Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานผลการเรียนรู้กับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานผลการเรียนรู้กับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Published by mathemcu_2008, 2019-12-01 22:37:22

Description: อ.ธิดาวัลย์ บรรยายในชั่วโมง

Search

Read the Text Version

ข้อเปรียบเทยี บเชิงความสัมพนั ธ์ระหว่าง มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบTQF กบั ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Cและ การวดั ประเมนิ ผู้เรียนในโลกยุคใหม่ของการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดย. รองศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ วนั ที่ 21-22 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 บรรยาย ณ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ จดั ประชุมนอกสถานที่ ณ โรงแรมไมด้า ทวารวดี แกรนด์ นครปฐม

หัวข้อการบรรยาย • ข้อเปรียบเทียบเชิงความสัมพนั ธ์ระหว่างมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF กบั • กรอบแนวคดิ และลกั ษณะการวดั ประเมนิ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 • กระบวนการวดั ประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 • ทาไมต้องวดั ประเมนิ ทกั ษะการเรียนรู้ทจ่ี าเป็ นในศตวรรษที่ 21 • การวางแผน • การลงมอื วดั ประเมนิ (รวบรวมข้อมูลสารสนเทศและตัดสินคุณค่า) • ความเป็ นมา : การเรียนรู้พฒั นาการไปตามโลกทเ่ี ปลยี่ นแปลงเร็ว • การรายงานผลการวดั ประเมนิ • ลกั ษณะห้องเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ หลกั สูตรและการสอน และทกั ษะในศตวรรษที่ 21 • แนวทางการวดั ประเมินตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ • ทำไมต้องวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนิสิต/นักศึกษาตาม TQF • การวดั ประเมนิ ทกั ษะพทุ ธพิ สิ ัย (Cognitive skills) • ข้อเปรียบเทยี บมาตรฐานผลการเรียนรู้ตาม TQF กบั ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 • การวดั ประเมนิ ทกั ษะจติ พสิ ัย (Affective skills) • การวดั ประเมนิ ผ้เู รียนในโลกยุคใหม่ของการเรียนรู้ศตวรรษท่ี • สรุปสาระสาคญั และตอบคาถามและอภิปราย • การวดั ประเมนิ การเรียนรู้ของผ้เู รียน: ความหมาย แนวคิด หลกั การ และกระบวนการ • กระบวนทศั น์และแนวทางใหม่ในการวดั ประเมนิ การเรียนรู้ • หลกั การ 10 ประการของการวดั ประเมนิ • การวดั ประเมนิ เพอื่ การเรียนรู้ ขณะเรียนรู้ และตดั สินผลการเรียนรู้ (Assessment For, As, and Of Learning) • กลยทุ ธ์ของการวดั ประเมนิ เพอ่ื การเรียนรู้ • หลกั การสาคญั ให้สารสนเทศป้ อนกลบั (Feedback) เพอื่ พฒั นาการเรียนรู้

ข้อเปรียบเทยี บเชิงความสัมพนั ธ์ระหว่าง มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF VS ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 รศ.องอาจ นัยพฒั น์, Ph.D. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนคริทรวโิ รฒ

ทาไมต้องวดั ประเมินทกั ษะการเรียนรู้ทจี่ าเป็ นในศตวรรษท่ี 21 การศึกษาไทย 4 ยุคเคล่ือนยา้ ย การศึกษาไทย 1.0 การศึกษาไทย 2.0 ยคุ เกษตรกรรม ยคุ อตุ สาหกรรม การศึกษาไทย 1,2,3,4 การศึกษาไทย 3.0 การศึกษาไทย 4.0 ยคุ เทคโนโลยี ยคุ ผลิตภาพ ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557)

กระแสการเปลยี่ นแปลงของโลกยุคดจิ ทิ อลในศตวรรษท่ี 21 • โลกเทคโนโลยี (Technologicalization) • โลกของเศรษฐกจิ และการค้า (Commercialization & Economy) • โลกาภิวัตน์กบั เครือข่าย (Globalization and Network) • สิ่งแวดล้อมและพลงั งาน (Environment and Energy) • ความเป็ นเมอื ง (Urbanization) • คนอายุจะยนื ขึน้ (Ageing & Health) • อยู่กบั ตัวเอง (Individualization) ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์. (2557)

ความเป็ นมา : การเรียนรู้พฒั นาการไปตามโลกทเี่ ปลย่ี นแปลงเร็ว  ปี ค.ศ. 2001-2100 เป็ นยุคแห่งศตวรรษที่ 21โลกเปลย่ี นแปลงเร็วขนึ้ และไม่ แน่นอน ความรู้เปลยี่ นเร็ว สารสนเทศเพม่ิ โลกยงั เชื่อมโยงถงึ กนั หมด คนเปลยี่ น ชีวติ เปลยี่ น งานเปลย่ี น ความต้องการเปลย่ี น โลกเปลย่ี น ความต้องการ(คุณภาพมนุษย์)เปลย่ี น การศึกษา เปลยี่ น ดงั น้ัน หลกั สูตรและการสอนในศตวรรษท่ี 21 เปลยี่ น (รูปแบบทสี่ ่งเสริมทกั ษะที่ จาเป็ นในศตวรรษที่ 21) มากขนึ้  เน้นการเรียนรู้ให้เกดิ ความรู้และต่อยอดความรู้น้ันได้ด้วยตนเองและสามารถนา ความรู้ทไ่ี ด้ปรับประยุกต์ใช้ในการดารงชีวติ ได้อย่างยงั่ ยนื สอดคล้องกบั หลกั ทฤษฎกี ารเรียนรู้ constructivism, constructionism และการเรียนรู้ แบบร่วมมอื (cooperative learning) มสี าระสาคญั ทวี่ ่า ความรู้ไม่ใช่เกดิ จากผู้สอน เพยี งอย่างเดยี ว แต่สามารถสร้างขึน้ โดยผ้เู รียนเองได้

From: http://www.opencolleges.edu.au/infographic/21st_century_classroom.html

ลกั ษณะห้องเรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ลกั ษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 มาตรฐานการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 • ยดึ ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง (Student-centric) 1). เน้นทกั ษะ ความรู้และความเชี่ยวชาญทเ่ี กดิ กบั ผู้เรียน • ใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นอุปกรณ์หลกั ในการเรียนรู้ 2). สร้างความรู้ความเข้าใจในการเรียนในเชิงสหวทิ ยาการ • เน้นจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ระหว่างวชิ าหลกั ทเ่ี ป็ นจุดเน้น • lจeดัaกrnารinเรgีย) นรู้ทปี่ รับเหมาะกบั ผู้เรียนเฉพาะราย (Adaptive 3). มุ่งเน้นการสร้างความรู้และเข้าใจในเชิงลกึ มากกว่าการสร้าง • จัดสิ่งแวดล้อมเออื้ อานวยต่อการเรียนรู้ ความรู้แบบผวิ เผนิ • ตจดัิดวตาางมรขะอบงบผู้กเรฎียเนกณฑ์และวธิ ีการทงี่ ่ายต่อการเข้าใจและ 4). ยกระดบั ความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลทเี่ ป็ นจริง • ให้ความเคารพต่อกนั (Mutual respect) การใช้ส่ือหรือเครื่องมอื ทม่ี คี ุณภาพจากการเรียนรู้ในสถานศึกษา • ผู้เรียนมคี วามรับผดิ ชอบการเรียนรู้ของตน การทางานและในการดารงชีวติ ประจาวนั ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่าง • เaนss้นeกssาmรวeดัntป)ระเมนิ องิ การปฏบิ ัติ (Performance-based มคี วามหมายและสามารถแก้ไขปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ ได้ • มกี ารเรียนรู้แบบร่วมมอื 5). ใช้หลกั การวดั ประเมนิ ผลทม่ี คี ุณภาพระดบั สูง

หลกั สูตรและการสอนในศตวรรษท่ี 21 ( 21st Century Curriculum and Instruction ) 1). การสอนให้เกดิ ทกั ษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้น เชิงสหวทิ ยาการของวชิ าแกนหลกั 2). สร้างโอกาสทจี่ ะประยุกต์ทกั ษะเชิงบูรณาการข้ามสาระ เนือ้ หา และสร้างระบบการเรียนรู้ทเ่ี น้นสมรรถนะเป็ นฐาน (Competency-based ) 3). สร้างนวตั กรรมและวธิ ีการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการทม่ี ี เทคโนโลยเี ป็ นตวั เกอื้ หนุน การเรียนรู้แบบสืบค้น และ วธิ ีการเรียน PBL เพอื่ การสร้างทกั ษะข้นั สูงทางการคดิ ขนึ้ 4). เน้นสอนให้ผู้เรียนมคี วามสามารถในการค้นหา ประเมนิ สังเคราะห์ และนาความรู้ไปใช้ในบริบทใหม่ๆได้ ท้งั ทอ่ี ยู่ใน กรอบหรือการแก้ปัญหาทไ่ี ม่เคยค้นพบและมผี ลผลติ น้ันมา ก่อน 5) พฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการคดิ การแก้ปัญหา การออกแบบ และทกั ษะการสื่อสาร Darling-Hammond (2011, online-https://vimeo.com/40895671)

เป้ าหมาย/ผลการเรียนรู้ของผ้เู รียนในโลกศัตวรรษท่ี 21 กรอบแนวคดิ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้ในศตั วรรษที่ 21 ท่ีหอ้ งปฏิบตั ิการทางการศึกษาในเขตพ้ืนท่ี (The Partnership of 21st Century Skills-P21) ส่วนกลางตอนเหนือ (North Central Regional Educational Laboratory– NCREL) หรือที่นิยมเรียกวา่ enGauge model พฒั นาข้ึนในปี ค.ศ. 2003 โดยไดร้ ับการอา้ งอิงถึงในหนงั สือ 21st Century Skills คอ่ นขา้ งมาก เช่นเดียวกบั P21 Framework

From: Lai & Viering, (2012, April, p.6) มาตรฐานทคี่ าดหวงั สาหรับการเรียนรู้ตามการ เปลย่ี นแปลงมาสู่ศตวรรษที่ 21 1.Adaptability, 2.Complex communication skills, 3.Nonroutine problem-solving skills, 4.Self-management/self-development;  Ability to communicate and 5.Systems thinking (National Research Council, 2008)  Adaptability to change  Ability to work in teams ทมี่ า: Koenig (2011)-Rapporteur of National Research Council  Preparedness to solve problems http://www.sri.com/sites/default/files/publications/imports/21st_century_skills.pdf  Ability to analyze and conceptualist  Ability to reflect on and improve performance  Ability to manage oneself  Ability to create, innovate and criticize  Ability to engage in learning new things at all times  Ability to cross specialist borders Darling-Hammond (2011, online-https://vimeo.com/40895671) 1.Cognitive skills: nonroutine problem solving, critical thinking, systems thinking 2. Interpersonal skills: complex communication, social skills, teamwork, cultural sensitivity, dealing with diversity 3. Intrapersonal skills: self- management, time management, self development, self- regulation, adaptability, executive functioning (National Research Council, 2011)

กรอบแนวคดิ ACT21S ทกั ษะที่จาเป็ นสาหรับศตวรรษท่ี 21 •วถิ แี ห่งการคดิ (Ways of Thinking) ได้แก่ Creativity and innovation; Critical thinking, problem solving, and decision-making; and metacognition or learning to learn •วถิ ีแห่งการทางาน (Ways of Working) ได้แก่ Communication and Collaboration or teamwork •เครื่องมอื สาหรับการทางาน (Tools for Working)ได้แก่ Information literacy and information and communication technology (ICT) literacy •การดาเนินชีวติ ในโลก (Living in the World) ได้แก่ Citizenship, life and career skills, and personal and social responsibility Assessment and Teaching of 21st Century Skills (ATC 21) (Binkley et al., 2010).

Learning and Thinking Skills Creativity & Innovation Critical Thinking & Problem Solving Communication & Collaboration Core Subjects and 21st Century Themes The 21st Century Knowledge & Skills Rainbow Source : Partnership for 21st Century Skills http://www.p21.org/about-us/p21-framework (Retrieved on May 1, 2015)

ทกั ษะการเรียนรู้และนวตั กรรม The Four Cs of 21st Century Skills https://21stcenturyskillsforfremtidenslaerere.wordpress.com/hvad-er-21st-century-learning-skills/

ทำไมต้องวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนิสิต/นักศึกษาตาม TQF ความมุ่งหมาย/จุดเน้นของ TQF สาระสาคญั ใน TQF (1) 1. เพมิ่ ความเช่ือม่ันให้แก่สังคมไทยและสากลในคุณภาพ หมวดที่ ๔. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและกำรประเมินผล และมาตรฐานของคุณวุฒิที่บัณฑติ ไทยได้รับ * ๑. การพฒั นาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนักศึกษา 2. มุ่งเน้นมาตรฐานผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) * ๒. การพฒั นาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน ของบัณฑติ ทเ่ี ป็ นมาตรฐานข้นั ตา่ ให้สามารถเทียบเคยี ง อธิบายผลการเรียนรู้แต่ละด้าน ตามหัวข้อต่อไปนี้ กบั สถาบันอดุ มศึกษาไทยและต่างชาติทม่ี ีคุณภาพ (๑) คาอธิบายทว่ั ๆ ไปเกย่ี วกบั ความรู้หรือทกั ษะในหลกั สูตรที่ 3. ทาให้คุณวุฒิมคี วามเป็ นปรนัย (เข้าใจง่ายและชัดเจน) ต้องการจะพฒั นา โดยสะท้อนในรูปมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (๒) คาอธิบายเกย่ี วกบั กลยุทธ์การสอนทจี่ ะใช้ในรายวชิ าต่างๆ ใน (Knowledge) ทักษะ (Skills) ความสามารถ (Ability) และ หลกั สูตรทจ่ี ะพฒั นาความรู้และทกั ษะเหล่าน้ัน คุณลกั ษณะพงึ ประสงค์อนื่ ๆ (Other characteristics)- (๓) วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลทจี่ ะใช้ในรายวชิ าต่างๆ ในหลักสูตรที่ KSAOs ทม่ี ุ่งหวงั จากบัณฑิต (ผู้เรียนรู้) จะประเมนิ ผลการเรียนรู้ในกลุ่มทเ่ี กย่ี วข้อง

ทำไมต้องวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนิสิต/นักศึกษาตาม TQF สาระสาคญั ใน TQF (2) คาตอบ: เหตุผลหลกั ในการวดั ประเมนิ (1) หมวดที่ ๕. หลกั เกณฑ์ในกำรประเมินผลนักศึกษำ • เพอื่ ให้มน่ั ใจว่า การจัดการเรียนรู้ของผู้สอน (อาจารย์) และการเรียนรู้ ของผู้เรียน (นิสิต/ นักศึกษา) มคี ุณภาพได้ตามมาตรฐานผลเรียนรู้ที่ * ๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของ กาหนดไว้ (เนื่องจาก TOF มุ่งเน้นมาตรฐานผลการเรียนรู้ของผู้เรียน นักศึกษา เป็ นสาคญั ) • อธิบายกระบวนการทใี่ ช้ในการทวนสอบมาตรฐาน • เพอ่ื เป็ นสารสนเทศย้อนกลบั (Feedback) ไป “ปรับกำรเรียนเปล่ียน ผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละ กำรสอน” : ปรับกำรเรียนรู้ของผู้เรียน และ เปล่ยี นกำรสอน (การ รายวชิ า เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่ จัดการเรียนรู้) ของผู้สอน (รวมท้งั ปรับหลกั สูตร) มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกนั ไปสาหรับรายวชิ าที่ แตกต่างกนั หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้ แต่ละ • เพอ่ื เปรียบเทยี บมาตรฐานผลการเรียนรู้ท้งั ระหว่างผู้เรียนใน ด้าน สถาบนั อุดมศึกษาเดยี วกนั (ในภาคเรียน/ปี การศึกษาเดยี วกนั และ ต่างกนั ) และต่างสถาบนั (ในประเทศไทยและต่างประเทศ)

กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ ผลการเรียนรู้ทค่ี าาหววัง ระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ สกอ. 5 ปี มาตรฐานคุณวฒุ ิสาขาวชิ าต่างๆ เกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร เกณฑก์ าหนดช่ือปริญญา มหาวิทยาลยั ติดตาม หลเกกั ณเกฑณ/์ฑแก์นาวรเททายี งบอโอ่ืนนๆ การดาเนินการ ตาม TQF วางแผนปรับปรุง + พฒั นา รายละเอยี ดของหลกั สูตร (Program Specification) รายงานประจาภาค รายละเอยี ดของรายวชิ าและ และประจาปี การศึกษา ภาคสนาม/ฝึ กงาน (ถ้าม)ี (Semester/Annual Program Report) (Course + Field Experience Specifications) รายงานรายวชิ า กระบวนการเรียนการสอน (Course Reports) (ทท่ี าให้บรรลุผลการเรียนรู้ทค่ี าาหววัง) เผยแพร่หลกั สูตรท่ี วดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ Teaching Unit ดาเนินการได้ ท่คี าาหววงั ของนิสิต/บณั ฑิต การจัดสิ่งอานวยความ มาตรฐาน TQF สะดวก สภาพแวดล้อม นิสิต/นักศึกษา/บัณฑติ ได้รับการพฒั นาให้มมี าตรฐาน ผลการเรียนรู้ตามทก่ี าหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ที่มา: ปรับปรุงจาก นิภาพรรณ แก่นคง (20 ต.ค. 52) (บณั ฑติ มคี ุณภาพเป็ นทพ่ี งึ พอใจของผู้จ้างงานและสังคม)

ข้อควรคานึง มาตรฐานและปัจจัยเงอ่ื นไขทจี่ าเป็ นสาหรับการวดั ประเมินผลการ เรียนรู้ของนิสิต/นักศึกษาตามกรอบ TQF ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ข้อคดิ ควรคานึงเกยี่ วกับ TQF มาตรฐานการวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF • TQF เป็ นเพยี งเครื่องมอื ในการพฒั นาคุณภาพของบัณฑิต และเป็ น • ต้องเทย่ี งตรง (Validity) และเช่ือม่ัน (Reliability) ได้ กลไกการประกนั คุณภาพหลกั สูตรและรายวชิ าเพอ่ื คุณภาพของ • ต้องนาผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการพฒั นาคุณภาพ บณั ฑติ ท่ีพงึ ประสงค์ • ต้องเหมาะสมตามหลกั จริยธรรม และสอดคล้องกบั วฒั นธรรมของ • TQF เป็ นเพยี งกรอบมาตรฐานข้ันตา่ ของบัณฑิตในแต่ละระดบั สถาบันอดุ มศึกษาและสังคม คุณวฒุ ิเท่าน้ัน ซึ่งสถาบันอุดมศึกษานาไปกาหนดรายละเอยี ดให้ • ต้องมีความเป็ นไปได้ภายใต้ข้อจากดั ด้านเวลา/งบประมาณ สอดคล้องกบั เอกลกั ษณ์บณั ฑติ ตามปณธิ าน ปรัชญา ค่านิยม และอตั ลกั ษณ์ของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง ปัจจยั เงอื่ นไขท่ีจาเป็ นในการวดั ประเมนิ • TQF คอื สิ่งจาเป็ นในการประกนั คุณภาพของบัณฑิต แต่ยงั ไม่ • ผ้บู ริหำรสถาบันอุดมศึกษาจะต้องตระหนัก (สนใจ/ใส่ใจ) ในการจดั การศึกษา เพยี งพอต่อการจัดการศึกษาระดบั อดุ มศึกษาอย่างมคี ุณภาพ เพอื่ ให้ได้บัณฑติ ทม่ี ีคุณภาพได้มาตรฐานตามกรอบ TQF อย่างแท้จริง (วจิ ารณ์ พานิช : 2552) • อำจำรย์และบุคลำกรสำยสนับสนุนจะต้องเอาใจใส่การดาเนินงานจดั การเรียนการ สอนตามกรอบ TQF • นิสิต/นักศึกษำจะต้องให้คุณค่าทางภูมิปัญญาการเป็ นบัณฑติ ที่ภาคภูมใิ จ (มากกว่าใบปริญญา/คุณวฒุ ทิ ีเ่ ป็ นหลกั ฐานการเรียนจบ)



บัณฑิต มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาตริ ะดับอุดมศึกษาของไทย (TQF) ทเ่ี ป็ น คนดี ๑. ด้ำนคณุ ธรรม จริยธรรม หมายถึง การพฒั นานิสัยในการประพฤตอิ ย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และด้วยความ รับผดิ ชอบท้งั ในส่วนตนและส่วนรวม ความสามารถในการปรับวถิ ชี ีวติ ในความขดั แย้งทางค่านิยม การพฒั นา บัณฑติ ที่ นิสัยและการปฏิบัตติ นตามศีลธรรม ท้งั ในเร่ืองส่วนตัวและสังคม เป็ นคน เก่งรู้คดิ ข๒้อ. เดท้าจ็ นจครวิงาใมนรหู้ ลหกั มกาายรถทึงฤคษวฎามี ตสลาอมดาจรนถกในรกะาบรวเนข้ากใาจรตก่าารงๆนึกแคละดิ สแาลมะากราถรเรนียานเสรนู้ดอ้วขย้อตมนูลเอกงาไรดว้ เิ คราะห์และจาแนก และ คห๓าล.ดดกั ค้กาดินารมทาทกั กษฤ่อษะนทฎาี แงลปะัญกญระาบหวนมากยาถรตงึ ่าคงวๆาใมนสกาามราครดิ ถวในเิ คกราาระวหเิ ์คแลระาะกหาร์สแถกา้ปนัญกาหราณเ์มแลอ่ื ะตใ้อชง้คเผวาชมิญรกู้ คบั วสาถมาเนข้ากใาจรใณน์แใหนมว่ๆคดิทไี่ ม่ได้ เก่ปฏบิ ตั ิ ถ๔ึง.ภดา้าวนะทผกัู้นษาะคคววาามมรสับัมผพดิ นั ชธอ์รบะตห่อวต่านงบเอุคงคแลลแะลสะังคควมามครวับาผมดิสชามอาบรถหในมากยาถรวึงาคงวแาผมนสแาลมะารรับถผในดิ กชาอรบทใานงกาานรเเปร็ นียนกลรูุ้่มขอกงารตแนสเอดงง มที กั ษะ เว๕ขเิ .คยี ดรน้าานะแหลทะ์เกั ชกษิงาะตรกใัวชาเล้รเทขวคเิ คคโรวนาาโะมลหสย์เสีาชมาิงราตรสวั ถนเใลเนทขกศการารใชส้เื่อทสคานริคแทลาะงกคาณรใติ ชศ้เทาสคตโนร์โแลลยะสี สาถริตสิ นควเทาศมสหามมาารยถถใงึ นคกวาารมสส่ือาสมาารรทถ้งั ใกนากราพรูด การ สังคม และ Note: บางสาขาวชิ าอาจเพมิ่ มาตรฐานผลการเรียนรู้ทางด้านทกั ษะพสิ ัย (Domain of Psychomotor Skills) หรือบางสาขาวชิ าต้องการให้บณั ฑติ ของสาขาวชิ ามมี าตรฐานผลการเรียนรู้มากกว่าหรือพเิ ศษ ส่ือสารได้ กว่าบัณฑิตในสาขาวชิ าอนื่ (กส็ ามารถกาหนดเพม่ิ เตมิ ได้

มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF กบั ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF กบั ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

การวดั ประเมนิ ผู้เรียนในโลกยุคใหม่ของการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 (Assessment of Students in the New World of 21st Century Learning) รศ.องอาจ นัยพฒั น์, Ph.D. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนคริทรวโิ รฒ

The 21st Century Project Learning Bicycle (Source: Trilling & Fadel, 2009, p. 101) Cyclometer Source: http://21thcenturylearning.weebly.com/a-new-view-of-education.html

Cyclometer (evaluation/assessment) Cyclometer แสดงผลแผนผงั ระบุพกิ ดั ขณะปั่นจักรยาน เส้นทาง รวมท้งั ระยะทาง ความเร็วความเร็วเฉลย่ี และระยะเวลาขณะ ปั่นจกั รยาน

ขอ้ คดิ คำคม •“คากณุ าธรรสรรม้าง”คาวามเข็มแข็งในการจหั การศึกษาอย่ทู ก่ี ารวหั และการประเมินผลทมี่ คี าณุ ภาพ และ ศ. เกยี รติคุณ นพ.เกษม วฒั นชัย (องคมนตรี) •“เพอื่ เป็ นวลกั ประกนั ว่าเหก็ จะไห้รับการศึกษาทงั้ โอกาสและคาณุ ภาพ จงึ ต้องมรี ะบบการทหสอบ และการประเมินเพอ่ื ยกระหบั คาณุ ภาพการศึกษา” ศ.ดร.วจิ ิตร ศรีสะอ้าน (อดตี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) •“การสอบจะกากบั พฤติกรรมการเรียนของผ้เู รียน และการสอนของคารู” ศ.ดร.พจน์ สะเพยี รชัย (อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ทมี่ า: บทบาทและทิศทางการทดสอบและประเมินระดบั ชาติต่อคุณภาพการศึกษาไทย-เอกสารครบรอบ 9 ปี ของการจดั ต้งั สทศ (3/9/2557)

ขอ้ คดิ คำคม From : https://scale.stanford.edu/system/files/beyond-basic-skills-role- performance-assessment-achieving-21st-century-standards-learning.pdf

ทบทวน: นิยามคาศัพท์สาคญั ท่ีเกยี่ วข้องกบั การวดั ประเมิน (1) • การวหั (Measurement) คอื การกาหนดตัวเลขเพอ่ื บ่งชี้ปริมาณคุณสมบตั หิ รือลกั ษณะของวตั ถุหรือเหตุการณ์ใดๆ ที่ สนใจตามกฎเกณฑ์บางประการ • การประเมนิ คา่า (Evaluation) คอื การตัดสินคุณค่าและมูลค่าของบุคคล วตั ถุ เหตุการณ์ หรือสิ่งใดๆ ทส่ี นใจตามการ ตีความข้อมูลสารสนเทศ (โหยเฉพาะข้อมลู สารสนเทศจากการวัหในรูปตัวเลข) ทรี่ วบรวมได้ • การวหั ประเมิน (Assessment) คอื กระบวนการรวบรวมและใช้ข้อมูลสารสนเทศเพอ่ื ประเมนิ ค่าบุคคล วตั ถุ เหตุการณ์ หรือส่ิงใดๆ ทสี่ นใจ • การวัหประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) คอื กระบวนการรวบรวมและประเมนิ ค่าบุคคล วตั ถุ เหตุการณ์ หรือส่ิงใดๆ ทสี่ นใจบนฐานข้อมูลสารสนเทศในสภาพการณ์จริง (Real life tasks--i.e. writing a letter, presenting a plan) • การวหั ประเมนิ ในช้ันเรียน (Classroom Assessment) เป็ นกระบวนการทค่ี รูทาการรวบรวมและตีความข้อมูล/ สารสนเทศต่างๆ ทเี่ กยี่ วข้องกบั ความรู้/ความเข้าใจ ความสามารถ/ทกั ษะ และทศั นคติ/ความเชื่อของนิสิต/นักศึกษา แล้วนา ผลการตคี วามดงั กล่าวไปใช้ตัดสินใจในการจดั การเรียนรู้ในช้ันเรียนให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยง่ิ ขนึ้

ทบทวน : นิยามคาศัพท์สาคญั ที่เกย่ี วข้องกบั การวดั ประเมนิ (2) • การวัหประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผ้เู รียน (นิสิต/นักศึกษา) ตามกรอบมาตรฐาน TQF คอื การวดั ประเมิน “ผลผลิต สุหท้าย” ของการเรียนรู้ทอี่ ยู่ในรูปผลลพั ธ์ (Outcomes) หรือสมรรถนะ (Competence) เปรียบเทยี บกบั เกณฑ์ตาม กรอบมาตรฐานคุณภาพในการสัมฤทธ์ิผลทค่ี าดหวงั ว่าผู้เรียน (นิสิต/นักศึกษา) จะสามารถบรรลุได้ • การวหั ประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) คอื การประเมนิ ความรู้ ทักษะ ความสามารถ คุณลกั ษณะหรือ พฤตกิ รรมของผู้เรียนทเ่ี กดิ ขึน้ ในสภาพการณ์จริง (A real life context) • การวัหประเมนิ อิงการปฏิบัติ (Performance-based assessment) คอื การวดั ประเมนิ กระบวนการ (Process) และผลผลติ (Product) ของการปฏิบตั ทิ ส่ี ะท้อนความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ คุณลกั ษณะหรือพฤตกิ รรมของผู้เรียนทสี่ าธิตหรือแสดงออกมาให้เห็น • การวัหประเมนิ ห้วยแฟ้ มแสหงวลักฐานการเรียนรู้ (Portfolio assessment) คอื การวดั ประเมินความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ หรือคุณลกั ษณะของผู้เรียนจากข้อมูลหลกั ฐานทบ่ี ่งชี้ความเพยี รพยายาม ความก้าวหน้าและผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนในแฟ้ มสะสมงาน (Portfolios) ที่เกบ็ รวบรวมและจัดเรียงอย่างเป็ นระบบภายในระยะเวลาหนึ่งๆ

กระบวนการวดั ประเมนิ (The assessment process) การวดั ประเมนิ (Assessment) การวดั และ/หรือ ไม่ใช่การวดั (Measurement) (Non-measurement) เช่น การทดสอบ เช่น การสังเกต การสอบถามด้วยวาจา บวก การประเมนิ /ตัดสินคุณค่า บวก (Evaluation/Value Judgments) เช่น ปานกลาง ดี ดเี ยยี่ ม

การวดั ประเมนิ การเรียนรู้ของผู้เรียน : ความหมาย แนวคดิ และหลกั การ  ความหมาย กระบวนการรวบรวม วเิ คราะห์และวพิ ากษ์ข้อมูลสารสนเทศเกยี่ วกบั การเรียนรู้ของผู้เรียน จากหลากหลายแหล่งเพอ่ื ความเข้าใจอย่างลุ่มลกึ ว่าผู้เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์อะไรได้บ้างอนั เป็ นผลจากประสบการณ์การเรียนรู้ ทีผ่ ่านมา  แนวคดิ และหลกั การ ▫ เป็ นไปในลกั ษณะ “การนั่งเคาียงข้าง (Sitting beside)” ตาม ความหมายของคาว่า “assess” วรือ “assidere” ในภาษาละตนิ ทแ่ี ปลว่า “to sit beside” ▫ ดาเนินไปด้วยการแลกเปลย่ี นข้อมูลสารสนเทศเกยี่ วกบั ประสบการณ์การเรียนรู้ ▫ มีการวเิ คราะห์/วพิ ากษ์ข้อมูลสารสนเทศเพอื่ ปรับปรุงการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ▫ ผู้ประเมินวดั ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็ นกลั ยาณมิตร (ด้วยความปรารถนาด/ี เออื้ อาทร) ▫ รวมรวมข้อมูลสารสนเทศจากหลากหลายแหล่ง (ไม่เพยี งแต่ใช้คะแนนการวดั ผลจากการสอบ) ▫ มุ่งเน้นวดั ประเมินเพอ่ื การพฒั นา (มากกว่าตรวจสอบ) การเรียนรู้ ▫ ช่วยทาให้ผู้เรียนทราบว่าตนรู้และสามารถทาส่ิงใดได้ รวมท้ังอาจรู้และสามารถทาสิ่งอน่ื ใดได้อกี บ้าง

ความสัมพนั ธ์ระหว่างการสอนและการวดั ประเมนิ การเรียนรู้ การวดั ประเมนิ หลงั สอน การสอนแบบมี การวดั ประเมนิ ปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหว่างสอน การวางแผน การสอน การค้นหาข้อมูล หลกั ฐานบ่งชี้ผลการ เรียนรู้ทค่ี าดหวงั กาหนดผลการ เรียนรู้ทคี่ าดหวงั การวดั ประเมนิ ก่อนสอน เป้ าหมายการเรียนรู้ ทม่ี า: ดดั แปลงจาก McMillan (2004, p.7) และวตั ถุประสงค์การ เรียนรู้โดยทวั่ ไป

การวดั ประเมินการเรียนรู้แบบด้งั เดมิ C = CURRICULUM CI I = INSTRUCTION A = ASSESSMENT R = RESEARCH & AND D = DEVELOPMENT A R&D ผศ.ดร. องอาจ นยั พฒั น์ 33

การวดั ประเมนิ การเรียนรู้แบบทพ่ี งึ ประสงค์ C C = CURRICULUM I I = INSTRUCTION A A = ASSESSMENT R R = RESEARCH & & AND D D = DEVELOPMENT ผศ.ดร. องอาจ นยั พฒั น์ 34

ความสัมพนั ธ์ระหว่างการวดั ประเมนิ และ องค์ประกอบการเรียนรู้อนื่ ๆ แผนภาพ: ความสัมพนั ธ์ระหว่างการวดั ประเมนิ การ เรียนรู้และองค์ประกอบการเรียนรู้อน่ื ๆ ท่มี า: องอาจ นยั พฒั น์. (2557)

กระบวนทศั น์ใหม่ในการวดั ประเมินการเรียนรู้ (1) •เป็ นตามสภาพจริง (Authentic)  เป็ นกระบวนกำรต่อเน่ือง/พลวัต (Ongoing/dynamic) ทเี่ ช่ือมโยงกบั หลกั สูตร การเรียน การสอน และการวจิ ัยและพฒั นาการเรียนรู้  เป็ นรูปแบบทเ่ี ปิ ดโอกาสให้นิสิต/นักศึกษาสามารถเลอื กและแสดงความรู้/ความเข้าใจ ความสามารถ/ทกั ษะ และทศั นคติ/ควำมเชื่อทตี่ นมตี ามความเป็ นจริงได้อย่างอิสระ  วธิ ีดาเนินการมคี วามยดื หยุ่น ปรับเปลย่ี นได้ตามบริบทของการจัดเรียนรู้ในช้ันเรียน  มคี วามสอดคล้องกบั บริบทช้ันเรียนและวฒั นธรรมการเรียนรู้ของนิสิต/นักศึกษา เน้นวดั ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของนิสิต/นกั ศึกษาทส่ี ัมพนั ธ์กบั “โลกแห่งควำมเป็ น จริง”  เน้นการวดั ประเมนิ เพอื่ พฒั นากระบวนการเรียนรู้มากกว่าการตดั สินหรือพสิ ูจน์ให้เห็น ว่ามกี ารเรียนรู้ (เช่น ตดั เกรด) ลดความตงึ เครียดและความวติ กกงั วลจากประสบการณ์ใดๆ ในทางลบทเี่ กดิ จากการวัด ประเมนิ การเรียนรู้แบบด้งั เดมิ Source: http://www.youtube.com/watch?v=c_gibuFZXZw ส่งเสริมให้ผู้เรียนวดั ประเมนิ การเรียนรู้ด้วยตนเองหรือโดยกลุ่มเพอ่ื น (Self- or Peer- Assessment) เพอื่ ให้เกดิ การคดิ สะท้อนกลบั มาพฒั นาการเรียนรู้ของตนต่อไป

กระบวนทศั น์ใหม่ในการวดั ประเมินการเรียนรู้ (2) • ลกั ษณะของการวัดประเมินตามสภาพจริง  ใช้วธิ ีการกระตุ้น/ท้าทายนิสิต/นักศึกษาให้ปฏิบตั ิการหรือแสดงออกในสภาพการณ์จริง (Performance in the field) ว่ามคี วามรู้/ความเข้าใจ ความสามารถ/ทกั ษะ และอารมณ์/ความรู้สึก เพยี งใด อย่างไร  กาหนดโจทย์ ให้ปฏบิ ตั ิหรือแก้ปัญหาโดยใช้กจิ กรรมหรืองานทอ่ี ยู่ในโลกแห่งความเป็ นจริง  ใช้เคร่ืองมอื และวธิ ีการวดั ประเมนิ ทห่ี ลากหลาย รวมท้งั สอดคล้องกบั ลกั ษณะผลการเรียนรู้ และบริบททตี่ ้องการวดั ประเมนิ มากยง่ิ ขนึ้  ผลการวดั ประเมนิ ทาให้ครูมสี ารสนเทศเพอื่ ใช้ตัดสินใจในกระบวนการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน มากขนึ้  มกี ฎเกณฑ์สำหรับใช้ในกำรวดั ประเมนิ (assessment rubrics)  เน้นให้ผู้เรียนสะท้อนผลการเรียนรู้และครูสะท้อนผลการจดั การเรียนรู้ของตน (self reflection) จากสารสนเทศผล การวดั ประเมนิ We do not learn from experience. We learn from reflecting on experience. John Dewey

กระบวนทศั น์ใหม่ในการวดั ประเมินการเรียนรู้ (3) การกาหนดสถานการณ์จริงและจาลอง (เสมอื นจริง) เป็ นฐานเพอ่ื ให้ผ้เู รียนตดั สินใจตอบ ให้พจิ ารณาการเลอื กซื้อตัว๋ รถไฟฟ้ า BTS ของเด็กชายมานะ ท่ใี ช้เดินทางไปกลบั ระหว่างบ้านท่สี ยาม และโรงเรียน สาธิตฯ มศว ว่าควรจะเลอื กซื้อต๋วั แบบใด 1. ตัว๋ เทย่ี วเดยี วราคา 25 บาท/เทย่ี ว 2. ตว๋ั เป็ นสัปดาห์ใช้ได้ 10 เทย่ี ว/สัปดาห์ ราคา 220 บาท/สัปดาห์ โดยทปี่ กตเิ ยน็ วนั พฤหัสบดแี ละเช้าวนั ศุกร์ คุณแม่ของเดก็ ชายมานะจะมาธุระท่ี มศว ประจา ทาให้เด็กชายมานะตดิ รถคุณแม่กลบั บ้านได้ จากเง่ือนไขดังกล่าว ถ้าคุณผู้ชมเป็ นเด็กชายมานะจะตัดสินใจเลอื กซื้อต๋ัวชนิดใด เพราะเหตุ ใดให้บอกเหตุผลประกอบ หมายเหตุ: ตวั อย่างนี่เหมาะสมสาหรับผ้เู รียนที่มวี ถิ ชี ีวติ อยู่ในในเมืองขนาดใหญ่ เช่น กทม. เท่าน้ัน 38

หลกั การ 10 ประการของการ วดั ประเมิน: การวดั ประเมนิ เพอ่ื การเรยี นรู้ การวดั ประเมินผูเ้ รยี นขณะ เรยี นรู้ และการวดั ประเมินการเรยี นรู้ From: Department of Education and Training, Australia : 2002 , อา้ งอิงในสมหวงั พิธิยานุวฒั น์ (2557,หนา้ 41)

ประเภทและลกั ษณะของการวดั ประเมินการเรียนรู้ ประเภทของการวดั ประเมนิ กระบวนทศั น์ จุดมุ่งหมายหลกั จุดมุ่งเน้น (Types of assessment) (Paradigm) (Main purpose) (Focus) การวดั ประเมนิ เพอ่ื การเรียนรู้ สรรค์สร้างนิยม เพอ่ื เข้าใจและปรับปรุง กระบวนการเรียนรู้ (Assessment For Learning): (Constructivism) การเรียนรู้ของผ้เู รียน (พฒั นา/ปรับปรุงการเรียนรู้) (ความแตกต่างระหว่างบุคคล) Formative assessment การวดั ประเมนิ ขณะเรียนรู้ พุทธิปัญญานิยม เพอ่ื พฒั นาให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง วธิ ีการเรียนรู้แบบกากบั ตนของ (Assessment As Learning): (Cognitivism) อย่างอสิ ระ (Autonomous or ผู้เรียน (ส่งเสริมการเรียนรู้ independent learners) แบบกากบั หรือนาตนเอง) Formative assessment พฤตกิ รรมนยิ ม (ส่ วนบุคคล) (Behaviorism) ผลการเรียนรู้ การวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ เพอื่ ตรวจสอบการบรรลุเป้ าหมาย (ตรวจสอบการเรียนรู้) (Assessment Of Learning): หรือวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ (แต่ละบุคคล) Summative assessment Berry (2008, pp. 9-11, อา้ งอิงในสมหวงั พิธิยานุวฒั น์ (2557)

กลยุทธ์ของการวดั ประเมินเพอ่ื การเรียนรู้ ผู้สอนกาลงั จะไปไหน (จะนาพาผู้เรียนไปทใ่ี ด) กลยุทธ์ท่ี 1: ให้ผ้เู รียนรู้และเข้าใจวสิ ัยทศั น์เกย่ี วกบั เป้ าหมายการเรียนรู้อย่างชัดเจน กลยทุ ธ์ท่ี 2: แบ่งปันตวั อย่างและตวั แบบงานทไี่ ด้เรียนรู้ (ท้งั ที่ดีและไม่ด)ี ให้ผ้เู รียนทราบ ผู้สอนอยู่ทใ่ี ดในเวลานี้ กลยทุ ธ์ท่ี 3: ให้สารสนเทศป้ อนกลบั (Feedback) แก่ผ้เู รียนอย่างสมา่ เสมอ กลยทุ ธ์ท่ี 4: สอนผู้เรียนต้งั เป้ าหมายและประเมนิ การเรียนรู้ของตนเอง ผ้สู อนจะสามารถจดั การเรียนรู้ไปสู่เป้ าหมายดงั กล่าวได้อย่างไร (จะปิ ดช่องว่างจุดเป้ าหมายทจ่ี ะไป-จุดทอ่ี ยู่ปัจจุบนั ) กลยทุ ธ์ท่ี 5: ออกแบบบทเรียนทเี่ น้นเป้ าหมายการเรียนรู้แบบแยกส่วน (มากกว่ารวมส่วนกนั อย่างหลากหลาย เป้ าหมาย) ในแต่ละคร้ัง กลยทุ ธ์ท่ี 6: สอนผ้เู รียนให้ทบทวนผลงานการเรียนรู้แต่ละคุณลกั ษณะในแต่ละเวลา กลยทุ ธ์ท่ี 7: ปลูกฝังผ้เู รียนให้คดิ สะท้อนกลบั (ใคร่ครวญไตร่ตรอง) เพอื่ กากบั ติดตามเรียนรู้ของตนเองและ แลกเปลย่ี นเรียนรู้กบั ผู้อนื่ Chappuis, 2009, p. 12; Citing in Stiggins & Chappuis, 2012, p. 30

หลกั การสาคัญให้สารสนเทศป้ อนกลบั (Feedback) เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ • ใช้กฎเกณฑ์/แนวทางการใว้คาะแนน (Scoring rubrics or guidelines) เป็ นแนวทางการให้สารสนเทศป้ อนกลบั เพอ่ื ความชัดเจน • เน้นการให้สารสนเทศป้ อนกลบั เชิงเปรียบเทยี บกบั เกณฑ์มาตรฐาน (มากกว่าการให้สารสนเทศป้ อนกลบั เชิงเปรียบเทยี บระหว่างผู้เรียนด้วยกนั ) • ส่งเสริมบรรยากาศในหมู่ผู้เรียนให้มีการวพิ ากษ์เชิงสร้างสรรค์ มกี ารคดิ ใคร่ครวญทวนสอบความคดิ และการเรียนรู้ของตนเอง และการยอมรับ จุดจากดั ทตี่ ้องพฒั นาปรับปรุง • ใช้ผลงานหรือทักษะจากการปฏิบตั งิ านของผ้เู รียนเทียบกบั เกณฑ์มาตรฐานแต่ละระดบั เพอ่ื บ่งชีข้ ้อดแี ละข้อจากดั ในการเรียนรู้ของผู้เรียน • ควรเกดิ ขนึ้ อย่างสมา่ เสมอตลอดกระบวนการเรียนรู้ (มิใช่เฉพาะตอนจบการสอนแต่ละหวั ข้อ) • ครู/อาจารย์และผ้เู รียนต้องเข้าใจร่วมกนั ว่าการให้สารสนเทศป้ อนกลบั ช่วยเออื้ อานวยให้เกดิ การเรียนรู้ ต้องเช่ือถอื และไว้วางใจระหว่างกนั • ควรรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อผดิ พลาดสาคญั (Key errors) ท่ีเกดิ จากการเรียนรู้ของผู้เรียนว่ามอี ะไรบ้าง เกดิ จากสาเหตุอะไร และจะให้ สารสนเทศป้ อนกลบั อะไรเพอื่ ช่วยให้ผู้เรียนหลกี เลย่ี งข้อผดิ พลาดเหล่าน้ัน (อาจกระทาผ่านกระบวนการวจิ ยั ในช้ันเรียน) • ใช้กลยุทธ์การเสริมแรงทางบวกด้วยการสื่อสารให้ผ้เู รียนรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง (Self-esteem) และรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) ในขณะให้สารสนเทศป้ อนกลบั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ • ส่ือสารด้วยถ้อยคาทางภาษาทีเ่ ข้าใจง่ายๆ ตรงประเดน็ ทต่ี ้องพฒั นาปรับปรุง และมรี ะดบั ความยากง่ายเหมาะสม (ไม่ง่ายเกนิ ไปจนขาดความ ท้าทาย หรือยากเกนิ ไปจนเกดิ ความท้อแท้ !!!)

หมายเหตุ: เรียนรู้ (Learn) เขา้ ใจ (Understand) สำรวจ สร้างสรรค์ (Create) สารวจ (Explore) เรียนร้อู ะไรนอกเหนือจาก และแบ่งปัน (Share) บทเรียนบ้าง มีสิ่งใดที่ทาผิดและ เรียนร้จู าก สิ่งผิดนัน้ อย่างไร แบ่งปัน การวหั ประเมินทกั ษะ สรำ้ งสรรค์ การเรียนรู้ใน ใช้ส่ิงท่ีได้เรียนรเู้ พื่อช่วยเหลือ ศตวรรษท่ี 21 มแี นวคดิ ความรู้ หรอื ความ บุคคล ชนั้ เรียน ชมชนหรอื เขา้ ใจใหมอ่ ะไรบา้ ง ท่ี สามารถนาเสนอได้ โลกอย่างไรบ้าง เข้ำใจ เรียนรู้ หลกั ฐานอะไรที่สามารถประยกุ ตก์ าร ร้อู ะไร และสามารถทาอะไร เรียนรใู้ นขอบเขตการรคู้ ิดหน่ึง ได้บ้าง ไปยงั ท่ีคล้ายๆ กนั กรอบแนวคดิ การวดั ประเมนิ ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ท่มี า: อ้างองิ จาก Reeves, 2010, p.312)

ประเดน็ การวดั ประเมนิ ในศตวรรษที่ 20 การวดั ประเมินในศตวรรษท่ี 21 ความเป็ น เน้นเปรียบเทยี บระหว่างผู้เรียน ผู้เรียนต้องเข้าสู่ เน้นสภาพการณ์แห่งความเป็ นจริง เงอื่ นไขการวดั ประเมนิ มาตรฐาน มาตรฐานการวดั ประเมนิ เดยี วกนั ผู้เรียนได้คะแนน จงึ ผนั แปรได้ ผู้เรียนต้องใช้ความคดิ สร้างสรรค์ และ เดยี วกนั จากการจดจาและทาตามกฎเกณฑ์ทจ่ี ัดวางไว้ โต้ตอบหาทางเลอื กหรือแก้ไขออกจากสถานการณ์ปัญหา จริงๆ ความลบั ของการ ความเป็ นธรรมพจิ ารณาจากการไม่มผี ู้เรียนใดล่วงรู้ ความเป็ นธรรมพจิ ารณาจากการทผี่ ู้เรียนได้เป็ นส่วนหน่ึง ข้อสอบก่อนหน้า (ผู้เรียนสะสมความรู้และจดจา ของกระบวนการวดั ประเมนิ (ผู้เรียนรู้สึกท้าทายต่อการวดั วดั ประเมนิ ได้มาก กจ็ ะทาข้อสอบได้มาก) ประเมนิ กดดนั น้อยลงเพราะได้เตรียมพร้อมก่อนล่วงหน้า) ความร่วมมือของ ความสาเร็จพจิ ารณาจากการเอาชนผู้เรียนคนอน่ื ๆ ความสาเร็จพจิ ารณาจากความพยายามของผู้เรียน ผู้เรียนในการวดั (ผู้เรียนต้องทาข้อสอบด้วยความสามารถของตน รายบุคคลและความร่วมมอื ของกลุ่ม (ความสามารถของ เพยี งลาพงั พงึ่ พาผู้อน่ื ไม่ได้) ผู้เรียนอย่างเดยี วยงั ไม่เพยี งพอต่อการอยู่ในโลกยุคดจิ ทิ อล) ประเมิน จุดเน้นการวดั เน้นใช้การวดั ประเมนิ ด้วยแบบทดสอบมาตรฐาน เน้นใช้การวดั ประเมนิ แบบองิ การปฏบิ ตั ิ และองิ การ ประเมนิ (โดยเฉพาะแบบเลอื กตอบ) และมุ่งตดั สินผลของการ แก้ปัญหา และในสภาพการณ์จริง (หรือในสถานการณ์ เรียนรู้มากกว่าปรับปรุงวธิ ีการเรียนรู้ของผู้เรียน เสมอื นจริง) มากขนึ้ กว่าเดมิ

แนวโน้มการวดั ประเมนิ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 การวัดประเมนิ แบบด้งั เดิม การวัดประเมนิ แบบสภาพการณ์จริง • อาศัยแนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลตามรูปแบบด้งั เดมิ • (อAาศltัยerแnนaวtiทvาeงaกsาsรesวsดั mปeรnะtเ)มจนิ ากตารมูปรแูปบแบบดบ้งั ทเดางมิ เลอื ก (ร่วมสมยั ) • มุ่งเน้นวดั ค่า (ท้งั ทเ่ี ป็ นตัวเลขและไม่เป็ นตวั เลข) แล้วประเมนิ • มุ่งเน้นวดั ค่าเพอ่ื ตัดสินผลการม/ี ไม่มที กั ษะทสี่ นใจ เพอ่ื พฒั นาปรับปรุงทกั ษะทสี่ นใจ • เป็ นอสิ ระจากบริบทช้ันเรียนและวฒั นธรรมการเรียนรู้ของ • ไม่เป็ นอสิ ระจากบริบทช้ันเรียนและวฒั นธรรมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน (จัดกระทา/ควบคุมสภาพการณ์วดั ผลและประเมนิ ผล ผู้เรียน (ปล่อยให้สภาพการณ์วดั ประเมนิ เป็ นไปตามธรรมชาติ) ให้เป็ นมาตรฐานเดยี วกนั ) • ใช้การวดั ประเมนิ ด้วยเทคนิควธิ ีทก่ี ลมกลนื กบั วถิ ีการเรียนรู้ • ใช้การวดั ทกั ษะด้วยแบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) โดยเฉพาะข้อสอบเลอื กตอบ (Multiple-choice items) และการดาเนินชีวติ ประจาวนั (Authentic assessment) หรือข้อคาถามปลายเปิ ด (Open-ended prompts) เช่น โดยเฉพาะการวดั ประเมนิ ทไ่ี ม่รบกวนสภาพการณ์ปกติ • California Critical Thinking Skills Test (Unobtrusive assessment) • the Cornell Critical Thinking Tests the Watson- • การสังเกตการณ์ • การใช้แฟ้ มหลกั ฐานร่องรอยบ่งชี้ Glaser Critical Thinking Appraisal • การสอบถามด้วยวาจา • การวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

ข้อควรพจิ ารณาในการออกแบบการวดั ประเมนิ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 • ควรใช้การวดั ประเมินหลากหลาย (Multiple • ควรกาหนดงานให้ผ้เู รียนต้องใช้เหตุผลและแสดง measures) เพอ่ื ให้ได้ข้อสรุปทม่ี คี วามถูกต้อง ความคิดทป่ี ระจักษ์ชัด เช่ือถอื ได้ • ควรสารวจแนวทางใหม่ๆ ทส่ี ามารถปรับขยายเพอื่ • ควรกาหนดสถานการณ์ปัญหาในการวดั ประเมินท่ี รองรับการวดั ประเมนิ ทักษะทส่ี นใจได้อย่างถูกต้อง ซับซ้อนและท้าทาย เชื่อถือได้ เม่ือคานึงถงึ เวลาและงบประมาณทใี่ ช้ • ควรใช้รูปแบบการตอบแบบปลายเปิ ด หรือกาหนด (Scalability concerns) งานให้ปฏิบตั ิแบบไม่กาหนดโครงสร้างเข็มงวด (Ill-structured tasks) • ควรกาหนดงานให้ปฏบิ ตั ทิ ี่มีความหมาย รวมท้งั อยู่ ในสภาพการณ์และบริบทของปัญหาในโลกแห่ง ความเป็ นจริง

ลกั ษณะของการวดั ประเมนิ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 • วดั ประเมนิ ตวั แปรเชิงโครงสร้างแนวใหม่และโมเดล/ตัวแบบการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การ ประสานพลงั ความร่วมมือ และการแก้ปัญหา • ให้สารสนเทศเพอ่ื การพฒั นา เป็ นประโยชน์ และเช่ือมโยงกบั แหล่งการเรียนรู้มากขนึ้ กว่าในอดตี • เป็ นพลวตั ปรับเหมาะ และตอบสนองต่อลกั ษณะส่วนบุคคลของผู้เรียน (ในฐานะผู้ถูกวดั ประเมนิ ) • ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียนทม่ี ีความต้องการพเิ ศษ เช่น ด้านสายตา หู และแขน/ขา • เน้นใช้หลกั ฐานแสดงการเรียนรู้เป็ นศูนย์กลางของการวดั ประเมิน • เป้ าหมายการรายงานผล -----> จะรายงานอะไรบ้าง • โมเดลหรือตัวแบบสมรรถนะของผู้เรียน (ได้แก่ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและคุณลกั ษณะพงึ ประสงค์) ----> คะแนนจากการวดั ประเมนิ สะท้อนสมรรถนะอะไรของผู้เรียนบ้าง • ตวั แบบหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ----> หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์อะไรบ้างทส่ี ามารถใช้สรุปอ้างองิ ได้ • ตัวแบบภาระงาน ----> คุณลกั ษณะสาคญั ๆ ของภาระงานทจ่ี ะใช้ในการรวบรวมหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์มอี ะไรบ้าง • ภาระงาน ----> ภาระงานอะไรบ้างทค่ี วรมอบหมายให้ผู้เรียน (ที่มา: Paris, 2014, Sep. 3th)

ลกั ษณะของการวดั ประเมนิ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 • ใช้สถานการณ์เป็ นฐาน (เพอ่ื ให้บริบทการวดั ประเมนิ เป็ นสภาพจริงมากขนึ้ ) • จดั เตรียมบริบททเ่ี ป็ นข้อความ รูปภาพ ภาพเคลอื่ นไหว สถานการณ์จาลองหรือเสมือนจริงในคอมพวิ เตอร์ • ใช้ข้อสอบ (หรือเคร่ืองมือ/วธิ ีการอน่ื ๆ ) หลายข้อ (หรือประเดน็ ) ในสถานการณ์เดยี วกนั • เปิ ดโอกาสให้ใช้กระบวนการซับซ้อน เช่น การสืบค้น การวเิ คราะห์ และการสังเคราะห์สารสนเทศ • สะท้อนความก้าวหน้าของการเรียนรู้ในสิ่งทถ่ี ูกประเมนิ • เน้นวดั ประเมนิ ทกั ษะด้านการพูดและสนทนามากขนึ้ (นอกจากการเขยี นตวั อกั ษร) • การให้คาอธิบายเหตุการณ์สาหรับครูและผู้เรียน • ความชัดเจนและความคล่องแคล่วในการพูดของครูภาษาต่างประเทศ • การสนทนาของบุคคลจริงๆ หรือตวั บุคคลจาลอง • ตรวจให้คะแนนและรายงานผลคะแนนอตั โนมตั ดิ ้วยคอมพวิ เตอร์ (เช่น Tablet & Labtop) • ใช้การตรวจให้คะแนนแบบอตั โนมัตสิ าหรับคาตอบท่ีมีรูปแบบซับซ้อน และการสนทนากบั ตวั ตนจาลอง เช่น e-rater ตรวจข้อสอบความเรียง; c-rater ตรวจข้อสอบแบบเตมิ คา; SpeechRater ตรวจการพดู อย่างเป็ นธรรมชาต;ิ m-rater ตรวจการใช้สัญลกั ษณ์ รูป และแผนภาพทางคณติ ศาสตร์ (ทมี่ า: Paris, 2014, Sep. 3th)

กลยทุ ธ์ของการวดั ประเมนิ เพอ่ื การเรียนรู้ การวดั ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนในโลกศัตวรรษที่ 21 • บริบทหรือเงอื่ นไขการวดั ประเมินผนั แปรได้ (มากกว่าการอยู่ภายใต้เพยี งมาตรฐานเดยี ว) • สภาพการประเมินสอดคล้องกับ “โลกคาวามเป็ นจริง” (Real world situation) • เน้นการวดั ประเมนิ กระบวนการและผลผลติ ของการทาโครงการ (Projects) หรืองาน (Tasks) ท่กี าหนดให้ปฏบิ ัติ (Project/Task-Based learning) • เน้นนาผลการวดั ประเมนิ เป็ นสารสนเทศป้ อนกลบั ไปสนับสนุนการเรียนรู้ท้ังของผ้เู รียนและผู้สอน • เน้นวดั ประเมนิ และรายงานผลการประเมนิ การเรียนรู้ในรูปทีมงาน (Team results) (มากกว่ารายบุคคลรายบุคคล) • เปิ ดเผยขอบข่ายเนือ้ หาและเกณฑ์การวดั ประเมนิ กว้างๆ ให้ผู้เรียนทราบ (มากกว่าปกปิ ดไว้เป็ นความลับ) • สนับสนุนให้ผู้เรียนประเมนิ กระบวนการและผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-assessment) (Reeves, 2010; Shepard et. al., 2005)

กลยทุ ธ์ของการวดั ประเมนิ เพอ่ื การเรียนรู้ การวดั ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนในโลกศตวรรษท่ี 21 • การสร้างสรรค์ (ริเริ่มความคดิ ใหม่ ผสมผสานความคดิ ใหม่กบั ความคิดเดมิ ประยุกต์ความคดิ ใหม่กบั สถานการณ์จริง) • การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ (คดิ ใคร่ครวญไตร่ตรอง คดิ แก้ไขปัญหา สังเคราะห์สารสนเทศ และทาความเข้าใจความหมายโดยนัย ) • การทางานเป็ นทีม (ทาหน้าทตี่ ามบทบาทในทมี อย่างเต็มศักยภาพ เคารพสมาชิกในทมี และกระตุ้น/สร้างแรงจูงใจสมาชิกในทมี ) • การสื่อสารอย่างมปี ระสิทธิภาพ (ส่ือสารประเภทต่างๆ อย่างมปี ระสิทธิภาพ ส่ือสารกบั ผู้รับสารทห่ี ลากหลายด้วยหลายรูปแบบ ) • การรู้สารสนเทศและดจิ ิทอล (เข้าถึงและค้นหาสารสนเทศ วิเคราะห์และประเมนิ ค่าของสารสนเทศ ใช้และจดั การสารสนเทศ ประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างมปี ระสิทธิภาพ) • ความเป็ นพลเมอื งดี (ความรู้เกย่ี วกบั ความเป็ นพลเมอื ง เข้าร่วมกระบวนการพลเมอื ง ปฏบิ ตั แิ ละจัดการการเปลยี่ นแปลง เคารพ ผู้อน่ื มคี ุณธรรมจริยธรรม) • ทกั ษะชีวติ (เรียนรู้แบบกากบั ตนเอง บริหารจัดการเวลา กาหนดเป้ าหมาย ปรับตัวและยดื หยุ่น) (ทม่ี า: Paris, 2014, Sep. 3th)