Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fundamental Computer and Information Tachnology

Fundamental Computer and Information Tachnology

Published by Nuchakorn Kongyarit, 2020-06-17 11:06:33

Description: เอกสารประกอบการสอน
วิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย อาจารย์นุชากร คงยะฤทธิ์

Keywords: Fundamental Computer and Information Tachnology,Computer and Information Tachnology,Fundamental,Computer,Information Tachnology

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ๑๑-๔๑๑-๑๐๑ พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Fundamental of Computer and Information Technology) จัดทาโดย อาจารย์นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ สาขาวิชาการจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะเทคโนโลยกี ารจัดการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั

ข|Page คานา เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 11-411-101 รายวิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศนี้ ได้เรียบเรียงข้ึนอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมเนื้อหาสาระรายวิชา ในหมวดวิชาเฉพาะด้าน ของมหาวิทยาลัย เพื่อใช้เปน็ เครอ่ื งมอื สาคญั ของผู้สอน ในการใช้ประกอบการสอนของอาจารย์ ทมี่ งุ่ เน้น ให้ผ้เู รียนมีความรคู้ วามเข้าใจในเน้ือหา เอกสารเล่มน้ี ได้แบ่งเนื้อหาในการเรียนการสอนไว้ 9 บทเรียน ได้แก่ วิวัฒนาการของเทคโนโลยี- สารสนเทศ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบประมวลผลข้อมูล ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ข้อมูลการบริหารข้อมูลและเทคโนโลยีฐานข้อมูล แนวคิดพื้นฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม การส่ือสารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ภัยคุกคามและความมั่นคงของระบบ- สารสนเทศ จริยธรรมและสังคมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้สอนควรได้ศึกษารายละเอียดแต่ละ หวั ขอ้ เรื่องทส่ี อนจากเอกสาร หนังสือ ตารา หรือส่อื อน่ื ๆ เพม่ิ เติมอีก หวงั ว่าเอกสารประกอบการสอนนี้ คงอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนตามสมควร หากท่านท่ีนาไปใช้มีข้อเสนอแนะ ผู้เขียนยินดีรับ ฟงั ขอ้ คดิ เหน็ ต่าง ๆ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ นุชากร คงยะฤทธ์ิ 31 มกราคม 2562

Page |ค สารบญั คานา หนา้ สารบญั ข สารบัญรปู ค แผนบรหิ ารการสอน ฉ ฎ บทที่ 1 ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 1.1 1.2 คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศกบั บทบาทชีวิตของผูค้ นในปัจจบุ ัน และอนาคต 3 1.3 1.4 แนวโนม้ สาคัญของไอที 5 ประเภทในยคุ ข้อมลู ข่าวสาร 9 1.5 1.6 ชนดิ ของคอมพวิ เตอร์ 13 1.7 ผังลาดบั เหตุการณ์สาคญั ๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 18 สรุปทา้ ยบท 19 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 19 อ้างอิงประจาบท 19 บทที่ 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 23 2.1 ฮารด์ แวร์ 23 2.2 ซอฟต์แวร์ 25 2.3 บุคลากร 27 2.4 ข้อมลู /สารสนเทศ 31 2.5 กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแตล่ ะองคป์ ระกอบ 34 2.6 สรุปทา้ ยบท 35 2.7 แบบฝกึ หัดท้ายบท 35 2.8 อา้ งอิงประจาบท 35 บทที่ 3 ระบบประมวลผลขอ้ มลู 39 3.1 ความหมายของระบบประมวลผลข้อมลู 39 3.2 รปู แบบการประมวลผลของคอมพวิ เตอร์ 40 3.3 ขัน้ ตอนของการประมวลผลขอ้ มูล 44 3.4 ระบบประมวลผลรายการ 45 3.5 สรปุ ท้ายบท 48 3.6 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 48 3.7 อา้ งอิงประจาบท 48

ง|Page สารบญั (ตอ่ ) บทท่ี 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ หน้า 4.1 ฮารด์ แวร์ 51 4.2 ซอฟต์แวร์ 51 4.3 สรุปทา้ ยบท 62 4.4 แบบฝกึ หัดท้ายบท 71 4.5 อา้ งองิ ประจาบท 71 72 บทท่ี 5 ขอ้ มลู การบริหารข้อมลู และเทคโนโลยีฐานขอ้ มลู 5.1 ความหมายของข้อมลู 75 5.2 แหล่งขอ้ มูล 75 5.3 คณุ สมบัติของข้อมลู ทด่ี ี 75 5.4 ระบบฐานข้อมลู 76 5.5 ฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธ์ 80 5.6 ฐานขอ้ มูล 82 5.7 โครงสร้างข้อมูล 84 5.8 โครงสร้างข้อมลู ดบี ีเอม็ เอส 87 5.9 ประเภทของฐานข้อมลู 87 5.10 สรปุ ทา้ ยบท 90 5.11 แบบฝึกหดั ท้ายบท 92 5.12 อ้างอิงประจาบท 93 93 บทท่ี 6 แนวคิดพน้ื ฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม 6.1 โปรแกรม และการเขียนโปรแกรม 97 6.2 สรุปทา้ ยบท 97 6.3 แบบฝกึ หัดท้ายบท 109 6.4 อ้างอิงประจาบท 110 110 บทที่ 7 การสอื่ สาร ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เนต็ 7.1 การส่ือสาร 113 7.2 เครือข่าย 113 7.3 อินเทอรเ์ น็ต 121 7.4 สรปุ ท้ายบท 129 7.5 แบบฝกึ หดั ท้ายบท 149 7.6 อ้างองิ ประจาบท 149 150

Page |จ สารบญั (ตอ่ ) หนา้ บทท่ี 8 ภยั คกุ คาม และความม่นั คงของระบบสารสนเทศ 155 8.1 8.2 ผูไ้ ม่มสี ิทธิ์เขา้ ถงึ และผ้ไู ม่มีสทิ ธใิ์ ช้งาน 155 8.3 8.4 การปอ้ งกันผู้ไม่มสี ิทธเ์ิ ข้าถึง และไม่มสี ทิ ธ์ใิ ชง้ าน 156 8.5 8.6 การเข้ารหสั ข้อมูล 161 8.7 การรักษาความปลอดภัยกับประเดน็ ทางสงั คมท่ีเก่ยี วข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ 165 สรุปท้ายบท 168 แบบฝึกหัดท้ายบท 169 อ้างอิงประจาบท 169 บทท่ี 9 จรยิ ธรรม และสังคมกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 173 9.1 ความหมายของจริยธรรม 173 9.2 จรยิ ธรรมกบั สงั คมยคุ สารสนเทศ 173 9.3 การรกั ษาความปลอดภัยระบบคอมพวิ เตอร์ 181 9.4 ความปลอดภัยบนส่อื สงั คมออนไลน์ 185 9.5 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ 186 9.6 สรุปทา้ ยบท 187 9.7 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 187 9.8 อา้ งอิงประจาบท 188 บรรณานกุ รม 190

ฉ|Page สารบัญรปู รูปที่ 1.1 บ้านอจั ฉรยิ ะ หนา้ รูปท่ี 1.2 การศึกษาต้งั แต่ระดบั อนุบาล ประถม และมธั ยม 5 รปู ท่ี 1.3 มหาวิทยาลัยจะเตรยี มห้องปฏิบัติการคอมพวิ เตอรไ์ วค้ อยบรกิ ารแก่นักศึกษา 6 รปู ที่ 1.4 เหล่าทหารท่ปี ฏิบัติงานตามชายแดนห่างไกล 6 สามารถเข้าฝกึ อบรมแบบทางไกลผา่ นอินเทอร์เนต็ 7 ทาให้พวกเขาไม่พลาดหลกั สตู รสาคญั ตา่ ง ๆ ทีน่ ามาใช้เพ่ือป้องกันประเทศ 8 รปู ที่ 1.5 ทกุ วันน้ีผคู้ นส่วนใหญม่ ักพกโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ตี ดิ ตวั ไว้ตลอด 8 รปู ที่ 1.6 ต้บู ริการคอมพวิ เตอร์ท่ีตดิ ตัง้ ตามสถานทตี่ ่าง ๆ 9 รูปที่ 1.7 แนวโนม้ ของ 5 ไอทีในยุคข้อมลู ขา่ วสาร รปู ท่ี 1.8 เทคโนโลยกี ารหลอ่ หลอมรวมเทคโนโลยเี ข้าดว้ ยกนั 10 ทาใหโ้ ทรศัพท์เคลื่อนท่ีกลายเป็นแหลง่ รวมอปุ กรณด์ จิ ิทลั นับสบิ ชนิด 10 รูปท่ี 1.9 กราฟสถิติแสดงจานวนผ้ใู ชเ้ ฟสบ๊คุ 11 รปู ที่ 1.10 แนวคดิ อินเทอร์เนต็ ของสรรพสิ่ง กบั การให้สงิ่ ของต่าง ๆ รูปที่ 1.11 ผคู้ นสามารถเข้าถงึ ขอ้ มลู และโปรแกรมบนคลาวดไ์ ดท้ กุ ๆ ที่ 12 ด้วยอุปกรณ์ทหี่ ลากหลาย 14 รูปที่ 1.12 ซเู ปอรค์ อมพวิ เตอร์ 15 รปู ท่ี 1.13 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ของไอบเี อ็ม 15 รปู ท่ี 1.14 มินคิ อมพิวเตอร์ 16 รปู ที่ 1.15 เซริ ์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ 17 รปู ที่ 1.16 เครื่องคอมพิวเตอรต์ ง้ั โต๊ะ 17 รปู ท่ี 1.17 คอมพิวเตอร์แบบสวมใส่ รูปที่ 1.18 ไมโครคอนโทรลเลอรท์ ีฝ่ งั อย่ใู นโทรศัพทเ์ คล่ือนที่ 18 และในรถยนต์รวมถงึ การโปรแกรมลงในไมโครคอนโทรลเลอร์ 18 เพื่อนาไปควบคุมอุปกรณ์หรือเคร่อื งจักรต่าง ๆ 23 รูปที่ 1.19 ผังลาดบั เหตกุ ารณ์สาคัญ ๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 24 รูปที่ 2.1 อปุ กรณน์ าเข้า 24 รูปท่ี 2.2 หนว่ ยประมวลผล 25 รูปท่ี 2.3 อปุ กรณ์แสดงผล 25 รูปท่ี 2.4 อุปกรณ์บนั ทึกขอ้ มูล 27 รูปท่ี 2.5 ซอฟตแ์ วร์ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละซอฟตแ์ วร์โทรศัพท์ 29 รูปที่ 2.6 แอปพลิเคชันที่ทางานผ่านอินเทอรเ์ น็ต 31 รปู ท่ี 2.7 นกั ออกแบบ UX และ UI 32 รปู ที่ 2.8 หัวหน้างานดา้ นคอมพิวเตอร์ และบทบาทหน้าที่ 32 รปู ท่ี 2.9 ขนาดของข้อมูลชนดิ ตา่ ง ๆ รปู ที่ 2.10 สถานะการทางานแบบดิจิทลั

สารบัญรูป(ตอ่ ) Page |ช รปู ท่ี 2.11 ตาราง UNICODE ภาษาไทย หนา้ รูปท่ี 2.12 กิจกรรมและความสมั พันธ์ของแตล่ ะองค์ประกอบ 33 รปู ท่ี 2.13 หน่วยวัดที่อา้ งอิงในระบบเลขฐานสิบ 34 รปู ที่ 3.1 การประมวลผลดว้ ยมือ 34 รูปที่ 3.2 เครื่องทาบัญชี 39 รปู ท่ี 3.3 การประมวลผลข้อมูลด้วยเคร่ืองอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 40 รูปที่ 4.1 อปุ กรณ์นาข้อมูลเขา้ 41 รปู ท่ี 4.2 โอเอ็มอาร์ (OMR: OPTICAL MARK READER) 51 รูปท่ี 4.3 เอม็ ไอซีอาร์ (MICR: MAGNETIC-LINK CHARACTER RECOGNITION) 53 รูปที่ 4.4 BIOMETRIC INPUT DEVICE 54 รปู ท่ี 4.5 เมนบอร์ด (MAINBOARD) 54 รปู ที่ 4.6 อุปกรณ์แสดงผลลพั ธ์ (OUTPUT DEVICE) 56 รูปที่ 4.7 เครือ่ งพมิ พแ์ บบดอทเมตริกซ์ (DOT MATRIX PRINTER) 59 รูปท่ี 4.8 เคร่ืองพมิ พ์ 3 มิติ (3D PRINTER) 60 รปู ท่ี 4.9 เวอรช์ วลไลเซชนั่ (VIRTUALIZATION) 61 รปู ท่ี 4.10 BLOG 65 รูปท่ี 4.11 แอปพลิเคชันบนโทรศัพทเ์ คล่ือนที่ 68 รูปท่ี 5.1 ข้อมลู 69 รูปท่ี 5.2 แหล่งข้อมูลภายใน 75 รูปที่ 5.3 ตัวอย่างแหล่งข้อมลู ภายนอกจากผู้ให้บริการข้อมูลด้านการเงิน 76 รูปที่ 5.4 ลาดบั ข้ันของการรับรู้ข้อมูล และสรา้ งองค์ความรู้ 76 รูปท่ี 5.5 แฟ้มข้อมูลรายชอ่ื นักศึกษา 78 รปู ท่ี 5.6 แฟม้ ข้อมูลท่ีแต่ละหน่วยงานจดั เกบ็ กันเองต่างหาก 79 รปู ท่ี 5.7 แฟม้ ข้อมูลที่นามาเกบ็ รวบรวมกันให้อยู่ในรปู แบบของฐานขอ้ มูล 80 รปู ท่ี 5.8 การใช้ข้อมูลเพ่ือการประมวลผลในรูปแบบของระบบฐานข้อมลู 80 รปู ท่ี 5.9 ตวั อยา่ งการใชค้ าสงั่ ภาษา SQL 82 เพ่อื แสดงผลขอ้ มูลในโปรแกรม MICROSOFT ACCESS 83 รปู ที่ 5.10 ตวั อยา่ งการใชภ้ าษา SQL บนมือถือ 83 ดว้ ยแอป SQL MOBILE DEVELOPER (บน ANDROID) 86 รปู ที่ 5.11 ระบบจัดการฐานข้อมลู เช่น MICROSOFT ACCESS 87 รปู ที่ 5.12 โครงสรา้ งขอ้ มลู 88 รูปที่ 5.13 ฐานข้อมูลแบบลาดบั ช้นั 88 รูปที่ 5.14 ฐานขอ้ มลู แบบเครือขา่ ย 97 รูปที่ 6.1 วงจรการพัฒนาซอฟต์แวร์ 98 รปู ที่ 6.2 ขนั้ ตอนท่ี 1 การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะโปรแกรม

ซ|Page สารบัญรูป(ต่อ) รปู ที่ 6.3 ตารางคานวณเงินที่เรยี กเก็บจากลูกคา้ หนา้ รูปที่ 6.4 ขอ้ มลู เวลาที่ใชร้ ะบบ 99 รูปท่ี 6.5 การออกแบบโปรแกรม 99 รปู ท่ี 6.6 การออกแบบโปรแกรมแบบบนลา่ ง 100 รูปที่ 6.7 คาส่งั เทยี ม 100 รปู ที่ 6.8 สญั ลักษณ์ผงั งาน 101 รปู ท่ี 6.9 การไหลของโปรแกรมคานวณเวลาการใชง้ าน 101 รปู ท่ี 6.10 โครงสรา้ งแบบลาดบั 102 รูปท่ี 6.11 โครงสร้างการเลือก 103 รูปที่ 6.12 โครงสร้างแบบวนซ้า หรือโครงสร้างแบบลปู 103 รปู ท่ี 6.13 การเขียนโค้ดโปรแกรม 104 รปู ท่ี 6.14 โค้ดภาษา C++ ท่ีใช้สาหรับคานวณเวลา 104 รปู ท่ี 6.15 ภาษาทีใ่ ช้ในการเขยี นโปรแกรมโดยทั่วไป 105 รูปที่ 6.16 โมดลู COMPUTER TIME เขียนผดิ ไวยากรณ์ 105 รปู ท่ี 6.17 กระบวนการทดสอบ 106 รูปที่ 6.18 ขัน้ ตอนการจดั ทาเอกสาร และคูม่ ือการใชง้ าน 107 รูปที่ 6.19 ขน้ั ตอนการการบารุงรักษาโปรแกรมให้ถกู ต้อง และทนั สมยั เสมอ 108 รปู ท่ี 7.1 ววิ ฒั นาการของระบบไรส้ าย 109 รูปที่ 7.2 แสดงองคป์ ระกอบของการสื่อสาร 114 รูปที่ 7.3 เคเบลิ เส้นใยนาแสง 116 รูปท่ี 7.4 การทางานของ DNS 117 รปู ท่ี 7.5 เครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบต่าง ๆ 121 รูปที่ 7.6 เปรียบเทียบชนิดของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 121 รปู ท่ี 7.7 รปู ร่างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 122 รปู ท่ี 7.8 รปู แบบลกั ษณะการทางานของเครือข่าย 124 รูปที่ 7.9 อนิ ทราเน็ต เอ็กซ์ทราเนต็ ไฟลว่ อลซ์ พรอ็ กซเซร์ฟเวอร์ 125 รูปท่ี 7.10 ผใู้ ชเ้ ครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ น ISP 128 รปู ท่ี 7.11 หนว่ ยงานทีใ่ ห้บริการเชอ่ื มต่อเขา้ กบั เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ 129 รูปที่ 7.12 เครอื ข่ายแบบรา่ งแหทีใ่ ช้ในการสอ่ื สารทางทหาร 130 รูปที่ 7.13 3G/4G 131 รปู ที่ 7.14 การเชือ่ มต่อกับอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูงดว้ ย ADSL หรือ FTTX 132 รปู ท่ี 7.15 เทคโนโลยสี อ่ื สารไรส้ าย 133 รูปที่ 7.16 อนิ เทอร์เน็ตผา่ น ดาวเทียม 134 รปู ท่ี 7.17 HTTP โปรโตคอลของเวบ็ 136 รปู ท่ี 7.18 เว็บไซต์ 137 138

Page |ฌ สารบัญรูป(ตอ่ ) หนา้ รูปท่ี 7.19 ผังแสดงโครงสรา้ งของเว็บไซต์ โฮมเพจ และเวบ็ เพจ 138 รูปท่ี 7.20 เว็บไซต์ WWW.DPLUSGUIDE.COM บนเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ (ซา้ ย) 139 รปู ท่ี 7.21 HTTPS เข้ารหัสเว็บเพือ่ รักษาความปลอดภยั ข้อมลู 140 รปู ที่ 7.22 กระบวนการรบั และส่งอีเมล 141 รปู ท่ี 7.23 สอ่ื สังคมออนไลน์ 142 รปู ที่ 7.24 การใชง้ านระบบ CLOUD COMPUTING ผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ 146 รูปท่ี 7.25 สัญลักษณ์ของ ICLOUD, ONEDRIVE, GOOGLE DRIVE และ DROPBOX 147 รูปท่ี 7.26 การสรา้ ง และแกไ้ ขเอกสารด้วยบริการ GOOGLE DOCS 148 รปู ที่ 8.1 การแฮกเครือขา่ ยไร้สายด้วยการขบั รถตระเวน 156 รูปท่ี 8.2 การควบคุมการเข้าถึงดว้ ยบัญชผี ู้ใชก้ บั รหสั ผา่ น 157 รปู ท่ี 8.3 การควบคมุ การเข้าถึงดว้ ยอปุ กรณ์ SECURE ID 158 รูปท่ี 8.4 การควบคมุ การเข้าถงึ ด้วยการนา 158 รปู ท่ี 8.5 รายละเอยี ดการตงั้ คา่ ความปลอดภยั ใหก้ ับการส่ือสารไรส้ าย 159 รูปที่ 8.6 การกาหนดสิทธ์ใิ ห้กับพนักงาน 160 รปู ท่ี 8.7 WINDOWS SERVER กับการกาหนดสทิ ธ์ิใชง้ าน 161 รูปที่ 8.8 ขน้ั ตอนการเข้ารหัสข้อมลู 162 รูปท่ี 8.9 ภาพแสดงการเขา้ รหัสกุญแจสาธารณะ ที่ SENDER กับ RECIPIENT สือ่ สารกัน 163 รูปที่ 8.10 รายละเอยี ดความสัมพันธร์ ะหวา่ ง PUBLIC KEY กับ PRIVATE KEY 164 รูปที่ 8.11 ธนาคารแจกจา่ ย PUBLIC KEY แกล่ ูกค้าทวั่ ไปทต่ี ้องการติดต่อกบั ธนาคาร 164 รูปที่ 8.12 ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ตามสถานศึกษาหรือตามองคก์ รตา่ ง ๆ 165 รปู ท่ี 8.13 การนาแม่กุญแจมาคล้องเพื่อลอ็ คฝาเคสหรือใชร้ ะบบกญุ แจลอ็ คฝาเคส 166 รูปท่ี 8.14 การใชเ้ ชือกเหล็กยดึ อปุ กรณ์เข้ากับโตะ๊ เพ่ือปอ้ งกนั การเคล่ือนยา้ ย และการโจรกรรม 166 รูปที่ 8.15 การตดิ ต้งั กล้องวงจรปดิ เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมการทางานของพนกั งาน 167 รปู ท่ี 8.16 ระบบความทนทานต่อความผิดพลาดที่อยบู่ นคอมพิวเตอร์เชริ ์ฟเวอร์ 168 รูปท่ี 9.1 จรยิ ธรรมกบั สังคมยุคสารสนเทศ 173 รปู ที่ 9.2 ความเป็นสว่ นตัว 174 รูปท่ี 9.3 GDPR กฎหมายค้มุ ครองขอ้ มูลพลเมอื งของสหภาพยุโรป 175 รปู ที่ 9.4 ความถูกตอ้ งแมน่ ยา 176 รูปที่ 9.5 แสดงออกถึงการมี “จริยธรรมที่ดี” 177 รูปท่ี 9.6 ข้อตกลงในการใช้ SHUTTER STOCK 177 รูปที่ 9.7 ตัวอย่างการฟังเพลงออนไลนฟ์ รีใน JOOX 178 รปู ที่ 9.8 การเขา้ ถึงข้อมูล 179 รูปท่ี 9.9 ระบบล็อคสองข้ันตอน 181 รปู ท่ี 9.10 การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ 181 รปู ที่ 9.11 ADAWARE (เดิม คือ AD-AWARE) หรอื SPYBOT SEARCH & DESTROY 182

ญ|Page สารบัญรูป(ต่อ) รปู ที่ 9.12 การใช้ระบบไฟร์วอลล์ หนา้ รูปที่ 9.13 ไฟรว์ อลล์ 183 รปู ที่ 9.14 การเข้ารหสั ข้อมลู 183 รูปที่ 9.15 SYMANTEC, RAPIDSSL, VERISIGN และ GEOTRUST 184 รูปท่ี 9.16 ความปลอดภัยบนสือ่ สังคมออนไลน์ 185 186

Page |ฎ แผนบรหิ ารการสอนประจารายวิชา 1. ชือ่ หลกั สูตร บรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ สาขาระบบสารสนเทศ (ชอื่ หลักสูตรภาษาไทย) Bachelor of Business Administration (ชื่อหลกั สูตรภาษาอังกฤษ) Program in Business Information System 2. รหสั วิชา 11-411-101 3. รายวิชา (ช่ือวิชาภาษาไทย) พ้นื ฐานคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ (ชื่อวชิ าภาษาอังกฤษ) Computer and Information Technology Fundamentals 4.จานวนหนว่ ยกติ – ชวั่ โมง 3 หน่วยกติ 3(3-0-6) 5.เวลาเรยี น 15 สัปดาห์ 45 ช่วั โมง/ภาคเรียน ศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 90 ชม./ภาคเรียน 6. คาอธบิ ายรายวิชา วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบประมวลผล ข้อมูล ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ข้อมูลและการบริหารข้อมูล แนวคิดพื้นฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม เทคโนโลยีฐานข้อมูล การส่ือสารข้อมูล ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ภัยคุกคามและ ความมนั่ คงของระบบสารสนเทศ แพลตฟอร์มเทคโนโลยี จริยธรรมและสงั คมกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ Evolution of information technology; components of computer systems; data processing systems; hardware and software; data and data management; basis concepts for programming; database technology; data communication; computer network systems and the Internet; threats and information system security; platform technology; ethical and social issues in information technology 7. จดุ มุง่ หมายรายวิชา เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบ ของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบประมวลผลข้อมูล ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ข้อมูลและการบริหารข้อมูล แนวคิดพ้ืนฐานสาหรับการสร้างโปรแกรม เทคโนโลยีฐานข้อมูล การส่ือสารข้อมูล ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ภัยคุกคามและความมั่นคงของระบบสารสนเทศ แพลตฟอร์มเทคโนโลยี จริยธรรมและสังคมกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ฏ|Page 8. เนื้อหา 1 วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 แผนการสอนประจาสปั ดาห์ที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 3 แผนการสอนประจาสัปดาหท์ ่ี 3 ระบบประมวลผลข้อมลู 3 แผนการสอนประจาสปั ดาหท์ ่ี 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ 3 แผนการสอนประจาสัปดาห์ท่ี 5 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ 3 แผนการสอนประจาสัปดาหท์ ่ี 6 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 3 แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 7 ขอ้ มูล การบริหารข้อมลู และเทคโนโลยีฐานขอ้ มลู 3 แผนการสอนประจาสปั ดาห์ที่ 8 ข้อมูล การบริหารขอ้ มูล และเทคโนโลยีฐานข้อมลู 3 แผนการสอนประจาสปั ดาหท์ ่ี 9 สอบกลางภาค 3 แผนการสอนประจาสัปดาหท์ ี่ 10 แนวคดิ พื้นฐานสาหรับการสรา้ งโปรแกรม 3 แผนการสอนประจาสปั ดาห์ท่ี 11 แนวคดิ พน้ื ฐานสาหรบั การสรา้ งโปรแกรม 3 แผนการสอนประจาสัปดาห์ท่ี 12 การสอ่ื สาร ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 3 แผนการสอนประจาสปั ดาห์ที่ และอินเตอรเ์ นต็ การสอื่ สาร ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 3 แผนการสอนประจาสัปดาหท์ ี่ 13 และอนิ เตอร์เน็ต ภัยคุกคาม และความม่ันคงของระบบสารสนเทศ 3 แผนการสอนประจาสปั ดาหท์ ่ี 14 ภัยคุกคาม และความมน่ั คงของระบบสารสนเทศ 3 แผนการสอนประจาสปั ดาหท์ ี่ 15 จรยิ ธรรม และสงั คมกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 แผนการสอนประจาสปั ดาห์ท่ี 16 สอบปลายภาค 3 แผนการสอนประจาสปั ดาหท์ ี่ 17 9. วิธีสอนและกิจกรรม 1. บรรยาย ซกั ถามและยกตัวอยา่ งประกอบ 2. ทากจิ กรรมตามใบงานและแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 3. ทบทวนความรู้

Page |ฐ 10. ตาราหลกั - เอกสารประกอบการสอนพ้นื ฐานคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ - ประสงค์ ประณตี พลกรัง. (2541). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ = Management information systems (MIS). [กรุงเทพฯ] : Diamond in Business World. - วเิ ชยี ร เปรมชัยสวสั ด.ิ์ (2551). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ = Management information systems. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ). - โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ = Management information systems : MIS. กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยูเคชัน่ . - ดิชิตชยั เมตตาริกานนท์. (2558). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจดั การ สารสนเทศ = Information and communication technology for information management. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. - ศรไี พร ศกั ดร์ิ ุ่งพงศากลุ . (2549). ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยกี ารจดั การความรู้ : Information Systems and knowledge management technology. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยเู คช่นั . - ศรีไพร ศกั ดริ์ งุ่ พงศากุล. (2544). เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยเู คชน่ั . - ปรญิ ญา หอมอเนก. (2553). 360o IT security : เรือ่ งที่คนไอทีต้องรู้. กรงุ เทพฯ : เออารไ์ อพ.ี - พนิดา พานิชกลุ . (2553). ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศและการจัดการ = Information security and management. กรงุ เทพฯ : เคทีพ.ี - ชวลติ อตั ถศาสตร.์ (2544). Cyberlaw กฎหมายกบั อนิ เตอรเ์ น็ต. กรงุ เทพฯ : โปรวิชั่น. - จกั รกฤษณ์ ควรพจน.์ (2550). ลขิ สิทธ์ยิ คุ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาตรการทางเทคโนโลยีและ ทางเลือกสาหรับประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โครงการ WTO Watch (จับกระแสองค์การการค้า โลก). - โอเลยี รี่, ทิโมที เจ. (2558). คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศสมัยใหม่ (ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ ลา่ สดุ ) = Computing essentials 2015. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮลิ . - สุธี พงศาสกุลชยั . (2557). การสอื่ สารขอ้ มูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ = Data communication and network. กรุงเทพฯ : เคพีท.ี 11. ส่ือการเรียนการสอน - ส่อื การสอน PowerPoint แตล่ ะบทเรียน

ฑ|Page 12. การวดั และประเมินผล รอ้ ยละ 10 1. การวดั ผล 1.1 คะแนนเกบ็ รอ้ ยละ (40) ร้อยละ 10 1.1.1 คุณธรรม จริยธรรม - การตรงเวลาของนกั ศึกษาในการเขา้ ชัน้ เรียน รอ้ ยละ 10 - การส่งงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายตามกาหนดเวลา รอ้ ยละ 10 - การร่วมกจิ กรรมกลุม่ - ไมท่ ุจรติ ในการสอบ รอ้ ยละ 30 - ไม่ลอกการบ้านของผู้อืน่ รอ้ ยละ 30 1.1.2 ทักษะทางปญั ญา - โครงงาน - ฝกึ ปฏิบตั ิวเิ คราะห์กรณศี กึ ษา งานวิจัยหรือวทิ ยานพิ นธ์ - รายงานผลการฝึกปฏบิ ตั ิการจดั ทาโครงงาน - การนาเสนอด้วยตนเอง 1.1.3 ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ - การร่วมกจิ กรรมกลุม่ 1.1.4 ทกั ษะวิเคราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การเลือกใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศต่างๆ ทท่ี ามาประยกุ ต์ ใชเ้ กยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1.2 คะแนนสอบร้อยละ (60) 1.2.1 สอบกลางภาค 1.2.2 สอบปลายภาค 2. การประเมนิ ผล แบบอิงเกณฑ์ คา่ ร้อยละ คา่ ระดบั คะแนน ระดบั คะแนน 80-100 4.00 75-79 3.50 A 70-74 3.00 B+ 65-69 2.50 B 60-64 2.00 C+ 55-59 1.50 C 50-54 1.00 D+ 0-49 0.00 D E



2|Page บทท่ี 1 วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนบรหิ ารการสอน รหัสวิชา : 11-411-101 วชิ า : พ้นื ฐานคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ หนว่ ยท่ี : 1 ชื่อหน่วยเรยี น : ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เวลาทีส่ อน 3 ชว่ั โมง 1. หวั ขอ้ ประจาบท 1.1 คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศกบั บทบาทชวี ิตของผู้คนในปัจจบุ ันและอนาคต 1.2 แนวโนม้ สาคญั ของไอที 5 ประเภทในยุคข้อมลู ข่าวสาร 1.3 ชนดิ ของคอมพิวเตอร์ 1.4 ผังลาดับเหตกุ ารณส์ าคญั ๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.5 สรปุ ท้ายบท 1.6 แบบฝึกหัดทา้ ยบท 1.7 อ้างอิงประจาบท 2. วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม 2.1 อธบิ ายความสาคญั ของคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทมี่ บี ทบาทสาคญั ในชวี ิตได้ 2.2 บอกแนวโนม้ สาคญั ของไอที 5 ประเภทในยุคขอ้ มูลข่าวสารได้ 2.3 อธบิ ายความแตกต่างและคุณลกั ษณะสาคัญ ๆ ของคอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะชนดิ ได้ 3. วิธกี ารสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท 3.1 บรรยายโดยอาจารย์ผ้สู อน 3.2 นกั ศกึ ษาร่วมกันอภปิ รายในชน้ั เรยี น 3.3 ศกึ ษาเอกสารการสอนบทท่ี 1 3.4 นกั ศึกษาเพ่มิ เติมนอกชัน้ เรียน 3.5 นกั ศึกษาปฏบิ ัติกจิ กรรมตามทก่ี าหนด 3.6 ใช้ LCD ในการเรียนการสอน 4. สื่อการเรยี นการสอน 4.1 เอกสารประกอบการสอน 5. การวัดผลและประเมนิ ผล 5.1 ประเมินผลกิจกรรมและแนวตอบคาถามท้ายบท นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ Page |3 บทท่ี 1 วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบนั นีค้ อมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีต่าง ๆ ส่งผลกระทบตอ่ ชีวติ ประจาวนั ของมนุษย์ เราในหลากหลายรูปแบบ เราสามารถพบเห็นคอมพิวเตอร์ตามร้านค้าปลีก สถาบันการศึกษา ธนาคาร และสถานประกอบการอ่ืน ๆ มีการนาคอมพิวเตอร์มาเช่ือมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพ่ือเข้าถึง แหล่งขอ้ มลู ในการซื้อสินค้าหรือบริการออนไลน์ แหล่งบันเทงิ ออนไลน์ การค้นหาขา่ วสารความรู้ในแง่มุม ต่าง ๆ ตลอดจนการส่ือสารกับครอบครัว เพ่ือนฝูง ผ่านสื่อออนไลน์ ผู้คนต่างพกพาโทรศัพท์เคลื่อนที่ แท็บเล็ตไว้ติดตัว เพื่อให้ตนสามารถติดต่อสอ่ื สารกับผู้คนได้ตลอดเวลา และไม่พลาดการรบั ข่าวสารทาง อินเทอร์เน็ต และเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังมีการใช้ประโยชน์จาก โทรศัพท์เคลื่อนท่ีเพ่ือชาระค่าสินค้า ค่าสาธารณูปโภค การเล่นเกมออนไลน์กับผู้อ่ืน การดูทีวีหรือ ภาพยนตร์ การตดิ ต่อธรุ กจิ แบบออนไลน์ และอ่นื ๆ อกี มากมาย ภาคธุรกิจ ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้งานอย่างกว้างขว้าง เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาบันทึกประวัติ พนักงาน และลูกค้า การจัดการสินค้าคงคลัง การสร้างเว็บไซต์เพื่อเปิดร้านค้าออนไลน์ การขายสินค้า ออนไลน์ โดยข้อมูลในคอมพิวเตอร์จะได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ สามารถนาไปสร้างเป็น รายงาน และเสนอแก่ผู้บริหารเพ่ือตัดสินใจได้ทันที ส่วนภาครัฐ มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อสารวจ และเตอื นภยั พบิ ัตกิ ารนาคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในทางการ และอ่ืน ๆ อีกนบั ไม่ถ้วน ความพยายามในการเรียนรู้เกย่ี วกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ยังชว่ ยใหเ้ ราไดเ้ รยี นรู้ถงึ คาศัพท์ต่าง ๆ มากมายท่ีเก่ียวข้องกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีต่าง ๆ อีกท้ังยังเป็นรากฐานสาคัญเพ่ือนาไปสู่ความ เข้าใจ การยอมรับ และการปรับตัวเพื่อใช้ชีวิตประจาวันร่วมกับเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม รวมไปถึง ประเด็นทางสังคมท่ีทุกคนต้องระวัง และควรใส่ใจในการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย ความเป็นส่วนตัว ผลกระทบดา้ นจรยิ ธรรม และสงิ่ แวดลอ้ ม 1.1 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศกับบทบาทชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน และอนาคต คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีสามารถทางานได้อย่างอัตโนมัติ มีหน่วยประมวลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หรือ “ซีพียู” เปรียบเสมือนสมองกล สามารถคานวณ และประมวลผลข้อมูลตามคาส่ังในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์มีบทบาทสาคัญต่อการดารง ชีวิตประจาวันของมนุษย์ในแทบทุกด้าน เราสามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดเก็บ ข้อมูล ผ่านการประมวลผลจนกลายเป็นสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในหลาย ๆ ด้านไม่ว่า จะเป็นงานด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ อุตสาหกรรม การศึกษา และตามภาคธุรกิจต่าง ๆ อย่างไร ก็ตาม ใช่ว่าคอมพิวเตอร์จะสามารถทางานหรือประมวลผลได้ตามลาพัง แต่กลับเป็นมนุษย์ต่างหาก เปน็ ผูป้ อ้ นคาสง่ั (โปรแกรม) เข้าสู่ระบบเพือ่ ส่ังงานให้คอมพวิ เตอรท์ างานตามวัตถุประสงคท์ ่ตี ้องการ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) “ไอที” เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีท่ีนามาใช้ เพ่ือการผลิต การจัดการ การจัดเก็บ การสื่อสาร และการเผยแพร่ข้อมูล นอกจากน้ีไอทียังเกี่ยวข้องกับ ระบบคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมโยงเข้ากับระบบสื่อสารความเร็วสูงเพื่อนาส่งทั้งข้อมูล เสียง และวิดีโอ ตัวอยา่ งอปุ กรณท์ างเทคโนโลยสี ารสนเทศ เชน่ คอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคล และอปุ กรณ์เทคโนโลยสี มัยใหม่ นชุ ากร คงยะฤทธิ์

4|Page บทที่ 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ทีวีดิจิทัล และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ ยังประกอบด้วย เทคโนโลยสี าคัญต่าง ๆ อีก 2 สว่ นดว้ ยกนั เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิด เคร่ืองจักรชนิดหน่ึงที่สามารถคานวณ และประมวลผลได้โดยอัตโนมัติ ซ่ึงก็คือ “คอมพิวเตอร์” โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ท่ีได้รับความนิยมใช้งานอย่างกว้างขวางถูกออกแบบมาให้สามารถโหลด โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์เข้าไปควบคุมการทางานภายใน และพร้อมรับคาสั่งจากมนุษย์เพื่อปฏิบัติงาน ตามวัตถุประสงค์ สามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยงานต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น การนามาใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านการจัดการ เพิ่มความเร็ว และถูกต้องในการทางาน และช่วยปรับปรุง ประสทิ ธิภาพดา้ นการผลติ เทคโนโลยีการส่ือสาร (Communications Technology) เทคโนโลยีการสื่อสารเกี่ยวข้องกับ การสื่อสารระยะไกล ผ่านระบบโทรคมนาคม เช่น ระบบโทรศัพท์ วิทยุ และการแพร่ภาพทางทีวีหรือ เคเบิลทีวี ส่ิงสาคัญของการส่ือสารคือ ทาให้คอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ จนก่อเกิดการส่ือสารออนไลน์ของผู้คนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยคาว่า “ออนไลน์ (Online)” หมายถึง การนาคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ไอทีมาเช่ือมต่อผ่านเครือข่ายเพื่อเข้าถึงข่าวสาร และบริการ จากเคร่ืองอื่น ๆ ในขณะท่ี “เครือข่าย (Network)” หมายถึง การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ต้ังแต่สองเครอ่ื ง ขน้ึ ไป โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พอื่ แลกเปลี่ยนข่าวสาร และใชท้ รพั ยากรรว่ มกันบนเครือข่าย 1.1.1 คอมพวิ เตอรต์ ามบา้ นพักอาศยั การใช้งานคอมพิวเตอร์ตามบ้านพักอาศัย มีอัตราสูงเพ่ิมข้ึนในช่วง 2 - 3 ปีที่ผ่านมาจาก คอมพิวเตอร์ และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมีราคาถูกลง ประกอบกับผู้คนได้หันมานิยมใช้เทคโนโลยี และ การบริการออนไลน์กันมากขึ้น ตามบ้านพักอาศัยมีการติดต้ังอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงกันมากขึ้น เพ่ือใช้ ค้นหาข้อมูล การติดต่อสื่อสารผ่านอีเมล การช้อปปิ้งออนไลน์ การดูทีวีหรือวิดีโอ การเล่นเกม การดาวน์โหลดเพลง และภาพยนตร์ การชาระค่าสาธารณูปโภค การตรวจสอบยอดเงินในบัญชี และ การโอนเงินผา่ นธนาคารออนไลน์ เป็นต้น ในปัจจุบันมีการใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน เพ่ือสะสางงานท่ีค่ังค้างหรือเพ่ือตรวจสอบเอกสาร ท่ีเก่ียวข้องกับงานประจาที่ทาอยู่ รวมถึงการเข้าถึงเมลบ็อกซ์ในที่ทางานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตภายในบ้าน ท่ีนอกจากเช่ือมต่อใช้งานผ่านสายเคเบิลแล้ว ยังสามารถเช่ือมต่อ ไร้สายเข้ากับอุปกรณ์ไอทีอื่น ๆ และถูกรวมเข้าด้วยกันจนกลายเป็นศูนย์กลางความบันเทิงภายในบ้าน เครือข่ายไร้สายช่วยให้การออนไลน์ระหว่างอุปกรณ์ สามารถอยู่ที่ใดก็ได้ภายในบ้านหรือในขอบเขตที่มี รัศมีครอบคลุมทาให้การถ่ายโอนข้อมูล และการสั่งงานจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์อ่ืน ๆ ทาได้ อย่างสะดวก และงา่ ยดาย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ยังช่วยให้เราสามารถใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ แบบอัจฉริยะ เช่น เคร่ืองทาความเย็น เครื่องควบคุมอุณหภูมิ การเปิดหรือปิดรับแสงสว่างภายในบ้าน และระบบความปลอดภัย (กล้องวงจรปิด) โดยอุปกรณ์หรือเครื่องไฟฟ้าเหล่าน้ี ได้ผนวกเทคโนโลยี การสือ่ สารไวภ้ ายในเครอื่ ง ผู้ใช้งานจึงสามารถควบคมุ อปุ กรณ์ดงั กลา่ วดว้ ยสมาร์ทโฟน ทัง้ แบบระยะใกล้ และระยะไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จึงเป็นที่มาของบ้านอัจฉริยะ (Smart Homes) ซึ่งเป็นส่ิง ไม่ไกลเกินเอ้ือมสาหรับคนยุคใหม่ เทคโนโลยีดังกล่าว ทาให้ผู้อยู่อาศัยสามารถสั่งงานเพ่ือควบคุมการ เปิดหรือปิดเครื่องปรับอากาศ การเปิดปิดระบบแสงสว่างภายในบ้าน การรดน้าในสนามหญ้า นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 1 วิวัฒนาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ Page |5 การตรวจตราเฝา้ ระวงั ความปลอดภัย และการจัดการเน้ือหาความบันเทิงภายในบ้าน ซ่ึงการดาเนินการ ดังกล่าว จะถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ในบ้านเป็นหลักหรืออาจควบคุมระยะไกลผ่านสมาร์ทโฟน บ้านอัจฉริยะ จะกลายเป็นบรรทัดฐานแก่สังคมเมืองของผู้คนยุคใหม่ภายในระยะเวลาไม่ถึงสิบปีนบั จาก น้ีไปโดยเฉพาะบ้านอัจฉริยะท่ีมีส่วนช่วยอนุรักษ์พลังงาน เช่น การรดน้าสนามหญ้าช่วงเวลาใดช่วย ประหยัดน้า และได้ประโยชน์สูงสุด ระบบแสงสว่างจะเปิดอัตโนมัติเมื่อมีคนเดินผ่าน และการถ่ายโอน ความร้อนจากการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเคร่ืองหนึ่งไปยังอีกเครื่องหน่ึง เป็นต้น ทั้งนี้ความสมบูรณ์แบบของ บ้านอัจฉริยะจะมีตั้งแต่การควบคุมแบบอัตโนมัติโดยผู้อยู่อาศัยเพื่อตอบสนองความต้ องการของ ผู้อยู่อาศัยเองจนถึงระดับควบคุมขั้นสูงท่ีตัวระบบมีเซ็นเซอร์ไว้คอยตรวจจับสภาพแวดล้อมบริเวณ โดยรอบแล้วนามาพิจารณาปรับเปล่ียนเพื่อตอบสนองความต้องการในรูปแบบต่าง ๆ ให้แก่ผู้อยู่อาศัย โดยอตั โนมตั ิ รปู ท่ี 1.1 บ้านอจั ฉรยิ ะ ทมี่ า: (What is Smart Home? .. สมารท์ โฮมคืออะไร, 2560) 1.1.2 คอมพวิ เตอร์กับการศกึ ษา เยาวชนในปัจจุบันได้เข้าสู่ในยุคแห่งการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ เริ่มต้นจากอุปกรณ์เล่นเกม แบบพกพาไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ ไปยังคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานในโรงเรียน และท่ีบ้านเด็ก และวัยรุ่น ในทุกวันนี้ส่วนใหญ่ได้สัมผัสกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องมาตลอดชีวิตของพวกเขาแม้ว่า แต่ละครอบครัวจะมีปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์แตกต่างกันไปแต่นักเรียนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึง คอมพิวเตอร์ได้ในโรงเรียน ซ่ึงโรงเรียนบางแห่งได้บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ไว้ในหลักสูตรตั้งแต่ วยั เดก็ มกี ารนาแทบ็ เลต็ มาให้นกั เรียนใช้ในชน้ั เรยี น และใช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

6|Page บทท่ี 1 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ รูปที่ 1.2 การศึกษาตง้ั แตร่ ะดับอนบุ าล ประถม และมัธยม มกี ารนาคอมพวิ เตอร์มาใชเ้ พื่อการเรียนการสอน เพือ่ ฝึกทักษะการใชง้ านให้เหมาะสมกับวัยและระดบั ชนั้ ท่ีมา: (Teaching Styles Tradition vs Technology, 2011) สาหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ทางมหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ไว้ คอยบริการแก่นักศกึ ษา และยงั เปิดพื้นที่บริการ “ฮอตสปอต (Hotspots)” เพ่อื บริการอนิ เทอร์เน็ตแบบ ไร้สายตามอาคารเรยี น ห้องสมดุ และพน้ื ทอี่ ่ืน ๆ ในมหาวิทยาลัย ทาให้นักศกึ ษาสามารถใช้คอมพิวเตอร์ ส่วนตวั เชอ่ื มต่อไรส้ ายเพ่อื เขา้ ถึงแหล่งความรูต้ า่ ง ๆ ได้ตามต้องการ รูปท่ี 1.3 มหาวิทยาลยั จะเตรียมหอ้ งปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ไวค้ อยบริการแก่นักศึกษา ทม่ี า: (Mahidol University. All rights reserved, 2560) คอมพิวเตอร์ยังสามารถนามาใช้เพ่ืออานวยความสะดวกต่อการเรียนแบบทางไกลได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะผู้ท่ีอาศัยอยู่ตามพ้ืนที่ห่างไกล รวมถึงผู้ที่ไม่สามารถเข้าเรียนได้ตามเวลาปกติ เน่ืองจากมี ปัจจัยทางครอบครัว จึงต้องทางานหาเล้ียงชีพ ดังนั้น การเรียนทางไกลจึงเป็นการสร้างโอกาสให้กับคน กลุ่มน้ีได้เป็นอย่างดี การเรียนทางไกลยังสามารถนาไปใช้กับทหารที่ต้องปฏิบัติงานอยู่ตามชายแดน ห่างไกล เพ่ือจะได้ไม่พลาดกับหลักสูตรอบรมสาคัญต่าง ๆ ท้ังน้ี ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางมายัง สถานทีจ่ ริง ๆ จะเรียนผ่านคอมพวิ เตอรท์ ีเ่ ชือ่ มต่อกับอนิ เทอร์เน็ต นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ Page |7 รปู ที่ 1.4 เหล่าทหารท่ปี ฏบิ ัติงานตามชายแดนห่างไกล สามารถเข้าฝึกอบรมแบบทางไกลผ่าน อนิ เทอรเ์ น็ต ทาให้พวกเขาไม่พลาดหลกั สูตรสาคัญต่าง ๆ ท่นี ามาใช้เพอ่ื ป้องกนั ประเทศ ที่มา: (noguchieed, 2557) 1.1.3 คอมพิวเตอรก์ บั อาชีพการงาน แม้ว่าคอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้งานเป็นเวลายาวนานหลายสิบปีมาแล้ว แต่บทบาทการใช้ คอมพิวเตอร์ก็ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเช่นกัน สังเกตได้จากในอดีต คอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็น เครื่องมือวิจัยโดยผู้เช่ียวชาญด้านคอมพิวเตอร์ และนักวิทยาศาสตร์เป็นหลัก ต่อมาคอมพิวเตอร์ได้รับ การพัฒนาให้สามารถทางานได้อเนกประสงค์มากข้ึน มีการนามาใช้เป็นเคร่ืองมือช่วยเพ่ิมผลิต (Productivity) ให้แก่องค์กร และตามสานักงานต่าง ๆ ทุกวันน้ีคอมพิวเตอร์ถูกใช้งานในธุรกิจ ทุกประเภท พนักงานทุกระดับ ตั้งแต่คนงานจนถึงผู้บริหาร ต่างใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือเป็นเครื่องมือช่วย ทางานทัง้ สนิ้ รวมไปถงึ นกั ดนตรี วศิ วกร โปรแกรมเมอร์ เจา้ หนา้ ทีต่ ารวจ เจ้าหน้าที่ประกนั ภยั พนักงาน สง่ มอบสนิ ค้า แพทย์ หรอื พยาบาล ช่างซ่อมบารุง และนกั กีฬามืออาชพี ความสาคัญคือ คอมพิวเตอรไ์ ด้กลายเปน็ เคร่ืองมือสากลสาหรับใชป้ ฏบิ ัติงาน และการตดั สนิ ใจของ ผู้บริหาร รวมถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพด้านการทางาน และการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ถูกนาไปใช้กับงาน ด้านความปลอดภัยเพื่อควบคุมการเข้าถึงระบบ มีหลายองค์กรด้วยกัน นาคอมพิวเตอร์มาใช้เพ่ือ ตรวจสอบบุคคลโดยอนุญาตให้บุคคลท่ีได้รับสิทธิ์เท่านั้นท่ีสามารถเข้าไปยังสถานท่ีดังกล่าว ผ่านการ พิสูจน์ตัวตนด้วยการสแกนลายนิ้วมือ ฝ่ามือหรือการใช้บัตรผ่าน นอกจากน้ี คอมพิวเตอร์ยังถูกใช้งาน อย่างกว้างขวางโดยบุคลากรทางทหาร เพื่อใช้กับงานสื่อสาร การควบคุมการเดินเรือ การควบคุม ขีปนาวธุ การตรวจสอบ และชต้ี วั ผ้กู ่อการร้ายทีเ่ กย่ี วข้องกบั ความมน่ั คงของชาติ ด้วยคอมพิวเตอร์มีความเก่ียวข้องกบั งานแทบทุกประเภท ผคู้ นในปจั จบุ นั จงึ ต้องขวนขวายเพ่ือเพ่ิม ทักษะ และความเช่ียวชาญให้กับตน ผ่านการเรียนรู้ และฝึกอบรมหลักสูตรคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เพื่อให้ ได้มาซึ่งวุฒิบัตรหรือประกาศนียบัตร เพ่ือใช้เป็นหลักฐานยืนยันหรือรับรองว่า ตนมีความรู้ความ เชย่ี วชาญในสายงานน้ัน ๆ จริง เปน็ การสร้างโอกาสในการจ้างงาน และส่งเสริมความกา้ วหนา้ ในวชิ าชีพ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

8|Page บทท่ี 1 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1.1.4 คอมพิวเตอรใ์ นทกุ หนแหง่ นอกเหนือจากการใช้คอมพิวเตอร์ภายในบ้าน โรงเรียนหรือที่ทางานแล้วในการดาเนิน ชีวิตประจาวันของผู้คนส่วนใหญ่มักเก่ียวข้องกับคอมพิวเตอร์หลายประเภท เช่น การเบิกเงินสดจาก ตู้เอทีเอ็ม การซ้ือตั๋วเดินทางผ่านเครื่องตู้บริการอัตโนมัติ การตรวจสอบราคาหุ้นผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ การซอ้ื สนิ ค้าออนไลน์ การโอนเงินผ่านธนาคารออนไลน์ และการชาระเงนิ ผา่ นกระเป๋าเงนิ อิเลก็ ทรอนิกส์ จากตวั อยา่ งกจิ กรรมทีก่ ล่าวมา ยอ่ มทาให้เรารับรู้ และเข้าใจโดยปรยิ ายวา่ ทาไมเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ จงึ มบี ทบาทสาคัญต่อผคู้ นในปัจจุบนั รปู ท่ี 1.5 ทุกวนั นผ้ี ูค้ นส่วนใหญม่ กั พกโทรศัพท์เคล่อื นท่ีตดิ ตวั ไวต้ ลอด เพ่ือเขา้ ถงึ แหลง่ ข้อมลู ในอนิ เทอรเ์ น็ตไดต้ ามต้องการ และใชก้ ระเปา๋ เงนิ อิเล็กทรอนิกสผ์ ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่เพ่ือจบั จ่ายซ้อื ของโดยไม่ต้องพกพาเงนิ สด ท่มี า: (ภาวุธ พงษว์ ิทยภานุ, 2562) รูปท่ี 1.6 ตูบ้ รกิ ารคอมพิวเตอรท์ ต่ี ดิ ตัง้ ตามสถานทต่ี า่ ง ๆ ทาใหเ้ ราสามารถใช้บรกิ ารได้ทกุ เมื่อ ที่มา: (Best Self-Service Kiosk Solution Provider, 2005) ผู้คนจานวนมากมีคอมพวิ เตอร์แบบพกพาหรือสมาร์ทโฟนตดิ ตัวไว้ตลอด เพ่อื ดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็นการใชโ้ ทรศัพท์เพ่ือติดต่อกับผ้อู ่ืนหรือเพ่ือติดตามข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การตรวจสอบราคาหุ้น การตรวจสอบเส้นทางการจราจร การตรวจสอบเที่ยวบิน การดูภาพยนตร์ การติดตามข่าวสาร และความต้องการอื่น ๆ ในขณะเดินทาง อุปกรณ์พกพาเหล่าน้ี มีการเช่ือมต่อกับ อินเทอร์เน็ตแบบตลอดเวลา ทาให้พวกเขาไม่พลาดการติดต่อกับผู้คนตามสื่อสังคมออนไลน์ การเข้าถึง แหล่งบันเทิงในรูปแบบต่าง ๆ และการดาเนินธุรกรรมทางการเงินผ่านธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ได้ตาม ต้องการ นอกจากน้ียังมีคอมพิวเตอร์แบบสวมใส่ มาในรูปแบบของนาฬิกาข้อมือ สายรัดข้อมือ และ แว่นตา นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 1 ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ Page |9 1.2 แนวโนม้ สาคัญของไอที 5 ประเภทในยคุ ข้อมูลขา่ วสาร Phone รปู ท่ี 1.7 แนวโน้มของ 5 ไอทีในยุคข้อมูลข่าวสาร 1.2.1 โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ (Mobile Phone) หนง่ึ ในแนวโน้มท่ีส่งผลต่อผู้คนจานวนมาก และมองเห็นได้อยา่ งชัดเจนคือ ได้มีการเคลื่อนย้ายจาก คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่เคยนิยมใช้ไปสู่อุปกรณ์ส่ือสารเคล่ือนท่ี โดยเฉพาะโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือ โมบายโฟนหรือสมาร์ทโฟนที่ผู้คนส่วนใหญ่มักพกติดตัวไว้ตลอดเวลา สมาร์ทโฟนนอกจากใช้งานได้ เหมือนกับโทรศัพท์ท่ัวไปแล้วยังมีคุณสมบัติคล้ายกับคอมพิวเตอร์ขนาดย่อม มีพลังการประมวลผลสูง สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ทาให้เราไม่พลาดข่าวสาร และเข้าถึงส่ือสังคมออนไลน์ได้ตามต้องการ ปัจจุบันมีหลายบริษัทด้วยกันพยายามปรับปรุงเทคโนโลยีของตนเพ่ือสนับสนุน และรองรับอุปกรณ์ เหล่านี้ เช่น การพัฒนาเว็บไซต์เวอร์ชันบนโทรศัพท์เคล่ือนท่ีมีแอปต่าง ๆ ที่น่าสนใจเพ่ือดึงดูดลูกค้าให้ ดาวน์โหลดไปติดต้ังใช้งาน มีระบบสนับสนุนการถ่ายโอนข้อมูลระหว่างโทรศัพท์เคล่ือนท่ีกับเครื่อง คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลหรือ (PC) การเปลี่ยนแปลงในคร้ังน้ี ส่งผลใหบ้ รษิ ทั ระดบั โลกหลายแห่งพยายาม ทาตลาดเพื่อรองรับผู้บริโภคกลุ่มน้ีที่นับวันมีแต่จะเพ่ิมขึ้น ผ่านการพัฒนา แอป (Apps) ซ่ึงเป็น ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาข้ึนเพื่อใช้งานบนอุปกรณ์สื่อสารเคล่ือนที่ โดยมีความพยายามผลักดันความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีเพอ่ื เพ่ิมชอ่ งทางใหแ้ ก่ลูกค้าในการบริโภคสนิ คา้ หรอื บริการบนแพลตฟอรม์ อปุ กรณส์ ่ือสาร เคล่ือนที่ รวมถึงความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล และการประยุกต์ใช้งานท่ีมีความหลากหลายมากข้ึน ทั้งน้ีก็เพื่อสร้างโอกาสในการขายสินค้า และบริการ ด้วยเทคโนโลยีของอุปกรณ์เคล่ือนท่ีในปัจจุบัน จึง ก่อเกิด การหล่อหลอมรวมเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน (Converging Technologies) เป็นเทคโนโลยีที่นา อุปกรณ์ดิจิทัลหลาย ๆ ชนิดมาผนวกรวมเป็นชิ้นเดียวกันพร้อมกับผนวกไมโครโปรเซสเซอร์ลงไป ทาให้ อุปกรณ์ช้ินหน่งึ ๆ สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายวัตถุประสงค์ เชน่ สมารท์ โฟน ตวั เคร่ืองเปรยี บเสมือนมี อุปกรณ์หลายสิบตัวรวมอยู่ในเครื่องเดียวกัน ได้แก่ เครื่องรับโทรศัพท์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ช่วย บันทึกความจา ตารางนัดหมาย ปฏิทิน นาฬิกา กล้องถ่ายรูป กล้องวิดีโอ เครื่องเล่นเกม เครื่องวิทยุ สเตอริโอ เครื่องบันทึกเสียง อุปกรณ์นาทาง(GPS) โทรทัศน์ พจนานุกรม เครื่องคิดเลข เคร่ืองจับเวลา เคร่อื งแปลงหนว่ ย และเครอ่ื งฉายโปรเจคเตอร์ เป็นตน้ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

10 | P a g e บทที่ 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ รปู ที่ 1.8 เทคโนโลยีการหล่อหลอมรวมเทคโนโลยเี ข้าด้วยกัน ทาให้โทรศัพทเ์ คลือ่ นที่กลายเป็น แหล่งรวมอปุ กรณ์ดิจทิ ัล นบั สิบชนิด ที่มา: (บทที่ 2 บทบาทสารสนเทศกบั สงั คม, 2556) 1.2.2 สื่อสงั คมออนไลน์ (Social Media) แนวโน้มสาคัญประการที่สองที่จะกล่าวถึงต่อไปน้ี คือส่ือสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Google + และ Twitter แทบไม่ต้องสงสัยเลยว่า สื่อสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน ของมนุษย์เรามากเพียงใดดูได้จากปริมาณผู้มีบัญชีใน Facebook มากกว่าสองพันล้านบัญชี (ปี ค.ศ.2017) และยังมีแนวโน้มเติบโตขึ้นเร่ือย ๆ สาหรับผู้เสพสื่อสังคมออนไลน์ อาจเป็นผู้ใช้ท่ัวไปที่ ต้องการแบ่งปันเร่ืองราว รูปภาพ และการปรับปรุงสถานะ และความเป็นมาของการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ แก่เพ่ือนฝูงในกลุ่มให้รับทราบหรือในกรณีของอาจารยผ์ ู้สอน มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือใน การกระจายข่าวสารเก่ียวกับหลักสูตรทางวิชาการหรือกิจกรรมช่วยเหลือสังคมต่าง ๆ ไปยังลูกศิษย์ให้ รับทราบโดยท่ัวกันหรือกรณีของบางบริษัท ได้ใช้ช่องทางของสื่อสังคมออนไลน์เพ่ือให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจในการทางานของเหล่าพนักงาน การใช้เป็นช่องทางในการโฆษณาสินค้า และติดต่อระหว่าง พนกั งานกบั ลูกค้า และการควบคมุ พลังของฝูงชน เพอ่ื เขา้ ร่วมกจิ กรรมสร้างสรรคห์ รือกิจกรรมชมุ นุมต่าง ๆ ท้ังน้ีสื่อสังคมออนไลน์ ได้กลายเป็นอีกหนึ่งรูปแบบของการส่ือสาร ท่ีสามารถเข้าถึงกลุ่มคนได้ทุก ระดับ และยังมีแนวโน้มกลายเป็นส่ือหลักสาหรับผู้คนในอนาคตอันใกล้ความสาคัญคือ การบริโภค ข่าวสารของผู้คนในปัจจุบัน สมควรต้องกลั่นกรองให้ดี จงอย่าเชื่ออย่างสนิทใจในข่าวสารท่ีส่งต่อมาใน ทุก ๆ เรื่อง เพราะข่าวสารบางเรอ่ื งอาจเปน็ ขา่ วเทจ็ หรอื หลอกลวง รูปท่ี 1.9 กราฟสถิติแสดงจานวนผู้ใช้เฟสบคุ๊ ทมี่ า: (A Brief History of Facebook, 2017) นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ P a g e | 11 1.2.3 อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพสงิ่ (Internet of Things) แนวโน้มสาคัญประการที่สามคือ อินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิงหรือไอโอที (IoT) เป็นแนวคิดของ สรรพส่ิงต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อ และสื่อสารกันได้เองแบบอัตโนมัติ โดยที่มนุษย์ไม่ต้องเข้าไปจัดการ หรือส่ังการใด ๆ ทุกวันนี้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ภายในบ้าน มีการพัฒนาให้มี ความเฉลียวฉลาดมากขึ้นด้วยการฝังชปิ และอุปกรณ์รับส่งคล่ืนวิทยุเพื่อใหเ้ กิดการส่ือสารระหว่างกนั ได้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เหล่าน้ียังมีวิธีการระบุตัวตน และรับรู้บทบาทของตนภายใต้สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมน้นั ๆ สามารถส่ือสาร และโต้ตอบเพื่อทางานรว่ มกัน โดยทม่ี นุษย์ไมไ่ ด้เป็นผู้ควบคุม หรอื สง่ั การแตอ่ ย่างใด และด้วยแนวคดิ ของอนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่งน้ีเองจึงทาใหอ้ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ สามารถส่ือสารกันได้เองแบบอัตโนมัติ และมีการแบ่งปันข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ตโดย ปี ค.ศ.2008 ท่ีผ่านมา อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ท่ีมีอยู่ทั่วโลก มีปริมาณมากกว่า จานวนผู้คนท่ีอาศัยอยู่บนโลกใบน้ีแล้วเพราะความก้าวหน้าในชิปประมวลผล และเทคโนโลยีของ คล่ืนวิทยุ รวมไปถึงอุปกรณ์เซ็นเซอร์มีต้นทุนลดลงส่งผลให้ทุก ๆ ส่ิงในอนาคต สามารถเกิดขึ้นได้ไม่ไกล เกนิ ความฝันอีกตอ่ ไป ด้วยความสามารถในการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองตรวจจับสัญญาณ เคร่ืองวัด อัตราการเต้นของหัวใจ มอเตอร์หรือกล้อง ผ่านศักยภาพที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ อย่างไร้ขีดจากัดทาให้เกิดการนาไปประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ได้อย่างมากมาย เช่น การตรวจสอบอุณหภูมิของบ้านพักอาศัยเพ่ือนาไปสู่การปรับอุณหภูมิที่เหมาะสมของเคร่ืองปรับอากาศ แบบระยะไกลในทานองเดียวกับการประยุกต์ใช้เซ็นเซอร์แบบบูรณาการ นามาใช้ตรวจจับอุณหภูมิบน พน้ื ผวิ จราจรของประเทศเมอื งหนาว แลว้ สง่ ขอ้ มูลใหแ้ กร่ ถยนตเ์ พื่อจากัดความเร็วแบบพลวัตเมอื่ รถยนต์ เคลื่อนที่อยู่บนพ้ืนผิวถนนท่ีมีหิมะหรือน้าแข็งปกคลุม และด้วยเทคโนโลยีการประยุกต์ใช้งานของ เซ็นเซอร์ที่สมบูรณ์แบบจะนาไปสู่เทคโนโลยีบ้านอัจฉริยะ (Smart Home) เมืองอัจฉริยะ (Smart Cities) การเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) ระบบตรวจสุขภาพออนไลน์ (e-Health) และอื่น ๆ แบบไร้ขีดจากัด ท้ังน้ีการเติบโตของจานวนเซ็นเซอร์ และอุปกรณ์เช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต จะวิวัฒนาการ กลายมาเป็นอินเทอร์เน็ตของทุก ๆ สงิ่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการทางานของอปุ กรณ์ตามบทบาทหน้าท่ีของมันได้ เปน็ อยา่ งดี และนาไปส่กู ารปรับปรงุ ให้ดยี ิ่งข้ึนจนถงึ ระดบั ความเปน็ อจั ฉรยิ ะ รปู ที่ 1.10 แนวคิดอนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่ง กบั การให้สงิ่ ของตา่ ง ๆ สามารถเช่ือมต่อส่ือสารกนั เองโดยอตั โนมัติ ท่ีมา: (PinGGo, 2561) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

12 | P a g e บทท่ี 1 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1.2.4 คลาวดค์ อมพวิ ติง้ (Cloud Computing) แนวโน้มสาคัญประการที่สี่ คือเทคโนโลยีคลาวด์ แต่เดิมนั้น การใช้งานคอมพิวเตอร์จะต้องติดตั้ง โปรแกรมต่าง ๆ ลงในเครื่อง แต่ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสาร และการดาเนินธุรกิจสมัยใหม่ของผู้คนใน ปจั จุบันล้วนตงั้ อยบู่ นโครงสร้างพื้นฐานของอินเทอร์เน็ต ดงั น้นั แทนทโ่ี ปรแกรมจะต้องติดต้งั ลงในเคร่ือง กจ็ ะถกู ใช้งานผา่ นระบบคลาวด์แทน สาหรบั การเข้าถึงทรัพยากรบนคลาวด์ จะดาเนินงานผา่ นโปรแกรม ท่องเว็บนั่นหมายความว่า เราสามารถเข้าถึงข้อมูล และใช้โปรแกรมบนคลาวด์ได้ทุก ๆ ที่ที่มีสัญญาณ อินเทอร์เน็ต และยังสามารถเข้าถึงด้วยอุปกรณ์อันหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บคุ คลหรอื (PC) โนต้ บุ๊ก แท็บเลต็ หรือสมาร์ทโฟน รูปท่ี 1.11 ผูค้ นสามารถเข้าถึงขอ้ มูล และโปรแกรมบนคลาวดไ์ ดท้ ุก ๆ ท่ีดว้ ยอุปกรณท์ ี่หลากหลาย ที่มา: (รวี ิว Backup Everything Business (BEB) โซลชู ่นั การสารองขอ้ มลู แบบไฮบรดิ , 2561) 1.2.5 บ๊ิกดาตา้ (Big Data) แนวโน้มสาคัญประการที่ห้าคือ ข้อมูลขนาดใหญ่หรือบิ๊กดาต้า ด้วยยุคเฟื่องฟูของอินเทอร์เน็ตใน ทุกวันนี้ ได้ก่อให้เกิดข้อมูลหรือสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ จานวนมหาศาล (ระดับเทราไบต์ขึ้นไป) โดยเฉพาะส่ือสังคมออนไลน์ ได้ก่อให้เกิดสารสนเทศจานวนมาก ทุกคนสามารถสร้างเน้ือหา (ข้อความ ภาพ และวิดีโอ) ด้วยเครื่องมือช่วยสร้างท่ีมีอยู่มากมาย และนาไปเผยแพร่ในส่ือสังคม รวมไปถึง เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิงได้ส่งเสริมการเชอ่ื มต่ออุปกรณ์กับเซ็นเซอร์ไปยังอินเทอร์เน็ต ทาให้ การเจรญิ เตบิ โตของข้อมลู ได้เพ่ิมปรมิ าณมากข้ึนท้ังระดับองค์กร และระดบั บคุ คล โดยเฉพาะข้อมูลแบบ ไมม่ ีโครงสรา้ ง และด้วยการตัดสินใจของผู้บรหิ ารท่ีมกั ใช้ข้อมลู จากภายนอกมากกวา่ ข้อมลู ภายใน ดงั นน้ั จึงมีการนาข้อมูลเหล่าน้ีไปกลั่นกรอง วิเคราะห์เพ่ือนามาใช้ประกอบการตัดสินใจในทางธุรกิจมิติของ บ๊กิ ดาตา้ มีคุณสมบัตสิ าคัญ 3 ประเดน็ (หรือเรียกยอ่ ๆ วา่ 3V) คือ 1. Volume หมายถึง ข้อมูลจานวนมหาศาลที่มีขนาดใหญ่เกินกว่าซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล ทวั่ ไปจะจัดการได้ 2. Variety หมายถึง รูปแบบข้อมูลที่มีความหลากหลาย ประกอบด้วยข้อมูลแบบมีโครงสร้าง และไมม่ ีโครงสรา้ ง ครอบคลุมขอ้ มูลทั้งแบบข้อความ รปู ภาพ วดิ ีโอ และอน่ื ๆ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ P a g e | 13 3. Velocity หมายถึง ข้อมูลมีการเปล่ียนแปลง และหล่ังไหลเข้ามาอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลจาก ทรานแซกชัน (Transaction) ต่าง ๆ ข้อมูลจากโซเชียลมีเดีย รวมถึงข้อมูลจากเซ็นเซอร์ และ อินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง จึงจาเป็นต้องมีโครงสร้างพื้นฐานในการรองรับ และสนับสนุน โดยเฉพาะการ ประมวลผลข้อมูลหลายรูปแบบท่ีต้องใช้ความรวดเร็ว สามารถป้อนข้อมูลได้ทันที และสอดคล้องกับ ความต้องการของบก๊ิ ดาต้า 1.3 ชนิดของคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ได้ก้าวลา้ เกินกว่าทคี่ ิดไว้มาก ส่งผลให้ปัจจบุ ันมคี อมพิวเตอร์หลายชนิด หลายรูปแบบให้เลือกใช้งาน ตาราต่างประเทศหลาย ๆ เล่ม ได้มีการปรับเนื้อหาใหม่ และได้แบ่งชนิด ของคอมพิวเตอร์ออกเป็นหลายรูปแบบเพ่ือตอบรับเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ท่ีเปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตามสาหรับหนังสือเล่มน้ีจะจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ ออกเป็น 5 ชนิดโดยเรียงลาดับตามขนาด ได้แก่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มิดเรนจ์คอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ และไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.3.1 ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ (Supercomputers) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ และมีขีดความสามารถสูงที่สุด ภายใน ประกอบด้วยโปรเซสเซอร์นับหม่ืนตัวที่คานวณด้วยความเร็วหลายล้านลา้ นคาสั่งต่อวินาที และเร็วท่ีสุด ตามความหมายของคาว่า “ซูเปอร์” ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เหมาะกับงานที่ต้องใช้ความเร็ว ความถูกต้อง และความสามารถด้านการประมวลผลเป็นพิเศษ เช่น การส่งมนุษย์อวกาศไปยังนอกโลก การควบคุม ระบบขีปนาวุธ และดาวเทียม การพยากรณ์อากาศ การสารวจแหล่งน้ามัน การออกแบบอากาศยาน การสรา้ งแบบจาลองระดบั โมเลกลุ การวิจยั นิวเคลียร์ และการทาลายรหสั ลับ ในปจั จบุ ันเริม่ มีการนาซเู ปอร์คอมพวิ เตอรม์ าประยุกต์ใช้กบั ส่งิ ใหม่ ๆ มากขึน้ เช่น เวบ็ โฮสติ้งทตี่ อ้ ง รองรับกับงานท่ีมีความซับซ้อนสูง (เช่น การค้นหาเว็บไซต์ และเครือข่ายสังคม) รวมถึงการประยุกต์ใช้ กับงานสามมิติ (เช่น การถ่ายภาพทางการแพทย์แบบสามมิติ การฉายภาพสามมิติ และการสร้าง แบบจาลองสถาปัตยกรรมสามมิติ) ซึ่งแตกต่างจากเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ท่ีปกติสามารถประมวลผล โปรแกรมประยุกต์หลายตัวพร้อม ๆ กันเพื่อบริการแก่ผู้ใช้รายต่าง ๆ ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลเพยี งโปรแกรมเดยี วเพื่อประมวลผลข้อมูลให้เรว็ ทส่ี ุดเทา่ ทจ่ี ะเป็นไปได้ ปี ค.ศ.2016 มีการจัดอันดับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ท่ีประมวลผลได้เร็วที่สุดในโลก ส่งผลให้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ซันเวย์ ไทห่ ไู ลท์ (Sunway TaihuLight) จากสาธารณรฐั ประชาชนจีน ทาลายสถติ ิด้วยความเรว็ ในการประมวล ถงึ 93,000 ล้านลา้ นคาสงั่ ต่อวนิ าที นุชากร คงยะฤทธ์ิ

14 | P a g e บทที่ 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ รปู ท่ี 1.12 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ท่มี า: (9MZ@, 2559) 1.3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computers) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ ท่ีมีขีดความสามารถสูง นิยมใช้งานในหลายองค์กร เช่น โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย ธุรกิจขนาดใหญ่ ธนาคาร และองค์กรภาครัฐเหมาะสาหรับใช้เป็นโฮสต์เพื่อ จัดการศูนย์กลางข้อมูลท่ีมีปริมาณข้อมูลจานวนมาก ลักษณะเด่นของเมนเฟรมคอมพิวเตอร์คือ การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Data Processing) โดยทาหน้าท่ีเป็นโฮสต์คอมพิวเตอร์ คอยบริการทรัพยากรทั้งหมดให้แก่เครื่องลูกข่าย ไม่ว่าจะเป็นซีพียู หน่วยความจา และหน่วยเก็บข้อมูล ทั้งนี้เครื่องลูกข่ายหรือเทอร์มินัล (Terminal) ท่ีเช่ือมต่อเข้ากับเมนเฟรมน้ัน จะมีเพียงจอภาพ และ แป้นพิมพ์ ในด้านความสามารถของเคร่ืองเมนเฟรมสามารถเชื่อมต่อใช้งานเทอร์มินัลได้นับพันเคร่ือง และประมวลผลดว้ ยความเร็วในระดบั พันล้านคาสงั่ ต่อวินาที ปญั หาประการหนึ่งที่ธุรกิจส่วนใหญต่ ้องเผชิญคือ ตน้ ทุนไฟฟ้าท่ีต้องนามาจ่ายพลงั งานให้กับเครื่อง เมนเฟรมเซิร์ฟเวอร์ และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ใช้งานในองค์กร ดังน้ัน การใช้เมนเฟรมเซิร์ฟเวอร์ใน ธุรกิจหลักให้เกิดความคุ้มค่า และมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงกลายเป็นโจทย์ที่องค์กรต้องคานึงถึงเป็น อันดับต้น ๆ จึงเป็นท่ีมาของ ระบบเสมือน (Virtualization) ท่ีใช้ประโยชน์จากเมนเฟรมเซิร์ฟเวอร์ได้ เต็มท่ี และคุ้มค่าด้วยการใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์รวมของเซิร์ฟเวอร์ แทนการติดต้ังเซิร์ฟเวอร์ ขนาดเล็กหลาย ๆ เคร่ือง และแยกการใช้งาน ก็ให้นามารวมอยู่ในเมนเฟรมเซิร์ฟเวอร์เพียงเคร่ืองเดียว (เม่ือลดจานวนเครื่องเซิรฟ์ เวอรล์ งได้ย่อมชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานลง) ด้วยเทคโนโลยีระบบเสมือน ท่ีใช้เป็นศูนย์รวมของเซิร์ฟเวอร์จึงเสมือนกับมี เซิร์ฟเวอร์หลาย ๆ เครื่องทางานอยู่ในเครื่องเดียวกัน ทาใหส้ ามารถใชท้ รัพยากรคอมพิวเตอร์รว่ มกันได้ ไมว่ า่ จะเปน็ ซพี ียู หน่วยความจา อุปกรณ์จดั เกบ็ ข้อมูล และอ่ืน ๆ อีกทั้งยังสามารถติดต้ังระบบปฏิบัติการได้หลายตัว และทางานพร้อม ๆ กันเพ่ือรองรับการ เชอื่ มต่อจากเคร่ืองลูกข่ายท่ีไม่มีข้อจากัดในด้านของแพลตฟอร์ม จึงทาใหร้ ะบบสามารถจัดการกับความ ต้องการใหม่ ๆ ได้เป็นอย่างดี เช่น ในขณะท่ีระบบกาลังประมวลผล และติดตามมาตรวัดพลังงานจาก ระบบมิเตอร์อัจฉริยะอยู่ ระบบยังสามารถทางานร่วมกับอุปกรณ์เคลื่อนท่ี และแอปต่าง ๆ บนเครือข่าย สังคมไดด้ อี กี ด้วย นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ P a g e | 15 รปู ท่ี 1.13 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ของไอบีเอม็ ที่มา: (Computer คอมพวิ เตอร์ ไมย่ ากอย่างท่ีคุณคดิ , 2559) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ของ IBM ถูกออกแบบให้สามารถประมวลผลข้อมูลบนอุปกรณ์สื่อสาร เคลื่อนท่ี โดยเครื่องดังกล่าวยังสนับสนุนระบบเสมือนที่สามารถติดตั้งเซิร์ฟเวอร์เสมือนลงในเคร่ืองเดยี ว ได้ถึง 8,000 เคร่ืองประมวลผลข้อมูลได้มากกว่า 2.5 พันล้านทรานแซกชันต่อวัน และแน่นอนว่า นอกจากจะได้พลังการประมวลผลท่ีเต็มเปี่ยมไปด้วยประสิทธิภาพแล้วยังรับประกันถึงความน่าเช่ือถือ และระบบความปลอดภัยท่ไี ดจ้ ากเครอื่ งเมนเฟรม 1.3.3 มิดเรนจ์คอมพวิ เตอร์ (Midrange Computer) มิดเรนจ์คอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ระดับกลางที่อยู่ระหว่างเคร่ืองเมนเฟรมกับ ไมโครคอมพิวเตอร์ โดยช่วง ปี ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์ระดับกลางเป็นที่รู้จักกันในนามของ มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputers) นั้น ได้รับความนิยมมากจนมีการนาไปใช้กับงานวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ และแวดวงทางธุรกิจหลายแห่ง ตัวอย่างมินิคอมพิวเตอร์ท่ีได้รับความนิยมในยุคน้ัน ได้แก่ เคร่ือง PDP-11/24 ของบริษัทดิจิทัลอิควิปเมนต์ และมินิคอมพิวเตอร์ของ IBM เช่น IBM System/36 กับ AS/400 เป็นต้น รปู ท่ี 1.14 มินิคอมพวิ เตอร์ ท่มี า: (สพุ ตรา พิมพด์ ี, 2562) นุชากร คงยะฤทธิ์

16 | P a g e บทที่ 1 วิวัฒนาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ จนกระทั่ง ปี ค.ศ.1990 เป็นตน้ มา รปู แบบการประมวลผลแบบไคลเอ็นต์เซิร์ฟเวอร์ ได้กลายเป็นท่ี นิยมมิดเรนจ์คอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์ระดับกลางนับจากน้ีเป็นต้นไป จะอ้างอิงเคร่ืองระดับ เซิร์ฟเวอร์ (Server) เป็นหลักที่ได้สร้างความสมดุลด้านการประมวลผลแบบสองฝ่ังด้วยหลักกระจาย การประมวลผลทั้งบนฝั่งไคลเอ็นต์ และเซิร์ฟเวอร์ ตัวอย่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์แบบต่าง ๆ เช่น ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ เว็บเซิร์ฟเวอร์ แอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ สาหรับในอดีต เซริ ์ฟเวอรม์ ักนาไปใช้งานกับบริษัทขนาดกลางหรือในแผนกต่าง ๆ ตามองคก์ รขนาดใหญ่เพ่ือรองรับงาน ประมวลผลทางธุรกิจ แต่ปัจจุบันเซิร์ฟเวอร์มีการใช้งานอย่าง แพร่หลาย เน่ืองจากมีราคาถูกลง และมี หลายขนาดให้เลือกใช้ตามงบประมาณ อีกทั้งยังสามารถเพ่ิมขีดความสามารถให้กับระบบได้หาก ต้องการ จึงทาให้ธุรกิจท่ัวไป ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ นิยมติดต้ังเครื่องเซิร์ฟเวอร์เพื่อเชื่อมต่อ เป็นเครือข่ายภายใน เพื่อเข้าถึงระบบงาน และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ แบบหลายผู้ใช้รวมถึงการ เชอื่ มตอ่ เข้ากับเครอื ข่ายภายนอกอยา่ งอนิ เทอร์เน็ต รูปที่ 1.15 เซริ ์ฟเวอร์คอมพวิ เตอร์ ท่มี า: (เครื่องเซริ ์ฟเวอร์, 2562) 1.3.4 ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputers) ไมโครคอมพิวเตอร์หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computers: PC) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก นิยมใช้งานในระดับบุคคล และใช้งานตามสานักงานท่ัวไป ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอรม์ หี ลายประเภทหลายขนาดหลายรูปทรงให้เลอื กใชง้ าน ตามรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1. คอมพวิ เตอร์แบบเดสก์ทอ็ ป (Desktop Computer) แตเ่ ดิมนั้น เดสก์ท็อปเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลหรือ (PC) ท่ีออกแบบรูปทรงแนวนอน เพ่ือ วางบนโต๊ะได้อย่างพอดี และยังสามารถนาจอภาพมาวางตงั้ บนเคสได้ จึงเป็นท่ีมาของคอมพิวเตอร์แบบ ตั้งโต๊ะนั่นเอง แต่ในปัจจุบันเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือ (PC) มีรูปทรงเคสหลากหลายรูปแบบให้ เลือกใช้ เช่น แบบทาวเวอร์เคสใชส้ าหรับวางต้งั เคสขนาดเล็กใช้สาหรบั วางตง้ั หรือวางนอน และเคสแบบ ออลอินวัน ท่ีตวั เคร่ืองกบั จอภาพถูกผนวกรวมเข้าดว้ ยกันเป็นช้ินเดียว นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ P a g e | 17 รูปท่ี 1.16 เครือ่ งคอมพิวเตอรต์ ้ังโตะ๊ ทม่ี า: (สพุ ตรา พมิ พด์ ี, 2562) เคสของเคร่อื งพีซีนอกจากมีหลายรูปทรงหลายขนาดแล้ว ยงั มี 2 แพลตฟอรม์ หลกั ๆ ให้เลือกใช้คือ Windows PC (เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลท่ีใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์) กับ Mac PC (เครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลท่ีใช้ระบบปฏิบัติการแมคโอเอส) นอกจากนี้ยังมีเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล สมรรถนะสูง คือเครื่องเวิร์กสเตชัน (Workstation PC) ออกแบบมาเพื่อใช้งานเฉพาะด้าน โดยเฉพาะงานกราฟิก งานวิทยาศาสตร์ และงานตดั ตอ่ วดิ โี อหรอื ภาพยนตร์ 2. คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (Portable Computers) คอมพิวเตอร์แบบพกพา เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขนาดเล็กลงไปอีกสามารถพกพา และ เคลื่อนยา้ ยไปไหนไดอ้ ยา่ งสะดวก ตวั เครอ่ื งจะมแี บตเตอรี่สาหรบั สารองไฟไวใ้ ช้งานหลายชว่ั โมง ตัวอย่าง คอมพิวเตอรแ์ บบพกพา เชน่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก แทบ็ เล็ต และเนต็ บกุ๊ สมารท์ โฟน 3. คอมพวิ เตอร์แบบสวมใส่ (Wearable Computers) คอมพิวเตอร์แบบสวมใส่เป็นอุปกรณ์ดิจิทัลขนาดเล็ก สามารถนามาสวมใส่เข้ากับส่วนต่าง ๆ ตามร่างกายของมนุษย์ และจะติดตัวกับผู้สวมใส่ไปตลอดการเดินทาง ตัวอย่างคอมพิวเตอร์แบบสวมใส่ ที่กาลงั เปน็ ท่ีนยิ ม เชน่ นาฬกิ าขอ้ มอื แวน่ ตาอัจฉริยะ และสายรัดขอ้ มือ รปู ที่ 1.17 คอมพวิ เตอร์แบบสวมใส่ ท่มี า: (FREE ME, 2555) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

18 | P a g e บทท่ี 1 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.3.5 ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Microcontroller) ระบบคอมพิวเตอร์โดยส่วนใหญ่แล้วจะแบ่งส่วนประกอบทางฮาร์ดแวร์ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อแยก การทางานอย่างชัดเจน เช่น โปรเซสเซอร์ทาหน้าท่ีประมวลผลหรือหน่วยความจาทาหน้าที่เก็บข้อมูล แต่แนวคิดของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายในชิปนอกจากมีโปรเซสเซอร์ไว้สาหรับประมวลผลแล้วยังมี หน่วยความจา และพอร์ตเช่ือมต่อภายนอกที่บรรจุลงในแพ็กเกจเดียวกันนิยมนามาใช้เพื่องานควบคุม มากกว่าการนามาใช้เพ่ืองานประมวลผลเพียงอย่างเดียว Microcontroller = Microprocessor + Memory + I/O คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded Computers) เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ชนิดหนึ่งท่ีได้รับ การออกแบบเป็นพิเศษมีขนาดเล็กถูกโปรแกรมเพื่อทางานใดงานหน่ึงโดยเฉพาะ สังเกตได้จากอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าสมัยใหม่จะมีโปรแกรมอานวยความสะดวกต่าง ๆ มากมายน้ัน เป็นเพราะว่าเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเหล่าน้ันได้บรรจุไมโครคอนโทรเลอร์อยู่ภายในเครื่อง และต่อไปน้ีเป็น ตวั อย่างการประยกุ ต์ใชไ้ มโครคอนโทรลเลอร์กบั เคร่ืองใช้ไฟฟา้ หรืออุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสต์ ่าง ๆ รูปที่ 1.18 ไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ฝังอยู่ในโทรศัพท์เคลื่อนท่ี และในรถยนตร์ วมถงึ การโปรแกรมลงในไมโครคอนโทรลเลอร์เพ่ือนาไปควบคุมอุปกรณ์หรือเคร่อื งจักรต่าง ๆ ทม่ี า: (อภิรักษ์ นามแถ่ง, 2560) 1.4 ผังลาดบั เหตกุ ารณส์ าคญั ๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รูปท่ี 1.19 ผังลาดบั เหตกุ ารณ์สาคญั ๆ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ีมา: (Timeline of computing 1980–1989, 2012) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 1 ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ P a g e | 19 1.5 สรุปท้ายบท คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน เราสามารถพบเห็นการใช้งานค อม พิว เต อร์อ ยู่ท่ัว ไ ป ไม่ว่าจะเป็นตามบ้านพัก อ า ศั ย ตามสถาบันการศึกษา ตามสาขาอาชพี และทุก ๆ สถานทใี่ นขณะเดนิ ทาง การเปล่ียนแปลงของสงั คมใน ทุกวันนี้ เกิดจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมี 5 ไอทีท่ีมีอิทธิพลต่อชีวิตการทางาน และชวี ิตสว่ นตวั ไดแ้ ก่ โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ีเม่ือสงั คมออนไลน์ อินเทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่ง คลาวดค์ อมพิวติ้ง และบ๊กิ ดาต้า คอมพิวเตอร์ หมายถึง อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ทส่ี ามารถทางานได้อัตโนมัติ มีสว่ นประกอบสาคัญ ๆ คือหน่วยนาเข้า หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล และหน่วยจัดเก็บ ระบบสารสนเทศเป็นการนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพ่ือรวบรวม สร้าง และเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ สาหรับองค์ประกอบ พื้นฐานของระบบสารสนเทศจะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล การส่ือสารโทรคมนาคม ข้ันตอนการทางาน และบุคลากร โดยชนิดของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 5 ชนิดด้วยกันคือ ซูเปอร์ คอมพวิ เตอร์ เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ มิดเรนจค์ อมพวิ เตอรไ์ มโครคอมพวิ เตอร์ และไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.6 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. จงอธิบายความหมายของคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. จงอธิบายว่าเหตุใดคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมีบทบาทสาคัญต่อชีวิตประจาวัน ของ ผคู้ นในปจั จบุ ันน้ี 3. จงอธิบายว่าบ้านอัจฉริยะ (Smart Home) คืออะไร อานวยความสะดวกแก่มนุษย์เราได้อย่างไร มีส่วนชว่ ยอนุรักษ์พลงั งานได้อย่างไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 4. จงอธิบายว่าแนวโนม้ สาคญั ของไอที 5 ประเภทในยคุ ขอ้ มลู ขา่ วสารมอี ะไรบา้ ง 5. จงอธิบายวา่ ชนิดของคอมพวิ เตอร์มีอะไรบา้ ง สรปุ มาใหเ้ ขา้ ใจพอสงั เขป 1.7 อา้ งอิงประจาบท 9MZ@. (2559). 10 อันดับ Supercomputer ท่ีเรว็ ที่สดุ ในโลก. คน้ เม่ือ 11 มีนาคม 2562 จาก https://9mza.blogspot.com/2016/02/Top10SuperComputer.html A Brief History of Facebook. (2017). Retrieved March, 11, 2019, form https://adsoup.com/a-brief-history-of-facebook/ Best Self-Service Kiosk Solution Provider. (2005). QSR McDonalds Kiosk News. Retrieved March, 11, 2019, form https://kioskindustry.org/mcdonalds-news-watch/ Computer คอมพวิ เตอร์ ไม่ยากอยา่ งท่ีคุณคิด. (2559). ค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2562 จาก https://sdblogweb.wordpress.com/ FREE ME. (2555). \"แว่นตากูเก้ลิ \"คอมพิวเตอร์แบบสวมใส่ ผลงานสุดลา้ จากกูเกิล้ เอ็กซแ์ ลบ็ . คน้ เมื่อ 11 มนี าคม 2562 จาก https://www.clipmass.com/story/40884 Mahidol University. All rights reserved. (2560). ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์. คน้ เม่อื 24 มีนาคม 2562 จาก https://muit.mahidol.ac.th/labcomputer.htm นุชากร คงยะฤทธ์ิ

20 | P a g e บทท่ี 1 วิวฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ noguchieed. (2557). กองทัพสหรัฐไมป่ ลื้ม ตรวจพบทหารใช้คอมพวิ เตอร์ไมเ่ หมาะสม หาคู่นอน ในฐานทพั . ค้นเม่ือ 11 มีนาคม 2562 จาก https://www.clipmass.com/story/87442 PinGGo. (2561). i-SMART เปล่ียนรถธรรมดาใหล้ ้ากวา่ ชาวบา้ น เทคโนโลยอี ัจฉริยะทจ่ี ะช่วยให้ชีวิต ง่ายและสนุกยิ่งข้ึน. ค้นเมื่อ 11 มนี าคม 2562 จาก https://www.whatcar.co.th/33701/mg- ismart-technology/ Teaching Styles Tradition vs Technology. (2011). Retrieved March, 11, 2019, form https://www.oxfordlearning.com/teaching-styles-tradition-vs-technology/ Timeline of computing 1980–1989. (2012). Retrieved March, 11, 2019, form http://random-bits-of-pie.blogspot.com/2012/01/timeline-of-computing- 19801989.html What is Smart Home? .. สมาร์ทโฮมคอื อะไร. (2560). ค้นเมือ่ 24 มีนาคม 2562 จาก https://sats.co.th/th/news/23984-what-is-smart-home- เครื่องเซิร์ฟเวอร์. (2562). ค้นเมอื่ 11 มนี าคม 2562 จาก https://sites.google.com/site/cp5910122113084/server บทที่ 2 บทบาทสารสนเทศกับสังคม. (2556). ค้นเมื่อ 11 มนี าคม 2562 จาก http://yoothachaimsu.blogspot.com/2013/04/2.html ภาวุธ พงษว์ ทิ ยภานุ. (2562). ชีวติ ดิจทิ ลั งา่ ย และสบายกว่ามาก. คน้ เมื่อ 11 มีนาคม 2562 จาก http://www.thaismescenter.com/ชีวิตดิจทิ ัล-งา่ ย-และสบายกว่ามาก/ รวี วิ Backup Everything Business (BEB) โซลูชัน่ การสารองข้อมลู แบบไฮบรดิ . (2561). ค้นเม่ือ 17 มีนาคม 2562 จาก https://www.quickserv.co.th/knowledge- base/solutions/backup/ สุพตรา พิมพ์ดี. (2562). คอมพิวเตอรแ์ ละการบ้ารุงรกั ษา(computer and maintenace). ค้นเม่ือ 10 มนี าคม 2562 จาก https://mozajung.blogspot.com/2019/01/ อภิรักษ์ นามแถง่ . (2560). รถบงั คับขบั เคลอ่ื น 2 ล้อควบคมุ ด้วยโทรศัพท์มือถือ Android. คน้ เมือ่ 24 มนี าคม 2562 จาก http://www.se-edstemeducation.com/รถบงั คับขับเคลื่อน-2- ลอ้ ควบคุมด้วยโทรศัพท์มือถอื -android/ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ



22 | P a g e บทที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ แผนบริหารการสอน รหสั วิชา : 11-411-101 วชิ า : พ้นื ฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ หนว่ ยท่ี : 2 ชื่อหน่วยเรียน : องคป์ ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ เวลาทสี่ อน 3 ชว่ั โมง 1. หัวขอ้ ประจาบท 1.1 ฮาร์ดแวร์ 1.2 ซอฟต์แวร์ 1.3 บุคลากร 1.4 ข้อมลู / สารสนเทศ 1.5 กจิ กรรมและความสมั พนั ธข์ องแตล่ ะองคป์ ระกอบ 1.6 สรปุ ทา้ ยบท 1.7 แบบฝึกหดั ท้ายบท 1.8 อ้างอิงประจาบท 2. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 2.1 บอกความหมายองคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอรแ์ ต่ละชนดิ ได้ 2.2 จาแนกองคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์แต่ละชนดิ ได้ 2.3 อธบิ ายคณุ สมบัติของบุคลากรในหนา้ ทต่ี า่ ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกับคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 2.4 บอกความแตกตา่ งระหวา่ งขอ้ มลู และสารสนเทศได้ 2.5 ยกตวั อย่างกิจกรรมทเ่ี กี่ยวข้องกบั ความสมั พนั ธข์ ององค์ประกอบแต่ละชนดิ ได้ 3. วิธกี ารสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท 3.1 บรรยายโดยอาจารยผ์ สู้ อน 3.2 นักศกึ ษารว่ มกันอภิปรายในชั้นเรยี น 3.3 ศกึ ษาเอกสารการสอนบทท่ี 2 3.4 นักศกึ ษาเพมิ่ เตมิ นอกช้นั เรยี น 3.5 นักศกึ ษาปฏบิ ัติกจิ กรรมตามท่ีกาหนด 3.6 ใช้ LCD ในการเรียนการสอน 4. สือ่ การเรยี นการสอน 4.1 เอกสารประกอบการสอน 5. การวดั ผลและประเมินผล 5.1 ประเมนิ ผลกจิ กรรมและแนวตอบคาถามทา้ ยบท นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ P a g e | 23 บทท่ี 2 องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ ในบทที่จะกล่าวถึงองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ึงประกอบไปด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร ขอ้ มูล / สารสนเทศ และกจิ กรรมและความสัมพันธ์ของแตล่ ะองคป์ ระกอบ ดังนี้ 2.1 ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์จะมีท้ังที่ติดต้ังอยู่ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (เช่น ซีพียู เมนบอร์ด แรม) และท่ตี ิดตั้งอยูภ่ ายนอกเครื่องคอมพวิ เตอร์ ( เช่น คีย์บอรด์ เมาส์ จอภาพ เคร่อื งพิมพ์) ซ่ึงสว่ นใหญ่แล้ว จะผลิตมาจากบริษัทที่มีความชานาญทางดา้ นนโี้ ดยเฉพาะ เมื่อใดก็ตามท่ีฮาร์ดแวรต์ ัวใดตวั หนงึ่ เสียหาย หรอื ไมส่ ามารถใช้งานได้ สามารถเปลย่ี นหรือซ่อมแซมได้เหมือนกับการเปลี่ยนอะไหล่ของรถยนต์นั่นเอง ฮารด์ แวร์ทีส่ าคัญกบั ระบบคอมพวิ เตอร์แบ่งเปน็ 4 ประเภทใหญ่ ๆ คอื 2.1.1 อปุ กรณ์นาเขา้ (Input Device) ใช้สาหรับป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ ไมโครโฟน เคร่ืองสแกน และ กลอ้ งดจิ ิทลั รูปท่ี 2.1 อปุ กรณน์ าเขา้ ท่มี า: (Computer – Input Devices, 2018) นุชากร คงยะฤทธิ์

24 | P a g e บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.1.2 หน่วยประมวลผล (Process Device) ใช้สาหรับประมวลผลตามคาส่ัง เช่น หน่วยประมวลผลกลาง(CPU) แผงวงจรหลัก และ หน่วยความจาหลัก รูปที่ 2.2 หน่วยประมวลผล ที่มา: (Andy Patrizio, 2018) 2.1.3 อปุ กรณ์แสดงผล (Output Device) ใช้สาหรบั แสดงผลลัพธก์ ารทางานของคอมพวิ เตอร์ เช่น จอภาพ เครื่องพมิ พ์ และลาโพง รูปที่ 2.3 อปุ กรณ์แสดงผล ทีม่ า: (7 Examples of Output Devices, 2018) นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ P a g e | 25 2.1.4 อุปกรณ์บนั ทึกข้อมูล (Storage Device) ใช้สาหรับเก็บบันทึกข้อมูล เช่น Hard disk, Flash Drive, Memory Card และเคร่ืองบันทึกแผ่น CD / DVD รปู ท่ี 2.4 อุปกรณบ์ ันทกึ ขอ้ มูล ที่มา: (Storage Device, 2018) 2.2 ซอฟตแ์ วร์ ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคาสั่งเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ ซ่ึงจะเขียนขึ้นโดย นักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือบางทีก็เรียกว่านักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) ซอฟต์แวร์เป็นองค์ประกอบท่ีเป็นนามธรรม ไม่สามารถจับต้องได้เหมือนอย่างฮาร์ดแวร์ แต่ระบบ คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทางานได้หากปราศจากชุดคาสั่งที่เขียนไว้เหล่านี้ ซ่ึงซอฟต์แวร์น้ีแบ่งออกได้ เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ และซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ รปู ที่ 2.5 ซอฟต์แวรร์ ะบบคอมพิวเตอร์และซอฟตแ์ วร์โทรศัพท์ ทมี่ า: (What Is Operating System in Urdu, 2016) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

26 | P a g e บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.2.1 ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ควบคุมระบบการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างท่ีรู้จักกันเป็น อย่างดีคือ ระบบปฏิบัติการหรือ OS (Operating System) ซึ่งโดยปกติแล้วบริษัทผู้ผลิตและจาหน่าย คอมพิวเตอร์ติดตั้งมาให้โดยคิดราคารวมกับเครื่องแล้ว กลุ่มซอฟต์แวร์ประเภทน้ีมีท้ังท่ีต้องเสียเงิน อยา่ งเชน่ Windows และมที งั้ ประเภททใ่ี ห้ใช้ฟรีเชน่ Linux เป็นต้น ระบบปฏิบัตกิ าร (OS) จะทาหนา้ ทค่ี วบคมุ การทางานของระบบคอมพวิ เตอรโ์ ดยรวมทั้งหมดหากมี การติดต้ังหรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์ใด ๆ เข้าไป OS จะตรวจสอบ และช่วยให้การ ทางานที่เก่ียวข้องนั้นราบรื่นมากที่สุดรวมถึงการตรวจสอบ และรายงานความผิดพลาดเก่ียวกับระบบ การกาหนดสิทธใ์ิ ห้ใชง้ าน และหนา้ ทต่ี า่ ง ๆ เกยี่ วกับการจดั การไฟล์ เปน็ ตน้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องติดตั้งระบบควบคมุ เครอ่ื งนี้ไวด้ ว้ ยเสมอ เพ่อื ใหเ้ ครอื่ งสามารถทางาน ได้การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการรุ่นใดหรือย่ีห้อใด อาจต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมหลากหลาย ประการ 2.2.2 ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นกลุ่มของซอฟตแ์ วร์ทีส่ ามารถตดิ ตง้ั ได้ในภายหลงั จากการติดต้ังระบบปฏิบตั ิการแล้ว ทงั้ นข้ี น้ึ อยู่ กับความเหมาะสม และการประยุกต์ใช้งานเป็นหลัก โดยปกติจะมุ่งใช้กับงานเฉพาะด้าน เช่น งานดา้ นบญั ชงี านด้านเอกสาร งานควบคมุ สนิ ค้าคงคลัง ซง่ึ อาจมีบริษัทผู้ผลติ ขึ้นมาเพ่ือจาหน่ายโดยตรง หรือให้ใช้ฟรี นอกจากน้ียังสามารถจ้างเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะหรือเขียนข้ึนเองก็ได้ เป็นต้น แต่เดิม แอปพลิเคชันเหล่านี้มักแจกจ่ายรูปแบบไฟล์ทผี่ ู้ใชโ้ หลดมาติดตั้งเองจากเว็บของผู้พฒั นา ต่อมาเนื่องจาก มีปัญหาแอปพลิเคชันจานวนมากไม่ได้มาตรฐาน (เช่น ไม่ปรับให้รองรับระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่) หรือเป็นแอปพลิเคชันท่ีมีโปรแกรมมุ่งร้าย (malware) แฝงอยู่เจ้าของระบบปฏิบัติการเช่น Apple หรือไมโครซอฟต์ จึงนาหลักการเดียวกับแอปสโตร์หรือเพลย์สโตร์บนสมาร์ทโฟนมาใช้ โดยรวบรวม แอปพลิเคชันท่ีตรวจสอบแล้วว่าได้มาตรฐานจานวนหน่ึงมาให้ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดได้จากออนไลน์ สโตรข์ องแต่ละระบบ เช่น MacOS App Store ของเครือ่ งแมค และ Microsoft Store ของ Windows เปน็ ต้น 1. แอปพลิเคชันบนโทรศัพทม์ อื ถือ (mobile application) ปัจจุบันแอปพลิเคชัน (หรือท่ีเรียกกันย่อ ๆ ว่า“แอป”) บนโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟนได้รับ ความนยิ มแพรห่ ลายมาก ซง่ึ แอปเหล่านกี้ จ็ ัดเปน็ โปรแกรมประยุกต์ชนดิ หนงึ่ น้นั เอง เพยี งแต่ไม่ไดท้ างาน บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์โนต้ บุ๊คหรือเดสก์ท็อป แต่ทางานอยู่บนสมาร์ทโฟนแทน โดยทั่วไปจะมีสองระบบ คือ สาหรับ iPhone (Apple) และแอนดรอยด์ (Google) และเนื่องจากในปัจจุบันสมาร์ทโฟนมีใช้กัน มากกว่าเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ แอปเหล่านจี้ ึงมีผู้ใช้งานมากท่สี ุดตามไปด้วย 2. แอปพลิเคชันท่ีทางานผ่านอินเทอร์เนต็ (Internet Application หรอื Web Application) นอกจากแอปบนมือถือแล้ว ปัจจุบันยังมีทั้งโปรแกรมประยุกต์บนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ และแอปที่ใช้ บนมอื ถืออีกจานวนมากที่ทางานโดยผ่านอินเทอรเ์ น็ต บ้างกส็ ามารถเรยี กใชง้ านโดยต้องติดต้งั โปรแกรม หรือแอปลงในเครื่องก่อน บางตัวก็เรียกใช้ได้เพียงแค่สั่งเว็บเบราว์เซอร์เชื่อมต่อเข้าไปยังเว็บที่กาหนด เท่านั้นแอปพลิเคชันเหล่าน้ีมักจะมีการทางานด้วยตัวเองบางส่วน และส่งข้อมูลส่วนใหญ่ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ P a g e | 27 ผ่านอินเทอร์เน็ตไปประมวลผลยังเซิร์ฟเวอร์ท่ีอยู่เบ้ืองหลัง (ซ่ึงไม่รู้ว่าต้ังอยู่ที่ไหนในโลก) ในหลาย ประเทศรวมทั้งประเทศไทย จึงมีกฎหมายควบคุมการให้บริการผ่านเน็ตในลักษณะนี้บางกรณี เช่น การจากัดให้บริการด้านการเงินหรือธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ต้องใช้เซิร์ฟเวอร์ซ่ึงต้ังอยู่ในประเทศ (เพื่อให้กฎหมายไทยมีอานาจบังคับกับข้อมูลท่ีเก็บได้) ในบางประเทศ เช่น จีนถึงกับห้ามการให้บริการ บางอยา่ งไปเลย เชน่ Google, Facebook, LINE, Twitter เปน็ ต้น ซง่ึ นอกจากเรื่องความมนั่ คงทางการ เมือง และไมใ่ ห้ข้อมลู สว่ นตัวของประชากรในประเทศร่ัวไหลออกไปภายนอกแลว้ ยังเปน็ การเปิดโอกาส ให้อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในประเทศจีนเองสามารถผลิตแอปแบบเดียวกันมาแข่งขันได้ด้วย เช่น Baidu, weibo, WeChat เปน็ ตน้ รปู ท่ี 2.6 แอปพลเิ คชันท่ที างานผา่ นอนิ เทอร์เน็ต ทมี่ า: (BRANDI, 2019) 2.3 บุคลากร บุคลากร (People หรือ Peopleware) บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีจะทา ใหก้ ารใช้งานระบบคอมพวิ เตอร์ประสบผลสาเร็จ โดยทั่วไปในองคก์ รจัดแบ่งผ้ใู ชง้ านออกเปน็ 3 ประเภท คือ ผูใ้ ชท้ ัว่ ไป ผ้เู ชี่ยวชาญ และผู้บรหิ าร 2.3.1 กล่มุ ผใู้ ชง้ าน 1. ผใู้ ช้ ผู้ใช้ (User หรือ End user) เป็นบุคคลกลุ่มท่ีใชโ้ ปรแกรมประยุกตต์ ่าง ๆ ในการทางานของตนเอง ซึ่งปัจจุบันน้ีก็คือ แทบทุกคนในองค์กรน่ันเอง ไม่ว่าจะเป็นงานบัญชี การขาย บริการ ลูกค้าสัมพันธ์ ธุรการ ฯลฯ คนกลุ่มน้ีอาจมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก แต่มีความเช่ียวชาญในงานของตนเอง และศกึ ษาวธิ ีใช้งานโปรแกรมจากการฝกึ อบรม คมู่ อื หรอื สือ่ อืน่ ๆ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

28 | P a g e บทท่ี 2 องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ 2. ผใู้ ชท้ ี่ชานาญ ผู้ใช้ที่ชานาญ (Power user) เป็นกลุ่มผู้ใช้ท่ีมีความชานาญด้านคอมพิวเตอร์มากกว่าปกติ จึงสามารถเปน็ ผู้ประสานงานระหว่างกลุ่มผู้เช่ียวชาญกับผู้ใชท้ ั่วไปได้ด้วย 2.3.2 กลมุ่ ผู้เชี่ยวชาญ 1. ชา่ งเทคนิคคอมพวิ เตอร/์ ฝ่ายสนับสนนุ คอมพิวเตอร์ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์/ฝ่ายสนับสนุนคอมพิวเตอร์ (Computer Technician/Computer Support) กลุ่มน้ีจะมีความชานาญด้านเทคนิคคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ ในระดับหน่ึง มีหน้าท่ีคอยช่วยเหลือผู้ใช้ และแก้ปัญหาเบื้องต้น เช่น เคร่ืองขัดข้องโปรแกรมไม่ทางานตามปกติ บางหนว่ ยงานอาจตัง้ เป็นศนู ยช์ ว่ ยเหลอื หรือ Help desk เพอื่ แก้ปญั หาในการทางานโดยดว่ น 2. นักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) มีหน้าที่วิเคราะห์ระบบการทา งานขององค์กร ความต้องการของผู้ใช้ และออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน เป็นตาแหน่งที่ต้องมีการพูดคุยหารือกับผู้ใช้อยู่เสมอ ว่างานที่ทาอยู่เดิมนั้นเป็นอย่างไร คอมพิวเตอร์จะ มาช่วยได้ตรงไหน คล้ายกับสถาปนิกที่ออกแบบบ้าน ต้องพูดคุยสอบถามลักษณะการใช้งานจากเจ้าของ บ้านว่าต้องการบ้านสไตล์ไหนพ้ืนที่ใช้งานอย่างไร จากนั้นจึงนามาออกแบบเพ่ือนาไปให้ ผ้รู ับเหมาก่อสร้างทาต่อ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่อาจทาได้มากกว่าหรือแตกต่างจากการทางานแบบเดิม ๆ การสารวจความตอ้ งการจากผใู้ ช้หรือแม้แต่ของผู้บริหารก็อาจไม่เพยี งพอ จงึ ตอ้ งวเิ คราะหถ์ งึ ทิศทางของ ธุรกิจในบริบทท่ีครอบคลุมกว้างขึ้น เพ่ือให้สอดคล้องกับทิศทางขององค์กร และการแข่งขันในอนาคต ซึ่งอาจจาเป็นต้องออกแบบระบบงานใหม่หมด แล้วถึงค่อยนามาชักจูงให้ผู้ใช้คล้อยตาม ผลลัพธ์สุดท้าย จึงอาจไมถ่ ูกใจผ้ใู ช้หรือไม่ตรงตามทผ่ี ู้บริหารระดับสูงต้องการ 100% แต่ตอบโจทยก์ ารทางานในอนาคต ได้ดีที่สุด 3. นักออกแบบ นักออกแบบ UX และ UI เนื่องจากปัจจุบันทุกคนกลายเป็นผู้ใช้คอมพิวเตอร์ จึงมีแอปพลิเคชัน จานวนมากมายมหาศาล บางทีก็มากเกินกว่าจะจดจารายละเอียดการใช้งานได้หมด ดังนั้นเพื่อให้ แอปพลิเคชันท่ีออกมาใช้งานง่าย และได้ผลดี นอกจากการออกแบบระบบงานโดยนักวิเคราะห์ระบบ แล้ว ปจั จบุ นั ยังมบี ุคลากรอีกกลุม่ หน่ึงซ่ึงมีหนา้ ท่ีเฉพาะด้านออกแบบประสบการณใ์ นการใชง้ านของผู้ใช้ (User experience-UX) เช่น ลาดับขั้นตอนการใช้งานต่าง ๆ ให้เหมาะสมเข้าใจง่ายทาได้ ตามวัตถุประสงค์ และออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface-UI) เช่น หน้าตาของแอปพลิเคชัน รูปแบบการแสดงผลบนระบบต่าง ๆ เช่น ในคอมพิวเตอร์เว็บ แอปบนมือถือ ให้ดูสวยงามน่าใช้ เข้าใจง่าย และสอดคล้องกัน ซึ่งคนกลุ่มน้ีนอกจากความรู้ว่าคอมพิวเตอร์ทาอะไรได้ หรือไม่ได้ แลว้ ยังต้องรทู้ ง้ั ศาสตร์ เช่น จติ วิทยา และศิลปะในการออกแบบ การใชเ้ สน้ หรือสสี นั ตา่ ง ๆ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 2 องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ P a g e | 29 รูปท่ี 2.7 นักออกแบบ UX และ UI ทม่ี า: (GlobalLinker Content Team, 2562) 4. นกั เขยี นโปรแกรม หรอื นกั พัฒนา นักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือนักพัฒนา (Developer) เป็นผู้ที่ลงมือเขียน code หรือชุดคาสั่งโปรแกรมจริง ๆ จากแบบท่ีนักวิเคราะห์ระบบ และนักออกแบบ UX และ UI ออกแบบมา หากเป็นแอปพลิเคชันท่ีไม่ซับซ้อนมาก (เทียบได้กับบ้านหรือตึกแถวเล็ก ๆ) บางครั้งการออกแบบระบบ และเขียนโค้ดก็ทาโดยคนเดียวหรือไม่กี่คนได้ เพราะเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่เอ้ือให้ เขียนโค้ดสั้นแต่ทางานได้มากขึ้น แต่ถ้าเป็นโปรแกรมขนาดใหญ่ก็ต้องอาศัยการทางานเป็นทีม โดยโปรแกรมเมอร์จานวนมากหรืออาจต้องแบ่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ ท่ีเรียกว่าโมดูล (module) เพ่ือให้แตล่ ะทมี แยกกันทา แล้วค่อยนามาประกอบกันทหี ลงั โปรแกรมเมอร์แต่ละคนอาจมีความเช่ียวชาญในเครื่องมือ และภาษาที่ใช้เขียนแตกต่างกัน (แต่ปัจจุบันโปรแกรมเมอร์คนหน่ึงควรจะต้องเขียนได้หลายภาษา) รวมทั้งระบบที่จะนาแอปพลิเคชัน ไปใช้ด้วย เช่น บางคนถนัดเขียนโปรแกรมสาหรับใช้บนเว็บ (Web Application) บางคนถนัดเขียน โปรแกรมสาหรับเคร่ืองพีซีที่รัน Windows บางคนถนัดเขียนแอปพลิเคชันบนมือถือ (Mobile app) ระบบแอนดรอยด์หรือ iPhone บางคนถนัดเขียนโปรแกรมท่ีทางานบนฝ่ัง Server หรือ Cloud ส่วน บางคนกถ็ นดั เขียนโปรแกรมทเ่ี กีย่ วข้องกับการควบคมุ ระบบ (System Programmer) เป็นต้น 5. วิศวกรซอฟตแ์ วร์ และผทู้ ดสอบระบบ วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer) และผู้ทดสอบระบบ (Software Tester) จากท่ีเคย เปรียบเทียบมาแล้วว่าการพัฒนาซอฟต์แวร์ก็คล้ายกับการสร้างบ้านหรืออาคาร ท่ีต้องมีวิศวกรคอย ควบคุม สาหรับซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ก็อาจมีวิศวกรซอฟต์แวร์คอยควบคุมคุณภาพเช่นกัน โดยทาการ วิเคราะห์ และทดสอบอย่างเป็นระบบ เช่น ดูว่าความซับซ้อนของซอฟต์แวร์หรือจานวนบรรทัดคาส่ัง ท่ีใช้ (line of code) น้ันมีมากแค่ไหน มีโครงสร้างถูกต้องตามหลักการที่ดีแค่ไหน มีชุดคาส่ังที่ไม่จาเปน็ ชุดคาสั่งที่อาจทาให้เกิดข้อผิดพลาด ชุดคาสั่งท่ีไม่รัดกุมหรือเปิดช่องให้แฮกเกอร์ใช้เจาะระบบบ้าง หรือไม่ ฯลฯ ซึ่งผู้ที่จะทาหน้าท่ีน้ีได้ควรต้องมีประสบการณ์ในการเขียนโปรแกรมเองในระดับหนึ่ง เช่นเคยเป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์มาก่อน เขียนโปรแกรมได้หลายภาษาหรือหลายระบบ เพื่อให้สามารถ มองเห็นภาพรวมได้ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก อาจเป็นงานท่ีทาคนเดียวทั้งหมด ตั้งแต่การวิเคราะห์ระบบ เขียนโปรแกรมออกแบบ UX และ UI ไปจนถงึ การตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพกไ็ ด้ นชุ ากร คงยะฤทธิ์

30 | P a g e บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 6. ผู้ดูแลเน็ตเวริ ค์ ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ค (Network Administrator) ระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันล้วนมีการเชื่อมต่อกับ เน็ตเวิร์ค และอินเทอร์เน็ตทั้งสิ้น ไม่ว่าจะผ่านเครือข่ายขององค์กรเองหรือเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต ไร้สาย ของผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ ผู้ดูแลเน็ตเวิร์คในองค์กรจึงมีหน้าที่สาคัญต้ังแต่การติดตั้ง และดูแล อุปกรณ์เครือข่ายต่าง ๆ ให้ทางานตามปกติ บันทึกการเข้าใช้งาน (log) ควบคุมสิทธิ์ในการเข้าถึง ทรัพยากรต่าง ๆ ผ่านเครือข่ายควบคุม และจัดระเบียบอุปกรณ์ทั้งขององค์กร และอุปกรณ์ส่วนตัวของ แต่ละคน (ท่ีเรียกว่า BYOD คือ Bring-Your Own Device) ท่ีเชื่อมต่อแบบไร้สาย ติดต้ังเคร่ืองมือหรือ คอยปรับรุ่นซอฟต์แวร์ที่จาเป็นเพ่ือปิดช่องโหว่ต่าง ๆ ไม่ให้เกิดการบุกรุกระบบหรือการก่อกวนจาก โปรแกรมมุ่งร้าย (malware) ต่าง ๆ ผู้ที่จะทาหน้าท่ีน้ีได้ต้องมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์คอย่างดี ตดิ ตามขา่ วสารข้อมลู และเทคโนโลยีใหม่ ๆ อยู่เสมอ 2.3.3 กลุม่ ผบู้ ริหารสูงสุดดา้ นสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์ (CIO: Chief Information Officer) สาหรับ ในหน่วยงานขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อขับเคลื่อนงานธุรกิจในองค์กร อาจมีบุคลากรในตาแหน่งท่ีเรียกว่า CIO (Chief Information Officer) ซึ่งเป็นตาแหน่งสูงสุดทางด้าน การบริหารงานคอมพิวเตอร์ในองค์กรเพ่ือทาหน้าท่ีกาหนดทิศทาง นโยบาย และแผนงานทาง คอมพิวเตอร์ในองค์กรท้ังหมดว่าควรเป็นไปในรูปแบบใด การขยายงานทางด้านธุรกิจขององค์กรท่ี รวดเร็ว ควรจะมีการปรับเพิ่ม / ลดองค์ประกอบทางด้านคอมพิวเตอร์ส่วนใดอีกบ้างท่ีจะทาให้เป็นไป ตามเป้าหมายโดยรวมมากที่สุด เช่น มีการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการปฏิบัติงานขององค์กรมาเป็น เวลานานแล้ว ในสถานการณ์ทเี่ ปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วเช่นในปัจจุบนั ถอื ไดว้ า่ คอมพวิ เตอร์เหล่าน้ัน “ตกยุค” ไปแล้ว และคู่แข่งทางธุรกิจได้หันไปใช้เทคโนโลยีทางด้านฮาร์ดแวร์ใหม่ ๆ กันหมดแล้ว CIO อาจกาหนดนโยบายให้มีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ใหม่ ๆ เพื่อให้การดาเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสามารถแข่งขันได้ส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ีจะมีการกาหนดไว้เป็นแบบแผนอย่างชัดเจน เพ่ือให้ง่าย ต่อการนาไปปฏบิ ตั ขิ องผู้ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งตอ่ ไป สาหรบั ในองคก์ รขนาดเล็กอาจจะไมม่ ีตาแหน่งนเี้ ลยกไ็ ด้ 1. หวั หนา้ งานดา้ นคอมพิวเตอร์ หัวหน้างานด้านคอมพิว เตอร์ ( Computer Center Manager/Information Technology Manager) เป็นผู้จัดการหรือหัวหน้างานทางด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีขององค์กร มีหน้าท่ีดูแล และกากับงานทางด้านคอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงาน และทิศทางที่ CIO วางไว้จาก ตัวอย่างของการกาหนดนโยบายในการปรับเปล่ียนฮาร์ดแวร์ของ CIO ข้างต้น หัวหน้างานคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงก็ต้องมีหน้าที่ดาเนินการจัดหา จัดซื้อ รวมถึงอาจต้องรื้อระบบน้ันท้ิงไป และ ดาเนินการวางระบบฮาร์ดแวรใ์ หม่ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามท่ี CIO กาหนดมา สาหรับบางบริษัท CIO อาจกาหนดนโยบายเกี่ยวกับการขยายงานด้านคอมพิวเตอร์เพ่ิมขึ้น เพ่ือให้บริการได้อย่างทั่วถึง โดย กาหนดให้มีการจัดต้ังศูนย์ช่วยเหลือผู้ใช้ระบบของบริษัทหรือ Help Desk ขึ้นเพ่ือให้บริการ และช่วยเหลือทางด้านเทคนิคตลอด 24 ชั่วโมง หัวหน้างานทางด้านคอมพิวเตอร์มีหน้าท่ีจัดหาทีมงาน หรือคนที่จะมาดาเนินการช่วยเหลอื ผู้ใช้น้ี เพ่ือให้นโยบายดังกล่าวเป็นไปตามทิศทางท่ีได้วางไว้ โดยอาจ ประสานงานกบั ฝา่ ยทรัพยากรบุคคลเพอื่ ประกาศรับทมี งานเพม่ิ เติม เป็นตน้ นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ P a g e | 31 หน้าท่ีอื่น ๆ ของบุคคลตาแหน่งน้ี เช่น จัดเตรียมการฝึกอบรม การแนะนาให้คาปรกึ ษาแก่ผู้ใชง้ าน เกี่ยวกับเทคนิค และวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ รวมถึงสร้างกฎระเบียบหรือมาตรฐานการใช้งาน คอมพิวเตอรภ์ ายในองคก์ รเพือ่ ใหใ้ ช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เปน็ ต้น รปู ท่ี 2.8 หวั หน้างานด้านคอมพวิ เตอร์ และบทบาทหน้าท่ี ในการจัดฝึกอบรมให้กับบุคลากรภายในองค์กร ที่มา: (จตพุ ล ชมภนู ิช, 2561) 2.4 ขอ้ มูล/สารสนเทศ ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ง การทางานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับ ข้อมูลตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า และประมวลผลจนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือ ที่เรียกว่า สารสนเทศ (Information) ซ่ึงข้อมูลเหล่าน้ีอาจเป็นได้ท้ังในรูปแบบ ตัวเลข ตัวอักษร ภาพ เสยี ง และวิดโี อ เป็นต้น ข้อมูลเป็นส่ิงท่ีมีความสาคัญมาก สาหรับกรณีของฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์เมื่อเสียหายแล้วอาจจะ หาซือ้ มาใหมเ่ พ่อื ทดแทนของเดิมได้ แตข่ ้อมลู เม่ือสญู หายแล้วยากทจี่ ะนากลบั คนื มาใหม่ไดท้ ง้ั หมด นุชากร คงยะฤทธิ์

32 | P a g e บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ รูปท่ี 2.9 ขนาดของข้อมลู ชนิดต่าง ๆ ท่ีมา: (Paul Mullins, 2011) ข้อมูลที่ใช้กับคอมพิวเตอร์น้ันจะถูกแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจก่อน จึงจะ สามารถนาไปประมวลผลต่าง ๆ ได้สถานะหรือรูปแบบนี้เรียกว่า สถานะแบบดิจิทัล ซ่ึงจะมีเพียง 2 สถานะเท่านนั้ คือเปิด (1) และปิด (0) เหมือนกับหลักการทางานของไฟฟ้านนั่ เอง สถานะการทางานแบบดิจิทัลจะอาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสองหรือที่เรียกว่า Binary System ซ่ึงประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่าน้ันคือ 0 และ 1 ตัวเลข 0 และ 1 น้ีเรียกว่าเป็น ตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต (Binary Digit) มักเรียกย่อ ๆ ว่า บิต (Bit) เม่ือใดก็ตามท่ีต้องการป้อน ข้อมูลหรือตัวเลขเข้าไปในระบบ ก็จะมีการแปลงข้อมูลหรือตัวเลขเหล่านั้นให้อยู่ในรูปของตัว เลขฐานสองเมื่อจานวนของเลขฐานสองหรือบิตรวมกันครบ 8 ตัวจะเรียกหน่วยจัดเก็บข้อมูลน้ีใหม่ว่า เปน็ 1 ไบต์ (Byte) ซ่ึงจะสามารถใชแ้ ทนตัวอักษร ตวั เลขหรืออกั ขระพิเศษแต่ละตัวท่ีต้องการป้อนเข้าไป ในเครอื่ งไดเ้ รียกว่า รหัสแทนข้อมลู รูปท่ี 2.10 สถานะการทางานแบบดจิ ิทัล ท่มี า: (Paul Mullins, 2011) กลุ่มตัวเลขฐานสองต่าง ๆ ท่ีนามาใช้เป็นรหัสแทนข้อมูลน้ัน จะถูกกาหนดรหัสไว้เป็นมาตรฐาน เพ่อื ใหค้ อมพวิ เตอร์เขา้ ใจตรงกันทกุ เครอื่ ง ซึ่งมีอยหู่ ลายมาตรฐาน หลายองค์กร เช่น นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ P a g e | 33 1. รหัสแอสกี ร หั ส แ อ ส กี ( ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เ ป็ น ร หั ส มาตรฐานท่ีใช้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทั่วไปมาตั้งแต่ยุคท่ีใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก พัฒนาโดยสถาบัน มาตรฐานแหง่ สหรฐั อเมริกา รหสั แอสกมี ีขนาด 1 ไบต์เก็บตัวอักขระไดส้ ูงสดุ 256 รูปแบบ 2. รหสั ยูนิโคด้ รหัสยูนิโค้ด (Unicode) เป็นรหัสมาตรฐานที่พัฒนาให้เก็บอักขระได้มากข้ึนไปอีก เพ่ือรองรับชุด อักขระได้หลาย ๆ ภาษาทั่วโลก และยังพัฒนาเวอร์ชันอยู่อย่างต่อเน่ือง ชุดอักขระท่ีเข้ารหัสด้วย มาตรฐานบนโคด้ (Unicode Transformation Format) มหี ลายแบบ เช่น UTF-8 (มขี นาด 1 ไบตห์ รือ 8 บิต) UTF-16 (มีขนาด 2 ไบต์หรือ 16 บิต) และ UTF-32 (มีขนาด 4 ไบต์หรือ 32 บติ ) ซง่ึ สามารถเก็บ ตัวอักขระได้มากกว่า 100,000 รูปแบบปัจจุบันข้อมูลส่วนมากในคอมพิวเตอร์ได้เปล่ียนมาใช้รหัส Unicode กนั แล้วเพราะตอ้ งรองรบั การใชง้ านหลายภาษาพรอ้ ม ๆ กัน (ดูรายละเอียดท่ี Unicode.org) กระบวนการแปลงข้อมูลเพ่ือให้เห็นภาพของการทางานในกระบวนการแปลงข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูล ปกติ ใหอ้ ยู่ในรูปแบบเลขฐานสองไดช้ ดั เจนย่งิ ขึน้ จะขออธบิ าย และยกตวั อยา่ งเพมิ่ เตมิ เป็นขั้นตอนดังน้ี รปู ที่ 2.11 ตาราง Unicode ภาษาไทย ที่มา: (ตาราง unicode ภาษาไทย, 2556) กระบวนการแปลงขอ้ มูลให้อยู่ในรูปแบบเลขฐานสองในเคร่ือง และแสดงผลออกทางจอภาพ ข้นั ตอนที่ 1 ผู้ใชง้ านปอ้ นข้อมลู อกั ษร “D” ตวั ใหญ่ เข้าไปยงั ระบบโดยการกดคยี ์ Shift + 0 พร้อม กนั บนคยี ์บอร์ด ขั้นตอนที่ 2 สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ของตัวอักษร “D” จะถูกส่งต่อไปยังระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ ข้ันตอนที่ 3 สัญญาณท่ีส่งต่อเข้ามาของตัวอักษร “D” จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานของ รหัสแอสกี (ASCII) หรือ Unicode และเกบ็ ไวใ้ นหนว่ ยความจาเพอ่ื ประมวลผลต่อไป ขั้นตอนท่ี 4 เม่ือประมวลผลเรียบร้อยแล้ว กลุ่มรหัสดังกล่าวจะถูกแปลงกลับให้ออกมาอยู่ใน รปู แบบของภาพทส่ี ามารถมองเห็นไดผ้ า่ นอุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภาพ เป็นต้น นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

34 | P a g e บทท่ี 2 องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ 2.5 กิจกรรมและความสมั พันธข์ องแตล่ ะองค์ประกอบ ในการทางานด้วยระบบคอมพิวเตอร์น้ัน จะมกี ิจกรรมท่สี ัมพันธ์กนั ระหว่างองคป์ ระกอบแต่ละส่วน อยู่เสมอไม่ว่าจะเป็นข้อมูล บุคลากร ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ ก็ต้องทางานเก่ียวข้องกันท้ังหมด กิจกรรม และความสัมพันธ์ต่าง ๆ จะเริ่มต้ังแต่การนาข้อมูลเข้า (Input) จนถึงขั้นตอนของการแสดง ผลลพั ธ์ทีไ่ ด้ (Output) รูปที่ 2.12 กจิ กรรมและความสัมพันธ์ของแตล่ ะองค์ประกอบ ทม่ี า: (TouchPoint, RMUTT, 2560) การใช้หน่วยวัดความจุข้อมูลโดยอาศัยระบบเลขฐานสองตามตารางข้างบนน้ี จะเห็นได้ว่าค่าขนาด ความจุข้อมูล เช่น 1,000 มีค่าโดยประมาณใกล้เคียงกับ 1,024 จึงได้รับการยอมรับให้นับหน่วยเป็น Kilobyte ไปดว้ ยซ่ึงตอ่ มาเร่ิมมีความสับสนในการใช้งานกันมาก และทาให้มาตรฐานในการอ้างอิงข้อมูล ตา่ งกนั เชน่ การผลิตฮารด์ ดิสก์ของโรงงาน ผ้ผู ลิตมักจะใช้ค่าโดยประมาณเป็นหลัก เมื่อผู้ใชง้ านนามาใช้ จริงกับระบบคอมพิวเตอร์จะมองเห็นพ้ืนที่ความจุของข้อมูลไม่ตรงกับท่ีบริษัทผู้ผลิตระบุไว้ ทาให้เกิด ความเขา้ ใจไมต่ รงกนั จงึ มีการกาหนดแยกหน่วยนบั ทงั้ สองแบบออกจากกนั รูปที่ 2.13 หนว่ ยวัดที่อา้ งอิงในระบบเลขฐานสบิ ท่ีมา: (กบิ ิไบต์, 2557) อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีการพยายามเปลย่ี นการเรียกค่าความจขุ ้อมูลใหม่ คนส่วนใหญ่ก็ยังนยิ มใช้ การเรียกตัวย่อแบบเดิม ๆ อยู่ดี ดังน้ันการคานวณความจุข้อมูลจึงต้องดูด้วยว่าอ้างอิงจากระบบ ใชเ้ ลขฐานสองหรอื ใช้เลขฐานสบิ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ P a g e | 35 2.6 สรุปท้ายบท การทางานร่วมกับคอมพวิ เตอร์ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบ 4 อยา่ งด้วยกนั คอื ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ บุคลากร และข้อมูล องค์ประกอบแต่ละอย่างล้วนมีความสาคัญ และเกี่ยวข้องกันทั้งส้ิน หากขาดอย่าง ใดอย่างหนึง่ การทางานจะไมม่ ีความสมบรู ณ์เตม็ ท่ี พ้ืนฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยทางาน 4 หน่วยด้วยกันคือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลัก หน่วยเก็บข้อมูลสารอง หน่วยรับข้อมูล/แสดงผลลัพธ์ หน่วยความจาหลักทาหน้าที่เก็บข้อมูล และคาส่ังที่ได้จากการประมวลผล ส่วนหน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะใช้เป็นที่เก็บ และบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์เพ่ือให้เรียกใชไ้ ด้ในภายหลัง โดยมีทางเดินของระบบ ทางานเป็นเหมอื นเส้นทางส่งผา่ นข้อมูลระหว่างซีพยี ู และส่วนอน่ื ๆ ให้สามารถเชือ่ มตอ่ กนั ได้ 2.7 แบบฝกึ หดั ท้ายบท จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. จงอธิบายความแตกต่างของฮารด์ แวร์และซอฟต์แวร์ 2. จงอธบิ ายความสัมพนั ธ์และยกตัวอย่างความเกย่ี วขอ้ งระหว่างนักวเิ คราะห์ระบบกับผ้ใู ชง้ าน 3. จงอธิบายว่าชา่ งเทคนิคคอมพวิ เตอร์ มหี น้าทแี่ ละบทบาทอย่างไรกับงานทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ 4. จงอธบิ ายวา่ Software Engineer เกย่ี วข้องอย่างไรกับกระบวนการผลติ ซอฟต์แวร์ 5. จงอธบิ ายว่าการดแู ลและบริหารระบบเครอื ขา่ ย มคี วามเกี่ยวขอ้ งกับบคุ คลตาแหนง่ ใดมากทส่ี ุด 6. จงอธบิ ายว่า Binary Digit คอื อะไรเกย่ี วขอ้ งอยา่ งไรกับการทางานของคอมพิวเตอร์ 7. จงอธิบายกระบวนการแปลงขอ้ มูลปกติใหเ้ ป็นเลขฐานสองทางคอมพิวเตอร์มีขนั้ ตอนอย่างไรบ้าง 8. จงยกตัวอย่างประกอบ การนาขอ้ มูลเข้าสคู่ อมพิวเตอร์ สามารถทาไดโ้ ดยวิธีใดบา้ ง 9. จงอธิบายพ้ืนฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนใดท่ีถือว่าเป็นเหมือนกับ “สมอง” และ ประกอบด้วยส่วนทเี่ กี่ยวข้องอะไรบ้าง 10. จงอธบิ ายความแตกตา่ งของ ROM และ RAM 2.8 อา้ งอิงประจาบท 7 Examples of Output Devices. (2018). Retrieved March, 11, 2019, form https://www.examplesof.net/2018/09/examples-of-output- devices.html#.XWXWzSgzbIV Andy Patrizio. (2018). Intel, AMD both claim server speed records. Retrieved March, 11, 2019, form https://www.networkworld.com/article/3311817/intel-amd-both-claim-server- speed-records.html BRANDI. (2019). How Using Social Media for Marketing Can Transform Your Business. Retrieved March, 11, 2019, form https://www.lyfemarketing.com/blog/using-social- media-for-marketing/ Computer – Input Devices. (2018). Retrieved March, 11, 2019, form http://www.kccdelhi.com/computer-knowledge/computer-input-devices/ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook