Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปกแผนการจัดการเรียนรู้-merged-compressed

ปกแผนการจัดการเรียนรู้-merged-compressed

Published by ศิวพร สุขสำแดง, 2018-10-12 00:36:33

Description: ปกแผนการจัดการเรียนรู้-merged-compressed

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท๒๒๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นหันคาราษฎร์รังสฤษด์ิสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๕ อาเภอเมอื ง จังหวัดชยั นาท ๑๗๑๖๐

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรื่อง ความรูพ้ ื้นฐานในการอา่ น รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ช่วั โมง ครผู ้สู อน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง ม.๒/๘ มมี ารยาทในการอ่าน๒. สาระสาคญั (ความคดิ รวบยอด) ความรู้พ้ืนฐานในการอา่ นช่วยให้อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง และมีมารยาทในการอา่ น๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (K) การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ บทรอ้ ยกรอง ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ (P) การอ่านออกเสียง ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) มนี ิสยั รักการอ่าน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผู้เรียน (C) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์ตรวจใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ ใบงานสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานสงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ และ กลุ่ม ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์มงุ่ มัน่ ในการทางาน แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึง ประสงค์

๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน ๑. ครูสนทนากบั นักเรียนเรือ่ งความสาคญั ของการอ่าน ๒. ครใู ห้นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับการอ่านของคนในสมัยปัจจุบนั วา่ คนไทยเปน็ นักอ่าน หรือไม่ เพราะเหตใุ ด ๓. นักเรยี นตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ขัน้ สอน ๑. ครูแบง่ นักเรียนเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ๔คน ๒. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศกึ ษาความร้เู รือ่ ง ความรู้พน้ื ฐานในการอา่ น จากหนังสือเรยี น ๓. นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ทา ใบงานเร่อื ง ความรู้พื้นฐานในการอา่ น โดยใหส้ มาชกิ แต่ละคนในกลมุ่ หาคาตอบดว้ ยตนเองจนครบทกุ ขอ้ จากนนั้ จบั คกู่ ับเพ่ือนในกลุ่มผลดั กนั อธบิ ายคาตอบให้คู่ของตนเอง ฟงั (สมาชิกกล่มุ อีกคู่หนง่ึ ก็ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเชน่ เดียวกนั ) ๔. นักเรียนรวมกลมุ่ ๔ คน ให้แต่ละคผู่ ลดั กันอธบิ ายคาตอบให้เพือ่ นอีกคู่หนึง่ ในกลมุ่ ฟงั เพ่อื ชว่ ยกัน ตรวจสอบความถกู ต้อง ๕. ครสู ุ่มตวั แทนนกั เรยี น ๑-๒ กลุ่ม ออกมานาเสนอคาตอบใน ใบงานหน้าช้นั เรียน ครูและเพ่อื น นกั เรียนกลุ่มอน่ื ร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ขน้ั สรปุ นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ องค์ความรพู้ น้ื ฐานในการอ่าน๗. สือ่ /แหล่งเรียนรู้๑ . หนงั สอื เรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเร่ือง ความรู้พืน้ ฐานในการอ่าน

ใบงาน เรื่องความร้พู ้ืนฐานในการอา่ นรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ครูศวิ พร สุขสาแดงชื่อ............................................................................................ เลขท่ี ........................ ช้นั .................................คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้๑. การอา่ นในใจแตกต่างจากการอา่ นออกเสียงอย่างไร๒. การอ่านมคี วามสาคญั อย่างไร๓. การอ่านหนงั สือในหอ้ งสมดุ ต้องปฏบิ ัตอิ ย่างไร จึงจะถกู ตอ้ งตามมารยาทในการอ่าน๔. การอา่ นทมี่ ีประสิทธิภาพ มปี จั จัยพ้นื ฐานอยา่ งไร

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เร่อื ง หลักการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๑ ช่วั โมง ครผู ู้สอน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๒/๑อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ ง๒. สาระสาคัญ(ความคิดรวบยอด) การมีความรเู้ รือ่ ง หลกั การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วชว่ ยใหอ้ า่ นได้ถูกตอ้ งในการอ่าน๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (K) การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ (P) การอ่านออกเสียง ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) มีนิสยั รักการอา่ น ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผู้เรียน (C) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม)๔.๑ ภาระงาน ใบงาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ตรวจใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน ใบงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ และ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ม่งุ มั่นในการทางาน กลมุ่ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึง ประสงค์

๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ครูอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วท่ถี กู ต้องตามหลักการอ่านใหน้ กั เรียนฟงั ๒. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ จากทีฟ่ ังครู ๓. นกั เรียนตอบคาถาม “ ถ้าอ่านออกเสียงได้ถกู ต้องตามอักขรวธิ ี นับเปน็ ความสาเรจ็ ในการอา่ นบท รอ้ ยแก้วหรอื ไม่ อยา่ งไร” ข้ันสอน ๑. ครใู ห้นกั เรยี นแต่ละกลุม่ (กลมุ่ เดมิ จากแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑) ร่วมกันศึกษาความรเู้ รือ่ ง หลกั การอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ จากหนังสือเรยี น ๒. นักเรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกนั ทาใบงานเร่ือง หลักการอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ โดยให้สมาชกิ จับคกู่ ับ เพอ่ื นในกลุม่ แลว้ ใหน้ ักเรียนคนหนงึ่ ยกตัวอย่างวิธีอา่ นที่ ๑ ในขอ้ ที่ ๑ และนกั เรียนอีกคนหน่งึ เปน็ ฝ่าย สงั เกต (สมาชกิ อกี ค่หู นงึ่ ที่อย่ใู นกลุ่มเดยี วกนั กป็ ฏบิ ัติกิจกรรมในทานองเดยี วกนั ) ๓. นักเรยี นที่ทาหน้าทเี่ ปน็ ฝา่ ยสงั เกต จะทาหนา้ ที่ตรวจสอบ และแสดงความคดิ เหน็ ด้วย เมือ่ ตรวจสอบ วา่ เปน็ ตวั อยา่ งที่ถกู ตอ้ งพรอ้ มแสดงความยินดี ๔. นักเรียนแตล่ ะคู่เปลี่ยนบทบาทกันในวธิ อี า่ นเดียวกันในขอ้ ๒ และวิธอี ่านต่อไปจนครบทกุ วิธี โดย สลบั หน้าทีจ่ ากผ้ทู ่ยี กตวั อย่างวิธีอ่านเป็นผสู้ ังเกต และจากผ้สู ังเกตเป็นผยู้ กตัวอย่างวธิ ีอา่ น ๕. เม่อื จบการยกตวั อย่างวิธอี ่านทุกวธิ ีแลว้ ให้นกั เรยี นแตล่ ะคูร่ วมกลมุ่ กันตามเดมิ แล้วนาตวั อย่างวธิ ี อา่ นมาเปรียบเทียบกนั และช่วยกันอธบิ ายแสดงความคิดเหน็ เพมิ่ เติมเพ่อื ความกระจา่ งชดั เจนสรปุ เปน็ ตวั อย่างของกลมุ่ ๖. ตวั แทนนักเรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอตัวอย่างวิธีอา่ นในใบงาน ท่ี ๑.๒ หนา้ ช้ันเรียนครูตรวจสอบความ ถูกต้อง จากนัน้ ให้ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมใบงานส่งครู ๗. นกั เรยี นตอบคาถาม “ การอ่านโดยการสอดแทรกอารมณ์ความรสู้ ึกให้สมั พันธ์กบั เร่อื งท่ีอา่ น มี ความจาเป็นในการอ่านบทร้อยแกว้ อยา่ งไร” ขั้นสรปุ นกั เรยี นและครูร่วมกันสรปุ หลกั การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้๗. ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้๑ . หนงั สือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ใบงานเรอื่ ง หลักการอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว

ใบงาน เรื่องหลกั การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ครูศวิ พร สขุ สาแดงช่ือ............................................................................................ เลขที่ ........................ ช้นั .................................คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นยกตัวอยา่ งการอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ตามวิธีอา่ นท่ีกาหนดข้อ วิธอี ่าน ตวั อยา่ งตัวอยา่ ง อ่านตามอกั ขรวธิ ี สวสั ดี อา่ นว่า สะ-หวัด-ดี (อา่ นออกเสียงอกั ษรนา)๑ อา่ นตามอักขรวธิ ี ๑. ๒.๒ อา่ นตามความ ๑. นยิ ม ๒.๓ อ่านตวั ยอ่ ๑. ๒.๔ อ่านตัวเลขและ ๑.เครือ่ งหมาย ๒.ต่างๆ๕ อ่านนามเฉพาะ ๑. ๒.

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๓ เรื่อง หลกั การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง ครผู ู้สอน นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ ังสฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ตอ้ ง๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด)การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรองทีถ่ ูกต้องน้นั ตอ้ งมีความรูเ้ ร่ืองหลักการอ่านออกเสียง๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (K) การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) การอา่ นออกเสียง ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) มีนสิ ยั รักการอา่ น ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผู้เรยี น (C) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากิจกรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ตรวจใบงาน ใบงาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ กลมุ่สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงในการทางาน และรกั ความเป็นไทย ประสงค์

๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน ๑.ครใู หน้ ักเรยี นสืบค้นข้อมลู ตวั อยา่ งการอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง จากแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ๒.ครูส่มุ เลขท่นี ักเรยี น ๑ -๒คน นาเสนอตัวอยา่ งการอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง ๓.นักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรองของเพ่อื น ๔.นกั เรยี นตอบคาถาม “ บทร้อยกรองแตกต่างจากบทร้อยแกว้ อย่างไร” ขนั้ สอน ๑.นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุม่ เดิมจากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑) ร่วมกนั ศึกษาความรูเ้ รอ่ื ง หลักการอ่าน ออกเสยี งบทร้อยกรองจากหนังสอื เรยี น ๒.ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเรื่อง หลกั การฝึกอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง จนมคี วามเขา้ ใจ ๓.นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันทาใบงานเร่ือง หลกั การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง โดยใหส้ มาชกิ แต่ละคน ปฏิบัตกิ ิจกรรม ดงั นี้ ๓ .๑สมาชกิ คนที่ ๑เขยี นคาตอบในข้อ ๑แลว้ สง่ ใหส้ มาชิกคนท่ี ๒ ๓.๒สมาชิกคนที่ ๒ตรวจสอบคาตอบในข้อ ๑แลว้ เขยี นคาตอบในขอ้ ๒จากนน้ั สง่ ให้สมาชกิ คนที่ ๓ ๓ .๓สมาชิกคนท่ี ๓ตรวจสอบคาตอบในข้อ ๒แลว้ เขียนคาตอบในขอ้ ๓จากน้ันสง่ ใหส้ มาชกิ คนท่ี ๔ ๓ .๔สมาชกิ คนที่ ๔ตรวจสอบคาตอบในข้อ ๓แล้วเขียนคาตอบในข้อ ๔สมาชิกแตล่ ะคนที่ตรวจสอบ คาตอบ ถ้าเหน็ วา่ คาตอบยังไมถ่ ูกต้องสมบูรณ์ก็ให้เขียนคาตอบเพมิ่ เติม ๔. สมาชกิ ในแตล่ ะกลมุ่ จะได้มโี อกาสอา่ นและเขยี นคาตอบหมุนเวยี นกันไปเร่อื ยๆ จนเสร็จ กล่าวคือ สามารถตอบคาถามได้ชัดเจนครบถ้วนทกุ คาถาม ๕. ตวั แทนนักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอคาตอบในใบงานหน้าช้นั เรยี น ครตู รวจสอบความถกู ต้อง จากนัน้ กล่าวชมเชยตวั แทนกล่มุ ทีน่ าเสนอคาตอบไดถ้ กู ต้องทุกข้อเพอื่ เสรมิ สรา้ งกาลังใจ ๖. นักเรยี นตอบคาถาม“นักเรียนคดิ ว่า ปญั หาสาคญั ทสี่ ุดในการอา่ นบทรอ้ ยกรองคือปัญหาด้านใด และแก้ไขไดอ้ ยา่ งไร” ขั้นสรุป นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายสรปุ องค์ความร้เู รือ่ ง หลักการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง และแนวทางในการ นาความรู้ไปใช้๗. ส่ือ/แหล่งเรียนรู้๑ . หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเรอ่ื ง หลักการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง

ใบงาน เร่ืองหลักการอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ครูศวิ พร สุขสาแดงชื่อ............................................................................................ เลขที่ ........................ ช้ัน.................................คาชแ้ี จง ให้นักเรียนอธบิ ายหลักการอา่ นตอ่ ไปน้มี าส้ันๆ พอเขา้ ใจ๑. หลกั การอา่ นกลอนบทละคร๒. หลกั การอ่านกลอนเพลงยาว๓. หลกั การอา่ นกลอนนิทาน๔. หลกั การอา่ นกาพย์ห่อโคลง

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ . เร่อื ง การอ่านเพอื่ จับใจความสาคัญ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒ ช่วั โมง ครูผูส้ อน นางสาวศวิ พร สุขสาแดง โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความสาคัญ สรปุ ความ และอธิบายรายละเอียดจากเร่ืองที่อ่าน๒. สาระสาคญั (ความคดิ รวบยอด)การอ่านจับใจความสาคญั จากสือ่ ต่างๆ ต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งหลักการอา่ นจับใจความสาคัญ๓สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (K) การอ่านจบั ใจความจากบทความ ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) อา่ นจับใจความ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) มีนสิ ยั รกั การอา่ น ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผเู้ รียน (C) ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ตรวจใบงาน ใบงาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ กลุ่มสังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มนั่ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึในการทางาน และรักความเปน็ ไทย ประสงค์

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ช่วั โมงท่ี ๑ ขัน้ กระตุน้ ความสนใจ ๑. ครสู นทนากับนักเรยี นเรือ่ งการจับใจความสาคญั เพ่อื ทบทวนความรู้ท่นี ักเรียนเคยเรยี นมาแล้ว ๒. ครใู หน้ กั เรียนเล่าประสบการณ์เกย่ี วกบั ข้อผิดพลาดในการอ่านเพื่อจบั ใจความสาคญั ๓. นกั เรียนตอบคาถาม” การจับใจความสาคัญของเร่ืองท่ีอ่าน มคี วามจาเป็นในการเรียนอย่างไร” ขน้ั สารวจคน้ หา ครใู หน้ ักเรียนแบง่ กล่มุ กล่มุ ละ ๔ คน แล้วให้นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั ศกึ ษาความร้เู ร่อื ง การอา่ น เพอ่ื จับใจความสาคญั จากหนงั สือเรียน และแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ ขนั้ อธิบายความรู้ ๑. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั อธิบายความรทู้ ี่ได้ศึกษามาเพอื่ ทาความเขา้ ใจเปน็ อันหนง่ึ อนั เดยี วกนั ๒. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันทาใบงานเรอ่ื ง การอ่านเพ่ือจับใจความสาคัญเม่อื ทาเสรจ็ แล้วใหน้ าส่งครู ตรวจ ๓. นักเรียนตอบคาถาม “ การสร้างพ้ืนฐานการอา่ นที่ดี นักเรียนควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร”ชว่ั โมงท่ี ๒ ขนั้ ขยายความเข้าใจ ๑. ครใู หน้ ักเรียนคน้ ควา้ บทความทีน่ กั เรียนสนใจ คนละ ๑ เรื่อง แลว้ มานาเสนอใหเ้ พ่ือนในกลุม่ ฟัง โดย ให้เจ้าของบทความชี้แนะถึงคณุ ประโยชนแ์ ละความนา่ สนใจของบทความทเี่ ลือกมา ๒. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ คดั เลือกบทความทส่ี มาชิกนาเสนอ เพือ่ นามาประกอบการทาใบงาน ๓. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั ทาใบงานเรอ่ื ง การอ่านจบั ใจความสาคญั จากบทความ ๔. นักเรยี นตอบคาถาม “ นักเรยี นคดิ ว่า บทความท่นี ่าสนใจควรมีลักษณะอย่างไร” ขนั้ ตรวจสอบผล ๑. ครสู ุ่มตวั แทนนกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอการจบั ใจความสาคญั จากบทความในใบงานหนา้ ชั้น เรยี น ๒. ครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง รวมถงึ การให้คาแนะนาในการพฒั นางาน๗. สื่อ/แหล่งเรยี นรู้๑ . หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ใบงานเรื่อง การอา่ นเพอื่ จับใจความสาคัญ ๓. ใบงานเรอ่ื ง การอา่ นจับใจความสาคัญจากบทความ

ใบงานเร่อื งการอา่ นจบั ใจความสาคัญจากบทความรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ครศู วิ พร สขุ สาแดงชอื่ ............................................................................................ เลขที่ ........................ ชน้ั .................................คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี๑. การอา่ นเพ่อื จับใจความสาคญั มีลกั ษณะอยา่ งไร๒. การอ่านจบั ใจความสาคัญ มีความสาคญั อยา่ งไร๓. นกั เรยี นสามารถนาเรอื่ งการอา่ นจับใจความสาคญั ไปใชป้ ระโยชน์ในการศกึ ษาวชิ าต่างๆ ได้อยา่ งไร๔. การอา่ นเพอ่ื จบั ใจความสาคัญ มหี ลกั การอย่างไร๕. นักเรยี นคิดวา่ หลกั การอา่ นจับใจความสาคัญมีความสมั พนั ธก์ ับการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียนอยา่ งไร

ใบงานเร่ืองการอา่ นเพือ่ จบั ใจความสาคัญรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ครูศิวพร สขุ สาแดงชื่อ............................................................................................ เลขท่ี ........................ ชั้น.................................คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มคัดเลอื กบทความ ๑ เรื่อง นามาติดลงในกรอบ แล้วจบั ใจความสาคัญ(ติดบทความ)

จากบทความเรื่อง สรปุ ใจความสาคญั ได้ดงั นี้๑. จับใจความสาคญั ในแตล่ ะยอ่ หนา้ ย่อหน้าท่ี ๑ ยอ่ หน้าที่ ๒ ยอ่ หนา้ ที่ ๓ ย่อหน้าที่ ๔๒. เขยี นเรยี บเรยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๕ . สาระ เรอ่ื ง การเขียนผงั ความคดิ รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง ครูผสู้ อน นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ ังสฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ จบั ใจความสาคญั สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องท่ีอ่าน ม.๒/๓ เขียนผังความคิดเพ่อื แสดงความเข้าใจในบทเรียนตา่ งๆ ทอี่ า่ น๒. สาระสาคัญ(ความคดิ รวบยอด)การเขียนผงั ความคดิ ต้องจับใจความสาคญั สรุปความ และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเรอ่ื งท่อี า่ นได้๓การเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (K) การอา่ นจับใจความจากส่ือตา่ งๆ ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) เขียนผังความคิด ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ ม่ันในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผูเ้ รยี น (C) ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) แผนผงั ความคิด๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วธิ ีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ กลุ่มสงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการทางาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ช่ัวโมงท่ี ๑ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ครนู าตัวอย่างผงั ความคิดท่ีนักเรียนรนุ่ ก่อนเคยทามาใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ให้นักเรียนรว่ มกนั แสดงความ คิดเห็น ๒. ครสู นทนากับนักเรยี นถึงประสบการณใ์ นการทาผังความคิดจากทีเ่ คยเรียนมาแลว้ ๓. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ (กลุ่มเดิมจากแผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑) ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ รื่อง การเขยี นผงั ความคิด จากหนังสือเรยี น ๔. ครใู ห้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เลือกบทเรยี นรายวชิ าต่างๆ มา ๑ เรื่อง เพอ่ื จดั ทาผังความคิด ๕. นักเรียนตอบคาถาม“ แผนผังความคดิ ทด่ี ีเน้นทีค่ วามสวยงามหรือไม่ อยา่ งไร” ขั้นสอน ๑ . นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ อา่ นบทเรยี นในรายวิชาท่ีเลือกมาอย่างครา่ วๆ ๒ .นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ต้งั คาถามเกยี่ วกับเรือ่ งท่อี า่ นและถามตวั เองดูว่าใจความสาคัญทผ่ี ู้เขียนกาลังพูดถงึ อยนู่ ัน้ คืออะไร เพราะเหตุใดจงึ สาคญั สาคัญอย่างไร และเกี่ยวขอ้ งกับอะไรหรือใครบ้าง ตอนไหนและ เม่ือไร ๓.นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มตง้ั คาถามเกย่ี วกับเรือ่ งทีอ่ ่านและถามตัวเองดวู ่าใจความสาคญั ที่ผเู้ ขยี นกาลงั พดู ถึง อยู่นั้นคืออะไร เพราะเหตุใดจึงสาคญั สาคัญอย่างไร และเกยี่ วขอ้ งกับอะไรหรือใครบ้าง ตอนไหนและ เมอ่ื ไร ๔. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ จดบันทึกขอ้ มูลต่างๆ ที่ได้อ่านจากขน้ั ตอนท่ี ๓ บนั ทกึ ในส่วนที่สาคัญและจาเปน็ โดยใช้ขอ้ ความอย่างรัดกุม หรือยอ่ ๆ ตามความเขา้ ใจของนักเรียน ๕ . นกั เรยี นแต่ละกล่มุ เขียนสรุปใจความสาคญั โดยพยายามใชภ้ าษาของตนเอง ถา้ ยงั ไมแ่ นใ่ จในบทใด หรือตอนใดใหก้ ลับไปอ่านซา้ ใหม่ช่ัวโมงที่ ๒ ๖. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสรปุ เร่ืองทอ่ี ่านแลว้ จดั ทาผังความคดิ เสรจ็ แล้วนาส่งครูตรวจ ข้นั สรปุ และประเมนิ ผล ๑. นกั เรียนตอบคาถาม“ถา้ นกั เรียนอา่ นจับใจความสาคัญไมถ่ ูกต้องจะเป็นอุปสรรคในการทาผงั ความคดิ อย่างไร”และ “นกั เรียนคิดว่า ผงั ความคดิ ทีด่ ตี อ้ งมลี กั ษณะอย่างไร” ๒. ครูตรวจประเมินผลงานการเขียนผังความคิดของนกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม รวมถึงการใหค้ าแนะนาในการ ปรบั ปรงุ พัฒนาผลงาน โดยการอธิบายใหน้ ักเรยี นฟังเพิ่มเติม๗. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ตัวอยา่ งผังความคดิ ๓.บทเรยี นรายวชิ าตา่ งๆ

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๖ เร่ือง การอา่ นเพ่อื การวิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒ ช่วั โมง ครผู สู้ อน นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๒/๔ อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ และข้อโตแ้ ยง้ เกย่ี วกบั เรื่องที่อา่ น ม.๒/๕ วเิ คราะห์และจาแนกข้อเท็จจรงิ ขอ้ มูลสนับสนุน และขอ้ คดิ เห็นจากบทความทีอ่ า่ น ม.๒/๖ ระบุขอ้ สงั เกตการชวนเช่อื การโนม้ นา้ ว หรอื ความสมเหตุสมผลของงานเขยี น๒. สาระสาคัญ(ความคดิ รวบยอด)การอา่ นจับใจความจากส่ือต่างๆ ให้อภปิ รายแสดงความคิดเห็นและข้อโตแ้ ยง้ วิเคราะหแ์ ละจาแนกขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ มูลสนับสนนุ และขอ้ คดิ เหน็ ระบขุ อ้ สงั เกตการชวนเช่ือ การโน้มน้าว หรือความสมเหตสุ มผลของงานเขยี น๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (K) การอ่านจับใจความจากส่อื ตา่ งๆ -งานเขยี นหรือบทความแสดงขอ้ เท็จจริง ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) อภปิ ราย, วิเคราะห์ ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) มวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มั่นในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผเู้ รยี น (C) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) ใบงาน๕. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์ตรวจใบงาน ใบงาน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ กลมุ่สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ และ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์มุง่ มั่นในการทางาน ประสงค์

๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ช่วั โมงที่ ๑ ขั้นอธิบายปัญหา ๑. ครูสนทนากบั นักเรยี นเรอ่ื ง การอ่านเพื่อจบั ใจความสาคัญ เพื่อทบทวนความรเู้ ดิม ๒. ครแู จง้ ใหน้ ักเรียนทราบว่า นกั เรยี นจะต้องศกึ ษาเรือ่ ง การอ่านเพอื่ การวเิ คราะห์ เพือ่ นาความรู้ไป วิเคราะหส์ ่อื ตา่ งๆ ขั้นอธบิ ายกฎหรือหลกั การเพอ่ื การแกป้ ัญหา ๑. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ (กล่มุ เดมิ จากแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑) รว่ มกันศึกษาความรูเ้ รือ่ ง การอ่านเพ่ือ การวเิ คราะห์ จากหนังสอื เรียน ๒. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายสรุปหลกั การอา่ นเพื่อการวเิ คราะห์ เพือ่ ให้นกั เรียนได้เลือกใชใ้ นการ วิเคราะหส์ ื่อตา่ งๆชว่ั โมงท่ี ๒ ขน้ั ตัดสินใจ ๑. นักเรียนแต่ละกลุม่ เลือกบทความแสดงขอ้ เทจ็ จรงิ มากลุ่มละ ๑ เรอื่ ง แลว้ รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น เก่ียวกับเหตุผลท่เี ลอื กบทความเรอื่ งดงั กล่าวมาวิเคราะห์ ๒. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สรปุ หลกั การที่จะนามาใชว้ ิเคราะหบ์ ทความแสดงข้อเทจ็ จริง ๓. นกั เรียนตอบคาถาม “ บทความแสดงข้อเทจ็ จรงิ มีลักษณะอย่างไร” ขัน้ พิสูจนห์ รือตรวจคาตอบ ๑. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันทาใบงานเรอื่ ง การวิเคราะหบ์ ทความแสดงข้อเท็จจริงเม่ือทาเสรจ็ แล้วให้ รว่ มกันตรวจสอบความเรยี บร้อย ๒. ครขู ออาสาสมคั รตัวแทนนักเรยี น ๑-๒ กลมุ่ ออกมานาเสนอการวเิ คราะห์บทความแสดงขอ้ เท็จจริงใน ใบงานหนา้ ชน้ั เรยี น ๓. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และแสดงความคิดเหน็ เพิม่ เติม๗. สอื่ /แหล่งเรียนรู้๑ . หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . บทความแสดงขอ้ เท็จจริง ๓.ใบงานเรือ่ ง การวิเคราะหบ์ ทความแสดงขอ้ เทจ็ จริง

ใบงานเร่อื งการวิเคราะหบ์ ทความแสดงขอ้ เท็จจริงรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ครูศวิ พร สุขสาแดงช่ือ............................................................................................ เลขที่ ........................ ชน้ั .................................คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนเลือกบทความแสดงขอ้ เท็จจริง ๑ เรอื่ ง ตดิ ลงในกรอบ แลว้ วิเคราะหเ์ รอื่ งตาม หลักการวิเคราะห์(ตดิ บทความ)

การวิเคราะห์เรื่อง๑. รูปแบบของเรอื่ ง ๒. ใจความสาคัญของเร่อื ง ๓. ข้อเทจ็ จรงิ ๔. ความคดิ ของผูเ้ ขียน๕. การเรยี งลาดบั เหตกุ ารณ์๖ . การใช้สานวนภาษา

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๗ เรื่อง การอ่านหนังสอื นอกเวลา รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒ ชัว่ โมง ครูผูส้ อน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรียนหนั คาราษฎรร์ งั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ม.๒/๗ อา่ นหนงั สอื บทความ หรือคาประพันธ์อยา่ งหลากหลาย และประเมนิ คณุ ค่าหรือ แนวคดิ ท่ไี ด้จากการอา่ น เพือ่ นาไปใช้แกป้ ญั หาในชวี ติ ม.๒/๘ มีมารยาทในการอา่ น๒. สาระสาคัญ(ความคิดรวบยอด)การอา่ นหนงั สอื นอกเวลาท่ีดีให้ประเมนิ คุณคา่ หรอื แนวคิดทีไ่ ดจ้ ากการอา่ น เพอ่ื นาไปใช้แก้ปญั หาในชวี ติและมีมารยาทในการอา่ น๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรียนร้แู กนกลาง (K) การอา่ นตามความสนใจ -หนังสอื อา่ นนอกเวลา ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) ประเมินคา่ ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผเู้ รียน (C) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) ใบงานแผ่นพบั

๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ตรวจใบงาน ใบงาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบคุ คล รายบคุ คล ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน กลุม่ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตความมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ และ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงมงุ่ ม่นั ในการทางาน ประสงค์ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วย แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการการเรียนรูท้ ี่ ๒ เรียนรู้ท่ี ๒ตรวจรายงานการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แบบประเมนิ รายงานการวเิ คราะห์และ ประเมนิ ค่าจาก วิจารณ์และประเมินคา่ จากบทความท่สี นใจ บทความทสี่ นใจ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ชัว่ โมงท่ี ๑ กิจกรรมกอ่ นการอา่ น ๑. ครอู า่ นเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การเลอื กอา่ นหนังสือและนสิ ยั รักการอา่ นใหน้ กั เรียนฟงั แลว้ ใหน้ ักเรยี นสร้างจนิ ตนาการของตนเอง ๒. นักเรยี นเขียนบรรยายความร้สู กึ และภาพในจนิ ตนาการของตนเอง จากน้ันนามาอภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ร่วมกัน ๓. นกั เรยี นตอบคาถาม” การเลือกอา่ นหนังสือและการมีนิสยั รักการอ่านเปน็ ส่ิงทีจ่ าเป็นสาหรับ นักเรยี นหรอื ไม่ อย่างไร” กิจกรรมดาเนินการอา่ น ๑. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุม่ (กลุ่มเดิมจากแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑) เลือกอา่ นหนังสือนอกเวลาท่ี นกั เรยี นไม่เคยอา่ นมากอ่ น ๑ เรอื่ ง พรอ้ มท้งั อธิบายวธิ ีการท่นี ักเรยี นจะต้องทาเคร่ืองหมายกากับ ความเขา้ ใจในการอ่าน ถ้าตอนใดอา่ นแล้วเขา้ ใจให้ทาเครอ่ื งหมายถกู ตอนใดอ่านแล้วไมเ่ ขา้ ใจใหท้ า เครอ่ื งหมายผดิ ๒. เมือ่ อ่านและทาเครอ่ื งหมายจนจบเรอื่ งแล้ว ให้นกั เรยี นทบทวนวา่ ข้อความส่วนใดท่ตี นเข้าใจและ สว่ นใดท่ไี ม่เขา้ ใจ ๓. นักเรียนตรวจสอบขอ้ ความที่ตนไมเ่ ข้าใจ ลองอ่านซา้ และพยายามหาเหตทุ ไ่ี ม่เขา้ ใจพร้อมทั้งหาวิธี แกป้ ญั หา ๔. เมอ่ื อ่านหนังสอื นอกเวลาทเ่ี ลือกจนจบใหน้ กั เรยี นปดิ เรอ่ื งที่อา่ น แล้วคดิ ทบทวนในใจว่าอา่ นแล้ว เขา้ ใจอะไรบา้ ง แล้วจงึ เปิดเรอื่ งท่อี า่ นดอู กี รอบว่าลืมอะไรไปบา้ ง จากน้นั ก็ปดิ แลว้ พยายามทบทวนส่งิ

ทอ่ี า่ นอกี ครัง้ ว่า มคี วามเขา้ ใจเน้อื หาเพ่มิ ขึ้นหรือไม่ เร่อื งนน้ั มีรายละเอยี ดอยา่ งไรชัว่ โมงท่ี ๒ กิจกรรมหลงั การอ่าน ๑. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั สรปุ เนื้อหา วเิ คราะหว์ ิจารณ์ และประเมนิ ค่าของเร่ือง ๒. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ทา ใบงาน เร่อื ง การประเมินคา่ หนังสืออา่ นนอกเวลา ๓. ตัวแทนนกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอการประเมนิ คา่ หนังสอื อ่านนอกเวลาในใบงาน หนา้ ชัน้ เรยี น ๔. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันอภิปรายถึงความถกู ต้องสมบรู ณข์ องการนาเสนอของเพือ่ นกลุม่ อนื่ ๆ ๕. ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมใบงานสง่ ครูเพ่อื ตรวจประเมินผล  ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทาแผน่ พับการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินค่าจาก บทความที่สนใจ โดยให้ครอบคลมุ ประเด็นตามท่ีกาหนด ดังนี้ ๑)การสรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอียดจากบทความที่อ่าน ๒)การวิเคราะห์และจาแนกขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ มูลสนบั สนุน และขอ้ คิดเห็นจากบทความทอ่ี า่ น ๓)การระบขุ อ้ สงั เกตการชวนเชือ่ การโนม้ นา้ ว หรอื ความสมเหตสุ มผลของงานเขียน ๔)การประเมินคณุ คา่ หรอื แนวคดิ ท่ไี ด้จากการอ่านบทความ๗. ส่อื /แหล่งเรยี นรู้๑ . เอกสารประกอบการเรียน เรอ่ื ง การเลือกอา่ นหนงั สอื และนสิ ัยรกั การอา่ น๒ . หนังสอื อา่ นนอกเวลา ๓. ใบงานเรอื่ ง การประเมนิ คา่ หนงั สืออา่ นนอกเวลา

เอกสารประกอบการเรียน การเลอื กอา่ นหนังสือและนิสัยรักการอา่ นการเลือกหนงั สอื อา่ นการเลือกหนังสอื อ่านมคี วามจาเป็นมากนักอ่านท่ดี ีจะตอ้ งเป็นผู้ทร่ี ูจ้ ักวิธีเลือกหนงั สืออ่านให้ได้ประโยชน์สูงสุดแกก่ ารอ่าน โดยพิจารณาวิธีเลอื ก (ศวิ กานท์ ปทุมสตู ิ,๒๕๔๐, หนา้ ๑๙-๒๐) ต่อไปนี้ ๑. เลือกหนังสอื ที่มสี าระเรื่องราวตรงกับความต้องการหรือความจาเป็นทีต่ อ้ งอ่าน ๒. เลอื กหนังสือทีด่ มี ีคุณลกั ษณะดังน้ี ๒.๑หนังสือท่ีเป็นท่ียอมรบั กนั โดยท่วั ไปแล้ววา่ ดี ๒.๒หนงั สอื ทม่ี กี ระแสวพิ ากษว์ ิจารณอ์ ยา่ งกว้างขวางว่าดี ๒.๓หนงั สอื ทไี่ ด้รบั รางวัลสาคัญๆ ในการประกวดขององคก์ รทีม่ ีคุณภาพ ๒.๔หนงั สอื ซึง่ เขยี นโดยนักเขยี นทม่ี ีคณุ ภาพเป็นทีย่ อมรบั ของแวดวงนกั อา่ น ๒.๕หนังสอื ท่มี ีคุณคา่ ดีพร้อมทุกดา้ นได้แกด่ า้ นเนอ้ื หาดา้ นความคดิ ดา้ นกลวธิ ีดา้ นทางภาษาด้านรูปแบบ และการนาเสนอ ๒.๖หนังสือทไ่ี ด้รบั การยอมรบั ศกึ ษาสืบทอดกันมาทกุ ยุคทุกสมัย ๒.๗เลือกหนงั สือทจ่ี ะไมโ่ นม้ นาไปในทางเส่อื มทงั้ ปวงที่มา: http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/weerawanWMD/unit๔_part๑๑.htmการสร้างนิสยั รกั การอา่ นในชวี ติ ประจาวัน มนษุ ยต์ ้องรับรูข้ า่ วสารเรือ่ งราวตา่ ง ๆ อยตู่ ลอดเวลาการอ่านเปน็ วิธีการแสวงหาความรู้ท่ที าไดง้ า่ ยทีส่ ุดและสามารถนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ไดม้ ากทส่ี ุดเชน่ กันการสรา้ งนิสยั รักการอา่ นจึงเป็นคุณสมบัติท่ีสาคัญย่ิงของมนษุ ยผ์ ู้อา่ นจงึ ควรหม่นั ฝึกฝน และสรา้ งนิสยั รักการอ่านให้เกิดข้ึนกบัตนเอง การจะสร้างนสิ ยั รกั การอา่ นได้น้ันผู้อ่านต้องวิเคราะหต์ นเองวา่ มีอปุ สรรคในการอ่านอยา่ งไรบ้างเพื่อหาแนวทางแก้ไขใหม้ ีนิสยั รกั การอา่ นขน้ึ ในตนเองต่อไปทงั้ นีว้ ธิ ีสรา้ งนิสัยรกั การอ่าน สามารถทาได้ดังน้ี๑) สร้างแรงจูงใจการสรา้ งแรงจูงใจเพอ่ื นาไปสนู่ สิ ัยรักการอ่าน อาจทาได้หลายวธิ ี ดังน้ี ๑.๑) ให้สัญญา รางวลั หรอื ลงโทษตนเอง โดยให้สัญญาทั้งระยะสั้นและระยะยาว เช่น กาหนดวา่ “ถ้าอา่ นเลม่ นี้จบจะไปเทีย่ ว” “ถา้ อ่านเร่อื งนี้จบจะไปดโู ทรทศั น์ซักเรอ่ื ง” “ถา้ อ่านบทนไ้ี มจ่ บจะไมย่ อมลกุ ไปกนิ ขา้ ว” ข้อควรระวังในการสัญญากับตนเอง คอื อย่าให้สญั ญาในส่ิงท่ยี ากเกนิ ไป ถา้ ทาไมไ่ ด้จะทาใหเ้ กดิ ความ เบอ่ื หนา่ ย ทอ้ แทไ้ มอ่ ยากทาตอ่ ไป

๑.๒) ตระหนักถึงความสาคญั ของการอา่ นและโทษจากการไม่อา่ นอยเู่ สมอเช่น “ไม่อา่ นฉลากยาจะทาให้ใชย้ าผิดเปน็ อันตรายต่อชวี ิต” “ไมอ่ า่ นหนังสือเรยี นทาใหส้ อบไดค้ ะแนนนอ้ ย” “ไมอ่ า่ นป้ายจราจรทาให้ถกู ปรับ” ๑.๓) ชักชวนคนอื่นให้อา่ นเร่อื งเดยี วกันแล้วนามาสนทนากนั วธิ นี ท้ี าใหเ้ กิดความรู้สกึ ว่ามแี นวร่วมจะเกิดการอา่ นวเิ คราะหห์ ลายด้าน เป็นการเพิ่มประสบการณแ์ ละร่วมมือกนั คิด ๑.๔) จัดแขง่ ขันการอ่านจากผู้อ่ืน เช่นแข่งขนั กับเพือ่ น ๆ กบั คนในครอบครวั อาจจะเรม่ิ จากการอ่านเปน็ หน้า เป็นบทเปน็ เรอ่ื ง และเปน็ เล่ม ตามลาดับ ๒) สรา้ งโอกาสและหาเวลาอา่ นการสรา้ งโอกาสและหาเวลาอา่ น สามารถทาไดโ้ ดยไปยังแหล่งวสั ดกุ ารอา่ น เชน่ หอ้ งสมดุ ร้านขายหนังสือ หรอื ศูนยห์ นังสือต่างๆ และเข้าร่วมกิจกรรมเก่ยี วกบั การอ่านเชน่ เข้าร่วมกิจกรรมการอา่ นในโรงเรยี น หรือหน่วยงานตา่ งๆ ทจ่ี ดั ขึน้๓) เรม่ิ ต้นการอา่ นจากเร่อื งท่ีตนเองชอบหรอื สนใจ การเร่มิ ตน้ จากการอ่านเร่อื งทีต่ นชอบสนใจหรอื เปน็ ประโยชนต์ ่อตนเองก่อนในขณะท่ีอา่ นควรเปรยี บเทยี บประโยชน์ของเร่ืองทอี่ า่ นตามใจตนเองกบั การอ่านเร่ืองที่มคี ุณคา่ อ่นื ๆเพอื่ เป็นแนวทางในการเลือกอ่านตอ่ ไปให้มีความรู้หลากหลายไมอ่ ยใู่ นวงจากัดเฉพาะเร่อื งท่ีตนเองสนใจเทา่ น้นั๔) สมาคมกบั นกั อา่ นหรือผทู้ ่ีชอบอ่านหนงั สอื เพอ่ื ทจี่ ะไดร้ ับการชักนาหรือคาแนะนาทถ่ี กู วธิ แี ละจะได้เหน็ ตัวอยา่ งการอา่ นจากผ้อู ่นื จนเกดิ ความเคยชนิ และติดเปน็ นิสัยรักการอ่านในทสี่ ดุ๕) ต้งั ความหวังใหก้ บั ตนเองโดยวางเปา้ หมายวา่ จะพฒั นาการอา่ นใหเ้ กิดผลอย่างคอ่ ยเป็นคอ่ ยไปไม่หวังผลตามทตี่ ้งั เอาไว้๖) ฝึกพิจารณาฝึกทาความเขา้ ใจเร่ืองราวทีอ่ า่ นทกุ คร้ัง แล้วบนั ทึกผลการอ่านนับตั้งแต่ท่ีมาของหนงั สอื สาระสาคัญของเรื่อง ความคดิ เห็นของผู้อ่านถ้อยคาที่คมคาย ฯลฯ เพ่ือจะนาไปใชป้ ระโยชน์ต่อไปตามโอกาสอันควร ๗) ฝึกฝนและพฒั นาความสามารถในการอ่านข้นึ เรือ่ ยๆโดยอาจจะปฏิบตั ติ ามคาแนะนาของตาราหรือบคุ คลผ้มู ีความสามารถในการอา่ นก็ไดพ้ ยายามปฏิบัตอิ ย่างสมา่ เสมอ และเกิดความกา้ วหนา้ เป็นระยะไป เช่นอา่ นได้เรว็ ข้ึนใชเ้ วลาในการอา่ นไดม้ ากขนึ้ จับสาระเร่ืองราวทีอ่ า่ นไดด้ ีข้ึนเป็นตน้ อยา่ งไรกต็ าม การสรา้ งนิสัยรักการอา่ นอาจมีอปุ สรรคอยบู่ า้ งซ่งึ จาเป็นจะต้องขจดั ปัญหาให้หมดสนิ้ ก่อนฝึกนสิ ยั รกั การอา่ น อปุ สรรคเหลา่ น้ีไดแ้ ก่ ๑) ไม่ชอบอ่าน ชอบทากจิ กรรมอื่นมากกวา่ หรอื เกยี จครา้ นทีจ่ ะอา่ น ๒) มปี ัญหาทางสขุ ภาพกายและสขุ ภาพใจ เชน่ สายตาไมด่ ี เครยี ด กังวล ๓) สภาพแวดล้อมไม่ดี เชน่ สถานที่ไมเ่ หมาะสม อณุ หภมู ิไมพ่ อดแี สงสว่างไมพ่ อ ๔) ขาดทักษะทางภาษาอ่านแล้วไม่เข้าใจ ๕) พ้ืนความรเู้ ดิมมจี ากดั เน่ืองจากการศึกษานอ้ ย ๖) ไมม่ เี วลาอ่าน ๗) อา่ นชา้ ไมช่ านาญในการอ่าน ๘) ไมเ่ หน็ ประโยชนข์ องหนงั สอืทม่ี า: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/utaradit/kanjana-c/thailand๐๑/sec๐๒p๐๖.html

ใบงาน เร่ืองการประเมนิ คา่ หนังสอื อ่านนอกเวลารายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ครูศวิ พร สขุ สาแดงช่ือ............................................................................................ เลขท่ี ........................ ชั้น.................................คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกอ่านหนังสอื นอกเวลา ๑ เรือ่ ง แลว้ บันทกึ ข้อมลู๑. ชือ่ หนงั สือ๒. ช่อื ผ้แู ตง่๓. สานกั พมิ พ์๔. ปที ่ีพิมพ์๕. ใจความสาคัญของเรื่อง ๖. เนอ้ื หาและสว่ นประกอบของเนือ้ หา๗. คุณค่าดา้ นการใช้ภาษา๘. แนวคิดของผเู้ ขยี น

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ เรือ่ ง หลกั การคัดลายมือ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ช่วั โมง ครผู ู้สอน นางสาวศวิ พร สุขสาแดง โรงเรียนหันคาราษฎร์รงั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด ท ๒.๑ม.๒/๑ คัดลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทัด๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การคดั ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตอ้ งร้หู ลกั ในการคัดและเขียนตวั อกั ษรไทยตามรปู แบบต่างๆ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (K) การคัดลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) คัดลายมอื ๓.๓ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผ้เู รยี น (C) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ ีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์ตรวจใบงาน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ ใบงานสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานสังเกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ และ กลุ่ม ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์มงุ่ ม่นั ในการทางาน แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น ๑. ครนู าตวั อย่างประกาศนียบตั ร บัตรอวยพร และบตั รเชิญท่มี ีตัวอกั ษรไทยรูปแบบต่างๆ ทส่ี วยงามมา ตดิ บนปา้ ยนเิ ทศ ๒. ครใู หน้ ักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นวา่ ถ้าต้องการใหม้ ลี ายมือทีส่ วยงาม จะต้องทาอยา่ งไร ๓. นกั เรียนตอบคาถาม” นกั เรยี นคิดว่า การท่ลี ายมอื ไมส่ วย อ่านยาก เปน็ ปญั หาในการดาเนนิ ชีวติ หรอื ไม่ และจะพฒั นาไดอ้ ยา่ งไร” ขัน้ สอน ๑.ครูใหน้ กั เรียนแบง่ เป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน ๒.นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศกึ ษาความร้เู รอื่ ง หลกั การคดั ลายมือ จากหนงั สอื เรียน ๓.นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั ทาใบงานเรื่อง หลกั การคัดลายมือโดยให้สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มหาคาตอบ ดว้ ยตนเองจนครบทุกข้อ จากนัน้ จับคกู่ บั เพื่อนในกลุม่ ผลัดกันอธิบายคาตอบใหค้ ูข่ องตนเองฟงั (สมาชกิ กลุ่มอกี คหู่ นึง่ กป็ ฏิบตั ิกจิ กรรมเช่นเดยี วกัน) ๔.นักเรยี นรวมกลุ่ม ๔ คน ใหแ้ ต่ละคผู่ ลดั กนั อธบิ ายคาตอบให้เพ่อื นอกี ค่หู นึง่ ในกลุม่ ฟงั เพื่อช่วยกัน ตรวจสอบความถูกต้อง ๕.ครขู ออาสาสมัครตวั แทนนักเรยี น ๑-๒ กลมุ่ ออกมานาเสนอคาตอบในใบงานหนา้ ชัน้ เรยี น ครู ตรวจสอบความถกู ต้องจากนัน้ ใหต้ วั แทนนกั เรียนเก็บรวบรวมใบงานส่งครูตรวจ ๖.นักเรียนตอบคาถาม “ การจดั ทา่ น่งั มีความจาเป็นต่อการคัดลายมอื หรอื ไม่ อย่างไร”ขนั้ สรปุ ๑. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายปัญหาในการคดั ลายมอื ๒. ครถู ามนกั เรียนว่า ความร้เู รอื่ ง หลักการคัดลายมือ จะช่วยแกไ้ ขปญั หาใหน้ ักเรียนไดอ้ ยา่ งไร๗. สอื่ /แหล่งเรียนรู้๑ . หนงั สอื เรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ใบงานเรอื่ ง หลักการคดั ลายมอื ๓. ประกาศนยี บตั ร บัตรอวยพร และบตั รเชิญ

ใบงานเร่อื งหลักการคดั ลายมือรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ครศู วิ พร สขุ สาแดงชื่อ............................................................................................ เลขที่ ........................ ช้นั .................................คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้๑. การท่ีลายมืออา่ นยากเปน็ ผลเสยี อยา่ งไร๒. การคัดลายมอื มคี วามสัมพันธ์กบั การมสี มาธอิ ยา่ งไร๓. ขนาดของตัวอกั ษรมกี ขี่ นาด แต่ละขนาดมีความกว้างเทา่ ใด และไดแ้ กต่ วั อักษรใดบ้าง๔. การวางตาแหนง่ สระมกี ี่ตาแหน่ง และต้องให้สัมพนั ธ์กับสิง่ ใด

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๙ เรอ่ื ง รูปแบบตัวอักษร รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ช่ัวโมง ครูผ้สู อน นางสาวศวิ พร สุขสาแดง โรงเรยี นหนั คาราษฎร์รงั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั ท ๒.๑ม.๒/๑ คดั ลายมือตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั๒. สาระสาคัญ(ความคิดรวบยอด) การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ตอ้ งรูห้ ลักในการคดั และเขยี นตัวอักษรไทยตามรปู แบบตา่ งๆ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) คัดลายมอื ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มน่ั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผูเ้ รยี น (C) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการ เครื่องมอื เกณฑ์ตรวจใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ใบงาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบุคคล แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ รายบคุ คล ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ และ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานมุ่งมั่นในการทางาน กลมุ่ แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน ๑. ครนู าตัวอยา่ งลายมอื ทีเ่ ขยี นไม่ถูกต้องตามรปู แบบอักษรไทย และไม่สวยงามมาติดบนกระดาน ๒. ครซู ักถามนักเรียนวา่ ตัวอย่างลายมอื ดังกลา่ วเขียนไมถ่ ูกต้องอยา่ งไร มีข้อบกพรอ่ งอยา่ งไร ถา้ จะ แก้ไขปรับปรงุ ควรทาอย่างไร ๓. นกั เรยี นตอบคาถาม “ นักเรยี นมคี วามเหน็ อย่างไรที่กวใี นสมยั ก่อนกล่าววา่ ลกู ผชู้ ายลายมือนั้นคือ ยศ” ขน้ั สอน ๑. นักเรียนแบ่งกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ รอื่ ง รปู แบบตวั อกั ษร จากหนังสอื เรียน ๒. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ทา ใบงานเรอ่ื ง รูปแบบตวั อกั ษร โดยให้สมาชกิ ในแตล่ ะกลมุ่ จบั คู่กนั เปน็ ๒ คู่ แลว้ ให้แต่ละคปู่ ฏบิ ัตกิ จิ กรรม ดังนี้ - สมาชิกคนท่ี ๑ อา่ นแล้วเขยี นอธิบายรูปแบบตวั อักษร - สมาชิกคนที่ ๒ เปน็ ฝา่ ยสังเกต และตรวจสอบคาตอบ ให้สมาชกิ แตล่ ะค่เู ปลี่ยนบทบาทกนั ในขอ้ ตอ่ ไปจนครบทกุ ข้อ ๓. นักเรยี นรวมกลุ่มเดิม (๔ คน) ใหแ้ ต่ละคู่นาคาตอบของคู่ตนเองมานาเสนอให้เพื่อนอีกคหู่ น่งึ ฟัง เพ่อื ช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ งแล้วเขยี นลงในใบงาน ๔. ครูส่มุ ตวั แทนนักเรยี น ๒ กล่มุ ออกมานาเสนอคาตอบในใบงานหนา้ ช้นั เรียน ครูตรวจสอบความ ถกู ต้องและแสดงความคิดเหน็ เพ่มิ เตมิ ๖. นักเรียนตอบคาถาม “ นกั เรียนคิดวา่ การคดั ลายมอื มีความจาเป็นสาหรบั โลกยคุ ใหม่หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด”ข้ันสรุป นักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั รูปแบบตัวอกั ษรที่สามารถนาไปใชเ้ ขยี นในชวี ิตประจาวนั ได้๗. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้๑ . หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเร่ือง รปู แบบตัวอักษร ๓. ตัวอยา่ งลายมือ

เอกสารประกอบการสอน ตวั อย่างลายมอืท่ีมา:http://www.oknation.net

ใบงาน เรอื่ งรูปแบบตวั อักษรรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ครศู ิวพร สขุ สาแดงชอื่ ............................................................................................ เลขท่ี ........................ ชั้น.................................คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเขียนอธบิ ายรูปแบบตวั อกั ษร๑. ตัวอกั ษรแบบอาลกั ษณ์๒. เอกสารทเี่ ขยี นด้วยตัวอักษรแบบอาลักษณ์๓. ตวั อักษรแบบกระทรวงศกึ ษาธิการ๔. ตัวอักษรแบบคณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑๐ เร่ือง การคดั ลายมอื รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางสาวศิวพร สุขสาแดง โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั ท ๒.๑ม.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การคัดลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ต้องร้หู ลักในการคัดและเขียนตัวอกั ษรไทยตามรูปแบบต่างๆ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง (K) การคัดลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) คดั ลายมือ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผู้เรยี น (C) ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากิจกรรม) คัดลายมอื ลงสมดุ งาน๕. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล รายบุคคล ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ และ แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงมุ่งม่นั ในการทางาน ประสงค์ตรวจการคดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึง แบบประเมินการคัดลายมือตวับรรทัดข้อความที่มีคุณค่าตอ่ การ บรรจงคร่งึ บรรทัดขอ้ ความท่ีมีดาเนินชวี ิต คณุ ค่าตอ่ การดาเนินชีวติ

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ช่วั โมงท่ี ๑ ขัน้ สังเกตรบั รู้ ๑. ครูสนทนากบั นักเรียนเรอื่ ง รูปแบบตัวอักษร ๒. ครูนารูปแบบตวั อกั ษร ๓ แบบ คอื ตัวอักษรแบบหวั เหลย่ี ม หรอื ตัวอาลกั ษณ์ ตัวอักษรแบบ กระทรวงศึกษาธิการ และตัวอักษรแบบคณะครศุ าสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย มาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรยี นบอกชือ่ แบบตัวอกั ษร ๓. นักเรียนรว่ มกันอธิบายลักษณะตัวอักษรแต่ละแบบ ๔. นกั เรียนตอบคาถาม “ นักเรยี นคดิ ว่า ตวั อกั ษรทั้ง ๓ แบบ แบบใดคัดง่ายท่สี ุด เพราะเหตุใด” ข้นั ทาตามแบบ ๑. ครูใหน้ ักเรียนคดั ตัวอักษรทั้ง ๓ แบบ ตามตัวอย่างทแ่ี สดงให้เหน็ ทีละขนั้ ตอน โดยใหค้ ัดลายมอื ตัว บรรจงเตม็ บรรทัด ๒. นกั เรยี นตอบคาถาม “ นกั เรียนคิดว่า การคดั ลายมือให้ถกู ต้องและสวยงามมคี วามสาคญั หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด”ชว่ั โมงท่ี ๒ ขนั้ ทาเองโดยไม่มแี บบ ๑. นักเรยี นฝกึ คัดตวั อักษรทั้ง ๓ แบบ ด้วยลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยไม่ต้องดแู บบ ๒. นกั เรยี นตอบคาถาม “ การคดั ลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัดต่างจากการคัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดอยา่ งไร”  ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนคัดลายมอื ตวั บรรจงครึ่งบรรทดั ขอ้ ความทีม่ คี ุณคา่ ตอ่ การดาเนนิ ชีวิต ความยาวประมาณ ๑๐ บรรทัด โดยเลอื กรปู แบบตวั อักษรตามความสนใจ โดยให้ ครอบคลมุ ประเดน็ ตามทีก่ าหนด ดงั น้ี ๑) ความถูกต้องตามรูปแบบของตวั อักษร ๒) มาตรฐานของตวั อกั ษร ๓) การเวน้ ชอ่ งไฟ ๔) การวางตาแหนง่ พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์๗. ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้๑ . หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ใบงานเร่ือง รูปแบบตัวอกั ษร ๓. ตวั อย่างลายมือ

เอกสารประกอบการสอน รปู แบบตวั อกั ษร ๓ แบบทม่ี า :http://www.mathcenter.net



แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑๑ เรื่อง ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับการเขยี น รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ชัว่ โมง ครูผูส้ อน นางสาวศิวพร สขุ สาแดง โรงเรียนหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด ท ๒.๑ม.๒/๒ เขยี นบรรยายและพรรณนา ม.๒/๘ มีมารยาทในการเขยี น๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การเขยี นบรรยายและพรรณนาตอ้ งมีความรพู้ ื้นฐานในการเขยี น และมีมารยาทในการเขียน๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) การเขียนบรรยายและพรรณนา มารยาทในการเขียน ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) เขียนบรรยาย เขยี นพรรณนา ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผู้เรียน (C) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ๔. ภาระงาน (สะทอ้ นการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์ตรวจใบงาน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ ใบงานสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานสังเกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ และ กลุม่ ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์มงุ่ ม่นั ในการทางาน แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ครูสนทนาซกั ถามนกั เรียนถึงนักเขยี นที่นักเรียนชื่นชอบ แล้วให้นกั เรยี นบอกวิธีการเขียนของนกั เขียน วา่ เป็นงานเขียนประเภทใด และมีวิธีการเขียนอยา่ งไร ขนั้ สอน ๑. ครใู ห้นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๔ คน คละกันชายหญิง ๒. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาความร้เู รอ่ื ง ความรู้พน้ื ฐานเกย่ี วกับการเขยี น จากหนงั สอื เรยี น ๓. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายถึงการสือ่ สารโดยใช้การเขียน และความสัมพนั ธร์ ะหว่างการเขยี นกบั การ อ่าน ๔. ครูช้แี จงให้นกั เรยี นทราบวา่ ความสาเร็จของกลมุ่ น้นั จะต้องอาศยั ผลจากการรว่ มมือกนั และ ชว่ ยเหลือกนั ๕. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันทาใบงานเรือ่ ง ความรูพ้ นื้ ฐานเก่ยี วกับการเขียนโดยใหส้ มาชกิ ทุกคนใน กลุม่ หาคาตอบดว้ ยตนเองเมอ่ื ทาเสรจ็ แล้วใหน้ าสง่ ครตู รวจ ๖. ครนู าคะแนนของสมาชิกทกุ คนในกลุ่มมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม จากนนั้ กล่าวคาชมเชยและนา ผลงานของนักเรยี นกลุ่มท่ไี ด้คะแนนสงู สดุ มาใหน้ กั เรยี นดูเป็นตัวอย่าง ขน้ั สรปุ ๑. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรปุ ความรพู้ ้ืนฐานเกี่ยวกับการเขียน ๒. นกั เรยี นตอบคาถาม “ นักเรียนคดิ วา่ ความรูพ้ ื้นฐานท่ีเรียนไปจะนาไปประกอบอาชีพได้หรือไม่ เพราะเหตุใด”๗. สอื่ /แหล่งเรียนรู้๑ . หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม.๒๒ . ใบงานเรื่อง ความรู้พนื้ ฐานเกยี่ วกับการเขียน

ใบงานเรื่องความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกับการเขยี นรายวชิ าภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ครศู ิวพร สุขสาแดงช่อื ............................................................................................ เลขที่ ........................ ชัน้ .................................ตอนท่ี ๑คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี๑. การเขยี นมคี วามสาคญั อยา่ งไร ๒. การเขยี นทม่ี จี ดุ มงุ่ หมายเพ่อื สรา้ งจนิ ตนาการ มลี กั ษณะในการเขยี นอยา่ งไร ๓. การเขยี นกบั การอ่านมคี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งไร ๔. งานเขยี นของนายสมศกั ดจิ ์ ะใหข้ อ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั การพฒั นาการเกษตรของไทย การเขยี นลกั ษณะน้ี

ตอนท่ี ๒คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นนาขอ้ ความทก่ี าหนด เขยี นลงในตารางใหถ้ กู ตอ้ ง๑) ประเทศไทยปกครองแบบประชาธปิ ไตย มพี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมขุ๒) พรงุ่ น้เี ธอจะไปเชยี งใหมแ่ น่หรอื ๓) ทุกคนตอ้ งแต่งแฟนซมี ารว่ มงานคนื น้ี ๔) ฉนั ทาการบา้ นไมเ่ สรจ็ ๕) จงระลกึ ไวเ้ สมอว่า อนาคตของนกั เรยี นขน้ึ อยกู่ บั การศกึ ษา ๖) คุณแมไ่ มช่ อบดม่ื กาแฟ ๗) โรงเรยี นของเราน่าอยู่ คุณครใู จดที ุกคน ๘) สภาพสงั คมไทยเป็นอยา่ งน้ี เราควรทาอยา่ งไรดีประโยค ๑)บอกเล่า ๒)ประโยค ๑)คาถาม ๒)ประโยค ๑)คาสงั ่ ๒)ประโยค ๑)ปฏิเสธ ๒)

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๒ เร่อื ง การเขยี นบรรยาย รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ช่วั โมง ครูผูส้ อน นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง โรงเรียนหนั คาราษฎร์รังสฤษด์ิ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด ท ๒.๑ม.๒/๒ เขียนบรรยายและพรรณนา ม.๒/๘ มมี ารยาทในการเขยี น๒. สาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) การเขยี นบรรยายและพรรณนาต้องมีความรูพ้ นื้ ฐานในการเขยี น และมีมารยาทในการเขยี น๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง (K) การเขยี นบรรยาย มารยาทในการเขียน ๓.๒ ทักษะกระบวนการ (P) เขียนบรรยาย ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มน่ั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคญั ผเู้ รียน (C) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์ตรวจใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน ใบงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน กลุ่ม

๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ชัว่ โมงท่ี ๑ ขั้นเตรยี มนกั เรียน ๑. ครูแจง้ ให้นักเรยี นทราบวา่ ในการเรยี นตอ่ ไปน้ี นกั เรยี นจะต้องเขยี นบรรยายได้ ๒. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ (กล่มุ เดิม) รว่ มกนั ศกึ ษาความรเู้ รอื่ ง การเขยี นบรรยาย จากหนังสอื เรียน ขน้ั เสนอตัวอยา่ ง ๑. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั ศึกษาเอกสารประกอบการเรยี น เรื่อง ตวั อยา่ งการเขยี นบรรยาย ๒. สมาชิกแตล่ ะกล่มุ พจิ ารณาแล้วเปรยี บเทียบตวั อย่างการเขียน ขั้นหาองค์ประกอบรวม 1. สมาชิกแต่ละกลมุ่ พจิ ารณาความคลา้ ยคลึงกนั ขององคป์ ระกอบจากตัวอย่างเพื่อเตรียมสรปุ กฎเกณฑ์ชวั่ โมงที่ ๒ ขั้นสรุปขอ้ สงั เกตตา่ งๆ ๑. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสรปุ เปน็ กฎเกณฑ์ นยิ าม หลกั การด้วยตัวนกั เรียนเอง ขัน้ นาขอ้ สรปุ หรอื กฎเกณฑไ์ ปใช้ในสถานการณ์อ่ืน ๑. นักเรยี นแต่ละคนทาใบงานเรื่อง การเขยี นบรรยาย ๒. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละคนออกมานาเสนอการเขียนบรรยายใน ใบงานโดยเรยี งตามลาดับเลขทห่ี น้าช้ัน เรยี นครูตรวจสอบและประเมนิ การนาเสนอของนกั เรยี น๗. ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้๑ . หนังสอื เรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเร่อื ง การเขียนบรรยาย ๓. เอกสารประกอบการเรียน เรือ่ ง ตวั อยา่ งการเขยี นบรรยาย

เอกสารประกอบการเรียน ตวั อยา่ งการเขยี นบรรยาย รูจ้ ักเบาหวานเบาหวานเปน็ โรคด้ังเดมิ ทร่ี ้จู กั กันมานาน หลายท่านอาจไดย้ ินมาว่าปสั สาวะของคนเป็นเบาหวานมีรสหวาน ซึ่งก็เป็นเรอ่ื งจริง เนอ่ื งจากคนเปน็ เบาหวานอาจมีนา้ ตาลปนออกมาในปสั สาวะ จากการทรี่ ่างกายมีระดบั นา้ ตาลในเลอื ดสูงท่วมทน้ การกรองของไตนนั้ เองโรคเบาหวาน คอื ภาวะไม่สมดุลของฮอรโ์ มนทมี่ ชี อ่ื ว่า “อนิ ซูลนิ ” ซึง่ มหี น้าทีน่ าน้าตาลในเลือดเขา้สู่เซลล์เพอื่ เผาผลาญให้เกิดพลังงานในการทากจิ กรรมต่างๆ ทวี่ ่าไมส่ มดลุ ก็คอื มีนอ้ ยไม่พอกบั ความตอ้ งการ หรอื มีไม่น้อยแต่ไมส่ ามารถออกฤทธ์ติ ่อผนังเซลลไ์ ดเ้ ต็มที่ ผลกอ็ อกมาเหมือนกบั วา่ มอี นิ ซูลนิ น้อยคือพานา้ ตาลเขา้ ไปในเซลลไ์ มไ่ ด้ ทาให้ระดับนา้ ตาลในเลอื ดสงู ผิดปกติ ซึ่งเป็นภาวะท่เี ปน็ พิษต่อเนือ้ เย่ือทั่วไปในรา่ งกายที่มา: โภชนาการกบั เบาหวานโดยผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. วนั ทนยี ์ เกรยี งสนิ ยศ บทบาทของขตั ตยิ นารีล้านนาในสมยั โบราณ สงั คมล้านนาเปน็ สังคมปิตาธิปไตย หรอื สังคมชายเป็นใหญ่เช่นเดียวกับหลายสังคมอ่ืนในโลก สตรีมีสถานภาพดอ้ ยกวา่ บรุ ษุ สตรีจะมีอานาจตอ้ งผ่านทางบุรษุ รัฐลา้ นนาในสมัยโบราณ กษัตริยม์ ีอานาจสงู สุด ขัตติยนารมี ีอานาจไดเ้ พราะ มีความสัมพนั ธ์กบั กษตั รยิ ใ์ นทางใดทางหนึง่ ซงึ่ อาจเปน็ พระธดิ าพระมเหสี หรือพระมหาเทวี (พระมารดา) ขตั ตยิ นารี จงึ มอี านาจ โดยผ่านความสมั พันธ์ทางเครือญาติ และอานาจจะมมี ากหรอื นอ้ ยเพราะฐานะความเปน็ ญาตกิ บั กษัตรยิ ์วา่ ใกลช้ ดิ เพียงใด ตามประวัติศาสตร์ลา้ นนา มหาเทวหี รอื พระมารดามอี านาจสงู มาก รองลงมาเป็นพระมเหสีซง่ึ มีหลายระดับ ส่วนพระธดิ ามีอานาจน้อย ดงั นน้ั หากขตั ตยิ นารใี ดต้องการเพิ่มพูนอานาจกต็ ้องสรา้ งความสมั พนั ธใ์ ห้ใกลช้ ดิ กบั กษัตริย์ ซ่งึ เป็นศูนย์อานาจและแทท้ ี่จรงิ แลว้ ท่มี าแหง่ อานาจของขัตตยิ นารีคือการเขา้ มาอภเิ ษกสมรสกับกษตั ริย์ ซึ่งจะทาให้มฐี านะเปน็ มเหสี การจะเป็นมเหสไี ด้ยอ่ มต้องมพี ืน้ ฐานทางครอบครวั สูงพอสมควร เช่น อาจเปน็ ธิดาของกษัตรยิ ์เมืองใดเมืองหนงึ่ หรอื เปน็ ธดิ าของขนุ นางระดบั สงู ในเมอื งนั้นที่มา: ขตั ตยิ านศี รลี ้านนา “บทบาทของขตั ตยิ นารีล้านนาในสมยั โบราณ” โดยสรสั วดี อ๋องสกลุ

อาหารรสวิเศษของคนโบราณ ในการศกึ ษาเรอ่ื งอาหารการกนิ อยนู่ นั้ เราจะตอ้ งรวู้ ่าชาวไทยสว่ นใหญ่เป็นชาวกสกิ รรมเป็น ชาวนาชาวสวนการกนิ อยกู่ ง็ า่ ยๆ ไดเ้ วลาอาหารกย็ กสารบั วางลงบนฟากทน่ี อกชานไมต่ อ้ งปเู สอ่ื สาดกนั ละกบั ขา้ วมไี มก่ อ่ี ยา่ งเอาทพั พหี รอื กระจา่ คดขา้ วใส่ชามแลว้ ใชม้ อื เปิบขา้ วกนั เลย โปรดจาไวว้ า่ คนโบราณเขาใชม้ อื เปิบกนั ดงั น้อี าหารประเภทเหลวๆ หรอื แกงน่าจะเป็นของ ลาลองหรอื มาทหี ลงั การทาอาหารแบบละเมยี ดละไมเชน่ น่งึ หรอื ทอดนนั้ น่าจะเป็นวฒั นธรรมจนี สมยั ก่อนกระทะเหลก็ ถูกส่งมาขายโดยทาง เรอื สาเภาเสยี ส่วนใหญ่รวมทงั้ ลงั ถงึ สาหรบั น่งึ ดว้ ย ศลิ าจารกึ หลกั ทห่ี น่งึ กลา่ วถงึ อาหารหลกั ของคนไทยวา่ “ในน้ามปี ลา ในนามขี า้ ว”แปลงา่ ยๆก็ คอื กนิ ขา้ วกบั ปลาเป็นหลกั คนไทยสมยั โบราณทกั กนั เมอ่ื แขกจะขน้ึ บา้ นเขาจะถามวา่ “กนิ ขา้ วกนิ ปลาแลว้ หรอื ยงั ”ที่มา: อาหารรสวเิ ศษของคนโบราณ โดยประยรู อุลชุ าฎะ

ใบงานเรอ่ื งการเขยี นบรรยายรายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ครศู ิวพร สขุ สาแดงชื่อ............................................................................................ เลขที่ ........................ ช้นั .................................คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นบรรยายสภาพความเป็นอยใู่ นชมุ ชนของนกั เรยี น

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑๓ เรอ่ื ง การเขยี นพรรณนา รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑ ชัว่ โมง ครูผู้สอน นางสาวศวิ พร สขุ สาแดง โรงเรยี นหันคาราษฎรร์ งั สฤษดิ์๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด เกณฑ์ ท ๒.๑ม.๒/๒ เขียนบรรยายและพรรณนา ม.๒/๘ มมี ารยาทในการเขยี น๒. สาระสาคัญ(ความคดิ รวบยอด) การเขียนพรรณนาตอ้ งมคี วามรู้พนื้ ฐานในการเขียน และมีมารยาทในการเขยี น๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (K) การเขยี นพรรณนา มารยาทในการเขียน ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ (P) เขยี นพรรณนา ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุง่ ม่นั ในการทางาน ๓.๔ สมรรถนะสาคัญผ้เู รยี น (C) ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต๔. ภาระงาน (สะท้อนการทากจิ กรรม) ใบงาน๕. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ วธิ ีการ เครื่องมือตรวจใบงาน ใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์รายบคุ คล รายบุคคลสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ กลุ่มสังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ และ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์มงุ่ ม่นั ในการทางาน ประสงค์

๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ อธบิ ายปญั หา ๑. ครแู จกเอกสารประกอบการเรยี นเร่ือง ตัวอย่างการเขียนพรรณนา ให้นักเรยี นอา่ น ๒. ครูแจง้ ใหน้ ักเรียนทราบว่า ในการเรยี นตอ่ ไปนี้ นกั เรียนจะต้องเขียนพรรณนาได้ ๓. ครสู นทนากับนักเรยี นถงึ วธิ กี ารเขยี นพรรณนาตามตวั อย่างท่ีไดอ้ า่ น แล้วซกั ถามนักเรียนว่า จาก ตัวอยา่ งนน้ี ักเรียนคิดว่า ผเู้ ขียนมวี ธิ ีการเขียนอยา่ งไร ข้ันอธิบายกฎหรอื หลกั การเพอ่ื การแก้ปญั หา ๑. นักเรียนแบ่งกลมุ่ แตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ศกึ ษาความรู้เรอ่ื ง การเขยี นพรรณนาจากหนังสอื เรียน ๒. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายวิธีการเขียนพรรณนาเพ่ือใหน้ กั เรียนได้เลือกใชใ้ นการเขยี น ๓. นักเรียนตอบคาถาม “ การเขียนพรรณนาตา่ งจากการเขยี นบรรยายอยา่ งไร” ขน้ั ตัดสนิ ใจ ๑. นักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานเร่ือง การเขียนพรรณนา เมอื่ ทาเสรจ็ แลว้ ให้นาส่งครูตรวจ ข้นั พสิ จู น์หรอื ตรวจคาตอบ ๑. ครูตรวจประเมนิ ผลการทาใบงานของนักเรียนแตล่ ะคน ๒. ครูชมเชยนกั เรียนคนทเี่ ขียนพรรณนาไดด้ ี พรอ้ มกับนาผลงานมาให้เพื่อนๆ ดู๗. สื่อ/แหล่งเรียนรู้๑ . หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.๒๒ . ใบงานเรอื่ ง การเขียนพรรณนา ๓. เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง ตวั อยา่ งการเขียนพรรณนา

เอกสารประกอบการเรียน ตัวอยา่ งการเขียนพรรณนา ท้องฟา้ ไมว่ า่ จะอยทู่ ไ่ี หน เปน็ ใคร กอ็ ยูใ่ ตฟ้ า้ เดียวกนั เพยี งแต่แหงนหน้าข้นึ มองฟา้ กไ็ ดแ้ ง่คดิ ต่างๆ อยา่ งเชน่ โลกกลมๆ ใบนี้อยู่กลางจกั รวาลอันกว้าง ใหญ่ ซึ่งเม่อื เทยี บขนาดแลว้ โลกกเ็ ปน็ เพยี งผงธุลี มนษุ ยต์ ัวจอ้ ยน้อยนิดเช่นเราจึงสมควรเจยี มตนและเจียม ใจ ไมห่ ลงลมื ไปว่าตนเองดอ้ ย น้อยค่าเพยี งใดในธรรมชาติอันย่งิ ใหญน่ ี้ ความสุขอย่างหนง่ึ คอื การได้นอนมองดูฟ้า ชาวกรงุ เทพฯ หาโอกาสชมฟา้ ยากนัก ไม่มเี วลาคือ อปุ สรรคสาคัญ เพราะวนั ทัง้ วนั ต้องทางาน กวา่ จะว่างก็มดื ค่าและลา้ แรงเกินกวา่ จะนอนชมฟา้ ชมดาวที่ ไมค่ อ่ ยจะมีให้เหน็ เพราะมลพิษ เปน็ เหตุ หากอยากจะพกั ผอ่ นจรงิ จังก็ต้องหาวันหยดุ ออกไปนอกเมอื ง ไปทีไรกป็ ลอดโปร่งโลง่ ใจ นอนชมฟ้ากวา้ งและ บอกตวั เองวา่ ชีวติ ควรเปน็ เชน่ น้ี ผืนฟ้ามลี วดลายไมซ่ า้ ตามชว่ งเวลาของวนั และตามฤดูกาล ฟา้ ใสไรเ้ มฆกโ็ ลง่ โปรง่ ตา มเี มฆแต่นอ้ ย เกล่ยี กระจาย ไปท่วั ดนู วลนุ่ม แม้แต่ยามทมี่ ีแต่เมฆดาก็ดูคกึ คักและเร้าใจ ชวนใหล้ นุ้ ว่าฝนจะเทลงมา เม่ือไร และเม่ือฝนขาดเม็ด ท้องฟ้า กก็ ระจา่ งใสราวกบั ไม่เคยมเี มฆบดบงั มาก่อน ไดป้ รชั ญาชีวติ จากการ มองฟ้าเชน่ นเ้ี องท่มี า: ใสส่ ีชีวิต โดยงามพรรณ เวชชาชวี ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook