Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปกแผนการจัดการเรียนรู้-merged-compressed

ปกแผนการจัดการเรียนรู้-merged-compressed

Published by ศิวพร สุขสำแดง, 2018-10-12 00:36:33

Description: ปกแผนการจัดการเรียนรู้-merged-compressed

Search

Read the Text Version

ใบงาน เรื่องการวเิ คราะห์บทความแสดงขอ้ เท็จจรงิรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ครศู ิวพร สุขสาแดงช่อื ............................................................................................ เลขที่ ........................ ช้นั .................................คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านเรอ่ื ง ผเี สื้อกบั ดอกไม้ แล้วตอบคาถาม ผเี สือ้ กบั ดอกไม้เสียงกลอง ป่ี ฉาบ ดงั ประสานกันมาแตไ่ กล ขบวนแหก่ าลังเดนิ ทางมาสบู่ รเิ วณงานแลว้ การถกเถียงจงึ หยุดลงชั่วคราว ขณะท่ีทกุ คนหันไปมองท่มี าของเสียงเป็นตาเดียว ไมม่ เี สยี งพูดคยุ อะไรกนัอกี นอกจากบางคนที่หัวถนน ซ่งึ ได้เห็นขบวนแหแ่ ลว้ พึมพาในความสวยงามของการประดับประดาแถวนาขบวนแตง่ ตวั เตม็ ยศ พวกผ้ชู ายสวมกางเกงขายาว นุ่งโสร่งส้นั แค่เขา่ ทับอกี ชั้นหนึ่ง และสวมเส้อื แขนยาวสีขาว ทุกคนมีโบผกู ที่คอ ส่วนผหู้ ญิงอกี แถวหนึง่ น่งุ โสรง่ หลากหลายสกี รอมเท้า เส้ือสีเหมอื นกนั สีชมพูอ่อน แขนยาวทรงกระบอก กระดุมโลหะสีทองวาววามลอ้ แสงอาทิตย์ ทุกคนแตง่ หน้าสวยงามย้ิมแยม้ แจม่ ใสทม่ี า: ผีเส้อื กับดอกไม้ โดยนพิ พาน๑. นักเรยี นคิดว่าข้อความจากเรอ่ื ง ผเี สื้อกบั ดอกไม้ เปน็ การเขียนพรรณนาหรือไม่ เพราะเหตใุ ด๒. ใหน้ กั เรียนเลอื กเขียนพรรณนาขบวนแห่ ใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การเขียนพรรณนา

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑๔ เร่อื ง การเขยี นเรียงความ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวศิวพร สุขสาแดง โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด ท ๒.๑ม.๒/๓ เขยี นเรียงความ ม.๒/๘ มีมารยาทในการเขียน๒. สาระสาคัญ(ความคดิ รวบยอด) การเขียนเรียงความเกยี่ วกับประสบการณต์ อ้ งมีความร้เู รื่องหลักการเขียน และมมี ารยาทในการเขยี น๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) การเขียนเรยี งความเกย่ี วกบั ประสบการณ์ มารยาทในการเขยี น ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ (P) เขียนเรียงความ ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผู้เรยี น (C) ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์ตรวจใบงาน ใบงาน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบคุ คล รายบคุ คลสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ กล่มุ

สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึง ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์มุง่ มนั่ ในการทางาน ประสงค์ตรวจการเขียนเรยี งความเกีย่ วกบั แบบประเมินการเขียนเรียงความ ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์แหลง่ ทอ่ งเที่ยวที่ประทับใจ เก่ยี วกับแหล่งทอ่ งเทีย่ วท่ปี ระทับใจ๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ชว่ั โมงที่ ๑ขน้ั กระตุน้ ความสนใจ๑. ครูนาตัวอย่างเรยี งความทไ่ี ดร้ บั รางวัลจากการประกวดทกั ษะวชิ าการท่โี รงเรยี นจดั ข้นึ มาอา่ นให้ นกั เรยี นฟัง๒. นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายถึงจุดเด่นและจดุ ด้อยของเรยี งความ ท่ีครูอา่ นใหฟ้ ัง ๓. ครสู ุ่มเลขทน่ี ักเรยี น ๒-๓ คน ให้ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ จุดดอ้ ยของเรียงความขั้นสารวจค้นหา ๑. นกั เรียนแบ่งกล่มุ ร่วมกันศึกษาความรูเ้ รือ่ ง การเขยี นเรยี งความ จากหนงั สือเรียนและแหลง่ ขอ้ มูล สารสนเทศ ๒. นกั เรียนตอบคาถาม“ นกั เรยี นคดิ ว่า การใชผ้ งั ความคดิ ในการเขยี นเรียงความ มคี วามจาเปน็ มาก นอ้ ยเพยี งใด ถา้ ไมใ่ ชผ้ งั ความคิดแตไ่ ปใช้วิธอี ่นื ไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร” ขน้ั อธบิ ายความรู้ ๑. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันสรุปประเด็นสาคญั เกีย่ วกบั การเขียนเรียงความ เพอ่ื ทาความเขา้ ใจให้ ถูกต้อง ๒. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันทาใบงานเร่ือง หลักการเขียนเรยี งความเมอ่ื ทาเสรจ็ แลว้ ใหน้ าสง่ ครูตรวจชั่วโมงที่ ๒ ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ 1. นักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานเรอื่ ง การเขยี นเรียงความเมอ่ื ทาเสร็จแลว้ ให้ตรวจสอบความเรยี บร้อย ขน้ั ตรวจสอบผล ครูส่มุ นกั เรยี นหญิงและชาย ฝา่ ยละ ๑ คน นาเสนอการเขียนเรียงความในใบงาน ครูตรวจสอบและ ประเมินการนาเสนอของนักเรียนจากนั้นให้ตัวแทนนกั เรียนเก็บรวบรวมใบงานส่งครตู รวจ  ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนเขยี นเรียงความเกี่ยวกับแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วที่ประทบั ใจ โดยให้ ครอบคลุมประเด็นตามทก่ี าหนด ดงั น้ี ๑) องคป์ ระกอบของการเขียนเรียงความ ๓) การเขยี นบรรยาย ๒) การใช้สานวนภาษา ๔) การเขยี นพรรณนา๗. สื่อ/แหลง่ เรียนรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเรือ่ ง หลกั การเขียนเรยี งความ ๓. ใบงานเร่ือง การเขยี นเรยี งความ๔ . ตัวอย่างเรียงความ

ใบงาน เรือ่ งหลกั การเขียนเรยี งความรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ครศู วิ พร สุขสาแดงชือ่ ............................................................................................ เลขท่ี ........................ ชน้ั .................................คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นอธิบายขอ้ ความตอ่ ไปนม้ี าพอสงั เขป๑. ความหมายของเรยี งความ๒. การเขยี นคานา๓. การเขยี นเน้อื เร่ือง๔. การเขียนสรุป

ใบงานเรื่องการเขยี นเรียงความรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ครูศวิ พร สขุ สาแดงช่ือ............................................................................................ เลขที่ ........................ ชัน้ .................................คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กประสบการณ์ทน่ี กั เรยี นมคี วามประทบั ใจ ๑ เหตุการณ์ มาเขยี นใหถ้ ูกตอ้ ง ตามหลกั การเขยี นเรยี งความ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๕ เรอ่ื ง การเขียนเจดหมายกจิ ธุระ รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒ ช่ัวโมง ครผู สู้ อน นางสาวศิวพร สุขสาแดง โรงเรียนหนั คาราษฎร์รงั สฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั ท ๒.๑ ม.๒/๖เขยี นจดหมายกจิ ธุระ ม.๒/๘ มมี ารยาทในการเขยี น๒. สาระสาคัญ(ความคิดรวบยอด) การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ ตอ้ งเขยี นใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การเขยี น และมมี ารยาทในการเขยี น๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (K) การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ - จดหมายเชิญวทิ ยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ มารยาทในการเขยี น ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) เขียนจดหมาย ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผู้เรียน (C) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ ีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์ตรวจใบงาน ใบงาน รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบุคคล รายบคุ คลสงั เกตพฤติกรรมการทางาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

รายบคุ คล รายบุคคลสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ กลมุ่สังเกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์มงุ่ ม่ันในการทางาน ประสงค์๖. กิจกรรมการเรียนรู้ชั่วโมงท่ี ๑ขั้น สงั เกต ตระหนัก ๑. ครสู นทนากบั นกั เรยี นเร่อื งความสาคญั และความจาเป็นในการเขยี นจดหมายเพ่อื การสอ่ื สาร ๒. ครกู าหนดใหน้ กั เรยี นเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ คอื จดหมายเชญิ วทิ ยากร และจดหมายขอความ อนุเคราะห์ ๓. นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ จะตอ้ งปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ขั้นวางแผนปฏิบตั ิ ๑. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั วางแผนกาหนดแนวทางคน้ หาความรเู้ กย่ี วกบั การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ พรอ้ มแบ่งหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบใหส้ มาชกิ แต่ละคนในกลุม่ ขน้ั ลงมือปฏิบตั ิ ๑. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ จากหนงั สอื เรยี น หอ้ งสมดุ และแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ ตามทไ่ี ดว้ างแผนรว่ มกนั ไว้ชวั่ โมงที่ ๒ ขั้น พฒั นาความรู้ ความเข้าใจ ๑. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ มาทาใบงานเร่อื ง หลกั การเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ ๒. ครสู ุ่มตวั แทนนกั เรยี น ๒-๓กลุ่ม นาเสนอคาตอบในใบงาน ครแู ละเพ่อื นนกั เรยี นกล่มุ อ่นื รว่ มกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๓. นกั เรยี นตอบคาถาม “การเขียนจดหมายกิจธรุ ะให้ใช้ภาษาระดบั ใด เพราะเหตใุ ด” ขัน้ สรปุ ๑. นกั เรยี นแต่ละคนทาใบงานท่ี ๔.๘เรอ่ื ง การเขียนจดหมายกิจธรุ ะเมอ่ื ทาเสรจ็ แลว้ ใหต้ รวจสอบความ เรยี บรอ้ ย ๒. ครสู มุ่ นกั เรยี น ๒-๓ คน ออกมานาเสนอการเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะในใบงาน หน้าชนั้ เรยี น ครู ตรวจสอบและประเมนิ การนาเสนอของนกั เรยี น จากนนั้ ใหต้ วั แทนนกั เรยี นเกบ็ รวบรวมใบงานส่ง ครู๗. สือ่ /แหลง่ เรียนรู้๑ . หนังสอื เรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเร่ือง หลกั การเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ ๓. ใบงานเรอ่ื ง การเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ

ใบงาน เรอื่ งหลกั การเขยี นจดหมายกจิ ธุระรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ครูศิวพร สุขสาแดงชอ่ื ............................................................................................ เลขที่ ........................ ชัน้ .................................คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นอธบิ ายวธิ กี ารเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ ตามตาแหน่งทก่ี าหนด (๑) (๒)(๓)(๔)(๕) (๖) (๗) ( ) (๘)(๙)(๑๐)

ตาแหน่งท่ี (๑) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๒) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๓) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๔) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๕) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๖) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๗) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๘) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๙) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี ตาแหน่งท่ี (๑๐) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดงั น้ี

ใบงานเรือ่ ง การเขยี นจดหมายกจิ ธุระรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ครศู ิวพร สุขสาแดงชอ่ื ............................................................................................ เลขท่ี ........................ ชัน้ .................................คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นสมมตุ สิ ถานการณ์มขี า่ วลอื เกย่ี วกบั ภยั ธรรมชาตขิ น้ึ มา ๑ สถานการณ์ ซง่ึ ทาให้ ประชาชนในทอ้ งถนิ่ เกดิ ความต่นื ตระหนกต่อขา่ วลอื ในฐานะทน่ี กั เรยี นเป็นประธาน หมบู่ า้ น ใหเ้ ขยี นจดหมายเชญิ วทิ ยากรผเู้ ชย่ี วชาญในดา้ นน้มี าใหค้ วามรแู้ ก่ประชาชนใน ทอ้ งถนิ่ โดยเขยี นใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การเขยี นจดหมายเชญิ วทิ ยากร

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๖ เร่ืองความรูพ้ ้นื ฐานในการพูด รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒ ช่วั โมง ครูผสู้ อน นางสาวศวิ พร สุขสาแดง โรงเรียนหันคาราษฎร์รงั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั เกณฑ์ ท ๓.๑ ม.๒/๖มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด๒. สาระสาคญั (ความคดิ รวบยอด) การพูดทด่ี ีผ้พู ดู ตอ้ งมคี วามรู้เกย่ี วกับการพูด และมมี ารยาทในการพดู๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (K) มารยาทในการฟัง การดู และการพูดมารยาทในการเขียน ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) เขียนจดหมาย ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผู้เรียน (C) ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) ใบงาน๕. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ กี าร เคร่ืองมอืตรวจใบงาน ใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สงั เกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบุคคล รายบุคคลสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ กลุ่มสงั เกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ และ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์มงุ่ มัน่ ในการทางาน ประสงค์

๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ชว่ั โมงท่ี ๑ ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ ๑. ครูใหน้ กั เรยี นบอกช่ือพธิ กี รผจู้ ดั รายการทางโทรทศั น์ทน่ี ักเรยี นสนใจ๒. ครูสนทนากบั นกั เรียนเก่ยี วกับพิธีกรผจู้ ดั รายการต่างๆ ท่นี กั เรียนสนใจ แล้วใหน้ ักเรียนแสดงความ คิดเหน็ ว่า พธิ กี รแตล่ ะคนมีวธิ กี ารพูดอย่างไร๓. นกั เรียนตอบคาถาม “ นักเรียนมคี วามเห็นอยา่ งไรเก่ียวกบั พิธีกรทอ่ี อกเสียงไม่ถกู ตอ้ งตาม อักขรวธิ ี”ขั้นสารวจค้นหา นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ ๔คน ตามความสมัครใจ จากนั้น ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ รื่อง ความรู้พ้นื ฐานในการพดู จากหนงั สือเรียน ขน้ั อธิบายความรู้๑. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันอภิปรายความหมายของการพูด องค์ประกอบของการพดู คุณสมบัตขิ องผู้ พูด และมารยาทในการพูด๒. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลมุ่ ท่ไี มเ่ ขา้ ใจให้ซักถามเพ่อื นในกลุ่มจนเกิดความเข้าใจ๓. นกั เรยี นตอบคาถาม “ การพดู มีความสาคญั ตอ่ ชวี ติ ประจาวนั ของนกั เรียนอยา่ งไร และมีความ จาเปน็ หรอื ไม่ ทจ่ี ะตอ้ งมีมารยาทในการพดู ”ขั้นขยายความเขา้ ใจ๑. นักเรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั ทาใบงานเรอ่ื ง ความรพู้ ืน้ ฐานในการพูด เมอ่ื ทาเสรจ็ แลว้ ใหต้ รวจสอบความ เรียบรอ้ ย ถา้ นักเรียนไมร่ ักษามารยาทในการพดู จะส่งผลเสยี อยา่ งไร”๒. นกั เรียนตอบคาถาม “ขั้นตรวจสอบผล๑. ครูส่มุ ตวั แทนนกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ นาเสนอคาตอบในใบงาน ครตู รวจสอบความถกู ต้อง จากน้ันให้ ตวั แทนนกั เรียนเกบ็ รวบรวมใบงานส่งครู๒. นักเรียนแต่ละคนทาแบบวดั ฯ ตอนที่ ๓(การพดู สรุปความ จากส่ือที่ฟงั และดู) กจิ กรรมฝึกทกั ษะ เม่ือ ทาเสร็จแล้วให้นาส่งครตู รวจ ๓. นกั เรียนตอบคาถาม “ การมีความรูพ้ ้นื ฐานในการพูด มผี ลดตี ่อนกั เรียนอยา่ งไร”๗. สื่อ/แหล่งเรยี นรู้๑ . หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเรอ่ื ง ความรพู้ ืน้ ฐานในการพดู

ใบงานเร่ืองความรูพ้ ืน้ ฐานในการพูดรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ครศู ิวพร สขุ สาแดงชอ่ื ............................................................................................ เลขท่ี ........................ ช้ัน.................................ตอนที่ ๑คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นนาพยัญชนะ ก-ง หนา้ ขอ้ ความมาเตมิ ลงในชอ่ งวา่ งให้ใจความสัมพนั ธก์ ันก. ความหมายของการพดู ค. คณุ สมบัตขิ องผู้พดูข. องค์ประกอบของการพดู ง. มารยาทในการพดู ๑) การถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ความต้องการของผู้พดู ไปยงั ผู้รับสาร ๒) มีความประพฤติดี มีคุณธรรม ๓) เนื้อเรอ่ื งทจี่ ะถา่ ยทอดต้องมคี วามถูกต้อง ชัดเจน ๔) รับผดิ ชอบต่อคาพูดของตน ๕) มคี วามเช่อื ม่ันในความรคู้ วามคิดของตน ๖) ผ้รู บั สารทีผ่ ู้พดู ถา่ ยทอดมาให้ ซึง่ ผูฟ้ ังตอ้ งต้ังใจฟงั อยา่ งมีสมาธิ ๗) นัง่ หรือยืนตวั ตรง สงา่ ผง่ึ ผาย ๘) ต้องรจู้ ักผู้ฟงั ๙) รูจ้ ักควบคุมอารมณข์ องตนเองใหเ้ ปน็ ปกติอยู่เสมอ๑๐) ผทู้ ่ีต้องการแสดงความสามารถในการถ่ายทอดความรไู้ ปสผู่ ฟู้ ังตอนที่ ๒คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปนี้  นักเรยี นคดิ วา่ คุณสมบตั ิของผพู้ ูดข้อใดสาคัญทส่ี ดุ จงอธบิ ายและยกเหตุผลประกอบ

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๗ เรอื่ งหลกั การพดู สรุปความจากสื่อ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒ ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางสาวศิวพร สุขสาแดง โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด ท ๓.๑ม.๒/๑พูดสรปุ ใจความสาคญั ของเร่ืองที่ฟังและดู ม.๒/๖มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การพูดสรปุ ใจความจากสอ่ื ตอ้ งมีความรู้เร่ืองหลกั การฟงั การดู และการพดู และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (K) การพดู สรปุ ความจากเร่ืองท่ฟี ังและดู มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) พดู สรปุ ความ ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผู้เรยี น (C) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) พดู สรุปความ๕. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์ตรวจใบงาน ใบงาน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์รายบคุ คล รายบุคคล

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ช่ัวโมงที่ ๑ ขั้นสังเกต ตระหนกั ๑. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ (กลุม่ เดิม) รว่ มกันศกึ ษาความรูเ้ ร่อื ง หลกั การพดู สรปุ ความจากส่ือ จากหนังสอื เรยี น ๒. ครูกาหนดให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มฟงั และดูรายการเก่ียวกับภยั ธรรมชาติทีเ่ กิดข้ึนทั่วโลก แลว้ สรปุ ความ เพ่ือนามาพดู หน้าชั้นเรยี น ขั้นวางแผนปฏิบตั ิ นักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ ๔คน ตามความสมคั รใจ จากนั้น ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศึกษาความรู้เรอ่ื ง ความร้พู น้ื ฐานในการพูด จากหนงั สือเรียน ข้ันลงมือปฏบิ ัติ ๑. สมาชิกแต่ละกลุม่ สบื คน้ รายการเก่ยี วกบั ภัยธรรมชาติที่เกดิ ข้นึ ทัว่ โลก จากแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ ตามแผนปฏิบัติงานท่ีได้วางแผนไว้ชว่ั โมงที่ ๒ ขั้นพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ๑. สมาชกิ แตล่ ะกลุม่ ฟังและดูรายการเกย่ี วกับภยั ธรรมชาตทิ เ่ี กิดข้นึ ทั่วโลก แล้วสรปุ ใจความสาคัญของ เรื่อง เชน่ จดุ หมายของเรื่อง ลาดบั เหตุการณ์ ๒. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สังเคราะหข์ อ้ ความที่ไดจ้ ากการสบื ค้นมาเรียบเรียงเน้อื หาใหม่ให้มคี วามกระชับ ชัดเจน สละสลวย ขน้ั สรุป ๑. ตวั แทนนกั เรยี นแต่ละกลุม่ พูดสรุปใจความสาคัญจากเรอื่ งท่ีฟังและดูหน้าชั้นเรยี น ๒. ครูประเมินการพูดสรุปใจความสาคญั ของนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่๗. สือ่ /แหล่งเรยี นรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม.๒

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑๘ เรื่องการพูดวิเคราะห์วิจารณจ์ ากสื่อทฟี่ งั และดูรายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒ ช่ัวโมง ครูผสู้ อน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรียนหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด ท ๓.๑ม.๒/๓ วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณเ์ รอื่ งที่ฟังและดูอยา่ งมีเหตผุ ล เพื่อนาข้อคิดมาประยกุ ตใ์ ช้ใน การดาเนินชีวิต ม.๒/๖มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การพูดวิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์เร่ืองท่ฟี งั และดู เพอ่ื นาข้อคดิ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ตอ้ งมคี วามรเู้ รื่องหลกั การฟงั การดู และการพดู และมมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) การพดู วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์จากเรอื่ งทฟ่ี งั และดู มารยาทในการฟงั การดู และการพูด ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) พดู วิเคราะห์วิจารณ์ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผเู้ รียน (C) ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) พูดสรุปความ๕. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบุคคล รายบคุ คลสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

กลุม่สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ และ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึง ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ม่งุ ม่นั ในการทางาน ประสงค์สงั เกตการแสดงและตรวจการเขยี น แบบประเมนิ การแสดงและการ ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์บทละครสรุปข้อคดิ เขียน บทละครสรุป ขอ้ คิด๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ชวั่ โมงที่ ๑ข้ันสงั เกต ๑. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ (กลมุ่ เดิม) รว่ มกนั ศึกษาความรู้เร่ือง การพูดวิเคราะห์วจิ ารณ์จากส่อื ท่ฟี งั และดู จากหนังสอื เรยี น ๒. ครูกาหนดประเด็นปญั หาให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มเลอื กฟังพระธรรมเทศนา จากแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ กลุ่มละ ๑เรอ่ื ง เพ่ือวเิ คราะห์วจิ ารณ์ ๓. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มฟงั และดเู รื่องทจ่ี ะวิเคราะหอ์ ยา่ งต้ังใจ แยกแยะขอ้ มลู อยา่ งละเอยี ด พจิ ารณาว่า สว่ นใดเปน็ ประโยชน์ในการนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต ขน้ั อธบิ าย นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั จัดระบบความคิดแล้วนาเสนอผลการวเิ คราะห์วิจารณ์ โดยยกเหตุผล ประกอบให้ชดั เจนชว่ั โมงที่ ๒ ขั้นทานาย นักเรียนแต่ละกล่มุ ทานาย หรือพยากรณว์ ธิ ีการนาขอ้ คดิ ไปแก้ปัญหาที่อาจเกิดขน้ึ วา่ เม่ือเกดิ แลว้ ผล เปน็ อย่างไรและแกไ้ ขอย่างไร ข้ันนาไปใช้และสรา้ งสรรค์ ๑. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั สรุปข้อคดิ ทไ่ี ดจ้ ากการวิเคราะหว์ ิจารณ์ เพือ่ นาไปประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินชวี ติ ๒. ตัวแทนนกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ นาเสนอขอ้ คดิ ท่ีได้จากการวิเคราะห์วิจารณ์ ครแู ละนักเรียนกลุ่มอ่นื รว่ มกันตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นเพม่ิ เตมิ๗. สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑๙ เร่ืองพยางค์ คา และการสร้างคารายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดัท ๔ .๑ ม.๒/๑ สร้างคาในภาษาไทย๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การสร้างคาเพ่ือการสือ่ สารมีหลายวิธี คาสมาสก็เปน็ วิธกี ารสร้างคาวิธีหนึง่ โดยนาคาภาษาบาลีหรือภาษาสนั สกฤตมาประสมกัน เกดิ เปน็ คาใหม่ มคี วามหมายใหม่ การสรา้ งคาสมาสมี ๒ วิธี คอื การสมาสกบั การสนธิ การมีความรเู้ ร่อื งคาสมาส จะทาใหร้ ูจ้ ักและใชค้ าในภาษาไทยไดถ้ ูกตอ้ งมากยิ่งขน้ึ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (K) การสรา้ งคา ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ (P) สรา้ งคา ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมั่นในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผเู้ รยี น (C) ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากิจกรรม) ใบงาน๕. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ตรวจใบงาน เร่ือง การสร้างคาฯ ใบงาน เรอ่ื ง การสร้างคาฯ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ตรวจใบงาน เร่อื งการวิเคราะห์ ใบงาน เร่อื งการวเิ คราะห์ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ตรวจใบงาน เรอื่ งการสังเคราะหฯ์ ใบงาน เร่อื งการสงั เคราะหฯ์ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์รายบคุ คล รายบคุ คล

๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ชั่วโมงที่ ๑ ๑. ครแู บง่ นักเรียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ ๔ คน คละกันตามความสามารถ คอื เกง่ ปานกลางค่อนขา้ งเกง่ ปานกลางคอ่ นข้างออ่ น และออ่ น ๒. ครใู หส้ มาชิกแต่ละกลุ่มแบ่งหวั ข้อศกึ ษาเร่อื ง การสร้างคา ซง่ึ มี ๔ ประเภท คือ คาประสม คาซอ้ น คาซ้า และคาสมาส จากหนงั สือเรยี น และแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ๓. สมาชกิ แต่ละคนในกลมุ่ ทาความเข้าใจเกย่ี วกบั ความหมายและวธิ ีการสร้างคา ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั อภิปรายเพ่อื เป็นการแลกเปลยี่ นเรียนรใู้ นกลุ่ม เพื่อสรปุ องคค์ วามรู้ เกีย่ วกับการสรา้ งคา ๕. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ทาใบงานเรือ่ ง การสร้างคาในภาษาไทย โดยให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มหา คาตอบด้วยตนเองจนครบทุกขอ้ จากนน้ั จับคูก่ บั เพอ่ื นในกลมุ่ ผลัดกนั อธิบายคาตอบให้ค่ขู องตนเองฟงั ๖. นกั เรยี นในกลมุ่ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งชัว่ โมงท่ี ๒ ๑. นักเรียนน่ังตามกล่มุ เดมิ รว่ มกันทาใบงานเรอื่ ง การวเิ คราะห์การสร้างคาในภาษาไทยโดยใหส้ มาชิก แต่ละคนปฏิบตั ิกิจกรรม ดงั น้ี ๑) สมาชกิ คนที่ ๑ เขียนคาตอบในข้อ ๑ แล้วส่งใหส้ มาชิกคนท่ี ๒ ๒) สมาชิกคนท่ี ๒ ตรวจสอบคาตอบในขอ้ ๑แลว้ เขียนคาตอบในข้อ ๒ จากน้ันสง่ ใหส้ มาชิกคนที่ ๓ ๓) สมาชิกคนท่ี ๓ ตรวจสอบคาตอบในข้อ ๒ แล้วเขียนคาตอบในขอ้ ๓ จากน้ันส่งใหส้ มาชิกคนท่ี ๔ ๔) สมาชิกคนท่ี ๔ ตรวจสอบคาตอบในขอ้ ๓ แลว้ เขยี นคาตอบในข้อ ๔ จากนัน้ ส่งให้สมาชกิ คนท่ี ๑ สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ ปฏบิ ัติกิจกรรมเช่นนีห้ มนุ เวียนไปเร่ือยๆ จนครบทุกขอ้ ๒. สมาชกิ แต่ละคนทีต่ รวจสอบการเขยี นคาตอบ ถา้ เหน็ ว่ายงั ไม่ถูกต้องสมบรู ณก์ ใ็ หเ้ ขียนอธิบาย เพม่ิ เติม ๓. สมาชิกในแตล่ ะกลุม่ จะไดม้ โี อกาสอา่ นและเขยี นคาตอบหมุนเวียนกันไปเร่อื ยๆ จนเสรจ็ คอื สามารถ เขยี นอธิบายได้ชดั เจนครบถ้วนทกุ คาตอบ ๔. นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นถงึ ความจาเป็นทีจ่ ะต้องสร้างคาขน้ึ มาใชใ้ นภาษาไทย ๕. นกั เรียนแตล่ ะคนทาใบงาน เรือ่ ง การสังเคราะหค์ วามรู้การสร้างคาในภาษาไทยเมอื่ ทาเสรจ็ แลว้ ให้ ตรวจสอบความเรยี บร้อย กอ่ นนาส่งครตู รวจ ๖. นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายถงึ ความรู้ทีไ่ ด้จากการศึกษาเรือ่ ง การสรา้ งคา และการนาความรไู้ ปใชใ้ ห้ เปน็ ประโยชนต์ ่อไป๗. ส่อื /แหลง่ เรียนรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ ๒ . ใบงานเรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย ๓ . ใบงานเรอ่ื ง การวเิ คราะหก์ ารสรา้ งคาในภาษาไทย ๔ . ใบงานเรื่อง การสงั เคราะห์ความรกู้ ารสร้างคาในภาษาไทย

ใบงาน ๘.๑เรื่อง การสรา้ งคาในภาษาไทยคาชีแ้ จงให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี๑. เหตุใดจงึ มกี ารสรา้ งคาในภาษาไทย๒. คาประสมมลี กั ษณะอยา่ งไร มีวิธีการสรา้ งอยา่ งไร๓. คาซ้อนมีลักษณะอย่างไร มีวิธีการสร้างอยา่ งไร๔. คาซา้ มีลักษณะอยา่ งไร มวี ิธีการสร้างอย่างไร๕. คาสมาสมลี ักษณะอยา่ งไร มีวธิ ีการสรา้ งอย่างไร๖. คาสมาสทมี่ สี นธิมีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ ีการสร้างอยา่ งไร๗. คาซ้อนเพอื่ เสียงมีลักษณะอยา่ งไร มวี ิธกี ารสรา้ งอย่างไร๘. จากการศกึ ษาเร่อื งคาสมาส นักเรียนได้รบั ความร้เู รื่องใดบ้างนอกจากเร่อื งการสร้างคา

ใบงาน ๘.๑เร่อื ง การวเิ คราะหก์ ารสรา้ งคาในภาษาไทยคาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขียนอธิบายการสร้างคาลงในตาราง คา ความหมาย วิธีการสร้างคา โครงสรา้ ง(ตัวอยา่ ง) ตาขาว แสดงอาการขลาดกลวั คาประสม ตา+ขาว๑. สองหัว๒. ดด๊ี ี๓. เกียรตคิ ณุ๔. ขอทาน๕. สเี ทาๆ๖. ปฐมวยั๗. ไดเ้ สีย๘. เสอื้ ผ้า๙. มนุษยธรรม๑๐. หนา้ ตา๑๑. กลมๆ๑๒. คณิตศาสตร์๑๓. นอ้ ยหน้า๑๔. ตอนเช้าๆ๑๕. หอ่ หมก๑๖. ถว้ ยชาม

ใบงาน ๘.๑เรอ่ื ง การสังเคราะห์ความรู้การสรา้ งคาในภาษาไทยคาช้แี จง ให้นกั เรยี นเขยี นบทสนทนาเพอ่ื อธิบายการสร้างคา ตามที่กาหนด (ตัวอย่าง) บทสนทนาระหวา่ งนักเรยี นกบั ครู นกั เรยี น : ครคู รับ ผมอยากทราบวา่ คาว่า มดแดง เป็นคาประสมใช่หรือเปลา่ ครับ ครู : ใช่จะ๊ เพราะเปน็ คามลู ทม่ี คี วามหมายต่างกนั มารวมกันเป็นคาเดียวและมี ความหมายใหม่เกิดขนึ้๑. คาประสม๒. คาซ้อน๓. คาซ้า๔. คาสมาส

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒๐ เร่อื งทม่ี าและประโยชนก์ ารเรยี นคาราชาศพั ท์รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ช่วั โมง ครผู ู้สอน นางสาวศิวพร สุขสาแดง โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดัท ๔ .๑ ม.๒/๔ ใช้คาราชาศพั ท์๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) คาราชาศพั ท์เป็นระเบยี บแบบแผนในการใช้ภาษาท่ตี อ้ งใชใ้ หถ้ กู ต้องตามระดับของบุคคล ซง่ึ มที ีม่ าและมปี ระโยชนใ์ นการศกึ ษา๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง (K) คาราชาศัพท์ ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) อธิบาย ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผเู้ รยี น (C) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ตรวจใบงานเรอ่ื ง ทมี่ าฯ ใบงานเรอื่ ง ท่ีมาฯ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์รายบคุ คล รายบคุ คลสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ กลมุ่

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ให้นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ ๔ คน ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ รอื่ ง ที่มาของคาราชาศพั ท์ และประโยชน์ ของการเรียนคาราชาศัพท์ จากหนงั สอื เรยี น ๒. ครใู ห้นักเรียนดขู า่ วในพระราชสานัก จากแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ แล้วสังเกตการบรรยายและการ ใช้คาราชาศัพท์ ๓. นักเรียนรว่ มกนั วิเคราะหค์ าทใี่ ชใ้ นการบรรยายขา่ วในพระราชสานักว่า มคี วามเหมอื นหรอื ความ แตกต่างจากคาทีใ่ ชโ้ ดยทวั่ ไป ๔. นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ วา่ เหตใุ ดคาทีใ่ ชใ้ นการบรรยายขา่ วในพระราชสานกั จงึ แตกตา่ งจากคาทใี่ ชโ้ ดยทว่ั ไป นักเรยี นคิดวา่ คาราชาศพั ท์มคี วามเปน็ มาอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด และการ เรียนเร่ืองคาราชาศัพท์ จะมีประโยชนส์ าหรับนักเรียนอยา่ งไร ๕. นกั เรียนแตล่ ะคนทา ใบงานเรอ่ื ง ทีม่ าและประโยชน์ของการเรียนคาราชาศพั ท์ เม่ือทาเสรจ็ แล้วให้ นาสง่ ครตู รวจ ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ ความสาคญั ของคาราชาศพั ทแ์ ละความจาเป็นในการเรียนคาราชาศัพท์๗. สอื่ /แหลง่ เรียนรู้ ๗.๑ ส่อื การเรยี นรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ข่าวในพระราชสานัก ๓ .ใบงานเรอื่ ง ทม่ี าและประโยชน์ของการเรยี นคาราชาศพั ท์ ๗.๒ แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ -http://www.krobkruakao.com/video.php?type=videoDetail&video=๑๐&path=๑๘๔๒๒

ใบงาน๘.๑เรือ่ ง ท่มี าและประโยชน์ของการเรียนคาราชาศัพท์ตอนที่ ๑คาชี้แจง ให้นักเรียนนาอักษร ก-ฉ หนา้ ขอ้ ความใส่ลงในชอ่ งว่างใหใ้ จความสัมพนั ธก์ ันก. พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ค. ระดบั ชัน้ ของบคุ คล จ. การปกครองแบบเทวราชาข. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ง. กฎมณเฑยี รบาล ฉ. การใชค้ าราชาศัพท์ ๑. เปล่ยี นแปลงระบอบการปกครองจากระบอบพอ่ กบั ลกู มาเปน็ แบบเทวราชา ๒. มีหลักฐานการใช้คาราชาศัพทค์ ร้งั แรก ๓. หลักฐานท่ีระบุถึงการใช้คาราชาศพั ท์อย่างเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร ๔. ระเบียบการใช้ภาษาใหเ้ หมาะกับระดับช้นั ของบุคคล ๕. มคี วามแตกต่างตามชาติวุฒิ คุณวฒุ ิ และวัยวุฒิ ๖. มีความเชอ่ื วา่ กษตั รยิ ์ คือ สมมติเทพตอนที่ ๒คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นอธบิ ายประโยชนข์ องการเรียนคาราชาศัพท์ประโยชนข์ องการเรยี นคาราชาศพั ท์

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒๑ เร่อื งคาราชาศัพทส์ าหรับบคุ คลต่างๆ รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวศวิ พร สุขสาแดง โรงเรียนหนั คาราษฎร์รงั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดัท ๔ .๑ ม.๒/๔ ใช้คาราชาศพั ท์๒. สาระสาคญั (ความคดิ รวบยอด)คาราชาศพั ทเ์ ป็นระเบยี บแบบแผนในการใชภ้ าษาทีต่ ้องใช้ใหถ้ กู ต้องตามระดับของบคุ คล ซึ่งมีท่ีมาและมปี ระโยชน์ในการศึกษา๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (K)คาราชาศพั ท์ ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ (P) เลือกใช้คาราชาศัพท์ ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)มวี นิ ัยใฝเ่ รยี นรู้มงุ่ มนั่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผู้เรียน (C) ความสามารถในการสอื่ สารความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธกี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบุคคล รายบคุ คลสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สงั เกตการพูดรายงานการใช้คาราชา แบบประเมนิ การพดู รายงานการใชค้ า ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ศพั ทส์ าหรับบุคคลระดับต่างๆ ราชาศัพทส์ าหรับบคุ คลระดบั ตา่ งๆ

๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ สมเดจ็ พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจ้าใหน้ ักเรยี นอา่ นแล้วขดี เส้นใต้คาราชาศัพทท์ ี่ชว่ั โมงที่ ๑ ๑. ครูแจกใบความรู้ เรื่องปรากฏในเร่ือง๒. นกั เรียนช่วยกนั พจิ ารณาคาท่นี ักเรยี นไมร่ ูค้ วามหมาย และใชไ้ มถ่ ูกน้นั มีกคี่ า๓. ครอู ธบิ ายใหน้ กั เรียนทราบว่า คาราชาศัพทใ์ นความหมายเดิม หมายถึง ศัพท์ทใ่ี ชก้ ับพระราชา แต่ในปจั จบุ นั น้ยี ังใชก้ ับบุคคลระดบั อ่ืนดว้ ย๔. นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั การใชภ้ าษาทแี่ ตกต่างตามระดบั ชัน้ ของบคุ คลว่าเป็นผลดี หรือผลเสยี อย่างไร๕. ครูกาหนดหวั ข้อให้นกั เรียนเลือกศกึ ษา และสาธติ การจดั กจิ กรรมประกอบ ดงั นี้๑) ศึกษาคาราชาศพั ท์สาหรบั พระมหากษัตรยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์๒) ศกึ ษาคาราชาศพั ทส์ าหรบั พระภิกษุสงฆ์๓) ศกึ ษาคาสุภาพสาหรับบคุ คลท่วั ไป๖ .นักเรยี นเลือกหวั ข้อทีส่ นใจ และแบ่งเปน็ ๓ กลุ่ม ตามหวั ข้อท่กี าหนด๗. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ พจิ ารณาหัวข้อทีก่ ลมุ่ เลือก และหาแนวทางศกึ ษาความรู้๘ . นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาคน้ คว้าในหัวข้อทรี่ ับผิดชอบ จากหนงั สอื เรียน หอ้ งสมดุ และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ ช่ัวโมงที่ ๒๑ . นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รายงานผลการศกึ ษาคน้ ควา้ โดยใชภ้ าษาใหถ้ กู ต้องตามระดบั บุคคลในสถานการณ์ ดงั นี้- กลุ่มท่ี ๑ รายงานการใช้คาราชาศพั ท์สาหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ และกลา่ ว รายงานสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารี ท่เี สด็จมาเยยี่ มโครงการภาษาและ วฒั นธรรมท้องถิ่นทน่ี กั เรยี นจดั ทาข้ึน ในวโรกาสที่พระองคเ์ สด็จมาเย่ียมโรงเรียน- กล่มุ ที่ ๒ รายงานการใชค้ าราชาศัพท์สาหรบั พระภิกษสุ งฆ์ และเขียนจดหมายไปนิมนตพ์ ระสงฆม์ าทาพิธใี นงานทาบุญขึ้นบ้านใหม่- กลุ่มท่ี ๓ รายงานการใชค้ าสภุ าพสาหรับบุคคลทวั่ ไป และกล่าวต้อนรบั คณะกรรมการนกั เรยี นจาก โรงเรียนอ่ืนๆ ในเขตพื้นที่การศึกษาเดยี วกบั นักเรียนทมี่ าศกึ ษาดูงานเก่ยี วกบั การจัดงานกฬี าสี๒. ครปู ระเมนิ การรายงานของนักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม และร่วมกันกับนักเรียนสรุปความรู้๗. สือ่ /แหลง่ เรียนรู้๗.๑ สือ่ การเรียนรู้๑ . หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ใบความรู้ เรือ่ ง สมเด็จพระพนั วัสสาอยั ยกิ าเจา้ ๗.๒ แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ-http://www.meemodo.com/Learn%๒๐๑.html- http://info.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=๒๖&id=๑๖๙๑๘

ใบความรู้ เร่อื ง สมเดจ็ พระพนั วัสสาอัยยกิ าเจา้ในปจั ฉมิ วัย เมอ่ื พระชนมายไุ ด้ ๗๕-๗๖ พรรษามีอาการประชวรมากจดั วา่ เป็นครัง้ ใหญ่สาคญั คร้งัหน่งึ คราวเสดจ็ ประพาสเกาะชวาแต่กลางเดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ เรมิ่ ประชวร ซงึ่ ราว ๑๐ วนั กห็ ายประชวรแตแ่ ลว้ ทรงประชวรไข้หวดั ใหญจ่ นมีพระอาการหนักเปน็ ท่ีน่าวติ กไดจ้ ัดหานายแพทยช์ าวยุโรปผู้ชานาญมาปรึกษาพรอ้ มดว้ ยนายแพทย์ประจาพระองค์ระหว่างประทบั อยู่ทชี่ วา ครนั้ เสด็จกลับกรุงเทพฯ แล้วยังต้องถวายการรกั ษาพยาบาลอย่อู กี ๑ เดอื นเศษรวมเวลาประชวรครั้งนร้ี ว่ ม ๓ เดอื นนายแพทย์ประจาพระองค์ไดล้ งความเห็นว่าภายหลงั หายประชวรคร้ังนแ้ี ล้ว ทรงเป็นปกตเิ รอื่ ยมาเปน็เวลาตง้ั ๑๒ ปจี งึ มีพระอาการประชวรที่จดั ว่ามากอีกครั้งหนงึ่ เม่อื เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ในขณะท่ีทรงเจริญพระชนมายมุ ากถงึ ๘๘ พรรษาแล้วดว้ ยเหตเุ พราะพลาดจากพระที่นงั่ กระแทกกบั พืน้ หอ้ งประทบั ทาใหพ้ ระอฐั ิคอต้น พระเพลาหกั เปน็ เหตุให้ทรงพระดาเนินไมไ่ ด้ ครั้นถึงวนั ที่ ๒๐ตลุ าคม๒๔๙๘ ประชวรไข้ นายแพทยห์ ม่อมหลวงเกษตรสนทิ วงศผ์ ทู้ าการแทนนายแพทย์ประจาพระองคไ์ ด้ถวายการรกั ษาทนั ทปี รากฏว่ามีการอกั เสบทพี่ ระปปั ผาสะ แพทย์ไดถ้ วายการรักษาอย่างดีทสี่ ดุ พระอาการก็มีแต่ทรงและทรุดลง ในระยะหลงั พระอาการทางพระปัปผาสะดีข้ึนแต่กลบั มีอาการทางพระหทัยอ่อน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเป็นพระราชธรุ ะในอาการพระประชวรอยา่ งยง่ิ ทรงฟงั รายงานหมอทุกระยะ เสดจ็ พระราชดาเนนิ ไมข่ าดจนวนั ท่ี๑๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๙๘อนั เปน็ วันทพี่ ระชนมายุได้ ๙๓ พรรษา ๓ เดอื น ๗ วนั ย่างเข้ามาหนา้ หอ้ งบรรทมสมเด็จ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถประทับอยู่ นอกจากนั้นก็มีพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอพระองคเ์ จา้ วาปี บุษบากร หม่อมเจา้ หลานๆ และข้าหลวงหมอบเฝา้ เตม็ ไป เพราะเปน็ ที่ทราบกันแล้วว่าพระอาการทรุดลงตัง้ แต่ ๕ ทุ่มจึงมาคอยส่งเสด็จกนั พรอ้ มหนา้ ในวาระสุดท้าย สองยามผ่านไป ตีหนึง่ ผ่านไป ตสี องผา่ นไป ชาววงั ท่เี ฝ้าอยู่ในที่นน้ั ทัง้ ปวงต่างก็ได้ยินเสยี งสวดมนต์เบาๆ ตดิ ตอ่ กนัโดยหาตัวผู้สวดไมไ่ ด้พอผา่ นไปได้ ๑๖ นาที สมเด็จฯ ก็เสดจ็ สูส่ วรรคาลัยอยา่ งสงบพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวทรงหมอบกราบถวายบงั คมอยู่ปลายพระบาทน้ันเองสมเดจ็ พระศรีสวรินทริ า บรมราชเทวี พระพนั วัสสาอยั ยิกาเจ้าทรงดารงพระชนมายถุ งึ ๖ แผ่นดนินบั จากรชั กาลท่ี ๔ ถงึ รชั กาลที่ ๙ ในปัจจุบัน ทรงผ่านความทุกข์ ความโศก ความวปิ โยค และความอาดูรมาเกือบจะตลอดพระชนมายุของพระองค์อนั นับได้ถึง ๙๓ พรรษาเศษแตก่ ท็ รงประคับประคองพระองค์ไว้ไดต้ ลอดดว้ ยพระขันติธรรมมไิ ด้มบี กพร่องทัง้ ในฐานะพระเจ้าลกู เธอ พระเจา้ น้องนางเธอสมเดจ็ พระนางเจ้าฯพระราชเทวี สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชเทวี สมเด็จพระมาตุจฉาเจา้ ฯ พระบรมราชเทวสี มเด็จพระศรีสวรนิ ทริ า บรมราชเทวี พระพนั วสั สามาตุจฉาเจา้ และสมเดจ็ พระศรี- สวรนิ ทิราบรมราชเทวี พระพันวสั สาอัยยิกาเจา้ ทรงปฏิบตั ิพระราชภาระด้วยดีทรงดารงพระราชฐานะทรงเป็นกุลเชษฐ์แห่งราชสกลุ วงศ์ที่มา:http://www.somdej.or.th/index.php?option=com_content&view=section&id=๑&Itemid=๓

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๒๒ เร่อื งศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ (สรปุ เน้ือหาและคาศพั ท์)รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรยี นหนั คาราษฎร์รังสฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดท ๑.๑ ม.๒/๑อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้อง ท ๕.๑ ม.๒/๑ สรปุ เน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ นในระดบั ท่ียากขึ้น๒. สาระสาคัญ(ความคิดรวบยอด) การศึกษาเร่อื ง ศลิ าจารึกหลักที่ ๑ จะต้องสรุปเน้ือหาจากเรอ่ื งที่อา่ น และจาเป็นต้องรู้คาศพั ท์ที่ปรากฏอยูใ่ นเรื่อง เพื่อจะได้เข้าใจเน้ือหาของเรอื่ งได้อย่างถกู ต้อง๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง (K)๑ ) การอ่านออกเสยี ง ประกอบดว้ ย บทรอ้ ยแก้วที่เป็นบทบรรยายและพรรณนา ๒) วรรณคดเี ก่ียวกบั เหตุการณป์ ระวตั ศิ าสตร์๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ (P) อ่านออกเสยี ง และสรปุ๓.๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)มีวินยั ใฝเุ รียนรู้ มุ่งมัน่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผูเ้ รยี น (C) ความสามารถในการสอ่ื สารความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) นาเสนองาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้วิธกี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑ . ครเู ปิดเพลง ในน้ามปี ลา ในนามีข้าว ให้นกั เรยี นฟัง แลว้ ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกยี่ วกับเนอื้ หาของเพลง ๒.ครูอธบิ ายใหน้ กั เรยี นฟังว่าเพลง ในนา้ มปี ลา ในนามขี ้าว เป็นราชสดุดเี ฉลิมพระเกียรตพิ ่อขุน รามคาแหงมหาราช เนื้อหาทน่ี ามาเขยี นมาจากศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ ๓. ครใู หน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ ร่วมกนั กาหนดจุดมุ่งหมายของการทางานกลมุ่ โดยใหแ้ ต่ละกลมุ่ ศึกษาคา จารกึ และคาอ่านศลิ าจารึกหลกั ที่ ๑ จากหนังสอื เรียน แลว้ สารวจคาศพั ทท์ ี่นักเรยี นไม่รู้ความหมายลง ในสมดุ ของแตล่ ะคน ๔. นักเรียนรว่ มกันวางแผนและปฏบิ ัติงานตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ๕. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนนาเสนอผลงาน หน้าช้นั เรียน ครูประเมินการนาเสนอและสงั เกต พฤตกิ รรมของนักเรยี นในการปฏบิ ตั งิ าน ๖ . นกั เรียนร่วมกนั สรปุ การปฏิบัติกิจกรรมและความรทู้ ่ไี ด้จากเรอื่ ง ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑๗. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ ๗.๑ สื่อการเรยี นรู้๑ . หนังสอื เรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . เพลง ในน้ามปี ลา ในนามขี า้ ว ๗.๒ แหล่งข้อมลู สารสนเทศ - www.youtube.com/watch?v=6yVrneNNhn8

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒๓ เรอื่ งศิลาจารกึ หลักที่ ๑ (การอธบิ ายคณุ ค่า)รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ช่วั โมงครูผสู้ อน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั ท ๕.๑ ม.๒/๒วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณว์ รรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นท่อี า่ น พร้อม ยกเหตุผลประกอบ ม.๒/๓อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การศึกษาเร่ือง ศลิ าจารึกหลักที่ ๑ จะตอ้ งวเิ คราะหว์ จิ ารณ์ และอธบิ ายคณุ คา่ จากเร่ืองทอี่ ่าน๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) การวิเคราะหค์ ณุ คา่ จากวรรณคดี๓.๒ ทักษะกระบวนการ ( P) วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และอธบิ าย ๓.๓ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)มวี นิ ยั ใฝุเรยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผเู้ รยี น (C) ความสามารถในการสอื่ สารความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากิจกรรม) นาเสนองาน๕. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑ . ครูใหน้ กั เรียนอา่ นเร่ือง ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหงจากนน้ั ให้นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เนอ้ื เร่อื งทมี่ ีผ้กู ลา่ วว่า “ศลิ าจารึกเปน็ ส่งิ ที่ประดษิ ฐข์ ึน้ ใหม่” ๒ .นักเรยี นรว่ มกันสรปุ ประเดน็ สาคัญจากเรื่อง ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง ๓.นกั เรียนรวมกลมุ่ เดมิ (จากแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑)จากน้ันร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ รอื่ ง ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ ตามประเด็นท่คี รกู าหนด ดังน้ี ๑)คุณค่าด้านเน้ือหา ๒)คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ ๓)คณุ คา่ ด้านสงั คม ๔. สมาชกิ แต่ละกล่มุ รว่ มกันศกึ ษาหลกั การวเิ คราะห์วจิ ารณ์ และอธบิ ายคุณคา่ เร่ือง ศลิ าจารึกหลักที่ ๑ ในดา้ นต่างๆ ๕ .นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั วเิ คราะห์และอภปิ รายเก่ียวกบั คุณคา่ ดา้ นตา่ งๆ ท่ีได้จากเร่อื ง ศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑แล้วสรุปเปน็ องค์ความรขู้ องกลมุ่ ๖ .นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนนาเสนอผลการวเิ คราะหแ์ ละสรปุ คณุ ค่าดา้ นตา่ งๆ ตามประเด็นที่ครู กาหนดหน้าชั้นเรยี น ๗ . ครูประเมินผลการนาเสนอผลงานของนกั เรียน๗. สอื่ /แหลง่ เรียนรู้๑ . หนงั สอื เรียน ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . เอกสารประกอบการเรียน

เอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง ศลิ าจารึกพ่อขนุ รามคาแหง ทาจากหินทรายแปงู ลกั ษณะเป็นหลักสเ่ี หลย่ี มด้านเทา่ ทรงกระโจม หรือทรงยอ กวา้ งดา้ นละ ๓๕ เซนติเมตร สงู ๑๑๑ เซนตเิ มตร จารึกอกั ษรไทยสโุ ขทยั ภาษาไทย ปี พ.ศ.๑๘๓๕เรียกศิลาจารึกหลักนีว้ ่าจารึกหลกั ที่ ๑ ปจั จุบนั อยู่ท่พี ิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติเมื่อปพี .ศ. ๒๔๗๖ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ครง้ั ดารงพระอิสรยิ ยศสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจา้ ฟูามงกุฎ ขณะทรงผนวชไดเ้ สดจ็ จารกิ หัวเมืองฝาุ ยเหนือ ถึงเมอื งเก่าสุโขทยั ทรงพบศลิ าจารกึ หลกั นี้พร้อมพระแท่นมนังคศลิ าบาตร ณโคกปราสาทรา้ ง จงึ ได้โปรดให้นาเขา้ กรุงเทพฯ ในขน้ั แรกเก็บรกั ษาไวท้ วี่ ดัราชาธวิ าสเพราะทรงประทบั อยู่ ณ ทีว่ ดั นั้น ตอ่ มาเมอื่ ทรงย้ายไปประทบั ท่วี ัดบวรนเิ วศวิหาร จงึ โปรดใหย้ ้ายไปไวท้ ่วี ัดบวรฯพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า ฯทรงอ่านศิลาจารึกหลักน้ีไดเ้ ปน็ พระองค์แรก เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๖๙และหอสมดุ วชริ ญาณได้จดั พิมพ์เป็นครงั้ แรก เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๗๗เม่ือไม่นานมานี้ไดม้ ผี ูท้ ่ถี กู เรียกกันวา่ เปน็ นกั วิชาการบางคน และพรรคพวกท่ีมคี วามเห็นอยา่ งเดยี วกันบางพวกไม่เชอ่ื ว่าเป็นศลิ าจารกึ ทพ่ี ่อขนุ รามคาแหงสรา้ งขน้ึ ไวเ้ มือ่ ประมาณเจด็ รอ้ ยปีกอ่ น จึงไดม้ ีการพิสูจน์ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ตามท่สี มเดจ็ พระเจ้าพีน่ างเธอเจา้ ฟูากัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ทรงเสนอแนะไวใ้ นคราวประชมุ ใหญ่ฯเม่อื วนั ที่ ๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๒ โดยมอบหมายใหน้ กั วิทยาศาสตร์ประจากรมศิลปากรและกรมทรพั ยากรธรณี ทาการวิจัยเร่อื ง การพิสจู นศ์ ิลาจารกึ หลักที่ ๑ดว้ ยวิธีวิทยาศาสตร์ โดยนาศิลาจารกึ ท่ีทาด้วยหินทรายแปงู ชนิดเดียวกับศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ และถูกทงิ้ กราแดดกราฝนคือศิลาจารกึ วัดพระบรมธาตนุ ครชมุ เมอื งกาแพงเพชร (จารกึ หลกั ท่ี ๓)ศลิ าจารกึ วดั มหาธาตุ (จารกึ หลกั ท่ี ๔๕) พระแทน่ มนังคศลิ าบาตรและจารึกชผี ้าขาวเพสสนั ดรวดั ขา้ วสารมาเปรยี บเทยี บกนั ผ้วู จิ ัยไดใ้ ชแ้ วน่ ขยายรังสอี ลั ตรา้ ไวโอเลต และรงั สีอนิ ฟราเรด กล้องจุลทรรศนอ์ ิเลคตรอน เป็นเครื่องมอื สาคญั ในการตรวจพิสูจน์เมอ่ื เปรยี บเทียบวเิ คราะห์หลายๆ จุดบนตัวอยา่ งแต่ละตวั อยา่ งแลว้ หาค่าเฉล่ียพบว่าความแตกต่างขององคป์ ระกอบทผ่ี วิ กบั สว่ นที่อยู่ข้างในของศลิ าจารึกหลกั ที่ ๑ หลกัท๓่ี และหลักที่ ๔๕ มีสดั สว่ นใกลเ้ คียงกัน จึงสรุปผลการพสิ ูจน์ว่า \"ผลปรากฏว่าผิวของหนิ ตรงร่องทีเ่ กดิ จากการจารึกตัวอกั ษรมีปริมาณแคลไซด์ ลดลงมากใกล้เคยี งกบัผวิ สว่ นอน่ื ๆ ของศลิ าจารกึ หลักที่ ๑จนสามารถมองเหน็ เปน็ ชั้นท่มี คี วามแตกตา่ งไดช้ ัดเจนแสดงว่าเป็นการจารึกในช่วงเวลาเดียวกนั หรอื ใกลเ้ คยี งกันกับการสกัดกอ้ นหนิ ออกมาเป็นแทง่ แล้วขดั ผิวให้เรียบมิใช่เป็นการนาแทง่ หนิ ทข่ี ดั ผวิ ไว้เรยี บร้อยในสมยั สโุ ขทัยแล้วนามาจารกึ ขนึ้ ใหมใ่ นสมยั รัตนโกสินทร์ \" จากความจรงิ ทพ่ี ิสูจนไ์ ดท้ างวทิ ยาศาสตร์ดงั กล่าว แสดงวา่ ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ไดผ้ า่ นกระบวนการสกึกร่อนผุสลายมาเปน็ เวลาหลายร้อยปี ใกลเ้ คยี งกบั ศลิ าจารึก หลักที่ ๓ หลักท่ี ๔๕ และหลกั ท่กี ลา่ วถงึ ชีผา้ ขาวเพสสนั ดร จงึ เปน็ อันยุติว่าศลิ าจารกึ หลักที่ ๑ เปน็ ของด้ังเดมิ มิใช่ทาขึน้ ใหมอ่ ย่างท่ีกลมุ่ คนบางจาพวกยกเปน็ประเด็นขนึ้ มาทม่ี า : www.sukhothai.go.th/history/hist_08.htm

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๔ เร่อื งศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ (การสรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ )รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางสาวศวิ พร สุขสาแดง โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด ท ๕.๑ ม.๒/๔สรุปความรู้และข้อคดิ จากการอา่ นไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง๒. สาระสาคญั (ความคดิ รวบยอด)การศกึ ษาเรอ่ื ง ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ จะตอ้ งสรปุ ความรแู้ ละขอ้ คิดจากเรือ่ งทีอ่ า่ นแลว้ สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ได้๓. สาระการเรียนรู้ เครื่องมือ เกณฑ์ ๓.๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (K) การวิเคราะห์ข้อคดิ จากวรรณคดี ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ( P) การวิเคราะห์ ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มวี นิ ัย ใฝุเรียนรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผู้เรียน (C) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) นาเสนองาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครูสุม่ นักเรียน ๒ – ๓ คน เลา่ เรื่อง ศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ เพ่อื ทบทวนความรู้ ๒. ครตู ดิ คาขวัญจงั หวดั สุโขทัย บนกระดาน แลว้ ให้นักเรยี นร่วมกนั อ่านและอภปิ รายแสดงความคิดเห็น ว่า เกย่ี วขอ้ งกับวถิ ีชวี ิตของชาวสโุ ขทยั อย่างไร ๓. ครแู บง่ ประเดน็ ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศกึ ษาความรูเ้ กยี่ วกับข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ จากหนังสือเรียน ในประเดน็ ท่กี าหนด ดังน้ี ๑) ความกตญั ญตู ่อบดิ า มารดา และผู้มีพระคุณ ๒) ความรักใคร่ผกู พันระหว่างพ่นี อ้ ง ๓) การปฏิบัติตนเป็นพทุ ธศาสนกิ ชนทดี่ ี ๔) การสบื ทอดวัฒนธรรมประเพณี ๔. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มแบง่ หนา้ ท่กี นั ศึกษาค้นควา้ โดยให้ผู้ท่เี รยี นออ่ นมีสทิ ธเ์ิ ลอื กหวั ขอ้ ก่อน คนละ ๑ หวั ขอ้ ยอ่ ย พร้อมกับเสนอแนะแนวทางในการนาไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ๕. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มสืบค้นความรตู้ ามหวั ข้อท่ีได้รบั มอบหมาย แลว้ นามาอภปิ รายในกลุ่มจนได้ คาตอบท่สี มบูรณ์ ๖. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ตามประเดน็ ที่รบั ผดิ ชอบ หนา้ ช้ันเรยี น ๗. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้และขอ้ คิดทไ่ี ดจ้ ากเรื่อง ศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ พร้อมกบั แนวทางใน การนาไปใชใ้ นชวี ติ จริง๗. ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้๑ . หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . คาขวญั จงั หวดั สุโขทยั

เอกสารประกอบการสอน คาขวัญจังหวดั สโุ ขทัย มรดกโลกลา้ เลิศ กาเนดิ ลายสอื ไทย เล่นไฟลอยกระทง ดารงพุทธศาสนางามตาผ้าตนี จก สังคโลกทองโบราณ สักการแม่ย่า พ่อขุน รุ่งอรณุ แหง่ ความสุข

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒๕เรอ่ื งบทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วศิ วกรรมาและสามคั คีเสวก (การท่องจาบทอาขยาน) รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ชว่ั โมง ครูผูส้ อน นางสาวศิวพร สุขสาแดง โรงเรยี นหนั คาราษฎร์รังสฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด ท ๕.๑ ม.๒/๕ ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด)เร่อื ง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก เป็นเร่อื งราวประเภทคาสอนท่ีมีคณุ คา่ จึงได้ถกู กาหนดให้นามาใชเ้ ปน็ บทอาขยาน๓. สาระการเรียนรู้ เครือ่ งมอื เกณฑ์ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ุณคา่ - บทอาขยานตามทีก่ าหนด ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ( P) ทอ่ งจาบทอาขยาน ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) มีวินยั ใฝเุ รียนรู้ ม่งุ ม่นั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผู้เรยี น (C) ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) นาเสนองาน๕. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ วิธีการประเมนิ การทอ่ งบทอาขยาน แบบประเมินการท่องบทอาขยาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์รายบคุ คล รายบคุ คลสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์๖. กิจกรรมการเรียนรู้

๑. ครูสนทนากบั นกั เรยี นเก่ยี วกับการอ่านคาประพันธ์ประเภทกลอนเสภา ๒ .ครอู า่ นบทอาขยานเร่อื ง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วศิ วกรรมา ให้นกั เรียนฟัง ๑ รอบ โดยให้ นกั เรยี นสงั เกตการอ่านออกเสียงทถี่ กู ต้อง ๓ .ครูอ่านบทอาขยานเรอ่ื ง บทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคเี สวก จากหนงั สอื เรียน แลว้ ใหน้ กั เรยี นอ่านตามทีละวรรคจนคล่อง ๔. นกั เรียนเข้ากลุ่มรว่ มกนั ฝกึ ทอ่ งบทอาขยานเรอ่ื ง บทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคี เสวกโดยไมม่ ีแบบจนเกดิ ความชานาญ ๕ .นักเรยี นท่องบทอาขยานเร่อื ง บทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วศิ วกรรมาและสามคั คเี สวกกับครเู ป็น รายบุคคล นอกเวลาเรียน โดยทอ่ งได้ถกู ตอ้ งตามทานอง และชดั เจน๗. ส่อื /แหล่งเรียนรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒๖ เร่ืองบทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก (สรปุ เน้อื หาและคาศพั ท์) รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง ครูผ้สู อน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรียนหนั คาราษฎร์รังสฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง ท ๕.๑ ม.๒/๑ สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ นในระดบั ทยี่ ากข้นึ๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด)การศึกษาเร่ือง บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก จะต้องสรุปเนือ้ หาจากเรอ่ื งท่ีอา่ น และจาเปน็ ต้องร้คู าศัพท์ทป่ี รากฏอยู่ในเร่อื ง เพือ่ จะได้เขา้ ใจเนือ้ หาของเรื่องไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง๓ . สาระการเรียนรู้ เกณฑ์ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) ๑ ) การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย บทรอ้ ยกรอง เช่น กลอนเสภา ๒) วรรณกรรมเกีย่ วกับคาสอน ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ( P) อา่ นออกเสียง ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มวี นิ ยั ใฝเุ รยี นรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผเู้ รียน (C) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ กี าร เคร่อื งมอืตรวจใบงานเร่ือง สรปุ เนอื้ หาฯ ใบงานเรื่อง สรปุ เนอื้ หาฯ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์รายบคุ คล รายบุคคลสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ครูจัดบรรยากาศหอ้ งเรยี น แล้วเล่าเรอ่ื ง ชา่ งสบิ หมู่ จากเอกสารประกอบการสอน ให้นักเรยี นฟัง เพ่อื ให้นักเรยี นสร้างจนิ ตนาการของตนเอง ๒.นักเรยี นแต่ละคนเขยี นบรรยายความรู้สึกและภาพในจินตนาการของตนเองจากการฟังเร่อื งท่ีครเู ลา่ ๓. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาเนอ้ื เรอ่ื งและคาศพั ท์เรื่อง บทเสภาสามัคคเี สวกตอน วิศวกรรมาและ สามัคคเี สวก จากหนังสอื เรยี นพร้อมทั้งทาเครือ่ งหมายกากับข้อความทไ่ี ม่เข้าใจในการอา่ น ๔.นักเรียนตรวจสอบขอ้ ความที่ไม่เข้าใจ แลว้ อ่านซ้าและพยายามหาสาเหตุทไี่ มเ่ ข้าใจพร้อมทัง้ หาวิธี แกป้ ัญหา ๕.เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเร่ือง บทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคเี สวก จบแล้วให้ ปดิ เร่อื งที่อา่ น แลว้ คดิ ทบทวนในใจว่า อา่ นแลว้ เข้าใจอะไรบ้างแลว้ จงึ เปดิ เรอ่ื งทอ่ี า่ นดูอีกรอบว่าลืมอะไร ไปบา้ ง จากนัน้ ก็ปิด แลว้ พยายามทบทวนส่ิงทอ่ี ่านอกี ครัง้ ว่ามคี วามเข้าใจเนอื้ หาเพม่ิ เติมหรอื ไม่ และ เรอื่ งนนั้ มรี ายละเอียดอย่างไร ๖. หลังจากนกั เรียนอ่านเรอ่ื ง บทเสภาสามคั คเี สวกตอน วศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก เรยี บร้อยแลว้ ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันอภิปรายและสรุปเนอ้ื หาและคาศัพท์ของเรือ่ งที่อ่านเพือ่ ใหส้ มาชกิ ทกุ คนใน กลุ่มมคี วามเขา้ ใจชัดเจน ๗ .นักเรยี นแต่ละคนทาใบงานเรือ่ ง สรปุ เนอื้ หาเรอื่ ง บทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วศิ วกรรมาและสามคั คี เสวก๗. สอ่ื /แหล่งเรียนรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ ๒ . เอกสารประกอบการสอน ๓ . ใบงานเรอ่ื ง สรปุ เน้อื หาเรอ่ื ง บทเสภาสามคั คเี สวกตอน วศิ วกรรมาและสามคั คเี สวก

เอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง ชา่ งสิบหมู่ “ชา่ งสิบหมู่” ในสมยั กอ่ นเป็นกรมๆ หนึ่ง ซง่ึ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอเจา้ ฟาู กรมพระยานรศิ รานวุ ตั ติวงศ์ ทรงอธิบายประทานแกพ่ ระยาอนุมานราชธน ในหนังสอื บันทกึ ความรเู้ รอื่ งต่างๆ ดังน้ีว่า “ตามปกติการปกครองเมอื งสมยั โบราณ จัดเป็นจตุสดมภ์ คอื เป็นกระทรวงเวียง วงั คลงั นา กระทรวงใดมกี จิ จะตอ้ งทาส่ิงซ่งึต้องอาศยั ฝมี อื ชา่ ง กต็ ้องหาชา่ งชนดิ ที่ต้องการใชม้ ารวบรวมต้ังไวใ้ นกระทรวงนน้ั เพือ่ ใช้ จงึ ได้มกี ารชา่ งมากมายกระจดั กระจายอย่ใู นที่ต่างๆ หลายกระทรวงด้วยกัน ตามท่พี ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ตรัสไว้ดงั จะยกตวั อย่างใหเ้ หน็ เชน่ กระทรวงวัง มกี รมทหารในกรมรักษาพระองค์ แต่มีกรมชา่ งทหารในขึ้นอยใู่ นกรมทหารในนั้นอกี ชน้ั หนึ่ง เจา้ กรมคือหลวงประดิษฐ์นเิ วศน์ เหน็ ได้ตามช่อื ว่ามหี น้าทีป่ ลกู สร้างเรือนหลวงในพระราชนิเวศน์ คงมขี ้นึ ด้วยเหตทุ ่ีเจ้ากรมหรอื ปลัดกรมคนใด คนหน่ึงในกรมทหารในเปน็ ผูเ้ ขา้ ใจการปลูกสรา้ งจึงตรสั ใช้ ผ้รู ับส่ังนั้นกต็ อ้ งเสาะหาชา่ งมาเป็นลกู มอื งานมากขึ้น ชา่ งมากขึ้นก็ต้องต้ังขนึ้ เป็นกรมทหารใน แม้แต่กรมมหาดเลก็ ก็ยงั มีกรมชา่ งมหาดเลก็ เปน็ อกี กรมหนึ่งเหมือนกัน มีชา่ งเขยี น ช่างปัน้ และอน่ื ๆ ช่างสบิ หมูจ่ งึเป็นชื่อกรมท่รี วบรวมชา่ งไวม้ ีสิบหมูด่ ้วยกนั แตไ่ มไ่ ดห้ มายความวา่ ในบ้านเมืองมีช่างแคส่ ิบอยา่ งเท่าน้นั ทกี่ ลา่ วมาเป็นเพยี งตวั อย่างทยี่ กมารวมไว้เรยี กวา่ “ช่างสบิ หมู่” แท้จรงิ ช่างไทยมอี ยมู่ ากกว่า 10 หมู่ แต่ท่ีเรียกว่า “ชา่ งสิบหม”ู่ กเ็ พ่ือตอ้ งการจะรวบรวมช่างที่เป็นส่วนสาคญั ไวก้ ่อนเพยี ง 10 หมู่ ต่อมาภายหลังจงึ ได้เพิ่มเตมิ หรอื แยกแขนงออกไปอกี ตามลกั ษณะของงานนนั่ เอง ตามบญั ชชี ือ่ ช่างท่ีขนึ้ ทาเนียบเป็นชา่ งหลวงมดี งั ต่อไปนี้ ช่างเลื่อย ชา่ งก่อ ช่างดอกไม้เพลิง ช่างไมส้ าเภาช่างปนื ชา่ งสนะ(จนี ) ช่างสนะ (ไทย) ชา่ งขุนพราหมณ์เทศ ชา่ งรัก ช่างมชกุ า่ งปากไม้ ชา่ งเรือ ช่างทารุ ช่างเขียนชา่ งแกะ ชา่ งสลกั ชา่ งกลงึ ชา่ งหล่อ ช่างปัน้ ชา่ งหุ่น ชา่ งบุ ช่างปูน ชา่ งหุงกระจก ช่างประดบั กระจก ชา่ งหยกช่างชาดสสี กุ ช่างดบี กุ ชา่ งต่อกาปน่ั ช่างทอง “ช่างสิบหมู่” ชา่ งสิบหมู่นไ้ี ม่ได้หมายความว่าเป็นจานวนสิบ แตส่ บิ ตวั นเี้ ปน็ ภาษาบาลคี วามเดมิ เขยี นวา่ สิปปะ และหดไปเหลอื ป. ตวั เดยี ว แล้วลดมาเปน็ บ. เปน็ สิบ จะให้เข้าใจง่ายวา่ ชา่ งสบิ ประเภทกเ็ ลยไม่มีใครเขา้ ใจภาษาดงั้ เดิม ช่างสิปปะตรงกบั ในสนั สกฤตแปลว่า “ศิลปะ” เพราะในภาษาสนั สกฤตใชต้ ัว ศ. ศลิ ปะกับสิปปะในบาลจี ึงมีความหมายตรงกนั ชา่ งสบิ หมูค่ อื ช่างงานศลิ ปะ โดยในราชการของหลวงกต็ อ้ งทาของใชใ้ นสว่ นของราชการส่วนพระ สว่ นราชกุลสกุล และบรกิ ารแกศ่ าสนา บรกิ ารแก่ประชาชนจึงต้องมชี า่ งไวม้ ากมายหลายประเภท ช่างเหลา่ นก้ี ม็ าจากการรวบรวคมนทีม่ คี วามสามารถมฝี มี ือจากพ้ืนถ่นิ พ้ืนบ้านเอามาเป็นชา่ งหลวงรวมไว้ในหมู่ กรมชา่ งสบิ หมู่เดมิ ก็ถูกรวมเป็นกรมศิลปากรแล้วกม็ าเปน็ กองหัตถศลิ ป์ใน สุดท้ายเปลีย่ นเป็นกรมศิลปากร ในปจั จบุ ัน ฉะนั้นแลว้ ช่างสบิ หม่จู งึ ไมไ่ ด้หมายความว่าเปน็ ชา่ ง 10 ประเภทอย่างทีบ่ างคนเข้าใจครับท่ีมา : http://th.wikipedia.org/wiki

ใบงาน เร่อื ง สรปุ เน้อื หาเรอ่ื ง บทเสภาสามคั คีเสวก 2.1ตอน วศิ วกรรมาและสามคั คเี สวกคาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นเขียนสรุปเนื้อหาเรือ่ ง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก ตอน วิศวกรรมา ตอน สามคั คีเสวก

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒๗เร่ืองบทเสภาสามคั คเี สวก ตอน วศิ วกรรมาและสามัคคีเสวก (การสรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ ) รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง ครผู ูส้ อน นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั ท ๕.๑ ม.๒/๒วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นทีอ่ า่ น พรอ้ มยก เหตุผลประกอบ ม.๒/๔ สรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง๒. สาระสาคัญ(ความคิดรวบยอด)การศึกษาเรอ่ื ง บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามคั คีเสวก จะตอ้ งวิเคราะห์วจิ ารณ์ และสรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเรอื่ งที่อา่ นแล้วสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริงได้๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (K) การวเิ คราะหข์ อ้ คดิ จากวรรณกรรม ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ( P) เครอื่ งมอื เกณฑ์ วิเคราะห์ ๓.๓ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มีวินัย ใฝเุ รยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผูเ้ รียน (C) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) นาเสนองาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบุคคล รายบุคคลสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑ . ครสู นทนากบั นักเรียนเกี่ยวกับงานชา่ งฝมี ือไทยในปัจจบุ ัน แลว้ ถามนักเรียนว่า งานฝีมือทม่ี ีคณุ ภาพ สร้างรายไดใ้ ห้แกป่ ระเทศได้แกง่ านชนดิ ใดบ้าง นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็น ๒.นักเรยี นแตล่ ะคนศกึ ษาเรือ่ ง พระวิศวกรรมา แล้วร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เรอ่ื งท่อี า่ น ๓. นกั เรยี น แบ่งกลุม่ ร่วมกนั สารวจขอ้ คิดท่ไี ดจ้ ากเร่อื ง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วศิ วกรรมาและ สามัคคเี สวกเพ่อื วเิ คราะหค์ วามรแู้ ละข้อคดิ รวมถึงข้อเสนอแนะและแนวทางในการนาไปใช้ในชีวิตจริง ๔.นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั วิเคราะหแ์ ละอภปิ รายเก่ียวกับความรู้และข้อคิดทไี่ ด้จากเร่อื ง บทเสภา สามคั คีเสวก ตอน วศิ วกรรมาและสามัคคเี สวกรวมถึงขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการนาไปใชใ้ นชีวิต จริง แลว้ สรุปเปน็ องคค์ วามรขู้ องกลมุ่ ๕ . นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนนาเสนอผลการวิเคราะหแ์ ละสรปุ ความรู้ ขอ้ คิด และแนวทางในการ นาไปใช้ในชวี ิตจรงิ หน้าชัน้ เรยี น ๖ . ครูประเมินผลการนาเสนอผลงานของนกั เรียน๗. ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้๑ . หนังสอื เรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ ๒. ใบความรู้ เรือ่ ง พระวศิ วกรรมา

ใบความรู้ พระวิศวกรรมาเทพแหง่ วิศวกรรมคือ พระวศิ วกรรมา ท่คี นไทยเรานิยมเรยี กส้นั ๆ ว่า “พระวศิ วกรรม” หรอื เรียกตามความ คนุ้ เคย (ซ่งึ พอ้ งกับชื่อของพระวษิ ณุ) ว่า พระวิษณุกรรมบา้ ง หรอื เรียกแผลงเป็น พระเพชฉลูกรรมบา้ งท้าววิสสุกรรมบ้างหรือ ท้าวเวสสุกรรมบ้าง ฯลฯการทีค่ นไทยเราเรยี กพระวิศวกรรมา วา่ พระวษิ ณกุ รรม และในที่สุดก็กร่อนลงเหลอื เพียง ‘พระวิษณุ’ซง่ึ เป็น ชอื่ ของเทพท่ีคนไทยเรารจู้ ักมกั คนุ้ กนั มากกวา่ ดงั ท่ไี ด้กล่าวแลว้ ข้างตน้ นเี่ อง ทาให้หลายคนเข้าใจว่าพระวษิ ณุเปน็ เทพแห่งวิศวฯ ซึ่งเปน็ ความเข้าใจท่ีคลาดเคลือ่ นกลา่ วสาหรับ เทพแห่งวศิ วฯ ตวั จริง คอื พระวิศวกรรมา หรือพระวษิ ณกุ รรมน้นั ทา่ นเปน็ ท้ังสถาปนิกและวศิ วกรทมี่ ีความชานาญงานช่างทกุ แขนงในตานานพุทธศาสนาเลา่ ว่า ทา่ นเปน็ ผู้สรา้ งอาศรมให้แก่พระโพธิสตั วห์ ลายพระองค์ (กอ่ นทีจ่ ะอบุ ตั ิเปน็ พระพุทธเจ้า) เปน็ ผ้สู รา้ งบนั ไดเงิน บันไดทอง บนั ไดแก้ว ทอดจากสวรรคช์ ัน้ ดาวดึงส์ลงมายังโลกมนุษย์ท่ีเมอื งสงั กัสสนคร ซ่ึงเปน็ เสน้ ทางท่พี ระพทุ ธเจา้ ใช้เสดจ็ ลงจากสวรรค์ช้นั ดาวดงึ ส์ (หลังจากเสด็จขน้ึ ไปโปรดพทุ ธมารดาบนสวรรคใ์ นชว่ งเข้าพรรษา) นอกจากจะเปน็ สถาปนิกและเปน็ วิศวกรด้านโยธาและสารวจ ดังจะเหน็ ได้จากผลงาน ๒ ประการที่วา่ นีแ้ ล้ว พระวศิ วกรรมายังเป็นวิศวกรเครอ่ื งกลอกี ด้วยกลา่ วคอื ท่านเป็นผสู้ ร้างวาฬสังฆาตยนต์ ซ่ึงเปน็ กงลอ้ หมนุ รอบองคพ์ ระสถูป ปกปกั รกั ษาปูองกนั มิใหบ้ ุคคลเข้าใกลพ้ ระบรมสารรี กิ ธาตขุ องพระพทุ ธเจา้ เม่ือคร้ังที่พระเจา้ อชาตศัตรไู ดร้ ับสว่ นแบ่งพระบรมสารีริกธาตุหลงั พทุ ธปรินิพพานและอัญเชญิ ไปประดิษฐานไวใ้ นองคพ์ ระสถูปท่ีว่าน้ีสว่ นตามตานานฮินดู พระวิศวกรรมาก็มผี ลงานเดน่ ๆ สรรคส์ รา้ งไว้มากมาย เช่น ครัง้ หนึง่ ธดิ านางหนึ่งของท่าน ช่อื วา่ นางสญั ชญา เปน็ ชายาของพระอาทติ ย์ บน่ ให้พระวศิ วกรรมาผู้เป็นพอ่ ฟังว่า พระอาทิตยส์ ามขี องตนน้นั ช่าง ร้อนแรง เหลือเกนิ เขา้ ใกลไ้ มค่ ่อยได้ พระวศิ วกรรมาสงสารลกู สาว จงึ ชว่ ยเหลือ โดยไปขูดผิวพระอาทิตย์ออกเสยี บางส่วน ทาใหค้ วามร้อนแรงนน้ั ทเุ ลาลงไปบา้ ง และผวิ พระอาทติ ย์อนั มีรศั มีเจดิ จา้ ท่ขี ดู ออกมาไดน้ น้ั พระวิศวกรรมาไดน้ าไปรงั สรรค์-ปั้น-แตง่ แลว้ ถวายให้เป็นอาวธุ ทรงอานภุ าพและมีประกายแวววาวแก่เทพองค์สาคัญของสวรรค์ชน้ั ฟูา ได้แก่ อาวธุ ตรศี ลู (สามงา่ ม) ของพระอศิ วรจกั ราวุธ (กงจกั ร) ของพระนารายณ์วชิราวุธ (สายฟาู ) ของพระอนิ ทร์ คทาวุธ (กระบอง) ของทา้ วกุเวร และ โตมราวธุ (หอก) ของพระขันทกมุ ารเปน็ ตน้ผลงานอ่ืนๆ ของทา่ นทีส่ าคญั ๆ ไดแ้ ก่ เปน็ ผูส้ ร้างกรงุ ลงกาให้แกท่ ศกณั ฐใ์ นเรือ่ ง มหากาพย์รามายณะสร้าง กรุงทวารกาใหแ้ ก่พระกฤษณะ (ซ่งึ เป็นอวตารปางหนึง่ ของพระนารายณ์) ในเรือ่ ง มหากาพย์มหาภารตะสรา้ งวิมานให้แกพ่ ระวรณุ (เทพแห่งน้า) และพระยม (เทพแห่งความตาย) สรา้ งราชรถบษุ บกเปน็ พาหนะให้แก่ทา้ วกเุ วร เปน็ ผปู้ นั้ นางตโิ ลตตมา นางฟูาที่สวยทส่ี ุดนางหน่งึ บนสวรรค์ (สวยจนทาให้พระอนิ ทรผ์ ปู้ รารถนาเหน็นางติโลตตมาอย่างจใุ จ กลายเป็น “ทา้ วสหสั นยั น์” มีดวงตา 1,000 ดวง และทาใหพ้ ระพรหมผู้ปรารถนาเห็นนางตโิ ลตตมาจากทุกด้าน กลายเปน็ “ทา้ วจตุรพักตร์” มี 4 หน้า) ฯลฯ

ผลงานเดน่ อันสดุ ท้ายท่ีใครอ่ ยากนาเสนอในที่นี้ ก็คือ“กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสนิ ทรฯมหาสถานอมรพมิ านอวตารสถิต สักกะทตั ตยิ วิษณุกรรมประสิทธิ์” หมายถงึ กรุงเทพมหานคร เมืองแหง่ เทวดานัน้ พระวษิ ณกุ รรม เป็นผู้สรา้ ง ตามพระบญั ชาของพระอนิ ทร์จากผลงานสรรค์สร้างท่ีปรากฏมากมายนี้เอง เทพองค์นจี้ ึงไดช้ อื่ ว่า วิศวกรรมาซ่งึ มคี วามหมายตามรูปศัพท์ว่า ผู้ทาทกุ สิง่ ทุกอยา่ ง คอื เป็น นายชา่ งแห่งจกั รวาล นน่ั เองตานานฮินดกู ลา่ ววา่ พระวิศวกรรมา มีพระเนตร 3 ดวง มกี ายสีขาว ทรงอาภรณส์ เี ขียว โพกผา้ มอื ถอืคทาแต่ไทยนิยมวาดหรอื ปนั้ รปู พระวิศวกรรมา ทรงชฎา มอื ถือจอบหรือผึ่ง (เคร่อื งมือสาหรบั ถากไมช้ นดิ หนึ่งรปู ร่างคลา้ ยจอบ แตม่ ีด้ามส้นั กว่า) และลกู ด่ิง ซึ่งเปน็ สญั ลกั ษณท์ างช่างอยา่ งชดั เจนพวกช่างชาวฮินดจู ะประกอบพิธบี ชู าบวงสรวงพระวศิ วกรรมา เพ่ือขอพรให้ตนเองประสบความสาเร็จในหน้าที่การงานกนั ในวนั ท่ีพระอาทิตยย์ ้ายเขา้ สู่ฤกษภ์ ัทรบท ในวนั น้ี พวกชา่ งจะงดใช้อปุ กรณ์และเครอื่ งมอืทางชา่ งทุกชนิดพวกเขามคี วามเช่ือวา่ พระวศิ วกรรมาจะเขา้ มาสถิตในใจ และดลบนั ดาลให้พวกตนมีความคดิความอ่านท่ีจะสรา้ งสรรค์ผลงานใหม่ๆ ท่ีดี มคี ณุ ภาพอย่เู สมอชาวไทยได้รับอิทธิพลทางวฒั นธรรมและการสืบทอดประเพณบี างอย่างมาจากอนิ เดยี ซง่ึ นับถอื วา่ พระวิศวกรรมา เปน็ เทพแหง่ ช่าง เปน็ ผูส้ รรคส์ ร้าง หรอื เปน็ ผดู้ ลบันดาลใหเ้ กิดการสรรค์สร้างประดษิ ฐกรรมตา่ งๆ ในโลก เราจึงบญั ญัติศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศ ENGINEERING ซึ่งเป็นศาสตรแ์ ห่งชา่ ง ใชใ้ นภาษาไทยว่า วศิ วกรรมศาสตร์ หมายถงึศาสตรท์ ่ีมพี ระวิศวกรรมา (เทวดาแห่งชา่ ง) เป็นครูทีม่ า : อาจารย์ ดร.ชนินทร์วศิ วนิ ธานนท์

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๒๘เร่อื งรามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก (สรุปเน้อื หาและคาศัพท์)รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒ ชัว่ โมง ครูผสู้ อน นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๕.๑ ม.๒/๑ สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ นในระดับทยี่ ากขน้ึ๒. สาระสาคัญ(ความคิดรวบยอด)การศึกษาบทละครเรือ่ ง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก จะตอ้ งอ่านออกเสยี งบทร้อยกรองให้ถกู ตอ้ งตามหลักการอ่าน สรุปเนื้อหาจากเรื่องที่อา่ น และอธบิ ายคาศพั ท์ท่ปี รากฏอยูใ่ นเรือ่ ง เพอ่ื จะได้เข้าใจเนอ้ื หาของเร่อื งได้อยา่ งถูกตอ้ ง๓. สาระการเรยี นรู้ เกณฑ์ ๓.๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (K) ๑ ) การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย บทร้อยกรอง เชน่ กลอนบทละคร ๒) วรรณคดีเกยี่ วกับบนั เทิงคดี ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ( P) อ่านออกเสียง และสรุป ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) มวี ินัย ใฝุเรยี นรู้ มุ่งม่นั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผู้เรยี น (C) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) นาเสนองาน๕. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธกี าร เคร่ืองมอืตรวจใบงานเรอื่ ง สรปุ เนอื้ หาฯ ใบงานเรอื่ ง สรุปเนอ้ื หาฯ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ตรวจใบงานเร่ือง เรียบเรียงฯ ใบงานเรอ่ื ง เรียบเรยี งฯ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ประเมินการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ย แบบประเมนิ การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ย ระดับคณุ ภาพ ๒ผ่านเกณฑ์กรอง กรองประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ชว่ั โมงที่ ๑ ๑ . ครูต้ังคาถามเก่ยี วกับเร่อื ง รามเกียรติ์ ให้นกั เรียนตอบ ดงั นี้ - นกั เรียนเคยอา่ นเร่อื ง รามเกียรติ์ หรือไม่ ถา้ เคยอ่านอ่านตอนใด เหตกุ ารณ์ในเร่ืองตอนนน้ั เป็น อยา่ งไร - นักเรียนคิดวา่ สาเหตสุ าคัญที่ทาให้เกิดสงครามล้างเผา่ พนั ธ์ุระหวา่ งมนษุ ยก์ ับยกั ษเ์ กิดจากอะไร ๒. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ร่วมกันศึกษาเนอ้ื หาบทละครเรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก โดย สมาชกิ ในกลุม่ แบง่ เน้อื หาทีแ่ ต่ละคนจะต้องรบั ผดิ ชอบเท่าๆ กัน ตามความเหมาะสม ๓ .สมาชิกแต่ละกลมุ่ ศึกษาเน้อื หาท่ีรับผดิ ชอบ โดยหาคาศพั ท์ท่ไี มร่ คู้ วามหมายท่ีปรากฏอยใู่ นเรื่อง แลว้ หาความหมายของคาศัพท์จากเวบ็ ไซต์ ราชบณั ฑติ ยสถานเพือ่ ทาความเข้าใจกบั เร่ืองทอ่ี ่านไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ ง ๔ . สมาชกิ แต่ละกลุม่ อา่ นบทละครเรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทกทีแ่ ตล่ ะคนไดร้ ับผิดชอบ และจบั ใจความสาคัญในตอนทอ่ี ่านแลว้ บันทกึ ลงในสมุดของแตล่ ะคนชั่วโมงที่ ๒ ๑. นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภปิ รายเนอื้ หาท่สี มาชิกแต่ละคนอ่านและสรปุ ใจความสาคัญจากตอนที่ รบั ผดิ ชอบจากนั้นร่วมกันสรุปบทละครเรอ่ื ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทกเป็นองค์ความรู้ของ กลมุ่ ๒.นักเรยี นแตล่ ะคนทาใบงานเร่ือง สรปุ เน้อื หาบทละครเรือ่ ง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณป์ ราบนนทก เสรจ็ แลว้ นาส่งครตู รวจ ๓.นกั เรียนอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรองบทละครเรอ่ื ง รามเกียรต์ติ อน นารายณ์ปราบนนทก เป็นราย กลมุ่ ในบทท่คี รูกาหนด ๔. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาความรูท้ ีไ่ ด้จากการสรปุ บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก มาวาดภาพแลว้ เขยี นคาบรรยายใตภ้ าพสั้นๆ ให้เขา้ ใจ ๕. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน พร้อมทงั้ บอกเหตุผลทสี่ รุปความรอู้ อกมาเปน็ ภาพน้นั ๆ ๖.ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทาใบงานเรอ่ื ง เรียบเรยี งประโยคเป็นอนเุ ฉท โดยนักเรยี นนาคาตอบจากใบงานสรปุ เนือ้ หาบทละครเรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก มา เรยี บเรียงเป็นยอ่ หน้าใหถ้ กู ตอ้ ง เสรจ็ แล้วนาสง่ ครูตรวจ ๗. ครตู รวจประเมนิ ผลการทาใบงานเรอื่ ง เรยี บเรียงประโยคเป็นอนุเฉท และการอ่านออกเสียงของ นกั เรียน ๘ .ครใู ห้คาแนะนาแก่นกั เรยี นท่มี ีปญั หาและข้อบกพร่องในการทาใบงานและการอา่ นออกเสียงของ นกั เรยี น เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นนาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหด้ ขี ้นึ๗. สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ ๗.๑ สอื่ การเรียนรู้๑ . หนังสอื เรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ ๒ . ใบงานเรอ่ื ง สรปุ เนอ้ื หาบทละครเรื่อง รามเกยี รตต์ิ อน นารายณ์ปราบนนทก ๓ . ใบงานเร่ือง เรียบเรยี งประโยคเป็นอนเุ ฉท ๗.๒ แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - เว็บไซต์ ราชบัณฑติ ยสถา

ใบงาน เรอ่ื ง สรปุ เนอ้ื หาบทละครเรอ่ื ง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณป์ ราบนนทกคาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นสรุปเน้อื หาบทละครเรอ่ื ง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนท ก

ใบงาน เรื่อง เรยี บเรียงประโยคเปน็ อนเุ ฉทคำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นนาเน้อื หาบทละครเรอ่ื ง รามเกยี รตติ ์ อน นารายณ์ปราบนนทกจากการสรปุ มา เรยี บเรยี งเป็นยอ่ หน้า โดยในแต่ละยอ่ หน้าใหม้ ใี จความสาคญั ถูกตอ้ งสมบรู ณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook