควน้อยบ�ำรุงแดน จังหวัด พษิ ณุโลก ความจุ ๙๓๙ ล้านลูกบาศกเ์ มตร ช่วยเหลอื พื้นทกี่ ารเกษตร ๗๕,๐๐๐ ไร่ และบรรเทาปัญหาน�้ำท่วมพ้ืนท่ีจังหวัดพิษณุโลก และ ภาคเหนือตอนลา่ ง 28 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอื่ ประโยชน์สุขแห่งมหาชน

ปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ : การทรงงาน ทไ่ี ม่มีวันหยดุ นับถึงทุกวันนี้ นอกจากโครงการฯ ท่ีมีพระราชด�ำริโดยตรงแล้วยังมีโครงการท่ีทรง รับฎีการาษฎรไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ ในช่วงปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ จ�ำนวน ๗๙ โครงการ กระจายอยใู่ นจงั หวดั ตา่ งๆ ครอบคลมุ ทุกภมู ภิ าค โดยภาคกลาง ๙ โครงการ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๓๒ โครงการ ภาคเหนอื ๓ โครงการ และภาคใต้ ๓๕ โครงการ ปัจจบุ ันมโี ครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รดิ า้ นต่างๆ จนถงึ เดือนกนั ยายน ๒๕๕๕ จำ� นวน ๔,๓๕๐ โครงการ และจะเพ่ิมจ�ำนวนข้ึนทุกปีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทุกจังหวัดของประเทศ มากที่สุด คือ “โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำ” จ�ำนวน ๒,๙๕๕ โครงการ เป็นการบริหารจัดการน้�ำ ต้ังแต่น�้ำหยดแรก บนทอ้ งฟา้ ลงมาสตู่ ้นน้ำ� จนถึงปลายนำ�้ สะท้อนให้เห็นความสำ� คญั ของความหมายทวี่ ่า “น�้ำ คอื ชีวติ ” และ ระบบบริหารจัดการนำ้� แบบบูรณาการ ซงึ่ เรื่อง “นำ�้ ” น้ี ทรงใหค้ วามสำ� คญั ทั้งมิติของน้ำ� ท่วม น�ำ้ แลง้ และ น้ำ� เสียอกี ด้วย การพฒั นาด้าน ภาค รวม เหนอื กลาง ตะวันออกเฉียงเหนอื ใต้ ไม่ระบุ ๒,๙๕๕ ๑) โครงการพัฒนาดา้ นแหล่งน้�ำ ๑,๑๔๘ ๔๗๙ ๗๖๗ ๕๖๑ - ๑๖๕ ๒) โครงการพฒั นาด้านการเกษตร ๔๖ ๔๙ ๔๓ ๒๗ - ๑๔๕ ๓) โครงการพฒั นาดา้ นสง่ิ แวดล้อม ๕๒ ๓๕ ๒๘ ๓๐ - ๓๒๕ ๔) โครงการพัฒนาดา้ นส่งเสรมิ อาชีพ ๘๘ ๓๔ ๑๑๘ ๘๕ - ๕๕ ๕) โครงการพฒั นาด้านสาธารณสขุ ๑๔ ๑๕ ๙ ๗ ๑๐ ๗๖ ๖) โครงการพัฒนาดา้ นคมนาคม/สอื่ สาร ๑๕ ๒๒ ๑๙ ๒๐ - ๓๙๕ ๗) โครงการพัฒนาด้านสวัสดกิ ารสังคม/ ๒๐๑ ๗๔ ๕๓ ๖๓ ๔ ๒๓๔ การศกึ ษา ๙๖ ๕๘ ๕๑ ๒๙ - ๔,๓๕๐ ๘) โครงการพฒั นาด้านแบบบูรณาการ/อ่นื ๆ ๑,๖๖๐ ๗๖๖ ๑,๐๘๘ ๘๒๒ ๑๔ รวมทั้งสนิ้ ขอ้ มลู ณ เดอื นกนั ยายน ๒๕๕๕ ๔,๓๕๐ การทรงงาน 29 เพอื่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชน

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ� รใิ นภาคต่างๆ ของประเทศไทย ภาคเหนือ ๑,๖๖๐ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื โครงการ ๑,๐๘๘ โครงการ ภาคกลาง กรงุ เทพมหานคร ๗๖๖ โครงการ ภาคใต้ ๘๒๒ โครงการ หมายเหตุ : โครงการท่ไี ม่ระบภุ าค ๑๔ โครงการ 30 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพ่อื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

ดว้ ยเหตนุ ี้ ทกุ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ๔,๓๕๐ โครงการ มกี ารดำ� เนนิ การ ไปอย่างสอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาท่ีต้นเหตุ มีวัตถุประสงค์ที่มุ่งหวังให้เป็นต้นแบบและ เป็นแหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี ข้าถึงไดง้ า่ ย สามารถนำ� ไปประยุกต์ใช้ได้จรงิ และทีส่ ำ� คญั เปน็ การเรยี นรู้ท่ลี ้วน มีรากฐานดั้งเดิมมาจากภูมิปัญญาท้องถ่ินของวิถีชีวิตวัฒนธรรมไทยที่แท้จริง แนวพระราชด�ำริ ต่างๆ เกิดจากพระวิสัยทัศน์ท่ีกว้างไกล ลุ่มลึก และรอบด้าน ทรงแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ มิได้มองปัญหาแยกส่วน มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ท้ังวัตถุดิบและวัสดุเหลือใช้ จวบจนวันนี้ ผลสัมฤทธิ์ท่ีเกิดขึ้น มีตัวอย่างให้เห็นแล้วจากผลส�ำเร็จของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในทุกภูมิภาค จึงเป็นประจักษ์พยานได้ดีว่า การขยายผลสู่ประชาชนมีต้นแบบตัวอย่างจริง ให้เห็นและสามารถเข้าไปศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติได้จริง สมด่ังท่ีมีพระปฐมบรมราชโองการท่ีว่า “เพอื่ ประโยชน์สขุ แหง่ มหาชน” ๔,๓๕๐ การทรงงาน 31 เพอ่ื ประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชน

32 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

ส่วนท่ี ๒ ผลส�ำเร็จโครงการ อันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริ โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำรเิ ขตพื้นท่ีภาคกลาง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนิน พทุ ธศักราช ๒๔๙๕ บา้ นปากทวาร ต�ำบลหนิ เหล็กไฟ อ�ำเภอหวั หิน ไปทรงเยี่ยมราษฎรในพ้นื ทภี่ าคกลางซง่ึ มอี ยู่รวม ๒๖ จังหวัด จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ทรงศึกษาปัญหาและพระราชทาน พระราชดำ� รเิ พอ่ื แกป้ ญั หาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สภาพปญั หาสว่ นใหญ่ คอื ปญั หาเรอ่ื งนำ�้ ในฤดปู รมิ าณนำ้� เหนอื มากจะไหลบา่ เขา้ ทว่ ม ไร่นาเสียหาย ขณะที่ในฤดูแล้งเกษตรกรขาดแคลนน�้ำเพื่อการ อุปโภค-บริโภค และทำ� เกษตรกรรม ท้งั ยังมปี ัญหาน้�ำเนา่ เสีย อันเกิดจากการขยายตัวของชุมชน หรืออุตสาหกรรม และ ขาดความรูใ้ นการอนุรักษ์น�้ำ ปัจจุบันเขตพื้นท่ีภาคกลางมีโครงการอันเน่ือง มาจากพระราชด�ำริ รวม ๗๖๖ โครงการ ๔,๓๕๐ การทรงงาน 33 เพ่อื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

ประเภทของโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำรขิ องแตล่ ะจงั หวัด ในเขตพื้นทภ่ี าคกลางและกรุงเทพมหานครแยกรายจงั หวัด ประเภทและจ�ำนวนของโครงการ จงั หวดั แหล่งนํา้ การ สงิ่ การ สาธารณสขุ คมนาคม/ สวัสดิการ บรู ณาการ/ รวม เกษตร แวดล้อม สง่ เสริม สือ่ สาร สงั คม/ อนื่ ๆ อาชพี การศกึ ษา กาญจนบรุ ี ๒๘ ๑๑๓ ๑ ๐ ๑๒ ๓ ๔๙ จันทบรุ ี ๑๗ ๒๒๑ ๒ ๐ ๗ ๓ ๓๔ ฉะเชงิ เทรา ๒๒ ๑๐๑ ๐ ๑ ๓ ๑ ๒๙ ชลบุรี ๑๙ ๑๓๑ ๐ ๐ ๐ ๗ ๓๑ ชยั นาท ๑ ๔๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐๕ ตราด ๕ ๐๐๐ ๐ ๐ ๒ ๑๘ นครนายก ๒๐ ๕๓๒ ๐ ๑ ๐ ๔ ๓๕ นครปฐม ๑ ๐๐๑ ๐ ๑ ๖ ๒ ๑๑ นนทบุรี ๑ ๐๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐๑ ปทุมธานี ๒ ๑๐๐ ๐ ๐ ๐ ๑๔ ประจวบครี ขี นั ธ์ ๕๙ ๓๔๗ ๐ ๓ ๙ ๒ ๘๗ ปราจีนบรุ ี ๑๒ ๒๕๑ ๐ ๐ ๑ ๔ ๒๕ พระนครศรีอยธุ ยา ๙ ๕๐๓ ๑ ๐ ๓ ๓ ๒๔ เพชรบรุ ี ๗๕ ๖๙๙ ๐ ๐ ๒ ๔ ๑๐๕ ราชบรุ ี ๓๒ ๓๑๑ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔๓ ระยอง ๑๑ ๒๑๑ ๐ ๐ ๐ ๓ ๑๘ ลพบุรี ๒๐ ๒๑๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๒๓ สมุทรปราการ ๖ ๐๒๐ ๑ ๒ ๒ ๐ ๑๓ สมุทรสงคราม ๓ ๒๑๑ ๐ ๐ ๐ ๑๘ สมทุ รสาคร ๑๙ ๒๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๒๑ สระบุรี ๑๔ ๑๐๐ ๐ ๐ ๑ ๑ ๑๗ สระแก้ว ๗๕ ๓๐๐ ๐ ๑ ๙ ๖ ๙๔ สิงห์บรุ ี ๒ ๐๐๑ ๐ ๐ ๐ ๐๓ สุพรรณบุรี ๑๐ ๑๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๑ อา่ งทอง ๓ ๑๐๑ ๐ ๐ ๐ ๓๘ รวม ๔๗๙ ๔๙ ๓๕ ๓๔ ๑๕ ๒๒ ๗๔ ๕๘ ๗๖๖ 34 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพ่ือประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชน

สรา้ งหน่งึ ไดถ้ งึ ส่ี เขอ่ื นขุนดา่ นปราการชล จังหวดั นครนายก “...จงั หวดั นครนายก เปน็ จงั หวดั ทีม่ ปี ัญหา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทรงวางศิลาฤกษ์ น้ำ� ทว่ มฝนแล้ง ดนิ เปรีย้ ว จำ� เปน็ มากทจี่ ะตอ้ งมีเขอ่ื น วนั ที่ ๒ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๔ กักเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่” พระราชด�ำรัสในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว วันที่ ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ นอกจากปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งแล้วในพื้นท่ี อ�ำเภอองครักษ์ส่วนใหญ่เป็นนาข้าวขนาดใหญ่และประสบ ปัญหาเกี่ยวกับดินเปร้ียว มาเป็นเวลานาน ดังพระราชด�ำริ ความวา่ “...จะตอ้ งหานำ้� มาชะลา้ ง แกไ้ ขปญั หาดนิ เปรย้ี ว เพราะว่าทุ่งนาที่องครักษ์เป็นล้านไร่ประสบปัญหาเร่ือง ดินเปร้ียว ทำ� ใหผ้ ลผลติ ตำ�่ เปน็ อยา่ งมาก...” เมอื่ วนั ท่ี ๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ชอ่ื เขอ่ื นนว้ี ่า “เข่ือนขุนด่านปราการชล” เป็นเข่อื นคอนกรตี บดแนน่ อัด Roller Compacted Concrete Dam (RCC Dam) ท่ใี หญ่ท่สี ุดในประเทศไทย เก็บกักนำ�้ ไดส้ งู สุดถึง ๒๒๔ ลา้ น ลูกบาศก์เมตร สามารถส่งน�้ำให้พ้ืนท่ีการเกษตรกรรม ๑๘๕,๐๐๐ ไร่ ท้ังเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการป้องกัน และ บรรเทาอุทกภัยเมอื งนครนายก ๔,๓๕๐ การทรงงาน 35 เพอ่ื ประโยชน์สุขแห่งมหาชน

ผลส�ำเรจ็ ของโครงการ ๑. การบรหิ ารจดั การนำ้� ไดแ้ บง่ พน้ื ทรี่ บั ผลประโยชนเ์ ปน็ ๒ สว่ น สว่ นแรกคอื พนื้ ทช่ี ลประทานทา่ ดา่ นเดมิ และสว่ นขยาย จำ� นวน ๒๐,๐๐๐ ไร่ ใชว้ ธิ กี ารสง่ นำ้� ผา่ นระบบสง่ นำ�้ ลงคลองสายใหญ่ ๑ สาย และสายซอยอกี จำ� นวน ๔ สาย สว่ นทส่ี อง เปน็ พนื้ ท่ี ชลประทานของโครงการสง่ นำ�้ และบำ� รงุ รกั ษานครนายก จำ� นวน ๑๖๕,๐๐๐ ไร่ มกี ารจดั สรรนำ้� ไปยงั พน้ื ทตี่ า่ งๆ และชว่ ยลดความ เสียหายจากอุทกภยั หรอื ปญั หาภัยแล้ง ปรมิ าณน้�ำกกั เกบ็ ๒๒๔,๐๐๐,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ป้องกนั และบรรเทาอุทกภยั พร้อมภัยแล้ง พื้นทร่ี บั ประโยชน์ ๒๐,๐๐๐ ไร่ พนื้ ทช่ี ลประทานท่าด่านเดมิ และสว่ นขยายโครงการ ๒. การใชป้ ระโยชน์เพอื่ การเกษตร การเพมิ่ ขึ้นของจาำ นวนผลผลติ ข้าวนาป/ี ขา้ วนาปรงั ต่อไร่ การเพิม่ พรขวน้ื มน้ึ ทขี่ร๑อบั ๘งป๕จร,ะ๐ำาโ๐นย๐วชนนไรผ์ ่ ลผลิตขา้ วนาปี/ข้าวนาปรงั ตอ่ ไร ทาำ ใหน้ า้ำ ใชเ้ พอ่ื การเกษตรตลอดทงั้ ปี สง่ ผลใหม้ ผี ลติ ผลท๒า.งกกาารรใช้ประโยชนเ์ พ่อื การเกษต(รหน่วย : ถัง) (หนว่ ย : ถงั ) เกษตรเพิ่มข้ึน อีกท้ังปริมาณน้ำาใต้ดินเพิ่มขึ้น ทำาให้ผลผลิตข้าวนาปีแทลาำ ะใหน้ า้ำ ใชเ้ พอื่ การเกษตรตลกออ่ ดนทสง้ัรา้ปงี เสขง่อื ผนลขในุ หดม้ ่านผี ฯลติ หผลลังสทรา้างงกเขาอ่ืรนขนุ ด่านฯ ขา้ วนาปรังเพ่มิ ข้ึนอย่างเห็นไดช้ ัด เกษตรเพ่ิมขึ้น อีกทผลั้งปผลรติมขาา้ณวนา้ำาปใีต้ดินเพิ่มขึ้น ๔ท๘ำา.ใ๖ห๔้ผลผลิตข้าวนาป๖ีแ๔ล.ะ๐๗ ก่อนสร้างเข่ือนขุนดา่ นฯ หลังสรา้ งเขื่อนข ข้าวนาพป้นื รทงั เ่ีรพบั มิ่ปรขะึ้นโยอผชยลนา่ ผ์ง๑ลเ๖หิต๕ข็น,า้ไ๐วด๐น๐ช้ าดัปไรร่งั ๕๓.๓๓ ๗๒.๘๖ ผลผลิตข้าวนาปี ๔๘.๖๔ ๖๔.๐๗ พ้นื ท่ีชลประทานของโครงการส่งน�ำ้ และบำ� รงุ รักษานครนายก ๓. การแกไ้ ขปัญหาดนิ เปรย้ี ว ผลผลิตขา้ วนาปรงั ๕๓.๓๓ ๗๒.๘๖ ๒. ๖ก๔า.๐ร๗ใช้ประโยชน์เพ่ือ๗๒.๘๖ สง่ ผลใหร้ ะดบั นา้ำ ใตด้ นิ สงู ขน้ึ สามารถเจอื จางสารไพไรตซ์ งึ่ เปน็ ๓. การแก้ไขปญั หาดินเปรี้ยว สาเหตุของปญั หาดินเปรยี้ ว ทาำ ใหด้ ินลดความเป็นกรดลง ตลอดจนการใช้ ปูนมาร์ลควบคู่กับการปรับปรุงบำารุงดินด้วยวิธีอินทรีย์ ทำาให้สามารถ สง่ ผลใหร้ ะดบั นา้ำ ใตด้ นิ สงู ขนึ้ สามารถเจอื จางสารไพไ การเกษตรได้ตลอดทั้งปี ส่ง๕ผ๓.ล๓๓ให้ บรรเทาปัญหาดินเปร้ยี วในพน้ื ทไ่ี ด้กวา่ ๑๐๗๐,๒๐๐.๘๐๖ไร่ สาเหตขุ องปัญหาดนิ เปร้ียว ทำาใหด้ ินลดความเป็นกรดลง ตลอดจ มีผลิต๔ผ๘.ล๖๔ทางการเกษตรเพ่ิมขึ้น โดย ผลผลติ ขา้ วนาปจี ากเดมิ ๔๘.๖๔ ถงั / ๖๔.๔๐.๗งมาีกนาพรพฒั ัฒนนาแาสล่งะเสส่ง๕รเิมส๓อร.๓มิาช๓อีพาชทพี้ังในภาคเกษตรและนบปอกูรนรภมเาทาคารป์ลญัควหบาคดู่นิกัเบปกรา้ียรวปในรัพบ้ืนปทรุงี่ไดบ้กำาวรุ่างด๑ิน๐ด๐้ว,๐ย๐ว๐ิธีอไินร่ ทรีย์ ทำาให ไร่ เปน็ ๖๔.๐๗ ถงั /ไร่ และขา้ วนาปรงั จาก ๕๓ข้า.ว๓นา๓ปี ถัง/ไร่ เป็น ๗๒ข.้า๘วน๖าปรัง ๔๘.๖๔ เกษตร การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๔. งานพฒั นาและสง่ เสริมอาชพี ถัง/ไร่ การเพ่มิ ขนึ้ ของจำานวนผลผลิตข้าวนาปี/ขา้ วนาปรงั (หนว่ ย : ถงั ) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาแหล่งประมง และการพัฒนาปศุสัตว์ ซ่ึงก็ได้ประสบความสำาเร็จในการลดรายจ่ายให้ มีการพัฒนาส่งเสริมอาชีพทั้งในภาคเกษตรและน ครวั เรอื นไดถ้ งึ ๑,๔๕๐ บาทตอ่ เดอื น และมรี ายไดเ้ ฉล่ียเพิม่ ข้นึ คเรกวั เษรือตนร การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแ ละ ๕,๐๕๓ บาท ส่งผลให้จำานวนครัวเรือนร้อยละ ๖๑.๕ ของคกรัวาเรรทือน่องเที่ยวเชิงนิเวศ และพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาแหล ขา้ วนมในารี ปโาคียรไดงกส้ าูงรกทว่าั้งห๑ม,๓ด๘๖มีรบาายทไตด่อ้สคูงกนขวต่า้า่อวเเสนด้นาอื ปคนรวงัามยากจนในปี ๒๕๔แ๙ละคกือารพัฒนาปศุสัตว์ ซึ่งก็ได้ประสบความสำาเร็จในการลดรา กอ่ นสรา้ งเขอื่ นขุนด่านฯ หลงั สรา้ งเขอื่ นขนุ ดา่ นฯ การเพิม่ ขน้ึ ของจาำ นวนผลผลิตข้าวนาป/ี ขา้ วนาปรัง (หน่วย : ถงั ) ครวั เรือนได้ถงึ ๑,๔๕๐ บาทตอ่ เดอื น และมรี ายไดเ้ ฉลี่ยเพิม่ ข้ึน ละ ๕,๐๕๓ บาท ส่งผลให้จำานวนครัวเรือนร้อยละ ๖๑.๕ ของ ในโครงการทั้งหมด มีรายได้สูงกว่าเส้นความยากจนในปี ๒๕ 36 ๔,๓๕๐ การทรงงาน กอ่ นสร้างเข่อื นขุนดา่ นฯ หลังสร้างเขอื่ นขนุ ด่า๘น๔ฯพรรษ� ประโยชน์สุขสู่ปวงประช� 5ม1ีรายได้สงู กว่า ๑,๓๘๖ บาทตอ่ คนตอ่ เดือน เพือ่ ประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชน

๓. การแก้ไขปัญหาดินเปร้ียว จากผลที่ระดับน้ํา -๑,๔๕๐ บาท/เดอื น ใต้ดินสูงขึ้น สามารถเจือจางสารไพไรต์ซึ่งเป็นสาเหตุของปัญหา ลดรายจ่าย ดินเปรี้ยว ท�ำให้ดินลดความเป็นกรดลง ตลอดจนการใช้ปูนมาร์ล รายจา่ ย กอ่ นโครงการ หลังโครงการ ควบคู่กับการปรับปรุงบ�ำรุงดินด้วยวิธีอินทรีย์ ท�ำให้สามารถ บรรเทาปัญหาดนิ เปร้ียวในพืน้ ที่ไดก้ ว่า ๑๐๐,๐๐๐ ไร่ +๕,๐๕๓.๕๐ บาท/เดอื น เพมิ่ รายได้ ๔. การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ทั้งในภาคเกษตร และนอกภาคเกษตร เป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิต ซึ่งประสบความ ส�ำเร็จในการลดรายจ่ายให้ครัวเรือนได้ถึง ๑,๔๕๐ บาทต่อเดือน และมรี ายไดเ้ ฉลยี่ เพมิ่ ขนึ้ ครวั เรอื นละ ๕,๐๕๓ บาท สง่ ผลใหจ้ ำ� นวน รายได้ ก่อนโครงการ หลังโครงการ ครวั เรอื นรอ้ ยละ ๖๑.๕ ของครวั เรอื นในโครงการทงั้ หมด มรี ายได้ สูงกว่าเส้นความยากจนในปี ๒๕๔๙ คอื มรี ายไดส้ งู กว่า ๑,๓๘๖ ๖๑.๕ % ราย๑ได,๓้เฉ๖ลยี่ ๘ บาท/เดือน บาทต่อคนตอ่ เดอื น เพ่ืมคณุ ภาพชวี ิต เส้นความยากจน ปี ๒๕๔๙ นอกจากน้ี ไดม้ กี ารสรา้ งโรงไฟฟา้ ขนาดเลก็ มกี ำ� ลงั ผลติ ๑๐ เมกะวตั ต์ บริเวณทา้ ยเขอ่ื นขุนด่านปราการชล “ จา� นวนครัวเรอื นในโครงการ ก จ เข่ือนขุนด่านปราการชลสร้างคุณูปการให้กับประชาชนในพื้นท่ี และบริเวณใกล้เคียงมากมาย ต่อเนื่องไปยังการดำาเนินงานในอนาคต ที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้เริ่มทำาการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ขนาดเล็ก มีกำาลังการผลิต ๑๐ เมกะวัตต์ บริเวณท้ายเขื่อน ซ่ึงคาดว่า จะแลว้ เสรจ็ ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๖ น้ี เพอ่ื อาำ นวยประโยชนส์ ขุ ใหแ้ กป่ ระชาชน ใตร้ ม่ พระบารมีตอ่ ไป 52 ผลสำ�เร็จโครงก�รอันเนื่องม�จ�กพระร�ชดำ�ริ ๔,๓๕๐ การทรงงาน 37 เพอ่ื ประโยชนส์ ุขแห่งมหาชน

เขือ่ นกักเก็บนา้ํ ทีม่ ีประสิทธภิ าพ เขื่อนปา่ สักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบรุ ี “...โครงการปา่ สักมไี ว้สำ� หรบั นำ้� แหง้ และมีไว้ เข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิพัฒนาข้ึนเพื่อบริหารจัดการน้ํา ส�ำหรับน้�ำเปียก น้�ำมากน�้ำเกินมันก็เปียก ท�ำให้มีความ อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นนายเหนือน้ํา ให้สามารถใช้ประโยชน์ เสียหาย เสียหายท้ัง ทางเกษตร คือถ้าส่ิงที่เพาะปลูก จากนํ้าได้ตามต้องการ ทั้งเป็นแหล่งต้นทุนน้ําชลประทาน เพื่อ ถูกน้�ำท่วมก็เน่า เม่ือเน่าแล้ว เจ้าของคือเกษตรกรก็ไม่มี การเกษตรกรรมในฤดูแล้ง ป้องกันและบรรเทาอุทกภัยใน รายได้ ต้องช่วยเขา…เสียหายมาก ในด้านอื่น ในกรุง บริเวณลุ่มนํ้าป่าสักและลุ่มนํ้าเจ้าพระยาตอนล่างในฤดูนํ้าหลาก ในเมืองก็มีน้�ำมาก ไม่ได้ประโยชน์ ก็ล้นมาท่วมถนน ตลอดจนเพื่อบรรเทาปัญหาน้ําเน่าเสียในเขตกรุงเทพมหานคร การจราจรตดิ ขดั ธุรกิจต่างๆ หยดุ ชะงักเสยี หาย...” และเมืองใหญ่ในภาคกลาง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไป พระราชดำ� รสั ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงเปดิ เขอ่ื น และไดพ้ ระราชทานชอื่ อนั เปน็ มงคลวา่ เขอ่ื นปา่ สกั วันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ชลสทิ ธ์ิ อนั หมายถึงเขอ่ื นกกั เก็บนาํ้ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ 38 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอ่ื ประโยชน์สขุ แห่งมหาชน

ผลสำ� เรจ็ ของโครงการ ๑. แกป้ ญั หาขาดแคลนน้ําอย่างทัว่ ถงึ และใช้น้าํ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ได้มกี ารพัฒนาระบบชลประทานเพ่อื ส่งน้ําไปยัง พนื้ ท่เี กษตรกรรมรวม ๑๗๔,๕๐๐ ไร่ ๒. บรรเทาปัญหาอุทกภัย ในบริเวณลุ่มน้ําป่าสักและพื้นที่ลุ่มนํ้าเจ้าพระยา เช่น จังหวัดสระบุรี พระนครศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ชว่ ยลดความเสยี หายด้านเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยได้อยา่ งมหาศาล ๓. เพ่อื การอปุ โภค-บริโภคและอตุ สาหกรรม โดยใช้ผลติ นา้ํ ประปา และนํ้าใชใ้ นกจิ การโรงงานอตุ สาหกรรมในจงั หวดั ลพบรุ ีและสระบุรี ตารางแสดงการพฒั นาระบบชลประทาน โครงการพฒั นาพืน้ ท่ลี ุ่มน้าํ ป่าสกั จังหวัดลพบุรี ๔. ฟื้นฟู-รักษาสมดุลของระบบนิเวศ จากการกักเก็บนํ้าของเข่ือนป่าสักชลสิทธิ์ส่งผลให้ ระบบชลประทาน พ้นื ท่ีรับประโยชน์ (ไร)่ ปริมาณนํ้าใต้ดินบริเวณเขื่อนและพื้นท่ีด้านท้ายน้ํา โครงการสูบน้าํ พฒั นานคิ ม ๒๙,๓๐๐ มีระดบั สงู ขนึ้ โครงการสูบนํา้ แก่งคอย - บา้ นหมอ ๘๖,๗๐๐ ๕. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาและแหล่ง โครงการสูบนา้ํ พัฒนานิคม - แก่งคอย ๒๘,๕๐๐ ประมงน้ําจดื ขนาดใหญ่ ทม่ี ีพนั ธป์ุ ลา ๑๓๐ ชนิด ซงึ่ พบมากขน้ึ ถงึ ๕๒ ชนดิ จงึ กลายเปน็ แหลง่ ประมง โครงการจัดหานํา้ เพือ่ การเกษตรให้ ๓๐,๐๐๐ พื้นที่ ๓ อ�ำเภอ (สระโบสถ์ โคกส�ำโรง โคกเจริญ) ที่ส�ำคัญแห่งใหม่ของประเทศ และสร้างอาชีพและ รวมพนื้ ที่เกษตรกรรมรับประโยชน์ ๑๗๔,๕๐๐ รายได้ใหก้ ับราษฎรในพ้นื ที่ ๖. เป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีมี การสร้างเส้นทางเดินรถไฟพาดผ่าน บริเวณเข่ือน อีกทั้งตลอดสองข้างทาง ถนนมุ่งสู่เข่ือนมีการปลูกต้นทานตะวัน ดงึ ดูดความสนใจนกั ท่องเทย่ี ว ๔,๓๕๐ การทรงงาน 39 เพื่อประโยชน์สขุ แห่งมหาชน

น้าํ มาใหร้ ีบปลอ่ ย โครงการแก้มลงิ กรงุ เทพมหานคร “...ถา้ เราสง่ กลว้ ยให้ ลงิ กจ็ ะรบี ปอกเปลอื กแลว้ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เจ ้ า อ ยู ่ หั ว ไ ด ้ เ ส ด็ จ เอาเข้าปาก เคี้ยวๆ แล้วเอาไปเก็บท่ีแก้ม จะกินกล้วย พระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรสภาพน้ําท่วมด้วยพระองค์ เข้าไปไว้ที่กระพุ้งแก้มได้เกือบท้ังหวี โดยเอาไปเก็บไว้ เองหลายคร้ัง เพ่ือวางแผนการระบายนํ้าออกจากพ้ืนที่ ที่แก้มก่อน แล้วจะน�ำออกมาเค้ียว และกลืนกินเข้าไป ที่ถูกนํ้าท่วม และพระราชทานค�ำแนะน�ำในการระบายน้ํา ภายหลัง ด้วยพฤติกรรมการน�ำกล้วย หรืออาหารมา รวมท้ังการจัดหา พื้นท่ีพักนํ้าเพ่ือบรรเทาความเสียหาย สะสมไว้ท่ีกระพุ้งแก้มก่อนการกลืนน้ี จึงเป็นพฤติกรรม เมื่อยามนา้ํ หลาก หรือท่ีเรียกวา่ “แก้มลิง” ตวั อยา่ งทจ่ี ะนำ� มาใชใ้ นการระบายนาํ้ ทว่ ม ออกจากพนื้ ท่ี น้ําท่วมขังบริเวณทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ของ โครงการแก้มลิง ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล แม่นา้ํ เจา้ พระยา...” ตามแนวพระราชด�ำริ ประกอบด้วยการขุดลอกคลองระบาย นํ้าการปรับปรุงก่อสร้างสถานีสูบน้ําและประตูระบายน้ํา พระราชด�ำรสั ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว รว่ มกบั การทำ� แก้มลงิ โดยการจัดหาพนื้ ทส่ี ำ� หรับพักนํ้า ผันน้ํา จากแม่นํ้าเจ้าพระยา และนํ้าที่ขึ้นมาตามซอยต่างๆ เม่ือน้ํา ทะเลหนนุ ใหไ้ ปเกบ็ ไวท้ บี่ งึ ใหญท่ อ่ี ยใู่ กลก้ บั พนื้ ทช่ี ายทะเล และ มีประตูน้ําขนาดใหญ่ส�ำหรับปิดก้ันนํ้าบริเวณแก้มลิงส�ำหรับ ฝง่ั ตะวนั ตก ซงึ่ จะอยทู่ ค่ี ลองชายทะเล สว่ นแกม้ ลงิ ฝง่ั ตะวนั ออก จะอยทู่ ค่ี ลองสรรพสามติ เมอ่ื เวลานา้ํ ทะเลลดลงกใ็ หเ้ ปดิ ประตู ระบายน้ําออกไป เพ่ือใหบ้ ึงสามารถรับนํา้ ชุดใหม่ต่อไปอีก 40 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอื่ ประโยชน์สขุ แหง่ มหาชน

การใช้แนวถนนสุขุมวิท เป็นคันก้ันน้ําทะเลท่ี หนุนท่วมข้ึนมาบนชายฝั่งทะเล และใช้พ้ืนท่ีด้านในของถนน สขุ มุ วทิ เปน็ พน้ื ทพ่ี กั นา้ํ ทไี่ หลมาจากตอนบน พรอ้ มทง้ั ดำ� เนนิ การก่อสร้างสถานสี บู นา้ํ ตามคลองต่างๆ เลยี บถนนสขุ มุ วิท ตามแนวคลองชายทะเล ไดแ้ ก่ คลองบำ� หรุ คลองบางปลารา้ คลองบางปลา คลองเจริญราษฎร์ คลองดา่ น คลองชลหาร พจิ ติ ร รวมปรมิ าณนา้ํ ทส่ี ามารถสบู ออกทะเล ๒๖๗ ลกู บาศก์ เมตรต่อวินาที ท�ำให้นํ้าสามารถไหลลงสู่ด้านล่างได้สะดวก รวดเรว็ ข้นึ หลกั ๓ ประการทท่ี �ำใหโ้ ครงการแกม้ ลิงบรรลุ ผลส�ำเร็จ ๑. การเลือกสถานท่ีที่จะท�ำหน้าท่ีเป็นบ่อพักและ วิธีการชักนำ� นาํ้ ทว่ มไหลเขา้ สบู่ ่อพกั นํ้า ๒. เสน้ ทางนาํ้ ไหลทส่ี ะดวกตอ่ การระบายนาํ้ เขา้ สู่ แหลง่ ทีท่ �ำหนา้ ที่บ่อพกั น้ํา ๓. การระบายน้ําออกจากบ่อพักน้ําต้องเป็นไป อย่างต่อเน่ือง “ โ ค ร ง ก า ร แ ก ้ ม ลิ ง ฝ ั ่ ง ต ะ วั น อ อ ก ข อ ง แ ม ่ น้ํ า เจ้าพระยา” ใช้คลองชายทะเลต้ังอยู่ริมทะเลด้านจังหวัด สมุทรปราการท�ำหน้าท่ีเป็นบ่อพักน้ําหรือ บ่อรับนํ้า ส่วน “โครงการแก้มลิงในพ้ืนที่ฝั่งตะวันตกของแม่นํ้า เจ้าพระยา” ท�ำหน้าที่รับน้ําในพื้นท่ีฝั่งตะวันตกของแม่นํ้า เจ้าพระยา เพ่ือระบายออกทะเลด้านจังหวัดสมุทรสาคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชด�ำริ เพื่อให้การระบายนํ้าท่วมออกทะเลเร็วขึ้นด้วยวิธีการต่างๆ เช่น โครงการแก้มลงิ “แมน่ ํ้าทา่ จีนตอนลา่ ง” ซ่ึงใช้หลกั การ ในการควบคุมนํ้าในแม่นํ้าท่าจีน คือ เปิดระบายนํ้าจ�ำนวน มากลงสูอ่ ่าวไทยเมอื่ ระดบั นาํ้ ทะเลต่ํา ๔,๓๕๐ การทรงงาน 41 เพ่อื ประโยชน์สุขแหง่ มหาชน

“...ใหด้ ำ� เนนิ การศกึ ษาวธิ กี ารปรบั ปรงุ ดินที่เส่ือมโทรม ให้สามารถใช้ประโยชน์ในการ เพาะปลกู ได้ โดยทำ� การทดสอบ วางแผน และจดั ระบบปลูกพืชทเ่ี หมาะกบั สภาพพ้ืนท่ี ในลกั ษณะ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาขนาดยอ่ ม...” พระราชดำ� รสั ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว วันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๙ ทรงปลูกต้นประดู่ ทบ่ี รเิ วณอา่ งเก็บน้ำ� เขาชะงุ้ม (เขาเขยี ว) ฟนื้ ผนื ดิน คืนถ่นิ ปา่ เมื่อวนั ท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙ โครงการศึกษาวิธีการฟ้นื ฟูทีด่ ินเสอ่ื มโทรมเขาชะงมุ้ จังหวัดราชบรุ ี การใช้ดินจนเกิดการท�ำลายหน้าดินก่อให้เกิดความเส่ือมโทรม ขาดคุณภาพ เป็นดินที่ไม่มี แรธ่ าตสุ �ำคญั สำ� หรบั พชื สง่ ผลใหผ้ ลผลิตลดลง พนื้ ทโี่ ครงการทง้ั สิ้น ๘๔๙ ไร่ ๓ งาน ๒๒ ตารางวา ได้ ด�ำเนนิ การปรับปรงุ ดินใหส้ ามารถใช้ประโยชนใ์ นการเพาะปลูกได้ ทดสอบ วางแผน และจัดการระบบปลกู พชื ท่ีเหมาะสม โดยด�ำเนินการในลกั ษณะเปน็ ศูนย์สาขาของศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยทรายฯ สภาพพ้นื ท่ีปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ซ่งึ มีการฟื้นฟูบำ� รุงดนิ แลว้ 42 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพ่อื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน

ผลส�ำเร็จของโครงการ พฒั นาดิน โดยการใชป้ ยุ๋ หมักปุ๋ยอนิ ทรยี ์น�้ำ และปยุ๋ พืชสด เชน่ ปอเทือง พชื ตระกูลถ่วั แลว้ ไถกลบ และปลูกหญา้ แฝก อนุรักษ์ดินและน�้ำ มีตะกอนดินตามแนวหญ้าแฝกสูงเฉล่ีย ๑.๖ ซม. และมีความอุดมสมบูรณ์ข้ึน จากเดิมท่ีมีปริมาณอินทรียวัตถุ รอ้ ยละ ๐.๕๘ เพิม่ ขนึ้ เป็นรอ้ ยละ ๑.๗ แปลงแฝกสรา้ งดนิ เมอ่ื ปี ๒๕๔๑ แปลงแฝกสร้างดนิ เมอ่ื ปี ๒๕๕๕ พัฒนาแหล่งน�้ำ ก่อสร้างอ่างเก็บขนาด ๑๕๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร บ่อกักเก็บน�้ำ ๖ แห่ง ความจุรวม ๘๙,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร สระเก็บนำ้� ๔ แหง่ บ่อบาดาล จ�ำนวน ๓ บอ่ และติดตัง้ ระบบการสบู น�ำ้ จากคลองส่งน้�ำ โครงการแมก่ ลองใหญ่ เตมิ อา่ งเกบ็ น้�ำปีละ ๒๗๖,๔๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร และในหมู่บา้ นรอบโครงการ สร้างฝายทดน�้ำ ๑๓ แห่ง และขดุ สระน�้ำหรือปรบั ปรุง สระเดมิ ๒๓ แห่ง พนื้ ทร่ี บั ประโยชน์ ๑,๔๗๒ ไร่ พัฒนาพันธุ์พืช โดยการปลูกมะม่วง ส้มโอพันธุ์ขาวใหญ่ มะละกอ มะขาม มะนาว ผลปรากฏว่าเจริญดี ส่วนพืชผัก สวนครัวได้ผลดี และแปลงสาธิตทฤษฎีใหม่ในเขตอับน�้ำฝน พ้ืนท่ี ๑๕ ไร่ เป็นตัวอย่างการบริหารจัดการดินและน�้ำ รวมทั้งการ ปลกู ไมผ้ ลพืชไร่ ดำ� เนนิ การมา ๗ ปี (พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๔) มีรายไดจ้ ากผลผลิต รวมเป็นเงินทง้ั ส้ิน ๒๐๔,๘๘๑ บาท ๔,๓๕๐ การทรงงาน 43 เพ่อื ประโยชน์สขุ แหง่ มหาชน

ไม้ผล ฝรัง่ พันธก์ุ ลมสาลี่ เจริญเติบโต การปลกู ขา้ วไร่และข้าวนาหว่าน ดที ี่สุด แต่ยงั ไมม่ ีผลผลติ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ขา้ วพนั ธุ์ชยั นาท ๑ ไดผ้ ลผลิตดีท่ีสดุ มีผลผลติ ขา้ ว ๑,๔๙๑ กโิ ลกรมั เกบ็ ไว้เป็นอาหารไก่ หมู และเก็บไว้ เป็นพ่อพันธุ์ ผลผลิตจากพชื ผักต่างๆ สระน้ำา มีปริมาณนา้ำ เพียงพอกับ ประเภทของสัตว์ สามารถจำาหน่ายไดเ้ ป็นเงิน การเพาะปลกู ตลอดปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ๓๔,๘๐๘ บาท ๒๕๐ พัฒนาปา่ ไม้ การอนุรกั ษแ์ ละฟนื้ ฟปู ่าเขาเขยี ว จำ� นวน ๒๐๐ ๑๕๗ ชนดิ ๑๖๓ ชนดิ ๓,๖๓๓ ไร่ และพ้ืนท่ีในโครงการท�ำแนวกันไฟและใช้แนวพระ ราชดำ� ริ “ปลูกปา่ โดยไมต่ ้องปลกู ” มพี นั ธุไ์ ม้ทง้ั หมด ๑๖๗ ชนดิ ๑๕๐ ๔๖ ชนิด ๕๒ ชนดิ ปี พ.ศ. ความหนาแนน่ ของพนั ธไ์ุ ม้ มจี ำ� นวน ๓๗๑ ตน้ ตอ่ ไร่ และมสี ตั วป์ า่ ๓๐ ชนดิ ๓๐ ชนิด มาอยอู่ าศัยจำ� นวน ๒๖๐ ชนดิ มกี ารเปลย่ี นแปลงจากปา่ เต็งรงั ๑๐๐ ๑๒ ชนิด ๑๕ ชนดิ เป็นป่าเบญจพรรณมากข้ึน เป็นร้อยละ ๗๒.๕๕ พัฒนาหมู่บ้าน ๕๐ ๖๐ ชนิด ในบริเวณใกลเ้ คยี งจำ� นวน ๑๒ หมูบ่ ้าน ประชากร ๒,๕๑๐ ครวั ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ เรือน ๕,๖๓๕ คน พน้ื ท่ีการเกษตร ๕,๐๐๐ ไร่ สร้างเกษตรกร ๗๗๔ ชชชนนนดิดิิด ต้นแบบ ๙ แหง่ พร้อมเครือขา่ ย และใหค้ วามรแู้ กเ่ ยาวชน และ เกษตรกรท่วั ไปมาศกึ ษาดงู านปี ๒๕๕๕ ประมาณ ๔๓,๕๕๐ คน ๒๕๔๘ โดยเป็นตัวอย่างของ “การปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก” ท่ีชัดเจนและ สมบูรณ์มากท่ีสุด นก สัตวเ์ ล้ือยคลาน สัตวเ์ ลยี้ งลูกด้วยนม สัตว์คร่ึงบกครง่ึ น้า� สตั วป์ า่ ทพ่ี บอยอู่ าศยั บรเิ วณเขาเขยี ว จากการศกึ ษาเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ พบวา่ มจี ำ� นวน ๒๖๐ ชนดิ 44 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชน

ธรรมชาตบิ �ำบัด : ใช้ธรรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผกั เบ้ียอันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริ จังหวดั เพชรบุรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระ ราชด�ำริ เมื่อวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๓๓ ให้ศึกษาวิธีแก้ไข ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี กยี่ วกบั ขยะมลู ฝอยและนำ้� เสยี ในชมุ ชน ซง่ึ มีผลต่อการรักษาสภาพป่าชายเลนด้วยวิธีการทางธรรมชาติ และรักษาธรรมชาติ โดยด�ำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๓๔ ในพ้ืนที่ สาธารณประโยชน์ ณ ต�ำบลแหลมผักเบ้ีย อ�ำเภอบ้านแหลม จงั หวดั เพชรบุรี เนอื้ ทีป่ ระมาณ ๖๔๒ ไร่ การบ�ำบดั นำ�้ เสยี ๑. บำ� บัดน้�ำเสยี โดยใชบ้ ่อบำ� บัด ๕ บ่อ ได้แก่ บ่อตกตะกอน ๑ บอ่ , บอ่ ผงึ่ ๓ บอ่ , บอ่ ปรบั สภาพ ๑ บอ่ แต่ละบ่อใช้เวลา ในการบ�ำบัด ๗ วนั ลกั ษณะการไหลของนา้ํ ระหวา่ งบ่อบ�ำบดั ๒. บ� ำ บั ด น้� ำ เ สี ย ด ้ ว ย ร ะ บ บ ท่ี ใช ้ พื ช แ ล ะ ลักษณะของแปลงระบบบ�ำบดั น้ําเสยี ดว้ ยพชื และหญ้ากรอง หญ้ากรองน้�ำเสีย ได้แก่ หญ้าสตาร์ หญ้าคาลล่า หญา้ โดสครอส และพชื อน่ื ๆ เชน่ ธปู ฤๅษี กกกลม (กกจนั ทรบรู ) หญ้าแฝก เป็นตัวกรองโดยให้น�้ำเสียไหลผ่านแปลงเป็นเวลา ๕ วัน และปลอ่ ยท้งิ ไว้ใหแ้ หง้ ๒ วนั เพอื่ ให้จลุ ินทรีย์ในดินได้ ปรับสภาพโดยต้องตดั หญ้าเม่อื อายุครบ ๔๕ วัน ๔,๓๕๐ การทรงงาน 45 เพ่อื ประโยชน์สขุ แหง่ มหาชน

๓. บ� ำ บั ด น�้ ำ เ สี ย ด ้ ว ย ระบบพ้ืนท่ีชุ่มน้�ำเทียม มีลักษณะ การบ�ำบัดคล้ายกับระบบพืชและ หญ้ากรองน้ำ� เสีย แต่จะใช้พชื น�้ำ ๒ ชนิด คือ กกกลม (กกจนั ทรบูร) และ ธูปฤๅษี โดยต้องตัดต้นพืชเม่ืออายุ ครบ ๖๐ วนั หมายเหตุ : การบ�ำบดั นำ�้ เสยี ในข้นั ตอนสุดทา้ ยของทงั้ ๓ ระบบ จะปล่อยนำ้� ทบ่ี �ำบดั แล้วลงสู่ปา่ ชายเลน และไหลสูท่ ะเล ๔. บ�ำบัดน้�ำเสียด้วยแปลงพืชป่าชายเลน โดยให้น้�ำทะเลไหลเข้าสู่ แปลงในช่วงที่น�้ำขึ้นสูงสุดในรอบวัน และปิดประตูระบายน้�ำ แล้วปล่อยน้�ำเสีย เข้าไปในอตั ราสว่ น ๑ ต่อ ๑๖ (นำ�้ เสยี ๑ ส่วน ต่อนำ�้ ทะเล ๑๖ ส่วน) วิธนี ้เี ป็นการ เจือจาง การเร่งการตกตะกอน พืชจะช่วยดูดสารอาหารจากการย่อยสลาย สารอินทรีย์ของจุลินทรีย์ในดิน เพ่ือไปสร้างความเจริญเติบโตของพืชป่าชายเลน เทคโนโลยีนี้ด�ำเนินการตามแนวพระราชด�ำริ คือใช้ธรรมชาติร่วมธรรมชาติ โดย ท้องถ่นิ สามารถประยุกตไ์ ปใช้ได้ทกุ พื้นที่ของประเทศไทย การก�ำจัดขยะโดยใชก้ ล่องคอนกรตี การก�ำจัดขยะโดยใช้กล่องเป็นชั้นๆ โดยพ้ืนท่ีรองด้วยช้ันทรายละเอียดหนา ๒๐ เซนติเมตร ใส่ขยะที่คัดแยกให้มีน�้ำหนัก ๖๖๐ กิโลกรัม ปิดทับด้วยดินแดงหรือดินธรรมดา นำ้� หนกั ๒๑๐ กิโลกรัม ส่วนชัน้ สดุ ท้ายใสข่ ยะ ๖๗๐ กโิ ลกรัม แล้วปดิ ทบั ด้วยดินแดงหรือดนิ ธรรมดา น้ำ� หนัก ๗๓๐ กโิ ลกรัม หรือหนา ๓๕ เซนตเิ มตร รดนำ้� เพมิ่ ความชน้ื จำ� นวน ๑๐๐ ลติ ร โดยการดแู ลเพ่ือเร่งขยายจุลินทรยี ์ในการยอ่ ยสลายของขบวนการการหมักจะต้องรดน�ำ้ ทกุ ๆ ๗ วนั ครงั้ ละ ๓๐ ลิตร เพม่ิ ความชุม่ ชื่นให้แก่ขยะ ถา้ แยกขยะสมบูรณ์ใช้เวลา ๒๐ วัน จะได้ปุ๋ยหมักจากขยะและทิง้ ไว้ ๑๕ วนั เพอ่ื ลดความชมุ่ ชื้นลง การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้และถา่ ยทอดเทคโนโลยสี สู่ าธารณชน สามารถเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องการบำ� บัดน�้ำเสียและการกำ� จัดขยะมูลฝอยด้วยวิธีทางธรรมชาติตามแนวพระราชดำ� ริ สู่นักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนท่วั ไปท่สี นใจทั้งภายในประเทศและตา่ งประเทศ ซ่ึงจากสถิตขิ อ้ มูลพบว่า มผี ู้เยยี่ มชมและศึกษา ดูงานในแต่ละปีกว่า ๖๐,๐๐๐ คน 46 ๔,๓๕๐ การทรงงาน เพ่ือประโยชน์สขุ แหง่ มหาชน