Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fundamental Computer and Information Tachnology

Fundamental Computer and Information Tachnology

Published by Nuchakorn Kongyarit, 2020-06-17 11:06:33

Description: เอกสารประกอบการสอน
วิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย อาจารย์นุชากร คงยะฤทธิ์

Keywords: Fundamental Computer and Information Tachnology,Computer and Information Tachnology,Fundamental,Computer,Information Tachnology

Search

Read the Text Version

86 | P a g e บทที่ 5 ข้อมลู การบริหารขอ้ มลู และเทคโนโลยฐี านข้อมูล รูปท่ี 5.11 ระบบจัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access ทม่ี า: (Comidoc, 2017) ส่วนเครื่องมือจัดการฐานข้อมูล (DBMS Engine) ทาหน้าท่ีเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างมุมมองข้อมูล เชิงตรรกะ และมุมมองเชิงกายภาพ เมอ่ื ผูใ้ ช้ร้องขอขอ้ มูลจะดาเนนิ การกบั รายละเอียด ณ ตาแหน่ง ที่อยู่ ของข้อมลู จริง ๆ ส่วนการนิยามข้อมูล ทาหน้าท่ีกาหนดโครงสร้างข้อมูลเชิงตรรกะโดยนาเอาพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) หรือเค้าร่าง (Schema) มาสร้าง พจนานุกรมข้อมูลประกอบด้วยรายละเอียด โครงสร้างของข้อมูลในฐานข้อมูล มีการกาหนดชนิดของข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูลว่าจะเป็นชนิดใดบ้าง เช่น อกั ขระ ตัวเลข เวลา ภาพกราฟิก เสียง และวิดโี อ ส่วนการจัดการข้อมูล จะมีเคร่ืองมือสาหรับการจัดการข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล การบารุงรักษา รวมทั้งการเพ่ิมข้อมูลใหม่เข้าไปเก็บ การลบข้อมูลเก่า และการแก้ไขข้อมูลท่ีมีอยู่แล้ว เครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อใช้เรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูลบางส่วน หรือทั้งหมด หรือสอบถามตามผู้ใช้งาน ต้องการ และใช้สร้างเป็นรายงาน เป็นต้น มีเครื่องมือพิเศษ เรียกว่า QBE (Query-Ey-Example) และมีโปรแกรมภาษา เรียกวา่ ภาษาเอสควิ แอล (Structured Query Language: SQL) ส่วนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ ทาหน้าท่ีเป็นเครื่องมือสาหรับสร้างฟอร์มเพ่ือป้อนข้อมูลเข้าสู่ ระบบ มีโปรแกรมภาษาสาหรบั เชื่อมต่อหรือทางานรว่ มกับส่วนนไี้ ด้ เช่น ภาษา C++ หรอื Visual Basic ตัวอย่างฟอรม์ สาหรบั นาเขา้ ขอ้ มูลที่สร้างโดยใชโ้ ปรแกรม Microsoft Access ส่วนการบริหารข้อมูล ทาหน้าท่ีเป็นตัวช่วยสาหรับการจัดการทั้งหมดของฐานข้อมูล รวมท้ังการ ดูแลรักษาความมั่นคงปลอดภัย ให้บริการด้านการกู้คืน และให้สามารถดูประสิทธิภาพการทางานของ ระบบในองค์กรขนาดใหญ่จะจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านฐานข้อมูล ที่เรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (database administrator หรอื DBA) มาจดั การกบั สว่ นนี้ รวมทงั้ เป็นผ้กู าหนดสิทธกิ ารเข้าถึงฐานข้อมูลของผู้ใช้แต่ ละคนใหถ้ ูกต้อง นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 5 ข้อมลู การบรหิ ารข้อมูล และเทคโนโลยฐี านขอ้ มลู P a g e | 87 5.7 โครงสร้างข้อมลู ในเบื้องต้น ควรศึกษาทาความเข้าใจกับข้อมูลว่ามีโครงสร้างอย่างไรเสียก่อน ในมุมมองเชิงตรรกะ ข้อมลู มกี ารจัดโครงสร้างเป็นกลุ่มหรือจาแนกตามประเภท จากเลก็ ไปหาใหญ่ ตัวอักขระ (Character) เป็นส่ิงแรก เบื้องต้นของโครงสร้างข้อมูล ประกอบด้วย ตัวอักษร หรือ ตัวเลข หรอื ตัวอักขระพิเศษ เชน่ $ เขตข้อมูล (Field) หมายถงึ กลมุ่ ของอักขระทม่ี คี วามสัมพนั ธก์ ัน ระเบียน (Record) หมายถึง ท่ีจัดเก็บของเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ใน ระเบียนหนงึ่ จะประกอบด้วยหลาย ๆ แอททรบิ ิวต์ ตารางข้อมูล (Table) เป็นที่จัดเก็บระเบียนหลาย ๆ ระเบียน จากตัวอย่าง ตารางข้อมูล เงินเดือน ประกอบดว้ ย ขอ้ มูลเงนิ เดอื นของพนกั งานทุกคนในองค์กร (เอนทติ ี) ฐานขอ้ มลู (Database) ฐานขอ้ มูลเป็นทีเ่ ก็บตารางขอ้ มูลหลาย ๆ ตารางท่ีมคี วามสัมพันธ์กัน รปู ที่ 5.12 โครงสร้างข้อมูล ทมี่ า: (ข้อมูลรายวชิ า โครงสร้างขอ้ มูล, 2556) 5.8 โครงสร้างข้อมลู ดีบเี อ็มเอส โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล ได้ออกแบบมาเพื่อทางานรว่ มกับข้อมูลทีเ่ ป็นโครงสร้างข้อมลู เชิง ตรรกะ โดยกาหนดตามรูปแบบของแบบจาลองข้อมูล (Database Model) ซ่ึงจะเป็นตัวกาหนด กฎเกณฑ์ และมาตรฐาน ในฐานข้อมูล เช่น โปรแกรม Microsoft Access ได้ออกแบบมาเพ่ือเป็น ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ แบบจาลองข้อมูลมี 5 แบบ ได้แก่ ฐานข้อมูลลาดับช้ัน ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์ ฐานขอ้ มลู หลายมิติ และฐานขอ้ มูลเชิงวัตถุ แตล่ ะแบบมีรายละเอียด ดงั น้ี นุชากร คงยะฤทธิ์

88 | P a g e บทท่ี 5 ข้อมูล การบริหารขอ้ มลู และเทคโนโลยีฐานขอ้ มลู 5.8.1 ฐานข้อมลู แบบล้าดับชัน้ ในอดีต ระบบจัดการฐานข้อมูลได้ออกแบบมาเพื่อใช้กับเครื่องเมนเฟรมซึ่งจะใช้แบบจาลองข้อมูล แบบลาดับชั้น (Hierarchical Database) ซึ่งเขตข้อมูล และระเบียนท่ีเก็บข้อมูลจะมีโครงสร้างเป็น โหนด (Node) โดยที่โหนดมีโครงสร้างเหมือนกับก่ิงก้านสาขาของต้นไม้กลับด้าน โดยมีโหนดแม่เพียง 1 เดียว แต่มีโหนด ลูกได้หลาย ๆ โหนด จึงเรียกว่า ความสัมพันธ์กันแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (one-to-many) การเข้าถึงข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูลจะต้องเร่ิมจากบนสุดแล้วจึงท่องไปยังโหนดต่าง ๆ ลงสู่ระดับล่าง ตัวอย่างของโครงสร้างลาดับชั้น ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูลดนตรี โหนดแม่ของโครงสร้างแบบนี้ คือ โหนด My Music ซ่ึงประกอบด้วยโหนดลูกที่เป็นข้อมูลของศิลปินจานวน 4 โหนด คือ โหนด The Beatles Beyoncé Coldplay และ Rolling Stones โดยที่โหนด Coldplay จะมีโหนดลูกที่เก็บข้อมูลชื่ออัลบ้ัม อีก 3 โหนด และมีโหนดยอ่ ย ในระดับถัดไปอกี เปน็ ขอ้ มลู ของชื่อเพลง เปน็ ตน้ รปู ที่ 5.13 ฐานข้อมูลแบบลาดับช้ัน ที่มา: (DBMS Database Models, 2019) รูปที่ 5.14 ฐานขอ้ มูลแบบเครือขา่ ย ทม่ี า: (บทที่ 1 ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกบั ฐานข้อมูล, 2560) ปัญหาของโครงสร้างแบบลาดับช้ัน คือ เม่ือมีการลบโหนดแม่ โหนดลูกจะถูกลบไปด้วย ในขณะเดียวกันจะไมส่ ามารถเพิ่มข้อมูลจากโหนดลูกก่อนได้ถ้าไม่มโี หนดแม่ และโหนดลกู จะไม่สามารถ มคี วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งโหนดลูกดว้ ยกนั ได้ นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 5 ข้อมูล การบรหิ ารข้อมูล และเทคโนโลยฐี านข้อมลู P a g e | 89 5.8.2 ฐานข้อมูลแบบเครอื ขา่ ย จากข้อจากัดของฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น จึงได้ถูกพัฒนาฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) ขึ้นมาเพ่ือแก้ปัญหา แต่ยังคงยึดหลักการความเป็นลาดับช้ันเหมือนเดิมแต่ได้ปรับปรุง คุณสมบัติการเช่ือมโยงให้โหนดลูกสามารถติดต่อกับโหนดแม่ได้หลาย ๆ โหนด เรียกความสัมพันธ์ ชนิดน้ีว่า แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (many-to-many relationship) การเช่ือมโยงท่ีเพิ่มข้ึนมาน้ันเราเรียกว่า ตวั ช้ี (pointers) ดังนน้ั การเขา้ ถึงแตล่ ะโหนดสามารถเขา้ ไปไดห้ ลายทาง ตัวอย่างเช่น การบันทึกข้อมูลการศึกษาของนักศึกษาในมหาวทิ ยาลัย เมื่อพิจารณา ตามโครงสร้าง แล้ว จะเห็นว่านักศึกษาแต่ละคนมีอาจารย์สอนได้หลาย ๆ คน ในขณะที่อาจารย์แต่ละคนสามารถสอน ได้หลายวิชาด้วย และนักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายวิชา จากตัวอย่างนี้จะเห็นวา่ ฐานข้อมูล แบบเครือข่ายมีความยืดหยุ่นมากกว่า และมีประสิทธิภาพสูงกว่าฐานข้อมูลแบบลาดับชน้ั หลาย ๆ กรณี ดว้ ยกนั 5.8.3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างท่ียืดหยุ่นมากกว่า ฐานข้อมูลอื่น ๆ ซ่ึงโครงสร้างของข้อมูลจะไม่มีลาดับช้ันลงมา แต่จะเก็บข้อมูลอยู่ในหลาย ๆ ตาราง ท่ีประกอบด้วยแถว และคอลัมน์โดยท่ีแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กัน เรียกตารางเหล่านี้ว่า รีเลชั่น (Relation) จากความสามารถของฐานข้อมลู เชิงสัมพนั ธ์ทใ่ี ช้จัดการข้อมลู ได้ดีกวา่ ฐานข้อมูลแบบลาดับช้ัน และ ฐานข้อมูลแบบเครอื ข่าย โดยเฉพาะการเพิม่ ลบ และปรับปรงุ แก้ไขข้อมลู จงึ เป็นที่นยิ มนาไปใชก้ ันอย่าง กว้างขวางในทุกองค์กร ท้ังในเคร่ืองประเภทไมโคร คอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ และ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ 5.8.4 ฐานขอ้ มูลหลายมติ ิ ฐานข้อมูลหลายมิติ (Multidimensional Database) พัฒนาการมาจากฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กล่าวคือ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ประกอบด้วยแถว และคอลัมน์ มีโครงสร้างเพียง 2 มิติ ในขณะที่ ฐานข้อมลู หลายมติ ิ เพมิ่ มมุ มองไดม้ ากกว่า 2 มติ ิ เราเรยี กวา่ รปู ลกู บาศก์ (Data Cube) ซึง่ จะเหน็ ข้อมูล 3 ด้านหรอื มากกวา่ ขอ้ ดีของฐานข้อมลู หลายมิติท่เี หนอื กวา่ ฐานขอ้ มลู เชิงความสมั พันธ์ ได้แก่ ด้านแนวคิด (Conceptualization) ฐานขอ้ มูลหลายมิติ และฐานขอ้ มลู รูปลูกบาศกท์ าให้ผู้ใช้เข้าใจ ขอ้ มูลทมี่ ีโครงสรา้ งแบบซับซ้อนได้งา่ ยขึ้น ด้านความเร็วในการประมวลผล (Processing Speed) ฐานข้อมูลหลายมิติ สามารถวิเคราะห์ และค้นหาข้อมูล จากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ได้รวดเร็วกว่า เช่น การสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูลหลาย มติ ิจะใช้เวลาเพียงไม่กีว่ นิ าที ในขณะท่ีฐานขอ้ มลู เชิงสมั พันธจ์ ะใชเ้ วลาเป็นนาทหี รือเปน็ ชัว่ โมง เปน็ ต้น นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

90 | P a g e บทที่ 5 ข้อมลู การบรหิ ารข้อมูล และเทคโนโลยฐี านขอ้ มูล 5.8.5 ฐานขอ้ มลู เชงิ วตั ถุ ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-Oriented Database) ได้ออกแบบโครงสร้างข้อมูลเพ่ือจัดเก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ อัตราการชาระ และอ่ืน ๆ ซ่ึงฐานข้อมูลเชิงวัตถุ มีความยืดหยุ่นสูง สามารถเก็บข้อมูลท่ีไม่เป็น โครงสร้างได้ โดยใช้แนวคิดแบ่งส่วนประกอบข้อมูลออกเป็น อ็อบเจกต์ คลาส แอททริบิวต์ และเมธอด ซึง่ มรี ายละเอียด ดังน้ี คลาส (Class) มีลักษณะคล้ายเป็นพิมพ์เขียว ที่ออกแบบให้กับวัตถุ หรือการกาหนดนิยามให้กับ วตั ถุ อ็อบเจกต์ (Object) หมายถึง วัตถุ ที่ได้สร้างขึ้นมาจากคลาส สามารถเก็บท้ังข้อมูล และคาส่ังใน การจัดการข้อมลู แอททริบวิ ต์ (Attribute) หมายถึง เขตขอ้ มลู ของแต่ละอ็อบเจกต์ เมธอด (Method) หมายถงึ คาสง่ั สาหรับจัดการขอ้ มูล หรือใหด้ งึ ข้อมลู มาเพื่อแสดงผล ในปัจจุบันถึงแม้ว่ามีการใช้ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น และฐานข้อมูลแบบเครือข่ายยังคงมีใช้กันอยู่ บ้าง แตฐ่ านข้อมูลเชงิ สมั พันธ์ ฐานข้อมูลหลายมิติ และฐานขอ้ มูลเชงิ วัตถุจะเป็นทน่ี ิยมใช้มากกว่า 5.9 ประเภทของฐานขอ้ มูล ฐานข้อมูลที่มีการใช้งานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีทั้งขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ จานวนผู้ใช้ต้ังแต่ใช้ คนเดียว จนถึงผู้ใช้เป็นจานวนมาก เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าว จึงมีการจาแนกประเภทฐานข้อมูลได้ 4 ประเภทดว้ ยกนั ได้แก่ ประเภทส่วนบุคคล ประเภทองคก์ ร ประเภทกระจาย และประเภทเชงิ พาณิชย์ 5.9.1 ฐานขอ้ มูลสว่ นบคุ คล ฐานข้อมูลส่วนบุคคล (Individual Database) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ฐานข้อมูลสาหรับ ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer Database) การจัดเก็บข้อมูลของฐานข้อมูลชนิดนี้จะอยู่ใน ฮาร์ดดิสก์ ภายในเครื่องของแต่ละคน หรือเก็บฮาร์ดดิสก์ภายในเครือข่ายระยะใกล้ การใช้งานมักใช้ใน งานประจา เช่น แผนกขาย เก็บข้อมูลลูกค้า ดูรายช่ือลูกค้าได้ ถ้าเป็นผู้จัดการแผนกขายสามารถดู พนักงานขายที่ทายอดขายได้ ถ้าหากเป็นผู้บริหารแผนกโฆษณาสามารถเปรียบเทียบอัตราค่าโฆษณา จากลูกคา้ แตล่ ะรายได้เชน่ กัน 5.9.2 ฐานข้อมลู องค์กร ฐานข้อมูลองค์กร (Company Database) องค์กรส่วนใหญ่จะสร้างฐานข้อมูลไว้เป็นของตนเอง และจดั เกบ็ เอาไว้เป็นฐานข้อมูลกลางท่ีเครื่องแม่ข่าย มีพนกั งานท่ีทาหน้าทีบ่ ริหาร จดั การฐานข้อมลู ซง่ึ เรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้ข้อมูลจากเคร่ือง คอมพวิ เตอรใ์ นระบบเครอื ขา่ ยทง้ั ระยะใกล้ และระยะไกลได้ ความหมายของฐานข้อมูลองค์กรมีการกล่าวถึงว่าเป็นพ้ืนฐานของระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการ เช่น ห้างสรรพสินค้าเก็บข้อมูลรายการขายไว้ในฐานข้อมูลทั้งหมด ผู้จัดการแผนกขาย สามารถดูข้อมูลยอดขาย สูงสุดที่พนักงานขายได้ ดังนั้น ผู้จัดการสามารถนาผลไปกาหนดโบนัสตอนส้นิ ปีได้ หรือสามารถรู้ได้ว่า สินค้าใดขายดี หรือไม่ดี เพื่อนาไปปรับปรุงการขายต่อไป ในขณะที่ผู้บริหาร นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 5 ข้อมูล การบรหิ ารขอ้ มลู และเทคโนโลยีฐานข้อมูล P a g e | 91 ระดับสงู นาสารสนเทศท้ังหมด มาวิเคราะหแ์ นวโน้ม พฤติกรรมผูบ้ รโิ ภค เพ่อื ปรบั กลยทุ ธใ์ นด้านการขาย เปน็ ตน้ 5.9.3 ฐานข้อมูลแบบกระจาย ฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Database) จะมีการจัดเก็บข้อมูลไว้หลายสถานที่ แต่จะ เข้าถึงข้อมูลโดยการเช่ือมต่อผ่านทางระบบเครือข่าย จึงเรียกฐานข้อมูลประเภทนี้ว่า ฐานข้อมูลแบบ กระจาย ผู้ใช้งานอาจจะอยู่ไกลกันจากสถานท่ีเก็บข้อมลู เพ่ือขอใช้บริการระหวา่ งเครื่องแม่ข่าย และลูก ข่าย (client/server) เช่น ติดต้ังฐานข้อมูลบางฐานไว้ที่สานักงานสาขา บางฐานข้อมูลต้ังอยู่ ณ สานักงานใหญ่ หรือ อาจอยู่ในต่างประเทศ เป็นต้น แต่ผู้บริหารระดับสูงสามารถใช้งานฐานข้อมูลได้ ท้ังหมด 5.9.4 ฐานขอ้ มลู เชงิ พาณชิ ย์ ฐานข้อมูลชนิดเชิงพาณิชย์ (Commercial Database) เป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีเน้ือหาเฉพาะ ด้าน เพ่ือให้บริการกับสาธารณะ หรือบุคคลทั่วไปโดยผู้ใช้บริการต้องเสียค่าใช้จ่าย บางคร้ังเรียก ฐานข้อมูล ประเภทน้ีว่า สารสนเทศอรรถประโยชน์ (Information Utilities) หรือธนาคารข้อมูล (Data Bank) นอกจากนยี้ งั มรี ายชือ่ ฐานข้อมูลในเชงิ พาณชิ ยท์ ี่สาคญั อกี หลายฐานขอ้ มูล ดังนี้ CSI: เป็นฐานขอ้ มูลท่ีให้บรกิ ารขอ้ มลู ลกู คา้ ธรุ กจิ รวมทั้งจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ Dialog Information Services: เป็นฐานข้อมูลท่ีให้บริการสารสนเทศทางธุรกิจ เช่น ข้อมูลด้าน เทคนิค สารสนเทศทางด้านวทิ ยาศาสตร์ Dow Jones Interactive Publishing: เป็นฐานข้อมูลท่ีให้บริการข่าวความเคลื่อนไหวทางด้าน ธรุ กิจ การลงทุน และตลาดหนุ้ เปน็ ต้น LexisNexis: เป็นฐานข้อมูลทีใ่ หบ้ ริการข่าว สารสนเทศดา้ นกฎหมาย และประเดน็ ตา่ ง ๆ ทางธรุ กจิ ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อใช้ในงานเฉพาะองค์กร ถ้าองค์กรอ่ืนต้องการใช้งาน จะต้องเสียค่าสมาชิก และค่าใช้จ่ายเป็นรายช่ัวโมง แต่บุคคลทั่วไปสามารถค้นหาข้อมูลสรุปท่ีจัดทาไว้ โดยไมต่ อ้ งมคี ่าใช้จ่ายในขั้นตน้ หากต้องการรายละเอียดเพิม่ เติมบางรายการจะต้องเสยี ค่าใช้จ่าย นชุ ากร คงยะฤทธิ์

92 | P a g e บทที่ 5 ข้อมูล การบริหารข้อมูล และเทคโนโลยฐี านขอ้ มลู 5.10 สรุปท้ายบท ข้อมูลสาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์น้ันอาจได้มาจากแหล่งข้อมูลภายในหรือภายนอก องค์กรซึ่งควรมีคุณสมบัติพ้ืนฐานคือ มีความถูกต้องความเป็นปัจจุบันตรงตามความต้องการมีความ สมบูรณ์ และสามารถตรวจสอบได้การเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์จะเร่ิมจากบิตท่ีเป็นหน่วยย่อย ที่สุดประกอบกันเป็นไบต์ และรวมกันเป็นข้อมูลชนดิ หนึ่งชนิดใดในฟิลด์หลายฟิลด์รวมกันเป็นเรคคอรด์ และหลายเรคอร์ดรวมกันเป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลการเก็บข้อมูลเป็นไฟล์น้ันหากมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย อาจมีปัญหาเรื่องความซ้าซ้อนเป็นหลายชุด และเกิดปัญหาเรื่องความถูกต้องตรงกันของข้อมูลจึงมีการ จัดเก็บในรูปแบบฐานข้อมูลหรือ Database ข้ึนเพื่อให้อยู่ท่ีเดียวกันควบคุม และจัดการประมวลผลได้ งา่ ยโดยมรี ะบบจัดการฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System-RDBMS) คอยควบคุม และมเี คร่ืองมอื ชว่ ยคอื ภาษา SQL (Structured Query Language) ท่ใี ช้เรยี กดู และแกไ้ ข ข้อมูลได้สะดวกระบบฐานข้อมูลแบบเดิมท่ีใช้กันจะเรียกว่าฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational database) ซ่ึงเก็บข้อมูลเป็นตาราง และกาหนดความสัมพันธ์อย่างชัดเจนแต่ในงานสมัยใหม่ที่ต้อง จัดการกับผู้ใช้จานวนมาก และข้อมูลปริมาณมหาศาลท่ีเข้ามาอย่างรวดเร็ว (Big data) เช่น โซเชียล มเี ดยี ทัง้ หลายจงึ มีการใช้ฐานข้อมลู แบบ Non-relational หรอื NoSQL เข้ามาชว่ ยซง่ึ เหมาะกบั การเพ่ิม จานวนเซิร์ฟเวอร์แบบทวคี ณู เพื่อรองรับภาระในลกั ษณะน้ี การบันทึกหรือจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลในปัจจุบัน มีการเก็บ เอาไว้ในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น การเก็บข้อมูลบัตรเครดิต ฐานข้อมูลเหล่านี้สามารถนาไปทาธุรกรรมซ้ือขายสินค้า และบริการได้ หรอื นาไปพยากรณใ์ หค้ ะแนนความน่าเชื่อถือของเจ้าของบัตร และแมแ้ ตเ่ รอื่ งความปลอดภัยภายในบ้าน ก็เช่นกัน ซ่ึงในอนาคตจะมีการจัดเก็บข้อมูลดีเอ็นเอของประชาชนทุก ๆ คน เพื่อตรวจสอบเหตุการณ์ อาชญากรรม และสามารถระบุตัวอาชญากรได้ ในบทนี้จะได้กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต้องเรียนรู้ ใน ดา้ นการเปล่ียนแปลงส่ยู คุ ดจิ ิทัล ซึ่งประกอบดว้ ยความแตกตา่ งของโครงสรา้ งข้อมูลเขา้ ใจถึงความสาคัญ ของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลหลายมิติ และฐานข้อมูลลาดับช้ัน และประเภทของฐานข้อมูล สามารถระบุฐานข้อมูลท่ีนาไปใช้ในแต่ละประเภทได้ อันได้แก่ ฐานข้อมูลบุคคลฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ ฐานข้อมลู แบบกระจาย หรือ ฐานขอ้ มูลเชงิ พาณชิ ย์ เมือ่ กลา่ วถึงฐานข้อมลู เป็นอยา่ งไร ขอใหน้ กึ ถึงการ จัดเก็บหนังสือจานวนมากในห้องสมุด เช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ที่ได้ออกแบบมาเพื่อเก็บ ข้อมูลจานวนมาก ข้อมูลเหล่าน้ันมันเก็บในลักษณะใด ทาไมจึงควรศึกษาให้เข้าใจเก่ียวกับฐานข้อมูลใน อดีต การใช้งานคอมพิวเตอร์มีข้อจากัด ท้ังในแง่ของการเข้าถึงข้อมูล เพราะสามารถเข้าถึงข้อมูล ได้ เฉพาะภายในฮารด์ ดสิ ก์ของตนเองเทา่ นัน้ แต่ปจั จบุ นั สามารถเข้าถงึ ข้อมลู จากเครือข่ายการสอื่ สาร และ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล สารสนเทศได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยไม่มี ข้อจากดั อีกต่อไป ปัจจุบันองค์กรส่วนใหญ่ ให้ความสาคัญกับข้อมูล ต่างก็จัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปแบบ ฐานขอ้ มลู ทั้งส้ิน ไมว่ า่ จะเปน็ โรงเรียน โรงพยาบาล และธนาคาร เพอื่ การแข่งขันในเชิงธุรกิจ การทาให้ องค์กรมีประสิทธิภาพ จึงจาเป็นต้องศึกษาการค้นหาข้อมูล สารสนเทศ และทาความเข้าใจการจัดเก็บ ของฐานข้อมูล ว่ามันทางานอย่างไร เพื่อให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สูงสุด จึงจาเป็นต้องมีความรู้พ้ืนฐาน เก่ียวกับ เขตข้อมูล ระเบียน ตารางข้อมูล และฐานข้อมูล เป็นต้น นอกจากนี้จาเป็นต้องศึกษาถึงข้อแตกต่าง ในแต่ละประเภทฐานข้อมูล และความสาคัญของการนา ฐานข้อมลู ไปใช้งานดว้ ย นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 5 ข้อมลู การบริหารข้อมูล และเทคโนโลยฐี านข้อมูล P a g e | 93 5.11 แบบฝึกหดั ท้ายบท จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธบิ ายว่าคณุ สมบัตขิ องขอ้ มลู ท่ดี ีประกอบด้วยอะไรบา้ ง จงอธบิ าย 2. จงอธิบายว่าข้อมลู ภายในสถาบันการศกึ ษาทท่ี า่ นสังกัดอยู่ มอี ะไรบ้าง และยกตวั อย่างประกอบ 3. จงอธิบายว่าไฟลห์ รอื แฟม้ ตารางข้อมูลคืออะไร 4. จงอธบิ ายวา่ ในแง่ของการจัดการข้อมูลน้นั ข้อมลู มโี อกาสซ้ากันไดห้ รือไม่ จะมวี ิธีแกไ้ ขไดอ้ ยา่ งไร 5. จงอธิบายว่าเหตุใดจงึ ต้องนาเอาระบบฐานขอ้ มลู มาใช้ในการทางาน และยกตวั อยา่ งประกอบ 6. จงอธิบายว่าความซา้ ซอ้ นกนั ของขอ้ มูล (Data Redundancy) คืออะไร 7. จงอธิบายวา่ RDBMS มีประโยชน์อย่างไรตอ่ การใชง้ านฐานข้อมูล 8. จงอธิบายว่าภาษาที่ใชส้ อบถาม หรือเข้าถึงข้อมูลโดยผ่านรปู แบบการใช้คาส่ังเฉพาะ เรียกว่าภาษา อะไร และยกตวั อยา่ งของคาส่งั มา 9 คาสัง่ 9. จงอธบิ ายวา่ ความสามารถโดยท่ัวไปของ HDBMS มอี ะไรบ้าง 10. จงอธบิ ายวา่ NoSQL เปน็ อยา่ งไร เหมาะกับลักษณะงานแบบใด 11. จงอธบิ ายว่าโครงสรา้ งข้อมลู ทั้ง 5 ชนิด ในมุมมองเชงิ ตรรกะ มไี รบ้าง 12. จงบอกข้อแตกตา่ งระหวา่ งการประมวลผลแบบกลมุ่ กับการประมวลผลแบบทันทีทนั ใด 13. จงอธบิ ายส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมลู ท้ัง 5 ส่วน 14. จงอธบิ ายแบบจาลองของฐานขอ้ มูลท้ัง 5 รูปแบบ 15. จงบอกถึงประโยชน์ และข้อจากัดของฐานข้อมูลได้แก่อะไรบ้าง และทาไมจึงต้องคานึงถึงความ ม่นั คงปลอดภยั ของข้อมูล 5.12 อา้ งอิงประจ้าบท Comidoc. (2017). Learn the basics of building an Access database. Learn step-by-step how to create tables, queries, forms and reports. Retrieved March, 11, 2019, form https://comidoc.com/microsoft-office-access-2016-part-1-beginner/ David Gassner. (2018). Android Development Essential Training: Local Data Storage. Retrieved March, 11, 2019, form https://www.lynda.com/learning- paths/Developer/become-an-android-mobile-app-developer DBMS Database Models. (2019). Retrieved March, 11, 2019, form https://www.studytonight.com/dbms/database-model.php What is the DIKW Pyramid?. (2012). Retrieved March, 11, 2019, form https://www.ontotext.com/knowledgehub/fundamentals/dikw-pyramid/ ขอ้ มลู รายวิชา โครงสร้างข้อมูล. (2556). คน้ เมื่อ 24 มนี าคม 2562 จาก http://nongmeena2536.blogspot.com/2013/10/blog-post.html เงินออมทรัพย์ 73 ล้านบัญชี ไม่ถงึ 5 หม่นื . (2561). ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562 จาก https://www.guimee.com/blog/316/เงินออมทรัพย์-73-ล้านบญั ชี-ไม่ถงึ -5-หมื่น/ นักศึกษาในความรบั ผิดชอบ. (2562). ค้นเมื่อ 24 มนี าคม 2562 จาก http://advisor.rmutsv.ac.th/mainInstructor.php?op=mainAdvisor นชุ ากร คงยะฤทธิ์

94 | P a g e บทท่ี 5 ข้อมลู การบรหิ ารขอ้ มลู และเทคโนโลยีฐานขอ้ มูล บทท่ี 1 ความร้ทู ่ัวไปเกย่ี วกับฐานข้อมลู . (2560). ค้นเม่ือ 24 มนี าคม 2562 จาก http://www.satrinon.ac.th/emmy/lesson/lesson01/ls0105.html ประเภทของไฟล์. (2555). ค้นเมอ่ื 24 มนี าคม 2562 จาก https://suwanan.weebly.com/1- 3611361936323648361636073586362935913652361536213660.html หน่วยที่ 1 ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล (ต่อ). (2558). ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562 จาก http://www.macare.net/dbms/index.php?id=-11 อาพาภรณ์ ศรโี วหะ. (2556). Chapter 6 ขอ้ มูลและการจดั การข้อมลู . ค้นเม่ือ 24 มีนาคม 2562 จาก http://kongkoynoy.blogspot.com/2013/04/chapter-6-6.html นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ



96 | P a g e บทที่ 6 แนวคดิ พ้นื ฐานสาหรับการสรา้ งโปรแกรม แผนบริหารการสอน รหัสวชิ า : 11-411-101 วชิ า : พน้ื ฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ หนว่ ยท่ี : 6 ชื่อหน่วยเรยี น : แนวคิดพืน้ ฐานสาหรบั การสร้างโปรแกรม เวลาท่ีสอน 6 ชั่วโมง 1. หัวข้อประจาบท 1.1 โปรแกรมและการเขยี นโปรแกรม 1.2 สรปุ ทา้ ยบท 1.3 แบบฝึกหัดทา้ ยบท 1.4 อา้ งองิ ประจาบท 2. วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 2.1 เข้าใจการพัฒนาโปรแกรมและสามารถอธิบาย 6 ข้นั ตอนของการพฒั นาโปรแกรมได้ 2.2 สามารถเปรยี บเทียบเครื่องมอื การออกแบบ รวมถึงวธิ กี ารออกแบบ แบบบนลงลา่ ง แบบรหสั คาสั่งเทยี มภาพการไหลของโปรแกรม และโครงสร้างตรรกะ 2.3 สามารถอธิบายการทดสอบโปรแกรม และ เครอ่ื งมือสาหรับการตรวจสอบและกาจดั ความผิดพลาดของโปรแกรม 3. วธิ ีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท 3.1 บรรยายโดยอาจารย์ผู้สอน 3.2 นกั ศึกษาร่วมกนั อภปิ รายในช้ันเรยี น 3.3 ศกึ ษาเอกสารการสอนบทท่ี 6 3.4 นกั ศึกษาเพ่มิ เตมิ นอกชนั้ เรยี น 3.5 นกั ศึกษาปฏิบัติกิจกรรมตามทก่ี าหนด 3.6 ใช้ LCD ในการเรยี นการสอน 4. สื่อการเรียนการสอน 4.1 เอกสารประกอบการสอน 5. การวัดผลและประเมนิ ผล 5.1 ประเมินผลกิจกรรมและแนวตอบคาถามท้ายบท นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 6 แนวคดิ พน้ื ฐานสาหรับการสรา้ งโปรแกรม P a g e | 97 บทท่ี 6 แนวคดิ พ้ืนฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม 6.1 โปรแกรม และการเขยี นโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรม คือ กระบวนการแก้ปัญหา (Problem-solving Procedure) มาดูว่าการ พัฒนาโปรแกรมทางานอย่างไร ลองคิดว่าโปรแกรมคืออะไร โปรแกรมเป็นชุดคาสั่งสาหรับบอกให้ คอมพิวเตอร์ทาตามคาส่ังนั้น คาสั่งเหล่านั้นจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น C++, JAVA, Visual Basic วงจรการพฒั นาซอฟต์แวร์ (Software Development Life Cycle: SDLC) มี 6 ขั้นตอน ดงั นี้ 1. การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะโปรแกรม (Program Specification) - เป็นขั้นตอนตั้งนิยาม ต้ังเป้าหมายของโปรแกรมที่จะพัฒนา ตั้งปัจจัยเข้า (Input) ปัจจัยออก (Output) และกระบวนการ ทางาน (Process Requirement) 2. การออกแบบโปรแกรม (Program Design) - เปน็ ขน้ั ตอนที่ออกแบบวิธีการทางานของชุดคาสั่ง ใชเ้ ทคนคิ (Structure Program) 3. การเขียนโค้ดโปรแกรม (Program Code) - เป็นขั้นตอนการเลือก และเขียนโปรแกรม โดยใช้ ภาษาโปรแกรม (Programming Language) 4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing) - เป็นข้ันตอนการทดสอบโปรแกรม เพื่อค้นหาการ ผิดไวยากรณ์ (Syntax Errors) และผดิ ตรรกะ (Logic Errors) 5. การจัดทาเอกสาร และคู่มือการใช้งาน (Program Documentation) - เป็นข้ันตอนทาเอกสาร เก่ียวกับโปรแกรม ที่พัฒนาขน้ึ 6. การบารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance) - เป็นช่วงที่ประเมินความถูกต้อง ประสิทธภิ าพหรอื พัฒนาโปรแกรมเพม่ิ เตมิ ตามความจาเปน็ ซึง่ จะทากันเป็นชว่ งเวลาที่กาหนด รปู ที่ 6.1 วงจรการพัฒนาซอฟตแ์ วร์ ทมี่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

98 | P a g e บทที่ 6 แนวคดิ พน้ื ฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม ในองค์กรตา่ ง ๆ ผูเ้ ช่ียวชาญด้านคอมพวิ เตอร์ คอื วิศวกรซอฟตแ์ วร์ หรอื โปรแกรมเมอร์ จะใช้ 6 ข้ันตอนน้ี เคยมีการสารวจอาชีพต่าง ๆ ของนิตยสาร Money Magazine วิศวกรซอฟต์แวร์อยู่ใน 1 ใน 100 อาชีพที่มั่นคงท้ังในด้านเงินเดือน ความมั่นคงในชีวิต และคนให้ความนับถือคุณอาจทางานเป็น โปรแกรมเมอร์โดยตรงหรือทางานผ่านผู้พัฒนาระบบ เป็นส่ิงสาคัญท่ีจะต้องเข้าใจ 6 ขั้นตอนในการ พฒั นาโปรแกรม อธิบายได้ ดงั น้ี 6.1.1 ข้นั ตอนที่ 1 การกาหนดคุณลกั ษณะเฉพาะโปรแกรม การกาหนดคณุ ลักษณะเฉพาะโปรแกรม (Program Specification) หรอื การกาหนดคาจากัดความ ของโปรแกรม (Program Definition) หรือการวิเคราะห์โปรแกรม (Program Analysis) สิ่งท่ีต้องทาใน ขั้นตอนน้ี คือ 1. จุดประสงค์ของโปรแกรม 2. ผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง 3. ข้อมูลนาเข้าที่ต้องการ 4. กระบวนการความตอ้ งการ และ 5. เอกสารประกอบ ดงั นี้ รปู ที่ 6.2 ขั้นตอนท่ี 1 การกาหนดคุณลกั ษณะเฉพาะโปรแกรม ท่ีมา: (PHONIXFAHAD, 2019) 1. วัตถปุ ระสงค์ของโปรแกรม (Program Objectives) ทุกวันเราต้องเผชิญกับเหตุการณ์ ปัญหาต่าง ๆ มากมาย ประเด็นคือเราต้องคิดว่าในแต่ละวันเรา ต้องทาอะไรก่อน นั่นคือเราต้องต้ังเป้าหมายในแต่ละวัน ว่าจะให้สาเร็จตามเป้าหมายอะไร การพัฒนา โปรแกรมก็เหมือนกัน เราต้องทราบว่าเราจะเขียนโปรแกรมไปเพ่ือเป้าหมายอะไร แก้ปัญหาอะไร เช่น ตัวอย่างว่ามีความต้องการเก็บข้อมูลว่าเวลาของการบริการลูกค้าแต่ละประเภทของบริษัทเป็นอย่างไร เวลาเทา่ ไหร่ทีต่ อ้ งเกบ็ เงินเวลาเท่าไหร่ทไ่ี มไ่ ด้เกบ็ เงนิ 2. ผลลัพธท์ ่ีคาดหวงั (Desired Output) เป็นสิ่งที่ดีท่ีช้ีเฉพาะว่าต้องการผลลัพธ์อะไร เพราะส่ิงท่ีผู้ใช้ต้องการ คือ ผลลัพธ์ที่ได้จาก คอมพิวเตอร์ สาหรับผู้ใช้ทั่วไปจะสามารถวาดภาพว่าต้องการส่ิงใดจากคอมพิวเตอร์หรือสิ่งใดที่พวกเขา ต้องการเห็นว่าคอมพิวเตอร์ทางานให้ อาจจะปรากฏออกมาทางเคร่ืองพิมพ์หรือหน้าจอคอมพิวเตอร์ เช่น ผู้ใช้ต้องการคานวณเงนิ จากการใช้งานระบบ ผู้ใช้กอ็ าจต้องการใบเสร็จท่ีมีการคานวณจานวนเงินที่ จะเกบ็ จากลูกคา้ พิมพอ์ อกจากเครอื่ งพิมพ์ เป็นต้น นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 6 แนวคดิ พ้นื ฐานสาหรบั การสรา้ งโปรแกรม P a g e | 99 3. ขอ้ มูลนาเขา้ (Input Data) เม่อื เราทราบแล้ววา่ เราต้องการผลลัพธ์อะไร เราจงึ มาดูว่าขอ้ มูลอะไรท่จี ะนามาใช้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ น้ัน ตามตัวอย่างต้องการคานวณเงินเพ่ือเรียกเก็บลูกค้า ดังน้ันข้อมูลที่ต้องการในการคานวณ คือ ขอ้ มูลเวลาทใ่ี ชร้ ะบบ รูปที่ 6.3 ตารางคานวณเงินที่เรียกเกบ็ จากลูกคา้ ทมี่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) รูปท่ี 6.4 ขอ้ มลู เวลาท่ีใช้ระบบ ที่มา: (PHONIXFAHAD, 2019) 4. ความต้องการ (Processing Requirements) ในส่วนน้ีต้องคิดว่าข้อมูลที่เข้ามา จะออกไปเป็นผลลัพธ์ตามท่ีผู้ใช้ต้องการอย่างไร ส่ิงท่ีเพ่ิมเติมข้ึน ไปอกี ถา้ งานของโปรแกรมสามารถเพ่ิมชวั่ โมงการทางานอืน่ สาหรับลกู คา้ คนอนื่ ได้ 5. เอกสารคุณลักษณะเฉพาะของโปรแกรม (Program Specification Documents) สาหรับวงจรการพัฒนาโปรแกรมสิ่งสาคัญท่ีต้องทาควบคู่กันไป คือ การทาเอกสาร ส่ิงท่ีต้องทา เอกสาร คือ เป้าหมาย จุดประสงค์ของโปรแกรม ข้อมูลเข้า ผลลัพธ์ที่ได้ กระบวนการประมวลผลข้อมลู หลังจากนนั้ กจ็ ะไปขัน้ ตอนต่อไป คอื การออกแบบโปรแกรม 6.1.2 ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบโปรแกรม การออกแบบโปรแกรม (Program Design) นั้นจะเกิดข้ึนหลังจากที่ทาข้ันตอนกาหนดคุณลักษณะ ของโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว ก็มาถึงการออกแบบโปรแกรมให้ได้ตามคุณลักษณะท่ีกาหนด ข้ันตอนน้ีใช้ เครื่องมือที่เรียกว่า เทคนิคการพัฒนาโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Programming นุชากร คงยะฤทธ์ิ

100 | P a g e บทที่ 6 แนวคิดพื้นฐานสาหรับการสรา้ งโปรแกรม Technique) มีดังต่อไปน้ี คือ 1. การออกแบบโปรแกรมแบบบนลงล่าง 2. รหัสคาส่ังเทียม 3. ภาพการ ไหลของโปรแกรม และ 4. โครงสรา้ งตรรกะ ดงั นี้ 1. การออกแบบโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Programming Design) รูปท่ี 6.5 การออกแบบโปรแกรม ที่มา: (PHONIXFAHAD, 2019) จากท่ีได้กาหนด ข้อมูลเข้า และผลลัพธ์ไว้เรียบร้อยแล้ว ทราบกระบวนการตวามต้องการแล้ว เรา จะใช้เทคนิคการเขียนโปรแกรมจากบนลงล่างมาใช้ในการออกแบบการเขียน ให้ตรงกับกระบวนการ ความต้องการไล่มาเป็นขั้นตอนแต่ละข้ันตอนเราเรียกว่า โปรแกรมโมดูล (Program Module) หรือบาง ที่เรยี กว่าโมดูล (Module) ตวั อยา่ ง เมอ่ื ต้องการจะคานวณใบเสร็จ เราจะออกแบบกอ่ นวา่ มีกระบวนการ อะไรบา้ ง รปู ท่ี 6.6 การออกแบบโปรแกรมแบบบนลา่ ง ท่มี า: (PHONIXFAHAD, 2019) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 6 แนวคิดพ้ืนฐานสาหรบั การสร้างโปรแกรม P a g e | 101 Compute time for Client A Set total regular hours and total overtime hours to zero. Get time in and time out for a job. If worked past 1700 hours, then compute overtime hours. Compute regular hours. Add regular hours to total regular hours. Add overtime hours to total overtime hours. If there are more jobs for that client, go back and compute for that job as well. รปู ท่ี 6.7 คาสั่งเทียม ทมี่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) 2. คาส่ังเทยี ม (Pseudocode) คาส่ังเทียม หรือซูโดโค้ด (Pseudocode) คือ โครงร่างของตรรกะของโปรแกรมที่จะเขียน เหมือนกับเป็นการสรุปโปรแกรมก่อนที่จะเขียนขึ้นจริง แสดงให้เห็นว่า เราจะต้องเขียนอะไรบ้างใน 1 โมดลู สงั เกตว่าเราตอ้ งกาหนดชั่วโมงการทางาน และจานวนชวั่ โมงลว่ งเวลา 3. ผังงาน (Flowcharts) ในขั้นตอนนี้ผงั งาน (Program Flowcharts) เป็นการแสดงรายละเอยี ดของการไหลของโปรแกรมท่ี จาเป็นสาหรับการแก้ปัญหาของโปรแกรมเมอร์ จากรูปที่ 6.9 แสดงผังงานการคานวณเวลา การใช้งาน ของลูกค้า A ดูจากภาพการไหลของข้อมูล ที่เราเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์ก็คือคอมพวิ เตอร์ มันไมส่ ามารถที่ จะเปรียบเทียบได้ ผู้พัฒนาโปรแกรมจาเป็นต้องบอกว่าจะให้เปรียบเทียบอย่างไร บางท่ีต้องมีตัดสินใจ บางทอี าจต้องหยดุ เราสามารถอธบิ ายเงือ่ นไขต่าง ๆ ท่ปี รากฏบนผงั งานได้ 4. โครงสรา้ งตรรกะ (Logic Structures) ภาพการไหลของโปรแกรมมีโครงสร้าง 3 แบบ ได้แก่ โครงสร้างแบบลาดับ (Sequential) โครงสร้างการเลือก (Selection) โครงสร้างแบบวนซ้า (Repetition) โปรแกรมเมอร์สามารถนา โครงสร้างทัง้ 3 แบบ มาใช้ในการเขียนโปรแกรม ลองมาดูรายละเอยี ดของโครงสร้างแต่ละแบบกนั รปู ที่ 6.8 สัญลกั ษณผ์ ังงาน ท่ีมา: (PHONIXFAHAD, 2019) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

102 | P a g e บทท่ี 6 แนวคดิ พน้ื ฐานสาหรบั การสร้างโปรแกรม รูปท่ี 6.9 การไหลของโปรแกรมคานวณเวลาการใช้งาน ทีม่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 6 แนวคดิ พ้นื ฐานสาหรับการสรา้ งโปรแกรม P a g e | 103 4.1 โครงสรา้ งแบบลาดบั (Sequential Structure) ลองพิจารณาหลักการทางาน คือบวกเวลาปกติเข้าไปในเวลาท้ังหมด (add regular hours to total regular hours) จากน้ันจึงเพ่ิมจานวนช่ัวโมงล่วงเวลาเข้าไปในเวลาท้ังหมด (add overtime hours to total overtime hours) โดยไม่ต้องมีคาตอบว่าใช่หรือไม่ใช่ผ่านหรือไม่ผ่านคาส่ังจะ เรยี งลาดับกันเสมอ โดยไมต่ ้องการคาตอบใด ๆ รูปท่ี 6.10 โครงสรา้ งแบบลาดับ ทีม่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) 4.2 โครงสรา้ งการเลอื ก (Selection Structure) ใช้เม่ือต้องการการตัดสินใจมี 2 แบบ คือ IF-THEN-ELSE ใช้เมื่อการตัดสินใจน้ันมีมากกว่า 1 ทางเลอื กท่สี ามารถไปได้ เม่ือถงึ การตัดสนิ ใจวา่ ถงึ เวลา ล่วงเวลาหรือไม่ จดุ ทีต่ ดั สินใจ คอื การทางานน้นั เกิน 17.00 น. หรือไม่ ถ้าเกนิ เปน็ เวลาท่ลี ่วงเวลา ถ้าไมเ่ กนิ คือ เวลาปกติ รปู ที่ 6.11 โครงสร้างการเลือก ท่มี า: (PHONIXFAHAD, 2019) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

104 | P a g e บทที่ 6 แนวคิดพนื้ ฐานสาหรับการสรา้ งโปรแกรม 4.3 โครงสรา้ งแบบวนซ้า (Repetition) หรอื โครงสรา้ งแบบลปู (Loop) เป็นโครงสร้างการทางานวนจนกระท่ังพบว่าการทางานในเง่ือนไขถูกต้อง จึงจะทางานใน ข้ันตอนต่อไป การทางานแบบนี้เรียกว่าการวนลูป (Loop) การออกแบบโปรแกรมในขั้นตอนน้ีไม่ว่าจะ เป็นคาสงั่ เทียมผงั งานโครงสรา้ งตรรกะ จะต้องเก็บรายละเอยี ดท้งั หมดในเอกสารไปดว้ ย รปู ที่ 6.12 โครงสรา้ งแบบวนซ้า หรือโครงสร้างแบบลูป ท่มี า: (PHONIXFAHAD, 2019) 6.1.3 ขั้นตอนที่ 3 การเขยี นโค้ดโปรแกรม การเขียนโปรแกรม เรียกว่าการโค้ด (Coding) ในข้ันตอนการเขียนโปรแกรมจะนาหลักตรรกะท่ไี ด้ คดิ ขน้ึ ในขนั้ ตอนของการออกแบบมาเขยี นเปน็ โคด้ ทีบ่ อกให้คอมพวิ เตอร์ ทางานการเขียนโปรแกรมเป็น ขน้ั ตอนหนงึ่ ในหกของการเขยี นโปรแกรม รูปที่ 6.13 การเขยี นโค้ดโปรแกรม ทีม่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 6 แนวคิดพืน้ ฐานสาหรบั การสรา้ งโปรแกรม P a g e | 105 1. การโปรแกรมที่ดี โปรแกรมที่ดีควรต้องได้ผลลัพธ์ท่ีเหมือนกันเสมอเม่ือผู้อ่ืนจะเขียนต่อก็สามารถเขียนต่อได้ และ เข้าใจได้ง่าย การเขียนโปรแกรมท่ีดีควรเขียนอย่างมีโครงสร้าง โปรแกรมที่ได้ออกแบบไว้แล้ว (Structured Programs) รปู ที่ 6.14 โคด้ ภาษา C++ ท่ีใชส้ าหรบั คานวณเวลา ทมี่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) 2. การเขียนโคด้ หลักจากที่ออกแบบโปรแกรมแล้วขั้นตอนต่อไปคือ การเขียนโค้ดหรือการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม การเขียนโค้ดภาษาโปรแกรม (Programming Language) คือ ชุดของ สัญลักษณ์ต่าง ๆ หรือชุดของคาส่ัง ท่ีส่ังให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการโดยภาษาคอมพิวเตอร์ จะ ทาการแปลผลกระบวนการ และข้อมูลให้เป็นแอปพลิเคชัน ได้หลายประเภท รูปที่ 6.14 แสดงถึงโค้ด ภาษา C++ ท่ีใช้สาหรับการคานวณเวลา และรูปท่ี 6.15 แสดงตัวอย่างภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยทั่วไป รปู ท่ี 6.15 ภาษาท่ีใชใ้ นการเขียนโปรแกรมโดยท่ัวไป ที่มา: (PHONIXFAHAD, 2019) นุชากร คงยะฤทธิ์

106 | P a g e บทท่ี 6 แนวคิดพ้นื ฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม 6.1.4 ขนั้ ตอนท่ี 4 การทดสอบโปรแกรม 1. การดบี กั (Debugging) เป็นกระบวนการทดสอบ และลดความผิดพลาด การตรวจสอบการทางานของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ และการแก้ไขข้อผิดพลาด ของโปรแกรมเรียกว่าเออเรอร์ (Error) ความผิดพลาดของการ เขยี นโปรแกรมมี 2 ประเภท ได้แก่ ข้อผิดพลาดท่ีเกิดจากการเขยี นคาส่ังผดิ ไวยากรณ์ของภาษา (Syntax Error) และขอ้ ผดิ พลาดท่เี กดิ จากผิดตรรกะ (Logic Error) 2. การเขยี นคาสั่งผิดไวยากรณ์ (Syntax Error) เป็นความผิดพลาดท่ีเกิดจากการใช้คาส่ังผิดรูปแบบท่ีภาษาน้ันกาหนด เช่น ในภาษา C++ แต่ละ ประโยคต้องจบประโยคด้วย (Semicolon) “;” ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา C++ แล้วไม่มี “;” โปรแกรม จะไม่ทางานจะแจ้งว่าเนื่องจากผิดไวยากรณ์ของภาษา แสดงให้เห็นว่าการทดสอบโมดูล Computer time มกี ารเขยี นผิดไวยากรณ์ 3. ข้อผิดพลาดทเี่ กดิ จากผิดตรรกะ (Logic Error) เกิดขึน้ เมื่อโปรแกรมเมอร์ใช้วธิ ีการคิดไมต่ รงตามความต้องการของผู้ใช้หรือหลักเหตุผลหรือทางาน ผดิ ขน้ั ตอน เช่น โปรแกรมเงินเดอื น ไม่มกี ารคานวณคา่ ลว่ งเวลาทัง้ ท่ีควรจะมี โปรแกรมนี้แสดงให้เห็นว่า มกี ารคดิ ไมต่ รงตามหลักเหตผุ ล รปู ท่ี 6.16 โมดลู Computer Time เขยี นผิดไวยากรณ์ ทมี่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) 4. กระบวนการทดสอบ (Testing Process) มหี ลายแนวทางถกู คดิ คน้ ข้นึ เพอื่ หาและป้องกันข้อผิดพลาดท้งั ผิดไวยากรณ์ และผดิ ตรรกะจากการ เขียนโปรแกรม ได้แก่ 4.1 ตรวจสอบการเขียนโค้ดเอง คือ การทดสอบแบบผู้เขียนโปรแกรมดูลาดับการเขียน โปรแกรมด้วยตัวเอง เพ่ือตรวจสอบการเขียนโปรแกรมของตนถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และหลัก ตรรกะ นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 6 แนวคดิ พืน้ ฐานสาหรบั การสร้างโปรแกรม P a g e | 107 4.2 ทดสอบโดยใช้ข้อมูลตัวอย่าง คือ การทดสอบโปรแกรมโดยผู้เขียนโปรแกรมจะเทียบการ แปลผลโปรแกรม กับ การคานวณด้วยตวั เอง โดยใชข้ ้อมูลชุดเดียวกนั วา่ ไดผ้ ลถูกตอ้ งตรงกันหรือไม่ 4.3 ใช้ตัวแปลภาษา เป็นการตรวจสอบโปรแกรมผ่านคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละ ภาษาจะมีตัวแปลภาษา ทาการตรวจสอบ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนข้ึนเมื่อผ่านเข้าสู่กระบวนการ แปลภาษาตัวแปลภาษาจะอ่านตามหลักไวยากรณ์ภาษานนั้ ๆ หากไมผ่ า่ น ตัวแปลภาษาจะแสดงการผิด ไวยากรณ์ออกมา แต่หากถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ของภาษาแล้ว ตัวแปลภาษาจะทาการคานวณผล ออกมาแสดงเพ่อื ให้ผเู้ ขยี นโปรแกรมตรวจสอบผลลพั ธต์ ่อไป 4.4 ทดสอบโดยใช้ข้อมูลท่ีคอมพิวเตอร์สร้างข้ึน คือ การทดสอบโดยใช้ข้อมูลตัวอย่างผ่าน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนข้นึ และดผู ลลัพธท์ ่ีได้ การทดสอบนี้เป็นการทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในเร่อื งของถกู ต้องตามตรรกะ 4.5 ทดสอบโดยใช้กลุ่มเป้าหมายร่วมทดสอบ คือ การทดสอบที่นาผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายมาร่วม ทดสอบโปรแกรมด้วย การทดสอบแบบน้ีจะเป็นการทดสอบในรอบสุดท้ายก่อนใช้งานจริง ซึ่งทาง ผู้ใช้งานที่ร่วมทดสอบจะแจ้งผลกลับว่าโปรแกรมท่ีเขียนขึ้นมามีผลการใช้งานถูกหรือผิด ตรงตามความ ต้องการหรือไม่เพือ่ แกไ้ ข และเขา้ ส่กู ารใช้งานจรงิ ต่อไป รูปที่ 6.17 กระบวนการทดสอบ ทมี่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) 6.1.5 ขนั้ ตอนที่ 5 การจัดทาเอกสาร และคมู่ ือการใช้งาน การจัดทาเอกสาร และคู่มือการใช้งาน (Program Documentation) นั้นเป็นการจัดทาเอกสาร ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับระบบหรือการเขียนโปรแกรมสามารถทาควบคู่ไปกับการเขียนโปรแกรมได้ และ เม่ือเขียนโปรแกรมเสร็จต้องจัดทาเอกสาร และคู่มือการใช้งานเพื่อให้ผู้อ่ืนสามารถเข้าใจ และใช้ โปรแกรมที่ได้จัดทาไว้แล้วต่อไปได้ บุคคลท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดทาเอกสาร และคู่มือการใช้งาน ได้แก่ นุชากร คงยะฤทธิ์

108 | P a g e บทท่ี 6 แนวคิดพ้ืนฐานสาหรบั การสร้างโปรแกรม 1. ผ้ใู ช้ (User) เป็นผู้ท่ีจาเป็นต้องทราบวิธีการใช้งานโปรแกรม บางองค์กรอาจมีการอบรมการใช้งานโปรแกรม หรือบางองค์กรก็ให้ผู้ใช้งานเรียนรู้การใช้งานโปรแกรมจากเอกสารคู่มือท่ีจัดทาขึ้นเอกสารคู่มือการใช้ งานอาจอยู่ในรูปของเอกสารคมู่ อื หรือรูปของวิธีใชง้ านในโปรแกรมก็ได้ 2. ผู้ปฏิบัตกิ าร (Operators) เอกสารคู่มือที่รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการทางานของโปรแกรม การส่งข้อความที่แสดงถึงผลท่ีไม่ ปกติสง่ ข้อความบอกผดู้ ูแลระบบ เพ่ือใหผ้ ู้ดแู ลทราบ และทราบวิธที ่จี ะดาเนินการแกไ้ ขหรือจดั การต่อไป 5. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ใช้สาหรับให้โปรแกรมเมอร์ ท้ังที่เป็นผู้เขียนโปรแกรมนั้น และโปรแกรมเมอร์อื่นท่ีจาเป็นต้องมา ทางานหรือแก้ไขโปรแกรมได้เรียนรู้ว่าโปรแกรมทางานอย่างไร และสามารถทางานกับโปรแกรมน้ันได้ อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว เอกสารชนิดนี้ควรประกอบด้วยผังงาน (Flowchart) ผังงานระบบ (System Flowchart) และตวั อย่างของผลลพั ธ์ รูปท่ี 6.18 ข้นั ตอนการจัดทาเอกสาร และค่มู ือการใชง้ าน ทมี่ า: (PHONIXFAHAD, 2019) 6.1.6 ขั้นตอนที่ 6 การบารงุ รักษาโปรแกรมให้ถกู ต้อง และทนั สมัยเสมอ การบารุงรักษาโปรแกรม Program Maintenance การบารุงรักษาโปรแกรมให้ถูกต้อง และทันสมัยเสมอ เป็นข้ันตอนสุดท้ายของกระบวนการเขียนโปรแกรม มากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ของ ต้นทุนท้ังหมดของโปรแกรม คือ ค่าบารุงรักษาโปรแกรม และเป็นหน้าท่ีของโปรแกรมเมอร์ซึ่งจะทา หน้าท่ี ตรวจสอบโปรแกรมให้ทางานอย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมไปถึงการ ปรับเปลีย่ นโปรแกรมตามความตอ้ งการท่ีเปล่ยี นไปด้วย การบารุงรักษาโปรแกรม มีกิจกรรม ดงั น้ี นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 6 แนวคดิ พ้นื ฐานสาหรบั การสร้างโปรแกรม P a g e | 109 รปู ท่ี 6.19 ขัน้ ตอนการการบารุงรักษาโปรแกรมให้ถูกต้อง และทันสมยั เสมอ ท่ีมา: (PHONIXFAHAD, 2019) 1. การปฏิบัตกิ าร กิจกรรมน้ีสนใจเก่ียวกับ ดูแล ควบคุม และป้องกัน การทางานที่ผิดพลาด จัดทาให้โปรแกรมง่าย สาหรบั การใช้งาน และเป็นมาตรฐานการพัฒนาโปรแกรมเพ่มิ เติมควรพัฒนาแบบต่อเพ่ิม (patches) ถ้า การเพ่มิ ต่อใชง้ านได้แลว้ จะเรียกวา่ การอัปเดตซอฟตแ์ วร์ (Software Updates) 2. การเปลีย่ นแปลงทจ่ี าเปน็ ในทุก ๆ องค์กรต้องมีการเปล่ียนแปลงไปตามเวลาดังน้ันโปรแกรมขององค์กรน้ันก็จาเป็นต้อง เปลี่ยนตาม ด้วยหลายเหตุผล เช่น การเปลี่ยนกฎหมายภาษี การเปลี่ยนนโยบายของบริษัท หากมีการ เปล่ียนแปลงโปรแกรมจาเป็นต้องเริ่มกระบวนการโปรแกรมใหม่ และต้องมีการกาหนดคุณลักษณะ โปรแกรมใหม่ดว้ ย ตามแนวคิดในการพัฒนาโปรเจคท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาโปรแกรมจะต้องใช้ ขั้นตอน 6 ขั้น ตามลาดับการพัฒนาโปรแกรม แต่บางคร้ังโปรแกรมอาจเร่ิมการพัฒนาโดยท่ียังเก็บความต้องการของ ผู้ใช้ไม่ได้ท้ังหมดอาจต้องใช้การพัฒนาแบบรวดเร็ว (Agile Development) เป็นการเริ่มจากฟังก์ชัน หลักของโปรแกรมก่อน และขยายการพฒั นาออกไปจนสมบูรณ์ 6.2 สรุปทา้ ยบท ซอฟต์แวร์ที่ออกแบบไว้ไม่ดี สามารถทาลายธุรกิจได้เพียงภายในเสี้ยววินาที รอบตัวเราในสังคม ปัจจุบัน ชีวิตเราแขวนไว้กับเครื่องมือดิจิทัลท้ังหลาย และโปรแกรมท่ีทางานอยู่ในเคร่ืองมือเหล่าน้ัน ใน อนาคตหุ่นยนต์ทีใ่ ส่ข้อมูลปญั ญาประดิษฐเ์ ข้าไป จะช่วยทางานที่น่าเบื่อแทนมนษุ ย์ โดยท่ีเราสามารถสง่ั การโดยใชค้ าพดู เทา่ นั้น บทเรียนน้ีจะครอบคลุมถึงสิ่งที่จาเป็นต้องทราบในโลกของดิจิทัล รวมไปถึงการทาความเข้าใจ ข้ันตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ เข้าใจถึงภาษาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมในยุคต่าง ๆ พร้อมทั้งทราบ ความแตกต่างของแต่ละภาษาเพื่อเลอื กใชง้ านได้ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

110 | P a g e บทที่ 6 แนวคิดพื้นฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม ทาไมต้องทราบเก่ียวกับการพัฒนาโปรแกรม ง่ายมากบางครั้งคุณต้องทางานในเรื่องการพัฒนา โปรแกรมหรือต้องตดิ ต่อกับโปรแกรมเมอร์ ประกอบกับแนวโน้มในอนาคต เคร่ืองมือเครื่องใช้ต่าง ๆ จะ ทาให้ผู้ใช้งานทว่ั ไป สามารถพัฒนาโปรแกรมเองได้ ดังนั้นจึงใกล้ตวั เข้ามาทกุ ขณะ เพ่ือการใช้คอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ คุณจาเป็นต้องเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนา ระบบกับโปรแกรม ย่ิงไปกว่าน้ันคุณจาเป็นต้องทราบ 6 ขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรมต้ังแต่ คุณลักษณะเฉพาะของโปรแกรม การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบ การทา เอกสารประกอบจนกระทง่ั ถงึ การบารุงรักษาโปรแกรม 6.3 แบบฝึกหัดทา้ ยบท จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. จงอธิบายขนั้ ตอนการพัฒนาโปรแกรมท้งั 6 ขน้ั ตอน 2. จงอธิบายความหมายของ CASE Tools และโปรแกรมเชิงวัตถุ OOP และตอบคาถามว่า CASE Tools ชว่ ยโปรแกรมเมอร์ทางานไดอ้ ยา่ งไร 3. จงอธบิ ายความแตกต่างระหวา่ งคอมไพเลอร์ และอินเตอร์พลีเตอร์ 4. จงอธบิ ายความหมายของโครงสรา้ งตรรกะ และแตกต่างของโครงสรา้ งตรรกะท้งั 3 ชนิด 6.4 อา้ งองิ ประจาบท PHONIXFAHAD. (2019). SDLC. Retrieved March, 11, 2019, form https://yeasinsblog.wordpress.com/2017/12/25/sdlc/ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ



112 | P a g e บทที่ 7 การสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอินเทอรเ์ น็ต แผนบรหิ ารการสอน รหสั วิชา : 11-411-101 วชิ า : พ้นื ฐานคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ หนว่ ยท่ี : 7 ชอ่ื หนว่ ยเรยี น : การสอ่ื สาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเทอรเ์ น็ต เวลาทสี่ อน 6 ช่ัวโมง 1. หัวขอ้ ประจาบท 1.1 การสอ่ื สาร 1.2 เครือข่าย 1.3 อินเทอรเ์ นต็ และบรกิ ารออนไลน์ 1.4 สรุปท้ายบท 1.5 แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1.6 อา้ งองิ ประจาบท 2. วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 2.1 อธบิ ายปัจจยั ท่สี าคญั ทีม่ ผี ลตอ่ การขนส่งข้อมลู เช่น แบนด์วิดท์และโพรโทคอล 2.2 อธิบายคาศัพทท์ ่ีใช้ในระบบเครอื ข่าย เชน่ แผ่นการด์ ระบบปฏิบตั ิการ และผจู้ ัดการเครอื ขา่ ย 2.3 อธิบายความแตกต่างชนิดของเครือข่าย เครือข่ายบริเวณเฉพาะท่ี เครือข่ายนครหลวง เครือข่าย บริเวณกว้าง 2.4 บอกความหมายของอินเทอร์เน็ตได้ อธิบายหน้าที่ของ ISP ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ความหมายของโพรโทคอลได้ 2.5 บอกวธิ กี ารเช่ือมต่ออินเทอรเ์ น็ตแบบตา่ ง ๆ ความแตกตา่ งระหว่างเว็บไซตแ์ ละเว็บเพจได้ 2.6 เขา้ ใจความหมายของสังคมออนไลน์ (Social Network) 2.7 ร้จู ักบริการออนไลนต์ า่ ง ๆ บนอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ 3. วิธีการสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท 3.1 บรรยายโดยอาจารย์ผสู้ อน 3.2 นักศึกษาร่วมกันอภปิ รายในชนั้ เรยี น 3.3 ศึกษาเอกสารการสอนบทท่ี 7 3.4 นกั ศกึ ษาเพ่มิ เติมนอกช้นั เรยี น 3.5 นกั ศกึ ษาปฏิบตั กิ ิจกรรมตามท่ีกาหนด 3.6 ใช้ LCD ในการเรยี นการสอน 4. สื่อการเรียนการสอน 4.1 เอกสารประกอบการสอน 5. การวัดผลและประเมนิ ผล 5.1 ประเมนิ ผลกจิ กรรมและแนวตอบคาถามทา้ ยบท นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 7 การส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เนต็ P a g e | 113 บทท่ี 7 การสอ่ื สาร ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเทอรเ์ นต็ 7.1 การสอ่ื สาร เทคโนโลยีการส่ือสารในปัจจุบันได้ถูกผลิตออกมาเพ่ือเพ่ิมความสะดวกสบายให้ผู้ใช้งานอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ตหรือ สมาร์ทโฟน โดยส่วนใหญ่แล้วในปัจจุบันจะใช้งานใน ลักษณะติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ ระหว่างบุคคลหรือแลกเปล่ียนข้อมูลเป็นกลุ่ม แอปพลิเคชันสาหรับการติดต่อสื่อสารก็มีการพัฒนาเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ รองรับการรับส่งข้อมูลทุกรูปแบบ เช่น ข้อมูลเสียง รูปภาพ วิดีโอหรือข้อความ ตัวอย่างของแอปพลิเคชัน ซ่ึงใช้งานอยู่บนระบบเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ ในปจั จุบนั เช่น อีเมล (e-mail) เป็นจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีถือได้ว่ามีประสิทธิภาพ และมีความรวดเร็วในการ รับส่งมากกว่าจดหมายแบบธรรมดาที่รับส่งทางไปรษณีย์ นอกจากน้ีสามารถแนบไฟล์เอกสาร และไฟล์ ชนิดอ่ืน ๆ ได้อีกด้วย ในปัจจุบันน้ีมีผู้ให้บริการอีเมลฟรีหลายเว็บไซต์ เช่น yahoo. com, google. com, Hotmail. com เป็นตน้ อนิ สแตนทเ์ มสเซจจิง (Instant Massaging: IM) เป็นการสง่ ข้อความโต้ตอบกบั สามารถสนทนา ได้ระหว่างบุคคลสองคน หรือเป็นกลุ่มก็ได้ ผ่านอุปกรณ์สมาร์ทโฟนหรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ซึ่งบางแอป พลิเคชันมีความสามารถรองรับการส่งข้อมู ลได้ท้ัง ภาพ เสียง และวีดิโอ ในปัจจุบันมี แอปพลิเคชัน ที่ให้บริการ เช่น Windows live, Skype, Google Hangout, Line, Messenger, WeChat, WhatsApp, Facebook Messenger, Snapchat and Twitter วิดีโอคอนเฟอเรนซ์ (Video conference) คือ การนาเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ กล้องโทรทัศน์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมผสมผสาน เป็นการประชุมท่ีผู้เข้าร่วมประชุมต่างคนละ สถานท่ี ไม่จากัดระยะทางสามารถประชุมร่วมกัน และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ การส่งข้อความ และ ภาพสามารถส่งได้ทั้งทางคู่สายสายโทรศัพท์ความเร็วสูง ไมโครเวฟ สายเคเบิลใยแก้วนาแสง และ ดาวเทียม โดยการใชเ้ ทคนิคบบี อดั ภาพ เสียง กราฟิก และขอ้ ความตา่ ง ๆ ไปยงั สถานท่ปี ระชุมตา่ ง ๆ ทา ให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถเห็นภาพ และข้อความต่าง ๆ เพ่ืออภิปรายร่วมกันได้ ทาให้การประชุม เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ อคี อมเมิร์ซ (Electronic Commerce) หรือการพาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ ส์ เปน็ บริการซอื้ ขายสินค้า ผ่านระบบอนิ เทอร์เน็ต คือ การดาเนนิ ธุรกิจการคา้ หรอื การซ้ือขายบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต็ โดยผู้ ซื้อ (Customer) สามารถดาเนินการ เลือกสินค้า คานวณเงิน ตัดสินใจซื้อสินค้า โดยใช้วงเงินในบัตร เครดิตได้โดยอัตโนมัติ ผู้ขาย (Business) สามารถนาเสนอสินค้า ตรวจสอบวงเงินบัตรเครดิตของลูกค้า รับเงินชาระค่าสินค้า ตัดสินค้าจากคลงั สนิ ค้า และประสานงานไปยังผู้จัดส่งสนิ ค้า กระบวนการดังกล่าว จะดาเนินการเสร็จส้ินบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยส่วนใหญ่จ่ายเงินผ่านบัตรเครดิต (Credit Card) หรือบัตรเดบิต (Debit Card) นอกจากการจ่ายเงินผา่ นอินเทอร์เน็ตแล้วบางเว็บไซต์ขายสินคา้ ใน ประเทศไทยยงั เปิดโอกาสให้ชาระเงนิ ได้หลายรปู แบบ เช่น การโอนเงินเข้าบัญชีผู้ขาย การจา่ ยเงนิ ณ ที่ ทาการไปรษณยี ์ปลายทางเม่ือได้รับสนิ คา้ นชุ ากร คงยะฤทธิ์

114 | P a g e บทที่ 7 การส่ือสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอนิ เทอร์เน็ต 1. การเช่อื มตอ่ การเชื่อมต่อ (Connectivity) การเช่ือมต่ออุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ สมารท์ โฟนเข้ากับระบบเครือข่ายเปน็ แนวความคดิ เพื่อต้องการเช่ือมโยงใหผ้ ู้ใชส้ ามารถเข้าถึงทรัพยากร ในเครือข่ายได้ เช่น ผู้ใช้สามารถใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เช่ือมต่อกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ ในโลก และ สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้อย่างรวดเร็วจากทุก ๆ ท่ี ซึ่งในโลกนี้มีเครื่อง คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จานวนมากท่ีให้บริการข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งในปัจจุบันมีจานวน ของเว็บเซิร์ฟเวอร์ท่ีบริการข้อมูลท่ีสาคัญจานวนหลายแสนเครื่อง เพราะฉะนั้นนอกจากที่ผู้ใช้จะต้องมี ความรู้เก่ียวกับการเช่ือมต่อด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ แล้วผู้ใช้เองก็จะต้องเข้าใจการเข้าถึงเครื่อง คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ให้บริการข้อมูลด้วย ซึ่งอาจจะมีข้ันตอนท่ีซับซ้อนมากกว่าการใช้คอมพิวเตอร์ ส่วนบคุ คลธรรมดา 2. วิวฒั นาการของระบบไร้สาย ระบบไร้สายถือได้ว่าเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญมากที่ได้เปลี่ยนระบบการเชื่อมต่อของ ระบบสื่อสารไปอย่างมาก ทาให้การพัฒนาอุปกรณ์ส่ือสารเพื่อรองรับการปฏิวัติเครือข่ายไร้สายออกมา จานวนมาก เช่น คอมพิวเตอรพ์ กพาแบบแทบ็ เลต็ และสมารท์ โฟนตา่ ง ๆ ซ่ึงไดร้ ับการตอบรับในทุกกลุ่ม ผู้ใช้งานไม่ว่าในกลุ่มการศึกษา กลุ่มผู้ใช้งาน ทางธุรกิจ และกลุ่มผู้ใช้งานอื่น ๆ ในปัจจุบันจานวน สมาร์ทโฟนได้เพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่กลุ่มผู้ให้บริการระบบเครือข่ายไร้สายก็ได้ขยายตัว เพ่มิ ขึ้นอยา่ งรวดเรว็ เพ่อื รองรบั ผใู้ ชง้ านจากทุกสถานท่ี และทกุ เวลา เมื่อนับเวลาย้อนหลังไปไม่นานเครือข่ายไร้สายสามารถใช้งานเฉพาะโทรศัพท์ เคล่ือนท่ีที่สามารถ สื่อสารได้ด้วยเสียงอย่างเดียว แต่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเป็นสมาร์ทโฟน สามารถใช้งานทุกรูปแบบ มี แอปพลเิ คชันท่ที างานบนระบบอนิ เทอรเ์ น็ตมากมาย รปู ท่ี 7.1 ววิ ัฒนาการของระบบไรส้ าย ท่มี า: (Matthew Bohlsen, 2018) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 7 การส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอนิ เทอร์เน็ต P a g e | 115 สามารถส่ือสารด้วยเสียง ภาพ วิดีโอ และข้อความ นอกจากนี้ ยังมีเทคโนโลยีไมโครคอมพิวเตอร์ท่ี ออกมาให้มีขนาดเล็กลง สามารถพกพา และเคล่ือนที่ได้สะดวก สามารถเช่ือมต่อกับอุปกรณ์กระจาย สัญญาณไร้สายตามสถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เม่ือระบบไร้สายได้พัฒนาให้มีความเร็วสูงทา ให้รองรับการทางานเป็นกลุ่มได้ เช่น การแชร์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ภาพ วิดีโอ หรือไฟล์การนาเสนอ จากอดีตสู่ปัจจุบันเทคโนโลยีไรส้ ายอานวยความสะดวกสบายแก่ผู้ใชง้ าน และประกอบกับประสิทธิภาพ ของเทคโนโลยีไร้สายมีมากขึ้นผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวยอมรับว่าเป็นยุคของการปฏิวัติระบบเทคโนโลยี เครือขา่ ยสายไรส้ าย 3. ระบบการส่อื สาร ระบบการสื่อสาร (Communication Systems) น้ันจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยองค์ประกอบหลาย อย่าง ทั้งตัวส่ง ตัวรับ และตัวกลางองค์ประกอบของการสื่อสารท้ังหมด จะต้องอยู่ภายใต้องค์กรที่คอย กาหนดมาตรฐานเพื่อใหส้ ามารถทาการส่ือสารกนั ได้ระหว่างผูส้ ่ง และผรู้ บั โดยทั่วไปมีการแบ่งรูปแบบการสื่อสารออกเป็นสองลักษณะ คือ การสื่อสารแบบแอนะล็อก (Analog Communication) และการส่ือสารแบบดจิ ิทัล (Digital Communication) ซึง่ การสอื่ สารโดย ปกติน้ันจะเกิดข้ึนระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกัน หรือระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต้นทางกับอุปกรณ์สื่อสาร ปลายทาง เชน่ การสนทนาพูดคุยกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ โดยมีอากาศหรือพาหะอน่ื ๆ เป็นตวั กลาง ในการนาส่งข้อมูลเสียงหรือการติดต่อส่ือสารกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางกับเคร่ือง คอมพิวเตอร์ปลายทาง โดยมีสายสัญญาณเป็นตัวกลาง ดังนั้นสรุปได้ว่าองค์ประกอบหลักในการสื่อสาร ข้อมลู นั้นจะประกอบดว้ ยส่วนตา่ ง ๆ อุปกรณ์ส่งและรับข้อมูล (Sending and Receiving Devices) สาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์และ อปุ กรณ์สือ่ สารพเิ ศษท่ที าหน้าทใ่ี นการส่ง และรับขอ้ มูลสารสนเทศ หรอื คาสง่ั ต่าง ๆ อปุ กรณเ์ ช่ือมตอ่ (Connection devices) อุปกรณ์น้ีจะทาหนา้ ทเ่ี ช่ือมระหว่างอุปกรณ์รับและส่ง ข้อมูล และช่องทางส่ือสาร โดยจะทาหน้าท่ีในการแปลงข้อความท่ีส่งออกให้อยู่ในรูปแบบท่ีตกลงกันไว้ แลว้ สง่ ผา่ นชอ่ งทางสอื่ สารออกไป และทาหนา้ ท่ีสลบั กันในฝงั่ รับข้อมูล การกาหนดรูปแบบในการขนส่งข้อมูล (Data Transmission Specification) เป็นกฎหรือ ระเบียบวธิ ขี องการสื่อสารร่วมกันระหว่างอุปกรณท์ ่ีใช้สง่ และรบั ข้อมลู เพือ่ ความถูกต้อง และแมน่ ยาใน การส่งข้อมูลผ่านช่องทางส่อื สาร ช่องทางสื่อสาร (Communication Channel) เป็นส่ือท่ีใช้ในการส่งข้อมูลโดยสื่อน้ีจะเป็น ลักษณะทางกายภาพแบบมีสายหรือแบบไร้สายก็ได้ เช่น ถ้าต้องการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ไปหา เพื่อนก็จะต้องเขียน และส่งข้อความโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพราะฉะน้ันเคร่ืองคอมพิวเตอร์ก็ถือว่าเป็น อุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง ข้อมูลท่ีออกจากคอมพิวเตอร์ก็จะถูกส่งไปยังอุปกรณ์เช่ือมต่อ คือ เราเตอร์ ซึ่ง ทาหน้าที่ในการแปลง และจัดรูปแบบข้อความ และส่งข้อมูลไปกับช่องทางสื่อสาร เช่น สายไฟเบอร์ ออฟติก ก็จะนาพาข้อมูลไปถึงปลายทาง โดยอุปกรณ์เชื่อมต่อท่ีปลายทางก็จะแปลงข้อมูลกลับ และ ส่งไปยงั คอมพิวเตอร์ปลายทางเพ่ือแสดงผลข้อมลู กระบวนการการจัดรปู แบบข้อมลู การแปลงรปู ข้อมูล ไปกลับในการส่งผ่านช่องสัญญาณนั้น ก็คือ การกาหนดรูปแบบในการขนส่งข้อมูล ส่วนเครื่อง คอมพิวเตอรป์ ลายทางทร่ี บั และแสดงผลขอ้ มูลนนั้ เรียกวา่ อปุ กรณ์รับสง่ ขอ้ มูลปลายทาง นุชากร คงยะฤทธ์ิ

116 | P a g e บทท่ี 7 การส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเทอร์เน็ต รูปท่ี 7.2 องค์ประกอบของการสื่อสาร ทม่ี า: (สมชาติ แผอ่ านาจ, 2560) 7.1.1 ชอ่ งทางการสือ่ สาร (Communication Channels) ช่องทางการสื่อสาร เป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญของระบบการส่ือสาร เพราะข้อมูลจะต้องอาศัยช่อง ทางการสื่อสารในการเดินทางจากผู้ส่งไปถึงผู้รับ ซ่ึงไม่ว่าจะใช้อุปกรณ์ชนิดไหนในการส่งหรือรับก็ตาม ก็จะต้องใช้ช่องทางการสื่อสารช่องทางการสื่อสารจะมีระยะทางยาวหรือส้ันก็ขึ้นอยู่กับผู้ส่ง และผู้รับอยู่ ห่างกันแค่ไหน โดยทั่วไปแล้วช่องทางการสื่อสารในปัจจุบันสามารถแบ่งออกได้สองชนิด คือ ช่องทาง สื่อสารที่เช่ือมต่อด้วยสายสัญญาณ และช่องทางการสื่อสารท่ีเชื่อมต่อแบบไร้สาย อย่างไรก็ตามใน สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เทคโนโลยีการส่ือสารส่วนใหญ่ต้องอาศัยช่องทางการสื่อสารท้ังสองชนิดเพื่อ เช่อื มต่อเข้าด้วยกนั เป็นเครือขา่ ยขนาดใหญ่ 1. ชอ่ งทางสอื่ สารทเ่ี ชื่อมต่อดว้ ยสายสัญญาณ ช่องทางสื่อสาร ซ่ึงเปรียบเสมือนถนนในปัจจุบันสามารถแบ่งได้เป็นสองชนิดด้วยกัน คือ ช่อง ทางการส่ือสารทางกายภาพ ที่เชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณจะสามารถมองเห็นได้ ส่วนชนิดท่ีสองนั้นเป็น ช่องทางการสอื่ สารที่เป็นแบบไร้สาย 2. ชอ่ งทางการส่อื สารทางกายภาพ ช่องทางการสื่อสารทางกายภาพก็จะมีสายสัญญาณหลายชนิดจะเลือกใช้ชนิดใดก็ข้ึนอยู่กับ คุณลักษณะที่เหมาะสมกับงาน และสภาพแวดล้อมนั้น ๆ โดยทั่วไปสายสัญญาณที่ใช้ในการเช่ือมต่อ ปจั จุบนั มดี งั ตอ่ ไปนี้ 2.1 สายตีเกลียวคู่ (Twisted Pair) เป็นสายเคเบิลที่ได้รับความนิยมมากท่ีสุดในปัจจุบัน ใน ด้านการใช้งานภายในระบบเครือขา่ ยเฉพาะที่ เนอ่ื งจากสายเคเบลิ ประเภทน้ีมีราคาถูกสามารถใช้งานได้ กว้างขวาง และรองรับการทางานได้กับอุปกรณ์การสื่อสารหลากหลายชนิด รองรับความเร็วในการส่ง สัญญาณที่ค่อนข้างสูง ทั้งยังสามารถติดต้ังได้ง่ายใช้เครื่องมือท่ีราคาไม่แพงในการติดตั้ง และสะดวก รวดเร็ว สายตีเกลียวคู่สามารถแบ่งได้ตามประเภท เช่น Cat5, Cat6, Cat7 แต่สายตีเกลียวคู่ยังมี ข้อจากัดเรื่องระยะทาง ส่วนใหญ่แล้วจะใช้ติดตั้งสาหรับเครือข่ายระยะใกล้ไม่เกิน 100 เมตรขึ้นอยู่กับ อุปกรณท์ ร่ี ับส่งสาย นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 7 การสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอินเทอร์เนต็ P a g e | 117 2.2 โคแอกซ์เชยี ล (Coaxial Cable) เปน็ สายสื่อสารขนาดกลางท่ีมีฉนวนทีด่ ีกวา่ สายตีเกลียวคู่ ทาให้ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วที่สูงกว่า และระยะทางท่ีไกลกว่า โดยท่ัวไปแล้วสายโคแอกซ์เชียลมี 2 ชนิด คือ สายสัญญาณโคแอกซเ์ ชยี ลทม่ี ีความต้านทาน 50 โอหม์ (Ohms) ซงึ่ เปน็ สายสัญญาณแบบแถบ ความถี่ฐาน (Baseband) ใช้สาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิทัล และสายสัญญาณโคแอกซ์เชียล ที่มีความ ต้านทาน 75 โอหม์ ใช้ในการส่งสัญญาณของระบบโทรทัศน์ 2.3 เคเบิลเส้นใยนาแสง (Fiber Optic Cable) เป็นเคเบิลท่ีมีขนาดของแกนกลางเล็กที่สุดใน บรรดาเคเบิลทั้งหมด จะมีขนาดประมาณเท่ากับเส้นผมของมนุษย์ แต่กลับมีประสิทธิภาพในการส่ง ข้อมูลได้สูงที่สุด ซึ่งเคเบิลเส้นใยนาแสงจะมีวิธีการส่งข้อมูลที่แตกต่างไปจากสายตีเกลียวคู่ และสายโค แอกซ์เชียลทใ่ี ช้สญั ญาณไฟฟา้ ในการส่งข้อมูลแต่การส่งข้อมูล การส่งแสงเลเซอร์ หรือแอลอดี ใี ห้เคล่ือนท่ี ไปในท่อแก้ว โดยอาศัยหลักการสะท้อนกลับหมดของแสง ตามกฎทางฟิสิกส์ (Physics) เคเบิล เส้นใยนาแสงแบบติดตั้งภายนอกอาคารเมื่อมองทางกายภาพจะมีลักษณะคล้ายกับสายโคแอกซ์เชียล แต่จะต่างกนั ตรงที่เคเบิลเสน้ ใยนาแสงไม่มีการหุ้มด้วยตวั นารอบแกนที่ทาหน้าทป่ี ้องกนั สัญญาณรบกวน โครงสรา้ งของใยแกว้ นาแสงเปน็ แกนใยแก้วยาวตลอดสายรองรบั สาหรับเปน็ ทางเดินทางของคล่นื แสง ท่ี ปราศจากคลืน่ รบกวน สายตเี กลียวคู่ โคแอกซ์เชยี ล เคเบิลเส้นใยนาแสง (twisted pair) (coaxial cable) (fiber optic cable) รปู ท่ี 7.3 เคเบิลเส้นใยนาแสง ทีม่ า: (Unshielded Twisted Pair Cable, 2010) (PHAT SATELLITE INTL, 2016) และ (Molex Premise Networks Single Mode Fibre Optic Cable 1m, 2015) 3. ชอ่ งทางการส่ือสารที่เชอ่ื มต่อแบบไรส้ าย ช่องทางส่ือสารที่เชื่อมต่อแบบไร้สาย จะไม่สามารถมองเห็นได้ทางกายภาพ เนื่องจากข้อมูลจากผู้ ส่งไปยังผู้รับ จะกลายเป็นสัญญาณท่ีกระจายไปทางอากาศ ระยะทางที่ข้อมูลสามารถเดินทางไปได้นั้น ขึ้นอยู่กับชนิดของเครือข่ายไร้สาย เพราะเครือข่ายแต่ละชนิดมีความสามารถในการรับส่งข้อมูล ระยะทางที่ต่างกัน และเหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มท่ีติดตั้งต่างกัน ตัวอย่างของการเชื่อมต่อแบบไร้สาย มีดังตอ่ ไปน้ี 3.1 การเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายบลูทูธ (Bluetooth) การเช่ือมต่อแบบบลูทูธน้ันเป็นการ เช่ือมต่อแบบระยะทางใกล้ ๆ ไม่เกิน 33 ฟุต การใช้งานเหมาะสมสาหรับการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ ตา่ ง ๆ ภายในบา้ น หรอื ทีท่ างาน เชน่ ตอ้ งการส่งข้อมลู จากแทบ็ เลต็ ไปยงั เครอื่ งโทรศพั ท์เคล่ือนท่ีหรือส่ง นชุ ากร คงยะฤทธิ์

118 | P a g e บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เนต็ เพลงจากโทรศัพท์เคล่ือนที่ไปแสดงผลที่โทรทัศน์ หรือสั่งพิมพ์งานจากแท็บเล็ตไปบลูทูธช่วยให้อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนกิ สส์ ามารถเชือ่ มต่อกนั ได้โดยไมต่ ้องใช้สายสัญญาณ 3.2 การเช่ือมต่อผ่านเครือข่ายวายฟาย (Wireless Fidelity: Wi-Fi) เป็นระบบเครือข่ายที่ต้อง มีอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Wireless Access Point) ท่ีมีความสามารถแพร่กระจายสัญญาณได้ใน ระยะใกล้ ๆ ไมเ่ กนิ 150 เมตร เม่ือนาอุปกรณ์ที่รองรับ Wi-Fi เชน่ คอมพวิ เตอร์ หรอื สมารท์ โฟนเข้าใน บริเวณที่รองรับสญั ญาณก็สามารถเชอ่ื มต่อกับอุปกรณ์กระจายสัญญาณได้ แต่อุปกรณ์กระจายสัญญาณ บางแห่งจะต้องใช้รหัสผ่านในการเช่ือมต่อ อุปกรณ์กระจายสัญญาณไวไฟร์ท่ีมีอยู่ในปัจจุบันมาตรฐาน ตา่ งกันแต่ละมาตรฐานจะมีความเรว็ ต่างกัน 3.3 การเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายไมโครเวฟ (Microwave) เครือข่ายไมโครเวฟเป็นการสื่อสารที่ ใช้ความถี่สูงย่านไมโครเวฟ และต้องส่งสัญญาณระหว่างสถานีส่ง และรับในลักษณะเป็นแนวเส้นตรงใน ระยะทางไม่เกิน 50 กิโลเมตรท่ีปราศจากส่ิงกีดขวาง สถานีส่ง และรับจะมีจานไมโครเวฟทาหน้าที่ส่ง และรับสัญญาณ บางแห่งมีการติดต้ังสถานีไมโครเวฟไว้บนตึกสูงเพื่อไม่ให้มีสิ่งกีดขวางปิดก้ันสัญญาณ ปัจจุบันน้ีไมโครเวฟมีการใช้น้อยลงเพราะสายเคเบิลใยแก้วนาแสงราคาถูกลง แต่ในสถานท่ีท่ีไม่สามารถ ติดต้ังสายเคเบลิ ได้ก็ยงั คงมใี ชง้ าน 3.4 การเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายวายแมกซ์ (Worldwide Interoperability of Microwave Access: WiMAX) คือ การออกแบบโครงสร้าง และอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายที่ได้ถูกพัฒนามาจาก Wireless LAN หรือ Wi-Fi ผลดีคือ ระยะทาการที่ครอบคลุมมากกว่าเครือข่ายแบบ Wireless LAN หลายเทา่ แถมยังได้ความเร็วในการใหบ้ ริการสูงเทียบเท่ากัน จึงทาให้ สามารถเชอ่ื มต่อระหว่างตึกต่าง ๆ ช่วยแกป้ ัญหาเรอ่ื งขอ้ จากัดในเร่ืองของภูมปิ ระเทศ 3.5 การเช่ือมต่อผ่านแอลทีอี (LTE-Long Term Evolution) เป็นเทคโนโลยีแบบไร้สายชนิด ใหม่ท่ีใช้ในการสื่อสารของระบบโทรศัพท์เคล่ือนท่ี 4G โดยมเี ปา้ หมายในการออกแบบให้สามารถส่งผ่าน ข้อมูลได้มากขึ้น และเร็วขนึ้ ในระบบ 4G LTE สามารถดาวนโ์ หลดได้สงู ถึง 100Mbps ความเร็วอัปโหลด 50Mbps โดยมีแบนดว์ ทิ ธอ์ ย่ใู นช่วงระหวา่ งช่วง 1.4 เมกกะเฮิรต์ ถงึ 20 เมกกระเฮริ ์ต 3.6 การเช่ือมต่อผ่านเครือข่ายดาวเทียม (Satellite) เป็นการสื่อสารโดยใช้ดาวเทียมทาการ โคจรอยู่เหนือพ้นื โลก ประมาณ 22,000 ไมล์ ทาหน้าที่เป็นสถานสี ่ง และสถานีรับ โดยมีสถานีภาคพ้นื ดิน ในการควบคุมดาวเทียมดงั กล่าว ดาวเทียมสามารถรับ และส่งข้อมูล ได้เป็นจานวนมาก ถ้าหากมีการสง่ ข้อมูลจากพ้ืนดินไปยังดาวเทียมจะเรียกว่า อับลิงค์ (Uplink) ส่วนการรับข้อมูลจากดาวเทียมสู่ ภาคพ้ืนดินเรียกว่า ดาวน์ลิงค์ (Downlink) เทคโนโลยีที่อาศัยดาวเทียมในการทางานคู่กัน คือ เทคโนโลยีจพี เี อส (Global Positioning System: GPS) เปน็ เทคโนโลยที ที่ าให้ทราบตาแหน่งบนพ้นื โลก เช่น มีการติดต้ังอุปกรณ์จีพีเอสไว้ในรถ และทางานร่วมกับแผนท่ีทาให้ผู้ใช้ก็สามารถขับรถไปตามระบบ นาทางได้ หรือถ้าหากมีผู้ต้องการรู้ว่ารถคันดังกล่าวขับไปตาแหน่งใดคนก็สามารถตรวจสอบได้ โดย นาไปใช้งานกับบริษัทขนสง่ สนิ ค้าเพื่อติดตามพฤติกรรมของคนขับรถได้ และในปัจจุบันมีการนาอุปกรณ์ จีพีเอสมาตดิ ตงั้ ในระบบโทรศัพท์แบบสมารท์ โฟน นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 7 การส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เน็ต P a g e | 119 7.1.2 อปุ กรณ์รับสง่ ขอ้ มูล เมื่อไม่นานมาน้ีการเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือใช้งานอินเทอร์เน็ตก็จะต้องเช่ือมต่อเข้ากับ สายโทรศัพทซ์ ง่ึ ถูกออกแบบมาเพ่ือรองรับการใชง้ านการส่ือสารดว้ ยเสียง ซงึ่ เปน็ สัญญาณแอนะล็อก แต่ สัญญาณท่ีเข้าออกเครื่องคอมพิวเตอร์น้ันจะเป็นดิจิทัล เม่ือตัวรับส่งข้อมูล และช่องทางการส่ือสาร รองรับสัญญาณต่างกันจึงตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณจากอุปกรณ์รับสง่ ใหเ้ ข้ากับระบบของช่อง ทางการส่ือสาร ซึง่ อปุ กรณ์ดงั กลา่ วเรยี กว่า โมเดม็ ชนิดของการให้บริการ (Connection Service) ในปัจจุบันมีผู้ให้บริการ (Provider) รายใหม่ จานวนมากไดน้ าเทคโนโลยีเครือข่ายใหม่ ๆ มาใหบ้ ริการโดยเนน้ ท่ีความเรว็ และราคาเป็นปัจจัยสาคัญผู้ ให้บริการได้ลงทุนทางด้านโครงร่างของเครือข่าย เช่น เดินสายเคเบิลไปถึงบ้านของลูกค้าหรือติดต้ัง ระบบไร้สายในสถานที่ท่ีลูกค้าสามารถติดต่อกับเครือข่ายได้ ในขณะเดียวกันผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์ บ้านรายเก่าที่มีโครงข่ายสายสัญญาณโทรศัพท์บ้านไปถึงบ้านลูกค้าอยู่แล้ว เช่น TOT ก็ให้บริการ อินเทอร์เน็ตควบคู่ไปกับระบบโทรศัพท์ด้วยโดยการติดต้ังอุปกรณ์ชนิดดีเอสเอลเข้าไปท่ีปลายทางทาให้ เพิ่มความเร็วของอินเทอร์เน็ตข้ึน ซึ่งถือได้ว่าเป็นระบบที่ได้รับความนิยมสูง และค่าใช้จ่ายไม่สูงมาก เพราะผู้ให้บริการยังใช้โครงข่ายสายสัญญาณเดิมได้ ซ่ึงต่อไปนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดชนิดของการ ใหบ้ ริการเครอื ข่ายต่าง ๆ 1. ดเี อสแอล (Digital Subscriber Lind: DSL) เปน็ เทคโนโลยีที่อุปกรณ์ DSL Modem เชอื่ มต่อกับสายโทรศพั ทบ์ ้าน และเพม่ิ ความเร็วให้สูงขน้ึ มี พอร์ท RJ-11 เชอื่ มกับสายโทรศพั ท์ และมพี อร์ทอินเทอร์เน็ตเช่ือมต่อกบั คอมพิวเตอร์ นอกจากน้รี นุ่ ใหม่ ยงั สามารถกระจายสญั ญาณแบบไร้สายไดซ้ ง่ึ มีหลายชนดิ เช่น VDSL, ADSL เปน็ ตน้ 2. บรกิ ารแบบใช้สายเคเบิล (Cable) เป็นเทคโนโลยีท่ีใช้สายสัญญาณร่วมกับเคเบิลทีวีตามบ้านเรือน ซึ่งภายในสายสัญญาณเพียงเส้น เดียวสามารถส่งสัญญาณทีวี อนิ เทอร์เน็ต โทรศพั ท์ ไปพรอ้ ม ๆ กนั ได้ มีอุปกรณ์แยกสัญญาณปลายทาง และมีความเร็วสูงกว่าระบบ DSL สายเคเบิลดังกล่าวมีหลายชนิด เช่น สายโคแอกซ์เชียลสายเคเบิลใย แก้วนาแสง ระบบดังกล่าวมีสถานีควบคุมส่งสัญญาณ และทีมงานดูแลสายเคเบิล ระบบบริการน้ีนิยม ให้บริการในตัวเมืองใหญ่ ๆ ที่มีจานวนผู้ใช้บริการจานวนมาก เน่ืองจากค่าใช้จ่ายของสายสัญญาณมี ราคาสงู ในปจั จุบันสามารถส่งสัญญาณอินเทอรเ์ น็ตรว่ มกนั กับสัญญาณเคเบิลทวี ไี ดอ้ ีกดว้ ย 3. ดาวเทยี ม (Satellite) เป็นบริการที่รองรับสถานที่ที่สายสัญญาณโทรศัพท์ และสายเคเบิลเข้าไปไม่ถึงเหมาะสาหรับ หมู่บ้านหรือเกาะแก่งแหล่งทุรกันดารท่ีต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การเช่ือมต่อกับดาวเทียมจะต้อง ติดต้ังจานดาวเทียมเพื่อรับสัญญาณ ในส่วนของความเร็วในการเชื่อมต่อน้ันข้ึนอยู่กับราคา และ ประสทิ ธิภาพของการรับสง่ ขอ้ มลู ก็จะขึน้ อยู่กับภูมิอากาศ 4. เซลลูล่าร์ (Cellular) เป็นระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากผู้ใช้ส่วนใหญ่ต้องการไร้ขีดจากัดของ สถานท่ีในการเชื่อมต่อ และการบริการอินเทอร์เน็ตที่มีความเร็วสูง และประจวบเหมาะกับเทคโนโลยี สมาร์ทโฟน หรือเครือ่ งคอมพิวเตอร์แบบพกพาสมยั ใหม่สามารถรองรบั การติดตัง้ ระบบ 3G และ 4G ได้ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

120 | P a g e บทที่ 7 การสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอนิ เทอรเ์ นต็ 7.1.3 การขนสง่ ขอ้ มลู (Data Transmission) ในกระบวนการส่ือสารมีปัจจัยท่ีสาคัญต่อการขนส่งข้อมูล ซ่ึงปัจจัยท่ีสาคัญประกอบด้วย 2 อย่าง คือ แบนดว์ ิดท์ และโพรโทคอล 1. แบนดว์ ดิ ท์ (Bandwidth) เป็นการวัดความกว้าง หรือความจุของช่องทางสื่อสารว่าสามารถส่งข้อมูลได้มากน้อยเพียงใดต่อ หนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งมีหน่วยของแบนด์วิดท์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น เมกะบิตต่อวินาที (Megabit per Second: Mbps) หรือ กิกะบิตต่อวินาที (Gigabit per Second: Gbps) ถ้าเป็นการส่งข้อมูลที่เป็น ขอ้ ความธรรมดาก็สามารถใชง้ านกับแบนด์วิดท์ท่ีแคบได้ แต่ถา้ เปน็ การส่งข้อมลู ท่ีอยู่ในรปู แบบของภาพ หรือวิดีโอก็จะต้องใช้แบนด์วิดท์ที่กว้าง การเลือกขนาดความกว้างของแบนด์วิดท์ก็ข้ึนอยู่กับข้อมูลที่ ต้องการรับส่ง แบนด์วิดท์ที่กว้างก็จะมีราคาสูงกว่าแบนด์วิดท์ที่แคบ ชนิดของแบนด์วิดท์สามารถแบ่ง ออกไดส้ ่ีชนิด ดังต่อไปน้ี 1.1 วอยซแ์ บนด์ (Voice Band) เปน็ แบนดว์ ิดทท์ ี่มคี วามจุแคบทใ่ี ชส้ าหรับการสง่ ข้อมูลสาหรับ เสียงตามมาตรฐานโทรศัพท์บ้าน ซึ่งนิยมใช้เช่ือมต่อโมเดมกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติของวอยซ์ แบนด์เหมาะสมกบั การสง่ ข้อมลู ทีเ่ ปน็ ข้อความ (Text Document) 1.2 มีเดียมแบนต์ (Medium Band) เป็นแบนด์วิดท์ท่ีใช้สาหรับสายเช่าพิเศษ เพ่ือเชื่อมต่อ ระหวา่ งมินคิ อมพิวเตอร์กับเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ หรือใชเ้ ชอื่ มตอ่ ระหว่างสาขาทอ่ี ยู่หา่ งไกลออกไป เช่น ห้างสรรพสนิ ค้าตา่ งจงั หวัดกบั สานักงานใหญ่หรือต้เู อทเี อม็ เชื่อมต่อกับศนู ยค์ อมพวิ เตอรข์ องธนาคาร 1.3 บรอดแบนด์ (Broadband) เป็นแบนด์วิดท์ท่ีใช้ในการส่งข้อมูลสาหรับอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง เช่น เอดีเอสแอล เคเบิลโมเด็ม และดาวเทียม เหมาะสาหรับการรองรับการรับส่งข้อมูลทุก รูปแบบ เชน่ ข้อความ ภาพ วิดีโอ และเสยี ง ซงึ่ บรอดแบนด์เป็นทตี่ อ้ งการของการสอื่ สารในปจั จบุ ัน 1.4 เบสแบนด์ (Baseband) เป็นแบนด์วิดท์กว้างท่ีใช้ในการส่งข้อมูลจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ไปยังเคร่ืองคอมพิวเตอร์อีกเคร่ืองหนึ่งที่อยู่ใกล้กันด้วยความเร็วสูง เหมาะสาหรับการรับส่งข้อมูลแบบ เคร่ืองตอ่ เครื่องเท่าน้ัน และไมต่ อ้ งการให้ขอ้ มลู กระจายไปบนเครือข่ายอนื่ ๆ เชน่ การขนถ่ายข้อมูลผ่าน พอร์ทขนาน หรือ พอร์ทอนุกรม แต่ในปัจจุบันไม่นิยมใช้เพราะมีสื่ออย่างอื่นในการขนถ่ายข้อมูล เช่น Handy Drive และ External Hard Disk 2. โพรโทคอล (Protocol) การรับ และส่งข้อมูลให้ประสบความสาเร็จอุปกรณ์รับส่งข้อมูลจะต้องปฏิบัติตามข้อตกลงของการ ขนส่งข้อมลู โดยเรียกข้อตกลงนีว้ ่าโพรโตคอล (Protocol) โพรโตคอลตามมาตรฐานของอนิ เทอร์เน็ต คือ ทีซีพี / ไอพี (Transmission Control Protocol / Internet Protocol: TCP / IP) คุณลักษณะ ของโพรโทคอลชนิดน้ีจะส่วนเกี่ยวข้องกับ (1) การระบุอุปกรณ์รับส่ง (2) การเปลี่ยนรูปแบบข้อมูล ระหว่างการรบั สง่ การระบุที่อยู่อุปกรณ์รับส่ง คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟนหรืออุปกรณ์รับส่งอื่น ๆ ที่เชื่อมต่ออยู่บน เครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ จะมที ี่อย่ซู ่ึงเปน็ หมายเลข และจะตอ้ งไม่ซา้ กันท่เี รยี กว่า ไอพีแอดเดรส (Internet Protocol Address: IP Address) ซ่ึงคล้ายกับเลขที่บ้าน ท่ีไปรษณีย์ใช้ในการอ้างที่อยู่ในการส่ง จดหมาย แต่สาหรับอินเทอร์เน็ตจะใช้ไอพีแอดเดรสเป็นที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในการติดต่อหรือ การรับส่งอีเมลหรือใช้บอกท่ีอยู่ของเว็บไซต์ แต่เน่ืองจากไอพีแอดเดรสยากแก่การจดจา จึงมีการพัฒนา นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 7 การส่ือสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เนต็ P a g e | 121 ระบบเพ่ือเปลี่ยนไอพีแอดเดรสเป็นชื่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ระบบนี้เรียกว่าระบบบริการโดเมนหรือ ดเี อน็ เอส (Domain Names System: DNS) รปู ที่ 7.4 การทางานของ DNS ทม่ี า: (erakii, 2562) การเปล่ยี นรปู แบบขอ้ มลู ระหว่างการรับส่ง ข้อมูลทถ่ี ูกส่งไปในอนิ เทอร์เนต็ จะถูกสง่ ตอ่ ไปยงั ระบบ เครือข่ายหลายเครือข่ายซึ่งก่อนที่จะส่งข้อมูลออกไปอุปกรณ์รับส่งจะต้องถูกเป ลี่ยนรูปแบบหรือตัด ขอ้ ความเป็นชดุ สนั้ ๆ เรียกวา่ แพ็กเกต็ (Packet) แต่ละแพ็กเก็ตจะถูกแยกออกจากกนั และสง่ ออกไปยัง อินเทอร์เน็ตโดยจะถูกส่งไปในเส้นทางท่ีแตกต่างกันแต่มีปลายทางเดียวกัน และเม่ือถึงปลายทาง แพก็ เก็ตจะรวมกลับมาเหมอื นเดิมตามลาดับทีถ่ ูกต้อง 7.2 เครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ต้งั แต่สองเคร่ืองขึ้นไปเข้าดว้ ยกนั เพอ่ื แลกเปล่ยี นสารสนเทศ และใช้ทรัพยากรคอมพวิ เตอร์ ร่วมกัน โดยผู้ใช้สามารถเชื่อมตอ่ เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครอื ข่ายได้หลาย ๆ รูปแบบตามความต้องการ และเหมาะสมกบั การใช้งาน และสภาพแวดล้อม รปู ที่ 7.5 เครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบตา่ ง ๆ ทมี่ า: (รายวิชาการสอ่ื สารข้อมลู และเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์, 2560) และ (ออกแบบ ติดต้งั ระบบ Network แก้ไขปัญหาสายแลน เทพารักษ์, 2560) นชุ ากร คงยะฤทธิ์

122 | P a g e บทที่ 7 การส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเทอรเ์ น็ต 7.2.1 ชนิดของเครือขา่ ย จากปัจจัยต่าง ๆ ของระบบเครือข่าย เช่น ช่องทางการสื่อสาร สายเคเบ้ิล ระบบไร้สาย และ อุปกรณ์เชื่อมต่อระบบเครือข่าย ก็เป็นที่มาชนิดของเครือข่าย เช่น อุปกรณ์บางชนิดสามารถเชื่อมต่อได้ อยู่ในอาคารเดียวกันหรือสายเคเบิลบางชนิดสามารถเชื่อมต่อได้ความยาวไม่เกินหนึ่งร้อยเมตรหรือช่อง ทางการสื่อสารบางชนิดเชื่อมต่อได้ไกลระดับประเทศ จากคุณลักษณะต่าง ๆ ของการเชื่อมต่อเพื่อให้ ตอบสนองตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน จึงสามารถแบ่งชนิดเครือข่ายได้ตามขนาดของการเชื่อมต่อ โดยทัว่ ไปมีอยู่ 3 ชนิด คอื เครือขา่ ยบริเวณเฉพาะท่ี เครือข่ายบริการนครหลวง และเครอื ขา่ ยบริการแบบ กวา้ ง ทกุ ชนดิ สามารถเช่ือมตอ่ แบบใชส้ ายเคเบิล และเชื่อมต่อแบบไรส้ าย รูปที่ 7.6 เปรยี บเทียบชนิดของเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ท่ีมา: (เครือขา่ ยเฉพาะท่ี, 2560) 1. เครอื ข่ายบรเิ วณเฉพาะท่ี เครือข่ายบริเวณเฉพาะที่ (Local Area Network: LAN) หรือแลน หมายถึงเครือข่าย ที่ประกอบด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงเช่ือมต่อกันภายในอาคารเดียวกัน หรือบริเวณ ใกล้เคียงกัน ระยะทางในการเชื่อมต่อระหว่างจุดไม่ไกลมากนัก และมีการจัดการระบบเครือข่ายโดย หน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึงเท่าน้ัน เช่น การเช่ือมต่อภายในบริษัท หรือภายในมหาวิทยาลัย มีการ เชอื่ มต่อเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันมีการแบง่ ทรัพยากรรว่ มกัน เชน่ หนว่ ยความจาสารองหรือ เคร่ืองพิมพ์ ข้อดีของเครือข่ายแบบแลน คือ ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกันได้ และมีความ ยืดหยุ่นในการเพ่ิมอุปกรณ์เข้าไปในเครือข่าย เช่น ถ้ามีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 4 เคร่ือง สามารถใช้ เครือ่ งพมิ พ์เลเซอร์ และเคร่ืองใหบ้ รกิ ารไฟลร์ ว่ มกัน ซ่ึงฮารด์ แวรเ์ หลา่ น้ีมีราคาแพง และสามารถเชอ่ื มต่อ อุปกรณ์ อื่น ๆ เพิ่มเข้าไปในเครือข่ายแลนได้ เช่น มินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์หน่วยความจาสารองนอกจากนี้อาจจะต้องใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า เกตเวย์ (Gateway) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอรเ์ น็ต P a g e | 123 หรือเน็ตเวิร์กเกตเวย์ (Network Gateway) เพ่ือเชื่อมไปยังเครือข่ายแลนอื่น ๆ หรือเชื่อมต่อไปยัง เครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ในขณะท่ีเครือข่ายแลนมีการใช้งานมากข้ึนในองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ตามบ้านพักอาศัยหรือ หอพักก็มีการติดต้ังเครือข่ายแลนเพ่ือใช้งานเรียกว่า ระบบเครือข่ายภายในบ้าน (Home Network) สาหรับการใชง้ านทรัพยากรรว่ มกัน เชน่ เครื่องพิมพ์ การเชือ่ มตอ่ เครือข่ายภายในบา้ นนน้ั มีการเชื่อมต่อ ได้หลายวิธี เชน่ เชื่อมต่อสายโดยใชส้ ายโทรศพั ท์ สายเคเบิล บลูทธู และแบบไร้สาย เครือขา่ ยแลนแบบ ไร้สาย (Wireless LAN: WLAN) จะใช้สัญญาณความถี่วิทยุในการรับส่งข้อมูลระหว่างเคร่ือง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สาย (Wireless Access Point) ซึ่งจะทาหน้าที่เป็นจุด ศูนย์กลางเครือข่ายเชื่อมต่อกับเคร่อื งคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ท่ีรองรับระบบไร้สายเพ่ือเชอ่ื มต่อเข้ากบั ระบบเครือข่าย ในปัจจุบันมีจุดบริการเครือข่ายไร้สายจานวนมากติดตั้งอยู่ไม่ว่าจะเป็นร้านอาหาร สถานที่ราชการ มหาวิทยาลัย สนามบิน หรือสถานท่ีสาธารณะ ซ่ึงจะรู้จักกันในชื่อ ฮอตสปอต (Hotspot) และจะใช้เทคโนโลยแี บบวายฟาย (Wi-Fi) ซ่ึงท้งั บริการฟรี และแบบสมคั รสมาชกิ 2. เครือขา่ ยนครหลวง เครือข่ายบริเวณนครหลวง (Metropolitan Area Network: MAN) หรือแมน เป็นเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่กว่าเครือข่ายแลน มักจะใช้เช่ือมต่อระหว่างอาคารหรือใช้เชื่อมต่อภายใน ตาบล อาเภอ หรือจังหวัดเดียวกัน โดยมีระยะทางในการเชื่อมเครือข่ายประมาณ 160 กิโลเมตร ส่วน ใหญ่เป็นเชื่อมต่อจากระบบแลนภายในองค์กร บริษัทหรือหน่วยงานต่าง ๆ เช่ือมต่อไปยังสาขาไกล ออกไป 3. เครือข่ายบริเวณกวา้ ง เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network: WAN) หรือแวน เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มี การเชื่อมต่อครอบคลุมทั่วประเทศ หรือท่ัวโลก โดยช่องทางสื่อสารอาจจะเป็นสายเคเบิลระหว่าง ประเทศ ไมโครเวฟ หรือ ดาวเทียมเพ่ือส่งข้อมูลไปยังผู้ใช้ที่อยู่ไกล เช่น การเช่ือมต่อระหว่างประเทศ ดังนั้น เครือข่ายแวนท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลกที่ทุกคนรู้จัก คือ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่สามารถเชื่อมโยงเครื่อง คอมพิวเตอร์ถึงกันทว่ั โลก ปัจจัยหลักในการบอกความแตกต่างระหว่างเครือข่ายบริเวณเฉพาะท่ี (LAN) เครือข่ายนครหลวง (MAN) และเครือข่ายบริเวณกว้าง (WAN) คือ ระยะทางในการเชื่อมต่อ และลักษณะการใช้อุปกรณ์ใน การเชอื่ มต่อ การเชื่อมต่อของอุปกรณ์ ฮาร์ดแวรท์ ่แี ตกต่างกัน เช่น ไมโครคอมพวิ เตอร์ มินิคอมพวิ เตอร์ เมนเฟรม และอุปกรณ์ตอ่ พว่ งอนื่ ๆ 7.2.2 สถาปัตยกรรมเครือข่าย สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network Architecture) เป็นการจาแนกเครือข่ายออกแบบต่าง ๆ โดยท่ัวไประบบเครือข่ายสามารถแบ่งแยกได้หลากหลายตามความแตกต่าง ซ่ึงสถาปัตยกรรมสาคัญ สามารถแบ่งได้สองชนิด คือ แบ่งตามโครงร่างของเครือข่าย (Topology) และแบ่งตามรูปแบบลักษณะ การทางานของเครอื ขา่ ย (Strategies) ซ่ึงสามารถอธิบายรายละเอียด ดงั ต่อไปนี้ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

124 | P a g e บทที่ 7 การส่ือสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอินเทอรเ์ นต็ 1. โครงร่างของเครือขา่ ย (Topology) โทโพโลยี (Topology) หมายถึงรูปแบบการเช่ือมต่อระบบเครือข่าย รูปแบบ และลักษณะของ การเชื่อมต่อทาให้อุปกรณ์ส่ือสาร และเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างกันได้เนื่องจากการเชื่อมต่ออุปกรณ์ส่ือสาร และเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องใช้ตัวกลางหรือ สายสัญญาณซึ่งมีวิธีเช่ือมต่อได้หลายรูปแบบ หรือหลายโทโพโลยีนั้นเอง ซึ่งแต่ละโทโพโลยีมีท้ังข้อดี และข้อเสียต่างกัน โดยท่ัวไปสามารถแบ่งโครงร่างของเครือข่าย หรือรูปแบบการเช่ือมต่อเครือข่ายได้ หลายวิธี โดยทั่วไปโครงร่างเครือข่ายมีรูปแบบการเช่ือมต่ออยู่ด้วยกัน 3 แบบ คือ แบบดาว เครือข่าย แบบทรี และเครือขา่ ยแบบผสมผสาน 1.1 เครือข่ายแบบดาว (Star Network) คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์รับส่งข้อมูลจะเช่ือมต่อเข้า กบั อปุ กรณ์ สวิตช์ (Switch) ซ่งึ ทาหน้าที่เป็นจุดศูนย์กลางของเครือขา่ ย เม่อื เครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองใด ส่งข้อมูลก็จะผ่านทางอุปกรณ์สวิตซ์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ปลายทาง สามารถติดต้ังแบบ มีสายเคเบิล และแบบไร้สายได้ ปัจจุบันจะใช้โครงร่างเครือข่ายแบบดาวได้รับความนิยมมาก ท้ัง เครือข่ายภายในบ้าน เครอื ข่ายสานกั งาน จนถึงเครอื ขา่ ยขนาดใหญ่ 1.2 เครือข่ายแบบทรี (Tree Network) เป็นเครือข่ายท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเช่ือม ต่อไปยังจุดศูนย์กลาง อาจจะผ่านอุปกรณ์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่นเป็นลาดับชั้น และอาจจะ เชื่อมโยงกันต้ังแต่สองถึงสี่ลาดับชั้น ซึ่งอาจจะรู้จักกันในชื่อของเครือข่ายลาดับช้ัน (Hierarchical Network) ซ่งึ สว่ นมากใช้ในการแลกเปลย่ี นข้อมลู 1.3 เครือข่ายแบบผสมผสาน (Mesh Network) เป็นชนิดของเครือข่ายแบบใหม่ ท่ีไม่ เฉพาะเจาะจงว่าเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบใด การเชื่อมต่อแต่ละโหนดจะต้องอุปกรณ์ หรือเครื่อง คอมพิวเตอร์มากกว่าหน่ึงเคร่ืองเช่ือมต่อไปยังโหนดอ่ืน ๆ ถ้าเส้นทางการเชื่อมต่อระหว่างโหนดขาด ข้อมลู ยังสามารถหาเสน้ ทางใหม่โดยอัตโนมัติ ซ่งึ เทคโนโลยเี ครอื ข่ายไร้สายกส็ ามารถสรา้ งเครือขา่ ยแบบ ผสมผสานได้ รปู ท่ี 7.7 รูปร่างเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ที่มา: (Martina Vaculikova, 2015) นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเทอรเ์ น็ต P a g e | 125 2. รูปแบบลักษณะการทางานของเครือข่าย (Strategies) แต่ละเครือข่ายมีรูปแบบลักษณะการทางานในลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูล และทรัพยากรการ ทางานของเครือข่ายโดยส่วนใหญ่น้ันมีการแบ่งออกตามลักษณะการทางาน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ 2 แบบ คือ การทางานในรูปแบบของเครือข่ายไคลแอนต์/เซิร์ฟเวอร์ และลักษณะการทางานแบบ เพยี รท์ ูเพีย รูปท่ี 7.8 รปู แบบลักษณะการทางานของเครือข่าย ที่มา: (เครือข่ายแบบ Peer-to-peer และ Client/Server, 2558) 2.1 เครือข่ายไคลแอนต์/เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) เป็นระบบที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ทาหน้าท่ีให้บริการเคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืน ๆ ภายในเครือข่าย นิยมเรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ให้บริการน้ีว่า เซิร์ฟเวอร์ และเรียกเครื่องรับบริการว่า ไคลแอนต์ เครื่องเซิร์ฟเวอร์จะมีหน้าที่จัดสรร ทรัพยากร เชน่ เวบ็ เพจ ฐานข้อมลู โปรแกรมประยุกต์ และฮารด์ แวร์ต่าง ๆ ตามท่ีเครื่อง ไคลแอนต์ร้อง ขอ ระบบปฏบิ ตั ิการท่ีทางานแบบเครอื ขา่ ยไคลแอนต์/เซิร์ฟเวอร์ เชน่ Novel 's Netware, Microsoft's Windows NT, IBM 's LAN Server และ Banyan Vines ข้อดีของระบบเครือข่ายแบบไคลแอนต์/ เซิร์ฟเวอร์ คือ ความสามารถในการบริหารระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการ เชื่อมต่อลักษณะน้ีใช้กันอย่างแพร่หลายสาหรับอินเทอร์เน็ต เช่น เมื่อเชื่อมต่อกับเว็บไซต์ เคร่ือง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่ก็จะเป็นเคร่ืองไคลแอนต์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีให้บริการเว็บไซต์ก็จะเป็น เครื่องเซริ ์ฟเวอร์มีโปรแกรมการจัดการเครือข่ายท่ีสามารถควบคุมดูแลการทางานของระบบเครือข่ายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสยี คือ ค่าใช้จา่ ยในการติดตัง้ และการซอ่ มบารงุ คอ่ นขา้ งสงู 2.2 ระบบเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ หรือจุดต่อจุด (Peer to Peer Network System) ลักษณะการใช้งานเครือข่ายแบบน้ีแต่ละโหนดจะมีสถานะเท่าเทียมกัน โดยจะเป็นท้ังเครื่องให้บริการ และเครื่องรับบริการ เชน่ ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนง่ึ สามารถเข้าไปใช้ไฟลข์ องไมโครคอมพวิ เตอร์อีก เครื่องหนึ่งได้ และสามารถให้เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใช้ไฟล์ของตัวเองได้ใช้ได้กับ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย เช่น Novels Netware Lite, Microsoft 's Windows ME, XP ข้อดีของ เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ คือ ค่าใช้จ่ายต่า ติดตั้งได้ง่าย เหมาะสาหรับหน่วยงานขนาดเล็ก และจะ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ันขนาดต้องไม่เกิน 10 โหนด แต่ข้อเสียก็ คือ ถ้าจานวนโหนดเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพของเครือข่ายจะลดลง และไม่มีซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเพื่อดู นุชากร คงยะฤทธิ์

126 | P a g e บทที่ 7 การส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเทอรเ์ นต็ กิจกรรมท่ีเกิดขึ้นในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ ระบบความปลอดภัยต่าด้วยเหตุผลน้ีเครือข่ายแบบ เพียร์ทูเพียร์มักจะใช้เฉพาะสาหรับเครือข่ายขนาดเล็กภายในองค์กรหรือการแลกเปล่ียน และใช้ ไฟล์ข้อมูลร่วมกันบนอนิ เทอร์เนต็ 7.2.3 เครือขา่ ยสาหรบั องค์กร ในปจั จุบันองค์กรต่าง ๆ พยายามประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอรเ์ นต็ สาหรับการทางานภายใน และ ระหว่างองค์กร ในองค์ขนาดใหญ่มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ และซับซ้อนมาก รวมถึงการ ติดตั้งระบบปฏิบัติการ และซอฟตแ์ วร์เฉพาะบางองค์กรมีเครื่องคอมพวิ เตอร์เซิร์ฟเวอร์ใหบ้ ริการจานวน หลายเคร่ืองเพราะฉะน้ันองค์กรจะต้องเตรียมความพร้อมทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ ผ้จู ดั การเครือข่ายเพื่อระบบของมปี ระสิทธิภาพ และมคี วามปลอดภัยสูงสดุ 1. เทคโนโลยีอินเทอรเ์ นต็ องค์กรจานวนมากได้ติดตั้งระบบเครือข่ายเพื่อใช้งานสาหรับภายในองค์กร แต่ในขณะเดียวกันก็มี ความจาเป็นต้องเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพ่ือความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร เพราะระบบอินเทอร์เน็ตมี แอปพลิเคชัน จานวนมากท่ีใช้ในการสื่อสาร ทาให้องค์กร ลดค่าใช้จ่ายลงซึ่งนิยมใช้สาหรับองค์กรที่มีสาขาที่อยู่ต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ โดยเฉพาะองค์กร ขนาดใหญ่ผู้จัดการเครือข่ายต้องออกแบบเครือข่าย และต้ังกฎการใช้เครือข่ายอย่างเข้มงวด เช่น การ กาหนดสิทธิให้พนักงานของบริษัทใช้เครือข่ายตามสิทธิของแต่ละตาแหน่ง ซ่ึงแต่ละงานจะไม่เหมือนกัน การเขา้ ถงึ ข้อมลู ของบรษิ ัทของพนักงานแต่ละคนก็ไมเ่ ท่ากัน ระบบเครอื ข่ายท่ีใช้อยู่ในองค์กรสว่ นใหญ่มี 2 ระบบ ด้วยกนั คือ ระบบอินทราเนต็ และระบบเอก็ ซท์ ราเนต็ 1.1 อินทราเน็ต (Intranet) คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบภายในองค์กรที่ใช้เทคโนโลยี คล้ายกับอินเทอร์เน็ต น้ันคือในการใช้งานอินทราเน็ตจะต้องใช้โพรโทคอลท่ีซีพีไอพี (TCP / IP) เหมือนกบั อินเทอรเ์ น็ต แอปพลิเคชนั กจ็ ะใช้เบราวเ์ ซอร์เรยี กใช้งานเสมือนกับผใู้ ช้กาลังใช้อินเทอรเ์ น็ตอยู่ แต่ไม่สามารถเข้าเว็บไซต์ทั่วไปบนระบบอินเทอร์เน็ตได้ยกเว้นเว็บไซต์ที่อยู่ในบริษัทเท่าน้ัน พนักงาน สามารถเช็คข้อมูล สถานะ เงินเดือน โบนัส ผลประโยชน์ต่าง ๆ ของตนเองจากฐานข้อมูลของบริษัท นอกจากน้บี างบรษิ ัทยังใช้อเี มลแบบอินทราเนต็ และสารสนเทศอื่น ๆ ด้วย 1.2 เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายเฉพาะท่ีท่ีเชื่อมต่อมากกว่าหน่ึงองค์กรเข้าด้วยกัน องค์กรหลายองค์กรใช้เทคโนโลยเี อ็กซ์ทราเนต็ เพื่อให้บริษัทจัดสง่ สินค้า และบริษัทอื่น ๆ ที่มีสิทธ์ิเข้ามา ใชง้ านเครือข่ายได้ เพือ่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพ และลดค่าใช้จ่ายในการทางาน เช่น บริษทั เจนเนอร์รัลมอเตอร์ ติดต่อกับบริษัทผลิตชิ้นส่วนประกอบรถยนต์จานวนนับพันราย บริษัทที่ได้จัดทาระบบขึ้นเพื่อให้ บริษัทผู้ผลิตช้ินส่วนอะไหล่สามารถเข้ามาดูตารางการผลิต และบริษัทก็จะสามารถส่งชิ้นส่วนอะไหล่ ตามทีต่ อ้ งการได้ โดยวธิ ีน้ีทาให้บริษัทเจนเนอรร์ ัลมอเตอรไ์ มจ่ าเปน็ ตอ้ งเกบ็ สินคา้ คงคลงั จานวนมาก นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 7 การส่ือสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เนต็ P a g e | 127 2. ความปลอดภัยของระบบเครอื ขา่ ย ในองค์กรขนาดใหญ่ท่ีมีข้อมูลสาคัญจะต้องคานึงถึงการกาหนดสิทธิผู้ใช้งานของระบบเครือข่ายใน การเข้าถึงทรัพยากรของระบบ เพราะว่าถ้าองค์กรเช่ือมต่อระบบเครือข่ายขององค์กรเข้ากับระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็มีโอกาสที่จะต้องเจอกับผู้ไม่ประสงค์ดี ที่พยายามเข้าถึงระบบโดยไม่ได้รับ อนญุ าต ในปจั จุบนั ไดม้ ีเทคโนโลยปี ้องกันการบุกรุกหรือเจาะระบบเครือข่ายออกมาจาหน่ายจานวนมาก แต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติ และราคาแตกต่างกันไปตามประสิทธิภาพ โดยท่ัวไปเทคโนโลยีป้องกันความ ปลอดภัยระบบเครือข่ายที่ใชอ้ ยู่ เชน่ ไฟร์วอลลไ์ อดีเอส และวพี เี อน็ ซ่งึ แตล่ ะชนดิ มีคณุ สมบัติ ดังต่อไปน้ี 2.1 ไฟร์วอลล์ (Firewall) คือ ระบบซ่ึงอาจจะอยู่ในรูปของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ หรือซอฟต์แวร์ หรือทั้งสองชนิดรวมกันอยู่ภายในอุปกรณ์ตัวเดียวกัน แต่ละบริษัทท่ีผลิตออกมาจะมีลักษณะท่ีแตกต่าง กันแต่ทุก ๆ ผลิตภัณฑ์จะมีหน้าท่ีควบคุมการเข้าออกของกลุ่มข้อมูลที่เข้าออกระหว่างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยอาศัยการพิจารณาจากกฎ (Rule) หรือตัวกรอง (Filter) ท่ีกาหนดไว้ในระบบของไฟร์ วอลล์ การติดต้ังระบบไฟร์วอลล์ ซ่ึงมีเครือข่ายจานวนสองเครือข่ายเชื่อมต่อกัน และเครือข่ายทั้งสองก็ เช่ือมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเครือข่ายอ่ืนซ่ึงไม่ใช่เครือข่ายขององค์กร ซึ่งอาจจะมีผู้บุกรุกเข้า มาทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบไฟร์วอลล์อาจจะประกอบด้วยอุปกรณ์จัดเส้นทาง หรือเครื่อง คอมพิวเตอร์ท่ีมีซอฟต์แวร์ไฟร์วอลล์ติดต้ังอยู่ ไฟร์วอลล์ท่ีมีใช้อยู่โดยท่ัวไป คือ ไฟร์วอลล์แบบพร็อกซี่ (Proxy Server) พร็อกซี่ทางานในระดับชั้นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งาน (Application Software) โดย การเปรียบเทยี บค่าข้อมูลตามกฎทต่ี งั้ ไว้ ซง่ึ ไฟร์วอลล์แบบพรอ็ กซ่ี มจี ุดเด่นคอื สามารถจดั การกบั การบุก รุกได้ในระดับชั้นประยุกต์ใช้งาน มีกระบวนการพิสูจน์ตัวจริงของผู้ใช้ มีกระบวนการซ่อนตัวโดยใช้ เทคนิคการแปลเลขที่อยู่เครือข่ายมีการเก็บสถิติ และกิจกรรมที่เกิดขึ้นอย่างละเอียดทาให้สามารถ ติดตามการบุกรุกได้สะดวกขึ้น ข้อเสียของ ไฟร์วอลล์พร็อกซี่ คือ ประสิทธิภาพการทางานอาจจะต่าลง หากมีจานวนกลุ่มข้อมูล และผู้ใช้จานวนมาก ลักษณะโดยทั่วไปของไฟร์วอลล์แบบน้ีที่จะพบได้มาก คือ ซอฟตแ์ วรท์ ี่ติดต้ังมาในระบบปฏิบตั ิการ ซงึ่ หากระบบปฏบิ ตั ิการนัน้ ๆ มีจดุ อ่อนอาจทาใหผ้ บู้ ุกรุกเข้ามา ทาลายไฟร์วอลล์ ซง่ึ จะส่งผลเสียหายตอ่ เครือขา่ ยโดยรวม 2.2 ไอดเี อส (Intrusion Detection Dystems: IDS) ในระบบเครือขา่ ยที่สมบูรณแ์ บบจะมีการ ใช้ระบบไอดีเอสทางานร่วมกันระบบไฟร์วอลล์ เน่ืองจากระบบไฟร์วอลล์น้ัน ๆ จะไม่สามารถป้องกัน อนั ตรายทมี่ าจากอนิ เทอร์เน็ตได้ทุกรูปแบบ ดงั นั้นจงึ ไมส่ ามารถรับรองความปลอดภัย และความลับของ ข้อมูลได้ ถึงแม้จะมีการใช้ระบบไฟร์วอลล์แล้วก็ตาม เพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้จึงจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ หรือเคร่ืองมือที่ใช้ในการตรวจจับพฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในเครือข่ายภายในองค์กรซ่ึงระบบที่ใช้จัดการ กับปัญหาเช่นนี้ ท่ีนิยมใช้มากในปัจจุบัน คือ ระบบไอดีเอส หรือเรียกว่าระบบตรวจจับการบุกรุก เปรียบเสมือนสัญญาณเตือนภัย คอยตรวจจับผู้ที่ไม่ประสงค์ดี รวมไปถึงข้อมูลจาพวกไวรัสด้วยโดย สามารถทาการวเิ คราะหข์ ้อมูลทัง้ หมดที่ผ่านเข้าออกภายในเครอื ข่ายวา่ มลี กั ษณะพฤตกิ รรมการทางานที่ เป็นความเสี่ยงท่ีก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเครือข่ายภายในหรือไม่ โดยระบบไอดีเอสนี้จะทาการ แจ้งเตือนให้ผู้ดูแลระบบทราบ นอกจากนี้ไอดีเอสยังสามารถปดิ กั้นการเข้าถึงระบบก่อนที่จะมีการโจมตี เครอื ขา่ ยไดอ้ กี ด้วย นชุ ากร คงยะฤทธิ์

128 | P a g e บทที่ 7 การสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอนิ เทอรเ์ นต็ รปู ท่ี 7.9 อนิ ทราเนต็ เอ็กซ์ทราเน็ต ไฟล่วอลซ์ พรอ็ กซเซร์ฟเวอร์ ท่มี า: (Violet Williamson, 2017) 2.3 วีพีเอ็น (Virtual Private Network: VPN) คือ เครือข่ายส่วนบุคคลเสมือนที่ทางานโดย อาศัยโครงสร้างของระบบเครือข่ายสาธารณะ หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน่ันเอง แต่ยังสามารถคงความ เป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์กรไว้ด้วยการเข้ารหัสลับกลุ่ม (Packet Encryption) เพื่อให้ข้อมูลมีความ ปลอดภัยมากขึ้น ก่อนส่งข้อมูลออกไปในระบบเครือข่ายสาธารณะ ระบบวีพีเอ็นเป็นอีกทางเลือกหนึง่ ที่ ช่วยให้องค์กรนั้น ๆ สามารถเชื่อมต่อกับสานักงานในแต่ละสาขาที่อยู่ห่างไกลกันได้ เช่น พนักงานที่อยู่ ภายนอกสานักงาน หรือท่ีบ้านสามารถเข้าถึงข้อมูลของบริษัท สะดวกเสมือนกับน่ังทางานอยู่ในระบบ เครือข่ายเฉพาะท่ีในสานักงาน เครือข่ายส่วนบุคคลเสมือนวีพีเอ็นจึงเป็นระบบเครือข่ายท่ีปลอดภัยผ่าน เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต เพ่อื เชอ่ื มโยงการสื่อสารระหว่างองค์กรธรุ กจิ ต่าง ๆ และเป็นการเพ่มิ สมรรถนะใน การส่ือสารระหว่างภูมิภาคของต่าง ๆ ภายในโลกหรือสานักงานท่ีห่างไกลกันออกไป ด้วยค่าใช้จ่ายที่ถูก ประหยัดมากกวา่ การติดตอ่ ส่ือสารด้วยวธิ ีอน่ื ๆ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอินเทอร์เนต็ P a g e | 129 7.3 อนิ เทอรเ์ นต็ 1. อินเทอร์เนต็ อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเสมือนท่ีรวมข้อมูลมหาศาล ท้ังข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ โปรแกรม และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังเป็นช่องทางติดต่อสื่อสารกันด้วยข้อมูลต่าง ๆ เหล่าน้ันได้สะดวกรวดเร็ว ความ จริงแล้วอินเทอร์เน็ตมิได้ เป็นเจ้าของสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้น แต่เป็นเพียง “ช่องทาง” หรือเครือข่ายท่ีจะ เชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์ทง้ั โลกเข้าด้วยกัน ใหส้ ามารถรับส่งขอ้ มูลกันได้ คอมพิวเตอร์ทง้ั หลายที่เชื่อมต่อกัน ต่างหากท่ีเป็นเจ้าของหรือผู้ให้บริการข้อมูลระหว่างกัน ถ้าเปรียบเทียบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็น ศูนย์การค้าแล้ว คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ที่เข้ามาเช่ือมต่อก็เป็นเสมือน ผู้ที่มาเช่าพื้นที่เปิดร้าน ส่วนผู้ใช้ ท้ังหลายก็คือ ลกู ค้าทเี่ ข้ามาเดินช้อปป้ิง เขา้ รา้ นโนน้ ออกรา้ นน้ี บา้ งกจ็ ับจ่ายซื้อของ บ้างกเ็ ดนิ ตากแอร์ จะต่างกันก็แต่เพียงศูนย์การค้าน้ีเก็บค่าผ่านประตู คือ ค่าบริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บรรดา ผู้ให้บรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ISP (Internet Service Provider) เก็บจากทุกคนท่เี ชือ่ มต่อนน่ั เอง รูปท่ี 7.10 ผใู้ ชเ้ ครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตผ่าน ISP ท่มี า: (Kittipon Chumphorn, 2559) 2. ISP ISP (Internet Service Provider) เป็นหน่วยงานท่ีให้บริการเช่ือมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต ทาหน้าทีเ่ สมอื นเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กร สามารถใชง้ านอินเทอร์เน็ตได้สาหรับใน ประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้าน นี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ ผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต เชิงพาณิชย์ (Commercial ISP) และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสาหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและ หน่วยงาน ของรัฐ (Non-Commercial ISP) ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เชิงพาณิชย์อยู่หลายราย ดังตัวอย่างบางราย ในตารางต่อไปน้ี ซ่ึงรวมถึงผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคล่ือนที่ ทกุ ราย ซึ่งจะเปน็ ผใู้ ห้บริการอนิ เทอร์เน็ตผ่านเคลอ่ื นท่ีไปด้วยในตัว นชุ ากร คงยะฤทธิ์

130 | P a g e บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเทอร์เนต็ รูปที่ 7.11 หนว่ ยงานทใ่ี ห้บริการเชอ่ื มต่อเข้ากบั เครือข่ายอินเทอร์เนต็ ทมี่ า: (5.ผู้ใหบ้ รกิ ารเชอื่ มตอ่ อินเทอร์เนต็ (ISI: Internet Service Provider), 2560) 3. ความเป็นมาของอนิ เทอรเ์ นต็ เครอื ขา่ ยทก่ี ลายมาเป็นอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้พฒั นากันมาหลายสบิ ปีแล้ว ตง้ั แต่ยุคสงครามเย็น ทีส่ หรัฐกับสหภาพโซเวียตเล็งอาวุธนิวเคลียร์เข้าใส่กนั ตอนนั้นอเมริกาไดเ้ ร่ิมพฒั นาเครอื ข่ายส่ือสารทาง ทหารท่ีรู้จักกันในช่ือ ARPANET โดยออกแบบระบบให้เหมือนร่างแห (Net) ที่กระจายไปท่ัว เพื่อให้ มนั่ ใจว่าหากถูกถล่มดว้ ยระเบิดนิวเคลียร์อย่างไร เครือขา่ ยก็ไม่ถึงกับถกู ตดั ขาดท้ังหมด ยังมีทางให้รับส่ง ขอ้ มูลอ้อมไปได้เสมอ นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 7 การส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอนิ เทอรเ์ น็ต P a g e | 131 รูปท่ี 7.12 เครอื ขา่ ยแบบรา่ งแหที่ใชใ้ นการสื่อสารทางทหาร ทมี่ า: (Sebastian Anthony, 2013) ต่อมาได้มีการนาเครือข่ายน้ีไปใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษา และวิจัย ด้วยลักษณะโครงสร้างของ เครือข่ายที่เป็นระบบเปิดกว้างจึงขยายต่อไปได้เร่ือย ๆ กลายเป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตขนาดใหญ่ท่ี กระจายไปทั่วโลก และเปิดให้บริการในเชงิ พาณชิ ย์อย่างเต็มที่ มคี อมพิวเตอร์นบั ร้อยลา้ นเครื่องเชื่อมต่อ อย่างเต็มเวลาเพื่อให้บริการสารพัดรูปแบบ และคอมพิวเตอร์กับสมาร์ทโฟนอีกหลายพันล้านเคร่ืองท่ี เชอ่ื มต่อเข้ามาเป็นครงั้ คราวเพ่ือเรียกดู ขอ้ มลู หรือใช้บริการต่าง ๆ ประเทศไทยได้เร่ิมเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต มากว่า 30 ปีแล้ว โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ของ มหาวิทยาลยั ตา่ ง ๆ แตเ่ พงิ่ จะมีการใชง้ านอยา่ ง จรงิ จังเม่อื 10-20 ปที ีผ่ ่านมา เมื่อมกี ารเปิดบริการของผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ ISP กันอย่างแพร่หลาย และที่สาคัญ เครือข่าย 3G/4G ที่ให้บริการ อินเทอรเ์ นต็ ความเร็วสูงถงึ สมารท์ โฟนของทกุ คน เมื่อประมาณเกือบ 10 ปีทีแ่ ลว้ นเี่ อง 4. อนิ เทอร์เนต็ เชือ่ มตอ่ กันได้อย่างไร เนอื่ งจากเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตเหมือนร่างแหท่ีแผ่ไปท่ัว จงึ มจี ดุ ท่ีจะเช่ือมต่อเขา้ มาได้มากมาย โดย ผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่ออยู่เดมิ ซ่ึงผู้ที่รับการเชือ่ มต่อก็จะต้องลงทุนอุปกรณ์เครอ่ื งมือ รวมถึง ค่าใบอนุญาตจากรัฐ (ข้ึนกับกฎหมายของแต่ละประเทศ เช่น กรณีให้บริการด้วยคลื่นความถ่ีสาหรับ สมาร์ทโฟน) จึงต้องคิดค่าบริการ จากคนท่ีเข้ามาเชื่อมตอ่ ผ่านเครอื ข่ายตามสมควร ผู้ให้บริการเชือ่ มต่อ น้ีก็คือ ISP น่ันเอง ซ่ึงแต่ละรายก็เก็บค่าบริการไม่เท่ากันข้ึนอยู่กับลักษณะการเชื่อมต่อ และเงื่อนไข บริการ เช่น เช่ือมต่อด้วยเทคโนโลยีอะไร (ADSL/Fiber หรือ 3G/4G) ความเร็วสูงแค่ไหน เช่ือมต่อ ตลอดเวลาหรือไม่ จากัดปริมาณข้อมูลเดือนละ GB หรือไม่ จากัด (Unlimited) เป็นผู้เรียกใช้บริการ อยา่ งเดียวหรือเป็นผ้ใู หบ้ ริการแกค่ นอ่ืน ๆ ฯลฯ บางรายกใ็ ห้บริการฟรีแก่ ลูกค้า เช่น สถาบันการศึกษา ทาหนา้ ทีเ่ ป็น ISP ใหน้ ักศกึ ษาในสังกดั ใช้อินเทอรเ์ น็ตฟรี เป็นตน้ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

132 | P a g e บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเทอรเ์ นต็ รูปท่ี 7.13 3G/4G ที่มา: (4G คืออะไร ดกี ว่า 3G อย่างไร ? ใครอยากร้มู าทางน้ี, 2558) สาหรบั ISP เองน้นั ก็ตอ้ งเชื่อมต่อกันเป็นทอด ๆ เพ่อื หาช่องทางที่จะเข้าสู่อินเทอรเ์ น็ตให้เหมาะกับ ลักษณะ ธุรกิจของตน เช่น ISP ในประเทศต่อออกไปท่ี ISP รายใหญ่ในต่างประเทศ โดยมีการเก็บ ค่าบริการกันเป็นทอด ๆ แล้วแต่ว่าใครจะเชื่อมต่อกับใคร อาจจะเชื่อมต่อหลายทางพร้อม ๆ กัน เพื่อ เพิ่มความเร็ว และเป็นช่องทางสารองก็ได้ แต่ก็มีค่าใช้จ่ายเพ่ิมขึ้น ซึ่งการดาเนินงานของ ISP ใน ต่างประเทศเองก็ไม่ผูกขาด เพราะมีให้บริการกันอยู่หลายราย และหากมีลูกค้าผู้ใช้งานมากพอก็อาจมีผู้ ลงทุนตั้ง ISP รายใหมจ่ ัดการวางระบบ และสรา้ งเครือข่าย เพม่ิ ได้อีกก็ได้ ในฐานะของผู้ใช้ท่ัวไปน้ันจะเช่ือมต่อ อินเทอร์เน็ตได้โดยผ่านทาง ISP แต่เคร่ือง คอมพิวเตอร์ของ เราจะต้องมีอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมในการแปลงสัญญาณผ่านสื่อท่ีจะใช้แต่ละประเภท โดยช่องทางท่ีใช้ใน การเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตน้ันมีหลายเทคโนโลยีด้วยกัน เช่น อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (ADSL/Fiber) อนิ เทอรเ์ นต็ ไร้สายความเรว็ สงู ผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนท่ี (3G/4G) หรืออินเทอร์เน็ต ผ่านดาวเทียม (Satellite) เปน็ ตน้ 5. อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผา่ นสาย (ADSL/FTTx) อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงหรือบรอดแบนด์ (Broadband) ท่ีใช้กันมากคือ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Loop) ซึ่งจะเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ผ่านโครงข่ายโทรศัพท์พื้นฐาน ได้ตลอดเวลา (สามารถใช้เน็ต และโทรศัพท์บ้านพร้อมกันได้) โดยใช้อุปกรณ์ ADSL Modem เชื่อมต่อ คอมพวิ เตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์ สาหรับโมเด็มนน้ั มีหลายแบบให้เลือกใช้ตามความต้องการ เช่น โมเด็ม แบบ Wireless Modem Router สามารถ เชอ่ื มตอ่ และรวมกันใช้/แบ่งกนั ใช้อินเทอร์เนต็ ใหก้ ับอุปกรณ์ อนื่ ๆ ภายในบา้ น หรอื สถานท่ีนนั้ ซึ่งรองรบั การเชื่อมต่ออุปกรณ์ไดท้ ง้ั แบบใชส้ าย และไร้สาย ADSL รับส่งข้อมูลแบบ Asymmetric (ไม่สมมาตร) คือ อัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลจะไม่ เท่ากัน โดยความเร็วในการรับข้อมูล (Download) จะมากกว่าความเร็วในการรบั ข้อมูล (Upload) เช่น 16 Mbps / 1 Mbps หมายถึงมีความเร็วในการดาวน์โหลดสูงสุด 16 Mbps และความเร็วอัปโหลด สูงสุด 1 Mbps ค่าบรกิ าร ADSL ปกตจิ ะมใี ห้เลอื กหลายรปแบบ โดยความเร็วสูงสุดในการรบั ส่งข้อมลู น้ันขนึ้ อยู่กับ รูปแบบท่ีเลือกใช้ เช่น 10 Mbps | 512 Kbps, 20 Mbps / 1 Mbps หรือ 30 Mbps / 1 Mbps เป็นตน้ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเทอรเ์ นต็ P a g e | 133 รูปที่ 7.14 การเชอื่ มตอ่ กบั อินเทอร์เนต็ ความเร็วสงู ดว้ ย ADSL หรอื FTTx ที่มา: (fttx-คืออะไร, 2015) และ (Rita Mailheau, 2019) ปัจจุบันมีการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเข้าถึงสถานท่ีต่าง ๆ โดยตรงด้วยสายไฟเบอร์ (Optical Fiber หรอื Fiber Optic) ซึ่งมคี วามเรว็ สูงกวา่ ADSL มาก และเรม่ิ เขา้ มาทดแทนการเช่ือมต่อ แบบ ADSL ที่ยังใช้สาย โทรศัพท์ทองแดงแบบเดิม บริการน้ีเรียกว่า FTTx โดย X คือ ปลายทางต่าง ๆ เช่น ถ้าเป็นบ้านก็เรียกว่า FTTH (Fiber to The Home) โดยจะต่อเข้ากับอุปกรณ์ Router หรือ Wi-Fi ในบ้านเลย ถ้าเป็นสานักงานก็เรียก FTTO (Fiber to The Office) ซ่ึงอาจจะต่อเข้ากับ LAN ของ สานักงาน หรือถ้าเป็นอาคารสูงก็เรียก FITB (Fiber to The Building) เป็นต้น ซ่ึงถ้าปลายทางไม่มีการ เดินสายไฟเบอร์ไว้ภายในอาคาร มีแต่สายโทรศัพท์ เช่น อพาร์ตเมนต์ หรือคอนโด ก็อาจติดตั้งอุปกรณ์ แปลงสัญญาณจากไฟเบอร์ส่งผ่านสายโทรศัพท์ไปยังห้องต่าง ๆ แบบ VDSL (Very-high-bit rate DSL คล้ายกับ ADSL ท่ีให้บริการอินเทอร์เน็ต แต่มีความเร็วสูงกว่า คือ อยู่ท่ี 50/20 Mbps ใช้กับระยะทาง สน้ั ๆ เช่น ภายในอาคารได้) นุชากร คงยะฤทธิ์

134 | P a g e บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเทอรเ์ น็ต 6. อินเทอร์เน็ตไรส้ ายความเร็วสงู จาก 3G สู่ 5G เครือข่ายโทรศัพท์ และโทรคมนาคม เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบเครือข่ายย่อย ๆ สามารถเช่ือมต่อ กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ โดยมีการพัฒนาเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้การรับส่ง ข้อมูลมีประสิทธิภาพขึ้นจากเดิมท่ีใช้เทคโนโลยี GSM (ยุค 2G), GPRS (ยุค 2.5G), EDGE (ยุค 2.75G) และในปัจจุบันพัฒนามาใช้เทคโนโลยีสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุค 3G/4G ทาให้รับส่งข้อมูลได้อย่าง รวดเรว็ และต่อเนือ่ งมากขน้ึ จนใกลเ้ คยี ง หรอื อาจเร็วกว่า ADSL เสยี อกี อัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนท่ีน้ันเป็นแบบ Symmetric (สมมาตร) คอื อัตราความเรว็ เทา่ กันท้ังการดาวนโ์ หลด และอปั โหลด แต่ทั้งนข้ี ึ้นกับวา่ มีผู้ใช้อื่นอัปโหลด หรือดาวนโ์ หลดพรอ้ ม กบั เราในบริเวณเสาสัญญาณมือถอื ตน้ เดยี วกันกี่รายด้วย รปู ที่ 7.15 เทคโนโลยีสือ่ สารไร้สาย ทมี่ า: (Carritech Telecommunications, 2017) และ (5g คอื อะไร ความเรว็ เท่าไหร่ เริม่ ใชเ้ มื่อไหร่ ในไทย มาดูคาตอบกนั , 2562) นอกจากเทคโนโลยี LTE ท่ีใช้ในยุค 4G ซึ่งมีความเร็วสูงชนิดที่เคลื่อนไหวไร้รอยต่อมากกว่า 3G แล้ว ขณะนี้กาลังพัฒนาเทคโนโลยี 5G เพิ่มข้ึนด้วย โดยจะมีความเร็วในระดับท่ีไม่ต่ากว่า 1 Gbps ซ่ึง เป็นความเร็วที่เทียบเท่ากับสาย Fiber (บริการ FTTx) จนสามารถดาวน์โหลดภาพยนตร์ความละเอียด สูงท้งั เรือ่ งได้ภายในไมก่ ่วี ัน นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 7 การสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต P a g e | 135 การเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคล่ือนที่หรือบรอดแบนด์ไร้สาย (Wireless Broadband) เคร่ืองคอมพิวเตอร์จะต้องมีอุปกรณ์ท่ีเช่ือมต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์เคล่ือนที่ได้ เช่น Air Card หรอื Wireless Modem ซงึ่ จะต้องใช้ซิมการ์ดของผู้ให้บรกิ ารเครือขา่ ยโทรศัพทเ์ คล่อื นท่ีอย่าง เช่น AIS, DTAC หรือ True เปน็ ตน้ สาหรับอุปกรณ์พกพาอย่างสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตนั้นมีการติดต้ังอุปกรณ์เชื่อมต่อแบบไร้สายใน ตัวอยู่แล้ว เมื่อใส่ซิมการ์ดแล้วเปิดการเช่ือมต่อเครือข่ายก็สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ทันที โดยเลือกซื้อ แพก็ เกจอนิ เทอรเ์ นต็ ให้เหมาะสมกบั การใช้งาน ซ่ึงผ้ใู หบ้ รกิ ารเครอื ขา่ ยโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่แตล่ ะรายก็จะมี แพ็กเกจให้เลือกใช้มากมาย เช่น แบบจากัดเวลา หรือปริมาณข้อมูลท่ีใช้ได้หรือแบบ Unlimited คือไม่ จากัดปริมาณ แต่หากใช้มากกว่าที่กาหนดจะถูกลดความเร็วในการต่อเน็ตลง เช่น จาก 4G เหลือ 3G หรือ 2.5G (EDGE) เปน็ ต้น Air card อุปกรณ์เช่ือมต่อเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เข้ากับเครื่องพีซีตัวอย่างการเปิด Wi-Fi Hotspot ในสมาร์ทโฟน เพ่อื กระจายสัญญาณส่งตอ่ ไปยังเคร่ืองอน่ื ๆ เราสามารถใช้สมารท์ โฟนเปน็ Wi-Fi Hotspot เพ่ือกระจายสญั ญาณอินเทอร์เนต็ ไปยังคอมพิวเตอร์ ได้ (ต้ังค่า ได้จากเคร่ืองสมาร์ทโฟน) หรือจะใช้สาย USB เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์โดยตรงเหมือนเป็น โมเด็มเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตก็ได้ นอกจากน้ียังมีอุปกรณ์ประเภท Mobile Wi-Fi Hotspot ที่สามารถ กระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ตไปให้หลาย ๆ เครื่องพร้อมกัน โดยความเร็วในการรับส่งข้อมูลก็จะต้อง แชร์กันตามจานวนเครื่องท่ีใช้งานด้วยจึงควรตรวจสอบแพ็กเกจอินเทอร์เน็ตที่ใช้ว่าเหมาะสมเพียงพอ หรอื ไม่ 7. อินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม (Satellite) อินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียมนั้นเหมาะสาหรับบริเวณที่อยู่ห่างจากโครงข่ายโทรศัพท์หรือพ้ืนท่ี ห่างไกล (เช่น เขตนอกเมืองไกล ๆ บนเกาะ หรือภูเขา) รวมถึงองค์กรธุรกิจต่าง ๆ ที่ต้องการนาระบบ อินเทอร์เน็ตดาวเทียมมาใช้ควบคู่กับระบบบรอดแบรนด์อ่ืน ๆ เพ่ือให้สามารถเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงได้ตลอดเวลาในช่วงท่ีการสื่อสาร ด้วยสายสัญญาณปกติมีปัญหาหรือนาไปประยุกต์ใช้ ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ เช่น การเรียนการสอนทางไกลผ่าน ดาวเทียม การประชุมทางไกล (Video Conference) และบริการอนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ นดาวเทียมบนเครือ่ งบนิ เป็นตน้ สาหรับการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านดาวเทียม เช่น ดาวเทียมไทยคม (iPSTAR) ผู้ให้บริการจะติดต้ังจานรับสัญญาณดาวเทียม iPSTAR พร้อมกล่องรับสัญญาณดาวเทียมให้กับลูกค้า โดยค่าบริการอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียมขน้ึ อย่กู ับผ้ใู ห้บริการแตล่ ะราย เชน่ CAT หรือ TOT ซง่ึ ความเรว็ ในการรับสง่ ข้อมูลมีให้เลอื กหลายแบบแลว้ แตแ่ พก็ เกจทเ่ี ลือกใช้ เชน่ 256 Kbps หรือ 2 Mbps เปน็ ต้น ปัจจุบันมีการพัฒนาเพ่ือขยายการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน ดาวเทียมกันมากข้ึน หลายบริษัทยักษ์ ใหญ่ทั่วโลกทั้งด้านไอที และการส่ือสารจากทุกชาติต่างกาลังลงทุนด้านน้ีเพ่ือเรียกลกู ค้ากล่มุ ถัดไปที่อยู่ ห่างไกลชุมชนให้เข้ามาเช่ือมต่อกับเน็ตได้ หรือท่ีมีสานวน เรียกกันว่า “ลูกค้า 1 พันล้านคนถัดไป” (The Next Billion Internet User) น่ันเอง จะเห็นได้ว่าในอนาคตนั้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตจะเป็น เหมือนบริการขั้นพื้นฐานที่มีให้ใช้กันโดยทั่วไป ข้อมูลจึงนับว่าเป็นสิ่งสาคัญอย่างมาก ผู้ใช้อย่างเราจึง ควรระมัดระวังทง้ั เรอื่ งความปลอดภัย ในการเขา้ ถึงขอ้ มูล และการใชข้ ้อมูลให้มากยิ่งข้ึน นุชากร คงยะฤทธิ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook