Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3

Description: บทที่ 3

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้นับเป็นวิธีหน่ึงที่ทาให้ครูผู้สอนได้มีการเตรียมการสอน ล่วงหนา้ ก่อนที่จะทาการสอนจริง โดยมีการเตรยี มเนื้อหาเตรียมกจิ กรรม เตรียมสือ่ การเรียนการสอน รวมท้ังวิธีการวัดผลประเมินผลซ่ึงการเตรียมการสอนจะช่วยให้ครูผู้สอนมีความพร้อมท่ีจะสอนให้ ผู้เรยี นบรรลุตามจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรฉู้ บับนี้ ผู้จดั ทาไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) เอกสารอื่นๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง วิเคราะห์ หลักสูตร จดั ทากาหนดการสอน โครงสร้างรายวชิ า และหารปู แบบการทาแผนการจัดการเรียนรู้โดย เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นผ่านกระบวนการคิดดว้ ยตนเอง โดยคานึงถึงสภาพแวดล้อมของผูเ้ รยี น โรงเรยี น และชมุ ชนเป็นหลัก แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เวลา เพื่อพัฒนาความเข้าใจเกย่ี วกบั สัญลักษณ์ และการ ดาเนินการตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์ โดยเนน้ ขนั้ ตอนหรือวิธีการทางคณิตศาสตร์ จดั ทาไว้เพอื่ สะดวกต่อการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทกุ ปีการศึกษา ผู้ทีจ่ ะนาไปใช้ควรอ่านคา ช้แี จงการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ให้เขา้ ใจก่อนนาไปใชจ้ ริง ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างย่ิงว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ีจะช่วยให้การเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ดาเนินไปด้วยดี และทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ มที ักษะกระบวนการและมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ รงตามจดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร ต่อไป ....................................

สารบญั ข เรอ่ื ง หนา้ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 1 ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง 2 คาอธบิ ายรายวชิ า 7 โครงสร้างเวลาเรียน 9 โครงสรา้ งรายวชิ า 10 กาหนดแผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา 11 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 12 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 16 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 20 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 4 24 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 29 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 33 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 7 37 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8 41 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 9 46 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 50 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 54 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 12 58 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 62 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 66 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 15 70 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 74

1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กาหนดให้ สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบอ้ื งตน้ ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ นาไปใช้ ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 จานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ - การอ่าน การเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดง ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวน จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 - หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และ 2. เปรียบเทยี บและเรยี งลาดับจานวนนับ การเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ตา่ งๆ กระจาย - การเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จานวน เศษส่วน 3. บอก อ่าน และเขียนเศษสว่ นแสดง - เศษส่วนทมี่ ตี ัวเศษนอ้ ยกวา่ หรือเทา่ กบั ปรมิ าณสิง่ ต่างๆ และแสดงสง่ิ ต่างๆ ตัวสว่ น ตามเศษส่วนทก่ี าหนด - การเปรยี บเทียบและเรียงลาดับ 4. เปรียบเทียบเศษสว่ นทตี่ ัวเศษเทา่ กัน เศษส่วน โดยท่ีตัวเศษน้อยกวา่ หรอื เท่ากับตัว สว่ น การบวก การลบ การคูณ การหารจานวน 5. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 สญั ลักษณแ์ สดงการบวกและประโยค - การบวกและการลบ สญั ลักษณ์แสดงการลบของจานวนไม่ - การคณู การหารยาวและการหารส้นั เกนิ 100,000 และ 0 - การบวก ลบ คูณ หารระคน 6. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค - การแก้โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทย์ สญั ลักษณ์ แสดงการคณู ของจานวน 1 ปัญหา พร้อมท้งั หาคาตอบ หลักกบั จานวนไม่เกิน 4 หลกั และ จานวน 2 หลักกับจานวน 2 หลัก 7. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สญั ลักษณ์ แสดงการหารที่ตวั ต้งั ไมเ่ กนิ 4 หลัก ตัวหาร 1 หลกั

3 ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 8. หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 9. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา 2 ขัน้ ตอน ของจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 การบวก การลบเศษสว่ น 10. หาผลบวกของเศษส่วนทมี่ ีตัวสว่ น - การบวกและการลบเศษส่วน เทา่ กนั และผลบวกไมเ่ กิน 1 และหาผล - การแก้โจทย์ปญั หาการบวกและโจทย์ ลบของเศษส่วนทม่ี ีตัวส่วนเท่ากัน ปญั หาการลบเศษส่วน 11. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการ บวกเศษสว่ นทีม่ ีตวั ส่วนเทา่ กันและ ผลบวกไมเ่ กนิ 1 และโจทยป์ ญั หาการ ลบเศษสว่ นทีม่ ีตัวสว่ นเท่ากัน สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนกุ รม และ นาไปใช้ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 แบบรูป 1. ระบจุ านวนทีห่ ายไปในแบบรูปของ - แบบรปู ของจานวนท่ีเพม่ิ ข้นึ หรอื ลดลง จานวนที่เพม่ิ ข้นึ หรอื ลดลงทลี ะเทา่ ๆ กัน ทลี ะเท่าๆ กนั สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พันธห์ รอื ช่วยแกป้ ัญหาท่ี กาหนดให้ ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 3 - -

4 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ อ้ งการวดั และ นาไปใช้ ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 เงนิ 1. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การบอกจานวนเงนิ และเขยี นแสดง เกยี่ วกับเงิน จานวนเงนิ แบบใชจ้ ดุ 2. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การเปรยี บเทยี บจานวนเงินและการ เกยี่ วกับเวลา และระยะเวลา แลกเงนิ - การอา่ นและเขยี นบนั ทึกรายรบั รายจา่ ย - การแก้โจทยป์ ญั หาเกย่ี วกับเงนิ เวลา - การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที - การเขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาที - การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งช่ัวโมงกบั นาที - การอา่ นและการเขยี นบนั ทกึ กิจกรรมท่ี ระบเุ วลา - การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกับเวลาและ ระยะเวลา ความยาว 3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวท่ี - การวดั ความยาวเป็นเซนตเิ มตรและ เหมาะสมวัดและบอกความยาวของส่งิ มลิ ลิเมตร เมตรและเซนตเิ มตร ต่างๆ เป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร กโิ ลเมตรและเมตร เมตรและเซนตเิ มตร - การเลอื กเคร่อื งมอื วดั ความยาวท่ี 4. คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็น เหมาะสม เซนติเมตร - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ 5. เปรียบเทียบความยาวระหว่าง เปน็ เซนติเมตร เซนตเิ มตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกับ - การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้ เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จาก ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยความยาว สถานการณต์ ่างๆ - การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ความยาว

5 ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 3 6. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา เกีย่ วกับความยาวทีม่ หี น่วยเปน็ เซนติเมตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและ เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร น้าหนัก 7. เลือกใชเ้ ครือ่ งชัง่ ท่เี หมาะสม วดั และ - การเลอื กเครอ่ื งชัง่ ทเ่ี หมาะสม บอกน้าหนกั เป็นกิโลกรัมและขีด - การคาดคะเนน้าหนกั เปน็ กิโลกรมั และ กโิ ลกรมั และกรัม เปน็ ขดี 8. คาดคะเนน้าหนกั เป็นกิโลกรัมและเป็น - การเปรยี บเทียบนา้ หนกั โดยใช้ ขีด ความสัมพันธ์ระหว่างกโิ ลกรมั กบั กรัม 9. เปรยี บเทยี บน้าหนักระหว่างกิโลกรมั เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรมั และกรมั เมตริกตันกบั กิโลกรมั จาก - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกบั นา้ หนัก สถานการณต์ ่างๆ 10. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา เกย่ี วกบั นา้ หนักทมี่ หี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั กบั กรมั เมตรกิ ตันกบั กิโลกรัม นา้ หนัก 11. เลือกใชเ้ คร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วดั และ - การวัดปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตร เปรยี บเทียบปรมิ าตร ความจุเปน็ ลิตร และมลิ ลลิ ิตร และมลิ ลลิ ิตร - การเลือกเคร่ืองตวงทเี่ หมาะสม 12. คาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตร - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจุเปน็ 13. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ลติ ร เก่ียวกับปรมิ าตรและความจุทมี่ หี นว่ ย - การเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจุ เป็นลิตรและมลิ ลลิ ิตร โดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างลติ รกบั มลิ ลลิ ติ ร ช้อนชา ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวงกบั มลิ ลลิ ิตร - การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ปรมิ าตร และความจทุ มี่ ีหนว่ ยเปน็ ลติ รและ มลิ ลิลิตร

6 สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง รปู เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 รปู เรขาคณิตสองมิติ 1. ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมิตทิ ม่ี ีแกน - รปู ทมี่ แี กนสมมาตร สมมาตรและจานวนแกนสมมาตร สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแกป้ ัญหา ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป. 3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการนาเสนอ 1. เขียนแผนภูมริ ปู ภาพ และใชข้ ้อมลู จาก ขอ้ มลู แผนภูมริ ูปภาพในการหาคาตอบของ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจาแนก โจทยป์ ัญหา ขอ้ มลู 2. เขยี นตารางทางเดียวจากขอ้ มลู ทเี่ ป็น - การอา่ นและการเขยี นแผนภมู ริ ปู ภาพ จานวนนบั และใชข้ ้อมูลจากตารางทาง - การอ่านและการเขยี นตารางทางเดยี ว เดียวในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา (one – way table) สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนบั เบอ้ื งต้น ความนา่ จะเปน็ และนาไปใช้ ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 - -

7 คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ช่ัวโมง/ปี ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย ตัวหนังสอื แสดงจานวนนบั หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย การเปรยี บเทยี บจานวน การเรียงลาดับจานวน แบบรูปของจานวนที่เพิม่ ข้ึนและลดลง การบวกจานวนนับทีม่ ีผลบวกไม่เกนิ 100,000 การบวกจานวนสามจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ ปัญหาการบวก การลบจานวนทีม่ ตี ัวต้งั ไมเ่ กนิ 100,000 การลบจานวนสามจานวน การหาตัวไมท่ ราบ ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การคูณจานวนหนงึ่ หลกั กับจานวนไม่เกินส่ีหลัก การคณู กบั จานวนสองหลกั กบั จานวนสองหลัก โจทย์ ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปญั หาการลบ การหารที่มตี วั ต้งั ไมเ่ กินส่หี ลักและตัวหารมหี นึ่งหลกั การหา ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครอ่ื งมอื วัดความยาวทเ่ี หมาะสม การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ เป็นเซนติเมตร การ เปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหน่วยความยาว โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับความยาว รปู ที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เท่ากับตัวสว่ น การเปรยี บเทียบเศษส่วน การเรยี งลาดับเศษส่วน การบวกเศษสว่ นที่มีตัวสว่ นเท่ากนั การลบเศษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกนา้ หนกั เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเคร่ืองช่ังที่เหมาะสม การคาดคะเนน้าหนักเป็น กิโลกรมั และเป็นขีด การเปรยี บเทียบน้าหนกั โดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่างกิโลกรัมกบั กรัม เมตรกิ ตัน กับกิโลกรัม โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั น้าหนกั การวดั ปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลติ ร การเลอื ก เคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์ ปัญหาเกีย่ วกับปริมาตรและความจทุ ่ีมหี น่วยเป็นลิตรและมลิ ลิลิตร การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และจาแนก ข้อมลู การอา่ นและเขียนแผนภมู ิรูปภาพ การอา่ นและเขียนตารางทางเดยี ว การบอกเวลาเป็นนาฬิกา และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบ ระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งชัว่ โมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมท่ีระบเุ วลา โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรยี ญและธนบัตรชนดิ ต่างๆ การบอกจานวนเงนิ และ เขียนแสดงจานวนเงินแบบใช้จดุ และการอ่าน การเปรียบเทยี บจานวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ ปัญหาและการสรา้ งโจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน

8 โดยการจดั ประสบการณห์ รอื สร้างสถานการณ์ทีใ่ กลต้ ัวผู้เรยี นไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ ฝกึ ทกั ษะ โดย การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปญั หา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ไี ดไ้ ปใช้ในการเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจาวัน อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มี ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละมีความเช่อื มั่นใน ตนเอง ตัวช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม 28 ตวั ชว้ี ัด

9 โครงสร้างเวลาเรยี น กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 บทท่ี/เร่ือง เวลา (ช่วั โมง) ภาคเรียนท่ี 1 บทท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 18 บทที่ 2 การบวกและการลบจานวนนบั ไม่เกนิ 100,000 28 บทท่ี 3 เวลา 16 บทท่ี 4 รูปเรขาคณิต 2 บทท่ี 5 แผนภูมริ ปู ภาพและตารางทางเดียว 7 บทท่ี 6 เศษส่วน 16 บทท่ี 7 การคณู 18 รวมภาคเรยี นที่ 1 105

10 โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา เวลา เรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั (ชม.) ค 2.1 การบอกเวลาบนหนา้ ปดั นาฬิกาจะบอกเปน็ นาฬกิ า 16 ป.3/1 กบั นาที และสามารถบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมง เปน็ นาที ซ่ึงนามาเปรียบเทียบได้ ส่วนการเขียนและ การอ่านเวลาสามารถใช้มหัพภาค (.) และทวิภาค (:) ซ่ึงนาไปใช้ในการอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมที ระบุได้ การแกป้ ัญหาเก่ยี วกบั เวลาเปน็ การนาเวลา ในหน่วยเดยี วกนั มาบวก ลบ คณู หารกัน

11 กาหนดแผนการจดั การเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เวลา แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี เร่ือง จานวน (ชัว่ โมง) 1 การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที 2 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 1 3 การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที 1 1 4 การอา่ นและเขยี นบอกเวลาทีมมี หัพภาค (.) หรือทวภิ าค 1 (:) 1 5 การอา่ นและเขยี นบอกเวลาทมี ีมหพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) 1 1 6 การบอกระยะเวลาเปน็ ชวั่ โมงและนาที 1 1 7 การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมงและนาที 1 8 การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมงและนาที 1 1 9 การเปรียบเทียบระยะเวลา 1 10 การเปรียบเทียบระยะเวลา 1 11 โจทยป์ ัญหาการบวกเก่ียวกบั เวลาและระยะเวลา 1 1 12 โจทยป์ ญั หาการบวกเกี่ยวกบั เวลาและระยะเวลา 16 13 โจทยป์ ัญหาการลบเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา 14 โจทยป์ ัญหาการลบเกยี่ วกบั เวลาและระยะเวลา 15 การอ่านบันทึกกจิ กรรมท่ีระบุเวลา 16 การเขยี นบนั ทึกกจิ กรรมทีร่ ะบเุ วลา รวม

12 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรยี น 16 ชวั่ โมง เรอื่ ง การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที เวลาเรียน 1 ช่วั โมง สอนวันที.่ ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพืน้ ฐานเกยี่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ที่ตอ้ งการ วัดและนาไปใช้ ตวั ชีว้ ดั ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา สาระสาคญั นาฬกิ าเป็นเคร่อื งมือที่ใช้บอกเวลาเราบอกเวลาเปน็ นาฬกิ า และนาที จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาทีได้ (K) 2. เขียนแสดงเข็มของนาฬิกาตามเวลาที่กาหนดได้ (P) 3. นาความร้เู กี่ยวกับการบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาทีไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอื่ มโยง คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

13 กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครูทบทวนความรูเ้ ดิมโดยวิธีการซกั ถามสนทนาเก่ยี วกับการบอกเวลาเป็นนาฬิกาที่ เรียนผ่านมาแล้ว 2. ครูนานาฬิกาจาลองมาให้นักเรียนดูการเคล่ือนที่ของเวลา โดยให้นักเรียนหัดอ่าน เวลาเปน็ นาฬกิ า ขน้ั สอน 1. ครูนานาฬกิ าจาลองชนิดท่ีมี 2 เข็ม (เข็มสน้ั และเข็มยาว) และแบบมี 3 เข็ม (เข็มสั้น เข็มยาว 2 เข็ม ซึ่งใช้บอกเวลาเปน็ นาที และวินาที) ให้นักเรียนสังเกตว่ามอี ะไรท่ีแตกต่างกนั และใช้ ประโยชน์อยา่ งไร 2. ครูนานาฬิกาของจรงิ แบบมเี ข็มและแบบตัวเลขมาให้นักเรียนดูแล้วอภิปรายความ แตกต่างของนาฬกิ าแตล่ ะชนดิ 3. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายรายละเอียดบนหน้าปัดนาฬิกา ดังน้ี “นาฬิกามีขดี แบง่ ออกเปน็ ชอ่ งใหญ่ 12 ช่องเทา่ ๆ กนั มตี ัวเลข ตัง้ แต่ 1 – 12 กากับอยแู่ ตล่ ะขีดใน 1 ช่องใหญ่ แต่ ละช่องใหญแ่ บ่งออกเปน็ 5 ช่องเล็ก ๆ เท่า ๆ กัน บนหน้าปัดมีเข็มสน้ั และเขม็ ยาว เข็มส้ันบอกเวลา เป็นช่ัวโมง บอกเวลาตามตัวเลขที่เข็มส้ันไปถึงและชี้ผ่าน เข็มยาวบอกเวลาเป็นนาที บอกเวลาตาม จานวนช่องเลก็ ๆ ที่เข็มยาวเดนิ ผ่าน โดยเร่ิมนับหนงึ่ หลงั จากเข็มยาวเดินผ่านเลข 12” 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การเดินของเข็มนาฬิกาแต่ละชนิดเร่ิมนับเวลา เข็มยาวเดิน ผ่านเลข 12 และผ่านชอ่ งแรก ช้ีทข่ี ดี แรกหลงั เลข 12 จะนับหนงึ่ นาที และเมื่อเดนิ 12 ชอ่ งใหญ่ ซงึ่ มี ชอ่ งเล็ก 60 ช่องหรอื 1 รอบนาฬิกา เป็นเวลา 60 นาที เขม็ สนั้ จะเดนิ 1 ชอ่ งใหญ่ เป็นเวลา 1 ช่ัวโมง ฉะน้ัน เข็มยาวเดิน 12 ช่องใหญ่หรือ 1 รอบนาฬิกา เข็มสั้นจะเดินได้ 1 ช่องใหญ่ เพราะฉะนั้น 1 ชั่วโมงเทา่ กบั 60 นาที 5. ครูนาเสนอการบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาทเี วลาช่วงกลางวนั โดยใช้นาฬิกาจาลอง ประกอบ เช่น 6 นาฬิกา 5 นาที 11 นาฬิกา 35 นาที 6. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 1 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที เม่ือเสร็จแล้วให้ นกั เรียนชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนัน้ ครูและนักเรียนรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 1

14 ขัน้ สรปุ 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปสง่ิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้ร่วมกนั ดงั น้ี นาฬกิ าเปน็ เครอ่ื งมือที่ใช้บอก เวลา เขม็ สนั้ บอกเวลาเปน็ ชวั่ โมง เข็มยาวบอกเวลาเปน็ นาที ส่อื การเรียนรู้ 1. นาฬกิ าจาลอง 2. นาฬิกาของจรงิ แบบมเี ข็มและแบบตวั เลข 3. ใบงานท่ี 1 การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที การวัดผลและประเมินผล สง่ิ ทต่ี ้องการวดั วธิ วี ดั เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 1 70% ขึน้ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์ 1 การประเมิน 2. ด้านทกั ษะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรียนได้คะแนนระดบั กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดขี ้ึนไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ที่พึงประสงค์ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ พฤตกิ รรมด้าน คณุ ภาพดขี ้นึ ไป คณุ ลกั ษณะ ทีพ่ ึงประสงค์ ความคดิ เห็นผ้บู ริหาร ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ () ผอู้ านวยการโรงเรยี น ..../................../........

15 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

16 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง เรอื่ ง การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง สอนวันที.่ ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพ้ืนฐานเกย่ี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ท่ีต้องการ วดั และนาไปใช้ ตวั ชีว้ ดั ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับเวลา และระยะเวลา สาระสาคญั นาฬกิ าเป็นเคร่อื งมือทีใ่ ช้บอกเวลาเราบอกเวลาเปน็ นาฬิกา และนาที จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาทีได้ (K) 2. เขียนแสดงเข็มของนาฬกิ าตามเวลาท่ีกาหนดได้ (P) 3. นาความร้เู กี่ยวกับการบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาทไี ปใช้ในชีวิตจริงได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

17 กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ครูนานาฬิกาหน้าปัด 2 ชั้น มาให้นักเรียนดู แล้วถามนักเรียนว่าเวลา 24 นาฬิกา เปน็ เวลากลางวันหรอื กลางคืน เข็มสนั้ และเขม็ ยาว ชี้ทเ่ี ลขอะไร 2. ครูหมุนเข็มนาฬิกาตามท่ีนักเรียนบอก แล้วถามนักเรียนว่า 1 วัน แบ่งเป็น 24 ชวั่ โมง มกี ลางวันก่ชี ่ัวโมง กลางคืนกช่ี ว่ั โมง เวลาท่ถี อื ว่าเป็นวนั ใหม่คอื หลังจากเวลากนี่ าฬิ ข้ันสอน 1. ครูทดลองหมุนเขม็ สั้นชี้ทเี่ ลข 9 เขม็ ยาวชี้เลข 5 และใหน้ กั เรียนอา่ นเป็นเวลาในช่วง กลางคนื (21 นาฬกิ า 25 นาท)ี 21 นาฬิกา 25 นาที 2. ครถู ามนักเรียนว่า ถา้ เข็มยาวเดินมาคร่งึ วงกลม จะเปน็ เวลากี่นาที (30 นาที) 3. ครูหมุนเข็มนาฬิกาของนาฬิกาจาลองไปที่เลข 5, 10, 15, 20 และถามในทานอง เดยี วกนั ว่าเวลากน่ี าที ให้นกั เรยี นตอบแล้วย้าว่าเข็มยาวเรียกว่า นาที 4. ครูหมุนเขม็ นาฬกิ าเข็มสน้ั ไปทเ่ี ลข 2 เข็มยาวหมุนไปท่ีเลข 10 และให้นกั เรยี นอา่ น เปน็ เวลาในชว่ งกลางคืน (2 นาฬิกา 50 นาที) 2 นาฬิกา 50 นาที 5. ครูหมุนเข็มช่ัวโมงและเข็มนาทีไปที่ตาแหน่งต่าง ๆ เพ่ือบอกเวลาเป็นนาฬิกาและ นาที โดยกาหนดเวลาชว่ งกลางคนื แลว้ ให้นักเรยี นทง้ั ชัน้ ช่วยกันตอบหลาย ๆ ขอ้ จนนักเรียนเข้าใจ 6. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 2 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที เม่ือเสร็จแล้วให้ นักเรยี นชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 2

18 ข้ันสรปุ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ สิ่งที่ได้เรยี นรรู้ ่วมกนั ดงั น้ี นาฬกิ าเป็นเครือ่ งมือที่ใช้บอก เวลา เข็มส้นั บอกเวลาเปน็ ช่วั โมง เขม็ ยาวบอกเวลาเป็นนาที สือ่ การเรยี นรู้ 1. นาฬิกาจาลอง 2. นาฬิกาหนา้ ปดั 2 ช้ัน 3. ใบงานที่ 2 การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที การวดั ผลและประเมนิ ผล สง่ิ ทตี่ ้องการวัด วิธวี ดั เครื่องมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ 1. ด้านความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 2 70% ขึ้นไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์ 2 การประเมนิ 2. ด้านทกั ษะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤตกิ รรมด้าน คุณภาพดีข้ึนไป ทักษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดบั ที่พงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คณุ ภาพดีข้นึ ไป คุณลกั ษณะ ท่พี ึงประสงค์ ความคิดเห็นผบู้ รหิ าร ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ () ผอู้ านวยการโรงเรยี น ..../................../........

19 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

20 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 3 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชวั่ โมง เรอื่ ง การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง สอนวันที.่ ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพ้นื ฐานเกีย่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ตี อ้ งการ วดั และนาไปใช้ ตวั ชีว้ ดั ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับเวลา และระยะเวลา สาระสาคญั นาฬกิ าเป็นเคร่อื งมือทีใ่ ช้บอกเวลาเราบอกเวลาเปน็ นาฬิกา และนาที จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาทีได้ (K) 2. เขียนแสดงเข็มของนาฬกิ าตามเวลาท่ีกาหนดได้ (P) 3. นาความร้เู กี่ยวกับการบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาทไี ปใช้ในชีวิตจริงได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

21 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับเวลาว่าในช่วงกลางวันแบ่งเป็น 12 ชั่วโมง กลางคืน 12 ช่วั โมง รวม 24 ช่วั โมง 2. ครถู ามนกั เรียนวา่ ใน 1 ชว่ั โมงนนั้ เราแบ่งเป็นกนี่ าที (60 นาท)ี ใน 1 วัน มกี ่ชี ัว่ โมง (24 ชวั่ โมง) ขั้นสอน 1. ครูทดลองหมุนเข็มสั้นช้ีท่ีเลข 1 เข็มยาวช้ีเลข 4 และให้นักเรียนอ่านเวลาในช่วง กลางวัน คอื 13 นาฬิกา 20 นาที เวลาในชว่ งกลางคืน คอื 1 นาฬกิ า 20 นาที 2. ครแู จกภาพหนา้ ปัดนาฬกิ า และเวลากากับไวใ้ ตภ้ าพ แลว้ ให้นกั เรียนแข่งขนั กันเติม เข็มนาฬิกาลงบนหนา้ ปดั นาฬิกา ชว่ งเวลากลางวัน 12 นาฬกิ า 20 นาที 16 นาฬกิ า 40 นาที 10 นาฬิกา 30 นาที

22 ช่วงเวลากลางคืน 19 นาฬิกา 10 นาที 3 นาฬกิ า 30 นาที 23 นาฬกิ า 55 นาที 3. ครูบอกให้นักเรียนทุกคนแสดงหน้าปัดนาฬิกาตามเวลาท่ีครูชูบัตรเวลานั้น ๆ เช่น ครชู ูบตั ร 15 นาฬกิ า 25 นาที ก็ใหน้ กั เรยี นหมุนเขม็ ส้นั ชีเ้ ลข 3 เข็มยาวชี้เลข 5 เป็นตน้ 4. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 3 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที เมื่อเสร็จแล้วให้ นักเรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนั้นครูและนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 3 ขน้ั สรุป 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ส่ิงที่ไดเ้ รียนรรู้ ว่ มกนั ดงั น้ี นาฬิกาเป็นเครื่องมือทีใ่ ชบ้ อก เวลา เข็มส้ันบอกเวลาเป็นช่ัวโมง เขม็ ยาวบอกเวลาเปน็ นาที ส่ือการเรียนรู้ 1. นาฬิกาจาลอง 2. ภาพหน้าปัดนาฬกิ า 3. ใบงานท่ี 3 การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที การวดั ผลและประเมินผล สงิ่ ท่ตี ้องการวดั วิธีวดั เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานที่ 3 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 3 การประเมิน 2. ดา้ นทักษะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คณุ ภาพดีข้นึ ไป ทักษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนไดค้ ะแนนระดบั ทีพ่ ึงประสงค์ คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ พฤติกรรมด้าน คณุ ภาพดีข้ึนไป คุณลกั ษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์

23 ความคดิ เห็นผู้บรหิ าร ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ () ผู้อานวยการโรงเรียน ..../................../........ บันทกึ หลงั การเรียนการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนได้คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดมี าก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

24 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรยี น 16 ชวั่ โมง เร่อื ง การอา่ นและเขยี นบอกเวลาทีมีมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง สอนวันท.่ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพนื้ ฐานเกีย่ วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงทีต่ อ้ งการ วดั และนาไปใช้ ตวั ช้วี ดั ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเกีย่ วกบั เวลา และระยะเวลา สาระสาคญั การเขยี นบอกเวลานยิ มเขยี นมหัพภาค (.) หรือทวภิ าค (:) ค่นั ระหวา่ งตัวเลขทบ่ี อกเวลาเป็น ชั่วโมงกับนาที โดยตวั เลขหนา้ มหัพภาค (.) หรอื ทวภิ าค (:) บอกเวลาเปน็ นาฬกิ า ตัวเลขหลงั มหพั ภาค (.) หรือทวภิ าค (:) บอกเวลาเปน็ นาที จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกเวลาท่ีเขียนโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) ได้ (K) 2. เขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค (.) หรือทวภิ าค (:) ได้ (P) 3. อา่ นเวลาจากนาฬิกาหรอื ภาคท่กี าหนดใหไ้ ด้ถูกต้อง (P) 4. นาความรู้เกี่ยวกับการอ่านและเขียนบอกเวลาทีมีมหพั ภาค (.) หรือทวิภาค (:)ไปใช้ใน ชวี ิตจรงิ ได้ (A) สาระการเรียนรู้ การอา่ นและเขียนบอกเวลาทีมมี หพั ภาค (.) หรอื ทวภิ าค (:) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่ือมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

25 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน 1. ครูทบทวนสิง่ ท่ีได้เรียนรใู้ นชั่วโมงท่ผี ่านมา เรื่อง การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที โดยครูใหต้ วั แทนนกั เรียน 1 คน ออกมาหมุนเข็มนาฬกิ าจาลองแสดงกจิ วัตรประจาวัน เชน่ เขม็ ยาวช้ี เลข 6 เข็มสั้นช้ีเลข 6 จากน้ันใหเ้ พ่ือนทีเ่ หลือทายว่าเวลาดังกล่าวท่ีตัวแทนนักเรยี นหมุนเขม็ นาฬกิ า น้นั ทากจิ วตั รอะไร เมือ่ ทายถกู ต้องแล้ว ให้นกั เรยี นรว่ มกันอ่านเวลาจากหนา้ ปดั นาฬิกาพร้อมกนั เช่น 6 นาฬิกา 30 นาที ครูทาซ้าเดิม 2 – 3 ตัวอย่าง เพ่ือให้นักเรียนได้ทบทวนความรู้เดิมและกระตุ้น ความสนใจของนกั เรยี น 2. ครูใหน้ ักเรยี นมองไปทนี่ าฬกิ าในหอ้ งเรยี น จากนนั้ สุม่ เลอื กตวั แทนนกั เรียนชาย และ นกั เรียนหญิง อย่างละ 1 คน ออกมาอา่ นเวลา ณ ตอนนี้ ขน้ั สอน 1. ครูอธบิ ายเกีย่ วกบั การเขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) วา่ ตัวเลขหน้ามหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) บอกเวลาเป็น “นาฬกิ า” ตวั เลขหลังมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) บอกเวลาเปน็ “นาที” 2. ครอู ธิบายเพิ่มเตมิ ให้นกั เรยี นเข้าใจว่า การบอกเวลาเปน็ นาฬิกา เรม่ิ ตั้งแต่ 0 นาฬกิ า ถึง 24 นาฬกิ า การบอกเวลาเป็นนาที เริ่ม 0 นาที ถงึ 59 นาที 3. ครูแนะนานกั เรยี นเร่อื งการเขียนบอกเวลาโดยใช้มหพั ภาค (.) หรือทวิภาค (:) และ การอา่ น โดยครูจัดเข็มนาฬิกาจาลองให้นักเรยี นบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที พร้อมทั้งครเู ขยี นบอก เวลาแบบใชม้ หพั ภาค (.) หรือทวิภาค (:) บนกระดานและแนะนาการอา่ น เชน่ ครู : ในเวลากลางวัน นาฬกิ าเรือนนี้แสดงเวลาใด นกั เรยี น : 9 นาฬกิ า 10 นาที ครู : 9 นาฬกิ า 10 นาที สามารถเขยี นบอกเวลา โดยใชม้ หพั ภาค (.) ไดเ้ ป็น 09.10 น. อ่านวา่ เกา้ นาฬกิ าสบิ นาที ครู : ในเวลากลางคนื นาฬกิ าเรือนน้แี สดงเวลาใด นกั เรียน : 21 นาฬิกา 10 นาที ครู : 21 นาฬกิ า 10 นาที สามารถเขยี นบอกเวลา โดยใชม้ หัพภาค (.) ไดเ้ ป็น 21.10 น. อา่ นว่า ยส่ี ิบเอ็ดนาฬกิ าสบิ นาที

26 ครู : ในเวลากลางวัน นาฬิกาเรือนนแี้ สดงเวลาใด นักเรียน : 11 นาฬกิ า 30 นาที ครู : 11 นาฬกิ า 30 นาที สามารถเขยี นบอกเวลา โดยใชท้ วิภาค (:) ไดเ้ ป็น 11:30 น. อ่านวา่ สิบเอด็ นาฬกิ าสามสบิ นาที ครู : ในเวลากลางคนื นาฬกิ าเรอื นนี้แสดงเวลาใด นกั เรียน : 23 นาฬิกา 30 นาที ครู : 23 นาฬิกา 30 นาที สามารถเขียนบอกเวลา โดยใชท้ วิภาค (:) ได้เปน็ 23:30 น. อา่ นวา่ ยี่สิบสามนาฬกิ าสามสบิ นาที ครู : ในเวลากลางวัน นาฬกิ าเรอื นนแี้ สดงเวลาใด นกั เรียน : 7 นาฬิกา ครู : 7 นาฬิกา สามารถเขยี นบอกเวลาโดยใช้ มหพั ภาค (.) ไดเ้ ปน็ 09.00 น. อา่ นว่า เก้า นาฬกิ า ครู : ในเวลากลางคืน นาฬกิ าเรือนน้แี สดงเวลาใด นักเรียน : 19 นาฬิกา ครู : 19 นาฬกิ า สามารถเขยี นบอกเวลาโดยใช้ ทวภิ าค (:) ได้เป็น 19:00 น. อ่านวา่ สบิ เกา้ นาฬิกา 4. ครูใหน้ ักเรียนทาใบงานท่ี 4 การอา่ นและเขยี นบอกเวลาทมี ีมหพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย กจิ กรรมในใบงานที่ 4 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี การเขียนบอกเวลาโดยใช้ มหัพภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ - ตวั เลขหนา้ มหพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) บอกเวลาเป็น “นาฬกิ า” การบอกเวลา เปน็ นาฬิกา เรมิ่ ตงั้ แต่ 0 นาฬิกา ถึง 24 นาฬกิ า - ตัวเลขหลังมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) บอกเวลาเป็น “นาที” การบอกเวลา เปน็ นาที เร่มิ ต้งั แต่ 0 นาที ถงึ 59 นาที สื่อการเรียนรู้ 1. นาฬิกาจาลอง 2. ใบงานท่ี 4 การอา่ นและเขียนบอกเวลาทมี ีมหพั ภาค (.) หรอื ทวภิ าค (:)

27 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธีวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 4 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 4 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดบั กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี นึ้ ไป คุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ความคดิ เห็นผบู้ รหิ าร ลงชื่อ.....................................ผูต้ รวจ () ผอู้ านวยการโรงเรียน ..../................../........

28 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

29 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรียน 16 ช่ัวโมง เรื่อง การอ่านและเขยี นบอกเวลาที่มมี หัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวันท่ี....... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพ้นื ฐานเกยี่ วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการ วัดและนาไปใช้ ตวั ชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับเวลา และระยะเวลา สาระสาคญั การเขียนบอกเวลานิยมเขียนมหพั ภาค (.) หรือทวิภาค (:) ค่นั ระหวา่ งตัวเลขที่บอกเวลาเป็น ชวั่ โมงกบั นาที โดยตัวเลขหนา้ มหพั ภาค (.) หรือทวิภาค (:) บอกเวลาเป็นนาฬิกา ตัวเลขหลังมหัพภาค (.) หรอื ทวภิ าค (:) บอกเวลาเปน็ นาที จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกเวลาทีเ่ ขยี นโดยใชม้ หพั ภาค (.) หรอื ทวภิ าค (:) ได้ (K) 2. เขียนบอกเวลาโดยใช้มหพั ภาค (.) หรือทวภิ าค (:) ได้ (P) 3. อา่ นเวลาจากนาฬกิ าหรอื ภาคทกี่ าหนดให้ไดถ้ ูกต้อง (P) 4. นาความรู้เก่ียวกับการอ่านและเขียนบอกเวลาที่มมี หพั ภาค (.) หรือทวิภาค (:)ไปใช้ใน ชีวิตจรงิ ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การอา่ นและเขียนบอกเวลาทีม่ ีมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่อื สารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทางาน

30 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครูทบทวนการบอกเวลาโดยใชม้ หพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) โดยใหเ้ ขยี นเวลาตอ่ ไปน้ี บนกระดาน โดยสุ่มนักเรียนออกมา 4 คน ดงั น้ี 9 นาฬกิ า 35 นาที 09.30 น. หรอื 09:30 น. 22 นาฬิกา 5 นาที 22.05 น. หรือ 22:05 น. 12.00 น. หรอื 12:00 น. 12 นาฬิกา 00.15 น. หรือ 00:15 น. 0 นาฬิกา 15 นาที ขน้ั สอน 1. ครูให้ตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) ให้ นกั เรียนทัง้ ห้องช่วยกันอา่ นเวลาท่ีตวั แทน นักเรยี นเขยี นบนกระดาน เชน่ นกั เรียนออกมาเขียน 10.20 น. นักเรียนท้ังห้องอ่านว่า 10 นาฬิกา 20 นาที หลังจากนั้นครูนานาฬิกาจาลองมาหมุนเข็มส้ัน เข็ม ยาว แสดงเวลา 10.20 น. แล้วถามว่าเขม็ ยาวอยู่ท่ีตวั เลขใด (4) เข็มสั้นอย่รู ะหวา่ งตัวเลขใด (ระหว่าง ตัวเลข 10 กับ 11) ครูให้นักเรียนสังเกตว่า 10.20 น. ใกล้ 10.30 น. ดังน้ัน เข็มส้ันจะอยู่ประมาณ กึ่งกลางของตัวเลข 10 กับ 11 2. ครทู ากิจกรรมทานองเดียวกับขอ้ 2 อีกหลายๆ ตัวอยา่ ง ใหน้ กั เรียนออกมาหมนุ เข็ม ส้ันเข็มยาวให้ตรงกับเวลาที่เพ่ือนกาหนด โดยย้าให้นักเรียนสังเกตตาแหน่งของเข็มส้ันว่า ควรอยู่ ประมาณกึ่งกลาง น้อยกว่าก่ึงกลาง หรือมากกว่าก่ึงกลางระหว่างตัวเลข 2 ตัวท่ีแสดงเวลาตามที่ กาหนด 3. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบงานท่ี 5 การอ่านและเขยี นบอกเวลาทม่ี มี หพั ภาค (.) หรือทวภิ าค (:) เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย กิจกรรมในใบงานท่ี 5

31 ขนั้ สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี การเขียนบอกเวลาโดยใช้ มหพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คือ - ตัวเลขหน้ามหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) บอกเวลาเป็น “นาฬกิ า” การบอกเวลา เป็นนาฬกิ า เร่มิ ต้ังแต่ 0 นาฬกิ า ถึง 24 นาฬิกา - ตัวเลขหลังมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) บอกเวลาเป็น “นาที” การบอกเวลา เป็นนาที เริ่มตงั้ แต่ 0 นาที ถงึ 59 นาที สือ่ การเรียนรู้ 1. นาฬิกาจาลอง 2. ใบงานที่ 5 การอา่ นและเขยี นบอกเวลาทีม่ ีมหพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) การวัดผลและประเมินผล ส่งิ ทต่ี ้องการวัด วธิ ีวดั เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ด้านความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานท่ี ใบงานท่ี 5 70% ข้นึ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ 5 การประเมนิ 2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดขี ้นึ ไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลักษณะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดับ ท่พี งึ ประสงค์ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดขี ้นึ ไป คณุ ลกั ษณะ ที่พึงประสงค์ ความคิดเห็นผบู้ รหิ าร ลงช่ือ.....................................ผู้ตรวจ () ผ้อู านวยการโรงเรยี น ..../................../........

32 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

33 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชัว่ โมง เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นช่วั โมงและนาที เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง สอนวันที.่ ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกย่ี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วดั และนาไปใช้ ตวั ช้วี ดั ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั เวลา และระยะเวลา สาระสาคญั การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาทเี ป็นการบอกเวลาทก่ี ระทาต้ังแต่เรม่ิ ตน้ จนเสร็จวา่ ใช้ เวลาไปเท่าใด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกระยะเวลาเป็นชวั่ โมงและนาทีได้ (K) 2. เขียนแสดงระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมงและนาทตี ามที่กาหนดได้ถูกตอ้ ง (P) 3. นาความรูเ้ กย่ี วกับการบอกระยะเวลาเปน็ ชัว่ โมงและนาทไี ปใช้ในชีวิตจริงได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบอกระยะเวลาเป็นชัว่ โมงและนาที ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการแก้ปญั หา 2. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง 4. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทางาน

34 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสู่บทเรยี น 1. ครทู บทวนการอ่านเวลาชว่ งกลางวนั และกลางคนื โดยครูหมนุ เข็มชว่ั โมงและเขม็ นาที ไปทีต่ าแหนง่ ตา่ ง ๆ เพอื่ บอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที โดยกาหนดเวลาทั้งกลางวนั และกลางคนื แลว้ ให้นักเรียนทัง้ ชัน้ ชว่ ยกนั ตอบหลาย ๆ ข้อ จนนกั เรียนเข้าใจ ขน้ั สอน 1. ครูให้นักเรียนเล่ากิจวัตรประจาวันของตนว่า วันหนึ่ง ๆ นักเรียนปฏิบัติกิจวัตร อะไรบ้าง 2. ครูเขยี นกจิ วัตรที่นักเรียนบอกบนกระดาน โดยเรยี งลาดับตามลาดบั เหตุการณ์พรอ้ ม กบั เขียนเวลาทน่ี กั เรียนกระทากิจวตั รประจาวนั จะได้ ดังน้ี ตน่ื นอน เวลา 6 นาฬิกา พักกลางวนั เวลา 12 นาฬกิ า อา่ นหนังสือ เวลา 18 นาฬกิ า เข้านอน เวลา 20 นาฬิกา 3. ครูติดภาพแสดงเวลาในการทากิจวัตร ให้นักเรียนร่วมกันสังเกตและตอบคาถาม ดังน้ี ต่นื นอน เวลา 6 นาฬิกา พักกลางวนั เวลา 12 นาฬิกา อา่ นหนังสอื เวลา 18 นาฬกิ า เขา้ นอน เวลา 20 นาฬิกา - จากเวลาท่นี ักเรยี นต่นื นอนตอนเช้าถงึ เวลาพกั กลางวัน เปน็ ระยะเวลา 6 ช่ัวโมง - จากเวลาทนี่ กั เรียนพกั กลางวันถงึ เวลาอา่ นหนังสอื เป็นระยะเวลา 6 ช่ัวโมง - จากเวลาที่นกั เรยี นอา่ นหนงั สอื ถงึ เวลาเขา้ นอน เป็นระยะเวลา 2 ชัว่ โมง

35 - จากเวลาที่นักเรียนตื่นนอนตอนเช้าถึงเวลาอ่านหนังสือ เป็นระยะเวลา 12 ชัว่ โมง - จากเวลาที่นกั เรียนพกั กลางวันถึงเวลาเข้านอน เปน็ ระยะเวลา 8 ช่ัวโมง 4. ครูสนทนากบั นักเรียนวา่ การบันทกึ กจิ กรรมที่ปฏิบตั ปิ ระจา โดยดูเวลาจากนาฬิกา จะทาให้ปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ไดต้ รงเวลา และช่วยเตอื นความจาได้ 5. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 6 การบอกระยะเวลาเปน็ ชัว่ โมงและนาที เมอื่ เสร็จแลว้ ให้ นกั เรียนช่วยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากน้นั ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 6 ขั้นสรปุ 1. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปสง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรรู้ ่วมกัน ดังน้ี การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมง นาที และวิธบี อกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมง นาทโี ดยใชแ้ ผนภมู ขิ อ้ มลู ของเส้นเวลา ส่อื การเรียนรู้ 1. นาฬกิ าจาลอง 2. ใบงานที่ 6 การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาที การวัดผลและประเมินผล สงิ่ ทต่ี อ้ งการวัด วิธีวดั เครื่องมือวดั เกณฑ์การประเมนิ 1. ด้านความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 6 70% ขึน้ ไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ 6 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดขี ้ึนไป ทักษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรียนไดค้ ะแนนระดบั ท่ีพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ พฤติกรรมด้าน คณุ ภาพดีข้นึ ไป คุณลักษณะ ทีพ่ งึ ประสงค์

36 ความคดิ เห็นผู้บรหิ าร ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ () ผู้อานวยการโรงเรียน ..../................../........ บันทกึ หลงั การเรียนการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนได้คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดมี าก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

37 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชัว่ โมง เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นช่วั โมงและนาที เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง สอนวันที.่ ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกย่ี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วดั และนาไปใช้ ตวั ช้วี ดั ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั เวลา และระยะเวลา สาระสาคญั การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาทเี ป็นการบอกเวลาทก่ี ระทาต้ังแต่เรม่ิ ตน้ จนเสร็จวา่ ใช้ เวลาไปเท่าใด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกระยะเวลาเป็นชวั่ โมงและนาทีได้ (K) 2. เขียนแสดงระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมงและนาทตี ามที่กาหนดได้ถกู ตอ้ ง (P) 3. นาความรูเ้ กย่ี วกับการบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมงและนาทไี ปใชใ้ นชีวิตจริงได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบอกระยะเวลาเป็นชัว่ โมงและนาที ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการแก้ปญั หา 2. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง 4. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทางาน

38 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสูบ่ ทเรยี น 1. ครนู าบตั รภาพนาฬิกาที่บอกเวลาต่าง ๆ ตดิ บนกระดาน (ทีละภาพ) แลว้ ถามว่า เป็น เวลากี่นาฬิกา กี่นาที (ใหน้ กั เรยี นอา่ นเวลาในชว่ งกลางวนั และช่วงกลางคนื ) ขนั้ สอน 1. ครูนานาฬกิ าจาลองแสดงเวลา 9 นาฬกิ ามาให้นักเรยี นดู และอธิบายเพิม่ เตมิ วา่ เข็ม ยาวเดนิ ตอ่ จาก 9 นาฬกิ าไปอกี 10 นาที นน่ั คือ 9 นาฬิกา 10 นาที ครูใหน้ กั เรยี นสังเกตว่า การอ่าน เวลาเรมิ่ อ่านเขม็ ท่ีบอกชว่ั โมงก่อน แลว้ จึงอ่านเขม็ ที่บอกนาที 2. ครตู ดิ ภาพแสดงเวลาในการทากิจวัตรประจาวันต่าง ๆ ใหน้ ักเรียนร่วมกันสังเกตและ ตอบคาถาม ดังนี้ พ่ีอาบน้าเวลา 7 นาฬกิ า ถงึ เวลา 7 นาฬกิ า 10 นาที แม่ทาอาหารเวลา 18 นาฬกิ า 30 นาที ถงึ เวลา 19 นาฬกิ า - พ่ีใชเ้ วลาอาบนา้ เปน็ ระยะเวลา 10 นาที - แม่ใช้เวลาทาอาหาร เปน็ ระยะเวลา 30 นาที 3. ครูสนทนากบั นักเรียนว่า การบนั ทกึ กจิ กรรมท่ีปฏิบัติประจา โดยดูเวลาจากนาฬิกา จะทาให้ปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ไดต้ รงเวลา และชว่ ยเตอื นความจาได้ 4. ครูให้นกั เรยี นทาใบงานที่ 7 การบอกระยะเวลาเป็นชัว่ โมงและนาที เมื่อเสร็จแล้วให้ นักเรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนนั้ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 7 ขั้นสรุป 1. ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ สง่ิ ท่ไี ดเ้ รยี นรรู้ ่วมกนั ดงั นี้ การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมง นาที และวิธีบอกระยะเวลาเปน็ ชัว่ โมง นาทโี ดยใชแ้ ผนภูมิข้อมลู ของเส้นเวลา

39 สื่อการเรยี นรู้ 1. นาฬกิ าจาลอง 2. ใบงานที่ 7 การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมงและนาที การวดั ผลและประเมินผล สง่ิ ทีต่ ้องการวัด วธิ วี ัด เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานท่ี ใบงานท่ี 7 70% ขึ้นไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 7 การประเมนิ 2. ดา้ นทักษะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดับ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดีขึ้นไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนไดค้ ะแนนระดับ ทพี่ งึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป คณุ ลกั ษณะ ท่ีพึงประสงค์ ความคดิ เห็นผู้บริหาร ลงชือ่ .....................................ผู้ตรวจ () ผู้อานวยการโรงเรยี น ..../................../........

40 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

41 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชัว่ โมง เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นช่วั โมงและนาที เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง สอนวันที.่ ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกย่ี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วดั และนาไปใช้ ตวั ช้วี ดั ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเก่ียวกบั เวลา และระยะเวลา สาระสาคญั การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาทเี ป็นการบอกเวลาทก่ี ระทาตั้งแต่เริ่มตน้ จนเสร็จวา่ ใช้ เวลาไปเท่าใด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกระยะเวลาเป็นชวั่ โมงและนาทีได้ (K) 2. เขียนแสดงระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมงและนาทีตามทก่ี าหนดได้ถูกตอ้ ง (P) 3. นาความรูเ้ กย่ี วกับการบอกระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมงและนาทไี ปใช้ในชีวิตจริงได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบอกระยะเวลาเป็นชัว่ โมงและนาที ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการแก้ปญั หา 2. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง 4. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทางาน

42 กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจกนาฬิกาจาลองให้นักเรียนคนละ 1 เรือน แล้วให้นักเรียนหมุนเวลาตามที่ครู บอกเปน็ นาฬิกาและนาที ขัน้ สอน 1. ครูแจกภาพหนา้ ปัดนาฬิกา และเวลากากับไว้ใต้ภาพ แลว้ ให้นักเรยี นแข่งขันกันเติม เขม็ นาฬกิ าลงบนหนา้ ปดั นาฬกิ า เชน่ 2. 7 นาฬกิ า 5 นาที 9 นาฬกิ า 10 นาที 3. 4. 5. 6. 7. 14 นาฬกิ า 40 นาที 22 นาฬกิ า 25 นาที 19 นาฬกิ า 45 นาที 5 นาฬกิ า 35 นาที 2. ครูติดภาพนาฬิกาจาลองเพ่อื ใหน้ ักเรยี นออกมาเติมเข็มนาฬิกาตามระยะเวลาทีค่ รู กาหนด ดงั นี้ แมท่ าขนม 45 นาที

43 พ่ีเลม่ คอมพิวเตอร์ 1 ช่ัวโมง ฉันอา่ นหนงั สือ 20 นาที 3. ครใู ห้นกั เรียนทาใบงานที่ 8 การบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมงและนาที เมอื่ เสรจ็ แล้วให้ นักเรยี นช่วยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนัน้ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 8 ขน้ั สรุป 1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ สิ่งทไี่ ดเ้ รียนรูร้ ่วมกนั ดงั นี้ การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมง นาที และวิธีบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมง นาทีโดยใชแ้ ผนภูมิข้อมูลของเสน้ เวลา สื่อการเรยี นรู้ 1. นาฬิกาจาลอง 2. ใบงานที่ 8 การบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมงและนาที

44 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธีวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 8 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 8 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดบั กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี นึ้ ไป คุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ความคดิ เห็นผบู้ รหิ าร ลงชื่อ.....................................ผูต้ รวจ () ผอู้ านวยการโรงเรียน ..../................../........

45 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

46 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 9 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ช่ัวโมง เรือ่ ง การเปรียบเทียบระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชัว่ โมง สอนวันท่.ี ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีตอ้ งการ วดั และนาไปใช้ ตวั ชวี้ ัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาเก่ยี วกบั เวลา และระยะเวลา สาระสาคญั ชัว่ โมงกับนาที มคี วามสัมพันธ์กนั คือ 1 ช่วั โมง เทา่ กับ 60 นาที การเปรียบเทยี บระยะเวลา ต้องเปล่ยี นเวลาเป็นหนว่ ยเดียวกนั ก่อน โดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลาแลว้ จึงนามาเปรียบเทียบ กัน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เปรียบเทยี บระยะเวลาได้ (K) 2. แสดงการเปรยี บเทยี บระยะเวลาได้ (P) 3. นาความรเู้ ก่ยี วกบั เวลาและระยะเวลาไปใชแ้ กป้ ญั หาในชีวติ ประจาวันได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การเปรียบเทยี บระยะเวลา ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอื่ มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทางาน

47 กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครูทบทวน เร่อื ง การบอกเวลา โดยนาบัตรภาพนาฬกิ าที่แสดงเวลามาให้นกั เรียนดู จากนน้ั เปดิ เพลงให้นกั เรยี นส่งบตั รภาพน้ไี ปเร่ือย ๆ เม่ือเพลงหยุดแลว้ บตั รภาพอยทู่ ีใ่ ครให้คนนนั้ ตอบ คาถามว่า เปน็ เวลาเท่าใด ประมาณ 2 – 3 ข้อ 2. ครเู ขยี นตวั เลข 5 นาที บนกระดาน แล้วใหน้ ักเรียนช่วยกันตอบคาถาม ดงั น้ี - เวลาใดบ้างนอ้ ยกว่า 5 นาที (0, 1, 2, 3, 4) - เวลาใดบ้างมากกวา่ 5 นาที (6, 7, 8, 9, 10) - นักเรยี นคิดวา่ เวลาท่มี ากกวา่ 4 แตน่ ้อยกวา่ 9 นาทมี เี วลาใดบ้าง (5, 6, 7, 8) ขนั้ สอน 1. ครูทบทวนการเปลยี่ นหน่วยเวลาจากหน่วยใหญ่เป็นหนว่ ยย่อย และหน่วยย่อยเปน็ หนว่ ยใหญ่ ให้นกั เรยี นช่วยกนั หาคาตอบ เชน่ - 150 นาที เปน็ กี่ช่ัวโมง ก่ีนาที เนือ่ งจาก 60 นาที เป็น 1 ช่วั โมง ดังนน้ั 150 ÷ 60 ได้ 2 เศษ 30 จะได้ 150 นาที เป็น 2 ชวั่ โมง 30 นาที - 3 ชั่วโมง 35 นาที คดิ เปน็ กี่นาที เนอ่ื งจาก 60 นาที เปน็ 1 ชัว่ โมง ดังนั้น 3 × 60 ได้ 180 + 35 = 215 จะได้ 3 ชว่ั โมง 35 นาที เปน็ 215 นาที 2. ครูแสดงบัตรข้อความที่บอกค่าเวลาต่างกัน 2 บัตร ให้นักเรยี นเปรยี บเทยี บว่าเวลา แตกต่างกันหรอื ไม่ บัตรใดเวลามากกว่า บัตรใดเวลาน้อยกว่า หรือทั้งสองบัตรเวลาเทา่ กัน พร้อมท้งั บอกเหตุผลท่ีนกั เรียนใชต้ ดั สิน ครูและนักเรยี นร่วมกนั เฉลยคาตอบ ดงั น้ี 240 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรอื เท่ากบั 3 ชั่วโมง 1 ชัว่ โมง 30 นาที มากกวา่ นอ้ ยกว่า หรือเท่ากับ 80 นาที 90 นาที มากกวา่ นอ้ ยกว่า หรือเทา่ กบั 2 ชวั่ โมง 20 นาที 122 นาที มากกวา่ นอ้ ยกว่า หรือเท่ากบั 1 ชั่วโมง 22 นาที 3. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 9 การเปรียบเทียบระยะเวลา เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียน ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง จากน้นั ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook