Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารคำสอนภิกขุนีวิภังคปาลี56

เอกสารคำสอนภิกขุนีวิภังคปาลี56

Published by wichit1588, 2018-06-15 14:51:44

Description: เอกสารคำสอนภิกขุนีวิภังคปาลี56

Search

Read the Text Version

๕๑ กภ็ กิ ษุณีใดให้เอาบริขารท่เี ขาถวายเพ่อื ประโยชน์แกป่ จั จยั อย่างหน่งึ ที่เขาถวายอุทศิ ของอยา่ งหนง่ึ ที่เขาบรจิ าคแกภ่ ิกษุณจี านวนมาก แลกเปล่ยี นของอยา่ งอ่ืน ต้องอาบัตนิ สิ สัคคิยปาจติ ตีย์สิกขาบทวภิ งั ค์ วิธีสละของท่เี ปน็ นสิ สัคคีย์ เหมือนท่ีกล่าวแลว้บทภาชนยี ์ ทกุ ทกุ กฏ ไม่ใชข่ องท่เี ขาถวายเพอ่ื ประโยชน์แก่ปจั จัยอย่างหนึ่ง ภิกษุณีสาคัญว่าเปน็ ของ ทเี่ ขาถวายเพอ่ืประโยชนแ์ ก่ปจั จยั อยา่ งหน่ึง ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ไม่ใช่ของทีเ่ ขาถวายเพือ่ ประโยชน์แก่ปจั จยั อยา่ งหน่ึง ภกิ ษุณไี มแ่ นใ่ จ ต้อง อาบัตทิ ุกกฏ ไมใ่ ชข่ องทเี่ ขาถวายเพือ่ ประโยชน์แก่ปัจจัยอยา่ งหนึ่ง ภิกษุณีสาคญั วา่ ไมใ่ ชข่ อง ทีเ่ ขาถวายเพื่อประโยชนแ์ ก่ปัจจยั อย่างหนง่ึ ไม่ตอ้ งอาบตั ิอนาปตั ตวิ าร ภิกษุณีตอ่ ไปนีไ้ ม่ตอ้ งอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษุณีนากัปปิยภัณฑท์ เ่ี หลือไปใช้เพ่ือประโยชน์อยา่ งอ่นื ๒. ภิกษุณีขออนุญาตเจา้ ของกอ่ นจงึ นาไปใชเ้ พ่อื ประโยชน์อย่างอ่นื ๓. ภกิ ษณุ ผี ้มู เี หตุขดั ขอ้ ง ๔. ภกิ ษณุ วี กิ ลจรติ ๕. ภิกษุณีต้นบญั ญัติ สกิ ขาบทท่ี ๙ ว่าด้วยการแลกเปล่ียนบรขิ ารท่ีเขาถวายแก่คณะขอ้ ที่ ๒ เรอ่ื งภกิ ษณุ ีหลายรปู ครง้ั นนั้ ภิกษณุ ที ง้ั หลายท่อี าศัยอยู่ในบรเิ วณของสมาคมแห่งหน่ึง อัตคัดข้าวต้ม สมาคมน้ันจึงรวบรวมบริขารที่เขาให้ด้วยความพอใจเพื่อค่าข้าวต้มถวายภิกษุณีทั้งหลายแล้วฝากไว้ท่ีบ้านของเจ้าของรา้ นค้าคนหนง่ึ แล้วเข้าไปหาภกิ ษณุ ที ้ังหลาย บอกใหท้ ราบ ภิกษุณีท้ังหลายขอให้เอาบริขารน้ันแลกเปลี่ยนเภสชั เองแล้วบริโภค พระผู้มีพระภาครับส่งั ใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเรื่องนเี้ ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ งั้ หลายแลว้ จงึ รบั ส่งั ให้ภิกษณุ ที ง้ั หลายยกสกิ ขาบทนขี้ ้นึ แสดงดงั นี้พระบัญญัติ

๕๒ ก็ภิกษณุ ีใดใหเ้ อาบรขิ ารทีเ่ ขาถวายเพ่อื ประโยชน์แกป่ จั จยั อย่างหนงึ่ ที่เขาถวายอทุ ิศของอยา่ งหนึง่ ที่เขาบริจาคแกภ่ กิ ษณุ ีจานวนมาก ที่ขอมาเอง แลกเปล่ยี นของอย่างอ่นื ตอ้ งอาบตั นิ ิสสัคคยิ ปาจิตตีย์บทภาชนยี ์ ทุกทุกกฏ ไมใ่ ชข่ องทเี่ ขาถวายเพอ่ื ประโยชนแ์ กป่ ัจจัยอย่างหนึ่ง ภิกษุณสี าคัญวา่ เป็นของ ทเ่ี ขาถวายเพอ่ืประโยชนแ์ ก่ปจั จัยอยา่ งหนง่ึ ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ไม่ใช่ของท่เี ขาถวายเพื่อประโยชนแ์ กป่ ัจจยั อย่างหนง่ึ ภิกษณุ ีไม่แน่ใจ ต้อง อาบตั ิทุกกฏ ไม่ใชข่ องทเ่ี ขาถวายเพอ่ื ประโยชน์แกป่ จั จยั อยา่ งหนง่ึ ภกิ ษุณสี าคัญว่าไมใ่ ช่ของ ท่เี ขาถวายเพอื่ ประโยชน์แก่ปัจจยั อยา่ งหนึง่ ไมต่ ้องอาบตั ิอนาปัตตวิ าร ภิกษุณตี อ่ ไปน้ีไม่ตอ้ งอาบัติ คอื ๑. ภิกษณุ นี ากปั ปยิ ภัณฑท์ ีเ่ หลือไปใชเ้ พ่ือประโยชนอ์ ย่างอื่น ๒. ภิกษุณขี ออนุญาตเจา้ ของก่อนจงึ นาไปใชเ้ พ่อื ประโยชอ์ ย่างอ่นื ๓. ภิกษณุ ผี ู้มีเหตขุ ดั ขอ้ ง ๔. ภิกษุณีวกิ ลจริต ๕. ภกิ ษณุ ตี น้ บญั ญตั ิ สิกขาบทที่ ๑๐ วา่ ด้วยการแลกเปลี่ยนบริขารท่ีเขาถวายแกบ่ ุคคล เรอ่ื งภิกษุณถี ุลลนนั ทา คร้ังนน้ั ภิกษณุ ีถลุ ลนันทาเป็นพหูสตู เป็นนักพูด แกลว้ กล้า สามารถกล่าวธรรมีกถา คนจานวนมากเข้าไปหาภกิ ษุณถี ุลลนันทาน้นั บรเิ วณที่อยู่ของภกิ ษณุ ถี ลุ ลนนั ทาชารุด ชาวบา้ นได้กลา่ วกบั ภิกษณุ ถี ุลลนนั ทาดงั นีว้ า่ แมเ่ จา้ เพราะเหตไุ รบริเวณท่ีอยขู่ องทา่ นจึงชารุดเลา่ นางตอบวา่ เพราะไม่มที ายก ผกู้ ่อสรา้ งซอ่ มแซมก็ไมม่ ี คนท้ังหลายจึงรวบรวมบรขิ ารท่ีเขาให้ด้วยความพอใจเปน็ คา่ บรู ณะบรเิ วณถวาย ภกิ ษณุ ถี ลุ ลนนั ทา แต่ภิกษุณถี ลุ ลนันทาขอใหเ้ อาบริขารนั้นแลกเปล่ยี นเภสชั เองแล้วบริโภค พวกชาวบ้านทราบเรอ่ื งเข้า จงึ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาไดน้ าเร่อื งนไ้ี ปบอกภิกษทุ ง้ั หลายใหท้ ราบ พวกภิกษุจึงได้ นาเร่ืองน้ีไปกราบทลู พระผู้มพี ระภาคใหท้ รงทราบ พระผ้มู พี ระภาครับส่งั ใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเรือ่ งนเ้ี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้งั หลายแลว้ จึงรับสงั่ ให้ ภิกษณุ ีท้งั หลายยกสิกขาบทน้ขี ้นึ แสดงดังนี้

๕๓พระบัญญัติ กภ็ ิกษณุ ีใดใหเ้ อาบริขารทเี่ ขาถวายเพื่อประโยชนแ์ ก่ปัจจัยอยา่ งหนง่ึ ทเ่ี ขาถวายอุทิศของอยา่ งหนง่ึ ท่ีเขาบริจาคแกบ่ ุคคล ทีข่ อมาเอง แลกเปลี่ยนของอย่างอ่นื ต้องอาบัตนิ ิสสัคคิยปาจติ ตีย์บทภาชนีย์ ทกุ ทกุ กฏ ไมใ่ ชข่ องที่เขาถวายเพ่ือประโยชน์แก่ปัจจัยอยา่ งหนงึ่ ภิกษุณสี าคัญว่าเปน็ ของ ทเ่ี ขาถวายเพอ่ืประโยชน์แกป่ จั จัยอย่างหนึง่ ต้องอาบตั ิทุกกฏ ภิกษณุ ไี มแ่ น่ใจ ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ภิกษุณสี าคัญว่าไม่ใชข่ องทเี่ ขาถวายเพอื่ ประโยชน์แกป่ จั จัยอยา่ งหนึ่ง ไมต่ ้องอาบตั ิอนาปัตติวาร ภกิ ษณุ ตี อ่ ไปน้ีไม่ต้องอาบัติ คอื ๑. ภิกษณุ ีนากปั ปิยภัณฑท์ ่เี หลือไปใชเ้ พื่อประโยชน์อยา่ งอน่ื ๒. ภกิ ษุณขี ออนุญาตเจ้าของก่อนจึงนาไปใชเ้ พ่อื ประโยชนอ์ ย่างอื่น ๓. ภกิ ษณุ ผี ู้มเี หตุขดั ข้อง ๔. ภกิ ษุณวี ิกลจริต ๕. ภิกษณุ ีต้นบัญญัติ สกิ ขาบทที่ ๑๑ ว่าดว้ ยการขอผ้าห่มหนาในฤดหู นาว เรื่องภิกษณุ ถี ลุ ลนนั ทา ครง้ั น้นั ภิกษณุ ีถลุ ลนันทาเป็นพหสู ตู เป็นนกั พูด แกล้วกลา้ สามารถกล่าวธรรมีกถา สมยั นั้นในฤดหู นาว พระเจ้าปเสนทิโกศล ทรงผ้ากมั พลราคาแพงเข้าไปหาภกิ ษณุ ีถุลลนันทาถงึ ท่ีอยู่ ทรงอภวิ าทแล้วประทบั น่ัง ณ ทสี่ มควร ภิกษณุ ถี ุลลนันทาชแ้ี จงให้พระเจ้าปเสนทิโกศลผู้ประทับน่งั ณ ท่ีสมควร เหน็ ชดั ชวนใหอ้ ยากรับเอาไปปฏบิ ัติ เร้าใจให้อาจหาญแกลว้ กลา้ ปลอบชโลมใจให้สดช่นื ร่าเรงิ ดว้ ยธรรมกี ถา ลาดบั นนั้ พระเจา้ ปเสนทิโกศลได้ตรสั กับภกิ ษณุ ถี ลุ ลนันทาว่า แมเ่ จา้ทา่ นต้องการสง่ิ ใดก็โปรดไดบ้ อกเถิด ภกิ ษณุ ถี ุลลนนั ทานน้ั ทูลว่า ขอถวายพระพร ถ้าพระองคม์ พี ระราชประสงค์จะพระราชทาน ก็ขอไดโ้ ปรดพระราชทานผา้ กัมพลผืนนีเ้ ถดิ คร้ังนนั้ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลถวายผ้ากมั พลผืนนนั้ แกภ่ กิ ษุณีถุลลนนั ทา เสดจ็ ลกุ จากทป่ี ระทับน่ังทรงอภวิ าทภิกษุณถี ลุ ลนันทาแล้วทาประทักษณิ เสด็จจากไป ลาดับนนั้ พระผู้มีพระภาครับส่ังใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเร่ืองน้ีเปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แลว้ จึงรบั ส่ังใหภ้ ิกษุณีทั้งหลายยกสิขาบทนี้ขนึ้ แสดงดงั น้ีพระบญั ญัติ

๕๔ ก็ภิกษุณเี ม่อื จะขอผา้ ห่มหนา พงึ ขอได้เพยี งราคา๒๘ ๔ กงั สะ๑ เปน็ อยา่ งมาก ถา้ ขอเกนิกว่าน้นั ตอ้ งอาบัตินสิ สคั คิยปาจิตตยี ์๒สิกขาบทวภิ งั ค์ พงึ ขอได้เพยี งราคา ๔ กงั สะ คอื พึงขอผ้าท่ีมรี าคา ๑๖ กหาปณะได้ ถา้ ขอเกินกวา่ นั้น ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏในขณะทีข่ อ ผ้านั้นเป็นนสิ สัคคยี เ์ พราะได้มา คอื เป็นของจาตอ้ งสละแกส่ งฆ์ แกค่ ณะหรือแก่ภกิ ษุณรี ปู เดยี ว วิธสี ละผา้ หม่ ทเ่ี ปน็ นิสสคั คีย์ เหมือนทก่ี ล่าวแลว้บทภาชนยี ์ ทุกทุกกฏ ผ้าห่มหนาราคาหยอ่ นกว่า ๔ กังสะ ภกิ ษุณสี าคัญวา่ เกนิ ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ ผา้ ห่มหนาราคาหย่อนกว่า ๔ กงั สะ ภกิ ษุณีไมแ่ นใ่ จ ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ผ้าห่มหนาราคาหย่อนกว่า ๔ กังสะ ภิกษณุ ีสาคญั วา่ หย่อนกวา่ ไม่ต้องอาบตั ิอนาปตั ตวิ าร ภิกษณุ ตี ่อไปนี้ไมต่ อ้ งอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษณุ ขี อผา้ หม่ หนาราคา ๔ กงั สะเปน็ อยา่ งมาก ๒. ภกิ ษณุ ีขอผ้าห่มหนาราคาหย่อนกว่า ๔ กงั สะ ๓. ภิกษุณีขอจากญาติ ๔. ภกิ ษณุ ีขอจากคนปวารณา ๕. ภกิ ษณุ ีขอเพ่อื ประโยชน์แกผ่ ู้อื่น ๖. ภิกษณุ ซี ื้อมาด้วยทรพั ย์ของตน ๗. ภกิ ษณุ จี า่ ยผา้ ราคาถูก แต่ทายกผ้ตู อ้ งการให้จา่ ยผา้ ราคาแพง ๘. ภิกษุณวี ิกลจริต ๙. ภกิ ษณุ ตี ้นบญั ญัติ สิกขาบทที่ ๑๒ วา่ ด้วยการขอผ้าหม่ บางในฤดรู อ้ น เรอื่ งภกิ ษุณีถุลลนันทา ๒๘ กงั สะ เท่ากบั ๔ กหาปณะ, ๔ กังสะ จงึ เท่ากบั (๔x๔) ๑๖ กหาปณะ (กงขฺ า.อ. ๓๖๒)

๕๕ คร้ังนัน้ ภกิ ษณุ ีถุลลนนั ทาเปน็ พหสู ตู เป็น นักพูด แกลว้ กลา้ สามารถกลา่ วธรรมกี ถา สมยั นัน้ในฤดรู อ้ น พระเจ้าปเสนทโิ กศล ทรงผา้ เปลือกไม้ราคาแพง เขา้ ไปหาภิกษณุ ถี ุลลนนั ทา ทรงอภิวาทแลว้ ประทบั นัง่ ณ ทีส่ มควร ภิกษณุ ีถุลลนันทาชแ้ี จงใหพ้ ระเจ้าปเสนทโิ กศลผู้ประทบั นงั่ ณ ที่สมควรใหเ้ หน็ ชดั ชวนให้อยากรับเอาไปปฏิบตั ิ เรา้ ใจใหอ้ าจหาญแกลว้ กล้า ปลอบชโลมใจใหส้ ดชนื่ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา พระเจา้ ปเสนทิโกศล ได้ตรัสกับภกิ ษุณีถลุ ลนนั ทาว่า แม่เจา้ ท่านต้องการส่งิ ใดก็โปรดได้บอกเถิด ภกิ ษุณถี ุลลนันทานั้นทูลวา่ ขอถวายพระพร ถ้าพระองคม์ พี ระราชประสงคจ์ ะพระราชทาน ก็ขอได้โปรดพระราชทานผ้าเปลอื กไมผ้ นื นเ้ี ถดิ พระเจ้าปเสนทโิ กศลถวายผา้ เปลือกไมผ้ ืนนน้ั แก่ภิกษุณีถุลลนนั ทา เสดจ็ ลุกจากท่ปี ระทบั น่งั แลว้ ทรงอภิวาทภิกษณุ ีถลุ ลนันทาแลว้ ทาประทกั ษณิ เสดจ็ จากไป ลาดับน้นั พระผู้มีพระภาครบั สัง่ ใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเร่อื งนเ้ี ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้งั หลาย แลว้ จึงรับสง่ั ใหภ้ ิกษุณที งั้ หลายยกสิกขาบทนขี้ ึน้ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ กภ็ ิกษณุ ีเมื่อจะขอผ้าห่มบาง พึงขอได้เพียงราคา ๒ กังสะครึ่งเป็นอย่างมาก ถ้าขอเกินกว่านนั้ ต้องอาบัตินิสสัคคยิ ปาจติ ตยี ์ สิกขาบทวิภังค์ ทีช่ ่ือว่า ผ้าหม่ บาง ได้แก่ ผ้าห่มชนิดหนึ่งทีใ่ ชใ้ นฤดูรอ้ น๑ คาว่า พึงขอได้เพียงราคา ๒ กังสะคร่ึงเป็นอยา่ งมาก คอื พงึ ขอผ้ามรี าคา ๑๐ กหาปณะได้ คาว่า ถา้ ขอเกินกว่าน้ัน ความวา่ ภกิ ษณุ อี อกปากขอผ้าราคาเกนิ กว่าน้ัน ต้องอาบัตทิ ุกกฏในขณะทขี่ อ ผ้านนั้ เปน็ นสิ สคั คยี เ์ พราะได้มา คอื เปน็ ของจาต้องสละแก่สงฆ์ แกค่ ณะหรอื แกภ่ กิ ษุณีรปูเดยี วบทภาชนีย์ ทกุ ทุกกฏ ภกิ ษณุ สี าคญั วา่ เกนิ ต้องอาบตั ิ ทกุ กฏ ภิกษณุ ีไมแ่ น่ใจ ต้องอาบัติทกุ กฏ ภกิ ษณุ ีสาคัญว่าหย่อนกวา่ ไม่ตอ้ งอาบัติอนาปตั ติวาร ภิกษณุ ีตอ่ ไปน้ไี ม่ต้องอาบตั ิ คือ ๑. ภกิ ษณุ ขี อผ้าห่มบางราคา ๒ กงั สะครง่ึ เปน็ อยา่ งมาก ๒. ภิกษุณขี อผา้ ห่มบางราคาหย่อนกวา่ ๒ กังสะคร่ึง ๓. ภิกษุณขี อจากญาติ ๔. ภกิ ษุณีขอจากคนปวารณา

๕๖ ๕. ภิกษณุ ีขอเพือ่ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อื่น ๖. ภิกษุณีซอื้ มาดว้ ยทรัพย์ของตน ๗. ภกิ ษณุ ีจ่ายผ้าราคาถกู ต่อทายกผตู้ อ้ งการให้จา่ ยผ้าราคาแพง ๘. ภิกษณุ วี กิ ลจรติ ๙. ภกิ ษุณตี น้ บัญญตั ิสรปุ ทา้ ยบท คาว่า นิสสัคคิยะ แปลว่า ทาใหส้ ละสงิ่ ของ อาบัตทิ ่ีสละสงิ่ ของแลว้ พึงแสดง หรอื แปลวา่ การสละ ซงึ่ เปน็ ชอื่ กระบวนการทางวนิ ัยท่พี ึงทาในเบอ้ื งตน้ ๒๙ คาวา่ ปาจิตตีย์ แปลว่า ทากุศลจติ กล่าวคอื กศุ ลธรรมของผู้จงใจตอ้ งอาบัติให้ตกไป โดยสรปุ ก็คอื ทาจติ ใหต้ กไป และจิตทถี่ กู ทาให้ตกไปนัน้ ยอ่ มพลาดจากอรยิ มรรค หรอื ทาอรยิ มรรคให้เสียไปและปาจิตตยี น์ เ้ี ป็น เหตุให้จิตล่มุ หลง๓๐ ๒๙ นิสสฺ ชชฺ ติ วฺ า ย เทเสติ, เตเนตนตฺ ิ นสิ ฺสชชฺ ติ วฺ า เทเสตพพฺ โต นิสฺสคคฺ ิยนตฺ ิ วุจฺจติ - วิ.อ. ๓/๓๓๙/๔๘๕,นสิ สฺ ชฺชน นิสฺสคคฺ ยิ , ปพุ พฺ ภาเค กตฺตพฺพสสฺ วินยกมมฺ สเฺ สต นาม - กงขฺ า.อ. ๑๘๖ ๓๐ วิ.อ. ๓/๓๓๙/๔๘๕

๕๗ รวมท้ัง ๒ คานเ้ี ขา้ ด้วยกนั เปน็ “นสิ สัคคยิ ปาจติ ตีย์” ซึ่งเป็นช่ือสิกขาบท หมายถึงบทบญั ญตั ิในนสิ สัคคยิ กณั ฑ์ ๓๐ สกิ ขาบท และเป็นช่อื อาบตั ิ หมายถึง อาบตั นิ ิสสคั คิยปาจติ ตีย์ ทีภ่ กิ ษุณตี ้องเพราะเกย่ี วขอ้ งกับเคร่อื งอุปโภคบรโิ ภคในทางทไี่ มเ่ หมาะสม เป็นลหุกาบตั ิ คอื อาบัตเิ บา และเปน็ สเตกจิ ฉา คือยังพอแกไ้ ขได้ เมื่อภิกษุณีต้องเข้าแลว้ สามารถพ้นได้ดว้ ยการสละสงิ่ ของ เช่น จวี ร บาตร ผา้นสิ ที นะ เปน็ ต้น เม่ือตอ้ งอาบตั ิแล้วใหแ้ สดงอาบตั ติ ่อหน้าสงฆ์ คณะ หรอื บุคคล นิสสัคคยิ ปาจิตติย์ของภิกษณุ แี บง่ เปน็ ๒ สว่ น คอื (๑) อสาธารณบัญญตั ิ (๒) สาธารณบัญญัติในภกิ ขนุ วี ิภังคน์ ้ี แสดงไวเ้ ฉพาะอสาธารณบัญญัติ นิสสัคคยิ กัณฑ์แบ่งเปน็ ๓ วรรค คือ ๑. ปตั ตวรรค หมวดว่าดว้ ยบาตร มี ๑๒ สกิ ขาบท ๒. จีวรวรรค หมวดว่าด้วยจีวร มี ๘ สิกขาบท ๓. ชาตรปู รชตวรรค หมวดวา่ ดว้ ยทองและเงนิ มี ๑๐ สกิ ขาบท อสาธารณบัญญตั ิ วธิ ีสละผา้ หม่ ทเ่ี ป็นนิสสคั คีย์ สละแก่สงฆ์ ภิกษณุ ีรูปน้ันพงึ เข้าไปหาสงฆ์ ห่มอตุ ตราสงค์เฉวยี งบา่ ขา้ งหนึ่ง กราบเทา้ ภกิ ษุณีผู้แก่พรรษานงั่ กระโหย่ง ประนมมือ กลา่ วอยา่ งน้ีวา่ “แม่เจา้ ผา้ หม่ บางผืนน้รี าคาเกิน ๒ กงั สะคร่ึง ดฉิ นั ขอมาเปน็ นสิ สัคคีย์ ดิฉนั ขอสละผ้าหม่ บางผืนน้แี กส่ งฆ์” ครั้นสละแลว้ พงึ แสดงอาบตั ิ ภิกษุณผี ู้ฉลาดสามารถพงึ รับอาบัติ พึงคนื ผ้าหม่ บางทเ่ี ธอสละให้ด้วยญตั ตกิ รรม วาจาว่า “แม่เจา้ ขอสงฆ์จงฟงั ข้าพเจา้ ผา้ หม่ บางผืนน้ขี องภิกษุณชี อื่ นเี้ ปน็ นสิ สคั คยี ์ เธอสละแกส่ งฆ์ ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้วพงึ คนื ผา้ ห่มบางผนื น้ใี ห้แก่ภกิ ษุณชี อ่ื น้ี” สละแก่คณะ ภกิ ษุณรี ูปนนั้ พงึ เข้าไปหาภิกษุณหี ลายรปู ห่มอุตตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนง่ึ กราบเท้าภกิ ษุณผี ู้แก่พรรษา นง่ั กระโหยง่ ประนมมือ กลา่ วอยา่ งนี้วา่ “แมเ่ จ้าท้งั หลาย ฯลฯ ดฉิ ันขอสละผ้าห่มบางผืนนี้แกแ่ ม่เจ้าทงั้ หลาย” คร้นั สละแล้วพงึ แสดงอาบัติ ฯลฯ พึงคนื ผา้ หม่ บางผนื นใ้ี ห้แก่ภกิ ษุณชี อ่ื นี้” สละแก่บคุ คล ภกิ ษณุ รี ปู น้นั พงึ เขา้ ไปหาภกิ ษุณีรูปหน่งึ ห่มอตุ ตราสงคเ์ ฉวียงบา่ ขา้ งหนงึ่ นง่ั กระโหยง่ประนมมอื กลา่ วอยา่ งนีว้ า่ “แมเ่ จา้ ฯลฯ ดฉิ ันขอสละผา้ หม่ บางผืนนีแ้ กแ่ มเ่ จา้ ” คร้ันสละแลว้ พึงแสดงอาบตั ิ ฯลฯ ดฉิ ันคืนผ้าห่มบางผนื น้ใี ห้แกแ่ ม่เจา้

๕๘คาถามทา้ ยบท ๑. ของที่ภิกษุณีออกปากขอได้มา จะต้องสละหรือไม่ ถ้าสละจะตอ้ งการหรอื คณะหรือ บุคคลอยา่ งไร จงอธบิ าย

๕๙ บทท่ี ๔ ปาจิตตยิ กัณฑ์ พระมหาวจิ ติ ร กลยฺ าณจิตโฺ ตวัตถุประสงคป์ ระจาบทเรยี น เม่ือเรยี นบทนแี้ ลว้ นสิ ิตสามารถ อธิบายปาจติ ตีย์ ๑๑๖ สกิ ขาบทได้ อธิบายเหตเุ กดิ สถานและบุคคลทีส่ าคญั ได้ อธบิ ายขัน้ ตอนการบัญญตั ิสกิ ขาบทได้เน้อื หาโดยสงั เขป สาระสาคัญในปาจติ ตีย์กัณฑ์

๖๐ความนา คาวา่ ปาจิตตีย์ แปลวา่ ทากศุ ลจิตกล่าวคือกศุ ลธรรมของผู้จงใจต้องอาบัติใหต้ กไป โดยสรุปก็คอื ทาจิตให้ตกไป และจติ ท่ีถกู ทาให้ตกไปน้ัน ยอ่ มพลาดจากอรยิ มรรค หรอื ทาอรยิ มรรคใหเ้ สียไปและปาจิตตยี น์ เ้ี ปน็ เหตใุ หจ้ ิตลุ่มหลง๓๑ เป็นชอื่ อาบัติ หมายถึงอาบัติปาจติ ตีย์ซึ่งเป็นลหุกาบัติ คืออาบัติเบาและเปน็ สเตกจิ ฉา คอื ยงั พอแก้ไขได้ เมื่อภกิ ษตุ ้องเขา้ แล้ว สามารถพน้ ได้ดว้ ยการแสดงอาบัตติ ่อหน้าสงฆ์ คณะ หรอื บคุ คลก็ได้ เปน็ ช่อื บทบัญญัติ ๙๒ สิกขาบท มชี อื่ เรียกอกี อยา่ งหนึ่งว่า สทุ ธิกปาจิตตีย์แปลวา่ ปาจติ ตยี ์ล้วน ปาจิตตีย์ ๑๖๖ สิกขาบทมีขั้นตอนการบัญญัติสิกขาบท เม่ือมีเรื่องเกิดข้ึนมีคนตาหนิติเตียนภิกษุณีทั้งหลายผู้มักน้อย ได้ยินพวกชาวบ้านตาหนิ ประณาม โพนทะนา ได้นาเรื่องนี้ไปบอกให้ภิกษุทัง้ หลายให้ทราบ พวกภกิ ษุจึงนา้ เรื่องน้ไี ป กราบทลู พระผ้มู พี ระภาคให้ทรงทราบ พระผ้มู ีพระภาคทรงสอบถามเรอ่ื งราวท้งั หมดแล้ว ทรงตาหนแิ ล้วทรงบญั ัตสิ กิ ขาบทโดยอาศยั อานาจประโยชน์ ๑๐ อย่าง๔.๑ ลสณุ วรรค หมวดว่าดว้ ยกระเทียม สิกขาบทท่ี ๑ ว่าด้วยการขอกระเทยี ม๓๒ เร่อื งภกิ ษุณถี ุลลนนั ทา คร้งั นนั้ อบุ าสกคนหน่ึงปวารณาด้วยกระเทียมกับภกิ ษุณสี งฆไ์ ว้ และส่ังคนเฝา้ ไร่ว่า ถา้ ภิกษณุ ีทง้ั หลายมากจ็ งถวายเธอไปรูปละ ๒-๓ กา ครัง้ นั้น มมี หรสพในกรงุ สาวตั ถี กระเทยี มทีเ่ ขานามาเกบ็ ไว้ไดห้ มดลง ภิกษณุ ี ท้ังหลายเขา้ ไปหาอบุ าสกน้นั ขอกระเทยี ม ๓๑ วิ.อ. ๓/๓๓๙/๔๘๕ ๓๒ มาคธกิ ะ(ชื่อกระเทยี ม) เปน็ ช่ือเฉพาะของกระเทียมพันธุ์น้ี เพราะเกดิ ในแควน้ มคธ กระเทียมชนดิ นี้หนึง่ ตน้ จะมีหลายหวั ตดิ กนั เป็นพวง ไม่ใช่หัวเดียว วิ.อ. ๒/๗๙๕/๔๘๘กระเทียมชนดิ อื่นๆ มลี กั ษณะต่างจากกระเทียมมาคธิกะ เฉพาะสีและเย่อื เท่านน้ั (วิ.อ. ๒/๗๙๗/๔๘๘) แต่พระวินัยปิฎก ฉบับ “PALI TEXT SOCIETY กล่าววา่ คาว่า “กระเทียมเหลือง” หมายถึง หัวหอม “กระเทียมแดง” หมายถึงหัวผกั กาด “กระเทียมเขียว” หมายถึง สมอเหลือง (The Book of the Discipline Vol.III, PP ๒๔๕, PTS.)

๖๑ อุบาสกนัน้ จึงให้ไปทไ่ี ร่ ภกิ ษณุ ถี ุลลนนั ทาไปที่ไรแ่ ล้วให้นากระเทยี มไปเป็นจานวนมากโดยไม่รู้จกั ประมาณ คนเฝา้ ไร่จงึ ตาหนิ ประณาม โพนทะนา ลาดับน้นั พระผ้มู ีพระภาครบั ส่งั ให้ประชมุ สงฆ์เพราะเร่ืองนเ้ี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้ังหลาย ทรงตาหนภิ ิกษณุ ี ถลุ ลนนั ทาโดยประการตา่ ง ๆ แล้ว ทรงแสดงธรรมกี ถาแกภ่ ิกษุท้งั หลายให้เหมาะ สมให้คล้อยตามกบั เรื่องนน้ั ทรงยกนทิ านมาวา่ •เรื่องเคยมีมาแลว้ ภิกษุณีถุลลนนั ทาเคยเป็นภรรยาของพราหมณ์ คนหนึ่ง มีธดิ า ๓ คนช่อื นนั ทา นนั ทวดี สนุ ทรีนันทา ภิกษทุ งั้ หลาย ต่อมาพราหมณน์ นั้ ตายไปเกิดเป็นหงสต์ ัวหน่ึง มีขนเปน็ทองคาล้วน หงสน์ ้ันมาสลัดขนทองคาให้แก่ธิดาเหล่าน้ันคนละขน ตอ่ มาภกิ ษณุ ีถุลลนนั ทาคิดวา่ “หงส์ตัวนส้ี ลดั ขนให้พวกเราคนละขนเท่าน้นั ” จงึ จับพญาหงสถ์ อนขนจนหมด แตข่ นที่งอกขนึ้ ใหม่กลายเปน็ สขี าว ในคร้งั น้นั ภกิ ษุณถี ุลลนันทาเส่ือมจากทองคาเพราะความโลภเกนิ ไป บดั นก้ี เ็ สือ่ มจากกระเทยี ม ได้สง่ิ ใด ควรพอใจสง่ิ น้นั ความโลภเกินไปเปน็ ความชัว่ รา้ ย(เหมือน)ถลุ ลนันทาจับพญาหงส์แลว้ เสือ่ มจากทอง” รบั สงั่ ให้ภิกษุณีท้ังหลายยกสกิ ขาบทนข้ี ึน้ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ ก็ภิกษุณใี ดฉนั กระเทยี ม ต้องอาบัตปิ าจิตตีย์สิกขาบทวิภงั ค์ ท่ีช่ือว่า กระเทยี ม พระผมู้ ีพระภาคตรัสหมายถงึ กระเทียมช่ือมาคธกิ ะ๑ ภกิ ษุณรี บั ประเคนดว้ ยต้งั ใจว่า จะฉนั ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ ฉนั ตอ้ งอาบตั ิ ปาจติ ตียท์ กุ ๆ คากลืนบทภาชนยี ์ ทุกทุกกฏ ไม่ใช่กระเทียม ภกิ ษุณสี าคัญว่าเปน็ กระเทยี ม ฉัน ตอ้ งอาบัติทุกกฏ ไมใ่ ชก่ ระเทียม ภิกษุณไี มแ่ น่ใจ ฉนั ต้องอาบตั ิทุกกฏ ไมใ่ ชก่ ระเทียม ภกิ ษณุ ีสาคญั วา่ ไม่ใช่กระเทยี ม ฉัน ไม่ตอ้ งอาบตั ิอนาปตั ติวาร ภิกษณุ ีตอ่ ไปนี้ไม่ต้องอาบัติ คือ ๑. ภิกษณุ ฉี ันกระเทยี มเหลือง๑ ๒. ภิกษณุ ฉี ันกระเทยี มแดง ๓. ภกิ ษณุ ีฉันกระเทียมเขยี ว ๔. ภิกษุณฉี ันกระเทียมตน้ เดย่ี ว ๕. ภกิ ษุณฉี ันกระเทยี มปรงุ ในแกง

๖๒ ๖. ภิกษุณฉี นั กระเทียมปรงุ ในเนอื้ ๗. ภิกษณุ ฉี นั กระเทยี มเจียวน้ามนั ๘. ภิกษณุ ีฉันกระเทยี มปรงุ ในยาผักสด ๙. ภิกษุณฉี นั กระเทยี มปรุงในแกงอ่อม ๑๐. ภกิ ษณุ วี กิ ลจริต ๑๑. ภิกษณุ ีต้นบัญญตั ิ สิกขาบทท่ี ๒ ว่าดว้ ยการถอนขนในที่แคบ เรอ่ื งภกิ ษุณีฉัพพคั คยี ์ ครัง้ นน้ั พวกภิกษุณฉี พั พคั คียใ์ หถ้ อนขนในทีแ่ คบ เปลือยกายอาบน้าทา่ เดียวกันกบั พวกหญงิแพศยาในแมน่ ้าอจริ วดี พวกหญิงแพศยาตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ เหมือนหญงิ คฤหสั ถผ์ ูบ้ ริโภคกามพระบัญญัติ ก็ภกิ ษณุ ีใดให้ถอนขนในทแ่ี คบ ต้องอาบัตปิ าจติ ตยี ์สิกขาบทวภิ ังค์ ที่ชือ่ วา่ ท่แี คบ คือ รกั แรท้ ัง้ ๒ ข้าง บรเิ วณองค์กาเนิด ให้ถอนขนแมเ้ ส้นเดียว ต้องอาบตั ปิ าจิตตีย์ ใหถ้ อนขนหลายเสน้ ต้องอาบัติปาจิตตยี ์อนาปตั ติวาร ภกิ ษุณีต่อไปนไี้ ม่ต้องอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษุณถี อนขนเพราะอาพาธเป็นเหตุ๑ ๒. ภิกษุณวี ิกลจริต ๓. ภกิ ษณุ ตี น้ บัญญัติ สกิ ขาบทที่ ๓ วา่ ด้วยการสัมผัสองค์กาเนดิ เร่ืองภิกษุณี ๒ รูป ภิกษณุ ี ๒ รูปถูกความไม่ยนิ ดีบีบค้นั จงึ เข้าไปสู่ห้องชัน้ ในแล้วใชฝ้ ่ามือตบองค์กาเนดิ กันภกิ ษุณที ้ังหลายพากนั วง่ิ เขา้ ไปตามเสียงนน้ั แล้ว ได้กล่าวกับภิกษุณีทง้ั ๒ รูปนน้ั วา่ แม่เจา้ ทาไม พวกทา่ นจึงทามดิ มี ิร้ายกับชายเล่า ภกิ ษุณีทง้ั สองปฏิเสธแล้วเล่าเรอื่ งนั้น ให้ภกิ ษณุ ีทั้งหลายทราบ พระผ้มู พี ระภาครับส่งั ใหป้ ระชุมสงฆเ์ พราะเรอื่ งนีเ้ ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้งั หลาย แลว้จึงรับสง่ั ใหภ้ ิกษุณีท้งั หลายยกสกิ ขาบทนี้ขึ้นแสดงดังนี้

๖๓พระบญั ญัติ ภกิ ษณุ ตี ้องอาบตั ปิ าจิตตีย์ เพราะใช้ฝา่ มือตบองค์กาเนิดสิกขาบทวิภงั ค์ ใช้ฝ่ามอื ตบองคก์ าเนิด คือ ภิกษุณยี นิ ดีการสมั ผัส โดยทส่ี ดุ ใชก้ ลีบบวั ตีทอี่ งค์กาเนดิ ต้องอาบัตปิ าจติ ตยี ์อนาปตั ตวิ าร ภิกษณุ ีต่อไปนีไ้ มต่ อ้ งอาบัติ คือ ๑. ภิกษุณสี มั ผสั เพราะอาพาธเปน็ เหตุ๑ ๒. ภิกษุณวี ิกลจรติ ๓. ภกิ ษุณีต้นบัญญัติ สิกขาบทท่ี ๔ ว่าด้วยการใช้ท่อนยาง เรอื่ งภิกษุณีรปู หนึง่ คร้งั นน้ั อดตี นางสนมของพระราชาไปบวช อยใู่ นสานักภิกษุณี ภิกษณุ รี ปู หน่ึงถูกความไม่ยินดียง่ิ บีบคั้น จึงเขา้ ไปหาภิกษณุ ี(ผเู้ คยเป็นนางสนม)นนั้ ถามวา่ “แม่เจา้ พระราชาเสดจ็ ไปหาท่านนาน ๆคร้ัง ทา่ นทนอยไู่ ด้อย่างไร” ดฉิ นั ใชท้ ่อนยาง” ทอ่ นยางนี่เปน็ อย่างไร ต่อมาภิกษุณนี ้ันใชท้ อ่ นยางแลว้ ลมื ล้างวางท้งิ ไวใ้ นทแ่ี หง่ หนงึ่ ภกิ ษณุ ีทัง้ หลายเหน็ ท่อนยางมีแมลงวันตอมจึงถามวา่ “นเี่ ป็นการกระทาของใคร” ภกิ ษุณีนนั้ กล่าวอยา่ งนวี้ ่า “น้เี ป็นการกระทาของดฉิ นั เอง” พระผู้มีพระภาครับสั่งใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเรอื่ งน้เี ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้ังหลายแล้วจึงรับสั่งให้ภิกษุณที ้ังหลายยกสกิ ขาบทนขี้ น้ึ แสดง ดงั นี้ พระบญั ญตั ิ ภกิ ษณุ ีตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตยี ์ เพราะใชท้ อ่ นยาง สกิ ขาบทวิภงั ค์ ทอ่ นยาง ไดแ้ ก่ สงิ่ ท่ีทาดว้ ยยาง ทอ่ นยางท่ที าด้วยไม้ ทอ่ นยางท่ที าด้วยแปง้ ท่อนยางที่ทาดว้ ยดนิ ภิกษุณียินดีการสัมผสั โดยท่ีสดุ แมส้ อดกลีบอบุ ลเข้าองคก์ าเนิด ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตยี ์อนาปตั ติวาร ภกิ ษณุ ีตอ่ ไปน้ีไม่ต้องอาบัติ คอื ๑. ภิกษุณใี ชท้ อ่ นยางเพราะอาพาธเปน็ เหตุ ๒. ภกิ ษณุ ีวิกลจริต ๓. ภิกษุณตี น้ บัญญัติ

๖๔ สกิ ขาบทท่ี ๕ วา่ ดว้ ยการใช้น้าชาระ เรื่องพระนางมหาปชาบดีโคตมี ครัง้ น้ัน พระนางมหาปชาบดโี คตมีเข้าไปเฝา้ พระผูม้ พี ระภาคถงึ ที่ประทบั ครั้นถึงแล้ว ถวายอภิวาทแลว้ ยนื ในทีใ่ ตล้ ม กราบทลู วา่ “ขา้ แตพ่ ระผมู้ พี ระภาค มาตุคามกล่นิ ไม่ดี” พระผู้มพี ระภาคตรสั ว่า “ภิกษุณีทงั้ หลายจงใชน้ า้ ชาระทาความสะอาด” ทรงช้ีแจงให้พระนางมหาปชาบดีโคตมีเหน็ ชดั ชวนให้อยากรับเอาไปปฏบิ ตั ิ เร้าใจให้ อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชน่ื รา่ เริงด้วยธรรมกี ถา ลาดบั นน้ั พระนางมหาปชาบดีโคตมี ถวายอภวิ าทพระผมู้ พี ระภาคกระทาประทักษณิ แลว้ จากไป พระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงธรรมกี ถาเพราะเร่อื งน้ีเป็นต้นเหตุ รับสัง่ กับภกิ ษทุ ง้ั หลายว่า ภกิ ษุทง้ั หลาย เราอนญุ าตใหภ้ กิ ษณุ ีใชน้ ้าชาระทาความสะอาดได้ เร่ืองพระนางมหาปชาบดโี คตมี จบ เร่ืองภิกษณุ ีรูปหน่ึง ภิกษุณีรปู หน่งึ ทราบวา่ “พระผมู้ พี ระภาคทรงอนุญาตน้าชาระทาความสะอาด” จึงใชน้ า้ ชาระทาความสะอาดลกึ เกินไป ทาใหเ้ กิดแผลขนึ้ ทอี่ งค์กาเนิด ครั้งน้นั เธอบอกเรื่องน้ันใหภ้ ิกษุณที ้ังหลายทราบ พระผู้มพี ระภาครับสงั่ ให้ประชุมสงฆ์เพราะเรื่องน้ันเปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายแลว้ จึงรับสัง่ ใหภ้ ิกษุณีท้งั หลายยกสิกขาบทน้ีขึน้ แสดงดงั น้ีพระบญั ญตั ิ กภ็ กิ ษณุ ีผจู้ ะใช้น้าชาระทาความสะอาด พงึ ใชน้ ้าชาระทาความสะอาดลึกเพียง ๒ ขอ้องคลุ เี ปน็ อย่างมาก ใหเ้ กนิ กาหนดนั้น ต้องอาบตั ิปาจติ ตยี ์สกิ ขาบทวิภงั ค์ น้าชาระทาความสะอาด พระผมู้ ีพระภาคตรสั หมายถงึ นา้ ชาระบริเวณองคก์ าเนิด ใช้นา้ ชาระลึกเพียง ๒ ขอ้ ใน ๒ องคลุ ีเป็นอย่างมาก ภิกษุณียนิ ดีการสัมผัสให้ลว่ งเลยเขา้ ไปโดยท่สี ุดเพียงปลายเสน้ ผม ตอ้ งอาบัติปาจิตตีย์บทภาชนยี ์ ทกุ ทุกกฏ หย่อนกวา่ ๒ ขอ้ องคลุ ี ภิกษุณสี าคญั ว่าเกิน ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ หย่อนกวา่ ๒ ข้อองคลุ ี ภิกษุณไี ม่แนใ่ จ ต้องอาบตั ิทุกกฏ หยอ่ นกว่า ๒ ข้อองคุลี ภิกษุณสี าคัญวา่ หยอ่ นกวา่ ไม่ต้องอาบตั ิ

๖๕อนาปัตติวาร ภกิ ษุณีต่อไปนไี้ มต่ อ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษณุ ีชาระลกึ เพียง ๒ ขอ้ องคลุ ีเปน็ อย่างมาก ๒. ภิกษณุ ชี าระลกึ ไมถ่ งึ ๒ ข้อองคลุ ี ๓. ภิกษณุ ีชาระลกึ เกนิ เพราะอาพาธเป็นเหตุ ๔. ภกิ ษุณีวิกลจริต ๕. ภกิ ษณุ ตี น้ บญั ญัติ สกิ ขาบทท่ี ๖ วา่ ด้วยการปรนนบิ ตั ิ เร่ืองภิกษุณีอดีตภรรยามหาอมาตย์ ครั้งน้นั มหาอมาตยช์ ื่ออาโรหนั ตะบวช ในสานกั ภกิ ษุ อดีตภรรยาของท่านบวชในสานกัภกิ ษุณี ขณะทที่ ่านกาลังฉัน ภกิ ษุณนี ้นั เข้าไปยนื ปรนนิบัติอย่ใู กล้ ๆ ด้วยน้าฉันและการพดั วี พดูเกี่ยวกับเร่อื งครอบครวั พูดมากเกนิ ไป ภกิ ษุนนั้ จึงตอ่ ว่าภกิ ษณุ ีนั้นว่า “น้องหญงิ อย่าไดท้ าอยา่ งน้ี เร่ืองนไ้ี ม่สมควร” ภกิ ษณุ นี ั้นกลา่ วว่า “เมื่อก่อนท่านทาอยา่ งน้ี ๆ กบั ดิฉัน บัดนี้ เพียงเท่านี้ กท็ นไม่ได้” จึงครอบขนั นา้ ลงบนศีรษะแล้วใช้พดั ตี พระผมู้ พี ระภาครับส่ังให้ประชมุ สงฆเ์ พราะเร่อื งนีเ้ ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้ังหลายแล้วจงึ รบั ส่งั ใหภ้ กิ ษณุ ีทงั้ หลายยกสิกขาบทน้ีขนึ้ แสดงดงั น้ีพระบญั ญัติ ก็ภกิ ษุณใี ดปรนนบิ ัตภิ ิกษุผู้กาลังฉันอยูด่ ้วยน้าดื่มหรือด้วยการพัดวี ต้องอาบัติปาจติ ตยี ์สกิ ขาบทวภิ ังค์ คาวา่ ปรนนิบตั อิ ยู่ ความวา่ ยนื อยู่ในระยะหตั ถบาส ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตีย์บทภาชนีย์ ทุกกฏ ภิกษณุ ปี รนนิบตั อิ ยู่นอกหตั ถบาส ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษกุ าลงั เค้ียวของเคี้ยว ภิกษณุ เี ข้าไปปรนนบิ ัติ ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ภกิ ษุณเี ข้าไปปรนนบิ ัตอิ นุปสมั บนั ต้องอาบัตทิ กุ กฏ อนุปสมั บนั ภกิ ษุณสี าคัญว่าเปน็ อปุ สมั บนั ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ อนปุ สมั บนั ภิกษุณีไมแ่ น่ใจ ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ อนปุ สัมบนั ภกิ ษุณสี าคญั ว่าเปน็ อนปุ สมั บัน ต้องอาบตั ิทกุ กฏอนาปัตตวิ าร ภิกษณุ ตี อ่ ไปนีไ้ ม่ต้องอาบัติ คอื ๑. ภิกษณุ ถี วาย

๖๖ ๒. ภิกษณุ ีใหค้ นอน่ื ถวาย ๓. ภิกษณุ ีสง่ั อนปุ สมั บันให้ปรนนบิ ัติ ๔. ภกิ ษณุ วี กิ ลจรติ ๕. ภกิ ษุณีตน้ บญั ญัติ สกิ ขาบทท่ี ๗ วา่ ด้วยการขอข้าวเปลอื กดบิ เรอ่ื งภิกษณุ หี ลายรูป คร้ังนั้น ในฤดเู กบ็ เก่ยี ว พวกภกิ ษณุ ีออกปากขอข้าวเปลอื กดิบ นาไปในเมือง พอถงึ ประตเู มืองพวกคนเฝ้าประตูกักตัว ไว้ขอส่วนแบ่งแล้วปลอ่ ยไป คร้ันกลับถึงสานกั ได้บอกเรื่องนนั้ ให้ภกิ ษุณีทั้งหลายทราบ พระผมู้ พี ระภาครบั ส่ังใหป้ ระชุมสงฆเ์ พราะเรื่องน้เี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลาย แล้วจึงรับสง่ั ให้ภกิ ษุณี ทง้ั หลายยกสิกขาบทนข้ี น้ึ แสดงดงั นี้พระบัญญัติ กภ็ กิ ษุณใี ดออกปากขอหรือใชใ้ หอ้ อกปากขอ ค่ัวหรอื ใช้ใหค้ วั่ ตาหรือใชใ้ ห้ตา หงุ หรือใช้ให้หุงข้าวเปลอื กดบิ แล้วฉนั ๓๓ ต้องอาบตั ปิ าจติ ตยี ์อนาปตั ติวาร ภิกษณุ ตี อ่ ไปน้ีไม่ต้องอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษณุ ีออกปากขอเขามาฉันเพราะเหตผุ ลคืออาพาธ ๒. ภกิ ษณุ อี อกปากขออปรัณชาติ๑ ๓. ภิกษณุ วี กิ ลจริต ๔. ภกิ ษณุ ีต้นบญั ญตั ิ สิกขาบทท่ี ๘ ว่าดว้ ยการทงิ้ อุจจาระเป็นตน้ ภายนอกฝา เรอ่ื งพราหมณ์คนหน่ึง ๓๓ ข้าวเปลอื กดิบ ไดแ้ ก่ ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ขา้ วเหนยี ว ข้าวละมาน ข้าวฟ่าง ลกู เดือย หญา้ กบั แก้ ควั่ เอง ใช้ผอู้ ่นื ใหค้ ั่ว ตาเอง ใช้ผอู้ นื่ ให้ตา หุงเอง ใช้ผอู้ น่ื ใหห้ งุ ภกิ ษณุ ีรบั ประเคน ด้วยต้ังใจว่า “จะฉนั ” ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ ฉันต้องอาบตั ิ ปาจติ ตยี ์ทุก ๆ คากลืน

๖๗ คร้ังน้ัน พราหมณค์ นหนึง่ ไดร้ ับแต่งต้งั ให้เป็นผู้เก็บส่วยสง่ หลวง จงึ สนานเกล้าแลว้ เดินไปราชสานักผา่ นที่อยู่ภกิ ษุณี ภกิ ษณุ รี ปู หนึ่งถ่ายอจุ จาระลงในหม้อแล้วเททง้ิ ภายนอกฝาราดลงบนศีรษะของพราหมณ์นน้ั พอดี พราหมณน์ ้ันตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ “หญงิ ช่ัวหัวโล้นพวกน้ีไม่ใช่สมณะหญิงไฉนจงึ เทหมอ้ คถู ลงทศี่ รี ษะของเรา เราจกั เผาสานักพวกนาง” ถอื คบเพลงิ เขา้ ไปสานกั ภกิ ษุณี อุบาสกคนหนึง่ กาลงั ออกจากสานกั ภกิ ษณุ ี ไดเ้ ห็นพราหมณน์ ัน้ ถอื คบเพลิงเดินเขา้ ไปสสู่ านักจงึ ไดถ้ ามพราหมณน์ นั้ ทราบเร่อื งแลว้ กล่าววา่ “กลบั เถิด พราหมณผ์ ูเ้ จริญ เหตุการณ์นีจ้ ัดวา่ เปน็มงคล ท่านจะได้ทรพั ย์ ๑,๐๐๐ และจะได้ตาแหน่งนายด่านน้นั ” พราหมณน์ ัน้ สนานเกลา้ แล้วไปราชสานัก ไดท้ รพั ย์ ๑,๐๐๐ และไดต้ าแหนง่ นายดา่ นนน้ั คร้งั นั้น อบุ าสกนั้นกลับเข้าไปสานัก แจง้ เร่อื งนัน้ แก่ภิกษณุ ที ั้งหลายแล้วบริภาษ ลาดบั น้ัน พระผูม้ พี ระภาครับส่ังให้ประชุมสงฆเ์ พราะเร่ืองนเ้ี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุทัง้ หลายแล้วจึงรบั ส่ังใหภ้ ิกษณุ ที ง้ั หลาย ยกสิกขาบทนข้ี ึน้ แสดงดงั น้ีพระบญั ญัติ กภ็ กิ ษุณใี ดเทหรือใชใ้ ห้เทอจุ จาระหรอื ปัสสาวะ หยากเยอ่ื หรอื ของเป็นเดนภายนอกฝาหรอื ภายนอกกาแพง ต้องอาบตั ิปาจติ ตีย์ สิกขาบทวภิ งั ค์ ทีช่ ือ่ ว่า ฝา ได้แก่ ฝา ๓ ชนิด คอื (๑) ฝาอิฐ (๒) ฝาแผน่ ศิลา (๓) ฝาไม้ กาแพง ๓ ชนิด คือ (๑) กาแพงอิฐ (๒) กาแพงศลิ า (๓) กาแพงไม้ เทเอง ต้องอาบตั ิปาจติ ตีย์ ใช้ผู้อน่ื ใหเ้ ท ต้องอาบัตทิ กุ กฏ ผู้รับคาส่ังครง้ั เดียวแต่ เทหลายครัง้ภกิ ษุณผี ู้สัง่ ต้องอาบตั ปิ าจิตตีย์อนาปตั ติวาร ภกิ ษณุ ดี ังตอ่ ไปน้ีไม่ต้องอาบัติ คือ ๑. ภิกษณุ ีมองดูกอ่ นแล้วจึงเท ๒. ภกิ ษุณีเทในท่ีท่เี ขาไมใ่ ชส้ ญั จร ๓. ภิกษุณีวกิ ลจรติ ๔. ภกิ ษณุ ตี น้ บัญญตั ิ สิกขาบทที่ ๙ วา่ ด้วยการทิ้งอจุ จาระเป็นต้นภายนอกกาแพง เร่อื งภกิ ษุณหี ลายรปู คร้งั นัน้ พวกภิกษุณเี ทอุจจาระบา้ ง ปสั สาวะบ้าง หยาก เย่ือบ้าง ของเป็นเดนบ้าง ทิง้ ลงในนาขา้ วเหนยี ว(ของพราหมณ์นนั้ ) พราหมณ์ตาหนิ ประณาม โพนทะนา บรรดาภกิ ษุณี ผู้มักนอ้ ย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาไดน้ าเรอ่ื งน้ไี ปบอกภิกษทุ ัง้ หลายให้ทราบ พวกภกิ ษจุ งึ ได้ นาเร่ืองนไ้ี ปกราบทูลพระผ้มู ีพระภาคให้ทรงทราบ

๖๘ ลาดบั นนั้ พระผู้มีพระภาครับสัง่ ให้ประชุมสงฆ์เพราะเรอื่ งนเี้ ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุทงั้ หลาย แล้วรบั สงั่ ให้ภิกษณุ ีทง้ั หลายยกสกิ ขาบทนข้ี ึ้นแสดงดงั น้ีพระบัญญตั ิ กภ็ ิกษุณีใดเทหรอื ใชใ้ ห้เทอจุ จาระหรือปสั สาวะ หยากเยือ่ หรอื ของเปน็ เดนลงบนของเขียวตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตยี ์สิกขาบทวภิ งั ค์ ของเขยี ว ได้แก่ บพุ พณั ชาติ๓๔ อปรณั ชาติ๓๕๑ท่ีเขาปลกู ไว้สาหรับ อปุ โภคบรโิ ภค เทเอง ตอ้ งอาบัติปาจติ ตยี ์ ใช้ผู้อนื่ ใหเ้ ท ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ ผู้รับคาสง่ั ครั้งเดยี วแต่ เทหลายครง้ัภกิ ษณุ ีผู้ส่งั ตอ้ งอาบัติปาจิตตีย์บทภาชนยี ์ ทกุ ทกุ กฏ ไม่ใชข่ องเขียว ภิกษณุ สี าคญั วา่ เปน็ ของเขยี ว เทหรอื ใช้ใหเ้ ท ต้องอาบัติทกุ กฏ ไมใ่ ช่ของเขยี ว ภกิ ษุณไี มแ่ น่ใจ เทหรือใช้ใหเ้ ท ต้องอาบตั ิทุกกฏ ไมใ่ ชข่ องเขยี ว ภกิ ษุณีสาคญั ว่าไมใ่ ช่ของเขียว เทหรอื ใชใ้ หเ้ ท ไมต่ อ้ งอาบตั ิอนาปตั ติวาร ภิกษุณตี อ่ ไปน้ีไม่ตอ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษุณีมองดกู อ่ นแลว้ จงึ เท ๓๔ ปุพพัณณชาติ ไดแ้ ก่ ธญั ญชาติ ๗ ชนดิ คือ๑. ข้าวเปลอื ก๒. ข้าวเจา้๓. หญ้ากบั แก้๔. ขา้ วละมาน๕. ลกู เดอื ย๖. ข้าวเหนียว๗. ข้าวละมาน ว.ิ อ. ๑/๑๐๔/๓๖๘, สารตถฺ .ฏีกา ๒/๑๐๔/๑๗๖ ๓๕ อปรณั ณชาติ ได้แก่ ถัว่ เขียว ถ่ัวราชมาส งา พืชผักที่กินหลังอาหารมากมาย อปรัณณชาติทั้งหมด เช่นถ่ัวเขียว ถ่ัวราชมาส งา พืชผักที่กินหลังภัตตาหาร แม้จะไม่ได้ทรงห้ามไว้ แต่อนุโลมเข้ากับธัญชาติ ๗ อย่างเพราะฉะน้นั จึงทรงห้ามฉันในเวลาต้ังแตเ่ ท่ียงวันจนถึงอรุณข้นึ วันใหมเ่ ชน่ กนั เข้ากับหลักมหาประเทสข้อ ๑ และข้อ๒ วิ.อ. ๑/๑๐๔/๓๖๘, สารตถฺ .ฏีกา ๒/๑๐๔/๑๗๖, ส.สฬา.อ. ๑/๑๑๔/๑๓๑

๖๙ ๒. ภิกษณุ ีเทบนคันนา ๓. ภกิ ษณุ ีบอกเจา้ ของกอ่ นแล้วจึงเท ๔. ภกิ ษุณีวิกลจริต ๕. ภิกษณุ ีตน้ บญั ญตั ิ สิกขาบทที่ ๑๐ ว่าดว้ ยการดูการขับรอ้ งฟ้อนรา เร่ืองภิกษุณฉี พั พคั คยี ์ ครัง้ นั้น มีงานมหรสพบนยอดเขา พวกภกิ ษุณีฉพั พัคคยี พ์ ากนั ไปดูมหรสพบนยอดเขา พวกชาวบ้านจงึ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ทาหมือนหญงิ คฤหัสถผ์ บู้ รโิ ภคกาม พระผพู้ ระภาครับสัง่ ให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรอื่ งนเ้ี ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ ้งั หลาย แลว้จงึ รับสงั่ ใหภ้ ิกษุณีทงั้ หลายยกสกิ ขาบทน้ขี ้นึ แสดงดังน้ีพระบัญญตั ิ กภ็ กิ ษณุ ีใดไปดกู ารฟ้อนรา การขับร้อง หรอื การประโคมดนตรี ตอ้ งอาบัติปาจติ ตีย์ สิกขาบทวภิ งั ค์ การฟ้อนราอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง การขบั รอ้ ง การประโคมดนตรีอยา่ งใดอย่างหนึ่งบทภาชนีย์ ภิกษุณีเดนิ ไปเพื่อทีจ่ ะดู ต้องอาบัตทิ ุกกฏ ยนื อยใู่ นทท่ี พ่ี อจะมองเห็นหรอื ได้ยิน ตอ้ งอาบัติปาจิตตีย์ พน้ สายตาไปแล้วกลับแลดหู รือฟังอีก ต้องอาบตั ิปาจติ ตยี ์ ภิกษณุ ีเดินไปเพอ่ื จะดมู หรสพแต่ละอยา่ ง ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ ยนื ดูอยูใ่ นทีท่ ี่พอ จะมองเห็นหรอืได้ยิน ต้องอาบัติปาจติ ตีย์ พน้ สายตาไปแลว้ กลับแลดหู รือฟงั อกี ต้องอาบตั ปิ าจติ ตยี ์อนาปตั ตวิ าร ภิกษณุ ีต่อไปน้ไี ม่ตอ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภกิ ษุณียืนในอาราม เหน็ หรือได้ยิน๑ ๒. ภิกษณุ ยี ืนนง่ั หรอื นอนอยู่ เขาฟ้อนราขับร้องหรอื ประโคนผา่ นมายงั ท่ีนน้ั ๆ ๓. ภกิ ษณุ ีเดนิ สวนทางไปเหน็ หรอื ได้ยนิ ๔. ภกิ ษุณมี ีธรุ ะจาเป็นเดนิ ผา่ นไปเห็นหรือได้ยนิ ๕. ภกิ ษุณีผมู้ ีเหตขุ ัดข้อง ๖. ภิกษณุ วี ิกลจริต ๗. ภิกษณุ ีต้นบัญญัติ๔.๒. อนั ธการวรรค หมวดว่าดว้ ยความมืด

๗๐ สกิ ขาบทท่ี ๑ ว่าดว้ ยการสนทนากับชายในที่มดื เรื่องภิกษุณีอันเตวาสนี ีของพระภทั ทกาปิลานี คร้ังนน้ั ชายผเู้ ป็นญาติของภิกษุณีผ้เู ป็นอนั เตวาสนิ ขี องพระภทั ทกาปิลานีเดนิ ทางจากหมู่บา้ นไปกรงุ สาวตั ถดี ้วยธรุ ะบางอยา่ ง ครง้ั นนั้ ภิกษุณนี ้นั ยืนเคียงคู่กนั บ้าง สนทนากันบา้ ง สองต่อสองกับชายน้ันในเวลาคา่ คนื ไมม่ ปี ระทีป ลาดับน้นั พระผู้มพี ระภาครับส่ังใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเรอื่ งนีเ้ ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้ังหลาย แลว้ จึงรับส่ังให้ภกิ ษณุ ที ้ังหลายยกสิกขาบทนี้ข้นึ แสดงดังนี้พระบญั ญัติ กภ็ กิ ษุณใี ดยืนเคียงคู่กันหรือสนทนากนั สองต่อสองกับชายในเวลาค่าคืน ไม่มีประทีป ต้องอาบัตปิ าจิตตยี ์สิกขาบทวิภงั ค์ ในเวลาคา่ คืน ได้แก่ เมือ่ ดวงอาทิตยต์ กแล้ว ไมม่ ปี ระทีป คอื ไม่มแี สงสว่าง ยืนเคียงค่กู นั คือ ยืนอยู่ในช่วงแขนชาย ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตีย์ หรอื สนทนากัน คอื ยืนเจรจาอยู่ในระยะช่วงแขนชาย ต้องอาบตั ปิ าจิตตีย์ ยืนเคียงคู่กนั หรือสนทนากนั พน้ ระยะชว่ งแขน ต้องอาบัติทกุ กฏ ยนื เคยี งคู่กัน หรอื สนทนากันกบั ยักษ์ เปรต บัณเฑาะกห์ รือสตั วด์ ริ จั ฉาน ตวั ผ้ทู ี่มีรา่ งคล้ายมนษุ ย์ ต้องอาบัตทิ ุกกฏอนาปตั ตวิ าร ภกิ ษุณีตอ่ ไปนี้ไม่ตอ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษุณมี ีสตรคี นใดคนหนึง่ ท่ีรู้เดียงสาอยเู่ ปน็ เพือ่ น ๒. ภกิ ษณุ ีผไู้ มป่ ระสงค์จะอยู่ในท่ีลบั ยนื เคยี งคูก่ ันหรอื สนทนากนั ๓. ภกิ ษณุ ีทย่ี ืนเคียงค่กู นั หรือสนทนากันแตค่ ิดในเรื่องอ่ืน ๔. ภกิ ษณุ วี กิ ลจริต ๕. ภิกษณุ ีตน้ บญั ญัติ สิกขาบทท่ี ๒ ว่าดว้ ยการยนื กับชายในทก่ี าบัง๓๖ เรือ่ งภกิ ษุณอี ันเตวาสินขี องพระภทั ทกาปิลานี ๓๖ ที่กาบัง ไดแ้ ก่ ท่ีกาบังด้วยฝา บานประตู เสอื่ ลาแพน มา่ น ตน้ ไม้ เสา หรือพอ้ ม๑ อย่างใดอย่างหนึง่

๗๑ คร้งั น้นั ชายผู้เปน็ ญาตขิ องภกิ ษณุ ผี ้เู ป็นอันเตวาสนิ ีของพระภัททกาปิลานเี ดินทางจากหมบู่ า้ นไปกรงุ สาวตั ถีดว้ ยธรุ ะบางอย่าง ลาดับนัน้ ภกิ ษณุ นี ้นั ยนื เคียงค่กู นั บ้าง สนทนากันบ้างในโอกาสทก่ี าบงั พระผู้มพี ระภาครบั สง่ั ใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเรอ่ื งน้ีเปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ ้ังหลายแลว้จงึ รบั ส่งั ใหภ้ ิกษณุ ที งั้ หลายยกสกิ ขาบทนขี้ น้ึ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ ก็ภิกษุณใี ดยืนเคียงคกู่ ัน หรอื สนทนากนั สองตอ่ สองกบั ชายในโอกาสท่ีกาบัง ตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตยี ์ อนาปตั ติวาร ภิกษณุ ตี ่อไปนไ้ี ม่ตอ้ งอาบัติ คือ ๑. ภิกษุณีมีสตรคี นใดคนหนึ่งทร่ี ้เู ดียงสาอยูเ่ ปน็ เพื่อน ๒. ภกิ ษณุ ีผ้ไู มป่ ระสงคท์ จ่ี ะอยูใ่ นทลี่ ับ ยนื เคียงคู่กัน หรอื สนทนากัน ๓. ภกิ ษุณีท่ยี นื เคียงค่กู ัน หรอื สนทนากนั แตค่ ดิ ในเร่อื งอ่นื ๔. ภิกษุณีวกิ ลจริต ๕. ภิกษุณตี น้ บญั ญัติ สกิ ขาบทท่ี ๓ ว่าดว้ ยการสนทนากบั ชายในที่แจง้ เรื่องภกิ ษณุ อี นั เตวาสินขี องพระภทั ทกาปลิ านี คร้ังนน้ั ชายผเู้ ป็นญาตขิ องภกิ ษณุ ีผเู้ ป็น อนั เตวาสินีของพระภัททกาปลิ านเี ดินทางจากหมู่บ้านไปกรุงสาวตั ถดี ้วยธรุ ะบางอยา่ ง ลาดบั นน้ั ภิกษณุ ีน้นั ยนื เคียงคกู่ นั บา้ ง สนทนากนั บ้างสองตอ่สองกับชายในที่แจ้งพระบัญญตั ิ ก็ภิกษณุ ใี ดยนื เคยี งคกู่ ันหรอื สนทนากันสองต่อสองกับชายในทแ่ี จ้ง ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตีย์สกิ ขาบทวิภงั ค์ ทีแ่ จ้ง ได้แก่ สถานท่ีมไิ ด้กาบังดว้ ยฝา บานประตู เสอ่ื ลาแพน ม่าน ต้นไม้ เสา หรอื พอ้ มอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง ยืนเคยี งคู่กนั หรอื สนทนากันกับยักษ์ เปรต บณั เฑาะก์ หรอื สัตว์ดริ ัจฉานตัวผู้ที่มรี า่ งคล้ายมนุษย์ ต้องอาบตั ิทกุ กฏอนาปตั ตวิ าร ภกิ ษุณตี อ่ ไปนไี้ ม่ต้องอาบตั ิ คอื

๗๒ ๑. ภกิ ษณุ ีมีสตรีคนใดคนหนงึ่ ที่รูเ้ ดยี งสาอยูเ่ ป็นเพื่อน ๒. ภิกษณุ ีผ้ไู ม่ประสงคท์ ี่จะอยใู่ นท่ีลับ ยืนเคียงคู่กนั หรอื สนทนากัน ๓. ภกิ ษณุ ที ยี่ นื เคยี งคู่กนั หรอื สนทนากันแตค่ ดิ ในเร่ืองอน่ื ๔. ภิกษุณีวกิ ลจรติ ๕. ภิกษณุ ตี น้ บญั ญัติ สิกขาบทท่ี ๔ วา่ ด้วยการส่งเพื่อนภกิ ษุณีกลบั เรอ่ื งภกิ ษณุ ถี ุลลนันทา คร้ังนนั้ ภกิ ษุณีถุลลนันทายืนเคยี งคกู่ นั บ้าง สนทนากนั บา้ ง พูดกระซบิ ข้างหูบ้างสองต่อสองกบั ชายในถนนบ้าง ตรอกตันบ้าง ทางสามแพร่งบา้ ง สง่ ภกิ ษณุ ีผเู้ ป็นเพอื่ นกลับไปกอ่ นบา้ ง ลาดับน้ัน พระผูม้ พี ระภาครบั สั่งใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเรอื่ งนีเ้ ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้ังหลายแล้วจึงรบั สั่งใหภ้ กิ ษุณที ้งั หลายยกสิกขาบทนขี้ น้ึ แสดงดงั น้ีพระบัญญัติ ก็ภิกษุณีใดยนื เคียงคู่กนั หรอื สนทนากนั หรือพดู กระซบิ ขา้ งหสู องต่อสองกับชายในถนนหรอื ตรอกตัน หรอื ทางสามแพรง่ หรือสง่ ภกิ ษณุ ีผเู้ ปน็ เพอ่ื นกลับไป๓๗ ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตีย์สกิ ขาบทวภิ ังค์ ที่ช่อื วา่ ทางสามแพรง่ ได้แก่ พระผมู้ พี ระภาคตรสั หมายถึงทางแยกอนาปัตติวาร ภิกษณุ ตี อ่ ไปน้ีไม่ต้องอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษณุ ีมสี ตรีคนใดคนหน่งึ ทร่ี ้เู ดยี งสาอยู่เปน็ เพ่อื น ๒. ภิกษณุ ผี ไู้ ม่ประสงค์ทจี่ ะอยูใ่ นทล่ี บั ยืนเคยี งคกู่ นั หรือสนทนากัน ๓. ภกิ ษณุ ีที่ยนื เคียงคู่กันหรอื สนทนากันแตค่ ดิ ในเรื่องอืน่ ๔. ภกิ ษณุ ีส่งเพ่อื นภิกษณุ กี ลบั เม่ือมเี หตจุ าเป็น ๕. ภกิ ษุณีวกิ ลจรติ ๖. ภกิ ษณุ ตี น้ บญั ญตั ิ ๓๗ คาวา่ หรือส่งภกิ ษณุ ีผ้เู ป็นเพ่ือนกลบั ไป คือ ประสงคจ์ ะประพฤติไมส่ มควร จงึ สง่ ภิกษุณผี ้เู ป็นเพ่อื นกลบั ไป ต้องอาบตั ปิ าจติ ตยี ์ เม่ือภกิ ษณุ ีผู้เปน็ เพื่อนพน้ ระยะที่จะมองเหน็ หรือระยะท่ีจะได้ยิน ต้องอาบตั ิทุกกฏ เม่อืภกิ ษุณผี ู้เปน็ เพอ่ื น พน้ ไปแลว้ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

๗๓ สกิ ขาบทที่ ๕ วา่ ดว้ ยการจากไปโดยไม่บอกเจา้ ของ เรอ่ื งภิกษุณีรปู หน่งึ ครั้งนนั้ ภกิ ษณุ รี ูปหน่ึงเป็นภิกษณุ ปี ระจา ตระกลู หน่ึง รบั ภัตตาหารประจา ครนั้ เวลาเชา้ภิกษณุ นี ั้นครองอนั ตรวาสก ถอื บาตรและจวี ร๑เขา้ ไปถึงท่ีตระกลู นั้น นัง่ บนอาสนะแล้วจากไปโดยไม่บอกเจ้าของบ้าน หญงิ รับใชต้ ระกลู นัน้ กวาดเรอื นได้เก็บอาสนะนน้ั ไว้ระหวา่ งภาชนะ คนในบา้ นไม่เหน็อาสนะ ไดไ้ ปถามภิกษณุ ีนนั้ ภกิ ษุณีนนั้ กลา่ วว่า ไมเ่ หน็ อาสนะนน้ั คนเหล่าน้ันพูดว่า แม่เจ้า โปรดใหอ้ าสนะน้ันเถิด บรภิ าษแล้วเลกิ ถวาย ภตั ตาหารประจาต่อมาคนเหลา่ นัน้ ทาความสะอาดบา้ นหลงั น้ันพบอาสนะซ่อนอยู่ระหว่างภาชนะ จึงขอขมาภิกษุณนี ้ันแลว้ ไดเ้ ริม่ (ถวาย) ภตั ตาหารประจา ครง้ั นนั้ ภิกษุณีนั้นบอกเรอ่ื งนัน้ ใหภ้ กิ ษณุ ีทั้งหลายทราบ บรรดาภิกษุณีผู้มกั น้อย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาได้นาเรอื่ งนีไ้ ปบอกภิกษุทง้ั หลายใหท้ ราบ พวกภิกษุจงึ ได้ นาเร่ืองนีไ้ ปกราบทูลพระผู้มีพระภาคใหท้ รงทราบ ลาดบั นน้ั พระผมู้ พี ระภาครบั สั่งใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเร่อื งน้ีเปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลายแลว้ จงึ รบั สง่ั ให้ภิกษณุ ที ั้งหลายยกสิกขาบทน้ขี ึน้ แสดงดังน้ี พระบญั ญัติ กภ็ กิ ษุณีใดเขา้ ไปสตู่ ระกลู ในเวลากอ่ นฉนั ภตั ตาหาร นัง่ บนอาสนะ แล้วจากไปโดยไมบ่ อกเจา้ ของบ้าน ตอ้ งอาบตั ปิ าจติ ตยี ์สิกขาบทวภิ งั ค์ ท่ชี อ่ื วา่ อาสนะ พระผูม้ ีพระภาคตรัสหมายถงึ ทส่ี าหรบั นง่ั ขดั สมาธิ คาวา่ จากไปโดยมไิ ด้บอกเจ้าของบ้าน ความวา่ ไม่บอกคนใดคนหนง่ึ ในตระกูลนนั้ ผรู้ ู้เดยี งสากา้ วพ้นชายคา ตอ้ งอาบัตปิ าจิตตีย์ เดินลว่ งเขตบ้านในที่แจ้ง ต้องอาบัติปาจิตตีย์บทภาชนยี ์ตกิ ทุกกฏ ที่ไม่ใชท่ ีส่ าหรับน่งั ขัดสมาธิ ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ บอกแล้ว ภกิ ษณุ สี าคญั วา่ ยงั ไม่ได้บอก ต้องอาบัตทิ กุ กฏ บอกแลว้ ภิกษณุ ไี ม่แนใ่ จ ต้องอาบัตทิ กุ กฏ บอกแล้ว ภิกษุณีสาคญั วา่ บอกแลว้ ไม่ตอ้ งอาบัติอนาปตั ตวิ าร ภิกษุณตี ่อไปน้ีไมต่ ้องอาบัติ คอื

๗๔ ๑. ภกิ ษุณีไปโดยบอกแล้ว ๒. ภิกษณุ ผี นู้ ง่ั บนอาสนะท่เี คลื่อนยา้ ยไม่ได้ ๓. ภิกษณุ ีผเู้ ป็นไข้ ๔. ภิกษุณผี ู้มเี หตุขดั ขอ้ ง ๕. ภกิ ษณุ วี ิกลจรติ ๖. ภกิ ษุณตี ้นบัญญัติ สิกขาบทที่ ๖ ว่าด้วยการนงั่ นอนบนอาสนะโดยไม่บอกเจา้ ของ เรอ่ื งภกิ ษณุ ีถลุ ลนันทา คร้ังนนั้ ภกิ ษุณีถุลลนันทาเข้าไปสตู่ ระกูล ทงั้ หลายภายหลังฉันภัตตาหาร นงั่ บ้าง นอนบ้างบนอาสนะโดยไมบ่ อกเจา้ ของ(บ้าน) คนในบ้านเกรงใจภกิ ษุณีถุลลนนั ทา จึงไม่กลา้ นงั่ หรอื นอนบนอาสนะคนท้ังหลายพา กนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนา ลาดับนน้ั พระผมู้ ีพระภาครับส่งั ใหป้ ระชุมสงฆเ์ พราะเรือ่ งน้ีเปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลาย แล้วจงึ รบั สัง่ ให้ภกิ ษณุ ที ั้งหลายยกสกิ ขาบทนี้ขึน้ แสดงดงั น้ีพระบญั ญัติ ก็ภิกษณุ ีใดเข้าไปสู่ตระกลู ภายหลังฉนั ภัตตาหาร น่ังหรอื นอนบน อาสนะ๑โดยไม่บอกเจ้าของบา้ น ต้องอาบัติปาจิตตยี ์สิกขาบทวภิ งั ค์ คาว่า โดยไมบ่ อกเจา้ ของบา้ น คอื ไม่ขออนุญาตเจ้าของบ้านผรู้ ับผดิ ชอบใน ตระกลู นน้ับทภาชนยี ์ตกิ ทกุ กฏ ไม่ใช่ทสี่ าหรับนง่ั ขัดสมาธิ ต้องอาบัติทกุ กฏ บอกแลว้ ภกิ ษุณีสาคัญวา่ ยงั ไม่ได้บอก ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ บอกแล้ว ภกิ ษุณีไมแ่ น่ใจ ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ บอกแลว้ ภกิ ษณุ ีสาคญั วา่ บอกแล้ว ไมต่ อ้ งอาบตั ิอนาปัตตวิ าร ภิกษุณีต่อไปนีไ้ มต่ อ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษุณีบอกแลว้ น่งั หรอื นอนบนอาสนะ ๒. ภิกษุณีนั่งหรอื นอนบนอาสนะทเ่ี ขาปูไวป้ ระจา ๓. ภิกษุณีผ้เู ป็นไข้ ๔. ภิกษณุ ผี ู้มีเหตุขัดข้อง ๕. ภิกษณุ ีวิกลจริต ๖. ภกิ ษณุ ตี น้ บัญญตั ิ สิกขาบทท่ี ๗ ว่าดว้ ยการปูลาดโดยไมบ่ อก

๗๕ เรอ่ื งภิกษณุ หี ลายรูป คร้งั นน้ั ภิกษุณีหลายรูปเดนิ ทางไปกรุงสาวตั ถี แควน้ โกศล ถงึ หมบู่ า้ นแห่งหนง่ึ ในเวลาเย็นเขา้ ไปสตู่ ระกลู พราหมณ์ตระกูลหนึ่งขอโอกาส พราหมณไี ด้บอกใหร้ อพราหมณ์มาก่อน พวกภกิ ษณุ กี ล่าวว่าจะรอจนกว่าพราหมณจ์ ะมา ได้ปูท่ีนอน บางพวกนง่ั บางพวกนอน ครนั้ในตอนกลางคืน พราหมณ์กลับมาพบเหน็ ไดก้ ล่าวกับพราหมณดี งั น้วี า่ สตรีเหล่านเี้ ปน็ ใคร สตรเี หล่านีเ้ ปน็ ภกิ ษณุ ี พราหมณ์จงึ ให้ขบั ไล่ออกจากเรือน ครน้ั ภิกษุณเี หลา่ น้นั ไปถงึ กรงุ สาวตั ถี เล่าเรือ่ งนั้นใหภ้ ิกษณุ ที ้งั หลายทราบ บรรดาภกิ ษุณผี ูม้ ักนอ้ ย พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาไดน้ าเรอ่ื งน้ไี ปบอกภิกษทุ งั้ หลายใหท้ ราบ พวกภกิ ษุจึงได้นาเร่ืองนไ้ี ปกราบทูลพระผู้มพี ระภาคใหท้ รงทราบ ลาดบั นั้น พระผมู้ ีพระภาครับสั่งให้ประชมุ สงฆเ์ พราะเรอื่ งนเี้ ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แลว้ จงึ รบั ส่ังให้ภิกษุณีทัง้ หลายยกสกิ ขาบทน้ขี นึ้ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ ก็ภิกษุณีใดเขา้ ไปส่ตู ระกูลในเวลาวกิ าล๓๘ ปหู รือใชใ้ ห้ปูทีน่ อนโดยไม่บอกเจ้าของบา้ นแล้วนั่งหรอื นอน ต้องอาบตั ปิ าจิตตยี ์สกิ ขาบทวภิ งั ค์ คาว่า โดยไมบ่ อกเจ้าของบ้าน คือ ไมข่ ออนุญาตเจ้าของบา้ นผูร้ ับผดิ ชอบในตระกลู นัน้ ที่ช่ือวา่ ที่นอน โดยทสี่ ดุ แมเ้ ครอื่ งปูลาดทีท่ าดว้ ยใบไม้บทภาชนีย์ ทกุ ทุกกฏ บอกแลว้ ภกิ ษณุ ีสาคัญว่ายังไมไ่ ดบ้ อก ต้องอาบัติทุกกฏ บอกแล้ว ภกิ ษณุ ีไม่แนใ่ จ ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ บอกแลว้ ภกิ ษณุ สี าคัญว่าบอกแลว้ ไมต่ อ้ งอาบัติอนาปัตตวิ าร ภกิ ษุณีต่อไปนีไ้ มต่ ้องอาบัติ คือ ๑. ภิกษุณีบอกเจ้าของ ปเู องหรือใช้ผอู้ ืน่ ใหป้ ูทน่ี อน นงั่ หรอื นอน ๒. ภกิ ษณุ ผี ู้เปน็ ไข้ ๓. ภกิ ษุณผี ู้มีเหตุขัดข้อง ๔. ภกิ ษุณีวกิ ลจริต ๕. ภกิ ษณุ ีต้นบัญญัติ ๓๘ เวลาวกิ าล คือ ต้งั แตเ่ วลาดวงอาทิตย์ตกไปจนถงึ อรุณขึ้น

๗๖ สกิ ขาบทท่ี ๘ วา่ ดว้ ยการให้ผู้อ่ืนโพนทะนา เรอ่ื งภกิ ษณุ ีอันเตวาสนิ ขี องพระภัททกาปลิ านี ครั้งน้ัน ภกิ ษณุ อี นั เตวาสินีของพระภัททกาปิลานอี ุปัฏฐากพระภัททกาปลิ านโี ดยเคารพพระภทั ทกาปิลานไี ด้กลา่ วกับภกิ ษุณที ้ังหลายดงั นี้ว่า “แม่เจ้า ภกิ ษณุ ีนอ้ี ปุ ฏั ฐากเราโดยเคารพ เราจะใหจ้ ีวรเธอ” แตภ่ ิกษณุ ีนั้นเพราะความเข้าใจผดิ เพราะใครค่ รวญผดิ ใหผ้ ู้อ่นื โพนทะนาว่า “แมเ่ จา้ เขาวา่ ดิฉันไมไ่ ดอ้ ุปฏั ฐากแมเ่ จ้าโดยเคารพ แมเ่ จา้ จะไม่ให้จีวรแกด่ ฉิ ัน” ลาดบั นน้ั พระผูม้ พี ระภาครบั สั่งให้ประชุมสงฆ์เพราะเรอื่ งน้ีเป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทงั้ หลาย แล้วจงึ รบั สง่ั ให้ภกิ ษณุ ีทัง้ หลายยกสิกขาบทนข้ี น้ึ แสดงดังนี้พระบญั ญัติ กภ็ ิกษุณีใดเพราะเข้าใจผดิ เพราะใครค่ รวญผดิ ใหผ้ ้อู ่นื โพนทะนา ตอ้ งอาบัติปาจติ ตีย์สกิ ขาบทวภิ ังค์ คาว่า ผอู้ นื่ ได้แก่ ให้อุปสมั บันโพนทะนา ต้องอาบตั ิปาจติ ตีย์บทภาชนยี ์ ทุกกฏ ภกิ ษุณใี หอ้ นปุ สัมบันโพนทะนา ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ อนุปสมั บัน ภิกษณุ สี าคัญวา่ เปน็ อปุ สมั บนั ตอ้ งอาบัติทุกกฏ อนปุ สัมบนั ภิกษุณีไม่แน่ใจ ต้องอาบัติทกุ กฏ อนปุ สมั บนั ภกิ ษุณีสาคัญวา่ เป็นอนปุ สมั บนั ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏอนาปตั ติวาร ภิกษณุ ตี อ่ ไปนี้ไมต่ ้องอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษุณวี ิกลจรติ ๒. ภิกษุณตี ้นบญั ญัติ สกิ ขาบทที่ ๙ วา่ ดว้ ยการสาปแชง่ ตนเองและผู้อน่ื เรือ่ งภกิ ษณุ ีจัณฑกาลี ครงั้ นน้ั ภิกษุณีทง้ั หลายไม่เหน็ ส่งิ ของของ ตนไดก้ ลา่ วกับภกิ ษณุ ีจณั ฑกาลีดงั นี้วา่ “แม่เจา้ทา่ นเห็นสิ่งของของพวกเราบ้างไหม” ภิกษุณีจณั ฑกาลตี าหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ “ดฉิ ันนีแ่ หละที่เปน็ ขโมย ดิฉันนี่แหละไมม่ ีความละอาย พวกแมเ่ จ้าท่ไี มเ่ ห็นสิ่งของของตนตา่ งพากันกล่าวกบั ดฉิ ันอย่างนว้ี า่ •เหน็ ส่ิงของของพวกเราบา้ งไหมž แม่เจ้า ถา้ ดฉิ นั เอาสิง่ ของของพวกทา่ นไป ดิฉนั ก็จงเป็น

๗๗ูผ้ไม่ใชส่ มณะหญิง จงเคลือ่ นจากพรหมจรรย์ จงบงั เกิดใน นรก สว่ นผูท้ ีก่ ลา่ วหาดิฉนั ดว้ ยเรือ่ งทีไ่ มจ่ รงิกจ็ งไมเ่ ป็นสมณะหญิง จงเคล่ือนจาก พรหมจรรย์ จงบังเกิดในนรก” บรรดาภิกษณุ ผี มู้ ักนอ้ ย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาได้นาเรอื่ งน้ไี ปบอกภิกษุทงั้ หลายใหท้ ราบ พวกภกิ ษุ ไดน้ าเรื่องนไ้ี ปกราบทูลพระผ้มู พี ระภาคให้ทรงทราบ ลาดับนัน้ พระผู้มีพระภาครบั สง่ั ใหป้ ระชุมสงฆเ์ พราะเร่อื งน้เี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุทัง้ หลายแลว้ จึงรับสงั่ ให้ภิกษุณที งั้ หลายยกสกิ ขาบทนขี้ น้ึ แสดงดงั นี้พระบัญญัติ กภ็ กิ ษุณใี ดสาปแชง่ ตนเองหรือผู้อื่นด้วยนรกหรอื ด้วยพรหมจรรย์ ต้องอาบตั ปิ าจติ ตยี ์สิกขาบทวภิ งั ค์ คาว่า ผ้อู ่ืน ได้แก่ อปุ สัมบัน ภกิ ษุณีสาปแชง่ (อุปสัมบัน)ด้วยนรกหรอื ดว้ ยพรหมจรรย์ ตอ้ งอาบัตปิ าจิตตีย์บทภาชนีย์ ทุกกฏ ภกิ ษุณสี าปแชง่ ด้วยกาเนดิ สัตว์ดริ ัจฉาน เปรตวิสัย หรือคนโชคร้าย๑ ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ ภกิ ษุณสี าปแชง่ อนุปสัมบนั ต้องอาบัตทิ ุกกฏ อนุปสัมบัน ภกิ ษุณีสาคัญวา่ เปน็ อุปสัมบนั ต้องอาบตั ิทุกกฏ อนุปสัมบนั ภิกษณุ ไี ม่แน่ใจ ต้องอาบัติทกุ กฏ อนปุ สมั บัน ภกิ ษณุ สี าคญั ว่าเปน็ อนปุ สมั บัน ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏอนาปัตติวาร ภิกษุณตี อ่ ไปนไ้ี มต่ อ้ งอาบัติ คือ ๑. ภกิ ษณุ มี ุ่งอรรถ๒ ๒. ภิกษณุ มี งุ่ ธรรม๓ ๓. ภิกษุณมี ่งุ สั่งสอน ๔. ภกิ ษณุ วี กิ ลจริต ๕. ภิกษุณีต้นบัญญัติ สกิ ขาบทท่ี ๑๐ วา่ ดว้ ยการร้องไห้ทุบตตี นเอง เรือ่ งภิกษุณีจณั ฑกาลี คร้งั นนั้ ภิกษณุ จี ณั ฑกาลที ะเลาะกับภิกษุณีทงั้ หลายแล้วร้องไห้ทุบตีตนเอง บรรดาภกิ ษุณผี ู้มกั น้อย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนา ได้นาเรื่องนีไ้ ปบอกภกิ ษุท้ังหลายใหท้ ราบ พวกภิกษุได้นาเรือ่ งนไ้ี ปกราบทูลพระผมู้ ีพระภาคใหท้ รงทราบ

๗๘ ลาดบั นัน้ พระผมู้ พี ระภาครบั สั่งให้ประชมุ สงฆ์เพราะเร่ืองนเ้ี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลายแล้วจึงรับสง่ั ใหภ้ ิกษุณที ้งั หลาย ยกสกิ ขาบทนี้ขน้ึ แสดงดังนี้พระบัญญัติ กภ็ กิ ษุณีใดรอ้ งไหท้ ุบตตี นเอง ต้องอาบัติปาจติ ตีย์สิกขาบทวภิ ังค์ ภิกษุณรี ้องไหท้ บุ ตีตนเอง ต้องอาบัตปิ าจิตตยี ์ ทบุ ต(ี ตนเอง)แตไ่ มร่ ้องไห้ ต้องอาบตั ิทุกกฏร้องไห้แต่ไม่ทบุ ตี(ตนเอง) ต้องอาบัติทุกกฏอนาปตั ติวาร ภิกษุณตี ่อไปนี้ไม่ต้องอาบัติ คือ ๑. ภกิ ษณุ ีถูกความเส่ือมญาติ เสอื่ มโภคะหรือโรครมุ เรา้ รอ้ งไหแ้ ต่ไมท่ ุบตตี นเอง ๒. ภิกษณุ วี กิ ลจริต ๓. ภกิ ษณุ ตี น้ บญั ญตั ิ๔.๓ นัคควรรค หมวดวา่ ด้วยการเปลือยกาย สิกขาบทที่ ๑ ว่าด้วยการเปลอื ยกายอาบนา้ เรื่องภิกษุณีหลายรูป คร้ังนน้ั ภกิ ษณุ หี ลายรูปเปลอื ยกาย อาบนา้ ในแมน่ า้ อจิรวดีทา่ เดยี วกับหญิงแพศยา พวกหญงิแพศยาเยย้ หยันภกิ ษุณเี หล่านั้นว่า “แมเ่ จา้ ทัง้ หลาย พวกท่านยงั เปน็ สาว จะประพฤตพิ รหมจรรย์ไปทาไม กัน ธรรมดามนุษยค์ วรบริโภคกามมิใชห่ รือ ต่อเม่ือชราพวกท่านจงึ คอ่ ยประพฤติพรหมจรรย์เม่อื เป็นอยา่ งนี้ ช่ือวา่ ได้หยิบฉวยเอาประโยชน์ทั้งสองแล้ว” พวกภิกษณุ ถี ูกพวกหญิงแพศยาเยย้ หยันต่างเก้อเขิน ครัน้ กลบั ไปสานกั แลว้ จึงบอกเร่อื งนน้ั ใหภ้ กิ ษณุ ีทัง้ หลายทราบ พวกภกิ ษุณีได้บอกเรือ่ งน้ีให้ภิกษทุ ้งั หลายทราบ พวกภกิ ษุได้นาเร่อื งนไี้ ปกราบทูลพระผูม้ พี ระภาคให้ทรงทราบ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมกี ถาเพราะเรอื่ งนเ้ี ป็นต้นเหตุ รบั สัง่ กับภิกษทุ ้งั หลายแลว้ จงึรบั ส่งั ให้ภิกษุณที ้งั หลายยกสกิ ขาบทนขี้ ึ้นแสดงดงั น้ีพระบัญญัติ กภ็ กิ ษณุ ใี ดเปลอื ยกายอาบนา้ ต้องอาบัตปิ าจิตตีย์สกิ ขาบทวภิ งั ค์ คาวา่ เปลือยกายอาบน้า คอื ไมน่ งุ่ ผ้าหรือไมห่ ม่ ผา้ อาบนา้ ต้องอาบตั ิ ทุกกฏในขณะทีอ่ าบอาบเสร็จแลว้ ต้องอาบตั ปิ าจิตตยี ์อนาปัตติวาร

๗๙ ภกิ ษณุ ตี อ่ ไปนี้ไม่ตอ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษุณีถูกโจรลักจีวรหรอื จีวรหาย ๒. ภิกษณุ ผี มู้ ีเหตขุ ัดข้อง ๓. ภกิ ษณุ ีวกิ ลจริต ๔. ภกิ ษณุ ีตน้ บัญญัติ สิกขาบทที่ ๒ วา่ ด้วยการใชผ้ ้าอาบนา้ ไมไ่ ด้ขนาด เรอ่ื งภิกษณุ ฉี ัพพคั คยี ์ ครงั้ นั้น พระผ้มู ีพระภาคทรงอนญุ าตใหภ้ ิกษณุ ีใชผ้ ้าอาบน้า พวกภกิ ษณุ ีฉัพพัคคีย์คิดวา่ พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตผา้ อาบน้าแลว้ พากันใช้ผ้าอาบนา้ ไม่ได้ขนาด เดินเทย่ี วยอ้ ยขา้ งหน้าบา้ ง ยอ้ ยขา้ งหลังบ้าง ลาดับนน้ั พระผ้มู พี ระภาครบั สง่ั ให้ประชุมสงฆ์เพราะเรือ่ งนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แลว้ จึงรับสั่งใหภ้ กิ ษณุ ีทัง้ หลายยกสกิ ขาบทน้ขี ึ้นแสดงดงั น้ีพระบัญญตั ิ กภ็ ิกษณุ ีผจู้ ะใหท้ าผ้าอาบน้า พึงทาให้ได้ขนาด ขนาดในขอ้ นน้ั คือ ยาว ๔ คบื กวา้ ง ๒คบื โดยคืบสุคต๑๓๙ ทาใหเ้ กินขนาดนนั้ ต้องอาบัติปาจติ ตีย์ท่ชี อ่ื ว่าเฉทนกะ๒สกิ ขาบทวิภังค์ ท่ชี อื่ วา่ ผา้ อาบนา้ ได้แก่ ผา้ ที่ใชน้ งุ่ อาบนา้ คาวา่ ผ้จู ะให้ทา อธบิ ายว่า ภิกษุณีทาเองหรือใชผ้ อู้ ื่นใหท้ า พึงทาใหไ้ ด้ขนาด ขนาดในข้อน้ันคอื ยาว ๔ คบื กวา้ ง ๒ คบื โดยคบื สคุ ต ภิกษณุ ที าเองหรอื ใช้ผ้อู ืน่ ใหท้ าเกนิ ขนาดนนั้ ต้องอาบัติทกุ กฏในขณะทท่ี า ต้องอาบตั ิปาจิตตยี ์เพราะได้มา ต้องตัดของน้ันเสยี กอ่ นแลว้ แสดงอาบตั ิบทภาชนีย์ ทุกทุกกฏ ภกิ ษุณีทาเองหรือใช้ผอู้ น่ื ให้ทาเพอ่ื ประโยชนแ์ กผ่ อู้ ่นื ต้องอาบัติทกุ กฏ ภิกษุณไี ดผ้ ้าอาบนา้ ทผ่ี ู้อนื่ ทาไวม้ าใช้สอย ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏอนาปตั ติวาร ๓๙ ๑ คบื สุคต เทา่ กับ ๓ คืบ ของคนสัณฐานปานกลาง เทา่ กบั ๑ ศอกครึง่ โดยศอกช่างไม้ แต่ในปัจจบุ นัให้ถอื ตามไม้เมตร คอื เทา่ กบั ๒๕ เซนตเิ มตร (ว.ิ อ ๒/๓๔๘-๓๔๙/๖๑)มาตราวดั ขนาดสิง่ ของที่ใช้ในครั้งพุทธกาล ๑คืบพระสุคตเท่ากบั ๓ คืบของคนสัณฐานปานกลาง

๘๐ ภกิ ษณุ ตี อ่ ไปนไ้ี ม่ตอ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษณุ ีทาผ้าอาบน้าไดข้ นาด ๒. ภกิ ษณุ ที าผา้ อาบน้าหยอ่ นกว่าขนาด ๓. ภิกษณุ ไี ดผ้ า้ อาบนา้ ที่ผอู้ ืน่ ทาไว้เกินขนาดมาตัดใหไ้ ดข้ นาดแลว้ ใชส้ อย ๔. ภิกษณุ ีทาเป็นเพดาน ผา้ ปพู ื้น ผ้ามา่ น ผา้ เปลอื กฟูกหรอื หมอน ๕. ภิกษุณวี กิ ลจริต ๖. ภิกษุณตี ้นบัญญัติ สกิ ขาบทท่ี ๓ ว่าดว้ ยการเลาะจีวรแล้วไมเ่ ย็บ เรื่องภิกษุณีถุลลนนั ทา ครงั้ น้ัน ภิกษุณีรูปหน่ึงทาจวี รไมด่ ี เยบ็ ไม่ดที ัง้ ทใ่ี ชผ้ ้าสาหรับทาจีวรราคาแพง ภกิ ษณุ ถี ุลลนันทาได้กล่าวกบั ภกิ ษุณนี นั้ ดังน้วี ่า “แมเ่ จา้ ผา้ สาหรบั ทาจีวรของท่านดีจริง แต่กลบั ทาจีวรไม่ดี เยบ็ ไม่ดี”ภิกษณุ ีนน้ั กล่าววา่ ดฉิ ันจะเลาะออก ทา่ นจะเยบ็ ให้หรือ ดฉิ นั จะเยบ็ ให้ ครั้นแลว้ ภิกษณุ นี นั้ จึงเลาะจวี รแล้วมอบให้ภกิ ษุณีถุลลนนั ทา ภกิ ษุณีถลุ ลนันทา กลา่ ววา่“ดิฉนั จะเยบ็ ให้ ดิฉนั จะเยบ็ ให”้ แต่ไม่เยบ็ ให้ ทงั้ ไมข่ วนขวายใช้ผู้อนื่ ใหเ้ ย็บ ภิกษณุ นี นั้ จึงบอกเร่อื งนนั้ใหภ้ ิกษุณีท้ังหลายทราบ บรรดาภกิ ษุณผี มู้ กั น้อย ฯลฯ พากนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาได้นาเรอ่ื งนี้ไปบอกภิกษุท้งั หลายใหท้ ราบ พวกภกิ ษุได้นาเร่ืองน้ีไปกราบทลู พระผูม้ ีพระภาคให้ทรงทราบ ลาดบั นัน้ พระผมู้ พี ระภาครับส่ังให้ประชมุ สงฆ์เพราะเรื่องน้เี ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลาย แล้ว จึงรบั ส่งั ใหภ้ กิ ษณุ ีทั้งหลายยกสิกขาบทนข้ี ้นึ แสดงดังน้ีพระบัญญัติ ก็ภิกษณุ ีใดเลาะหรือใชใ้ ห้เลาะจวี รของภกิ ษณุ ีแลว้ ภายหลงั ภิกษุณนี ั้นผไู้ มม่ ีอันตราย ไม่เย็บ ไม่ขวนขวายใชผ้ ู้อืน่ ให้เยบ็ พน้ ๔-๕ วัน ต้องอาบัตปิ าจติ ตีย์สิกขาบทวิภงั ค์ คาวา่ พน้ ๔-๕ วัน คือ เกบ็ ไว้ได้ ๔-๕ วัน พอทอดธรุ ะว่า “เราจกั ไม่เย็บ จกั ไม่ขวนขวายใช้ผู้อื่นให้เยบ็ ” ต้องอาบัติปาจติ ตยี ์บทภาชนีย์ ทุกกฏ ภิกษณุ เี ลาะหรอื ใชใ้ ห้เลาะบริขารอยา่ งอ่ืน ภายหลังภิกษุณนี นั้ ผู้ไม่มีอนั ตราย ไม่เย็บ ทง้ั ไม่ขวนขวายใชผ้ ู้อ่ืนใหเ้ ยบ็ พน้ ๔-๕ วัน ตอ้ งอาบัติทุกกฏ

๘๑ ภิกษณุ เี ลาะหรือใช้ใหเ้ ลาะจีวรหรอื บรขิ ารอยา่ งอืน่ ของอนุปสมั บนั ภายหลัง ภกิ ษณุ ีน้ันผ้ไู ม่มีอันตราย ไมเ่ ย็บ ทัง้ ไม่ขวนขวายใชู้ผอ้ น่ื ให้เย็บ พน้ ๔-๕ วนั ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ อนปุ สมั บนั ภิกษุณสี าคัญวา่ เปน็ อุปสัมบัน ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ อนุปสมั บัน ภกิ ษุณไี ม่แน่ใจ ต้องอาบตั ิทุกกฏ อนุปสัมบนั ภกิ ษณุ สี าคัญวา่ เป็นอนปุ สมั บนั ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏอนาปัตติวาร ภิกษุณีตอ่ ไปน้ไี ม่ตอ้ งอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษุณไี ม่เยบ็ ในเมื่อมีอนั ตราย ๒. ภกิ ษณุ ีแสวงหาแลว้ ไมไ่ ด้ ๓. ภกิ ษุณีกาลงั ทาการเย็บ พน้ ๔-๕ วัน ๔. ภิกษุณีผู้เป็นไข้ ๕. ภิกษณุ ีผมู้ เี หตขุ ดั ขอ้ ง ๖. ภกิ ษณุ ีวิกลจริต ๗. ภกิ ษณุ ีตน้ บัญญตั ิ สิกขาบทที่ ๔ ว่าด้วยการไม่ผลัดเปล่ียนสงั ฆาฏิตามกาหนด เรือ่ งภกิ ษุณหี ลายรูป ครั้งนั้น ภกิ ษณุ ีทง้ั หลายฝากจีวรไว้กับ พวกภิกษุณี มเี พยี งอุตตราสงคก์ บั อนั ตรวาสกหลีกจารกิ ไปสู่ชนบท จวี รนนั้ เกบ็ ไวน้ านจงึ ข้ึนรา พวกภกิ ษณุ (ี ที่รับฝาก)จึงนาออกผงึ่ แดด ภิกษุณที งั้ หลายไดก้ ล่าวกบั ภิกษุณี(ท่รี บั ฝาก)เหลา่ นน้ั ดงั น้ีวา่ แม่เจ้าท้ังหลาย จีวรท่ขี นึ้ ราเหลา่ น้เี ปน็ ของใคร ลาดบั น้นัพวกภกิ ษณุ (ี ท่รี บั ฝาก)จึงบอกเรอื่ งนั้นใหภ้ ิกษุณที ัง้ หลายทราบ พระผ้มู พี ระภาครบั สัง่ ใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเร่อื งน้ีเปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ ง้ั หลาย แลว้จงึ รบั ส่งั ใหภ้ ิกษณุ ีท้งั หลายยกสิกขาบทน้ีขึ้นแสดงดังน้ีพระบญั ญัติ กภ็ กิ ษณุ ใี ดให้วาระผลัดเปลยี่ นสังฆาฏิ๔๐ ทม่ี ีกาหนดระยะเวลา ๕ วนั ลว่ งเลยไป ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตยี ์ ๔๐ สังฆาฏหิ มายถึง จีวร ๕ ผนื ของภกิ ษุณี คือ ๑. สงั ฆาฏิ ๒. อตุ ตราสงค์ ๓. อนั ตรวาสก ๔. ผ้าอาบนา้ ๕.ผา้ รัดถัน ภกิ ษณุ ีต้องนาผ้า ๕ ผืนนีอ้ อกมาใชส้ อยหรอื ผ่งึ แดด หา้ มเกบ็ ไวเ้ กิน ๕ วนั ถา้ เกบ็ ผนื ใดผืนหนง่ึ ไว้เกิน ๕ วันต้องอาบัติปาจติ ตยี ์ : เกบ็ ไว้ ๑ ผนื ตอ้ งอาบตั ิ ๑ ตวั เก็บไว้ ๕ ผืน ตอ้ งอาบัติ ๕ ตวั (ว.ิ อ. ๒/๓๙๘-๙/๕๐๐-๕๐๑,กงขฺ า.อ. ๓๗๕, สารตถฺ .ฏีกา ๓/๘๙๘/๑๕๔)

๘๒สกิ ขาบทวภิ ังค์ คาวา่ ให้วาระผลัดเปลี่ยนสงั ฆาฏิทม่ี ีกาหนดระยะเวลา ๕ วนั ล่วงเลยไป อธิบายวา่ ไม่นุง่ ไม่หม่ ไมผ่ ง่ึ จวี ร ๕ ผืน สิน้ วนั ที่ ๕ คอื ใหล้ ่วงเลยไปเป็นวันที่ ๕ ต้องอาบตั ิปาจิตตยี ์บทภาชนีย์ ทกุ ทกุ กฏ ยงั ไม่ล่วงเลย ๕ วนั ภิกษณุ ีสาคญั ว่าล่วงเลยแลว้ ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ยงั ไม่ลว่ งเลย ๕ วัน ภิกษณุ ีไม่แนใ่ จ ต้องอาบัตทิ กุ กฏ ยังไม่ลว่ งเลย ๕ วนั ภิกษุณสี าคัญว่ายังไมล่ ว่ งเลย ไมต่ ้องอาบตั ิอนาปัตตวิ าร ภกิ ษณุ ตี ่อไปนไ้ี ม่ต้องอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษุณี นุ่ง หม่ จวี ร ๕ ผนื หรือนาออกผง่ึ แดดในวันท่ี ๕ ๒. ภกิ ษุณีผูเ้ ป็นไข้ ๓. ภิกษณุ ผี ู้มีเหตุขดั ข้อง๑ ๔. ภิกษุณีวกิ ลจริต ๕. ภิกษณุ ีต้นบัญญตั ิ สกิ ขาบทที่ ๕ วา่ ด้วยการห่มจวี รสบั เปลย่ี นกัน เรือ่ งภิกษุณีรปู หน่งึ ครั้งนั้น ภิกษณุ ีรปู หนง่ึ เที่ยวบิณฑบาตแลว้ ผ่งึ จวี รทีเ่ ปยี กชุม่ แลว้ เขา้ วหิ าร ภกิ ษณุ อี กี รูปหนึง่ห่มจวี รผนื นนั้ เขา้ ไปบิณฑบาตในหมู่บ้าน ภิกษณุ (ี เจา้ ของจีวร)น้นั ออกมาถามภิกษุณที ัง้ หลายวา่ ทา่ นทงั้ หลายเหน็ จวี รของดิฉันบา้ งไหม ภิกษณุ ที ัง้ หลายบอกเร่ืองนั้นให้ภิกษุณนี ั้นทราบ ลาดบั น้นั ภิกษณุ ีนั้นตาหนิ ประณาม โพนทะนา พระผู้มพี ระภาครับสั่งให้ประชมุ สงฆ์เพราะเร่อื งนเ้ี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุทงั้ หลาย แลว้จึงรับสัง่ ให้ภิกษณุ ที ัง้ หลายยกสิกขาบทน้ีขึน้ แสดงดังน้ีพระบัญญตั ิ ก็ภกิ ษณุ ีใดห่มจวี รสับเปลยี่ นกัน ตอ้ งอาบัติปาจติ ตยี ์สิกขาบทวิภงั ค์ ที่ชื่อวา่ จวี รสับเปล่ียนกัน ได้แก่ จวี ร ๕ ผนื ๑ อยา่ งใดอย่างหนึ่งของอุปสมั บัน ภกิ ษุณีนุ่งหรอื ห่มจีวรนัน้ ท่เี จา้ ของไม่ไดใ้ ห้ หรอื โดยไม่ไดบ้ อกกลา่ ว ต้องอาบัติปาจติ ตยี ์บทภาชนีย์

๘๓ ทุกกฏ ภกิ ษณุ ีหม่ จวี รสบั เปลี่ยนกันกับอนุปสมั บัน ต้องอาบัติทกุ กฏ อนุปสมั บัน ภกิ ษณุ ีสาคัญวา่ เปน็ อปุ สมั บนั ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ อนุปสัมบนั ภกิ ษณุ ไี มแ่ น่ใจ ต้องอาบตั ิทกุ กฏ อนุปสัมบัน ภกิ ษณุ สี าคัญวา่ เป็นอนุปสมั บัน ต้องอาบัติทกุ กฏอนาปัตติวาร ภิกษณุ ตี ่อไปนี้ไม่ต้องอาบตั ิ คือ ๑. ภกิ ษุณีนุ่งหรือหม่ จวี รทีเ่ จ้าของให้ หรือภิกษุณีนงุ่ หรอื ห่มจวี รน้ัน โดยบอก เจ้าของกอ่ น ๒. ภกิ ษณุ มี ีจีวรถกู ชงิ ไป ๓. ภกิ ษณุ มี ีจีวรสูญหาย ๔. ภกิ ษณุ ีผ้มู ีเหตขุ ัดข้อง ๕. ภกิ ษณุ วี ิกลจรติ ๖. ภกิ ษณุ ตี น้ บัญญัติ สิกขาบทท่ี ๖ วา่ ด้วยการทาอันตรายแกจ่ วี รลาภของคณะ เรอ่ื งภิกษุณีถลุ ลนันทา ครง้ั นนั้ ตระกูลอปุ ัฏฐากของภกิ ษณุ ถี ุลลนันทา ได้กลา่ วกบั ภกิ ษุณถี ลุ ลนนั ทาวา่ จะถวายจวี รแกภ่ ิกษณุ ีสงฆ์ ภกิ ษณุ ีถุลลนันทากล่าววา่ พวกท่านมีกจิ มาก มีสิง่ ท่ตี อ้ งทามาก ได้ทาอันตราย(แกล่ าภของคณะ) ตอ่ มา เรือนตระกลู นนั้ ถกู ไฟไหม้ พวกเขาตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ไฉนภกิ ษุณถี ลุ ลนันทาจงึ ทาอนั ตรายไทยธรรมของพวกเรา พวกเราตอ้ งคลาดจากสมบตั ิทง้ั สอง คอื โภคสมบตั ิและบุญสมบัติ ลาดบั นนั้ พระผู้มีพระภาครบั สั่งให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรอ่ื งนีเ้ ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แลว้ จึงรับส่ังให้ภิกษุณีทง้ั หลายยกสกิ ขาบทนี้ข้ึนแสดงดังนี้พระบัญญัติ กภ็ ิกษุณีใดทาอันตรายแก่จีวรทค่ี ณะจะพึงได้ ต้องอาบัตปิ าจติ ตยี ์สิกขาบทวิภงั ค์ ท่ีชอื่ วา่ จีวร ได้แก่ จวี ร ๖ ชนิด อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ซึ่งมขี นาดพอท่จี ะวกิ ัป ไดเ้ ป็นอย่างต่า

๘๔ คาวา่ ทาอนั ตราย คอื ทาอนั ตรายดว้ ยกลา่ วว่า “ชนท้งั หลายจะพงึ ถวายจวี รน้ีไดอ้ ย่างไรกัน”ตอ้ งอาบัติปาจติ ตีย์ ทาอนั ตรายบริขารอยา่ งอ่ืน ต้องอาบตั ิทุกกฏ ทาอนั ตรายจีวรหรอื บริขารอยา่ งอ่ืนของภกิ ษณุ หี ลายรูป ภิกษณุ รี ูปเดยี ว หรอื ของอนุปสมั บัน ตอ้ งอาบัติทุกกฏอนาปัตตวิ าร ภิกษณุ ตี อ่ ไปนี้ไมต่ ้องอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษณุ ีแสดงอานสิ งสแ์ ล้วกลา่ วห้าม ๒. ภกิ ษุณวี ิกลจริต ๓. ภิกษณุ ตี น้ บัญญัติ สิกขาบทท่ี ๗ ว่าดว้ ยการคดั ค้านการแจกจีวรท่ีชอบธรรม เร่ืองภกิ ษณุ ถี ุลลนนั ทา ครัง้ นนั้ อกาลจวี รเกดิ ขึ้นแก่ภกิ ษณุ สี งฆ์ ลาดบั น้ัน ภิกษุณสี งฆป์ ระสงค์จะแจกจีวรนั้น จงึประชมุ กนั เวลานน้ั พวกภกิ ษณุ ี อันเตวาสินีของภกิ ษุณีถลุ ลนนั ทาหลีกไปแลว้ ภิกษุณถี ลุ ลนันทาได้กล่าวกบั ภิกษณุ ีเหลา่ นนั้ ดงั น้วี า่ “แมเ่ จา้ ท้งั หลาย ภิกษุณีท้งั หลายหลกี ไปแลว้ อยา่ เพ่ิงแจกจวี รเลย”คดั คา้ นการแจกจีวร พวกภิกษณุ ีกลา่ ววา่ “อยา่ เพิง่ แจกจวี รเลย” แลว้ แยกย้ายกันไป เม่ือเหลา่ ภิกษุณีอนั เตวาสนิ ีกลบั มา ภกิ ษุณีถลุ ลนันทาจงึ ใหแ้ จกจวี รนนั้ ลาดับน้นั พระผู้มีพระภาครับส่งั ให้ประชมุ สงฆ์เพราะเรื่องน้ีเปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แลว้ จงึ รบั สัง่ ให้ภิกษุณีท้ังหลายยกสิกขาบทน้ีขนึ้ แสดงดงั น้ีพระบัญญัติ กภ็ กิ ษุณีใดคดั ค้านการแจกจีวรท่ชี อบธรรม ต้องอาบัติปาจติ ตีย์สิกขาบทวิภงั ค์ การแจกจีวรท่ชี ือ่ ว่า ชอบธรรม ได้แก่ ภิกษุณีสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกนั ประชุมกนั แจก คาว่า คัดค้าน คือ คัดค้านว่า “จะแจกจีวรนอี้ ยา่ งไร” ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตีย์บทภาชนยี ์ การแจกชอบธรรม ภิกษุณสี าคญั วา่ ชอบธรรม คัดค้าน ตอ้ งอาบัติ ปาจิตตยี ์ การแจกชอบธรรม ภิกษุณไี ม่แนใ่ จ คัดค้าน ต้องอาบัตทิ กุ กฏ การแจกชอบธรรม ภกิ ษณุ สี าคญั วา่ ไม่ชอบธรรม คดั คา้ น ไม่ตอ้ งอาบตั ิ การแจกชอบธรรม ภกิ ษุณีสาคัญว่าชอบธรรม คดั ค้าน ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ การแจกไมช่ อบธรรม ภกิ ษณุ ไี มแ่ น่ใจ คัดค้าน ตอ้ งอาบัติทุกกฏ การแจกไม่ชอบธรรม ภกิ ษุณสี าคัญว่าไม่ชอบธรรม คัดคา้ น ไมต่ อ้ งอาบตั ิ

๘๕อนาปัตตวิ าร ภิกษณุ ีตอ่ ไปน้ไี มต่ ้องอาบัติ คือ ๑. ภิกษณุ แี สดงอานสิ งส์แลว้ คดั คา้ น๔๑ ๒. ภิกษณุ วี กิ ลจริต ๓. ภิกษณุ ีต้นบญั ญัติ สิกขาบทท่ี ๘ ว่าด้วยการให้สมณจวี รแกผ่ ไู้ ม่ใชภ่ ิกษุณี เรอื่ งภกิ ษุณีถุลลนันทา ครัง้ นน้ั ภิกษุณถี ลุ ลนันทาใหส้ มณจวี รแก่พวกครนู ักฟอ้ นบ้าง พวกนกั ฟอ้ นบ้าง พวกกระโดดไม้ค้าบ้าง พวกมายากลบ้าง พวกตีกลองบ้าง เพื่อให้กล่าวพรรณนาคณุ ของนางในชมุ นุมชน พวกครูนกัฟ้อนบา้ ง พวกนักฟ้อนบ้าง พวกกระโดดไมค้ า้ บ้าง พวกมายากลบา้ ง พวกตีกลองบ้าง ตา่ งกลา่ วพรรณนาคุณของภกิ ษุณถี ุลลนันทาในชมุ นมุ ชน ลาดับน้ัน พระผมู้ ีพระภาครับสัง่ ใหป้ ระชมุ สงฆเ์ พราะเรือ่ งนีเ้ ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้งั หลาย แลว้ จึง รับสั่งให้ภิกษุณที ัง้ หลายยกสิกขาบทนี้ขนึ้ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ กภ็ ิกษณุ ีใดใหส้ มณจีวรแก่ชาวบา้ น แกป่ ริพาชก หรอื ปริพาชกิ า ต้องอาบัติปาจิตตยี ์สกิ ขาบทวิภังค์ ท่ีช่ือว่า สมณจีวร พระผู้มีพระภาคตรสั หมายถึงผ้าที่ทากัปปะแล้ว ภกิ ษุณีให้ผ้านั้น ต้องอาบตั ิปาจิตตีย์อนาปตั ติวาร ภิกษุณีตอ่ ไปนี้ไมต่ ้องอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษณุ ใี ห้แก่มารดาบิดา ๒. ภกิ ษุณใี ห้เปน็ ของยืม ๓. ภิกษุณวี ิกลจริต ๔. ภกิ ษุณีตน้ บัญญัติ สิกขาบทที่ ๙ ว่าดว้ ยการใหล้ ว่ งเลยสมยั แหง่ จีวรกาล ๔๑ หมายถึง ในกรณีที่จีวรมีไม่พอแบ่งกันให้ได้ครบทุกรูป จึงแสดงอานิสงส์ คือให้เหตุผลว่า ผ้าสาฎกไม่เพยี งพอยังขาดอยู่ผืนหน่งึ โปรดรอสัก ๒-๓ วันเถดิ เมื่อผ้าสาฎกมพี อท่ีจะแจกกนั ครบทุกรปู แลว้ จงึ แจกกัน (วิ.อ. ๒/๙๑๕/๕๐๒)

๘๖ เร่อื งภกิ ษุณถี ลุ ลนนั ทา ครัง้ น้ัน ตระกูลอปุ ัฏฐากของภิกษุณีถุลลนันทาไดก้ ล่าวกบั ภิกษุณีถลุ ลนันทาว่า จะถวายจีวรแกภ่ ิกษณุ สี งฆ์ ครน้ั ภกิ ษณุ ีทั้งหลายจาพรรษาแลว้ ประชมุ กันด้วยประสงค์ จะแจกจีวร ภิกษุณีถลุ ลนนัทาบอกให้ภกิ ษุณีเหลา่ นั้นรอกอ่ น ภิกษณุ ีสงฆม์ ีความหวงั ในจีวร ภกิ ษุณีทั้งหลายให้ภิกษุณีถลุ ลนนั ทาไปสืบดูจวี รนนั้ ให้รูเ้ ร่อื ง ภิกษณุ ถี ุลลนันทาเข้าไปถงึ ตระกลู น้นั ไดก้ ลา่ ววา่ ทา่ นทง้ั หลายจงถวายจีวรแก่ภิกษุณีสงฆ์ คนเหล่าน้นั กล่าววา่ พวกเรายังไมส่ ามารถทจี่ ะถวายจีวรแก่ภิกษุณีสงฆ์ พวกภิกษุไดน้ าเร่อื งนไ้ี ปกราบทลู พระผู้มพี ระภาคใหท้ รงทราบ ลาดับนั้น พระผมู้ ีพระภาครับสง่ั ใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเรือ่ งนี้เปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทงั้ หลาย แลว้ จงึ รบั ส่งั ใหภ้ ิกษณุ ที ้งั หลายยกสกิ ขาบทนข้ี ้ึนแสดงดงั นี้พระบญั ญตั ิ ก็ภิกษุณีใดให้ล่วงเลยสมยั แห่งจีวรกาล๔๒ดว้ ยความหวังในจีวรทเี่ ลอื่ นลอยต้องอาบตั ิปาจิตตีย์สิกขาบทวิภงั ค์ ท่ชี ื่อวา่ ความหวังในจีวรที่เลอื่ นลอย ได้แก่ ท่ีทายกเปล่งวาจาปวารณาว่า “ถา้ พวกเราสามารถ กจ็ ะถวาย จะทา” ท่ีชือ่ วา่ สมัยแห่งจวี รกาล คอื เมื่อยงั ไมไ่ ดก้ รานกฐนิ มกี าหนด ๑ เดือน ท้ายฤดูฝน เม่ือได้กรานกฐินแล้วมกี าหนด ๕ เดอื น คาวา่ ใหล้ ว่ งเลยสมัยแหง่ จวี รกาล ความวา่ เมือ่ ยงั ไมไ่ ด้กรานกฐิน ให้ ล่วงเลย วนั สดุ ทา้ ยฤดูฝน ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตีย์ เมอื่ ได้กรานกฐินแลว้ ใหล้ ่วงเลยวนั ทีก่ ฐินเดาะ๑ ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตยี ์บทภาชนยี ์ (ความหวังใน)จีวรท่เี ลอื่ นลอย ภิกษณุ ีสาคัญว่า(เป็นความหวังใน) จวี รทเ่ี ล่ือนลอย ใหล้ ่วงเลยสมยั จีวรกาลไป ตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตีย์ จีวรทเ่ี ล่อื นลอย ภกิ ษุณีไมแ่ น่ใจ ใหล้ ว่ งเลยสมยั แห่งจีวรกาล ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ จวี รที่เลือ่ นลอย ภิกษณุ สี าคญั วา่ เป็น(ความหวงั ใน)จีวรไม่เลอื่ นลอย ให้ล่วงเลยสมัยแห่งจวี รกาล ไมต่ อ้ งอาบัติ ๔๒ ในเมอ่ื ไดก้ รานกฐินแล้ว จีวรท่ีเกดิ ขน้ึ ในระหวา่ งแรม ๑ คา่ เดือน ๔ ถึงข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๑๑ ในปีเดียวกนั (ตามจันทรคติ) รวมเปน็ ๗ เดือน ชอื่ ว่าอกาลจวี ร ส่วนจีวรท่ีเกิดข้นึ นอกเวลาท้ัง ๒ กรณีดังกลา่ วน้ี ชื่อวา่กาลจวี รสมัยแห่งจวี รกาล คอื ในเมื่อไมไ่ ด้กรานกฐนิ นับเอาตัง้ แต่แรม ๑ ค่าเดอื น ๑๑ ถึงขึ้น ๑๕ คา่ เดือน ๑๒ รวมเวลา ๑ เดอื น ในเมื่อไดก้ รานกฐินแล้ว นบั เอาตง้ั แตแ่ รม ๑ ค่า เดอื น ๑๑ ถงึ ขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๔ รวมเวลา ๕ เดือนระยะเวลาในชว่ งนีเ้ รียกวา่ สมัยแหง่ จวี รกาล

๘๗ จวี รท่ไี มเ่ ล่ือนลอย ภิกษุณสี าคญั วา่ เปน็ (ความหวงั ใน)จีวรท่ีเลอ่ื นลอย ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ (ความหวังใน)จวี รทีไ่ ม่เลอื่ นลอย ภิกษุณีไม่แนใ่ จ ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ จีวรทไ่ี มเ่ ล่ือนลอย ภิกษณุ ีสาคญั วา่ เป็น(ความหวังใน)จวี รท่ีไมเ่ ลือ่ นลอย ไมต่ ้องอาบัติอนาปตั ติวาร ภิกษุณีตอ่ ไปนไ้ี ม่ต้องอาบัติ คือ ๑. ภิกษุณีแสดงอานสิ งส์แล้วห้าม ๒. ภกิ ษณุ วี กิ ลจรติ ๓. ภกิ ษณุ ีตน้ บญั ญัติ สิกขาบทท่ี ๑๐ วา่ ดว้ ยการห้ามการเดาะกฐนิ ๔๓ทช่ี อบธรรม เรอ่ื งอบุ าสกคนหนึง่ คร้ังนน้ั อุบาสกคนหนงึ่ ให้สรา้ งวิหารอทุ ศิ (ถวาย)สงฆ์ ในการฉลองวิหารน้นั อุบาสกนน้ัประสงคจ์ ะถวายอกาลจีวรแก่ สงฆ์ท้ังสองฝา่ ย แตเ่ วลานั้นสงฆ์ท้งั สองฝ่ายกรานกฐนิ แลว้ ลาดับนั้นอุบาสกนัน้ เข้าไปหาสงฆ์ ขอการเดาะกฐิน ภกิ ษุทง้ั หลายจงึ ไดก้ ราบทลู เรอื่ งน้นั ใหพ้ ระผมู้ ีพระภาคทรงทราบ ลาดบั นน้ั พระผมู้ ีพระภาคทรงแสดงธรรมีกถาเพราะเรื่องนีเ้ ป็นตน้ เหตุ ตรัสวา่ ภกิ ษทุ ้ังหลายเราอนุญาตใหเ้ ดาะกฐินได้ วิธีการเดาะกฐนิ และกรรมวาจาเดาะกฐิน ภิกษทุ ง้ั หลายพงึ เดาะกฐินอย่างนี้ คอื ภิกษุผฉู้ ลาดสามารถพึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญตั ติทุตยิ กรรมวาจาวา่ ท่านผู้เจรญิ ขอสงฆ์จงฟังขา้ พเจา้ ถ้าสงฆ์พร้อมกนั แลว้ ก็พึงเดาะกฐิน น่ีเปน็ ญตั ติ ทา่ นผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟงั ข้าพเจา้ สงฆย์ อ่ มเดาะกฐิน ท่านรปู ใดเห็นดว้ ยกับการเดาะกฐินทา่ นรูปนัน้ พึงน่ิง ทา่ นรปู ใดไม่เหน็ ด้วย ทา่ นรปู นัน้ พงึ ทักท้วง สงฆเ์ ดาะกฐนิ แล้ว สงฆ์เห็นด้วย เพราะฉะน้นั จงึ น่ิง ข้าพเจา้ ขอถือความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างน้ี ๔๓ กฐนิ เดาะ ตามศพั ท์แปลว่ารือ้ ไม้สะดึง คอื ไม้แบบสาหรบั ขงึ ผา้ หมายถงึ ยกเลิกอานสิ งส์ กฐินท่ีภิกษุพึงไดร้ ับ ขอการเดาะกฐนิ คือขอใหส้ งฆ์ยกเลกิ อานสิ งสก์ ฐินกอ่ นหมดเขตอานสิ งสก์ ฐนิ ด้วยต้องการจะถวายผา้ เปน็ อกาลจวี รในสมัยที่ยงั เปน็ จีวรกาล (ว.ิ แปล ๒ /๕๐๐ / ๒๑)สงฆเ์ ดาะกฐินในระหว่าง คือสงฆก์ รานกฐนิ แล้ว ยงั ไม่พน้ เขตจีวรกาล มที ายกต้องการจะถวายอกาลจีวร มาขอให้สงฆ์เดาะกฐนิ คอื ยกเลกิ อานิสงส์กฐินในระหว่างจีวรกาล (กอ่ นหมดเขตอานสิ งสก์ ฐิน) พระพทุ ธองค์ทรงอนุญาตให้เดาะกฐินได้ (วิ.ภิกขุน.ี ๓/๙๒๕-๙๒๖/๑๒๑-๑๒๒)

๘๘ ต่อมา อบุ าสกน้ันเข้าไปหาภิกษณุ ีสงฆ์ ขอเดาะกฐิน ภิกษุณีถลุ ลนนั ทากลา่ ววา่ “พวกดฉิ ันจกัมีจีวร” คัดคา้ นการเดาะกฐิน คร้งั นนั้ อุบาสกนนั้ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า “ไฉนภกิ ษณุ ีท้งั หลายจงึ ไม่ให้การเดาะกฐนิ แกเ่ ราเล่า” บรรดาภิกษุณีผู้ มกั นอ้ ย ฯลฯ พากนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาได้นาเรื่องนไี้ ปบอก ภิกษุทัง้ หลายให้ทราบ พวกภิกษุไดน้ าเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผูม้ ีพระภาคให้ทรงทราบ ลาดับนั้น พระผูม้ พี ระภาครับส่งั ใหป้ ระชมุ สงฆเ์ พราะเรือ่ งนเี้ ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้งั หลาย แล้วจึงรบั สัง่ ให้ภกิ ษณุ ีท้ังหลายยกสกิ ขาบทนี้ขึน้ แสดงดงั นี้พระบัญญตั ิ ก็ภกิ ษณุ ีใดคดั ค้านการเดาะกฐินทช่ี อบธรรม ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตีย์สิกขาบทวิภงั ค์ การเดาะกฐินที่ชอื่ ว่า ชอบธรรม คือ ภกิ ษณุ ีสงฆ์ผ้พู ร้อมเพรยี งกันประชมุ กนั เดาะ คาว่า คดั คา้ น คือ คดั ค้านวา่ “จะเดาะกฐินไดอ้ ยา่ งไร” ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตยี ์บทภาชนยี ์ การเดาะทช่ี อบธรรม ภกิ ษณุ ีสาคัญว่าชอบธรรม คัดคา้ น ต้องอาบัติ ปาจิตตยี ์ การเดาะทีช่ อบธรรม ภกิ ษณุ ีไมแ่ น่ใจ คัดค้าน ต้องอาบัติทกุ กฏ การเดาะท่ชี อบธรรม ภิกษุณีสาคัญวา่ ไมช่ อบธรรม คัดค้าน ไม่ตอ้ งอาบตั ิ การเดาะทไ่ี ม่ชอบธรรม ภิกษุณีสาคัญวา่ ชอบธรรม คัดคา้ น ตอ้ งอาบัติทุกกฏ การเดาะท่ีไม่ชอบธรรม ภิกษุณไี มแ่ น่ใจ คัดค้าน ต้องอาบตั ิทกุ กฏ การเดาะที่ไมช่ อบธรรม ภิกษุณสี าคัญวา่ ไมช่ อบธรรม คดั ค้าน ไม่ตอ้ งอาบตั ิอนาปตั ตวิ าร ภิกษุณีตอ่ ไปน้ีไม่ต้องอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษุณีแสดงอานิสงสแ์ ล้วหา้ ม ๒. ภิกษณุ วี ิกลจรติ ๓. ภกิ ษณุ ตี ้นบญั ญัติ๔.๔ ตุวฏั ฏวรรค หมวดว่าด้วยการนอนรว่ มกัน สกิ ขาบทที่ ๑ วา่ ด้วยการนอนบนเตียงเดียวกนั เร่อื งภิกษุณีนอนรว่ มกัน ๒ รูป ครง้ั นน้ั ภิกษุณี ๒ รูปนอนบนเตียงเดยี วกัน คนทั้งหลายเที่ยวจาริกไปตามวหิ ารเหน็ แล้วจงึตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ เหมอื นหญิงคฤหัสถผ์ ูบ้ รโิ ภคกาม ลาดบั น้ัน พระผู้มีพระภาครบั สัง่ ให้

๘๙ประชุมสงฆเ์ พราะเรือ่ งน้เี ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษทุ งั้ หลาย แล้วจงึ รับสั่งให้ภิกษณุ ีท้งั หลายยกสกิ ขาบทนี้ขนึ้ แสดงดงั นี้พระบญั ญตั ิ ก็ภิกษณุ เี หลา่ ใด ๒ รูปนอนบนเตียงเดยี วกัน ตอ้ งอาบตั ปิ าจติ ตยี ์อนาปัตตวิ าร ภกิ ษณุ ีต่อไปน้ีไมต่ ้องอาบตั ิ คือ ๑. ภกิ ษุณีรปู หนง่ึ นอน อีกรปู หนง่ึ น่งั หรือนง่ั ท้งั ๒ รปู ๒. ภิกษุณวี ิกลจรติ ๓. ภกิ ษุณีตน้ บญั ญัติ สกิ ขาบทท่ี ๒ ว่าด้วยการใช้ผ้าผนื เดียวเปน็ ทั้งผ้าปูนอนและผ้าหม่ เรอื่ งภกิ ษุณนี อนรว่ มกัน ๒ รูป คร้งั นัน้ ภิกษุณี ๒ รูปใชผ้ ้าผืนเดียวเปน็ ทงั้ ผ้าปนู อนและผา้ ห่ม นอนรว่ มกนั คนทั้งหลายเทยี่ วจารกิ ไปตามวหิ ารเห็นแลว้ จงึ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ เหมอื นหญงิ คฤหัสถผ์ ้บู รโิ ภคกาม ลาดับนัน้ พระผมู้ ีพระภาครับส่ังให้ประชมุ สงฆเ์ พราะเร่อื งนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลาย แล้วจงึ รับส่ังใหภ้ กิ ษุณที ง้ั หลายยกสิกขาบทนขี้ นึ้ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ กภ็ กิ ษณุ เี หล่าใด ๒ รปู ใช้ผา้ ผนื เดียวเป็นทงั้ ผา้ ปนู อนและผา้ หม่ นอนร่วมกัน ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตีย์สกิ ขาบทวภิ ังค์ คาว่า ๒ รูปใช้ผา้ ผนื เดียวเปน็ ทง้ั ผ้าปนู อนและผา้ ห่มนอนรว่ มกนั คอื ทั้ง ๒ รูปปูผา้ ผืนนนั้ แลว้ห่มผา้ ผนื น้นั แหละ ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตยี ์บทภาชนยี ์ ติกปาจติ ตีย์ ผา้ ผืนเดียวเป็นทัง้ ผ้าปนู อนและผ้าหม่ ภกิ ษณุ สี าคัญวา่ ผ้าผนื เดียวเป็นทัง้ ผา้ ปูนอนและผา้ ห่มนอน ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตีย์ ผ้าผนื เดยี วเป็นท้งั ผา้ ปูนอนและผา้ ห่ม ภิกษณุ ไี มแ่ นใ่ จ นอน ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ผา้ ผนื เดียวเปน็ ทงั้ ผา้ ปนู อนและผ้าห่ม ภิกษณุ สี าคญั ว่าผา้ ผนื เดียวเป็นทง้ั ผ้า ปูนอนและผา้ หม่นอน ตอ้ งอาบตั ปิ าจติ ตยี ์ ทุกกฏ ผ้าปูนอนผนื หนึง่ ผ้าหม่ นอนตา่ งผนื ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ผา้ ปูนอนตา่ งผืน ผา้ ห่มนอนผืนเดียวกัน ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ

๙๐ ผา้ ปนู อนและผ้าหม่ นอนตา่ งผนื กนั ภกิ ษุณสี าคัญวา่ ผา้ ผืนเดยี วเปน็ ท้ังผา้ ปูนอนและผ้าหม่ต้องอาบัติทุกกฏ ผ้าปนู อนและผา้ ห่มนอนตา่ งผืนกนั ภกิ ษุณไี ม่แน่ใจ ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ ผา้ ปนู อนและผ้าห่มนอนต่างผนื กัน ภิกษณุ ีสาคัญว่าผ้าผนื เดียวเปน็ ท้ังผ้าปูนอนและผ้าห่ม ไม่ต้องอาบัติอนาปัตติวาร ภิกษณุ ตี อ่ ไปน้ไี มต่ อ้ งอาบัติ คือ ๑. ภิกษณุ ีแสดงเครื่องกาหนดแลว้ นอน ๒. ภิกษณุ วี ิกลจรติ ๓. ภิกษุณีต้นบัญญัติ สิกขาบทที่ ๓ ว่าดว้ ยการจงใจก่อความราคาญ เร่อื งภกิ ษณุ ีถลุ ลนันทา ครัง้ น้นั ภิกษณุ ถี ลุ ลนันทาเป็นพหูสตู เป็นนกั พดู แกล้วกล้า สามารถกล่าวธรรมีกถาได้ แม้พระภัททกาปิลานกี เ็ ปน็ พหสู ตู เปน็ นกั พดู แกลว้ กล้า สามารถกล่าวธรรมีกถาได้ ท้งั เธอก็ได้รับสรรเสรญิ ว่ามคี ณุ สมบตั ยิ ิง่ กวา่ คนทั้งหลายทราบเชน่ นน้ั จึงเข้าไปหาพระภัททกาปิลานีก่อนแล้วไปหาภิกษณุ ถี ุลลนนั ทาภายหลงั ภกิ ษุณถี ลุ ลนนั ทาถูกความรษิ ยาครอบงา จึงจงกรมบา้ ง ยืนบ้าง น่ังบา้ ง นอนบ้าง ยกขึ้นแสดงเองบ้าง ใชผ้ ูอ้ ่นื ใหย้ กข้นึ แสดงบา้ ง ทอ่ งบ่นบา้ งตอ่ หนา้ พระภัททกาปิลานีเพ่ือกอ่ ความราคาญ พวกภิกษุไดน้ าเรือ่ งนี้ไปกราบทลู พระผู้มพี ระภาคใหท้ รงทราบ พระผ้มู ีพระภาครับส่ังให้ประชมุ สงฆ์เพราะเรอ่ื งนีเ้ ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษทุ ้ังหลาย แลว้ จึงรบั ส่ังให้ภกิ ษณุ ที ั้งหลายยกสกิ ขาบทนี้ขน้ึ แสดงดังนี้พระบญั ญัติ ก็ภิกษุณีใดจงใจก่อความไม่ผาสุกแก่ภิกษณุ ี ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตีย์สกิ ขาบทวภิ ังค์ คาว่า จงใจ คือ รอู้ ยู่ รู้ดอี ยู่ จงใจ ฝ่าฝนื ล่วงละเมดิบทภาชนยี ์ ทกุ กฏ ภิกษุณีจงใจก่อความไม่ผาสุกแก่อนปุ สัมบัน ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ อนปุ สมั บนั ภิกษุณสี าคญั ว่าเปน็ อุปสัมบัน ตอ้ งอาบัติทุกกฏ อนุปสัมบนั ภิกษุณีไม่แน่ใจ ต้องอาบัตทิ ุกกฏ อนุปสัมบนั ภกิ ษุณสี าคัญว่าเปน็ อนปุ สัมบัน ต้องอาบัติทุกกฏ

๙๑อนาปตั ติวาร ภกิ ษุณีตอ่ ไปนีไ้ มต่ ้องอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษณุ ีไมป่ ระสงคก์ ่อความไม่ผาสกุ ขอโอกาส จงกรม ยืน นัง่ นอน ยกขึ้น แสดงเอง ใช้ผ้อู ่นื ใหย้ กข้นึ แสดง หรอื ทอ่ งบน่ ข้างหนา้ ๒. ภิกษณุ ีวกิ ลจริต ๓. ภิกษณุ ีตน้ บญั ญัติ สิกขาบทที่ ๔ วา่ ดว้ ยการไม่ใส่ใจดแู ลเพอ่ื นภิกษุณี เรอ่ื งภิกษุณถี ลุ ลนนั ทา ครัง้ นน้ั ภกิ ษุณีถลุ ลนนั ทาไมด่ ูแลช่วยเหลือ สหชวี นิ ี ผูไ้ ดร้ ับความลาบาก ทัง้ ไมใ่ สใ่ จมอบหมายใหผ้ ้อู ่นื ดแู ลช่วยเหลือ พระผูม้ ีพระภาครับสั่งใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเร่อื งน้ีเป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษทุ ้งั หลาย แล้วจงึ รบั สง่ั ให้ภิกษณุ ีทง้ั หลายยกสกิ ขาบทนขี้ น้ึ แสดงดงั น้ี พระบญั ญตั ิ ก็ภกิ ษุณีใดไมด่ ูแลช่วยเหลือ หรอื ไม่ใสใ่ จมอบหมายให้ผูอ้ ืน่ ดแู ลช่วยเหลอื สหชวี ินีผไู้ ด้รับความลาบาก ตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตยี ์สกิ ขาบทวิภังค์ ภกิ ษณุ ีทอดธรุ ะวา่ “จะไมด่ แู ลช่วยเหลอื จะไมใ่ สใ่ จมอบหมายใหผ้ ูอ้ ื่นดแู ลช่วยเหลอื ” ต้องอาบตั ปิ าจติ ตีย์ ภกิ ษณุ ีไมด่ ูแลช่วยเหลือ ไม่ใส่ใจมอบหมายใหผ้ ู้อืน่ ดแู ลช่วยเหลอื อนั เตวาสนิ ี หรอื อนุปสัมบนัตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏอนาปตั ติวาร ภกิ ษณุ ีตอ่ ไปนไ้ี ม่ตอ้ งอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษุณีผทู้ อดธรุ ะเมอื่ มีอันตราย ๒. ภิกษุณหี าผู้ช่วยไม่ได้ ๓. ภิกษณุ ีผู้เป็นไข้ ๔. ภิกษุณผี ูม้ เี หตุขัดขอ้ ง ๕. ภกิ ษณุ ีวิกลจรติ ๖. ภกิ ษณุ ีตน้ บญั ญตั ิ

๙๒ สกิ ขาบทที่ ๕ วา่ ดว้ ยการฉุดลากออก เร่ืองภิกษุณีถลุ ลนันทา ครง้ั น้ัน พระภัททกาปิลานีจาพรรษาที่เมืองสาเกต เธอสง่ ทตู ไปสานกั ของภกิ ษุณีถุลลนนั ทาดว้ ยธรุ ะบางอย่าง ใหแ้ จง้ จะขอมาพกั กรงุ สาวัตถี ภิกษณุ ีถลุ ลนันทารบั ปากแล้ว พระภัททกาปลิ านีเดินทางจากเมอื งสาเกตไปถงึ กรุงสาวตั ถี พกัในทภ่ี ิกษณุ ีถลุ ลนันทาได้จดั ให้ สมยั น้นั ภิกษณุ ถี ลุ ลนันทาเปน็ พหสู ูต เป็นนักพดู แกลว้ กล้า สามารถกล่าวธรรมีกถา เหมือนพระภทั ทกาปลิ านี คนทั้งหลายเห็นดังนัน้ จงึ เขา้ ไปหาพระเถรีก่อนแลว้ ไปหาภิกษณุ ีถลุ ลนนั ทาภายหลัง ภกิ ษุณถี ุลลนันทารเู้ ขา้ จงึ โกรธ ขดั ใจ ฉดุ ลากพระภทั ทกาปลิ านอี อกจากหอ้ ง ลาดบั นั้น พระผูม้ พี ระภาครับส่ังให้ประชมุ สงฆ์เพราะเรื่องนีเ้ ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แล้วจึงรบั สัง่ ใหภ้ ิกษุณีท้ังหลายยก สิกขาบทน้ีขน้ึ แสดงดังน้ีพระบัญญตั ิ ก็ภิกษณุ ใี ดให้ทพ่ี ักแก่ภกิ ษณุ แี ลว้ โกรธ ไมพ่ อใจ ฉุดลากออกไป หรอื ใชใ้ หฉ้ ดุ ลากออกไปต้องอาบัตปิ าจติ ตยี ์สิกขาบทวภิ ังค์ ที่ชอื่ ว่า ทพ่ี ัก พระผู้มพี ระภาคตรัสหมายถงึ ท่ีพักที่มปี ระตู คาวา่ โกรธ ไมพ่ อใจ คือ ไมช่ อบใจ แค้นใจ เจ็บใจบทภาชนีย์ ทกุ กฏ ขน หรอื ใชผ้ ู้อ่นื ใหข้ นบริขารของเธอ ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ ฉดุ ลาก หรือใช้ผอู้ น่ื ให้ฉดุ ลากจากสถานทไ่ี มม่ ีประตู ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ ฉุดลาก หรือใช้ผู้อ่นื ใหฉ้ ดุ ลากอนุปสมั บัน จากท่ีมปี ระตหู รือไมม่ ปี ระตู ต้องอาบัติทกุ กฏ ขน หรอื ใช้ผอู้ ื่นใหข้ นบรขิ ารของเธอ ต้องอาบัติทกุ กฏ อนุปสมั บนั ภิกษุณีสาคัญว่าเป็นอปุ สัมบนั ต้องอาบตั ิทุกกฏ อนปุ สมั บัน ภิกษุณไี มแ่ นใ่ จ ต้องอาบัตทิ ุกกฏ อนปุ สัมบนั ภกิ ษณุ สี าคญั ว่าเป็นอนุปสมั บนั ต้องอาบตั ทิ ุกกฏอนาปัตตวิ าร ภิกษุณตี อ่ ไปนี้ไม่ต้องอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษณุ ีฉดุ ลากหรอื ใชผ้ ูอ้ น่ื ให้ฉดุ ลากภิกษณุ ีไมม่ ีความละอาย ๒. ภิกษุณีขนหรือใช้ผู้อ่ืนให้ขนบริขารของภิกษุณไี มม่ คี วามละอายน้ัน

๙๓ ๓. ภิกษณุ ีฉุดลากหรอื ใช้ผู้อ่ืนให้ฉดุ ลากภกิ ษุณีวิกลจรติ ๔. ภิกษุณขี น หรือใช้ผู้อน่ื ขนบริขารของภกิ ษณุ ีวิกลจริตน้ัน ๕. ภิกษณุ ีฉุดลากหรือใชผ้ ู้อื่นใหฉ้ ดุ ลากภกิ ษุณผี ู้กอ่ ความบาดหมาง ... กอ่ การ ทะเลาะ ... ก่อการวิวาท... ก่อความอ้ือฉาว ... ก่ออธกิ รณใ์ นสงฆ์ ๖. ภิกษุณขี นหรอื ใชผ้ ู้อ่นื ใหข้ นบริขารของภกิ ษุณีผู้กอ่ ความบาดหมาง ... กอ่ การทะเลาะ ... กอ่ การววิ าท ... ก่อความอื้อฉาว ... ก่ออธกิ รณ์ในสงฆน์ ั้น ๗. ภิกษณุ ฉี ุดลากหรอื ใชผ้ ู้อื่นให้ฉุดลากอนั เตวาสนิ ีหรือสัทธิวหิ ารินีผู้ ประพฤติไม่ชอบ ๘. ภกิ ษุณีขนหรือใชผ้ ู้อื่นให้ขนบริขารของภิกษุณีอันเตวาสินีหรือ สัทธวิ ิหารนิ ีผปู้ ระพฤตไิ ม่ชอบนัน้ ๙. ภกิ ษุณีวกิ ลจรติ ๑๐. ภิกษุณีต้นบญั ญตั ิ สกิ ขาบทท่ี ๖ ว่าด้วยการอยู่คลุกคลีกบั คฤหสั ถ์๔๔ เรอ่ื งภกิ ษณุ ีจณั ฑกาลี คร้ังนนั้ ภกิ ษณุ ีจณั ฑกาลอี ยู่คลกุ คลีกบั คหบดบี ้าง บตุ รคหบดีบ้าง บรรดาภกิ ษณุ ีผ้มู กั นอ้ ยฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ไฉนแม่เจ้าจณั ฑกาลีจงึ อยูค่ ลุกคลีกบั คหบดีบ้าง บุตรคหบดีบา้ งเลา่ ครน้ั แล้ว ภกิ ษณุ ีเหลา่ น้ันไดน้ าเรื่องนไ้ี ปบอกภกิ ษุทั้งหลายให้ทราบ พวกภกิ ษไุ ดน้ า เรื่องนี้ไปกราบทูลพระผมู้ พี ระภาคใหท้ รงทราบ ลาดบั นัน้ พระผูม้ พี ระภาครับสง่ั ให้ประชุมสงฆ์เพราะเร่ืองนี้เปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้งั หลาย แลว้ จึงรบั ส่งั ให้ภกิ ษุณที ง้ั หลายยกสกิ ขาบทน้ีขน้ึ แสดงดงั นี้พระบญั ญตั ิ ก็ภกิ ษุณใี ดอยูค่ ลกุ คลกี ับคหบดีหรือกับบตุ รคหบดี ภกิ ษุณีนั้นอนั ภกิ ษณุ ีทัง้ หลายพงึ ว่ากลา่ วตักเตือนอย่างนวี้ า่ •นอ้ งหญิง ท่านอย่าอยู่คลุกคลกี บั คหบดีหรอื กับบตุ รคหบดี นอ้ งหญงิ จงแยกกันอยเู่ ถดิ สงฆย์ ่อมสรรเสริญการ แยกกนั อยู่ของน้องหญิงž กภ็ กิ ษณุ นี ้นั อนั ภิกษณุ ที ้ังหลายวา่กลา่ วตักเตอื นอยา่ งนี้ยังยนื ยนั อย่อู ย่างนน้ั ภิกษณุ ีน้นั อันภกิ ษณุ ที ้ังหลายพึงสวดสมนุภาสน์จนครบ๓ ครัง้ เพ่ือใหส้ ละเร่ืองน้นั ถ้าเธอกาลงั ถกู สวดสมนภุ าสนก์ ว่าจะครบ ๓ ครัง้ สละเรอื่ งน้นั ได้ นัน่เปน็ การดี ถา้ ไมส่ ละ ต้องอาบัตปิ าจิตตีย์ ๔๔ อยู่คลกุ คลีกนั ” หมายถงึ อยู่คลกุ คลีกนั กับพวกคฤหสั ถ์ทัง้ ทางกาย เช่นการตาข้าว หงุ ขา้ ว บดของหอมร้อยดอกไม้เป็นต้นและทางวาจา เช่นการช่วยสง่ ข่าวสาร การชกั สือ่ เป็นต้น (ว.ิ อ. ๒/๗๒๓/๔๘๐)

๙๔สกิ ขาบทวิภังค์ ท่ีชอ่ื วา่ คลกุ คลี คอื คลกุ คลีกนั ทางกายและวาจาท่ไี มส่ มควร ท่ชี ือ่ ว่า คหบดี ได้แก่ บุรษุ ผคู้ รองเรอื นคนใดคนหนง่ึ ทช่ี ื่อวา่ บตุ รคหบดี ไดแ้ ก่ บุตรและพีช่ ายน้องชายคนใดคนหน่ึง คาวา่ ภิกษณุ ีนนั้ ได้แก่ ภกิ ษุณผี ู้อย่คู ลุกคลคี นใดคนหน่ึง คาวา่ อันภิกษุณที ัง้ หลาย ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ีพวกอืน่ ภกิ ษณุ ีผู้ไดเ้ หน็ ไดท้ ราบพงึ ว่ากล่าวตกั เตอื นภกิ ษณุ ีผู้คลกุ คลี พงึ วา่ กลา่ วตกั เตือนเธอแม้ครงั้ ท่ี๒ พึงวา่ กลา่ วตกั เตือนเธอแมค้ ร้ังที่ ๓ ถ้าเธอสละได้ นน่ั เป็นการดี ถา้ ไมส่ ละ ต้องอาบัตทิ กุ กฏ ภกิ ษุณีผู้ทราบเร่อื งแล้วไมว่ า่ กลา่ วตกั เตือน ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ภิกษณุ นี ั้นอนั ภิกษุณที ้งั หลายพึงนาตวั มาสู่ท่ามกลางสงฆ์วา่ กล่าวตกั เตือน พงึ วา่ กลา่ วตักเตือนเธอแมค้ รั้งที่ ๒ พงึ วา่ กล่าวตักเตือนเธอแมค้ รง้ั ที่๓ ถ้าเธอสละได้ นัน่ เป็นการดี ถา้ ไมส่ ละ ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ สงฆ์พงึ สวดสมนุภาสน์ภิกษณุ นี ั้น วธิ สี วดสมนุภาสนแ์ ละกรรมวาจาสวดสมนภุ าสน์ ภกิ ษทุ ้ังหลาย สงฆพ์ งึ สวดสมนุภาสนอ์ ย่างน้ี คือ ภิกษุณีผ้ฉู ลาดสามารถพึงประกาศให้สงฆ์ทราบดว้ ยญตั ติจตตุ ถกรรมวาจา จบญตั ติ ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ จบกรรมวาจา ๒ ครั้ง ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ ๒ ตวั จบกรรมวาจาครั้งสดุ ท้าย ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตีย์บทภาชนีย์ติกทกุ กฏ กรรมท่ีทาไม่ถูกต้อง ภกิ ษุณสี าคญั ว่าเปน็ กรรมที่ทาถูกต้อง ต้องอาบัติทกุ กฏ กรรมทที่ าไม่ถกู ต้อง ภิกษณุ ไี ม่แนใ่ จ ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ กรรมที่ทาไม่ถูกต้อง ภิกษณุ สี าคญั ว่าเปน็ กรรมท่ีทาไมถ่ ูกต้อง ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏอนาปตั ติวาร ภิกษณุ ีตอ่ ไปน้ีไมต่ ้องอาบัติ คือ ๑. ภกิ ษุณียงั ไมถ่ ูกสงฆ์สวดสมนุภาสน์ ๒. ภิกษณุ ยี อมสละ ๓. ภกิ ษณุ วี ิกลจริต ๔. ภิกษุณีต้นบญั ญตั ิ สกิ ขาบทท่ี ๗ ว่าด้วยการเท่ียวจาริกไปในทท่ี น่ี า่ หวาดระแวงภายในรฐั

๙๕ เรอ่ื งภิกษณุ ีหลายรูป ครง้ั นน้ั ภกิ ษณุ ีท้ังหลายเทย่ี วจาริกไปไมม่ ีกองเกวยี นเป็นเพื่อนในท่ที รี่ ูก้ นั วา่ น่าหวาดระแวงมีภยั นา่ กลวั ภายในรัฐ พวกนกั เลง ขม่ ขนื (ภิกษุณีเหล่าน้ัน) บรรดาภกิ ษุณผี ูม้ กั นอ้ ย ฯลฯ พากนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาไดน้ าเรอื่ งน้ีไปบอกภิกษุทัง้ หลาย ให้ทราบ พวกภกิ ษไุ ดน้ าเรอ่ื งนีไ้ ปกราบทูลพระผมู้ ีพระภาคให้ทรงทราบ ลาดบั น้ัน พระผมู้ พี ระภาครับส่ังให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรอื่ งนเ้ี ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลาย ทรงตาหนิแล้วจงึ รบั สงั่ ใหภ้ ิกษุณีทงั้ หลายยกสิกขาบทน้ขี ึน้ แสดงดังน้ีพระบญั ญัติ มภี ยั น่า ก็ภิกษณุ ีใดเทยี่ วจาริกไปไมม่ ีกองเกวยี นเปน็ เพอื่ นในทที่ ่ีรกู้ นั ว่านา่ หวาดระแวงกลวั ภายในรฐั ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตีย์สกิ ขาบทวิภังค์ คาว่า ภายในรัฐ คือ ในรัฐท่ีตนอาศัยอยู่ ทชี่ ื่อว่า น่าหวาดระแวง คือ ในหนทางน้ัน ปรากฏท่ีอยู่ ปรากฏทกี่ ิน ปรากฏ ท่ยี ืน ปรากฏท่ีน่งั ปรากฏทนี่ อนของพวกโจร ทีช่ ื่อว่า มีภยั นา่ กลวั คอื ในหนทางนน้ั ปรากฏมมี นษุ ย์ถูกพวกโจรฆา่ ปรากฏมีมนษุ ย์ถกู ปลน้ปรากฏมีมนุษยถ์ กู ทุบตี คาว่า เท่ยี วจาริกไป คือ เทย่ี วจาริกไปในหม่บู า้ นมกี าหนดระยะชว่ั ไกบ่ ินตก ต้องอาบัติปาจิตตยี ์ทุก ๆ ละแวกหมบู่ ้าน เท่ยี วจาริกไปในป่าไมม่ ีหม่บู า้ น ต้องอาบัติปาจิตตยี ท์ กุ ๆ ก่ึงโยชน์อนาปตั ติวาร ภกิ ษุณีต่อไปนีไ้ มต่ อ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษณุ ไี ปกับกองเกวยี น ๒. ภิกษณุ ไี ปในสถานที่ปลอดภัย ๓. ภิกษณุ ผี ้มู ีเหตุขัดขอ้ ง ๔. ภกิ ษุณีวกิ ลจริต ๕. ภิกษุณีตน้ บญั ญตั ิ สกิ ขาบทท่ี ๘ วา่ ด้วยการเทีย่ วจาริกไปในทท่ี ี่น่าหวาดระแวงภายนอกรฐั เรอื่ งภกิ ษณุ ีหลายรูป

๙๖ คร้ังนนั้ พวกภิกษุณเี ท่ียวจารกิ ไปไมม่ ีกอง เกวียนเปน็ เพ่อื นในทีท่ ีร่ ู้กันว่านา่ หวาดระแวง มีภัยน่ากลวั ภายนอกรัฐ พวกนักเลงข่มขืน(ภิกษุณีเหลา่ นนั้ ) ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งใหป้ ระชมุ สงฆเ์ พราะเรอื่ งนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทง้ั หลาย แลว้ จึงรับสง่ั ให้ภกิ ษณุ ีทั้งหลายยกสกิ ขาบทน้ีข้ึนแสดงดังนี้พระบัญญตั ิ ก็ภกิ ษณุ ใี ดเทีย่ วจาริกไปไมม่ กี องเกวียนเปน็ เพ่อื นในทท่ี ี่ร้กู นั ว่าน่าหวาดระแวง มภี ัยนา่กลัวภายนอกรฐั ต้องอาบัติปาจิตตยี ์สิกขาบทวภิ งั ค์อนาปตั ตวิ าร ภกิ ษณุ ีต่อไปนี้ไมต่ ้องอาบัติ คือ ๑. ภกิ ษุณีไปกบั กองเกวียน ๒. ภกิ ษณุ ไี ปในสถานท่ปี ลอดภัย ไม่มภี ัยนา่ กลวั ๓. ภิกษณุ ีผู้มีเหตขุ ดั ขอ้ ง ๔. ภิกษุณวี ิกลจริต ๕. ภกิ ษุณตี น้ บัญญตั ิ สกิ ขาบทท่ี ๙ วา่ ด้วยการเท่ียวจาริกไปภายในพรรษา เรือ่ งภิกษณุ หี ลายรูป ครงั้ น้นั พวกภกิ ษุณีพากันเทีย่ วจาริกไปภายในพรรษา คนท้งั หลายตาหนิ ประณามโพนทะนาวา่ ไฉนพวกภิกษุณีจงึ เที่ยวไปภายในพรรษาเหยยี บย่าของเขียวและหญา้ เบียดเบยี นชวี ิตซึง่มีอนิ ทรยี เ์ ดยี ว ทาลาย สัตว์เลก็ น้อยเป็นจานวนมากเลา่ ลาดับนัน้ พระผ้มู พี ระภาครับสง่ั ให้ประชุมสงฆ์เพราะเรื่องนเี้ ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้งั หลาย แล้วจงึ รบั สัง่ ให้ ภกิ ษุณีท้งั หลายยกสกิ ขาบทนี้ขึน้ แสดงดังนี้พระบัญญตั ิ กภ็ ิกษณุ ใี ดเท่ยี วจาริกไปภายในพรรษา ตอ้ งอาบตั ปิ าจติ ตยี ์สกิ ขาบทวิภงั ค์ คาว่า เท่ยี วจารกิ ไป คอื เทย่ี วจารกิ ไปในหมู่บ้านมกี าหนดระยะช่วั ไก่บนิ ตก ตอ้ งอาบัติปาจิตตียท์ กุ ๆ ละแวกหมู่บา้ น เทยี่ วจารกิ ไปในปา่ ไมม่ หี มบู่ า้ น ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตยี ์ทุก ๆ ครง่ึ โยชน์อนาปัตติวาร

๙๗ ภิกษณุ ตี อ่ ไปนีไ้ ม่ตอ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภกิ ษุณีไปดว้ ยสัตตาหกรณยี ะ๑ ๒. ภิกษุณีถูกรบกวนจึงไป ๓. ภกิ ษุณีผู้มเี หตุขัดขอ้ ง ๔. ภกิ ษุณวี กิ ลจรติ ๕. ภกิ ษุณตี ้นบัญญัติ สกิ ขาบทที่ ๑๐ วา่ ด้วยการไมห่ ลีกจารกิ ไป เรอ่ื งภกิ ษณุ หี ลายรูป พวกภกิ ษุณีอยจู่ าพรรษาในเมือง ราชคฤหน์ ัน่ แหละตลอดฤดฝู น อยใู่ นเมืองราชคฤห์นัน้ ตลอดฤดูหนาว อยใู่ นเมอื งราชคฤห์นนั้ ตลอดฤดูร้อน คนทงั้ หลายตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ทศิ ทัง้ หลายคงคับแคบมดื มนสาหรับภกิ ษณุ ี ภกิ ษุณเี หลา่ น้จี งึ มองไม่เหน็ ทิศทาง ลาดับนั้น พระผูม้ ีพระภาคทรงแสดงธรรมกี ถาเพราะเรื่องนเี้ ป็นต้นเหตุ รับสั่งกับภิกษุทั้งหลายวา่ ภกิ ษุทั้งหลาย ก็ภกิ ษณุ ที ัง้ หลายพึงยกสิกขาบทน้ขี ้นึ แสดงดงั นี้พระบัญญตั ิ กภ็ กิ ษุณใี ดจาพรรษาแลว้ ไมห่ ลีกจาริกไป โดยท่สี ดุ แมส้ ิ้นระยะทาง ๕-๖ โยชน์ ตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตยี ์สิกขาบทวิภังค์ พอทอดธุระว่า เราจะไมห่ ลกี จาริกไปโดยที่สดุ แมส้ ิ้นระยะทาง ๕-๖ โยชน์ ตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตยี ์อนาปตั ติวาร ภิกษณุ ตี อ่ ไปน้ไี ม่ตอ้ งอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษณุ ีไมจ่ ารกิ ไปเม่อื มีอนั ตราย ๒. ภิกษณุ แี สวงหาภกิ ษณุ ีผู้เป็นเพอื่ นไมไ่ ด้ ๓. ภกิ ษุณเี ป็นไข้ ๔. ภิกษณุ ผี มู้ เี หตุขัดข้อง ๕. ภกิ ษณุ ีวกิ ลจรติ ๖. ภิกษณุ ีตน้ บญั ญัติ๔.๕ จติ ตาคารวรรค หมวดวา่ ดว้ ยหอจิตรกรรม สิกขาบทที่ ๑ ว่าด้วยการไปดูโรงละครหลวง เร่ืองภกิ ษณุ ีฉพั พคั คีย์

๙๘ คร้งั นัน้ คนทง้ั หลายพากนั ไปดหู อจิตรกรรม แมพ้ วกภิกษุณีฉพั พคั คยี ก์ ไ็ ปดูหอจติ รกรรม คนทงั้ หลายตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ เหมอื นหญิงคฤหัสถ์ ผ้บู รโิ ภคกาม ลาดบั น้นั พระผมู้ พี ระภาครบั สัง่ ใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเร่อื งน้เี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลาย แล้วจงึ รับสัง่ ให้ภิกษุณีทัง้ หลายยกสกิ ขาบทนี้ข้ึนแสดงดงั น้ีพระบญั ญตั ิ ก็ภิกษณุ ีใดไปดโู รงละครหลวง หอจติ รกรรม สวนสาธารณะ อุทยาน หรอื สระโบกขรณีตอ้ งอาบัตปิ าจิตตยี ์สกิ ขาบทวิภังค์ ที่ชอ่ื วา่ โรงละครหลวง ไดแ้ ก่ สถานที่ท่ีเขาสรา้ งขน้ึ ไว้ ณ ที่ใดท่หี นงึ่ เพ่ือถวายพระราชาทรงกีฬา เพ่ือให้ทรงสาราญพระทยั ที่ช่ือว่า หอจิตรกรรม ได้แก่ หอที่สรา้ งขึ้น ณท่ีใดทห่ี น่งึ เพอ่ื ใหค้ นทงั้ หลาย ชมเล่น รน่ื เริง ท่ีชอื่ ว่า สวนสาธารณะ ได้แก่ สวนทส่ี ร้างขน้ึ ให้คนท้ังหลายชมเลน่ รืน่ เรงิ ท่ชี ือ่ ว่า อทุ ยาน ไดแ้ ก่ อุทยานท่สี รา้ งข้นึ ณ ท่ีใดที่หน่ึงเพ่อื ให้คนทั้งหลาย ชมเล่น ร่ืนเรงิ สระโบกขรณี ไดแ้ ก่ สระน้าทขี่ ุดไว้ ณ ทีใ่ ดทห่ี น่ึงเพ่ือให้คนท้ังหลายชมเลน่ รื่นเริง ภกิ ษุณเี ดินไปเพ่ือจะดู ต้องอาบตั ิทุกกฏ ยนื ดู ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตีย์๑ พน้ สายตาไปแลว้ เหลียวกลบั มาดูอกี ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตีย์ เดินเพอ่ื จะไปดแู ต่ละแหง่ ต้องอาบัตทิ ุกกฏ ยนื ดู ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตยี ์พน้ สายตาไปแล้วเหลียวกลบั มาดูอกี ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตีย์อนาปัตตวิ าร ภิกษณุ ตี ่อไปนไี้ ม่ตอ้ งอาบัติ คือ ๑. ภิกษุณียืนอย่ทู ่ีสวนสาธารณะมองเห็น ๒. ภิกษณุ ีเดินไปเดินมามองเห็น ๓. ภกิ ษุณีมีธรุ ะเดินไปเหน็ ๔. ภิกษุณีผมู้ ีเหตุขัดข้อง ๕. ภิกษุณีวกิ ลจริต ๖. ภกิ ษณุ ีตน้ บญั ญตั ิ สิกขาบทที่ ๒ ว่าดว้ ยการใช้ตั่งหรอื แทน่ เรอ่ื งภกิ ษณุ ีหลายรปู

๙๙ ครั้งน้นั ภกิ ษุณที ัง้ หลายใช้ต่ังยาวบา้ ง แทน่ บ้าง คนทัง้ หลายเท่ียวจาริกไปตามวิหารเห็นแล้วจึงตาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า ใชต้ ง่ั ยาวบา้ ง แทน่ บา้ ง เหมอื นหญิงคฤหัสถผ์ บู้ รโิ ภคกาม ลาดับนั้น พระผ้มู ีพระภาครบั สั่งให้ประชุมสงฆ์เพราะเรอ่ื งนี้เป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้งั หลาย แลว้ จึงรับส่งั ให้ภิกษณุ ีทง้ั หลาย ยกสิกขาบทนขี้ ึน้ แสดงดังนี้พระบัญญตั ิ ก็ภิกษุณใี ดใชต้ ัง่ ยาวหรอื แทน่ ต้องอาบัติปาจติ ตีย์สิกขาบทวภิ ังค์ ทีช่ ื่อว่า ต่งั ยาว พระผ้มู ีพระภาคตรสั หมายถงึ ตั่งท่ีเกินขนาด ท่ีช่อื ว่า แท่น ไดแ้ ก่ แทน่ ท่ีถักดว้ ยขนสตั ว์ทตี่ นหามาอนาปตั ตวิ าร ภิกษณุ ีตอ่ ไปนีไ้ มต่ อ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษณุ ีตดั เทา้ ตั่งยาวแลว้ จงึ ใช้ ๒. ภิกษณุ ีรอื้ ขนสตั วข์ องแท่นแล้วจึงใช้ ๓. ภกิ ษุณีวกิ ลจริต ๔. ภิกษณุ ีตน้ บญั ญัติ สกิ ขาบทท่ี ๓ วา่ ดว้ ยการกรอดา้ ย เรอื่ งภกิ ษุณฉี พั พัคคีย์ ครัง้ น้นั พวกภกิ ษณุ ีฉพั พคั คีย์กรอดา้ ยอยู่ คนทง้ั หลายเทยี่ วจารกิ ไปตามวิหารเหน็ แล้วจงึตาหนิ ประณาม โพนทะนาว่าพวกภิกษณุ ีฉัพพัคคยี ์จึงกรอดา้ ยเหมือนหญงิ คฤหัสถผ์ ู้บริโภคกาม ลาดบั น้นั พระผมู้ ีพระภาครับสง่ั ให้ประชมุ สงฆเ์ พราะเรอ่ื งนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทงั้ หลาย แล้วจงึ รับส่งั ให้ภิกษณุ ที ง้ั หลายยก สิกขาบทนขี้ ้นึ แสดงดงั น้ีพระบัญญัติ ก็ภิกษุณีใดกรอด้าย ต้องอาบตั ิปาจิตตีย์สกิ ขาบทวภิ ังค์ ที่ช่อื ว่า ดา้ ย ไดแ้ ก่ดา้ ย ๖ ชนดิ คอื ดา้ ยเปลือกไม้ ดา้ ยฝ้าย ด้ายไหม ดา้ ยขนสตั ว์ ดา้ ยปา่ นด้ายทใี่ ชว้ ตั ถุเจอื กนั คาว่า กรอ คือ กรอเอง ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏในขณะท่กี รอ ตอ้ งอาบตั ปิ าจิตตยี ์ ทกุ ๆ ขณะท่ีมว้ นเข้ามา

๑๐๐อนาปตั ติวาร ภกิ ษณุ ีตอ่ ไปนไี้ มต่ อ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภกิ ษณุ กี รอดา้ ยท่ผี ู้อ่ืนกรอไว้ ๒. ภกิ ษณุ ีวิกลจริต ๓. ภิกษณุ ตี น้ บญั ญตั ิ สกิ ขาบทที่ ๔ วา่ ดว้ ยการชว่ ยทาการขวนขวายเพื่อคฤหสั ถ์ เรื่องภกิ ษุณหี ลายรูป คร้ังนั้น พวกภกิ ษุณีช่วยทาการขวนขวายเพือ่ คฤหัสถ์ บรรดาภิกษณุ ผี ูม้ กั น้อย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาไดน้ าเร่ืองนีไ้ ปบอกภิกษทุ ัง้ หลายใหท้ ราบ พวกภกิ ษุไดน้ าเรอื่ งน้ไี ปกราบทลูพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ ลาดับน้นั พระผูม้ พี ระภาครับส่ังให้ประชุมสงฆ์เพราะเร่อื งนี้เปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทัง้ หลาย แลว้ จงึ รับสง่ั ให้ภิกษทุ งั้ หลายยกสิกขาบทนีข้ น้ึ แสดงดังน้ีพระบญั ญัติ ก็ภิกษณุ ีใดช่วยทาการขวนขวายเพอื่ คฤหัสถ์ ตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตีย์สิกขาบทวภิ งั ค์ ที่ชอื่ ว่า ช่วยทาการขวนขวายเพื่อคฤหสั ถ์ คอื ต้มข้าวตม้ หุงภัตตาหาร หรอื ทาของเคี้ยว ซกัผา้ นุ่งหรือผ้าโพกเพอ่ื คฤหัสถ์ ต้องอาบัติปาจิตตยี ์อนาปตั ติวาร ภกิ ษุณตี อ่ ไปนี้ไมต่ ้องอาบัติ คอื ๑. ภิกษณุ ีต้มข้าวต้ม จดั นา้ ปานะถวายสงฆ์ ๒. ภกิ ษุณีหงุ ขา้ วถวายสงฆ์ ๓. ภกิ ษณุ ีทาการบูชาเจดยี ์ ๔. ภกิ ษุณีตม้ ขา้ วตม้ หุงภัตตาหารหรือทาของเคีย้ ว ซักผา้ นุ่งผา้ ห่ม หรอื ผ้าโพก ใหไ้ วยาวจั กรของตน ๕. ภกิ ษณุ วี กิ ลจรติ ๖. ภิกษุณตี ้นบญั ญตั ิ สิกขาบทท่ี ๕ วา่ ดว้ ยการไม่ชว่ ยระงบั อธิกรณ์ เรือ่ งภกิ ษุณถี ุลลนันทา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook