Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๒๙๔ สิกขาบทที่บัญญัติ ณ กรุงสาวัตถี ใช้ฟ้อน Thai sarabun pali[1589]

๒๙๔ สิกขาบทที่บัญญัติ ณ กรุงสาวัตถี ใช้ฟ้อน Thai sarabun pali[1589]

Published by wichit1588, 2018-06-15 14:07:45

Description: ๒๙๔ สิกขาบทที่บัญญัติ ณ กรุงสาวัตถี ใช้ฟ้อน Thai sarabun pali[1589]

Search

Read the Text Version

๒๙๔ สกิ ขาบททบ่ี ญั ญตั ิ ณ กรงุ สาวตั ถี๑. ปาราชิก ๔ สิกขาบท ๒. สังฆาทเิ สส ๑๖ สิกขาบท ๓. อนยิ ต ๒ สิกขาบท ๕. ปาฏิเทสนียะ ๑๐ สกิ ขาบท๔. นสิ สคั คยี ์ ๒๔ สกิ ขาบท(๒๒) ๔. ปาจติ ตยี ์ ๑๕๖ สิกขาบท๖. เสขยิ วัตร ๗๒ สกิ ขาบทหนังสอื ทใี่ ชป้ ระกอบ/อา้ งองิ๑. พระพุทธโฆสเถระรจนา กงฺขาวิตรณอี ฏฐฺ ฃถกถา กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพว์ ิญญาณ ๒๕๓๙๒. พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบับมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๓๙ ๒.๑ พระวนิ ยั ปฎิ ก มหาวิภังค์ ภาค ๑ (วินยั . ๑) ๒.๒ พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒ (วินัย. ๒) ๒.๓ พระวนิ ยั ปิฎก ภิกขนุ วี ิภงั ค์ (วนิ ยั . ๓) ๒.๔ พระวินยั ปิฎก ปริวาร (วินัย. ๘)๓. พระมหาธิติพงศ์ อุตตมปญโฺ ญ ภิกขปุ าตโิ มกข์แปล พรอ้ มมาติกาสาหรบั วนิ จิ ฉยั สิกขาบท พมิ พ์คร้ังท่ี ๒กรงุ เทพมหานคร: หา้ งห้นุ สว่ นจากดั ประยรู สาส์นไทย การพมิ พ์ ๒๕๖๐๔. พระพทุ ธโฆสาจารย์ รจนา พระคนั ธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย กังขาวิตรณี คมั ภีรอ์ รรถกถาของปาตโิ มกข์ เล่ม ๑ กรุงเทพมหานคร: หา้ งหุ้นส่วนจากัด ประยรู สาส์นไทย การพมิ พ์ ๒๕๕๖๕. พระพุทธโฆสาจารย์ รจนา พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย กงั ขาวติ รณี คัมภีรอ์ รรถกถาของปาติโมกข์ เล่ม ๒ กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากดั ประยรู สาสน์ ไทย การพมิ พ์ ๒๕๕๗หนังสอื ทใ่ี ชป้ ระกอบ/อา้ งองิ ที่ใช้มาก มี ๖ เล่ม คือลาดับที่ ๑ - ๓ ส่วนลาดบั ที่ ๔ ๕ ดูประกอบ บาลีทกุ สิกขาบท ดใู น กงขฺ าวิตรณีอฏฺฐฃถกถา คาแปล ดใู น พระวนิ ัยปฎิ ก มหาวิภงั ค์ ภาค ๑-๒ และภกิ ขุนวี ิภงั ค์ สถานท่ี ดูใน กงขฺ าวิตรณอี ฏฺฐฃถกถา, พระวนิ ัยปฎิ ก ปรวิ าร และ ภกิ ขปุ าตโิ มกขแ์ ปลฯ บุคคล ดใู น กงขฺ าวิตรณีอฏฐฺ ฃถกถา, พระวนิ ัยปฎิ ก ปริวาร และ ภกิ ขุปาติโมกข์แปลฯ มลู เหตุ ดูใน กงฺขาวติ รณอี ฏฐฺ ฃถกถา, พระวินัยปิฎก ปรวิ าร และ ภิกขปุ าตโิ มกข์แปลฯ บญั ญตั ิ ดูใน กงฺขาวติ รณอี ฏฐฺ ฃถกถา, พระวินยั ปิฎก ปรวิ าร และ ภิกขปุ าตโิ มกขแ์ ปลฯ ประเภทบญั ญัติ ดใู น กงขฺ าวิตรณีอฏฺฐฃถกถา, พระวินยั ปิฎก ปรวิ าร และ ภิกขปุ าตโิ มกข์แปลพรอ้ มมาติกาสาหรบั วนิ จิ ฉัยสกิ ขาบท ของพระมหาธิติพงศ์ อุตตมปญฺโญ

๑. ปาราชกิ ๔ สกิ ขาบท อสาธารณปาราชกิ ๔ สกิ ขาบท๑ อุพภชาณมุ ณั ฑลิกาสิกขาบท ๑. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี อวสสฺ ตุ า อวสสฺ ตุ สสฺ ปรุ สิ ปคุ คฺ ลสสฺ อธกฺขก อพุ ภฺ ชาณมุ ณฑฺ ล อามสน วาปรามสน วา คหณ วา ฉปุ น วา ปฏปิ ีฬน วา สาทเิ ยยยฺ อยมปฺ ิ ปาราชกิ า โหติ อสวาสา อุพภฺ ชาณุมณฺฑลกิ า๒ กภ็ ิกษุณีใดกาหนัดยนิ ดีการจับตอ้ ง การลบู คลา การจับ การต้อง หรือการบีบของชายผู้กาหนดับริเวณใตร้ ากขวญั ลงมาเหนือเข่าข้ึนไป แม้ภกิ ษณุ ี นีเ้ ป็นปาราชิกที่ช่ือว่าอุพภชาณมุ ณั ฑลิกา หาสงั วาสมไิ ด้ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุณสี นุ ทรีนันทา ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษณุ ีสุนทรนี ันทามคี วามกาหนดั ยนิ ดกี ารจับต้องถูกต้องกายกบั ชายผูก้ าหนัดทบ่ี ริเวณใตร้ ากขวญั ลงมาเหนือเขา่ ข้ึนไป ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญตั ิเฉพาะภกิ ษุณี วชั ชปั ปฏจิ ฉาทกิ าสกิ ขาบท ๒. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี ชาน ปาราชกิ ธมมฺ อชฌฺ าปนนฺ ภิกขฺ นุ ึ เนว อตตฺ นา ปฏโิ จเทยยฺ , น คณสสฺอาโรเจยยฺ , ยทา จ สา ฐฃติ า วา อสสฺ จตุ า วา นาสติ า วา อวสสฺ ฏา วา, สา ปจฉฺ า เอว วเทยยฺ “ปพุ เฺ พวาห อยฺเยอญญฺ าสึ เอต ภกิ ฺขนุ ึ ‘เอวรปู า จ เอวรปู า จ สา ภคนิ ี’ต,ิ โน จ โข อตตฺ นา ปฏโิ จเทสสฺ , น คณสสฺอาโรเจสสฺ นฺ”ติ อยมปฺ ิ ปาราชกิ า โหติ อสวาสา วชชฺ ปฏจิ ฉฺ าทกิ า๓ กภ็ ิกษณุ ีใดร้อู ยู่ไม่ทักท้วงภกิ ษุณผี ู้ต้องธรรมคือปาราชิกด้วยตนเอง ไม่บอกแก่คณะ ก็ในกาลใดภกิ ษุณนี น้ั ยงั ครองเพศอยู่ก็ดี เคลื่อนไปก็ดี ถกู นาสนะกด็ ี ไปเขา้ รีตก็ดี ภายหลงั ภิกษณุ ผี ู้รูเ้ ร่ืองน้ันพงึ กล่าวอยา่ งนว้ี า่ “แม่เจ้า เมื่อก่อนดฉิ นั รู้จกั ภิกษุณนี ี้ดีวา่ นางมีความประพฤติอย่างนี้ๆ แต่ดิฉันไม่ได้โจทด้วยตนเอง ไม่ได้บอกแก่คณะ แม้ภกิ ษุณนี เ้ี ป็นปาราชิกทช่ี ื่อว่าวัชชปฏิจฉาทิกา หาสงั วาสมไิ ด้ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี๔ ๒) บุคคลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ีถุลลนนั ทา ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษณุ ีถลุ ลนันทารอู้ ยู่ ไม่ทกั ทว้ งภกิ ษุณผี ู้ต้องธรรมคือปาราชิกด้วยตนเอง ไม่บอกแก่คณะ ๑ ว.ิ ภิกขนุ .ี (ไทย) ๓/บทนำ/หนำ้ [๙] ๒ กงฺขำ.อฏฺ. ๔๙ ๓ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๔๙ ๔ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๐๓/๒๐๖

๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บญั ญัติเฉพาะภิกษณุ ี อกุ ขติ ตานวุ ตั ติกาสิกขาบท ๓. ยา ปน ภกิ ฺขนุ ี สมคเฺ คน สงเฺ ฆน อกุ ขฺ ิตตฺ ภิกขฺ ุ ธมเฺ มน วนิ เยน สตถฺ สุ าสเนน อนาทร อปปฺ ฏิการอกตสหาย ตมนวุ ตเฺ ตยยฺ , สา ภกิ ฺขนุ ี ภกิ ขฺ นุ หี ิ เอวมสสฺ วจนยี า “เอโส โข อยเฺ ย ภกิ ฺขุ สมคเฺ คน สงฺเฆนอกุ ฺขติ โฺ ต, ธมเฺ มน วนิ เยน สตฺถสุ าสเนน อนาทโร อปปฺ ฏกิ าโร อกตสหาโย, มายเฺ ย เอต ภกิ ขฺ ุ อนวุ ตตฺ ี”ต,ิเอวญจฺ สา ภกิ ขฺ นุ ี ภกิ ฺขนุ หี ิ วจุ จฺ มานา ตเถว ปคคฺ ณเฺ หยยฺ , สา ภิกขฺ นุ ี ภกิ ขฺ นุ หี ิ ยาวตตยิ สมนภุ าสติ พพฺ าตสสฺปฏนิ สิ สฺ คคฺ าย, ยาวตตยิ เจ สมนภุ าสยิ มานา ต ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ , อจิ เฺ จต กสุ ล, โน เจ ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ , อยมฺปิปาราชกิ า โหติ อสวาสา อุกขฺ ติ ฺตานวุ ตตฺ กิ า.๕ ก็ภกิ ษณุ ีใดประพฤติตามภิกษุผูถ้ กู สงฆ์พรอ้ มเพรยี งกนั ลงอุกเขปนยี กรรมโดยธรรม โดยวนิ ัย โดยสตั ถุศาสนน์ น้ั ผูไ้ มเ่ อือ้ เฟ้ือ สงฆ์ยงั ไม่รับรอง ยังไม่ไดท้ าภกิ ษุผมู้ สี ังวาสเสมอกันให้เป็นสหาย ภกิ ษณุ ีนนั้ อนัภิกษุณที ง้ั หลายพึงวา่ กลา่ วตักเตอื นอย่างนวี้ า่ “แม่เจา้ ภกิ ษุนน่ั ถูกสงฆ์พรอ้ มเพรยี งกนั ลงอุกเขปนยี กรรมโดยธรรม โดยวินยั โดยสัตถศุ าสน์ เป็นผไู้ มเ่ อ้ือเฟอื้ สงฆย์ ังไม่รับรอง ยงั ไม่ได้ทาภิกษุผูม้ ีสงั วาสเสมอกันให้เป็นสหาย แม่เจา้ อยา่ ประพฤติ ตามภกิ ษุน่นั ภกิ ษณุ ีนนั้ ผู้อนั ภิกษณุ ีทัง้ หลายว่ากลา่ วอยู่อยา่ งน้ี ยังยกยอ่ งอยอู่ ยา่ งน้ัน ภิกษณุ ีนั้นอนั ภิกษุณที ้งั หลายพึงสวดสมนภุ าสน์จนครบ ๓ คร้ังเพ่ือให้ สละเรือ่ งนน้ั ถา้ นางกาลงั ถูกสวดสมนภุ าสน์กวา่ จะครบ ๓ คร้ัง สละเรื่องนั้นได้ น่นั เป็นการดี ถ้านางไมส่ ละ แมภ้ กิ ษณุ นี ้ีก็เป็นปาราชิกช่อือุกขิตตานุวตั ติกา หาสงั วาสมิได้ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี๖ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุณีถลุ ลนนั ทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุณถี ลุ ลนันทาประพฤติตามภิกษุช่ืออรฏิ ฐะผู้เป็นบุรุษนายพรานผฆู้ ่านกแรง้ ท่สี งฆพ์ ร้อมเพรียงกันลงอกุ เขปนียกรรม ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบัญญตั เิ ฉพาะภิกษณุ ี อัฏฐวตั ถกุ าสกิ ขาบท ๔. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี อวสสฺ ตุ า อวสสฺ ตุ สสฺ ปรุ สิ ปคุ คฺ ลสสฺ หตถฺ คหณ วา สาทเิ ยยยฺ สงฺฆาฏกิ ณณฺ คหณวา สาทเิ ยยยฺ สนตฺ ฏิ เฺ ฐฃยยฺ วา สลลฺ เปยยฺ วา สงเฺ กต วา คจเฺ ฉยยฺ ปรุ สิ สสฺ วา อพภฺ าคมน สาทเิ ยยยฺ ฉนนฺ วา ๕ กงฺขำ.อฏฺ. ๕๐ ๖ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๐๔/๒๐๗

อนปุ วเิ สยยฺ กาย วา ตทตถฺ าย อปุ สหเรยยฺ เอตสสฺ อสทธฺ มฺมสสฺ ปฏเิ สวนตถฺ าย อยมปฺ ิ ปาราชิกา โหติ อสวาสาอฏฐฺ ฃวตถฺ ุกา๗ ก็ภกิ ษณุ ีใดกาหนัดพึงยินดีการจบั มือ ยนิ ดีการท่ีชายผ้กู าหนดั จับมุมสงั ฆาฏิ ยืนเคยี งคู่กนั กบั ชายสนทนากัน ไปทีน่ ัดหมาย ยินดกี ารท่ชี ายมาหา เดนิ ตามเข้าไปส่ทู ลี่ ับ หรือนอ้ มกายเข้าไปเพ่ือคลุกคลีกันดว้ ยกายน้นั เพื่อจะเสพอสทั ธรรมนน้ั กบั ชายผูก้ าหนัด แมภ้ กิ ษุณนี ี้เปน็ ปาราชิกชอื่ อฏั ฐวตั ถกุ า หาสังวาสมิได้ ๑) สถานท่ีบญั ญตสิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุณีฉพั พัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ฉี ัพพัคคยี ์ ทาวตั ถคุ รบทัง้ ๘ ประการ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั เิ ฉพาะภิกษณุ ี ๗ กงฺขำ.อฏฺ. ๕๐

๒. สงั ฆาทเิ สส ๑๖ สกิ ขาบท สกุ กวสิ ฏั ฐสิ กิ ขาบท ๑. สญฺเจตนกิ า สกุ กฺ วิสสฺ ฏฐฺ ฃิ อญฺญตรฺ สปุ นิ นตฺ า, สงฆฺ าทเิ สโส.๘ ภิกษจุ งใจทาน้าอสุจใิ หเ้ คลอ่ื น เปน็ สงั ฆาทเิ สส ยกเวน้ ไวแ้ ต่ฝัน ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี๙ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระเสยยสกะ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระเสยยสกะพยายามใชม้ ือทาน้าอสุจิใหเ้ คล่ือน ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๑ พระอนุบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญตั เิ ฉพาะภิกษุ กายสงั สัคคสกิ ขาบท ๒. โย ปน ภกิ ขฺ ุ โอตณิ โฺ ณ วปิ ริณเตน จิตเฺ ตน มาตคุ าเมน สทธฺ ึ กายสสคฺค สมาปชเฺ ชยยฺหตฺถคฺคาห วา เวณิคคฺ าห วา อญฺญตรสสฺ วา อญญฺ ตรสสฺ วา องฺคสสฺ ปรามสน, สงฆฺ าทเิ สโส.๑๐ ก็ภิกษุใดถกู ราคะครอบงาแลว้ มีจติ แปรปรวน ถกู ต้องกายกับมาตุคาม คือ จบั มือ จบั ชอ้ งผมหรือลูบคลาอวยั วะสว่ นใดสว่ นหนึ่ง เป็นสังฆาทิเสส ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี๑๑ ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ พระอุทายี ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอุทายถี ูกต้องกายกับมาตุคาม ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั เิ ฉพาะภกิ ษุ ทฏุ ถลุ ลวาจาสกิ ขาบท ๓. โย ปน ภกิ ขฺ ุ โอตณิ โฺ ณ วปิ ริณเตน จติ เฺ ตน มาตคุ าม ทฏุ ฐฺ ฃลุ ลฺ าหิ วาจาหิ โอภาเสยยฺ ยถา ต ยวุ ายวุ ตึ เมถนุ ุปสหติ าห,ิ สงฆฺ าทเิ สโส.๑๒ กภ็ ิกษุใดถูกราคะครอบงาแลว้ มจี ติ แปรปรวน พดู เกี้ยวมาตุคาม ดว้ ยวาจาชว่ั หยาบ พาดพงิ เมถนุเหมอื นชายหนุ่มพูดเกยี้ วหญิงสาว เปน็ สังฆาทเิ สส ๘ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๔ ๙ วิ.ป. (ไทย) ๘/๘/๑๐ ๑๐ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๔ ๑๑ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๙/๑๔ ๑๒ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๔

๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอทุ ายี ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอุทายีพดู เกยี้ วมาตุคามดว้ ยวาจาชว่ั หยาบ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัตเิ ฉพาะภกิ ษุ อัตตกามปารจิ รยิ สิกขาบท ๔. โย ปน ภกิ ขฺ ุ โอติณโฺ ณ วปิ ริณเตน จิตเฺ ตน มาตุคามสสฺ สนตฺ เิ ก อตตฺ กามปารจิ รยิ าย วณณฺภาเสยยฺ “เอตทคคฺ ภคนิ ิ ปารจิ รยิ าน ยา มาทสิ สลี วนตฺ กลยฺ าณธมมฺ พรฺ หมฺ จารึ เอเตน ธมเฺ มนปรจิ เรยยฺ า”ติ เมถนุ ปุ สหเิ ตน, สงฺฆาทเิ สโส.๑๓ ก็ ภกิ ษใุ ดถกู ราคะครอบงาแล้ว มีจิตแปรปรวน กล่าวสรรเสริญการบาเรอความใคร่ของตนตอ่ หน้ามาตุคาม ดว้ ยคาที่พาดพงิ เมถนุ ว่า “น้องหญิง หญงิ ใดบาเรอผปู้ ระพฤติพรหมจรรย์ ผู้มีศลี มกี ลั ยาณธรรมเช่นเราด้วยธรรมนั่น การบาเรอนี้ของหญิง นนั้ เป็นการบาเรอชน้ั ยอด” เป็นสงั ฆาทิเสส๑๔ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอทุ ายี ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุทายกี ลา่ วสรรเสริญการบาเรอความใครข่ องตนต่อหนา้ มาตุคาม ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญตั ิเฉพาะภิกษุ สญั จรติ ตสกิ ขาบท ๕. โย ปน ภกิ ขฺ ุ สญจฺ รติ ฺต สมาปชเฺ ชยยฺ อติ ถฺ ยิ า วา ปรุ สิ มตึ ปรุ สิ สสฺ วา อติ ถฺ มิ ตึ ชายตฺตเน วาชารตตฺ เน วา, อนตฺ มโส ตงขฺ ณกิ ายปิ, สงฆฺ าทเิ สโส.๑๕ อนึง่ ภกิ ษุใดทาหนา้ ทชี่ กั สือ่ คือ บอกความประสงคข์ องชายแก่หญงิ กด็ ี บอกความประสงค์ของหญิงแกช่ ายกด็ ี เพ่ือใหเ้ ปน็ ภรรยาหรอื เป็นชูร้ ัก โดยทส่ี ดุ แม้เพ่ือให้อย่รู ว่ มกันช่ัวคราว เป็นสังฆาทิเสส๑๖ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอทุ ายี ๑๓ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๔ ๑๔ วิ.มหำ. (ไทย) ๑/๒๙๑/๓๓๐ ๑๕ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๔-๕ ๑๖ ว.ิ มหำ. (ไทย) ๑/๓๐๑/๓๔๔

๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอุทายที าหนา้ ท่ีชักสอื่ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๑ พระอนบุ ญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบญั ญตั ิเฉพาะภกิ ษุ กุลทสู กสกิ ขาบท ๑๓. ภกิ ฺขุ ปเนว อญญฺ ตร คาม วา นิคม วา อปุ นสิ สฺ าย วหิ รติ กลุ ทสู โก ปาปสมาจาโร, ตสสฺ โขปาปกา สมาจารา ทสิ สฺ นตฺ ิ เจว สยุ ยฺ นตฺ ิ จ, กลุ านิ จ เตน ทฏุ ฐฺ ฃานิ ทสิ สฺ นตฺ ิ เจว สยุ ยฺ นตฺ ิ จ, โส ภกิ ขฺ ุภกิ ฺขหู ิ เอวมสสฺ วจนโี ย “อายสฺมาโข กลุ ทสู โก ปาปสมาจาโร, อายสมฺ โต โข ปาปกา สมาจารา ทสิ สฺ นตฺ ิ เจวสยุ ยฺ นฺติ จ, กลุ านิ จายสฺมตา ทฏุ ฐฺ ฃานิ ทสิ สฺ นตฺ ิ เจว สุยยฺ นตฺ ิ จ, ปกฺกมตายสฺมา อิมมหฺ า อาวาสา, อล เต อธิ วาเสนา”ต,ิ เอวญฺจ โส ภกิ ขฺ ุ ภกิ ฺขหู ิ วจุ จฺ มาโน เต ภกิ ขฺ ู เอว วเทยยฺ “ฉนฺทคามโิ น จ ภกิ ขฺ ู โทสคามโิ น จ ภกิ ฺขูโมหคามโิ น จ ภกิ ขฺ ู ภยคามโิ น จ ภกิ ขฺ ู ตาทสิ กิ าย อาปตตฺ ยิ า เอกจจฺ ปพฺพาเชนตฺ ,ิ เอกจจฺ น ปพฺพาเชนตฺ ี”ต,ิโส ภกิ ขฺ ุ ภกิ ฺขหู ิ เอวมสสฺ วจนโี ย “มายสมฺ า เอว อวจ, น จ ภกิ ฺขู ฉนฺทคามโิ น, น จ ภกิ ขฺ ู โทสคามโิ น, น จ ภกิ ขฺ ูโมหคามโิ น, น จ ภกิ ขฺ ู ภยคามโิ น, อายสมฺ าโข กลุ ทสู โก ปาปสมาจาโร, อายสมฺ โต โข ปาปกา สมาจารา ทสิ ฺสนตฺ ิ เจวสยุ ยฺ นฺติ จ, กลุ านิ จายสฺมตา ทฏุ ฐฺ ฃานิ ทสิ สฺ นตฺ ิ เจว สยุ ยฺ นตฺ ิ จ, ปกกฺ มตายสฺมา อมิ มหฺ า อาวาสา, อล เต อธิ วาเสนา”ต,ิ เอวญจฺ โส ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ ูหิ วจุ จฺ มาโน ตเถว ปคคฺ ณเฺ หยยฺ , โส ภกิ ฺขุ ภกิ ฺขหู ิ ยาวตตยิ สมนภุ าสติ พโฺ พ ตสสฺปฏนิ สิ สฺ คคฺ าย, ยาวตตยิ ญเฺ จ สมนภุ าสยิ มาโน ต ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ , อจิ ฺเจต กุสล, โน เจ ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ ,สงฺฆาทเิ สโส.๑๗ ก็ ภกิ ษุอยู่อาศัยหม่บู ้านหรอื นคิ มแห่งใดแหง่ หนง่ึ ประทษุ รา้ ยตระกูล มีความประพฤติเลวทรามความประพฤติเลวทรามของเธอ เขาได้เหน็ และไดย้ ินกันท่ัว ตระกลู ท้ังหลายที่เธอประทุษรา้ ย เขาก็ไดเ้ ห็นและได้ยนิ กนั ทวั่ ภกิ ษุนนั้ อันภิกษุท้งั หลายพึงวา่ กล่าวตกั เตือนอย่างน้วี ่า “ท่านประทษุ รา้ ยตระกลู ประพฤติเลวทราม ความประพฤตเิ ลวทรามของท่าน เขาไดเ้ หน็ และได้ยินกันทวั่ ตระกลู ทั้งหลายท่ีทา่ นประทุษรา้ ย เขาก็ได้เหน็ และไดย้ ินกันทว่ั ทา่ นจงออกจากอาวาสนี้ อยา่ อยู่ท่ีน้ี” และภิกษนุ ัน้ อนั ภิกษุทัง้ หลายวา่ กลา่ วตกั เตือนอยู่อยา่ งนี้ ก็โตต้ อบภิกษุทัง้ หลายวา่ “พวกภกิ ษลุ าเอียงเพราะความพอใจ ลาเอยี งเพราะความขดั เคือง ลาเอยี งเพราะความหลง และลาเอียงเพราะความกลวั ขับภกิ ษุบางรปู ไม่ขบั บางรูป เพราะอาบัตอิ ย่างเดยี วกัน” ภกิ ษุนัน้ อนั ภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวตักเตอื นอยา่ งนวี้ ่า “ทา่ นอย่าพูดอยา่ งนัน้ ภกิ ษุทั้งหลายไมล่ าเอยี งเพราะความพอใจ ไม่ลาเอยี งเพราะความขัดเคือง ไม่ลาเอียงเพราะความหลง และไมล่ าเอยี งเพราะความกลวั ทา่ นประทุษรา้ ยตระกลู ประพฤติเลวทราม ความประพฤตเิ ลวทรามของทา่ น เขาได้เห็นและไดย้ นิ กนั ท่วั ตระกลูท้งั หลายที่ท่านประทุษรา้ ย เขาก็ไดเ้ ห็นและไดย้ นิ กนั ทวั่ ท่านจงออกจากอาวาสนี้ อย่าอยู่ทน่ี ”ี้ ภกิ ษุนนั้ อันภิกษทุ งั้ หลายว่ากล่าวตกั เตือนอยู่อยา่ งน้ี กย็ ังยกย่องอยู่อยา่ งน้นั ภิกษุน้ันอันภกิ ษุท้งั หลายพึงสวดสมนุภาสน์ ๑๗ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๗-๘

จนครบ ๓ คร้ังเพอ่ื ให้ สละเรื่องน้ัน ถ้าเธอกาลงั ถูกสวดสมนุภาสน์กวา่ จะครบ ๓ ครั้ง สละเร่ืองน้ันได้ น่นั เปน็การดี ถ้าเธอไม่สละ เปน็ สงั ฆาทิเสส ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถ๑ี ๘ ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ พระอัสสชิและพระปนุ ัพพสกุ ะ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอสั สชิและพระปนุ พั พสุกะ ถูกสงฆ์ลงปพั พาชนียกรรมแล้วกลับกลา่ วหาวา่ พวกภิกษลุ าเอยี งเพราะชอบ ลาเอยี งเพราะชงั ลาเอยี งเพราะหลงลาเอยี งเพราะกลัว ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัตทิ ่วั ไปทั้งภกิ ษุและภกิ ษุณี เฉพาะภกิ ษุณี อุสสยวาทิกาสกิ ขาบท ๑. ยา ปน ภกิ ฺขนุ ี อสุ สฺ ยวาทิกา วหิ เรยยฺ คหปตนิ า วา คหปตปิ ตุ เฺ ตน วา ทาเสน วา กมฺมกาเรน วาอนตฺ มโส สมณปริพพฺ าชเกนาปิ, อยมปฺ ิ ภิกขฺ นุ ี ปฐมาปตตฺ ิก ธมมฺ อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยี สงฺฆาทเิ สส๑๙ ก็ภกิ ษณุ ีใดก่อคดีพิพาทกบั คหบดี กับบตุ รคหบดี กับทาส หรอื กบั กรรมกร โดยท่ีสดุ กระท่ังกบัสมณปริพาชก ภกิ ษณุ ีนต้ี ้องธรรมคอื สังฆาทิเสสทีช่ ือ่ วา่ ปฐมาปตั ติกะ นสิ สารณียะ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถ๒ี ๐ ๒) บุคคลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษณุ ีถลุ ลนนั ทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษณุ ถี ุลลนันทาก่อคดีพพิ าท ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบัญญัตเิ ฉพาะภกิ ษณุ ี โจรวี ฏุ ฐาปิกาสิกขาบท ๒. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี ชาน โจรึ วชฌฺ วทิ ิต อนปโลเกตวฺ า ราชาน วา สงฆฺ วา คณ วา ปคู วา เสณึ วาอญฺญตรฺ กปปฺ า วฏุ ฐฺ ฃาเปยยฺ อยมปฺ ิ ภกิ ขฺ นุ ี ปฐฃมาปตตฺ ิก ธมมฺ อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยี สงฆฺ าทิเสส๒๑ ๑๘ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๐/๒๐ ๑๙ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๕๑ ๒๐ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๐๗/๒๐๙ ๒๑ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๕๑

ก็ภกิ ษุณีใดรู้อยู่ไมบ่ อกพระราชา สงฆ์ คณะ สมาคม หรือ กลุม่ ชนใหท้ ราบ บวชให้สตรีผู้เป็นโจรซึ่งเป็นทรี่ กู้ นั ว่าต้องโทษประหาร เว้นไว้แตส่ ตรีท่สี มควร แม้ภกิ ษุณนี ้กี ็ต้องธรรมคอื สังฆาทิเสสทีช่ ่ือว่าปฐมาปตั ติกะ นสิ สารณียะ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถ๒ี ๒ ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษณุ ีถุลลนันทา ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณถี ลุ ลนันทาบวชใหส้ ตรีผเู้ ป็นโจร ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบญั ญตั ิเฉพาะภิกษณุ ี เอกคามนั ตรคมนสกิ ขาบท ๓. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี เอกา วา คามนฺตร คจเฺ ฉยยฺ , เอกา วา นทีปาร คจฺเฉยยฺ , เอกา วา รตตฺ ึวปิ ปฺ วเสยยฺ เอกา วา คณมหฺ า โอหิเยยยฺ , อยมปฺ ิ ภิกขฺ นุ ี ปฐฃมาปตตฺ ิก ธมฺม อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยี สงฆฺ าทิเสส๒๓ อนงึ่ ภิกษณุ ีใดไปสลู่ ะแวกหมู่บา้ นรปู เดียว ข้ามฝง่ั แม่น้ารูปเดียว ออกไปอยู่พักแรมในราตรีรูปเดยี วหรือปลีกตัวจากคณะอยู่รปู เดียว แม้ภิกษุณนี ี้กต็ อ้ งธรรมคอื สังฆาทเิ สส ท่ชี ่ือวา่ ปฐมาปัตติกะ นสิ สารณยี ะ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถ๒ี ๔ ๒) บุคคลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุณรี ปู หน่ึง ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษณุ รี ูปหนง่ึ ไปสู่หม่บู ้านรปู เดยี ว ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๓ พระอนบุ ญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั เิ ฉพาะภกิ ษณุ ี อกุ ขฺ ติ ตกโอสารณสิกขาบท ๔. ยา ปน ภิกขฺ นุ ี สมคเฺ คน สงเฺ ฆน อุกขฺ ติ ตฺ ภกิ ขฺ นุ ึ ธมเฺ มน วนิ เยน สตถฺ สุ าสเนน อนปโลเกตวฺ าการกสงฆฺ , อนญญฺ าย คณสสฺ ฉนทฺ โอสาเรยยฺ อยมปฺ ิ ภิกขฺ นุ ี ปฐฃมาปตตฺ ิกธมฺม อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยีสงฆฺ าทเิ สส.๒๕ กภ็ กิ ษุณีใดเรียกภิกษณุ ีที่สงฆ์พรอ้ มเพรียงกนั ลงอุกเขปนียกรรมโดยธรรม โดยวินัย โดยสัตถศุ าสน์ใหก้ ลบั เขา้ หมโู่ ดยไมบ่ อกการกสงฆ์ ทงั้ ไม่ รบั รฉู้ ันทะของคณะ แม้ภกิ ษุณีน้ตี ้องธรรมคอื สงั ฆาทิเสสทช่ี ื่อวา่ ปฐมาปัตติกะ นสิ สารณียะ ๒๒ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๐๘/๒๑๑ ๒๓ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๕๑ ๒๔ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๐๙/๒๑๑ ๒๕ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๕๑

๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถ๒ี ๖ ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษณุ ถี ลุ ลนนั ทา ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณีถลุ ลนนั ทาเรยี กภกิ ษุณที ส่ี งฆ์พรอ้ มเพรยี งกันลงอุกเปนยี กรรมโดยธรรม โดยวินัย โดยสตั ถศุ าสนใ์ หก้ ลบั เข้าหมู่ โดยไม่บอกการกสงฆ์ ทง้ั ไม่รับรู้ฉันทะของคณะ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บญั ญัตเิ ฉพาะภกิ ษุณี โภชนปฏคิ คหณปฐมสกิ ขาบท ๕. ยา ปน ภกิ ฺขนุ ี อวสสฺ ตุ า อวสสฺ ตุ สสฺ ปรุ สิ ปคุ คฺ ลสสฺ หตถฺ โต ขาทนยี วาโภชนยี วา สหตฺถาปฏคิ คฺ เหตวฺ า ขาเทยยฺ วา ภุญเฺ ชยยฺ วา อยมปฺ ิ ภกิ ฺขนุ ี ปฐฃมาปตฺตกิ ธมมฺ อาปนฺนา นสิ สฺ ารณยี สงฆฺ าทเิ สส.๒๗ ก็ภกิ ษุณีใดกาหนัด รบั ของเคยี้ วหรอื ของฉันจากมือชายผกู้ าหนัดดว้ ยมือของตนแลว้ เค้ียวหรอื ฉันแม้ภิกษุณนี ตี้ ้องธรรมคือสังฆาทิเสสที่ชอื่ ปฐมาปัตติกะ นสิ สารณียะ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถ๒ี ๘ ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษณุ ีสุนทรนี ันทา ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุณสี ุนทรีนันทากาหนัดรับอามิสจากมือชายผู้กาหนดั ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัตเิ ฉพาะภิกษณุ ี โภชนปฏคิ คหณทตุ ยิ สิกขาบท ๖. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี เอว วเทยยฺ “กึ เต อยเฺ ย เอโส ปรุ สิ ปคุ ฺคโล กรสิ สฺ ติ อวสสฺ โุ ต วาอนวสสฺ โุ ต วา, ยโต ตวฺ อนวสสฺ ตุ า, องิ ฆฺ อยเฺ ย ย เต เอโส ปรุ สิ ปุคคฺ โล เทติ ขาทนยี วา โภชนยี วา ต ตวฺสหตถฺ า ปฏคิ คฺ เหตวฺ า ขาท วา ภุญชฺ วา”ติ อยมปฺ ิ ภกิ ฺขนุ ี ปฐฃมาปตตฺ ิก ธมฺม อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยี สงฺฆาทิเสส.๒๙ ก็ภกิ ษุณีใดกล่าวอย่างน้ีว่า “ชายผู้นั้นจะกาหนดั หรือไมก่ าหนดั ก็ตามกท็ าอะไรทา่ นไม่ได้ เพราะทา่ นไม่กาหนัด นมิ นตเ์ ถดิ แม่เจา้ ชายผู้นี้จะถวายสิ่งใดจะเป็นของเคีย้ วหรือของฉันกต็ าม ทา่ นจงรบั ประเคน ๒๖ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๐/๒๑๒ ๒๗ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๕๑ ๒๘ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๑/๒๑๒ ๒๙ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๕๒

ของนัน้ ดว้ ยมือของตนเองแล้วเคยี้ วหรือฉันเถิด” ดงั นี้ แม้ภกิ ษณุ นี ีต้ ้องธรรมคือสงั ฆาทเิ สส ท่ีชอ่ื ว่าปฐมาปตั ติกะ นิสสารณยี ะ ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถ๓ี ๐ ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุณีรปู หนึง่ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุณีรูปหน่งึ สง่ เสริมภกิ ษุณีใหร้ ับโภชนะจากมือชายผกู้ าหนดั ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญตั เิ ฉพาะภิกษุณี สิกขงั ปจั จาจิกขณสกิ ขาบท ๑๐. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี กปุ ติ า อนตตฺ มนา เอว วเทยยฺ “พทุ ธฺ ปจจฺ าจกิ ฺขามิ ธมมฺ ปจจฺ าจกิ ขฺ ามิ สงฺฆปจจฺ าจกิ ฺขามิ สกิ ฺข ปจจฺ าจกิ ขฺ ามิ กนิ นฺ มุ าว สมณโิ ยยา สมณโิ ย สกยฺ ธตี โร สนตฺ ญญฺ าปิ สมณโิ ย ลชชฺ นิ โิ ยกุกฺกจุ จฺ กิ า สกิ ขฺ ากามา, ตาสาห สนตฺ เิ ก พรฺ หฺมจรยิ จรสิ สฺ ามี”ต.ิ สา ภกิ ขฺ นุ ี ภกิ ขฺ นุ หี ิ เอวมสสฺ วจนยี า “มายเฺ ยกปุ ติ า อนตตฺ มนา เอว อวจ ‘พทุ ธฺ ปจจฺ าจกิ ขฺ ามิ ธมมฺ ปจจฺ าจิกขฺ ามิ สงฺฆ ปจจฺ าจกิ ขฺ ามิ สกิ ฺข ปจจฺ าจกิ ขฺ ามิกินนฺ มุ าว สมณโิ ย ยา สมณโิ ย สกยฺ ธตี โร สนตฺ ญญฺ าปิ สมณโิ ย ลชชฺ นิ โิ ย กกุ กฺ จุ จฺ กิ า สกิ ขฺ ากามา ตาสาห สนตฺ เิ กพรฺ หมฺ จริย จรสิ สฺ ามี’ติ อภริ มายฺเย สวฺ ากขฺ าโต ธมโฺ ม จร พฺรหมฺ จรยิ สมมฺ า ทกุ ขฺ สสฺ อนตฺ กริ ยิ ายา”ติ เอวญจฺสา ภกิ ขฺ นุ ี ภกิ ฺขนุ หี ิ วจุ จฺ มานา ตเถว ปคฺคณฺเหยยฺ สา ภกิ ขฺ นุ ี ภกิ ขฺ นุ หี ิ ยาวตตยิ สมนภุ าสติ พพฺ า ตสสฺ ปฏนิ สิ สฺ คฺคาย ยาวตตยิ ญเฺ จ สมนภุ าสยิ มานา ต ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ อจิ เฺ จต กสุ ล โน เจ ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ อยมปฺ ิ ภกิ ขฺ นุ ี ยาวตตยิ ก ธมฺม อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยี สงฆฺ าทเิ สส.๓๑ กภ็ กิ ษณุ ีใดโกรธ ไม่พอใจ กล่าวอยา่ งนว้ี า่ “ดฉิ ันขอบอกลาพระพทุ ธ ขอบอกลาพระธรรม ขอบอกลาพระสงฆ์ ขอบอกลาสกิ ขา สมณะหญิงจะมีแต่สมณศากยธิดาเหลา่ น้ันกระน้ันหรือ แม้สมณะหญิงเหล่าอ่ืนผู้มคี วามละอาย มีความระมัดระวงั ใฝก่ ารศกึ ษาก็ยังมีอยู่ เราจะไปประพฤติพรหมจรรยใ์ นสานกั ของสมณะหญิงเหลา่ นัน้ ” ภกิ ษณุ นี ัน้ อันภิกษุณที ้งั หลายพึงวา่ กล่าวตักเตือนอย่างน้วี า่ “แมเ่ จ้า ทา่ นโกรธ ไม่พอใจ ก็อยา่ ได้กล่าวอย่างนี้วา่ ดฉิ ันขอบอกลาพระพุทธ ขอบอกลาพระธรรม ขอบอกลาพระสงฆ์ ขอบอกลาสกิ ขา สมณะหญิงจะมีแต่สมณศากยธดิ ากระนน้ั หรือ แม้สมณะหญงิ เหล่าอน่ื ผู้มคี วามละอาย มีความระมัดระวงั ใฝ่การศึกษาก็มอี ยู่ เราจะไปประพฤติพรหมจรรย์ในสานกั ของสมณะหญิงเหล่าน้ัน ดงั นี้ แม่เจา้ ทา่ นจงยนิ ดีเถดิพระธรรมอนั พระผู้มีพระภาคตรัสไวด้ ีแลว้ จงประพฤติพรหมจรรย์เพอื่ ทาทส่ี ุดทุกข์โดยชอบเถิด” ภกิ ษณุ ีน้ันอันภกิ ษุณที ง้ั หลายว่ากล่าวตกั เตอื นอยู่อย่างน้ี กย็ งั ยืนยนั อย่อู ยา่ งนนั้ ภิกษุณนี ้ันอันภิกษุณีทง้ั หลายพึงสวดสม ๓๐ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๒/๒๑๓ ๓๑ กงฺขำ.อฏฺ. ๕๓

นุภาสน์จนครบ ๓ คร้งั เพ่อื ใหส้ ละเร่ืองน้นั ถ้าเธอกาลังถูกสวดสมนภุ าสน์กว่าจะครบ ๓ ครัง้ สละเรือ่ งนัน้ ได้นั่นเปน็ การดี ถา้ ไมส่ ละ แมภ้ ิกษณุ นี ้ีต้องธรรมคอื สงั ฆาทเิ สส ท่ชี ื่อว่ายาวตติยกะ นิสสารณยี ะ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถ๓ี ๒ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ีจณั ฑกาลี ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษุณจี ัณฑกาลโี กรธไมพ่ อใจ กลา่ วบอกคืนพระรตั นตรัย บอกคืนสิกขาบท ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบญั ญัตเิ ฉพาะภกิ ษุณี อธกิ รณกุปติ สกิ ขาบท ๑๑. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี กสิ มฺ ญิ จฺ เิ ทว อธิกรเณ ปจจฺ ากตา กปุ ติ า อนตตฺ มนาเอว วเทยยฺ “ฉนทฺ คามนิ โิ ยจ ภกิ ขฺ นุ โิ ย โทสคามนิ โิ ย จ ภกิ ฺขนุ โิ ย โมหคามนิ โิ ย จ ภกิ ฺขนุ โิ ย ภยคามนิ โิ ย จ ภกิ ขฺ นุ โิ ย”ติ สา ภกิ ฺขนุ ี ภกิ ขฺ นุ หี ิเอวมสสฺ วจนยี า “มายเฺ ย กสิ มฺ ิญจฺ เิ ทว อธกิ รเณ ปจจฺ ากตา กุปติ า อนตตฺ มนา เอว อวจ ‘ฉนทฺ คามนิ โิ ย จภกิ ขฺ นุ โิ ย โทสคามนิ โิ ย จ ภกิ ขฺ ุนโิ ย โมหคามินโิ ย จ ภิกขฺ นุ โิ ย ภยคามนิ โิ ย จ ภกิ ขฺ นุ โิ ย’ติ อยยฺ า โข ฉนทฺ าปิคจเฺ ฉยยฺ โทสาปิ คจเฺ ฉยยฺ โมหาปิ คจเฺ ฉยยฺ ภยาปิ คจเฺ ฉยยฺ า”ต.ิ เอวญจฺ สา ภกิ ขฺ นุ ี ภิกขฺ นุ หี ิ วจุ จฺ มานา ตเถวปคคฺ ณเฺ หยยฺ สา ภกิ ฺขนุ ี ภกิ ขฺ นุ หี ิ ยาวตตยิ สมนภุ าสติ พพฺ า ตสสฺ ปฏนิ สิ สฺ คคฺ าย ยาวตตยิ ญเฺ จ สมนภุ าสยิ มานาตปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ อจิ เฺ จต กสุ ล โน เจ ปฏนิ สิ ฺสชเฺ ชยยฺ อยมปฺ ิ ภกิ ฺขนุ ี ยาวตตยิ ก ธมฺม อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยีสงฆฺ าทเิ สส.๓๓ ก็ภกิ ษุณีใดถูกตัดสินให้แพ้คดีในอธกิ รณห์ น่ึง โกรธ ไม่พอใจ จงึ กลา่ วอยา่ งนีว้ ่า “พวกภกิ ษณุ ีลาเอยี งเพราะชอบ พวกภิกษุณลี าเอียงเพราะชัง พวกภิกษุณลี าเอียงเพราะหลง และพวกภิกษณุ ีลาเอยี งเพราะกลัว” ภิกษณุ นี ั้นอันภกิ ษุณีทงั้ หลายพึงว่ากลา่ วตักเตือนอยา่ งนว้ี า่ “แม่เจา้ ท่านเมอ่ื ถูกตัดสินให้แพ้คดใี นอธิกรณห์ นง่ึ โกรธ ไมพ่ อใจ กอ็ ย่าได้กล่าวอย่างนว้ี ่า พวกภิกษุณี ลาเอียงเพราะชอบ พวกภกิ ษุณีลาเอียงเพราะชัง พวกภกิ ษณุ ลี าเอยี งเพราะหลง และพวกภกิ ษุณีลาเอียงเพราะกลวั แมเ่ จา้ เองกย็ ังลาเอียงเพราะชอบบา้ งลาเอียงเพราะชังบ้าง ลาเอียงเพราะหลงบา้ ง ลาเอยี งเพราะกลัวบ้าง” ภกิ ษณุ ี นั้นอันภกิ ษุณีทั้งหลายว่ากล่าวตักเตอื นอยู่อยา่ งนีก้ ย็ ังยืนยันอยอู่ ย่างนั้น ภกิ ษุณี น้นั อนั ภิกษุณีทั้งหลายพงึ สวดสมนุภาสน์จนครบ ๓ คร้งัเพ่ือใหส้ ละเรื่องนั้น ถา้ เธอกาลังถกู สวดสมนภุ าสน์กวา่ จะครบ ๓ ครง้ั สละเรื่องน้ันได้ นนั่ เปน็ การดี ถ้า ไมส่ ละแมภ้ กิ ษุณีนีก้ ็ต้องธรรมคือสังฆาทเิ สสทช่ี ่ือวา่ ยาวตติยกะ นิสสารณยี ะ ๓๒ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๓/๒๑๔ ๓๓ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๕๓-๕๔

อธกิ รณ์ ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถ๓ี ๔ ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษณุ จี ณั ฑกาลี ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษณุ จี ณั ฑกาลโี กรธเพราะถูกตดั สินใหแ้ พ้คดีใน ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิเฉพาะภิกษณุ ี ปาปสมาจารปฐมสกิ ขาบท ๑๒. ภกิ ฺขนุ โิ ย ปเนว สสฏฐฺ ฃา วหิ รนตฺ ิ ปาปาจารา ปาปสททฺ า ปาปสโิ ลกา ภกิ ฺขนุ สิ งฺฆสสฺ วเิ หสกิ าอญฺญมญฺญสิ สฺ า วชชฺ ปปฺ ฏจิ ฉฺ าทกิ า ตา ภกิ ขฺ นุ โิ ย ภกิ ขฺ นุ หี ิ เอวมสสฺ ุ วจนยี า “ภคนิ โิ ย โข สสฏฐฺ ฃา วหิ รนตฺ ิปาปาจารา ปาปสทฺทา ปาปสโิ ลกา ภกิ ฺขนุ สิ งฺฆสสฺ วเิ หสกิ า อญญฺ มญญฺ สิ สฺ า วชชฺ ปปฺ ฏจิ ฉฺ าทิกา ววิ จิ จฺ ถายฺเยวเิ วกญเฺ ญว ภคนิ ีนสงโฺ ฆ วณเฺ ณตี”ติ เอวญจฺ ตา ภกิ ขฺ นุ โิ ย ภกิ ฺขนุ หี ิ วจุ จฺ มานา ตเถว ปคคฺ ณเฺ หยยฺ ุ ตา ภกิ ฺขนุ โิ ยภกิ ขฺ นุ หี ิ ยาวตตยิ สมนภุ าสติ พฺพา ตสสฺ ปฏนิ สิ สฺ คคฺ าย ยาวตตยิ ญเฺ จ สมนภุ าสยิ มานา ต ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ ุ อจิ ฺเจตกุสล โน เจ ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ ุ อมิ าปิ ภกิ ฺขนุ โิ ย ยาวตตยิ ก ธมมฺ อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยี สงฺฆาทิเสส.๓๕ ก็ภิกษุณีทัง้ หลายอยู่คลุกคลีกัน มีความประพฤติเลวทราม มกี ิตติศพั ท์ในทางเส่อื มเสยี มชี ือ่ เสยี งไมด่ ี มักเบียดเบยี นภกิ ษุณีสงฆ์ ปกปดิ โทษของกนั และกัน ภิกษุณีเหล่านนั้ อนั ภิกษุณีทัง้ หลายพึงวา่ กลา่ วตักเตอื นอย่างนี้ว่า “น้องหญงิ ท้ังหลายอย่คู ลุกคลีกัน มีความประพฤตเิ ลวทราม มกี ิตติศัพท์ในทางเสอ่ื มเสยี มีช่ือเสียงไม่ดี มักเบยี ดเบียนภิกษุณีสงฆ์ ปกปิดโทษของกันและกัน นอ้ งหญงิ ท้งั หลาย พวกท่านจงแยกกันอยู่เถิด สงฆย์ อ่ มสรรเสรญิ การแยกกันอยขู่ องน้องหญงิ ท้ังหลายเทา่ นน้ั ” ภกิ ษุณีเหล่านั้นอนั ภิกษุณที ้ังหลายวา่กล่าวตกั เตอื นอยู่อย่างนี้ ก็ยังยืนยนั อยูอ่ ย่างน้ัน ภิกษุณเี หล่านั้นอนั ภิกษณุ ีทัง้ หลายพึงสวดสมนุภาสนจ์ นครบ๓ ครัง้ เพื่อใหส้ ละเร่ืองนั้น ถา้ พวกเธอกาลังถูกสวดสมนภุ าสนก์ ว่าจะครบ ๓ คร้งั สละเร่อื งนัน้ ได้ น่ันเป็นการดีถา้ ไมส่ ละ แม้ภกิ ษุณีเหลา่ นกี้ ็ตอ้ งธรรมคือสังฆาทิเสสท่ีชือ่ ว่ายาวตติยกะ นิสสารณียะ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถ๓ี ๖ ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษณุ หี ลายรูป ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณีหลายรปู อยู่คลุกคลกี นั ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบญั ญตั ิเฉพาะภิกษุณี ๓๔ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๔/๒๑๔. (มจร.) ๓๕ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๕๔ ๓๖ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๕/๒๑๕

ปาปสมาจารทตุ ยิ สกิ ขาบท ๑๓. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี เอว วเทยยฺ “สสฏฐฺ ฃาว อยเฺ ย ตุมเฺ ห วหิ รถ มา ตมุ ฺเห นานา วหิ รติ ฺถ สนตฺ ิ สงเฺ ฆอญฺญาปิ ภกิ ฺขนุ โิ ย เอวาจารา เอวสททฺ า เอวสโิ ลกา ภกิ ฺขนุ สิ งฺฆสสฺ วเิ หสกิ า อญญฺ มญญฺ สิ สฺ า วชชฺ ปปฺ ฏจิ ฉฺ าทกิ าตา สงโฺ ฆ น กญิ จฺ ิ อาห ตมุ หฺ ญเฺ ญว สงโฺ ฆ อุญญฺ าย ปรภิ เวน อกฺขนตฺ ยิ า เวภสสฺ ยิ า ทพุ พฺ ลยฺ า เอวมาห ‘ภคนิ โิ ยโข สสฏฐฺ ฃาวหิ รนตฺ ิ ปาปาจารา ปาปสทฺทา ปาปสโิ ลกา ภกิ ขฺ ุนสิ งฆฺ สสฺ วเิ หสกิ า อญญฺ มญญฺ สิ สฺ าวชชฺ ปปฺ ฏจิ ฉฺ าทกิ า ววิ จิ จฺ ถายเฺ ย วิเวกญฺเญว ภคนิ นี สงโฺ ฆ วณฺเณตี”’ติ สา ภกิ ฺขนุ ี ภกิ ฺขนุ หี ิ เอวมสสฺ วจนยี า“มายฺเย เอว อวจ สสฏฐฺ ฃาว อยเฺ ย ตุมเฺ ห วหิ รถ มา ตมุ เฺ ห นานา วหิ รติ ฺถ สนตฺ ิ สงเฺ ฆ อญญฺ าปิ ภกิ ขฺ นุ โิ ยเอวาจารา เอวสททฺ า เอวสิโลกา ภกิ ฺขนุ สิ งฺฆสสฺ วเิ หสกิ า อญฺญมญญฺ สิ สฺ า วชชฺ ปปฺ ฏจิ ฉฺ าทกิ า ตา สงโฺ ฆ น กิญจฺ ิอาห ตมุ หฺ ญเฺ ญว สงโฺ ฆ อญุ ญฺ าย ปรภิ เวน อกฺขนตฺ ยิ า เวภสสฺ ยิ า ทพุ ฺพลยฺ า เอวมาห ‘ภคนิ โิ ย โข สสฏฐฺ ฃา วหิ รนตฺ ิปาปาจารา ปาปสททฺ า ปาปสโิ ลกา ภกิ ฺขนุ สิ งฺฆสสฺ วเิ หสกิ า อญญฺ มญฺญสิ สฺ า วชชฺ ปปฺ ฏจิ ฉฺ าทิกา ววิ จิ จฺ ถายเฺ ยวเิ วกญเฺ ญว ภคนิ นี สงโฺ ฆ วณฺเณตี”ติ เอวญจฺ สา ภกิ ขฺ นุ ี ภกิ ฺขนุ หี ิ วจุ จฺ มานา ตเถว ปคคฺ ณเฺ หยยฺ สา ภกิ ขฺ ุนีภกิ ฺขนุ หี ิ ยาวตตยิ สมนภุ าสติ พพฺ า ตสสฺ ปฏนิ สิ สฺ คคฺ าย ยาวตตยิ ญฺเจ สมนภุ าสยิ มานา ต ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ อจิ เฺ จตกสุ ล โน เจ ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ อยมปฺ ิ ภกิ ฺขนุ ี ยาวตตยิ ก ธมมฺ อาปนนฺ า นสิ สฺ ารณยี สงฆฺ าทเิ สส.๓๗ ก็ภิกษุณีใดกล่าวอยา่ งน้วี ่า “น้องหญิงท้ังหลาย ทา่ นท้ังหลาย จงอยู่คลุกคลกี นั อย่าแยกกันอยู่ภกิ ษณุ ีเหลา่ อน่ื ผู้มีความประพฤติอยา่ งนี้ มีกติ ติศัพท์อย่างน้ี มชี อื่ เสียงอยา่ งนี้ มักเบยี ดเบียนภิกษณุ ีสงฆ์ ปกปิดโทษของกนั และกันไวก้ ็มอี ยใู่ นสงฆ์ สงฆ์ก็ไมไ่ ดว้ ่ากล่าวพวกเธอเลย สงฆ์ได้แตว่ า่ กลา่ ว พวกทา่ นเทา่ นนั้ ดว้ ยความดหู ม่ินเหยยี ดหยาม ดว้ ยความไม่พอใจ ด้วยการขม่ ขู่ เพราะพวกท่านอ่อนแอ อย่างนีว้ ่า “นอ้ งหญงิท้ังหลายอยู่คลุกคลีกัน มีความประพฤติเลวทราม มีกติ ตศิ ัพทใ์ นทางเส่ือมเสยี มีช่ือเสียงไมด่ ี มักเบียดเบียนภกิ ษุณีสงฆ์ ปกปิดโทษของกันและกัน นอ้ งหญิงทั้งหลาย พวกท่านจงแยกกันอย่เู ถิด สงฆ์ยอ่ มสรรเสริญการแยกกันอยู่ของน้องหญิงท้งั หลายเทา่ น้ัน” ภิกษุณนี ั้นอันภิกษณุ ีทงั้ หลายพึงว่ากล่าวตกั เตือนอยา่ งนี้ว่า “น้องหญิง ท่านอย่ากลา่ วอยา่ งนวี้ ่า น้องหญงิ ทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงอยู่คลุกคลีกนั อยา่ แยกกนั อยู่ ภกิ ษุณีแม้เหล่าอ่ืนผู้มีความประพฤติอย่างน้ี มกี ิตตศิ ัพท์อย่างน้ี มชี ื่อเสียงอย่างน้ี มักเบียดเบยี นภิกษุณีสงฆ์ ชอบปกปิดโทษกันไวก้ ม็ ีอยู่ในสงฆ์ สงฆก์ ็ไม่ได้วา่ กล่าวภิกษุณเี หล่านั้นเลย ได้แต่ว่ากล่าวพวกท่านเท่านนั้ ดว้ ยความดหู ม่นิเหยียดหยาม ด้วยความไม่พอใจ ดว้ ยการข่มขู่ เพราะพวกทา่ น อ่อนแอ อย่างนว้ี ่า น้องหญิงท้ังหลายอยูค่ ลุกคลีกัน มคี วามประพฤติเลวทราม มีกติ ตศิ ัพทใ์ นทางเสื่อมเสีย มชี อ่ื เสียงไม่ดี มกั เบยี ดเบียนภกิ ษณุ ีสงฆ์ ปกปดิโทษของกนั และกัน นอ้ งหญิงท้งั หลาย พวกท่านจงแยกกันอยู่เถิด สงฆย์ ่อมสรรเสริญการแยกกนั อยู่ของน้องหญงิ ท้งั หลายเทา่ น้ัน” ภิกษุณีน้ันอันภิกษุณี ทั้งหลายวา่ กลา่ วตกั เตอื นอยู่อย่างนี้ กย็ งั ยนื ยนั อยู่อยา่ งนั้นภิกษุณีนั้นอนั ภกิ ษุณีทง้ั หลายพงึ สวดสมนภุ าสน์จนครบ ๓ คร้ังเพ่อื ใหส้ ละเรอื่ งนน้ั ถ้าเธอกาลังถูกสวดสมนุ ๓๗ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๕๔

ภาสน์กว่าจะครบ ๓ คร้ังสละเรื่องนั้นได้ น่ันเป็นการดี ถ้าไม่สละ แม้ภกิ ษณุ ีนี้กต็ ้องธรรมคอื สังฆาทิเสสท่ีชอื่ วา่ยาวตติยกะ นสิ สารณยี ะ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถ๓ี ๘ ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ีถุลลนนั ทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษณุ ีถุลลนนั ทา ส่งเสรมิ พดู ชักชวนใหอ้ ยู่คลุกคลีกนั ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บัญญัตเิ ฉพาะภกิ ษุณี ๓๘ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๖/๒๑๕

๓. อนยิ ต ๒ สกิ ขาบท ปฐมอนยิ ตสกิ ขาบท ๑. โย ปน ภิกขฺ ุ มาตคุ าเมน สทธฺ ึ เอโก เอกาย รโห ปฏจิ ฉฺ นเฺ น อาสเน อลกมมฺ นเิ ย นสิ ชชฺกปเฺ ปยยฺ ตเมน สทเฺ ธยยฺ วจสา อปุ าสกิ า ทสิ วฺ า ตณิ ณฺ ธมมฺ าน อญญฺ ตเรน วเทยยฺ ปาราชเิ กน วาสงฆฺ าทเิ สเสน วา ปาจติ ตฺ เิ ยน วา นสิ ชชฺ ภกิ ขฺ ุ ปฏชิ านมาโน ติณณฺ ธมฺมาน อญญฺ ตเรน กาเรตพโฺ พปาราชเิ กน วา สงฆฺ าทิเสเสน วา ปาจติ ตฺ เิ ยน วา เยน วา สา สทเฺ ธยยฺ วจสา อปุ าสิกา วเทยยฺ เตน โส ภกิ ขฺ ุกาเรตพโฺ พ อย ธมโฺ ม อนยิ โต.๓๙ ก็ ภกิ ษุใดนัง่ บนอาสนะทกี่ าบงั ในทลี่ ับพอจะทาการได้กับมาตุคาม สองตอ่ สอง อุบาสิกามีวาจาเชอื่ ถอื ได้ ได้เห็นภิกษุน่งั กับมาตคุ ามนนั้ แล้วกล่าวโทษดว้ ยอาบตั ิอยา่ งใดอย่างหน่งึ บรรดาอาบตั ิ ๓ อย่าง คือปาราชกิ สงั ฆาทเิ สส หรอื ปาจิตตยี ์ ภกิ ษุนนั้ ยอมรับการนัง่ พงึ ถูกปรับด้วยอาบตั ิอย่างใดอย่างหนงึ่ บรรดาอาบัติ ๓ อย่าง คอื ปาราชิก สังฆาทเิ สส หรือปาจติ ตยี ์ อีกอยา่ งหนงึ่ อุบาสิกาผู้มีวาจาเช่ือถือไดน้ นั้ กล่าวโทษด้วยอาบตั ิใด ภิกษนุ ัน้ พงึ ถูกปรับดว้ ยอาบัตินัน้ อาบัตินชี้ ่ือวา่ อนยิ ต ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถ๔ี ๐ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอทุ ายี ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุทายนี งั่ ในทล่ี ับตากบั หญงิ สองต่อสอง ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั เิ ฉพาะภิกษุ ทุตยิ อนยิ ตสกิ ขาบท ๒. น เหว โข ปน ปฏจิ ฉฺ นนฺ อาสน โหติ นาลกมมฺ นิย อลญจฺ โข โหติ มาตคุ าม ทฏุ ฐฺ ฃลุ ลฺ าหิวาจาหิ โอภาสติ ุ โย ปน ภกิ ขฺ ุ ตถารเู ป อาสเน มาตคุ าเมน สทธฺ ึ เอโก เอกาย รโห นสิ ชชฺ กปฺเปยยฺ ตเมนสทเฺ ธยยฺ วจสา อปุ าสกิ า ทสิ วฺ า ทวฺ นิ นฺ ธมมฺ าน อญญฺ ตเรน วเทยยฺ สงฆฺ าทเิ สเสน วา ปาจติ ตฺ เิ ยน วา นสิ ชชฺภกิ ขฺ ุ ปฏชิ านมาโน ทวฺ นิ นฺ ธมฺมาน อญญฺ ตเรน กาเรตพโฺ พ สงฺฆาทเิ สเสน วา ปาจติ ตฺ เิ ยน วา เยน วา สาสทเฺ ธยยฺ วจสา อปุ าสกิ า วเทยยฺ เตน โส ภกิ ขฺ ุ กาเรตพโฺ พ อยมปฺ ิ ธมโฺ ม อนยิ โต.๔๑ ก็ สถานท่ีไม่ใช่อาสนะที่กาบัง ไม่พอจะทาการได้ แตเ่ ป็นสถานทพ่ี อจะพดู เก้ียวมาตุคามด้วยวาจาชว่ั หยาบได้ ก็ภกิ ษุใดนงั่ บนอาสนะเช่นน้ัน ในทีล่ ับกบั มาตุคามสองตอ่ สอง อบุ าสิกามวี าจาเช่อื ถือได้ ไดเ้ ห็นภิกษนุ ัง่ กบั มาตุคามนน้ั แล้วกล่าวโทษด้วยอาบตั ิอยา่ งใดอย่างหนึ่ง บรรดาอาบตั ิ ๒ อย่าง คือ สังฆาทิเสส หรือปาจติ ตยี ์ ภิกษุยอมรบั การนั่ง พงึ ถูกปรบั ดว้ ยอาบัตอิ ย่างใดอยา่ งหนงึ่ บรรดาอาบัติ ๒ อยา่ ง คอื สังฆาทิเสส ๓๙ กงฺขำ.อฏฺ. ๙ ๔๐ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๒/๒๒ ๔๑ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๙

หรอื ปาจิตตยี ์ อีก อย่างหน่ึง อุบาสกิ าผ้มู วี าจาเช่ือถือได้น้ันกล่าวโทษดว้ ยอาบัตใิ ด ภิกษนุ ้นั พึงถูกปรับดว้ ยอาบัติน้นั อาบัตนิ ช้ี ่ือวา่ อนิยต ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถ๔ี ๒ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุทายี ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอุทายีนั่งในทลี่ ับหกู ับหญิงสองต่อสอง ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั เิ ฉพาะภกิ ษุ ๔๒ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๓/๒๗

๔. นสิ สคั คีย์ ๒๔ สกิ ขาบท (นบั ภกิ ษแุ ละภกิ ษณุ ีรวมกนั ๒๒ สกิ ขาบท) จวี รวรรค อุทโทสติ สกิ ขาบท ๒. นฏิ ฐฺ ฃติ จวี รสมฺ ึ ภกิ ฺขนุ า อพุ ภฺ ตสมฺ ึ กถเิ น เอกรตตฺ มปฺ ิ เจ ภกิ ฺขุ ตจิ วี เรน วปิ ปฺ วเสยยฺ อญญฺ ตรฺภกิ ฺขสุ มมฺ ตุ ยิ า นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ฺตยิ .๔๓ เมื่อจีวรของภกิ ษุสาเร็จแล้ว เมื่อกฐนิ เดาะแลว้ ถ้าภิกษุอยู่ ปราศจากไตรจวี รแมส้ ้นิ ราตรีหน่งึ ต้องอาบตั ินิสสคั คยิ ปาจิตตยี ์ เว้นแตภ่ ิกษไุ ด้รับสมมติ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถ๔ี ๔ ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุหลายรูป ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษหุ ลายรปู ฝากจีวรไว้แลว้ หลีกไปสูท่ จ่ี าริกโดยมีเพยี งอุตตราสงค์และอันตรวาสกเทา่ นน้ั ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๑ พระอนบุ ัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญัติทว่ั ไปทั้งภกิ ษุและภกิ ษุณี อกาลจวี รสกิ ขาบท ๓. นฏิ ฐฺ ฃติ จวี รสมฺ ึ ภกิ ฺขนุ า อพุ ภฺ ตสมฺ ึ กถเิ น ภกิ ฺขโุ น ปเนว อกาลจวี ร อุปปฺ ชเฺ ชยยฺ อากงขฺ มาเนนภกิ ฺขนุ า ปฏคิ คฺ เหตพพฺ ปฏคิ คฺ เหตวฺ า ขปิ ปฺ เมว กาเรตพฺพ โน จสสฺ ปารปิ รู ิ มาสปรม เตน ภกิ ขฺ นุ า ต จวี รนิกขฺ ปิ ิตพพฺ อูนสสฺ ปารปิ รู ยิ า สตยิ า ปจจฺ าสาย. ตโต เจ อุตตฺ ริ นกิ ขฺ เิ ปยยฺ สตยิ าปิ ปจจฺ าสาย นสิ สฺ คคฺ ยิปาจติ ตฺ ยิ .๔๕ เม่ือจีวรของภิกษสุ าเร็จแล้ว เม่อื กฐนิ เดาะแล้ว อกาลจวี รเกิดขน้ึ แกภ่ กิ ษุ ภิกษุตอ้ งการก็พึงรบั ไว้ได้คร้ันรับแลว้ พึงรบี ใหท้ าเป็นจีวร ถา้ ผ้านั้น มีไม่พอ เมื่อมีความหวังว่าจะได้ผ้ามาเพ่ิม ภกิ ษนุ ้ันพงึ เก็บผา้ สาหรับทาจวี รนั้นไว้ไม่เกิน ๑ เดือน เพือ่ เพม่ิ ผ้าสาหรับทาจวี รที่ยงั ขาดใหค้ รบ ถ้าเกบ็ เกนิ กาหนดนนั้ แมม้ ีความหวงั ว่าจะไดผ้ ้ามาเพิ่ม ตอ้ งอาบัตินสิ สัคคิยปาจิตตยี ์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถ๔ี ๖ ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุหลายรูป ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ การรบั ผ้านอกฤดูกาลแลว้ เก็บไว้เกนิ ๑ เดอื น ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๑ พระอนุบญั ญัติ ๔๓ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๐ ๔๔ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๕/๒๙ ๔๕ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๑๐ ๔๖ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๖/๓๐

๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิท่วั ไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณี ปรุ าณจวี รสิกขาบท ๔. โย ปน ภกิ ฺขุ อญญฺ าติกาย ภกิ ขฺ นุ ิยา ปรุ าณจวี ร โธวาเปยยฺ วา รชาเปยยฺ วา อาโกฏาเปยยฺ วานสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๔๗ ก็ ภกิ ษุใด ใชภ้ กิ ษุณีผูไ้ ม่ใช่ญาติ ให้ซกั ให้ย้อม หรือใหท้ บุ จีวรเกา่ ตอ้ งอาบตั นิ ิสสคั คิยปาจิตตีย์๔๘ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุทายี ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอทุ ายใี ช้ภิกษุณีผ้ไู ม่ใช่ญาติให้ซกั จวี รเก่า ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญตั ิเฉพาะภกิ ษุ อญั ญาตกวญิ ญตั สิ กิ ขาบท ๖. โย ปน ภกิ ขฺ ุ อญญฺ าตก คหปตึ วา คหปตานึ วา จวี ร วญิ ญฺ าเปยฺย อญญฺ ตรฺ สมยา นสิ สฺ คคฺ ยิปาจติ ตฺ ยิ . ตตถฺ าย สมโย อจฉฺ นิ นฺ จวี โร วา โหติ ภกิ ขฺ ุ นฏฐฺ ฃจวี โร วา อย ตตถฺ สมโย.๔๙ อนึ่ง ภิกษใุ ดออกปากขอจีวรจากคฤหสั ถ์ชายหรือคฤหสั ถห์ ญงิ ผู้ไม่ใชญ่ าติ นอกสมัย ต้องอาบตั นิ ิสสคั คิยปาจติ ตีย์ สมัยในข้อนน้ั คอื ภกิ ษุถูกชงิ จีวรไป หรือจีวรสูญหาย น้ีเป็นสมยั ในขอ้ นั้น ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถ๕ี ๐ ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุปนันทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอปุ นันทศากยบุตรออกปากขอจวี รจากบตุ รเศรษฐีผไู้ ม่ใชญ่ าติ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๑ พระอนุบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิทัว่ ไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณี ตตตุ ตรสิ กิ ขาบท ๗. ตญเฺ จ อญฺญาตโก คหปติ วา คหปตานี วา พหหู ิ จวี เรหิ อภหิ ฏฐฺ ฃฃ ปวาเรยยฺ สนตฺ รุตตฺ รปรม เตนภกิ ขฺ นุ า ตโต จวี ร สาทติ พฺพ. ตโต เจ อตุ ตฺ ริ สาทเิ ยยยฺ นสิ สฺ คฺคยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๕๑ ๔๗ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๑๐ ๔๘ ว.ิ มหำ. (ไทย) ๒/๕๐๔/๒๗ ๔๙ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๑ ๕๐ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๙/๓๑ ๕๑ กงฺขำ.อฏฺ. ๑๑

ถ้าคฤหสั ถช์ ายหรือคฤหสั ถ์หญิงผู้ไม่ใชญ่ าติ นาจีวรจานวนมากมาปวารณาภิกษุน้นั ภิกษุน้นั พงึยนิ ดจี ีวรมอี ุตตราสงค์และอันตรวาสกเป็นอย่างมากจากจวี รที่เขานามานั้น ถ้ายินดีเกินกวา่ น้ัน ตอ้ งอาบตั ินสิสคั คิยปาจิตตยี ์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถ๕ี ๒ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษฉุ ัพพัคคยี อ์ อกปากขอจวี รจานวนมาก ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัตทิ วั่ ไปทั้งภิกษุและภกิ ษุณี ปฐมอปุ ักขฏสกิ ขาบท ๘. ภกิ ขฺ ุ ปเนว อุททฺ สิ สฺ อญฺญาตกสสฺ คหปตสิ สฺ วา คหปตานยิ า วา จวี รเจตาปนนฺ อุปกขฺ ฏโหติ “อมิ นิ า จวี รเจตาปนเฺ นน จวี ร เจตาเปตวฺ า อติ ฺถนนฺ าม ภกิ ขฺ ุ จวี เรน อจฉฺ าเทสสฺ ามี”ติ ตตรฺ เจ โส ภกิ ขฺ ุปุพเฺ พ อปปฺ วารโิ ต อปุ สงฺกมติ วฺ า จวี เร วกิ ปปฺ ํ อาปชเฺ ชยยฺ “สาธุ วต ม อายสฺมา อมิ นิ า จวี รเจตาปนฺเนน เอวรปู ํวา เอวรปู ํ วา จวี ร เจตาเปตวฺ า อจฉฺ าเทหี”ติ กลยฺ าณกมยฺ ต อปุ าทาย นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๕๓ ก็ คฤหสั ถช์ ายหรือคฤหสั ถ์หญงิ ผ้ไู ม่ใช่ญาติ ตระเตรยี มทรัพยเ์ ป็นคา่ จีวร เจาะจงภิกษุว่า “เราจะซือ้ จีวรดว้ ยทรัพย์เป็นคา่ จีวรนี้แลว้ นิมนต์ภกิ ษชุ ื่อนีใ้ ห้ครองจีวร” ถ้าภิกษนุ ั้นซ่ึงเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไปกาหนดชนดิ จีวรในที่ทเ่ี ขาเตรียมจีวรไว้ เพราะต้องการจวี รดวี ่า “ดีละ ท่านจงซื้อจวี รเช่นนั้นเชน่ นี้ดว้ ยทรัพย์เปน็ คา่ จีวรนีแ้ ลว้ ใหอ้ าตมาครองเถิด” ต้องอาบัตนิ ิสสัคคยิ ปาจิตตยี ์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี๕๔ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุปนนั ทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุปนนั ทศากยบตุ รผู้ทเ่ี ขาไม่ได้ปวารณาไว้กอ่ นเขา้ ไปหาคฤหสั ถ์ผู้ไมใ่ ช่ญาติแลว้ กาหนดจีวร ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบญั ญตั ทิ ั่วไปทั้งภกิ ษุและภกิ ษุณี ทุตยิ อปุ กั ขฏสกิ ขาบท ๙. ภกิ ขฺ ุ ปเนว อทุ ทฺ สิ สฺ อภุ นิ นฺ อญญฺ าตกาน คหปตนี วา คหปตานีนวา ปจเฺ จกจวี รเจตาปนนฺ านิอปุ กขฺ ฏานิ โหนตฺ ิ “อเิ มหิ มย ปจเฺ จกจวี รเจตาปนเฺ นหิ ปจฺเจกจวี รานิ เจตาเปตวฺ า อิตถฺ นนฺ าม ภกิ ขฺ ุ จวี เรหิ ๕๒ วิ.ป. (ไทย) ๘/๓๐/๓๒ ๕๓ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๑ ๕๔ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๓๑/๓๒

อจฉฺ าเทสสฺ ามา”ติ ตตรฺ เจ โส ภกิ ขฺ ุ ปพุ เฺ พ อปปฺ วารโิ ต อปุ สงกฺ มิตวฺ า จวี เร วกิ ปปฺ ํ อาปชเฺ ชยยฺ “สาธุ วต มอายสมฺ นโฺ ต อเิ มหิ ปจเฺ จกจวี รเจตาปนเฺ นหิ เอวรปู ํ วา เอวรปู ํ วา จวี ร เจตาเปตวฺ า อจฉฺ าเทถ อโุ ภว สนตฺ าเอเกนา”ติ กลยฺ าณกมยฺ ต อุปาทาย นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๕๕ ก็ คฤหัสถช์ ายหรอื คฤหสั ถ์หญงิ ผูไ้ มใ่ ช่ญาติ ๒ คน ตระเตรยี มทรพั ยเ์ ปน็ ค่าจีวรคนละผืน เจาะจงภกิ ษุวา่ “พวกเราจะซื้อจวี รคนละผนื ดว้ ยทรพั ยเ์ ปน็ คา่ จีวรคนละผนื นแ้ี ล้วนมิ นต์ภกิ ษุชอ่ื น้ใี ห้ครองจวี รหลายผนื ” ถา้ ภกิ ษุนน้ั ซ่ึงพวกเขาไมไ่ ดป้ วารณาไว้ก่อน เข้าไปกาหนดชนิดจวี รในท่ีท่ีเขาเตรยี มจวี รไว้ เพราะต้องการจวี รดีวา่ “ดีละ ทา่ นทง้ั สองจงรวมกันซอื้ จีวรเชน่ นั้นเชน่ น้ี ดว้ ยทรัพย์เปน็ ค่าจวี รคนละผืนนี้ แลว้ นิมนต์อาตมาใหค้ รองเถดิ ” ต้องอาบตั ินสิ สัคคิยปาจติ ตยี ์ ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถ๕ี ๖ ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุปนันทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ พระอปุ นนั ทศากยบุตรผูท้ ีเ่ ขาไม่ไดป้ วารณาไว้กอ่ นเข้าไปหาคฤหสั ถ์ผู้ไมใ่ ชญ่ าติแลว้ กาหนดจวี ร ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิทั่วไปทั้งภิกษุและภิกษุณี ราชสิกขาบท ๑๐. ภกิ ฺขุ ปเนว อทุ ทฺ สิ สฺ ราชา วา ราชโภคโฺ ค วา พรฺ าหมฺ โณ วา คหปตโิ ก วา ทเู ตน จวี รเจตาปนนฺปหเิ ณยยฺ “อิมนิ า จวี รเจตาปนเฺ นน จวี ร เจตาเปตวฺ า อติ ฺถนนฺ าม ภกิ ฺขุ จวี เรน อจฉฺ าเทห”ี ต.ิ โส เจ ทโู ต ต ภกิ ขฺ ุอุปสงกฺ มิตวฺ า เอว วเทยยฺ “อิท โข ภนเฺ ต อายสมฺ นตฺ อุททฺ สิ สฺ จวี รเจตาปนนฺ อาภต ปฏคิ คฺ ณหฺ าตุ อายสฺมาจวี รเจตาปนนฺ น”ฺ ต.ิ เตน ภกิ ขฺ ุนา โส ทโู ต เอวมสสฺ วจนโี ย “น โข มย อาวโุ ส จวี รเจตาปนนฺ ปฏคิ คฺ ณหฺ ามจวี รญจฺ โข มย ปฏคิ คฺ ณหฺ าม กาเลน กปปฺ ยิ น”ฺ ต.ิ โส เจ ทโู ต ต ภกิ ฺขุ เอว วเทยยฺ “อตถฺ ิ ปนายสมฺ โต โกจิเวยฺยาวจจฺ กโร”ต.ิ จวี รตถฺ เิ กน ภกิ ขฺ เว ภิกขฺ นุ า เวยฺยาวจจฺ กโร นิททฺ สิ ติ พโฺ พ อารามโิ ก วา อปุ าสโก วา “เอโส โขอาวโุ ส ภกิ ขฺ นู เวยยฺ าวจจฺ กโร”ต.ิ โส เจ ทโู ต ต เวยยฺ าวจจฺ กร สญญฺ าเปตวฺ า ต ภกิ ขฺ ุ อปุ สงกฺ มติ วฺ า เอว วเทยยฺ“ย โข ภนเฺ ต อายสฺมา เวยยฺ าวจจฺ กร นทิ ทฺ สิ ิ สญญฺ ตโฺ ต โส มยา อปุ สงกฺ มตายสมฺ า กาเลน จวี เรน ตอจฉฺ าเทสสฺ ตี”ต.ิ จวี รตถฺ เิ กน ภกิ ฺขเว ภกิ ขฺ นุ า เวยยฺ าวจจฺ กโร อุปสงกฺ มติ วฺ า ทวฺ ตตฺ กิ ขฺ ตตฺ ุ โจเทตพโฺ พ สาเรตพโฺ พ“อตโฺ ถ เม อาวโุ ส จวี เรนา”ติ ทวฺ ตฺตกิ ขฺ ตตฺ ุ โจทยมาโน สารยมาโน ต จวี ร อภนิ ิปผฺ าเทยยฺ อจิ เฺ จต กสุ ล โน เจอภนิ ปิ ผฺ าเทยยฺ จตกุ ขฺ ตตฺ ุ ปญจฺ กขฺ ตตฺ ุ ฉกขฺ ตตฺ ปุ รม ตณุ หฺ ภี เู ตน อทุ ฺทสิ สฺ ฐฃาตพพฺ จตุกขฺ ตตฺ ุ ปญจฺ กขฺ ตตฺ ุฉกขฺ ตตฺ ปุ รม ตณุ หฺ ภี โู ต อทุ ฺทสิ สฺ ตฏิ ฐฺ ฃมาโน ต จวี ร อภนิ ปิ ผฺ าเทยยฺ อจิ เฺ จต กสุ ล ตโต เจ อตุ ตฺ ริ วายมมาโน ต ๕๕ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๑๑ ๕๖ วิ.ป. (ไทย) ๘/๓๒/๓๓

จวี ร อภนิ ปิ ผฺ าเทยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ . โน เจ อภนิ ปิ ผฺ าเทยยฺ ยตสสฺ จวี รเจตาปนนฺ อาภต ตตถฺ สาม วาคนตฺ พพฺ ทโู ต วา ปาเหตพโฺ พ “ย โข ตมุ เฺ ห อายสมฺ นโฺ ต ภกิ ฺขุ อุททฺ สิ สฺ จวี รเจตาปนนฺ ปหิณติ ถฺ น ต ตสสฺ ภกิ ขฺ ุโน กญิ จฺ ิ อตถฺ อนโุ ภติ ยญุ ชฺ นตฺ ายสมฺ นโฺ ต สก มา โว สก วนิ สสฺ า”ติ อย ตตถฺ สามจี .ิ ๕๗ ก็ พระราชา ราชอมาตย์ พราหมณ์หรือคหบดผี ใู้ ดผูห้ นึ่งส่งทตู มาถวายทรพั ยเ์ ป็นคา่ จีวรเจาะจงภิกษุพร้อมกับสงั่ ว่า “ทา่ นจงเอาทรัพยเ์ ป็นคา่ จวี รน้ีซื้อจวี ร แล้วนิมนตภ์ ิกษุชอ่ื น้ใี ห้ครองจีวร” ถ้าทูตน้นั เข้าไปหาภิกษุน้ันกล่าวอย่างน้ีว่า “ทา่ นผ้เู จริญ กระผมนาทรัพย์เป็นค่าจวี รนม้ี าเจาะจงพระคุณเจ้า พระคุณเจ้าจงรับทรพั ยเ์ ปน็ ค่าจวี รเถิด” ภิกษุน้ันพงึ กลา่ วกบั ทูตนนั้ อย่างน้วี ่า “พวกอาตมารับทรัพยเ์ ป็นค่าจีวรไมไ่ ด้ รบั เฉพาะจีวรท่สี มควรตามกาล” ถา้ ทูตนน้ั พึงกล่าวกับภิกษนุ นั้ อย่างนว้ี ่า “กม็ ีใครผูเ้ ปน็ ไวยาวัจกรของท่านบ้างไหม”ภกิ ษุผ้ตู ้องการจวี รพงึ แสดงคนวดั หรอื อุบาสกใหเ้ ปน็ ไวยาวัจกรว่า “ผนู้ เ้ี ป็น ไวยาวจั กรของภิกษุท้งั หลาย” ถ้าทตู ตกลงกบั ไวยาวัจกรแล้วเข้าไปหาภกิ ษุนนั้ กลา่ วอย่างน้วี ่า “ขา้ พเจ้าตกลงกบั คนท่ที ่านแนะนาว่าเปน็ไวยาวัจกรแล้ว ทา่ นจงไปหาในเวลาอนั สมควร เขาจะนิมนต์ทา่ นให้ครองจีวร” ภิกษทุ ้ังหลาย ภิกษุตอ้ งการจวี รพงึ เข้าไปหาไวยาวัจกรแลว้ ทวงหรือเตอื น ๒-๓ ครัง้ วา่ “อาตมาตอ้ งการจวี ร” เม่ือทวงหรือเตือน ๒-๓ คร้ัง ให้เขาจัดจีวรสาเร็จได้ นั่นเปน็ การดี ถา้ ไมส่ าเรจ็ พงึ ไปยนื แสดงตนนิง่ ๆ ถึง ๔ ครง้ั ๕ ครงั้ หรือ ๖ ครัง้ เป็นอยา่ งมาก เม่ือยนื แสดงตนนิ่ง ๆ ถงึ ๔ ครงั้ ๕ คร้งั หรอื ๖ ครั้งเปน็ อยา่ งมากแลว้ ให้เขาจัดจวี รสาเร็จได้ นั่นเป็นการดี ถ้าพยายามเกนิ กวา่ นั้น ใหเ้ ขาจดั จีวรสาเร็จได้ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ ถา้ ไม่สาเร็จ พึงไปเองหรือสง่ ทูตไปในสานักทเ่ี ขาส่งทรัพยเ์ ป็นคา่ จีวรมา กลา่ วว่า “ทรัพยเ์ ป็นค่าจวี รทีท่ ่านส่งไปเจาะจงภกิ ษุรปู ใดไม่ได้อานวยประโยชนอ์ ะไรแก่ภิกษรุ ปู นัน้ เลย ท่านจงทวงทรัพย์ของท่านคืนมา ทรัพยข์ องท่านอย่าเสียหายเลย” นี้เป็นการทาที่สมควรในเร่ืองนั้น ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถ๕ี ๘ ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอปุ นันทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุปนันทศากยบุตร เมือ่ ทายกกลา่ ววา่ โปรดรอสักวนั หนง่ึ เถิดขอรับ ก็ไมย่ อมรอคอย ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบญั ญัติท่ัวไปท้ังภกิ ษุและภกิ ษุณี โกสยิ วรรค ทเวภาคสกิ ขาบท ๕๗ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๒-๑๓ ๕๘ วิ.ป. (ไทย) ๘/๓๓/๓๓

๑๓. นว ปน ภกิ ขฺ นุ า สนถฺ ต การยมาเนน ทเฺ ว ภาคา สทุ ธฺ กาฬกาน เอฬกโลมาน อาทาตพพฺ า ตตยิโอทาตาน จตตุ ถฺ โคจรยิ าน. อนาทา เจ ภกิ ขฺ ุ ทฺเวภาเค สทุ ธฺ กาฬกาน เอฬกโลมาน ตตยิ โอทาตาน จตตุ ถฺโคจรยิ าน นว สนถฺ ต การาเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๕๙ ก็ ภิกษผุ ้ใู ช้ใหท้ าสนั ถตั ใหม่ พึงเอาขนเจยี มดาลว้ น ๒ ส่วน ขนเจียมขาวเปน็ ส่วนที่ ๓ ขนเจยี มแดงเปน็ สว่ นที่ ๔ ถ้าเธอไมเ่ อาขนเจยี มดาล้วน ๒ ส่วน ขนเจยี มขาวเปน็ สว่ นท่ี ๓ ขนเจียมแดงเปน็ ส่วนที่ ๔ แล้วให้ทาสันถัตใหม่ ต้องอาบตั ินสิ สัคคิยปาจติ ตยี ์ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี๖๐ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษฉุ ัพพัคคยี ใ์ ห้นาขนเจยี มขาวหน่อยหน่งึ ปนไว้ที่ชายสันถตั แลว้ ให้ทาสนั ถัตขนเจียมดาล้วนอยา่ งเดิม ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญัตเิ ฉพาะภิกษุ๖๑ ฉพั พสั สสกิ ขาบท ๑๔. นว ปน ภกิ ขฺ นุ า สนถฺ ต การาเปตวฺ า ฉพพฺ สสฺ านิ ธาเรตพฺพ โอเรน เจ ฉนนฺ วสสฺ าน ต สนถฺ ตวสิ สฺ ชเฺ ชตวฺ า วา อวสิ สฺ ชเฺ ชตวฺ า วา อญญฺ นว สนถฺ ต การาเปยยฺ อญฺญตรฺ ภกิ ขฺ ุ สมฺมตุ ยิ า นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๖๒ อน่ึง ภกิ ษุใช้ใหท้ าสันถัตใหม่แลว้ พึงใช้สอยให้ได้ ๖ ปี ถ้าต่ากวา่ ๖ ปี เธอจะสละหรอื ไม่สละสนั ถัตนน้ั กต็ าม ใชใ้ ห้ทาสนั ถัตอ่นื ใหม่ ตอ้ งอาบตั ินสิ สคั คยิ ปาจติ ตีย์ เว้นไว้แตภ่ ิกษผุ ู้ได้สมมติ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี๖๓ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุหลายรปู ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุหลายรปู ใหท้ าสนั ถัตทุกปี ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๑ พระอนุบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัตเิ ฉพาะภิกษุ นสิ ีทนสนั ถตสกิ ขาบท ๕๙ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๓ ๖๐ ว.ิ ป. (ไทย) ๒/๓๖/๓๖ ๖๑ พระมหำธติ ิพงศ์ อตุ ตฺ มปญโฺ ญ, ภกิ ขปุ าตโิ มกข์แปล พร้อมมาตกิ าสาหรบั วินจิ ฉยั สกิ ขาบท, พิมพ์ครง้ั ที่ ๒,(กรุงเทพมหำนคร: ห้ำงหุ้นสว่ นจำกดั ประยรู สำส์นไทย กำรพมิ พ,์ ๒๕๖๐). หนำ้ ๒๑๒ ๖๒ กงฺขำ.อฏฺ. ๑๓ ๖๓ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๓๗/๒๖

๑๕. นสิ ที นสนถฺ ต ปน ภกิ ขฺ นุ า การยมาเนน ปรุ าณสนฺถตสสฺ สามนตฺ า สคุ ตวทิ ตฺถิ อาทาตพพฺ าทพุ พฺ ณฺณกรณาย. อนาทา เจ ภกิ ฺขุ ปรุ าณสนถฺ ตสสฺ สามนตฺ า สคุ ตวทิ ตฺถึ นว นสิ ที นสนถฺ ต การาเปยยฺนสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๖๔ ก็ ภกิ ษผุ ้ใู ชใ้ ห้ทาสนั ถตั รองนั่ง พึงเอาสันถัตเกา่ ๑ คืบสคุ ตโดย รอบมาปนเพ่ือทาใหเ้ สียสี ถา้ ไมเ่ อาสนั ถัตเก่า ๑ คบื สุคตโดยรอบมาปนใชใ้ หท้ าสนั ถัตรองนั่งใหม่ ต้องอาบัตนิ สิ สคั คิยปาจติ ตีย์๖๕ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษหุ ลายรปู ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษหุ ลายรปู สละสันถัต ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัตเิ ฉพาะภกิ ษุ เอฬกโลมสกิ ขาบท ๑๖. ภกิ ฺขโุ น ปเนว อทธฺ านมคฺคปปฺ ฏปิ นนฺ สสฺ เอฬกโลมานิ อปุ ปฺ ชเฺ ชยยฺ ุ อากงฺขมาเนน ภกิ ขฺ นุ าปฏคิ คฺ เหตพพฺ านิ ปฏคิ ฺคเหตวฺ า ตโิ ยชนปรม สหตถฺ า หรติ พพฺ านิ อสนเฺ ต หารเก. ตโต เจ อตุ ตฺ ริ หเรยยฺ อสนฺเตปิ หารเก นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจิตตฺ ยิ .๖๖ ก็ ขนเจยี มเกิดขึน้ แก่ภกิ ษุผ้เู ดินทางไกล ภิกษตุ ้องการก็พึงรับได้ คร้นั รบั แลว้ เม่อื ไม่มีคนนาไปให้พงึ นาไปเองตลอดระยะ ๓ โยชน์เป็นอยา่ งมาก ถ้าเม่ือไม่มคี นนาไปให้ นาไปไกลกว่านั้น ตอ้ งอาบตั นิ สิ สัคคิยปาจิตตีย์ ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี๖๗ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษรุ ูปหน่งึ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุรูปหน่ึงรับขนเจยี มแล้วนาไปเกิน ๓ โยชน์ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิเฉพาะภิกษุ รปู ยิ สังโวหารสกิ ขาบท ๑๙. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ชาตรปู รชต อคุ ฺคณฺเหยยฺ วา อคุ ฺคณหฺ าเปยยฺ วา อปุ นิกขฺ ติ ตฺ วา สาทเิ ยยยฺนสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๖๘ ๖๔ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๓-๑๔ ๖๕ วิ.มหำ. (ไทย) ๒/๕๖๗/๙๓ ๖๖ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๔ ๖๗ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๓๙/๓๗

ก็ ภิกษุใดทาการแลกเปลีย่ นกันดว้ ยรูปยิ ะชนดิ ต่างๆ ตอ้ งอาบัตินิสสคั คิยปาจติ ตีย์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี๖๙ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษุฉัพพคั คียท์ าการแลกเปลีย่ นกนั ด้วยรูปิยะชนดิตา่ งๆ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัติท่ัวไปท้ังภิกษุและภิกษุณี๗๐ กยวกิ กยสกิ ขาบท ๒๐. โย ปน ภกิ ขฺ ุ นานปปฺ การก กยวิกกฺ ย สมาปชเฺ ชยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ ๗๑ ก็ ภิกษใุ ดทาการซ้ือขายมปี ระการตา่ งๆ ต้องอาบตั นิ ิสสคั คยิ ปาจติ ตยี ์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี๗๒ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุปนนั ทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอปุ นนั ทศากยบุตรทาการซื้อขายกบั ปริพาชก ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบัญญัตทิ วั่ ไปทั้งภิกษุและภกิ ษุณี๗๓ ปตั ตวรรค ปตั ตสกิ ขาบท ๒๑. ทสาหปรม อตเิ รกปตโฺ ต ธาเรตพโฺ พ ต อตกิ ฺกามยโต นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๗๔ ภกิ ษพุ ึงเก็บอตเิ รกบาตรไวไ้ ด้ ๑๐ วนั เป็นอยา่ งมาก, ใหล้ ่วงกาหนดนน้ั ไป ต้องอาบัตนิ ิสสคั คิยปาจติ ตีย์ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี๗๕ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์ ๖๘ กงฺขำ.อฏฺ. ๑๔ ๖๙ วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๒/๓๙ ๗๐ พระมหำธติ ิพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ, ภกิ ขุปาติโมกข์แปล พร้อมมาติกาสาหรับวินิจฉัยสกิ ขาบท, หนำ้ ๒๒๕ ๗๑ กงฺขำ.อฏฺ. ๑๔ ๗๒ วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๓/๓๙ ๗๓ พระมหำธิติพงศ์ อตุ ตฺ มปญโฺ ญ, ภกิ ขุปาติโมกข์แปล พรอ้ มมาติกาสาหรับวนิ ิจฉยั สิกขาบท, หน้า ๒๒๗ ๗๔ กงฺขำ.อฏฺ. ๑๕ ๗๕ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๔๓/๔๐

๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษุฉัพพัคคยี ์ทรงอตเิ รกบาตร ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๑ พระอนบุ ัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญตั เิ ฉพาะภิกษุ เภสชั ชสกิ ขาบท ๒๓. ยานิ โข ปน ตานิ คลิ านาน ภกิ ขฺ นู ปฏสิ ายนยี านิ เภสชชฺ านิ เสยยฺ ถทิ สปปฺ ิ นวนตี เตล มธุผาณติ ตานิ ปฏคิ คฺ เหตวฺ า สตตฺ าหปรม สนนฺ ธิ ิการก ปรภิ ญุ ชฺ ติ พพฺ านิ ต อตกิ กฺ ามยโต นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๗๖ ก็ เภสชั ใดควรลิ้มสาหรบั ภิกษุผูเ้ ป็นไข้ คือ เนยใส เนยข้น น้ามนั นา้ ผง้ึ นา้ อ้อย ภิกษรุ ับประเคนเภสชั น้ันแล้วเก็บไว้ฉนั ได้ ๗ วนั เป็นอย่างมากใหเ้ กินกาหนดน้ันไป ตอ้ งอาบตั ินสิ สัคคิยปาจติ ตยี ์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี๗๗ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุหลายรปู ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษหุ ลายรปู รบั ประเคนเภสัชแล้วเก็บไวเ้ กนิ ๗ วัน ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิท่วั ไปทั้งภิกษุและภกิ ษุณี วสั สกิ สาฏิกสกิ ขาบท ๒๔. “มาโส เสโส คมิ หฺ านนฺ”ติ ภกิ ขฺ ุนา วสสฺ กิ สาฏกิ จวี ร ปรเิ ยสติ พพฺ “อทธฺ มาโส เสโส คิมหฺ านนฺ”ติ กตวฺ า นวิ าเสตพพฺ . โอเรน เจ “มาโส เสโสคมิ หฺ านนฺ”ติ วสสฺ ิกสาฏกิ จวี ร ปรเิ ยเสยยฺ “โอเรนทธฺ มาโส เสโสคมิ หฺ านน”ฺ ติ กตวฺ า นวิ าเสยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๗๘ ภิกษุร้วู ่า “ฤดูร้อนยงั เหลืออีก ๑ เดือน” พึงแสวงหาจีวรคือผา้ อาบน้าฝนได้ รวู้ ่า “ฤดรู ้อนยงั เหลอือกี ก่ึงเดือน” พงึ ทาน่งุ ได้ ถ้ารู้วา่ “ยงั ไม่ถงึ เดือนสุดท้ายแห่งฤดรู ้อน” พึงแสวงหาจวี รคือผ้าอาบน้าฝน รวู้ า่ “ยังไม่ถึงกึง่ เดือนสดุ ท้ายแหง่ ฤดูร้อน” พึงทานงุ่ ต้องอาบัตินิสสัคคยิ ปาจติ ตีย์ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี๗๙ ๒) บุคคลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษฉุ ัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษฉุ พั พัคคยี ์แสวงหาผา้ อาบน้าฝนเมื่อฤดรู ้อนยังเหลอื เกิน ๑ เดือน ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ `๗๖ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๑๕ ๗๗ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๔๓/๔๐ ๗๘ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๑๕ ๗๙ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๔๗/๔๒

๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิเฉพาะภกิ ษุ จวี รอจั ฉนิ ทนสกิ ขาบท ๒๕.โย ปน ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ สุ สฺ สาม จวี ร ทตวฺ า กปุ โิ ต อนตตฺ มโน อจฉฺ ินเฺ ทยยฺ วา อจฉฺ นิ ทฺ าเปยยฺ วานสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๘๐ ก็ ภิกษุใดให้จวี รแก่ภกิ ษเุ องแลว้ โกรธ ไม่พอใจ ชิงเอามาหรอื ใชใ้ ห้ชงิ เอามา ต้องอาบัตนิ สิ สัคคยิปาจติ ตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถี๘๑ ๒) บุคคลผูก้ อ่ เหตุ ได้แก่ พระอุปนันทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอุปนนั ทศากยบตุ รใหจ้ วี รแลว้ ชงิ เอาคนื ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัติท่วั ไปท้ังภิกษุและภกิ ษุณี มหาเปสการสกิ ขาบท ๒๗. ภกิ ขฺ ุ ปเนว อทุ ฺทสิ สฺ อญญฺ าตโก คหปติ วา คหปตานี วา ตนตฺ วาเยหิ จวี ร วายาเปยยฺ ตตรฺ เจโส ภกิ ขฺ ุ ปพุ เฺ พ อปปฺ วารโิ ต ตนตฺ วาเย อปุ สงฺกมติ วฺ า จวี เรวกิ ปปฺ ํ อาปชเฺ ชยยฺ “อทิ โข อาวโุ ส จวี ร ม อทุ ทฺ ิสสฺวยิ ยฺ ติ อายตญจฺ กโรถ วติ ถฺ ตญจฺ อปปฺ ิตญจฺ สวุ ตี ญจฺ สปุ ปฺ วายติ ญจฺ สวุ เิ ลขติ ญจฺ สวุ ติ จฉฺ ติ ญจฺ กโรถ, อปเฺ ปวนาม มยมปฺ ิ อายสมฺ นตฺ าน กญิ จฺ มิ ตตฺ อนุปทชเฺ ชยยฺ ามา”ต.ิ เอวญจฺ โส ภกิ ขฺ ุ วตวฺ า กญิ จฺ มิ ตตฺ อนปุ ทชเฺ ชยยฺ อนฺตมโสปณิ ฑฺ ปาตมตตฺ มปฺ ิ นสิ สฺ คฺคยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๘๒ ก็ คฤหัสถช์ ายหรือคฤหสั ถห์ ญงิ ผ้ไู มใ่ ช่ญาติ สง่ั ช่างหกู ให้ทอจวี รเจาะจงภกิ ษุ ถา้ ภิกษุนนั้ เขาไม่ได้ปวารณาไวก้ ่อน เข้าไปหาชา่ งหูกแล้วกาหนดชนิดจีวรในสานกั ของเขาว่า “ท่าน จีวรผนื นเี้ ขาใหท้ อเจาะจงอาตมา ท่านจงทาให้ยาว ท่านจงทาใหก้ ว้าง ให้เนื้อแน่น ขงึ ให้ดี ทอให้ดี สางใหด้ ี และกรีดให้ดี เอาเถอะอาตมาจะใหข้ องเล็กน้อยเป็นรางวัลแก่ทา่ น” ครน้ั กลา่ วอย่างนีแ้ ลว้ ถา้ ภกิ ษนุ ้นั ให้ของเล็กนอ้ ยเป็นรางวลั โดยทส่ี ุดแม้แต่อาหารบิณฑบาต ตอ้ งอาบัตนิ ิสสัคคิยปาจติ ตยี ์ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถี๘๓ ๒) บุคคลผ้กู อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุปนันทศากยบุตร ๘๐ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๑๕ ๘๑ วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๘/๔๓ ๘๒ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๑๖ ๘๓ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๕๐/๔๔

๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอุปนันทศากยบุตร ท่เี ขาไม่ไดป้ วารณาไว้ก่อนเขา้ ไปหาชา่ งทอหูกของคฤหัสถผ์ ้ไู ม่ใชญ่ าติแลว้ กาหนดชนิดจีวร ๔) บัญญตั ิ ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บญั ญัตทิ ่ัวไปท้ังภิกษุและภกิ ษุณี ๒๘. อจั เจกจวี รสกิ ขาบท ทสาหานาคต กตฺตกิ เตมาสิกปณุ ณฺ ม ภกิ ฺขโุ น ปเนว อจเฺ จกจวี ร อปุ ปฺ ชเฺ ชยยฺ อจเฺ จก มญฺญมาเนนภกิ ฺขนุ า ปฏคิ คฺ เหตพพฺ ปฏคิ คฺ เหตวฺ า ยาว จวี รกาลสมย นกิ ขฺ ปิ ติ พพฺ . ตโต เจ อตุ ตฺ ริ นกิ ขฺ เิ ปยฺย นสิ สฺ คคฺ ยิปาจติ ตฺ ยิ .๘๔ ก็ เมือ่ ยังเหลอื อกี ๑๐ วันจึงจะถึงวันเพ็ญเดือน ๑๑ ซงึ่ เป็นวนั ครบไตรมาส อัจเจกจีวรเกดิ ขนึ้ แก่ภิกษุ ภกิ ษุรูอ้ ยู่ว่าเป็นอจั เจกจีวรพึงรบั ไว้ คร้ันรบั ไวแ้ ล้วควรเกบ็ ไวไ้ ดช้ ั่วสมัยทเี่ ป็นจีวรกาล ถา้ เก็บไวเ้ กินกาหนดนั้น ต้อง อาบัตินสิ สัคคยิ ปาจิตตยี ์ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี๘๕ ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุหลายรปู ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุหลายรปู รับอัจเจกจวี รแลว้ เก็บไวเ้ กนิ สมัยจวี รกาล ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิท่วั ไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณี สาสงั กสกิ ขาบท ๒๙. อปุ วสสฺ โข ปน กตตฺ ิกปณุ ณฺ ม ยานิ โข ปน ตานิ อารญญฺ กานิ เสนาสนานิ สาสงกฺ สมมฺ ตานิสปปฺ ฏภิ ยานิ ตถารเู ปสุ ภกิ ขฺ ุ เสนาสเนสุ วหิ รนโฺ ต อากงฺขมาโน ตณิ ณฺ จวี ราน อญญฺ ตร จวี ร อนตฺ รฆเรนิกขฺ เิ ปยยฺ สยิ า จ ตสสฺ ภิกขฺ โุ น โกจเิ ทว ปจจฺ โย เตน จวี เรน วปิ ฺปวาสาย ฉารตตฺ ปรม เตน ภิกขฺ นุ า เตนจวี เรนวปิ ปฺ วสติ พพฺ . ตโต เจ อตุ ตฺ ริ วปิ ปฺ วเสยยฺ อญญฺ ตรฺ ภิกขฺ สุ มมฺ ตุ ยิ า นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๘๖ ก็ ภกิ ษจุ าพรรษาแล้วหวงั จะอย่ใู นเสนาสนะป่าท่รี ู้กนั ว่าน่าหวาด ระแวง มภี ัยน่ากลัวเช่นนั้น จนถึงวันเพ็ญเดอื น ๑๒ พงึ เกบ็ ไตรจีวรผนื ใดผนื หน่งึ ไว้ในละแวกบ้านได้ และภกิ ษุน้นั ควรมีปัจจัยบางอยา่ งเพ่ือการอยู่ปราศจากจวี รนนั้ ภกิ ษุน้นั พงึ อยปู่ ราศจากจีวรนัน้ ได้ ๖ คืนเปน็ อยา่ งมาก ถา้ อยู่ปราศเกนิ กว่ากาหนดนน้ัตอ้ งอาบัตินิสสัคคยิ ปาจติ ตยี ์ เว้นไวแ้ ต่ภกิ ษุผู้ได้รับสมมติ ๘๔ กงฺขำ.อฏฺ. ๑๖` ๘๕ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๕๑/๔๔ ๘๖ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๑๖

๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี๘๗ ๒) บุคคลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ เรอ่ื งภกิ ษหุ ลายรูป ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ เรอ่ื งภิกษุหลายรูปอยปู่ ราศจากจีวร ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บัญญัติเฉพาะภิกษุ ปริณตสิกขาบท ๓๐. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ชาน สงฺฆกิ ลาภ ปรณิ ต อตตฺ โน ปรณิ าเมยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๘๘ ก็ ภิกษุใดรู้อยู่ นอ้ มลาภทเ่ี ขานอ้ มไว้เปน็ ของจะถวายสงฆ์มาเพอื่ ตน ต้องอาบัตนิ ิสสคั คยิ ปาจติ ตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี๘๙ ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษฉุ ัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษฉุ ัพพคั คีย์รู้อยู่นอ้ มลาภที่เขาน้อมไว้เป็นของจะถวายสงฆม์ าเพ่ือตน ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิทั่วไปท้ังภิกษุและภิกษุณี เฉพาะภิกษุณี ๑๒ สกิ ขาบท ปตั ตสนั นจิ ยสกิ ขาบท ๑. ยา ปน ภิกขฺ นุ ี ปตตฺ สนนฺ จิ ย กเรยยฺ นสิ สฺ คฺคยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๙๐ กภ็ ิกษุณีใดทาการสะสมบาตร ต้องอาบตั นิ สิ สัคคยิ ปาจิตตีย์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถ๙ี ๑ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษณุ ีฉพั พัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษุณีฉัพพัคคีย์ทาการสะสมบาตร ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญตั ขิ องภกิ ษุณี ๘๗ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๕๒/๔๕ ๘๘ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๑๗ ๘๙ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๕๓/๔๕ ๙๐ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๕๘ ๙๑ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๑๗

อกาลจวี รภาชนสกิ ขาบท ๒. ยา ปน ภิกขฺ นุ ี อกาลจวี ร “กาลจวี รนฺ”ติ อธฏิ ฐฺ ฃหติ วฺ า ภาชาเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๙๒ ก็ ภกิ ษณุ ใี ด อธษิ ฐานอกาลจีวรเป็นกาลจวี รแลว้ ใหแ้ จกกนั ต้องอาบัตนิ สิ สัคคิยปาจติ ตีย์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี๙๓ ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุณีถลุ ลนันทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุณีถลุ ลนนั ทาอธษิ ฐานอกาลจีวรเปน็ กาลจวี รแล้วให้แจกกนั ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิเฉพาะภิกษณุ ี จวี รปรวิ ตั ตนสกิ ขาบท ๓. ยา ปน ภกิ ฺขนุ ี ภกิ ฺขนุ ยิ า สทธฺ ึ จวี ร ปรวิ ตเฺ ตตวฺ า สา ปจฉฺ า เอว วเทยยฺ “หนฺทายเฺ ย ตยุ หฺ จวี รอาหร เมต จวี ร ย ตยุ หฺ ตยุ หฺ เมเวต ย มยหฺ มยหฺ เมเวต อาหร เมต จวี ร สก ปจจฺ าหรา”ติ อจฉฺ นิ เฺ ทยยฺ วาอจฉฺ นิ ฺทาเปยยฺ วา นสิ สฺ คฺคยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๙๔ ก็ภิกษณุ ีใดแลกเปลยี่ นจีวรกับภิกษณุ ี ภายหลังภกิ ษุณีนั้นกลา่ วอยา่ งนว้ี ่า “แม่เจ้า จวี รของเธอ จงนาจวี รของดิฉนั มา จีวรของเธอตอ้ งเป็น ของเธอ จีวรของดฉิ นั ต้องเป็นของดฉิ นั จงนาจีวรของดฉิ ันมา จงรบัเอาจวี ร ของเธอคืนไปเถดิ ” ชิงเอาคนื หรือใช้ใหช้ ิงเอาคนื ต้องอาบตั นิ ิสสัคคิยปาจติ ตีย์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี๙๕ ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุณีถลุ ลนันทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณีถลุ ลนันทาแลกเปลีย่ นจีวรแลว้ ชิงเอาคืน ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิเฉพาะภิกษุณี อญั ญวิญญาปนสกิ ขาบท ๔. ยา ปน ภิกขฺ นุ ี อญฺญ วญิ ญฺ าเปตวฺ า อญญฺ วิญญฺ าเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๙๖ กภ็ ิกษณุ ีใด ออกปากขอของอย่างหน่งึ แล้วออกปากขอของอย่างอน่ื ตอ้ งอาบัตินสิ สัคคิยปาจิตตยี ์ ๙๒ กงฺขำ.อฏฺ. ๕๘ ๙๓ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๑๗ ๙๔ กงขฺ ำ.อฏฺ. ๕๘-๕๙ ๙๕ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๑๘ ๙๖ กงฺขำ.อฏฺ.๕๙

๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถ๙ี ๗ ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุณีถุลลนันทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษณุ ีถลุ ลนนั ทาออกปากขอของอย่างหน่ึงแล้วออกปากขอของอย่างอนื่ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิเฉพาะภิกษณุ ีอยา่ งอื่น อัญญเจตาปนสกิ ฺขาบท ๕. ยา ปน ภิกขฺ นุ ี อญฺญ เจตาเปตวฺ า อญญฺ เจตาเปยยฺ นสิ สฺ คฺคยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๙๘ กภ็ กิ ษุณีใดสง่ั ใหซ้ ้ือของอย่างหนึ่งแลว้ สง่ั ให้ซือ้ ของอยา่ งอนื่ ต้องอาบัตินสิ สัคคยิ ปาจติ ตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถ๙ี ๙ ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษณุ ีถุลลนนั ทา ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณถี ลุ ลนันทาให้ซือ้ ของอย่างหนง่ึ แลว้ ให้ซื้อของ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญตั ิเฉพาะภกิ ษณุ ี ปฐมสงั ฆิกเจตาปนสกิ ขาบท ๖. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี อญญฺ ทตถฺ ิเกน ปรกิ ขฺ าเรน อญญฺ ทุ ทฺ สิ ิเกน สงฆฺ เิ กน อญญฺ เจตาเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิปาจติ ตฺ ยิ .๑๐๐ กภ็ กิ ษณุ ีใดให้เอาบรขิ ารทเี่ ขาถวายเพือ่ ประโยชนแ์ ก่ปัจจยั อยา่ งหนงึ่ ทีเ่ ขาถวายอุทิศของอยา่ งหนึ่งทเ่ี ขาบรจิ าคแกส่ งฆ์ แลกเปล่ียนของอยา่ งอ่ืน ตอ้ งอาบตั ินสิ สัคคิยปาจติ ตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถ๑ี ๐๑ ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษณุ ีหลายรูป ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษณุ ีหลายรปู ทาการแลกเปลยี่ นบริขารท่เี ขาถวายสงฆ์ แลกเปลย่ี นของอย่างอน่ื ๙๗ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๑๘ ๙๘ กงฺขำ.อฏฺ.๕๙ ๙๙ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๑๙ ๑๐๐ กงขฺ ำ.อฏ.ฺ ๕๙ ๑๐๑ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๑๙

๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญตั ิเฉพาะภิกษุณี ทุตยิ สงั ฆกิ เจตาปนสกิ ขาบท ๗. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี อญญฺ ทตถฺ ิเกน ปรกิ ขฺ าเรน อญญฺ ทุ ฺทสิ เิ กน สงฆฺ เิ กน สญฺญาจเิ กน อญฺญ เจตาเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๑๐๒ กภ็ ิกษุณีใดให้เอาบริขารทีเ่ ขาถวายเพ่ือประโยชนแ์ กป่ จั จัยอยา่ งหนึง่ ที่เขาถวายอุทิศของอยา่ งหน่งึที่เขาบรจิ าคแก่สงฆ์ ทข่ี อมาเอง แลกเปล่ยี นของอยา่ งอ่ืน ตอ้ งอาบัตนิ ิสสคั คียปาจิตตยี ์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถ๑ี ๐๓ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษณุ ีหลายรปู ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณหี ลายรูปเอาบริขารท่เี ขาถวายสงฆท์ ี่ขอมาเองแลกเปลี่ยนของอยา่ งอน่ื ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญตั ิเฉพาะภกิ ษุณี ปฐมคณกิ เจตาปนสกิ ขาบท ๘. ยา ปน ภกิ ฺขนุ ี อญญฺ ทตถฺ เิ กน ปรกิ ขฺ าเรน อญญฺ ทุ ทฺ สิ เิ กน มหาชนเิ กน อญญฺ เจตาเปยยฺนสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๑๐๔ ก็ภกิ ษุณีใดให้เอาบริขารทเ่ี ขาถวายเพ่ือประโยชนแ์ ก่ปจั จัยอยา่ งหนงึ่ ที่เขาถวายอุทศิ ของอยา่ งหนงึ่ท่ีเขาบริจาคแก่ภิกษณุ จี านวนมาก แลกเปลีย่ นของอยา่ งอื่น ต้องอาบัตนิ ิสสัคคิยปาจิตตยี ์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถ๑ี ๐๕ ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุณีหลายรปู ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณหี ลายรูปทาการแลกเปลย่ี นบริขารทเ่ี ขาถวายคณะที่ขอมาเอง แลกเปลีย่ นของอย่างอื่น ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญตั ิเฉพาะภิกษุณี ทุตยิ คณิกเจตาปนสกิ ขฺ าบท ๑๐๒ กงขฺ ำ.อฏฺ.๕๙ ๑๐๓ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๒๐ ๑๐๔ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๕๙ ๑๐๕ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๒๐

๙. ยา ปน ภิกขฺ ุนี อญญฺ ทตถฺ ิเกน ปรกิ ขฺ าเรน อญฺญทุ ฺทสิ เิ กน มหาชนเิ กน สญญฺ าจเิ กน อญฺญเจตาเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจิตตฺ ยิ .๑๐๖ ก็ภกิ ษุณีใดใหเ้ อาบรขิ ารทเ่ี ขาถวายเพ่อื ประโยชนแ์ ก่ปัจจยั อยา่ งหน่ึง ทเี่ ขาถวายอุทิศของอย่างหนึ่งท่เี ขาบรจิ าคแก่ภิกษุณีจานวนมาก ท่ขี อมาเอง แลกเปล่ยี นของอย่างอืน่ ต้องอาบัตินิสสคั คิยปาจิตตยี ์ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถ๑ี ๐๗ ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุณีหลายรปู ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุณหี ลายรปู ทาการแลกเปลี่ยนบริขารที่เขาถวายคณะทีข่ อมาเอง แลกเปลีย่ นของอย่างอน่ื ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญตั ิเฉพาะภกิ ษุณี ปคุ คลกิ เจตาปนสิกขาบท ๑๐. ยา ปน ภกิ ขฺ นุ ี อญญฺ ทตถฺ เิ กน ปรกิ ฺขาเรน อญญฺ ทุ ทฺ สิ เิ กน ปคุ คฺ ลเิ กน สญญฺ าจเิ กน อญญฺเจตาเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๑๐๘ ก็ภกิ ษุณีใดให้เอาบรขิ ารท่ีเขาถวายเพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ปจั จัยอยา่ งหนงึ่ ทีเ่ ขาถวายอุทศิ ของอยา่ งหนึง่ท่ีเขาบริจาคแกบ่ ุคคล ทขี่ อมาเอง แลกเปลยี่ นของอย่างอื่น ตอ้ งอาบตั นิ ิสสัคคิยปาจติ ตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถ๑ี ๐๙ ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ีถลุ ลนันทา ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุณถี ุลลนนั ทาทาการแลกเปล่ยี นบรขิ ารทเ่ี ขาถวายบคุ คลท่ีขอมาเอง แลกเปลยี่ นของอยา่ งอนื่ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญัติเฉพาะภิกษณุ ี ครปุ าวรุ ณสกิ ขาบท ๑๑. ครปุ าวรุ ณ ปน ภกิ ขฺ นุ ยิ า เจตาเปนตฺ ยิ า จตกุ กฺ สปรม เจตาเปตพพฺ .ตโต เจ อตุ ตฺ ริ เจตาเปยยฺนสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๑๑๐ ๑๐๖ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๕๙ ๑๐๗ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๒๑ ๑๐๘ กงขฺ ำ.อฏฺ.๕๙ ๑๐๙ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๒๒ ๑๑๐ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๖๐

กภ็ กิ ษณุ ีเม่อื จะขอผา้ ห่มหนา พงึ ขอได้เพียงราคา ๔ กงั สะ๑ เปน็ อยา่ งมาก ถ้าขอเกินกว่าน้ัน ตอ้ งอาบตั นิ สิ สัคคิยปาจติ ตีย์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถ๑ี ๑๑ ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุณีถุลลนนั ทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษณุ ถี ุลลนันทาออกปากทลู ขอผ้ากัมพลจากพระราชา ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญตั ิเฉพาะภกิ ษุณี ลหปุ าวรุ ณสกิ ขาบท ๑๒. ลหปุ าวรุ ณ ปน ภิกขฺ นุ ยิ า เจตาเปนตฺ ยิ า อฑฒฺ เตยยฺ กสปรม เจตาเปตพฺพ.ตโต เจ อุตตฺ ริ เจตาเปยยฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ปาจติ ตฺ ยิ .๑๑๒ ก็ภิกษณุ เี ม่อื จะขอผา้ หม่ บาง พึงขอได้เพียงราคา ๒ กังสะคร่งึ เปน็ อย่างมาก ถา้ ขอเกินกว่านนั้ ตอ้ งอาบัตนิ สิ สัคคยิ ปาจิตตีย์ ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถี๑๑๓ ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุณีถลุ ลนันทา ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษณุ ีถุลลนนั ทาออกปากทลู ขอผา้ เปลือกไม้จากพระราชา ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิเฉพาะภกิ ษณุ ี ๑๑๑ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๒๒ ๑๑๒ กงฺขำ.อฏ.ฺ ๖๐ ๑๑๓ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๑๗/๒๒๓

๔. ปาจติ ตยี ์ ๑๕๖ สกิ ขาบท ปาจติ ตยี ์ ๖๗ สกิ ขาบท ของภกิ ษนุ ี้ ภกิ ษณุ ใี ชร้ ว่ มดว้ ย (บาลีดูใน กงขฺ าวติ รณีอฏฺฐฃกถา คาแปลดใู นวนิ ัยปิฎก เล่ม ๒, สถานที่ บุคคล มูลเหตุ บญั ญตั ิและประเภทบัญญตั ิ ดใู น กงฺขาวิตรณีอฏฺฐฃกถา, วินัยปฎิ กเล่มท่ี ๘ และภิกขปุ าตโิ มกข์แปล พร้อมมาตกิ าสาหรบั วินจิ ฉยั สกิ ขาบท ของพระมหาธติ ิพงศ์ อุตตมปญั โญ ) มสุ าวาทวรรค มสุ าวาทสกิ ขาบท ๑. สมปฺ ชานมสุ าวาเท ปาจิตตฺ ยิ ภิกษตุ ้องอาบัตปิ าจิตตีย์ เพราะกล่าวเทจ็ ท้ังทร่ี ู้ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ พระหัตถกศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระหัตถกศากยบตุ รเจรจากับเดียรถีย์ รับแล้วปฏิเสธ ปฏิเสธแลว้ รับ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิท่ัวไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณี โอมสวาทสกิ ขาบท ๒. โอมสวาเท ปาจติ ตฺ ยิ . ภิกษุต้องอาบัตปิ าจิตตีย์ เพราะกล่าวเสียดสี ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษฉุ ัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษฉุ พั พคั คยี ์ทะเลาะกบั ภกิ ษผุ ู้มีศลี ดงี าม กล่าวส่อเสยี ดกับภิกษุผู้มีศีลดงี าม ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบัญญัติทวั่ ไปท้ังภิกษุและภกิ ษุณี เปสญุ ญสกิ ขาบท ๓. ภกิ ขฺ เุ ปสญุ ฺเญ ปาจติ ตฺ ยิ . ภิกษตุ ้องอาบัติปาจิตตยี ์ เพราะส่อเสยี ดภกิ ษุ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษฉุ พั พคั คีย์ ไปยุแหย่ภกิ ษุผู้บาดหมางกนั ทะเลาะกนั บาดหมางกัน

๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิทัว่ ไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณี ปทโสธมั มสิกขาบท ๔. โย ปน ภกิ ขฺ ุ อนปุ สมปฺ นฺน ปทโส ธมมฺ วาเจยยฺ ปาจิตตฺ ยิ . ก็ ภิกษุใดสอนอนปุ สัมบนั ให้กล่าวธรรมเป็นบท ๆ ต้องอาบัติ ปาจิตตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษฉุ ัพพัคคยี ์สอนพวกอุบาสกให้กลา่ วธรรมแขง่ กนัเป็นบทๆ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญตั ิท่วั ไปท้ังภกิ ษุและภกิ ษุณี ทุตยิ สหเสยยสิกขาบท ๖. โย ปน ภกิ ฺขุ มาตคุ าเมน สหเสยยฺ กปเฺ ปยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ ก็ ภิกษใุ ดนอนรว่ มกันกับมาตุคาม ตอ้ งอาบัตปิ าจิตตีย์ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอนุรุทธะ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอนุรุทธะนอนรว่ มกับมาตุคาม ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิทว่ั ไปท้ังภกิ ษุและภกิ ษุณี ธมั มเทสนาสกิ ขาบท ๗. โย ปน ภกิ ขฺ ุ มาตุคามสสฺ อุตตฺ รฉิ ปปฺ ญจฺ วาจาหิ ธมมฺ เทเสยยฺ อญญฺ ตรฺ วญิ ญฺ นุ า ปรุ สิ วคิ คฺ เหนปาจติ ตฺ ยิ . อน่ึง ภกิ ษใุ ดแสดงธรรมแกม่ าตุคามเกิน ๕-๖ คา ต้องอาบตั ิ ปาจติ ตยี ์ เวน้ ไวแ้ ต่มีบุรุษรูเ้ ดียงสาอยู่ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุทายี ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๒ พระอนุบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิทว่ั ไปท้ังภกิ ษุและภกิ ษุณี ทฏุ ฐฃลุ ลาโรจนสกิ ขาบท

๙. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ สุ สฺ ทฏุ ฐฺ ฃลุ ลฺ อาปตตฺ ึ อนุปสมปฺ นฺนสสฺ อาโรเจยยฺ อญญฺ ตรฺ ภกิ ขฺ สุ มมฺ ตุ ยิ าปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภิกษุใดบอกอาบตั ชิ ั่วหยาบของภิกษุแก่อนปุ สมั บนั ต้องอาบตั ิ ปาจติ ตยี ์ เวน้ ไวแ้ ต่ภิกษไุ ดร้ ับสมมติ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษุฉัพพัคคยี ์ไม่ได้รับสมมติ บอกอาบัตชิ วั่ หยาบของภกิ ษุแก่อนุสัมบนั ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบญั ญตั ิทัว่ ไปท้ังภกิ ษุและภกิ ษุณี ภตู คามวรรค ปฐมเสนาสนสกิ ขาบท ๑๔. โย ปน ภกิ ฺขุ สงฺฆกิ มญจฺ วา ปฐี ฃ วา ภสิ ึ วา โกจฉฺ วา อชโฺ ฌกาเส สนถฺ รติ วฺ า วา สนฺถราเปตฺวา วา ต ปกกฺ มนโฺ ต เนว อทุ ธฺ เรยยฺ น อทุ ธฺ ราเปยยฺ อนาปจุ ฉฺ วา คจเฺ ฉยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษใุ ดวางไว้ หรอื ใชใ้ ห้วางไว้ซงึ่ เสนาสนะ คือ เตยี ง ต่ัง ฟูก หรือเกา้ อ้ีของสงฆ์ในท่ีกลางแจ้งเม่อื จะจากไป ไม่เก็บ หรอื ไมใ่ ช้ให้เกบ็ เสนาสนะนั้น หรือไม่บอกมอบหมาย ไปเสีย ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษหุ ลายรูป ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษหุ ลายรูปจัดตงั้ เสนาสนะของสงฆ์ในทก่ี ลางแจ้งเม่อื จะจากไป ไมเ่ ก็บ ไม่บอกให้เก็บแล้วพากนั จากไป ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บญั ญตั ทิ วั่ ไปท้ังภิกษุและภิกษุณี ทตุ ยิ เสนาสนสิกขาบท ๑๕. โย ปน ภกิ ฺขุ สงฺฆเิ ก วหิ าเร เสยยฺ สนฺถรติ วฺ า วา สนฺถราเปตวฺ า วา ตปกกฺ มนโฺ ต เนว อุทธฺ เรยยฺน อทุ ธฺ ราเปยยฺ อนาปจุ ฺฉ วา คจเฺ ฉยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภิกษุใด ปหู รือใช้ใหป้ ูท่ีนอนในวหิ ารของสงฆ์ เมื่อจะจากไป ไม่เกบ็ หรือไม่ใช้ใหเ้ ก็บท่นี อนนน้ัหรือไม่บอกมอบหมาย ไปเสีย ต้องอาบตั ิ ปาจิตตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษสุ ัตตรสวัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษสุ ัตตรสวัคคีย์ ปูทีน่ อนในวิหารของสงฆ์ เมอ่ื จะจากไป ไมเ่ ก็บ หรือไมใ่ ชใ้ ห้เก็บแลว้ พากันจากไป

๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญัติท่วั ไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณี อนปุ ขชั ชสกิ ขาบท ๑๖. โย ปน ภกิ ขฺ ุ สงฺฆเิ ก วหิ าเร ชาน ปุพฺพปุ คต ภกิ ฺขุ อนปุ ขชชฺ เสยยฺ กปเฺ ปยยฺ “ยสสฺ สมพฺ าโธภวสิ สฺ ติ โส ปกกฺ มสิ สฺ ตี”ติ เอตเทว ปจจฺ ย กรติ วฺ า อนญญฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษใุ ดรู้อยู่ เขา้ ไปนอนแทรกแซงภิกษผุ ู้เข้าไปอย่ใู นวหิ ารของสงฆ์ก่อนด้วยประสงคว์ า่ “ท่านมีความคับใจกจ็ กั จากไปเอง” ประสงคเ์ พียงเท่าน้ีไม่มอี ะไรอน่ื ตอ้ งอาบัติปาจิตตยี ์ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุฉพั พคั คีย์ เข้าไปนอนแซกแซงภกิ ษุผู้เถระ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัติท่ัวไปท้ังภกิ ษุและภกิ ษุณี นิกกัฑฒนสกิ ขาบท ๑๗. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ ุ กปุ โิ ต อนตฺตมโน สงฆฺ กิ า วหิ ารา นกิ กฺ ฑเฺ ฒยยฺ วา นกิ กฺ ฑฒฺ าเปยยฺ วาปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภิกษใุ ดโกรธ ไม่พอใจ ฉุดลาก หรือใชใ้ หฉ้ ดุ ลากภิกษุออกจากวิหารของสงฆ์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษฉุ พั พคั คีย์โกรธไมพ่ อใจฉุดลากภิกษุท้งั หลายออกจากวหิ ารของสงฆ์ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญตั ิทั่วไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณี เวหาสกฏุ สิ กิ ขาบท ๑๘. โย ปน ภกิ ขฺ ุ สงฆฺ เิ ก วหิ าเร อปุ รเิ วหาสกฏุ ยิ า อาหจจฺ ปาทก มญจฺ วาปฐี ฃ วา อภนิ สิ เี ทยยฺ วาอภนิ ปิ ชเฺ ชยยฺ วา ปาจติ ตฺ ยิ ก็ ภกิ ษุใดนัง่ หรอื นอนบนเตยี ง หรือบนตงั่ อนั มีเท้าเสยี บบนกุฎชี ้ันลอยในวิหารของสงฆ์ ตอ้ งอาบัติปาจิตตยี ์ ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุรปู หน่งึ

๓) มลู เหตแุ ห่งการบัญญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษรุ ูปหนงึ่ รีบน่งั บนเตียงที่มีเทา้ เสียบบนกฎีชั้นลอยอย่างแรงในวหิ ารของสงฆ์ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัตทิ ัว่ ไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณี โอวาทวรรค โอวาทสิกขาบท ๒๑. โย ปน ภกิ ฺขุ อสมมฺ โต ภกิ ฺขนุ โิ ย โอวเทยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษุใดไม่ไดร้ ับแต่งต้ัง พงึ ส่ังสอนภิกษุณีทงั้ หลาย ต้องอาบตั ิ ปาจติ ตีย์สกิ ขาบทนี้พระผู้มพี ระภาคทรงบัญญัติไว้แกภ่ กิ ษุท้งั หลายอยา่ งน้ี ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บุคคลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษฉุ ัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุฉพั พัคคียไ์ ม่ได้รับการแต่งตง้ั ให้สอนภกิ ษณุ ีทั้งหลาย ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๑ พระอนุบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิเฉพาะภิกษุ อตั ถงั คตสกิ ขาบท ๒๒. สมฺมโตปิ เจ ภกิ ขฺ ุ อตถฺ งคฺ เต สรู เิ ย ภิกขฺ นุ โิ ย โอวเทยยฺ ปาจิตตฺ ยิ . ถ้าภิกษแุ มไ้ ด้รับการแต่งต้ังแล้ว เม่ือดวงอาทติ ย์อัสดงแลว้ ยังส่งั สอนภกิ ษุณีทงั้ หลายอยู่ ตอ้ งอาบัติปาจติ ตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ พระจูฬปนั ถก ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระจฬู ปันถก เม่อื ดวงอาทติ ย์อัสดงแลว้ ยงั สั่งสอนภิกษณุ ที ง้ั หลายอยู่ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบัญญัติเฉพาะภกิ ษุ อามสิ สิกขาบท ๒๔. โย ปน ภกิ ขฺ ุ เอว วเทยยฺ “อามสิ เหตุ เถรา ภิกขฺ ู ภกิ ขฺ นุ โิ ย โอวทนตฺ ี”ติ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษใุ ดกล่าวอย่างนว้ี า่ ภกิ ษ(ุ ผเู้ ปน็ เถระ)ทั้งหลายส่ังสอนภิกษุณีท้ังหลายเพราะเหน็ แกอ่ ามิสต้องอาบตั ิปาจิตตีย์ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี

๒) บุคคลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุฉพั พคั คียก์ ลา่ วหาภิกษุผู้เถระท้ังหลายวา่ แสดงธรรมแกภ่ ิกษุณเี พราะเห็นแก่อามิส ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญตั ิเฉพาะภิกษุ จวี รทานสกิ ขาบท ๒๕. โย ปน ภกิ ขฺ ุ อญญฺ าตกิ าย ภกิ ขฺ นุ ยิ า จวี ร ทเทยยฺ อญญฺ ตรฺ ปารวิ ตฺตกา ปาจติ ตฺ ยิ . [๑๗๑] อนง่ึ ภกิ ษุใดให้จีวรแกภ่ ิกษณุ ีผู้ไมใ่ ชญ่ าติ ต้องอาบัติปาจติ ตยี ์ เว้นไว้แต่แลกเปล่ยี นกัน ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษรุ ูปหนึ่ง ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษรุ ูปหนึง่ ใด้ให้จวี รแกภ่ กิ ษุณีผู้ไม่ใชญ่ าติ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั เิ ฉพาะภิกษุ จวี รสิพพนสิกขาบท ๒๖. โย ปน ภกิ ขฺ ุ อญญฺ าตกิ าย ภกิ ขฺ นุ ยิ า จวี ร สพิ เฺ พยยฺ วา สพิ พฺ าเปยยฺ วา ปาจติ ตฺ ิย. ก็ ภกิ ษใุ ด เยบ็ หรือใชใ้ ห้เย็บจีวรให้ภกิ ษณุ ผี ไู้ ม่ใช่ญาติ ตอ้ งอาบัติ ปาจติ ตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ พระอุทายี ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุทายเี ยบ็ จวี รใหภ้ กิ ษุณีผไู้ ม่ใช่ญาติ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัติเฉพาะภิกษุ สงั วธิ านสิกขาบท ๒๗. โย ปน ภกิ ฺขุ ภกิ ขฺ นุ ยิ า สทธฺ ึ สวธิ าย เอกทธฺ านมคฺค ปฏปิ ชเฺ ชยยฺ อนตฺ มโส คามนตฺ รมปฺ ิอญฺญตรฺ สมยา ปาจติ ฺตยิ . ตตถฺ าย สมโย สตฺถคมนโี ย โหติ มคโฺ ค สาสงกฺ สมมฺ โต สปปฺ ฏภิ โย อย ตตถฺ สมโย. อนง่ึ ภิกษุใดชกั ชวนกันเดินทางไกลร่วมกันกบั ภิกษุณี โดยทีส่ ุดแมช้ ่วั ละแวกหม่บู า้ นหนง่ึ นอกสมัยตอ้ งอาบตั ิปาจิตตยี ์ สมยั ในข้อนั้น คอื เปน็ หนทางทจ่ี ะพึงไปดว้ ยกองเกวียน ท่รี ู้กนั ว่าน่าหวาดระแวง มภี ัยน่ากลวั นี้เป็นสมัยในขอ้ น้นั ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ์

๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคียช์ กั ชวนกันเดินทางไกลร่วมกันกบัภกิ ษณุ ี ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๑ พระอนบุ ัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบญั ญตั ิเฉพาะภกิ ษุ นาวาภริ หุ นสกิ ขาบท ๒๘. โย ปน ภกิ ฺขุ ภกิ ขฺ นุ ยิ า สทธฺ ึ สวธิ าย เอก นาว อภริ เุ หยยฺ อุทธฺ คามนิ ึ วา อโธคามนิ ึ วาอญญฺ ตรฺ ตริ ยิ ตรณาย ปาจติ ตฺ ยิ . อนึง่ ภกิ ษใุ ดชักชวนภกิ ษุณีโดยสารเรือลาเดียวกนั ไปทวนน้า กต็ าม ไปตามนา้ กต็ าม ต้องอาบตั ิปาจติ ตยี ์ เวน้ ไวแ้ ต่ขา้ มฟาก ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพคั คยี ์ชักชวนภกิ ษณุ โี ดยสารเรือลาเดยี วกนั ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๑ พระอนุบัญญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัตเิ ฉพาะภกิ ษุ รโหนสิ ชั ชสกิ ขาบท ๓๐. โย ปน ภกิ ฺขุ ภกิ ฺขนุ ยิ า สทธฺ ึ เอโก เอกาย รโห นสิ ชชฺ กปเฺ ปยยฺ ปาจติ ตฺ ิย. ก็ ภิกษุใดน่ังในทลี่ บั กับภิกษุณีสองต่อสอง ต้องอาบัตปิ าจิตตยี ์ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอทุ ายี ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุทายนี ่งั ในท่ีลบั กบั ภิกษณุ สี องต่อสอง ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัตเิ ฉพาะภิกษุ โภชนวรรค อาวสถปิณฑสกิ ขาบท ๓๑. อคลิ าเนน ภกิ ฺขนุ า เอโก อาวสถปิณโฺ ฑ ภุญชฺ ติ พโฺ พ. ตโต เจ อุตตฺ ริ ภญุ เฺ ชยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ภิกษุไมเ่ ปน็ ไข้ พึงอยฉู่ ันภตั ตาหารในที่พักแรมไดม้ ้ือเดยี ว ถ้าฉันเกนิ กวา่ นนั้ ต้องอาบตั ิปาจติ ตยี ์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษฉุ ัพพคั คีย์ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๑ พระอนบุ ัญญตั ิ

๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิทั่วไปท้ังภกิ ษุและภกิ ษุณี กาณมาตสุ กิ ขาบท ๓๔. ภกิ ฺขุ ปเนว กลุ อปุ คต ปูเวหิ วา มนเฺ ถหิ วา อภหิ ฏฐฺ ฃุ ปวาเรยยฺ อากงฺขมาเนน ภกิ ขฺ นุ าทวฺ ตตฺ ปิ ตฺตปรู า ปฏคิ คฺ เหตพฺพา. ตโต เจ อุตตฺ ริ ปฏคิ คฺ ณเฺ หยยฺ ปาจิตตฺ ยิ . ทวฺ ตตฺ ปิ ตตฺ ปเู ร ปฏคิ คฺ เหตวฺ า ตโตนหี ริตวฺ า ภกิ ขฺ ูหิ สทธฺ ึ สวภิ ชติ พฺพ อย ตตถฺ สามจี .ิ ก็ ทายกนาขนมหรือข้าวตู มาปวารณาภกิ ษุผูเ้ ข้าไปถึงตระกลู ภิกษผุ ู้ต้องการพึงรบั ได้เต็ม ๒-๓บาตร ถา้ รับเกนิ กว่านัน้ ต้องอาบตั ิปาจิตตีย์ ครัน้ รับเตม็ ๒-๓ บาตรแล้ว เมอ่ื นาออกจากที่นั้นแลว้ พึงแบง่ ปนักับภกิ ษทุ ้ังหลาย น้ีเป็นการทาทส่ี มควรในเรอ่ื งนน้ั ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษหุ ลายรปู ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุหลายรปู รบั อาหารบณิ ฑบาตโดยไมร่ ปู้ ระมาณ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบญั ญัติทั่วไปท้ังภิกษุและภกิ ษุณี ปฐมปวารณาสกิ ขาบท ๓๕. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ภตุ ตฺ าวี ปวารโิ ต อนตริ ติ ฺต ขาทนยี วา โภชนยี วา ขาเทยยฺ วา ภญุ เฺ ชยยฺ วาปาจติ ตฺ ยิ . อน่งึ ภิกษุใดฉันแลว้ บอกห้ามภัตตาหารแล้ว เค้ยี วของเค้ียว หรือฉันของฉนั ทไ่ี ม่เปน็ เดน ตอ้ งอาบัตปิ าจิตตยี ์ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษหุ ลายรปู ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุหลายรูป ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญัติท่ัวไปท้ังภิกษุและภิกษุณี ทตุ ยิ ปวารณาสกิ ขาบท ๓๖. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ ุ ภตุ ตฺ าวึ ปวาริต อนตริ ติ เฺ ตน ขาทนีเยน วา โภชนเี ยน วา อภหิ ฏฐฺ ฃุ ปวาเรยยฺ“หนทฺ ภกิ ฺขุ ขาท วา ภญุ ชฺ วา”ติ ชาน อาสาทนาเปกโฺ ข ภตุ ตฺ สมฺ ึ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษใุ ดรู้อยู่ แต่ตอ้ งการจะจับผดิ นาของเค้ียวหรือของฉันที่ ไม่เป็นเดนไปปวารณา ภกิ ษผุ ู้ฉันแล้วบอกห้ามภตั ตาหารแลว้ โดยกล่าว รบเรา้ วา่ “นมิ นตเ์ ถิดขอรบั ทา่ นจงเคยี้ วหรือจงฉนั กไ็ ด้” เมอื่ เธอฉันแลว้ ภิกษุ นน้ั ต้องอาบตั ิปาจิตตยี ์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี

๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุรูปหน่ึง ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุรปู หนง่ึ นาภัตรทีไ่ มเ่ ป็นเดนไปให้กบั ภกิ ษผุ ทู้ ่ีหา้ มภตั รแล้ว ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบัญญัติเฉพาะภิกษุ สนั นธิ ิการกสกิ ขาบท ๓๘. โย ปน ภกิ ขฺ ุ สนนฺ ธิ กิ ารก ขาทนยี วา โภชนยี วา ขาเทยยฺ วาภญุ ฺเชยยฺ วา ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภิกษุใดเค้ยี วของเคี้ยวหรอื ฉันของฉนั ทเ่ี กบ็ สะสมไว้ ต้องอาบัติ ปาจิตตีย์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บุคคลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระเพลฏั ฐสสี ะ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระเพลฏั ฐสสี ะฉันโภชนที่เก็บสะสมไว้ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บญั ญัติท่ัวไปท้ังภิกษุและภิกษุณี ปณตี โภชนสกิ ขาบท ๓๙. ยานิ โข ปน ตานิ ปณตี โภชนานิ เสยยฺ ถิท สปปฺ ิ นวนตี เตล มธุ ผาณติ มจโฺ ฉ มส ขรี ทธ.ิ โยปน ภกิ ขฺ ุ เอวรปู านิ ปณตี โภชนานิ อคลิ าโน อตตฺ โน อตถฺ าย วญิ ญฺ าเปตวฺ า ภญุ เฺ ชยยฺ ปาจติ ฺตยิ . อนง่ึ ภกิ ษุใดไม่เป็นไข้ ออกปากขอโภชนะอันประณีตเชน่ น้ี คอื เนยใส เนยขน้ น้ามัน นา้ ผงึ้นา้ อ้อย ปลา เนื้อ นมสด นมส้ม มาเพื่อตนแลว้ ฉนั ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บุคคลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษฉุ ัพพคั คีย์ออกปากขอโภชนะอนั ประณตี มาเพ่อืตนแลว้ ฉัน ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๑ พระอนุบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบัญญัตเิ ฉพาะภิกษุ อเจลกวรรค อยุ โยชนสกิ ขาบท ๔๒. โย ปน ภกิ ฺขุ ภกิ ขฺ ุ “เอหาวโุ ส คาม วา นคิ ม วา ปณิ ฑฺ าย ปวสิ สิ สฺ ามา”ติ ตสสฺ ทาเปตวฺ า วาอทาเปตวฺ า วา อยุ โฺ ยเชยยฺ “คจฉฺ าวโุ ส น เม ตยา สทธฺ ึ กถา วา นสิ ชชฺ า วา ผาสุ โหติ เอกกสสฺ เม กถา วานสิ ชชฺ า วา ผาสุ โหตี”ติ เอตเทว ปจจฺ ย กริตวฺ า อนญญฺ ปาจติ ตฺ ยิ .

ก็ ภิกษใุ ดกล่าวชกั ชวนภิกษวุ ่า “ท่านจงมาเถิด พวกเราจะไป บิณทบาตในหมู่บ้านหรือในนคิ ม”แล้วใหท้ ายกถวายหรือไม่ให้ทายกถวายแกเ่ ธอแล้วนิมนต์กลบั ดว้ ยกล่าววา่ “ท่านจงกลบั ไปเถดิ พูดหรือนั่งกับท่านไม่ทาให้เราสบาย เราพูดหรอื นงั่ คนเดยี วสบายกวา่ ” มีเหตผุ ลเพียงเท่านี้ ไม่มีอะไรอ่ืน ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตยี ์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บุคคลผ้กู อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุปนันทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอปุ นนั ทศากยบตุ รชกั ชวนภิกษไุ ปบณิ ฑบาตแล้วไมใ่ หท้ ายกถวายของแกภ่ กิ ษุน้นั แล้ว ส่งภกิ ษุนัน้ กลบั ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัติทวั่ ไปทั้งภิกษุและภกิ ษุณี สโภชนสกิ ขาบท ๔๓. โย ปน ภกิ ขฺ ุ สโภชเน กเุ ล อนปุ ขชชฺ นสิ ชชฺ กปเฺ ปยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษุใดเขา้ ไปน่ังแทรกแซงในตระกลู ท่ีมีคน ๒ คน ตอ้ ง อาบัตปิ าจิตตีย์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวัตถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ พระอปุ นนั ทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุปนนั ทศากยบตุ รเขา้ ไปนั่งแซกแซง ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญตั ทิ ั่วไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณี รโหปฏจิ ฉนั นสกิ ขาบท ๔๔. โย ปน ภกิ ฺขุ มาตคุ าเมน สทธฺ ึ รโห ปฏจิ ฉฺ นเฺ น อาสเน นสิ ชชฺ กปฺเปยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . [๒๘๕] ก็ ภิกษุใดน่งั บนอาสนะทก่ี าบังในที่ลับกบั มาตคุ าม ต้องอาบัติ ปาจติ ตยี ์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ พระอุปนันทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอปุ นนั ทศากยบตุ รนง่ั บนอาสนะทก่ี าบังในทลี่ บักบั มาตุคาม ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ขอ้ บญั ญัติเฉพาะภกิ ษุ รโหนสิ ชั ชสกิ ขาบท ๔๕. โย ปน ภกิ ขฺ ุ มาตคุ าเมน สทธฺ ึ เอโก เอกาย รโห นสิ ชชฺ กปเฺ ปยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภิกษุใดนั่งในทลี่ บั กับมาตุคามสองต่อสอง ต้องอาบัตปิ าจิตตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถี

๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ พระอุปนนั ทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอุปนนั ทศากยบุตรน่งั ในทลี่ บั กบั มาตคุ ามสองต่อสอง ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญตั ิเฉพาะภกิ ษุ อยุ ยตุ ตเสนาสกิ ขาบท ๔๘. โย ปน ภกิ ฺขุ อยุ ยฺ ตุ ตฺ เสน ทสสฺ นาย คจฺเฉยยฺ อญญฺ ตรฺ ตถารปู ปปฺ จจฺ ยา ปาจติ ตฺ ยิ . อน่ึง ภิกษุใดไปดูกองทัพทเี่ คลื่อนขบวนออกรบ นอกจากมเี หตุผลท่ีสมควร ตอ้ งอาบัตปิ าจิตตยี ์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ์ไปดูกองทัพทีเ่ คลอ่ื นขบวนออกรบ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๑ พระอนบุ ญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิท่วั ไปท้ังภิกษุและภกิ ษุณี เสนาวาสสกิ ขาบท ๔๙. สยิ า จ ตสสฺ ภกิ ขฺ โุ น โกจเิ ทว ปจจฺ โย เสน คมนาย ทริ ตตฺ ตริ ตตฺ เตน ภกิ ขฺ นุ า เสนาย วสติ พฺพ.ตโต เจ อตุ ตฺ ริ วเสยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . [๓๑๘] ก็ เมอ่ื ภิกษมุ ีเหตุผลจาเปน็ ตอ้ งไปในกองทัพ ภกิ ษนุ ้นั พึงพักแรมอยู่ในกองทัพได้เพียง ๒-๓ คนื ถ้าพักแรมอยู่เกินกาหนดน้ัน ต้องอาบัติ ปาจิตตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุฉัพพคั คยี ์พักแรมอยู่ในกองทัพเกิน ๓ คืน ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิทว่ั ไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณี อุยโยธกิ สิกขาบท ๕๐. ทริ ตตฺ ตริ ตตฺ เจ ภกิ ฺขุ เสนาย วสมาโน อยุ โฺ ยธิก วา พลคฺค วา เสนาพยฺ ูห วา อนกี ทสสฺ น วาคจเฺ ฉยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ถ้าภิกษุพักอยู่ในกองทพั ๒-๓ คืน เที่ยวไปในสนามรบก็ดี ท่ีพักพลกด็ ี ทีจ่ ัดขบวนทัพก็ดี ไปดูกองทัพทจี่ ดั เปน็ ขบวนแลว้ กด็ ี ตอ้ งอาบตั ิ ปาจติ ตีย์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษฉุ ัพพัคคยี ์

๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษฉุ พั พคั คยี ์ไปสู่สนามรบ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิทั่วไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณีสรุ าปานวรรค.องั คลุ ปิ โตทกสกิ ขาบท๕๒. องคฺ ลุ ปิ โตทเก ปาจติ ตฺ ยิ .ภิกษตุ ้องอาบตั ิปาจิตตีย์ เพราะใช้นว้ิ มือจ้ี๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุฉัพพัคคีย์๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคยี ์ใช้นว้ิ มือจีใ้ หห้ วั เราะ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิทัว่ ไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณีหสั สธมั มสกิ ขาบท๕๓. อทุ เก หสธมเฺ ม ปาจติ ตฺ ยิ .ภกิ ษุต้องอาบัติปาจติ ตีย์ เพราะเลน่ น้า๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรุงสาวตั ถี๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุสัตตรสวคั คีย์๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุสัตตรสวคั คยี เ์ ลน่ นา้ ในแม่นา้ อริ วดี๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัติทวั่ ไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณีภงิ สาปนสกิ ขาบท๕๕. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ ุ ภสึ าเปยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ .ภกิ ษใุ ดทาใหภ้ ิกษตุ กใจ ต้องอาบัตปิ าจิตตีย์๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี๒) บุคคลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุฉัพพัคคยี ์๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษฉุ พั พคั คยี ์ทาใหภ้ ิกษตุ กใจ(หลอกใหก้ ลัวผ)ี๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัติท่ัวไปทั้งภิกษุและภกิ ษุณีทพุ พณั ณกรณสิกขาบท

๕๘. นว ปน ภกิ ขฺ นุ า จวี รลาเภน ติณณฺ ทุพพฺ ณณฺ กรณาน อญญฺ ตร ทุพฺพณฺณกรณ อาทาตพฺพ นลีวา กทฺทม วา กาฬสาม วา. อนาทา เจ ภกิ ขฺ ุ ตณิ ณฺ ทพุ ฺพณณฺ กรณาน อญญฺ ตร ทพุ ฺพณณฺ กรณ นว จวี รปรภิ ญุ เฺ ชยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . กภ็ ิกษุไดจ้ วี รใหม่ พงึ ใช้วัตถุท่ีทาให้เสียสี ๓ ชนดิ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ คอื สเี ขียว สตี ม หรอื สีดาคล้ามาทาให้เสยี สี ถ้าภกิ ษุไม่ใชว้ ัตถุทที่ าให้เสียสี ๓ ชนิด อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง มาทาใหเ้ สียสี ใชส้ อยจีวรใหม่ ต้องอาบตั ปิ าจิตตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุหลายรปู ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษหุ ลายรปู จาจวี รของตนไม่ได้ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ข้อบญั ญัตทิ ั่วไปทั้งภิกษุและภกิ ษุณี วกิ ัปปนสกิ ขาบท ๕๙. โย ปน ภกิ ฺขุ ภกิ ขฺ สุ สฺ วา ภกิ ขฺ นุ ยิ า วา สกิ ขฺ มานาย วา สามเณรสสฺ วา สามเณรยิ า วา สามจวี ร วกิ ปฺเปตวฺ า อปปฺ จจฺ ทุ ธฺ ารณ ปรภิ ญุ เฺ ชยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษใุ ดวิกัปจวี รด้วยตนเองแก่ภิกษุ หรือแก่ภกิ ษณุ ี หรอื แกส่ ิกขมานา หรือแก่สามเณร หรือแก่สามเณรี แลว้ ใช้สอยจีวรท่ียงั มไิ ดป้ จั จทุ ธรณ์ ต้องอาบตั ิปาจิตตีย์ ๑) สถานท่บี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ได้แก่ พระอปุ นนั ทศากยบุตร ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุปนนั ทศากยบตุ รวกิ ปั จีวรไว้กับแกภ่ ิกษุ แล้วใช้สอยจีวรท่ียังมิได้ปัจจุทธรณ์ ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญตั ิทั่วไปทั้งภิกษุและภิกษุณี อปนธิ านสกิ ขาบท ๖๐. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ สุ สฺ ปตฺต วา จวี ร วา นสิ ที นวา สจู ิฆร วา กายพนธฺ น วา อปนเิ ธยยฺ วาอปนธิ าเปยยฺ วา อนตฺ มโส หสาเปกโฺ ขปิ ปาจติ ฺตยิ . ก็ ภกิ ษุใดเอาบาตรหรือจวี ร ผ้าปูน่งั กลอ่ งเขม็ หรือประคดเอวของภกิ ษไุ ปซ่อน ใชใ้ ห้เอาไปซอ่ นโดยที่สดุ แม้มงุ่ จะลอ้ เลน่ ต้องอาบตั ิ ปาจติ ตยี ์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวตั ถี ๒) บคุ คลผกู้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภกิ ษฉุ ัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษุฉพั พคั คีย์เอาบริขารของภิกษุไปซ่อน ๔) บัญญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ

๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บัญญัติทว่ั ไปทั้งภิกษุและภิกษุณี สปั ปาณกวรรค สญั จจิ จสกิ ขาบท ๖๑. โย ปน ภกิ ฺขุ สญจฺ จิ จฺ ปาณ ชวี ติ า โวโรเปยยฺ ปาจติ ฺตยิ . [๓๘๓] ก็ ภกิ ษใุ ดจงใจปลงชวี ติ สตั ว์ ต้องอาบตั ปิ าจิตตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ได้แก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ได้แก่ พระอทุ ายี ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ พระอุทายจี งใจปลงชวี ติ สัตว์ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบัญญัตทิ วั่ ไปท้ังภิกษุและภิกษุณี สปั ปาณกสกิ ขาบท ๖๒. โย ปน ภกิ ฺขุ ชาน สปปฺ าณก อทุ ก ปรภิ ญุ เฺ ชยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษใุ ดรู้อยวู่ ่านา้ มสี ตั ว์มีชีวติ กย็ ังบริโภค ตอ้ งอาบัติปาจิตตยี ์ ๑) สถานทีบ่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษฉุ ัพพัคคยี ์รู้อยู่ว่านา้ มสี ัตวม์ ชี วี ติ ก็ยังบริโภค ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นข้อบญั ญัตทิ ัว่ ไปท้ังภิกษุและภกิ ษุณี อกุ โกฏนสกิ ขาบท ๖๓. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ชาน ยถาธมมฺ นหิ ตาธกิ รณ ปนุ กมมฺ าย อกุ โฺ กเฏยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ ก็ ภกิ ษใุ ดรู้อยู่ รื้อฟ้ืนอธิกรณ์ทีต่ ดั สนิ ไปแลว้ อย่างถูกต้อง เพื่อพิจารณาใหม่ ตอ้ งอาบัติปาจิตตีย์ ๑) สถานทบี่ ญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรุงสาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุฉัพพัคคีย์ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภกิ ษุฉัพพัคคีย์รอู้ ย่รู ้อื ฟน้ื อธิกรณ์ท่ีตดั สินไปแล้วอย่างถูกต้อง เพื่อพิจารณาใหม่ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เปน็ ข้อบัญญัตทิ ว่ั ไปท้ังภิกษุและภิกษุณี. ทฏุ ฐฺ ฃลุ สิกขาบท ๖๔. โย ปน ภกิ ฺขุ ภกิ ฺขสุ สฺ ชาน ทฏุ ฐฺ ฃลุ ลฺ อาปตตฺ ึ ปฏจิ ฉฺ าเทยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ .

ก็ ภกิ ษุใดรู้อย่ปู กปิดอาบัตชิ ่ัวหยาบของภิกษุ ต้องอาบัติปาจติ ตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภิกษุรปู หนึง่ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุรปู หน่งึ รอู้ ยู่ปกปิดอาบัตชิ ่วั หยาบของภกิ ษุ ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบัญญตั ิ เป็นข้อบญั ญัติเฉพาะภิกษุ เถยยสตั ถสกิ ขาบท ๖๖. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ชาน เถยยฺ สตเฺ ถน สทธฺ ึ สวธิ าย เอกทธฺ านมคฺค ปฏปิ ชเฺ ชยยฺ อนตฺ มโสคามนตฺ รมปฺ ิ ปาจติ ตฺ ยิ ก็ ภิกษุใดรู้อยู่ ชกั ชวนกันเดนิ ทางไกลรว่ มกนั กบั กลมุ่ พอ่ ค้าเกวียน ผูเ้ ปน็ โจร โดยที่สดุ แม้ชว่ั ละแวกหมูบ่ า้ นหน่งึ ต้องอาบตั ิปาจติ ตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บุคคลผูก้ อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุรูปหนึง่ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภิกษรุ ปู หน่งึ รูอ้ ย่ชู กั ชวนกันเดินทางไกลรว่ มกันกับกลุม่ พ่อค้าเกวียน ผู้เป็นโจร ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เปน็ ขอ้ บญั ญตั ทิ วั่ ไปทั้งภกิ ษุและภิกษุณี. สงั วธิ านสกิ ขาบท ๖๗. โย ปน ภกิ ขฺ ุ มาตคุ าเมน สทธฺ ึ สวธิ าย เอกทธฺ านมคฺค ปฏปิ ชเฺ ชยยฺ อนตฺ มโส คามนตฺ รมปฺ ิปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภกิ ษุใดชกั ชวนกันเดินทางไกลรว่ มกันกับมาตคุ าม โดยทีส่ ุดแมช้ ัว่ ละแวกหมบู่ ้านหนง่ึ ต้องอาบตั ิปาจิตตีย์ ๑) สถานท่ีบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผ้กู อ่ เหตุ ไดแ้ ก่ ภิกษุรปู หนงึ่ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ ภิกษุรปู หน่ึงชักชวนเดินทางไกลรว่ มกนั กบั มาตุคาม ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบัญญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บัญญตั ิเฉพาะภิกษุ อรฏิ ฐสกิ ฺขาบท ๖๘. โย ปน ภกิ ขฺ ุ เอว วเทยยฺ “ตถาห ภควตา ธมมฺ เทสิต อาชานามิ ยถา เยเม อนฺตรายกิ า ธมฺมาวตุ ตฺ า ภควตา เต ปฏเิ สวโต นาล อนตฺ รายายา”ติ โส ภิกขฺ ุ ภกิ ฺขหู ิ เอวมสสฺ วจนโี ย “มายสมฺ า เอว อวจ มา

ภควนฺต อพภฺ าจิกขฺ ิ น หิ สาธุ ภควโต อพภฺ กขฺ าน น หิ ภควา เอว วเทยยฺ อเนกปรยิ าเยนาวโุ ส อนตฺ รายิกาธมมฺ า อนตฺ รายิกา วตุ ตฺ า ภควตา อลญจฺ ปน เต ปฏเิ สวโต อนตฺ รายายา”ต.ิ เอวญจฺ โส ภกิ ขฺ ุ ภกิ ขฺ หู ิ วจุ จฺ มาโนตเถว ปคฺคณเฺ หยยฺ โส ภกิ ขฺ ุ ภกิ ฺขหู ิ ยาวตตยิ สมนภุ าสติ พโฺ พ ตสสฺ ปฏนิ สิ สฺ คฺคาย. ยาวตตยิ ญฺเจ สมนภุ าสยิ มาโน ต ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ อจิ เฺ จต กุสล. โน เจ ปฏนิ สิ สฺ ชเฺ ชยยฺ ปาจิตตฺ ยิ . ก็ ภิกษุใดกลา่ วอยา่ งนว้ี า่ “เรารทู้ ่ัวถงึ ธรรมท่ีพระผู้มีพระภาคทรง แสดงแล้วจนกระท่ังวา่ ธรรมตามที่พระผูม้ ีพระภาคตรัสว่าเป็นธรรมก่ออันตราย กห็ าสามารถก่ออนั ตรายแก่ผู้ซ่องเสพได้จริงไม่” ภิกษุนน้ัอนั ภิกษทุ ้ังหลายพึงว่ากลา่ วตกั เตอื นอยา่ งนี้ว่า “ท่านอยา่ ได้กลา่ วอยา่ งนี้ อย่ากลา่ วตู่พระผู้มีพระภาค การกลา่ วตู่พระผู้มีพระภาคไม่ดีเลย เพราะพระผู้มพี ระภาคไมไ่ ด้ตรสั อยา่ งนัน้ ท่าน พระผู้มีพระภาคตรัสธรรมที่ก่ออนั ตรายว่าเป็นธรรมก่ออนั ตรายไวโ้ ดย ประการตา่ งๆ และธรรมเหล่านั้นก็สามารถก่ออันตรายแก่ผู้ซ่องเสพได้จริง” ภิกษุนั้นอันภิกษุทง้ั หลายว่ากล่าวตักเตอื นอยู่อย่างนี้ กย็ ังยนื ยันอยู่อย่างนัน้ ภกิ ษุน้ันอนั ภิกษุท้ังหลายพึงสวดสมนุภาสน์จนครบ ๓ ครง้ั เพอ่ื ใหส้ ละทิฏฐิน้นั ถ้าเธอกาลงั ถกู สวดสมนภุ าสน์กว่าจะครบ ๓ ครง้ั สละทิฏฐิน้นั ได้ น่นั เปน็ การดี ถ้าไม่สละ ตอ้ งอาบัตปิ าจิตตยี ์ ๑) สถานทบ่ี ญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ กรงุ สาวัตถี ๒) บคุ คลผู้กอ่ เหตุ ได้แก่ พระอริฏฐะ ๓) มลู เหตแุ หง่ การบญั ญตั สิ กิ ขาบท ไดแ้ ก่ พระอริฏฐะกล่าวไม่สละทฏิ ฐิบาป ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญัติ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บัญญัตทิ วั่ ไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณี อกุ ขติ ตสัมโภคสกิ ขาบท ๖๙. โย ปน ภกิ ขฺ ุ ชาน ตถาวาทนิ า ภกิ ขฺ นุ า อกฏานธุ มฺเมน ต ทฏิ ฐฺ ฃึ อปปฺ ฏนิ สิ สฺ ฏฺเฐฃน สทธฺ ึสมภฺ ญุ เฺ ชยยฺ วา สวเสยยฺ วา สห วา เสยยฺ กปเฺ ปยยฺ ปาจติ ตฺ ยิ . ก็ ภิกษุใดรู้อยูก่ ็ยังคบหา อยู่ร่วม หรือนอนรว่ มกบั ภิกษผุ ู้กลา่ วต่อู ยา่ งนัน้ ผูท้ ่ีสงฆ์ยงั มิได้ทาธรรมอันสมควร ยังไม่ยอมสละทิฏฐิน้ัน ตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตีย์ ๑) สถานที่บญั ญตั สิ ิกขาบท ไดแ้ ก่ กรงุ สาวตั ถี ๒) บคุ คลผูก้ อ่ เหตุ ได้แก่ ภกิ ษฉุ ัพพัคคยี ์ ๓) มลู เหตแุ ห่งการบญั ญตั สิ กิ ขาบท ได้แก่ ภกิ ษุฉพั พคั คยี ์คบหากับพระอรฏิ ฐะผู้ถูกสงฆย์ กวตั ร ๔) บญั ญตั ิ มี ๑ พระบญั ญตั ิ ๕) ประเภทของบญั ญตั ิ เป็นขอ้ บญั ญัตทิ ว่ั ไปท้ังภกิ ษุและภิกษุณี กัณฏกสกิ ขาบท ๗๐. สมณุทเฺ ทโสปิ เจ เอว วเทยยฺ “ตถาห ภควตา ธมมฺ เทสิต อาชานามิ ยถา เยเม อนตฺ รายกิ าธมมฺ า วตุ ตฺ า ภควตา เต ปฏเิ สวโต นาล อนตฺ รายายา”ติ โส สมณทุ เฺ ทโส ภกิ ขฺ หู ิ เอวมสสฺ วจนโี ย “มาวโุ สสมณทุ ฺเทส เอว อวจ มา ภควนฺต อพภฺ าจิกขฺ ิ น หิ สาธุ ภควโต อพภฺ กขฺ าน น หิ ภควา เอว วเทยฺย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook