Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fundamental Computer and Information Tachnology

Fundamental Computer and Information Tachnology

Published by Nuchakorn Kongyarit, 2020-06-17 11:06:33

Description: เอกสารประกอบการสอน
วิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย อาจารย์นุชากร คงยะฤทธิ์

Keywords: Fundamental Computer and Information Tachnology,Computer and Information Tachnology,Fundamental,Computer,Information Tachnology

Search

Read the Text Version

36 | P a g e บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ GlobalLinker Content Team. (2562). เขา้ ใจ UX/UI พัฒนาธุรกิจบน Digital Platform. คน้ เมือ่ 24 มถิ ุนายน 2562 จาก https://businesslinx.globallinker.com/bizforum/article/ เขา้ ใจ-uxui-พัฒนาธุรกจิ บน-digital-platform/27617 Paul Mullins. (2011). One byte each for the additive primary colors: Red, Green & Blue. Retrieved March, 11, 2019, form http://cs.sru.edu/~mullins/cpsc100book/module02_introduction/module02- 05_introduction.html Storage Device. (2018). ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562 จาก http://see-it-com1999.lnwshop.com/category/6/storage-device TouchPoint, RMUTT. (2560). Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์. คน้ เม่ือ 24 มนี าคม 2562 จาก https://www.slideshare.net/kha00at/week-3-84120392 What Is Operating System in Urdu. (2016). Retrieved March, 11, 2019, form https://www.itilam.com/2016/03/operating-system-definition-in-urdu.html กิบิไบต์. (2557). วิกิพีเดยี สารานุกรมเสร.ี ค้นเมือ่ 24 มีนาคม 2562 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/กบิ ไิ บต์ จตพุ ล ชมภนู ิช. (2561). ชีวิตคู่ – รูจ้ กั จะรู้ใจ. ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562 จาก http://www.jatupone-chompoonich.com/2018/07/10/ชีวิตคู่-ร้จู กั จะรใู้ จ/ ตาราง Unicode ภาษาไทย. (2556). คน้ เม่ือ 24 มีนาคม 2562 จาก http://kruparichat2.blogspot.com/2013/06/unicode.html นุชากร คงยะฤทธ์ิ



38 | P a g e บทท่ี 3 ระบบประมวลผลข้อมูล แผนบรหิ ารการสอน รหสั วชิ า : 11-411-101 วิชา : พน้ื ฐานคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ หน่วยท่ี : 3 ชอ่ื หนว่ ยเรียน : ระบบประมวลผลขอ้ มูล เวลาที่สอน 6 ชัว่ โมง 1. หัวขอ้ ประจาบท 1.1 ความหมายของระบบประมวลผลข้อมลู 1.2 รปู แบบการประมวลผลของคอมพวิ เตอร์ 1.3 ขนั้ ตอนของการประมวลผลขอ้ มลู 1.4 ระบบประมวลผลรายการ 1.5 สรปุ ทา้ ยบท 1.6 แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1.7 อ้างอิงประจาบท 2. วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 2.1 อธิบายความหมายของระบบประมวลผลข้อมูลได้ 2.2 จาแนกรูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ได้ 2.3 อธบิ ายข้ันตอนของการประมวลผลข้อมูล 2.4 อธิบายความหมายของระบบประมวลผลรายการ 3. วธิ กี ารสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาบท 3.1 บรรยายโดยอาจารย์ผสู้ อน 3.2 นักศกึ ษารว่ มกันอภปิ รายในชั้นเรยี น 3.3 ศกึ ษาเอกสารการสอนบทท่ี 3 3.4 นักศกึ ษาเพมิ่ เตมิ นอกชั้นเรียน 3.5 นกั ศกึ ษาปฏิบัติกจิ กรรมตามทีก่ าหนด 3.6 ใช้ LCD ในการเรียนการสอน 4. ส่ือการเรยี นการสอน 4.1 เอกสารประกอบการสอน 5. การวดั ผลและประเมินผล 5.1 ประเมนิ ผลกจิ กรรมและแนวตอบคาถามทา้ ยบท นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 3 ระบบประมวลผลขอ้ มลู P a g e | 39 บทที่ 3 ระบบประมวลผลข้อมูล 3.1 ความหมายของระบบประมวลผลข้อมลู ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing) คือ คือการประมวลผลข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มาผ่าน กระบวนการตา่ ง ๆ เพอื่ แปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรปู แบบท่ีต้องการเรยี กวา่ ข้อมูลสนเทศหรอื สารสนเทศ (Information) วธิ กี ารประมวลผลข้อมูล จาแนกได้ 3 วธิ ี โดยจาแนกตามอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการประมวลผล ไดแ้ ก่ 3.1.1 การประมวลผลด้วยมอื Manual Data Processing เป็นวิธีการท่ีใช้มาตั้งแต่อดีตโดยใช้อุปกรณ์ง่าย ๆ สามารถจาแนกตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้เป็น 3 ประการ คือ อุปกรณ์ท่ีอานวยความสะดวกในการเก็บรักษา และค้นหาข้อมูล ได้แก่ บัตรแข็ง แฟ้ม ตู้เก็บเอกสาร อุปกรณ์ท่ีช่วยในการนับ และคิดคานวณเป็นอุปกรณ์ท่ีง่ายต่อการใช้ ได้แก่ ลูกคิด เคร่ืองคิดเลข ก้อนหิน เป็นต้น อุปกรณ์ท่ีใช้ในการคัดลอกข้อมูล ได้แก่ กระดาษ ปากกา ดินสอ เครอ่ื งอัดสาเนา เปน็ ต้น การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กท่ีมีข้อมูลปริมาณไม่มากนัก และการคานวณไม่ ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก ที่มา: (การประมวลผลข้อมูล Data Processing (ดาต้า โปรเซสชิง) คือ การประมวลผลขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการตา่ ง ๆ, 2560) รูปที่ 3.1 การประมวลผลด้วยมือ ท่มี า: (weblineinstitute, 2015) 3.1.2 การประมวลผลข้อมลู ด้วยเคร่ืองจักรกล Mechanical Data Processing เป็นวิวัฒนาการมาจากการประมวลผลด้วยมือ แต่ยังต้องอาศัยแรงคนบ้าง เพื่อทางานร่วมกับ เคร่ืองจักรกล ในการประมวลผลทางธุรกิจ เคร่ืองที่ใช้กันมากที่สุด คือ เครื่องทาบัญชี Accounting Machine และเครื่องที่ใช้ในการประมวลผลท่ัวไปเป็นเคร่ืองก่ึงอิเล็กทรอนิกส์ เรียกว่า เ ครื่อง Unit Record นุชากร คงยะฤทธ์ิ

40 | P a g e บทที่ 3 ระบบประมวลผลข้อมูล รูปท่ี 3.2 เครื่องทาบัญชี ทมี่ า: (Blake Gopnik, 2017) 3.1.3 การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ EDP : Electronic Data Processing การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การประมวลผลด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ น้ันเอง ลักษณะงานที่เหมาะสมต่อการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ งานท่ีมีปริมาณมาก ๆ ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขั้นตอนในการทางานซ้า ๆ กัน เช่น งานบัญชี งานการเงิน งานทะเบียน ประวัติ และงานสถิติ มีการคานวณที่ยุ่งยาก และสลับซับซ้อน เช่น งานวิจัย และวางแผน งานด้าน วิศวกรรมศาสตร์ ครอบคลุมถึงความเสียหายต่อคอมพิวเตอร์ สื่อ และข้อมูล ความคุ้มครองน้ี มีความสาคัญหากธุรกิจของคุณข้ึนอยู่กับคอมพิวเตอร์เพื่อดาเนินการประจาวัน จะเติมช่องว่างจานวน มากทีม่ อี ยใู่ นนโยบายทรัพยส์ ินเชงิ พาณิชย์มาตรฐานสาหรบั อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ รูปที่ 3.3 การประมวลผลข้อมูลด้วยเครอื่ งอิเล็กทรอนิกส์ ท่มี า: (การประมวลผลขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์ (EDP), 2560) 3.2 รปู แบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ พิจารณาตามลกั ษณะการประมวลขอ้ มลู แบง่ ได้ 3 ประเภท คือ 3.2.1 การประมวลผลสว่ นบุคคล (Personal Computing) ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC) จะมีการประมวลผล โดยใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองเดียวท่ีเป็นอิสระจากกัน เคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะไม่สามารถ ติดต่อสื่อสาร เชื่อมโยงข้อมูลร่วมกันได้ ซ่ึงหากต้องการใช้ข้อมูลร่วมกันจะต้องคัดลอกไปยัง หน่วยความจาสารอง เช่น แผ่นดิสก์ จากเครื่องเพอื่ ถ่ายโอนสูอ่ ีกเคร่ืองหนงึ่ นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 3 ระบบประมวลผลขอ้ มลู P a g e | 41 3.2.2 การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) เป็นระบบท่ีนาอุปกรณ์ประมวลผล ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์มารวมไว้ในคอมพิวเตอร์เครื่อง เดียว ใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) โดยมีผู้ทาหน้าท่ีควบคุมการประมวลผลเพียงผู้เดียว ซ่ึงเป็นท่ียุ่งยากมาก ต่อมาจึงมีการพัฒนาการ ประมวล โดยแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 วธิ ี คือ 1. การประมวลผลแบบแบตซ์ การประมวลผลแบบแบตซ์ (Batch Processing) เป็นระบบที่ทางานในลักษณะเตรียมการ ประมวลผลในขั้นต่อไป โดยใช้อุปกรณ์ประเภท Input / Output ซึ่งอุปกรณ์เหล่าน้ีไม่อยู่ภายใต้การ ควบคุมของ CPU เช่น เคร่ืองบันทึกเทป (Key to Tape) เครื่องบันทึกจานแม่เหล็ก (Key to Disk) บัตรเจาะรู (Punched Card) เป็นอุปกรณ์นาเข้า และอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมีลักษณะการประมวลผล โดยมีการรวบรวมข้อมลู ไว้ช่วงเวลาหนึ่งก่อนท่ีจะนาข้อมลู มาประมวลผลพร้อมกนั การประมวลผลจะทา เป็นช่วงเวลา เช่น การทาบัญชีเงินเดือนพนักงานทุกสิ้นเดือนระบบคิดดอกเบี้ยสะสม 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ของธนาคาร การบันทึกเกรดของนักศึกษาในแต่ละภาคเรียน จนถึงภาคเรียนสุดท้ายจึงพิมพ์ ใบรับรองเกรดเฉลี่ย ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี (1 เดือน) จะถูกเก็บสะสม จนส้ินสุดรอบบัญชี การประมวลผลแบบน้ีจะไม่มีการโต้ตอบระหวา่ งผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเรียก อีกอย่างหนึ่งว่าระบบออฟไลน์ (Off-line System) มีข้อดี คือช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้อุปกรณ์ แต่ก็มขี ้อเสยี คอื ข้อมูลจะไม่ทนั สมยั 2. การประมวลผลแบบออนไลน์ การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-line Processing) เปน็ วิธีท่ีผู้ใช้สามารถใชง้ านพร้อมกันไดห้ ลาย คน (Multi-user) จะประมวลผลทันทีเม่ือรับข้อมูลเข้ามา โดยไม่ต้องรอรวมข้อมูลหรือสะสมข้อมูล ไว้ก่อน โดยมีการเช่ือมต่อกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่อยู่ในสถานท่ีอ่ืนมีความสามารถในการ ทางานบางอย่างได้ เช่น เครอื่ งเอทเี อ็ม เคร่ืองตัดยอดของสนิ ค้าทุกคร้ังเมื่อมีการส่ังซื้อ เป็นต้น ขอ้ ดี คือ ทาให้ได้ข้อมูลท่ีทันสมัยเป็นปัจจุบันตลอดเวลา ข้อเสียคือ หากมีข้อมูลมาก การประมวลผลช้าลง เนอ่ื งจากมีเพยี งเครื่องแม่ขา่ ยเท่านนั้ ที่ทาการประมวลผล 3.2.3 การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) เม่ือมกี ารใช้งานคอมพิวเตอร์ในองค์กรที่มีขนาดใหญข่ ึ้น อาจมกี ารขยายสาขาออกไป ทาให้มรี ะบบ การทางานท่ีมีขนาดใหญ่ จึงมีการนาการประมวลผลแบบกระจายจากศูนย์กลางมาใช้เพื่อชดเชย ข้อจากัดของการประมวลแบบรวมศูนย์ที่ค่อนข้างล่าช้า ส่งผลให้สามารถจัดสรรทรัพยากรเพื่อกระจาย และแจกจ่ายการใช้งานข้อมูลต่าง ๆ ร่วมกันได้ทั่วท้ังองค์กร และรวดเร็วมากข้ึน รวมท้ังระหว่าง หน่วยงานย่อยขององค์กรด้วย เช่น ฐานข้อมูล ข่าวสาร เครื่องคอมพิวเตอร์ เคร่ืองพิมพ์ เครื่องโทรสาร และเคร่ืองสแกนเนอร์ เปน็ ตน้ ระบบการประมวลผลแบบกระจาย เป็นการประมวลผลที่ได้รับการพัฒนาในข้ันต่อมา โดยมี การกระจายภาระการประมวลผลไปยังเคร่ืองต่าง ๆ ท่ีเชื่อมกันอยู่เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และนาผลลัพธ์ที่ได้มารวมกัน ซ่ึงวิธีน้ีทาให้เพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลของระบบโดยรวบรวม ท้ังยังสามารถลดจานวนข้อมูลท่ีส่งผ่านเครือข่ายได้ด้วยน อกจากน้ียังเป็นระบบที่กิจกรรม นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

42 | P a g e บทที่ 3 ระบบประมวลผลขอ้ มลู การประมวลผล สารสนเทศขององค์กร ตลอดจนทรัพยากรคอมพิวเตอร์กระจายอยู่มากกว่าหน่ึงท่ี และมีการเช่ือมโยงเป็นเครือข่ายเดียวกัน งานต่าง ๆ จะถูกประมวลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 2–3 ตัว ประเภทของส่ือกลางแยกได้ 2 ประเภท คอื แบบใชส้ าย และแบบไรส้ าย การประมวลผลในลกั ษณะการ กระจายมีหลายชนิด และมีแนวโนม้ จะมากขน้ึ เรอื่ ย ๆ ดังเชน่ 1. ระบบการซื้อขายผา่ นไปรษณีย์ ระบบการซอื้ ขายผ่านไปรษณยี ์ (A Mail-order Catalog System) เปน็ ระบบท่ใี ห้บริการโดยลูกค้า จะเช่ือมโยงผ่านระบบโทรคมนาคมไปยังคลังสินค้า ซ่ึงอาจตั้งอยู่ห่างจากศูนย์บริการหลายร้อยกิโลเมตร เม่ือศูนย์บริการได้รับการติดต่อจากลูกค้าทางโทรศัพท์ โทรสารหรือจดหมาย ศูนย์บริการก็จะทาการ ป้อนข้อมูลเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และข้อมูลส่ังซื้อจะถูกส่งผ่านไปยงั คลังสนิ ค้า เพอ่ื สง่ สินค้าให้แก่ลูกค้า ต่อไป ระบบน้ีจะช่วยให้องค์การบริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และการมีคลังสินค้ากระจายตามภูมิภาค ตา่ ง ๆ กจ็ ะชว่ ยใหส้ ามารถบรกิ ารแก่ลกู ค้าไดใ้ นเวลาอันรวดเรว็ อีกดว้ ย 2. ระบบธนาคารแบบกระจาย ระบบธนาคารแบบกระจาย (Distributed Banking) เป็นระบบของธนาคารซึ่งมีการให้บริการแก่ ลูกค้าผ่านเคร่ืองฝาก/ถอนเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machines) ATM ได้มีเครือข่าย ทั่วประเทศ และทั่วโลก ตัวอย่างจากระบบดังกล่าว เช่น การโอนเงินผ่านทางเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer : EFT) 3. การบริการขนส่งขา้ มคืน การบริการขนส่งข้ามคืน (Overnight Delivery Service) เป็นการใช้สัญญาณคล่ืนวิทยุ และ ไมโครคอมพิวเตอร์ การส่ือสารผ่านดาวเทียม และเคร่ืองเทอร์มินอลที่ไม่มีหน่วยประมวลผล (Dumb terminal) เพื่อรับข้อมูลข่าวสารในขณะที่พนักงานไม่อยู่ เส้นทางการขนส่งของบริษัทจะถูก คานวณโดยทางคณิตศาสตร์ และหลายบริษัทได้จัดต้ังพนักงานส่งพัสดุประจาสานักงานหรือ ตามท่าอากาศยาน เพอื่ ประสานงานกบั ฝา่ ยรถขนสง่ 3.1 ข้อดี ของการประมวลผลแบบกระจาย (Advantages of Distributed Processing) ก็คือ การใช้เวลาตอบสนองได้เร็วขึ้น (Quicker Response Time) เป็นระบบที่สามารถตอบสนองตามคาส่ัง ของผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึงนาไปสู่การให้บริการลูกค้าได้ดีกว่าเดิม ระบบแบบรวมศูนย์ (Centralized Systems) เป็นระบบที่มีความล่าช้า เม่ือมีการใช้งานหลาย ๆ อย่างพร้อม ๆ กัน จะต้องใช้เวลาในการ ตอบสนองมากขึ้น ส่งผลให้การบริการลูกค้าล่าช้า ฉะน้ันระบบแบบกระจาย (Distributed Systems) จึงเกิดข้นึ เพื่อมาแก้ปญั หาระบบรวมศนู ย์ โดยสรปุ แลว้ มีข้อดี ดงั น้ี 1. ใช้เวลาตอบสนองได้เร็วข้ึน (Quicker Response Time) เป็นระบบที่สามารถ ตอบสนองตามคาส่ังของผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึงนาไปสู่การให้บริการลูกค้าได้ดีกว่าเดิม ระบบแบบรวม ศูนย์ (Centralized Systems) เป็นระบบที่มีความล่าช้า เมื่อมีการใช้งานหลาย ๆ อย่างพร้อม ๆ กัน จะต้องใช้เวลาในการตอบสนองมากขึ้น ส่งผลให้การบริการลูกค้าล่าช้า ฉะนั้นระบบแบบกระจาย (Distributed Systems) จงึ เกิดข้นึ เพ่ือมาแก้ปัญหาระบบรวมศูนย์ 2. ใช้ต้นทุนน้อยกว่า (Lower Costs) การใช้ระบบแบบกระจายสามารถลดปัญหาด้าน ปริมาณของข้อมูลท่ีจะส่งไปในระยะทางไกล ๆ ได้ ซ่ึงถือว่าเป็นการลดต้นทุนในการส่ือสารทางไกล เพราะข้อมูลบางส่วนสามารถประมวลผลจากเครอื่ งคอมพิวเตอร์ในเครือขา่ ยน่นั เอง นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 3 ระบบประมวลผลข้อมลู P a g e | 43 3. ปรับปรุงความถูกต้องของข้อมูล (Improved Data Integrity) ผู้ใช้เครือข่ายเฉพาะ พ้ืนท่ี (LAN) มักจะรู้จักข้อมูลในพื้นที่ของตนดี และสามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดได้รวดเร็ว ชื่อสกุลท่ี สะกดแบบผิด ๆ ปริมาณการส่ังซื้อไม่ถูกต้อง สามารถตรวจพบได้โดยพนักงานท่ีทางานอย่างใกล้ชิดกับ ลูกค้าของตนเท่าน้ัน ฉะนั้นเม่ือฐานข้อมูลมีการกระจายก็จะเป็นส่วนหนึ่งของระบบประมวลผลแบบ กระจาย ซ่ึงจะส่งผลไปสู่ความถกู ต้องของข้อมูลดว้ ย 4. ลดต้นทุนตัวประมวลผลหลัก (Reduced Host Processor Costs) จะสามารถเพิ่ม อายุการใช้งานของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe) เนื่องจากไม่มีภาวะเกินกาลังในเร่ือง การประมวลผลของสว่ นกลาง 5. การเพ่ิมความน่าเชื่อถือ (Increased Reliability) หากคอมพิวเตอร์หลักในระบบ การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Processing Systems) ล้มเหลวจะเกิดการขัดข้องท่ัวทั้ง ระบบ แต่ในระบบการประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing Systems) บางส่วนของ ระบบสามารถทาหน้าท่ีเป็นตัวเสริมหรือสนับสนุนในกรณีที่ตัวประมวลผลใดประสบปญั หาหรือล้มเหลว ในการทางานได้ 6. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resource Sharing) ประโยชน์หลักของการพัฒนาเครือข่าย คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กในระบบแบบกระจาย คือ ประโยชน์จากการแบ่งสรรทรัพยากรที่มีราคาแพง อุปกรณใ์ นการประมวลผลทม่ี ีความเรว็ สงู เครือ่ งพิมพเ์ ลเซอร์แบบสี จากสถานีงานอื่น ๆ 3.2 ข้อเสีย ของการประมวลผลแบบกระจาย (Disadvantages of Distributed Processing) แม้ว่าระบบการประมวลผลแบบการกระจายจะมีประโยชน์หลายประการดังกล่าวมาแล้ว แต่มีข้อเสียที่ ผ้บู ริหารควรคานึงถึง โดยสรุปไดด้ งั น้ี 1. การขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารระบบสารสนเทศ (Shortage of MIS Professionals) ปัจจุบันความต้องการระบบในลักษณะการกระจายการประมวลผลเพ่ิมมากขึ้น และ ผู้เช่ยี วชาญในด้านน้ีมจี านวนน้อยไมเ่ พยี งพอกบั ความตอ้ งการ 2. มาตรฐานของระบบ (Standardization) มาตรฐานของระบบเป็นสิ่งที่ผู้บริหารจะต้อง ให้ความสาคัญเป็นอย่างย่ิง เม่ือทรัพยากรคอมพิวเตอร์ที่นามาต่อเช่ือมเป็นระบบในเครือข่ายเดียวกัน จะทางานร่วมกันได้ จาเป็นต้องมีมาตรฐาน (Standardization) เดียวกัน ซึ่งหากขาดมาตรฐานของ ระบบแล้วยอ่ มยากต่อการพัฒนาในองค์กรที่มีการประมวลผลแบบกระจาย 3. ความถูกต้องของข้อมูล (Data Integrity) ในระบบท่ีฐานข้อมูลกระจัดกระจายไม่เป็น ระเบียบ หากผู้ใช้ต้องการทาการแก้ไขข้อมูลหรือการเพิ่มข้อมูลหรือการลบข้อมูล ผู้ใช้จะต้องกระทา อยา่ งเป็นระบบ เป็นข้ันตอน มิฉะนน้ั อาจจะเกดิ ความผิดพลาดไดโ้ ดยง่าย 4. ความปลอดภัยของระบบ (Security) ในระบบที่ทาการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย จากส่วนกลางน้ัน ผู้ใช้ระบบร่วมกันได้หลาย ๆ คน ดังนั้นอาจเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีไม่หวังดีทาการบุกรุก ระบบ เพ่ือกระทาในทางท่ีไม่ดีได้ เช่น นาไวรัสเข้าไปในระบบ ขโมยข้อมูลหรือแก้ไขข้อมูลโดย ไม่ได้รบั อนุญาต เป็นต้น (สดใส ดลุ ยา, 2553) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

44 | P a g e บทท่ี 3 ระบบประมวลผลข้อมูล 3.3 ขัน้ ตอนของการประมวลผลขอ้ มูล การประมวลผลข้อมลู สามารถแบ่งได้ 3 ข้ันตอน ดงั นี้ คอื 3.3.1 การเตรียมขอ้ มูลนาเข้า การเตรียมข้อมูลนาเข้า (Input Data) เป็นขั้นตอนการเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่พร้อมจะทา การประมวลผล โดยข้อมูลเหล่านี้อาจได้มาจาก การสัมภาษณ์ การจดบันทึก การสังเกตหรือข้อมูลจาก แบบฟอร์มตา่ ง ๆ เป็นการจดั เตรยี มข้อมลู ทร่ี วบรวมมาแล้วให้อยู่ในลักษณะท่สี ะดวกต่อการประมวลผล แบ่งเป็นขนั้ ตอนยอ่ ย ๆ ดังน้ี 1. การใช้รหัสแทนข้อมูลจริง ทาให้ข้อมูลอยู่ในรูปแบบที่สะดวกแก่การประมวลผล ทาให้ ประหยัดเวลา และเน้ือที่ รหัสอาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเพศ ให้รหัส 1 แทน เพศชาย รหัส 2 แทนเพศหญงิ เป็นตน้ 2. การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล (Editing) เป็นการตรวจสอบความถูกต้อง และความเป็นไปได้ของ ข้อมูล และปรับปรุงแก้ไขเท่าท่ีจะทาได้หรือคัดข้อมูลท่ีไม่ต้องการออกไป เช่น คาตอบบางคาตอบ ขัดแย้งกนั แลว้ แก้ไขตามความเหมาะสม 3. การแยกประเภทข้อมูล (Classifying) คือ การแยกประเภทข้อมูลออกตามลักษณะงาน เพื่อสะดวกในการประมวลผลต่อไป เช่น แยกตามคณะวิชา แยกตามเพศ แยกตามอายุ เปน็ ต้น 4. การบันทึกข้อมูลลงสื่อ (Media) ท่ีเหมาะสม หมายถึง การจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในส่ือหรือ อุปกรณ์ที่อยู่ในรูปที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจ และนาไปประมวลได้ เช่น บันทึกข้อมูลลงใน จานแมเ่ หล็กหรอื เทปแม่เหล็ก เพอื่ นาไปประมวลผลดว้ ยเครอื่ งคอมพิวเตอร์ต่อไป 3.3.2 การประมวลผล การประมวลผล (Processing) หมายถึง การนาข้อมูลท่ีเตรียมไว้มาทาการประมวลผลโดย กรรมวิธีหน่ึงหรือหลายกรรมวิธี เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ สามารถนาไปใช้งานได้ เป็นวิธีการ จัดการกับข้อมูล โดยนาข้อมูลท่ีเตรียมไวแ้ ลว้ เข้าเครื่อง แต่ก่อนท่ีเคร่ืองจะทางานต้องมีโปรแกรมสั่งงาน ซ่ึงโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็นผู้เขียน เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผลจนกระท่ังได้ผล ลัพธ์ออกมา และยงั คงเกบ็ ไวใ้ นเครอื่ งขัน้ ตอนต่าง ๆ อาจเป็น ดังนี้ 1. การคานวณ (Calculation) ได้แก่ การคานวณทางคณติ ศาสตร์ เชน่ การบวก ลบ คณู หาร และ ทางตรรกศาสตร์ เชน่ การเปรียบเทียบคา่ ตา่ ง ๆ 2. การเรียงลาดับข้อมูล (Sorting) เช่น เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือมากไปน้อยหรือเรียงตาม ตวั อกั ษร A ถงึ Z เป็นตน้ 3. การดึงข้อมูลมาใช้ (Retrieving) เป็นการค้นหาข้อมูลท่ีต้องการเพื่อนามาใช้ง าน เชน่ ต้องการทราบยอดหน้ขี องลกู ค้าคนหนึง่ หรือต้องการทราบยอดขายของพนักงานคนหน่ึง เป็นตน้ 4. การรวมข้อมูล (Merging) เป็นการนาข้อมูลต้ังแต่ 2 ชุด ข้ึนไปมารวมเป็นชุดเดียวกัน เช่น การนาเอาเงนิ เดือนพนักงาน รวมกับเงนิ คา่ ล่วงเวลา จะได้เป็นเงินทีต่ อ้ งจ่ายให้แก่พนักงาน 5. การสรุป (Summarizing) เป็นการรวบรวมข้อมูลท่ีมีอยู่ท้ังหมดให้อยู่ในรูปแบบสั้น ๆ กะทัดรัดตามตอ้ งการ เชน่ การสรุปรายรับรายจา่ ยหรือกาไรขาดทุน 6. การสรา้ งข้อมูลชดุ ใหม่ (Reproducing) เป็นการสรา้ งข้อมลู ชดุ ใหม่ขนึ้ มาจากขอ้ มูลเดิม นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 3 ระบบประมวลผลขอ้ มลู P a g e | 45 7. การปรับปรุงข้อมูล (Updating) คือ การเพิ่มข้อมูล (Add) การลบข้อมูล (Delete) และการ เปล่ียนคา่ (Change) ขอ้ มลู ที่มอี ยู่ให้ทันสมัยอยเู่ สมอ 3.3.3 การแสดงผลลพั ธ์ การแสดงผลลัพธ์ (Output) หมายถึง การนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาใช้งานใน ด้านต่าง ๆ รวมถึงการดูข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ด้วย เป็นงานที่ได้หลังจากผ่านการประมวลผลแล้วเป็น ข้ันตอนในการแปลผลลัพธ์ท่ีเก็บอยู่ในเครื่อง ให้ออกมาอยู่ในรูปท่ีสามารถเข้าใจง่าย ได้แก่ การนาเสนอ ในรูปแบบรายงาน เช่น แสดงผลสรุปตารางรายงานการบัญชี รายงานทางสถิติ รายงานการวิเคราะห์ ต่าง ๆ หรืออาจแสดงด้วยกราฟ เช่น แผนภูมิหรือรูปภาพสรุปขั้นตอนการประมวลผลด้วยเคร่ือง คอมพิวเตอร์ 3.4 ระบบประมวลผลรายการ ระบบประมวลผลรายการ Transaction Processing Systems (TPS) หมายถึง ระบบสารสนเทศ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร เ ป ล่ี ย น ข้ อ มู ล ดิ บ จ า ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ ห้ อ ยู่ ใ น รู ป แ บ บ ท่ี เ ค ร่ื อ ง จั ก ร ส า ม า ร ถ อ่ า น ไ ด้ เก็บรายละเอียดรายการ ประมวลผลรายการ และสั่งพิมพ์รายละเอียดรายการ ออกมาได้ รายการ (Transaction) คือ การกระทาพื้นฐานที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินการทางธุรกิจ เช่น การขายสินค้า การจองต๋ัวเครื่องบนิ การซ้ือสินค้าผา่ นบัตรเครดิต และการสอบถามข้อมลู เกี่ยวกบั สินค้าคงคลัง จดั เป็น รายการท้ังสิ้น ระบบประมวลผลรายการนิยมใช้ในการประมวลผลบัญชี การขาย หรือประมวลผลข้อมูล สนิ คา้ คงคลัง เน่ืองจากขอ้ มลู เหล่าน้เี ป็นท่ีต้องการของระบบสารสนเทศอ่นื ๆ ในองค์กร ในการดาเนินการของระบบประมวลผลรายการ ข้อมูลถูกนาเข้าไปยังคอมพิวเตอร์ของระบบ สารสนเทศ โดยใช้แป้นพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จนกระท่ังพร้อมท่ีจะ ถูกประมวลผล หลังจากที่ข้อมูลถูกป้อนเข้าไปแล้ว จะเกิดการประมวลผลเพื่อเปลี่ยนข้อมูลเป็น สารสนเทศท่ีมีประโยชน์ในการจัดการ โดยระบบประมวลผลรายการจะทาการบันทึกรายการลงใน ฐานข้อมูล และผลิตเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับรายการนั้นออกมา อาจอยู่ในรูปแบบของรายงาน ตาราง กราฟภาพเคลื่อนไหว และเสียง ฯลฯ ข้ึนอยกู่ บั ความต้องการของผู้ใชส้ ารสนเทศน้ัน ๆ 3.4.1ระบบประมวลผลรายการสามารถแบ่งตามวธิ ีการประมวลผลขอ้ มลู ได้แก่ 1. ระบบการประมวลผลแบบกลุ่ม ระบบการประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing System) ข้อมูลจากหลาย ๆ รายการ จากผู้ใช้หลาย ๆ คนหรือจากช่วงเวลาหลาย ๆ ช่วง ถูกรวมเข้าด้วยกัน นาเข้า และประมวลผลเหมือน เป็นกลุ่มเดียว ตัวอย่างเช่น ยอดขายรายวันซ่ึงถูกประมวลผลเพียงวันละหนึ่งคร้ัง จะใช้ระบบการ ประมวลผลแบบกลุ่มนี้เมื่อข้อมูลไม่จาเป็นต้องปรับปรุงทันที และเม่ือมีข้อมูลจานวนมากที่คล้ายกัน ตอ้ งถูกประมวลผลในคร้งั เดยี วกัน นชุ ากร คงยะฤทธิ์

46 | P a g e บทที่ 3 ระบบประมวลผลขอ้ มลู 2. ระบบการประมวลผลแบบออนไลน์ ระบบการประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing System) รายการถูกประมวลผลเมื่อ เกิดรายการนัน้ ขึน้ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคอื 2.1 การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing) ข้อมูลถูกประมวลผลเมื่อป้อน ข้อมูลเข้าโดยไม่ต้องเก็บไว้ประมวลผลในภายหลงั เช่น ระบบเช็ครายการสินค้าออกของร้านขายของชา โดยระบบจะทาการออกใบเสร็จรับเงินที่แสดงรายการสินค้าทันทีหลังจากรายการสินค้าต่าง ๆ ท่ีซื้อ ถูกประมวลผล 2.2 การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing) ใช้ในระบบควบคุมหรือระบบ ทตี่ ้องการให้เกิดผลสะท้อนกลับ เชน่ ขบวนการควบคุมอณุ หภมู ิของห้างสรรพสนิ ค้า การทางานของการ ประมวลผลแบบทันที สามารถไปมีผลกระทบกบั ตวั รายการน้นั ๆ เอง ถ้าผใู้ ช้หลายรายแข่งขันกันเพื่อใช้ ทรพั ยากรเดยี วกนั เชน่ ทน่ี ่งั บนเครื่องบนิ หรือในชัน้ เรียนพิเศษ 3.4.2วตั ถปุ ระสงค์ของ TPS 1. มุ่งจัดหาสารสนเทศท้ังหมดท่ีหน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงานหรือตามกฎหมาย เพือ่ ช่วยในการปฏบิ ัตงิ าน 2. เพื่อเออื้ อานวยต่อการปฏิบตั งิ านประจาให้มีความรวดเรว็ 3. เพ่ือเป็นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของหน่วยงานมีความถูกต้องเป็นอันหนึ่ง อันเดยี วกัน และรกั ษาความลับได้ 4. เพื่อเป็นสารสนเทศที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจอ่ืน เช่น MIS หรอื DSS 3.4.3หน้าท่ีของ TPS มดี งั น้ี 1. การจัดกลมุ่ ของขอ้ มลู (Classification) คอื การจัดกลุ่มข้อมูลลักษณะเหมือนกนั ไว้ดว้ ยกัน 2. การคิดคานวณ (Calculation) การคิดคานวณโดยใชว้ ิธกี ารคณติ ศาสตร์ เชน่ บวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้ไดผ้ ลลพั ธ์ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ เช่น การคานวณภาษีขายท้งั หมดท่ตี อ้ งจ่ายในช่วง 3 ปีที่ผา่ นมา 3. การเรียงลาดับข้อมูล (Sorting) การจัดเรียงข้อมูลเพื่อทาให้การประมวลผลง่ายข้ึน เช่น การจัดเรียง invoices ตามรหัสไปรษณีย์เพ่ือใหก้ ารจดั ส่งเรว็ ยง่ิ ข้นึ 4. การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็นการลดขนาดของข้อมูลให้เล็กหรือกระทัดรัดข้ึน เช่น การคานวณเกรดเฉลีย่ ของนักศกึ ษาแต่ละคน 5. การเก็บ (Storage) การบันทึกเหตุการณ์ท่ีมีผลต่อการปฏิบัติงาน อาจจาเป็นต้องเก็บรักษา ข้อมูลไว้ โดยเฉพาะข้อมูลบางประเภทท่ีจาเป็นต้องเก็บรักษาไว้ตามกฎหมาย ท่ีจริงแล้ว TPS เกี่ยวข้อง กับงานทุกระดับในองค์กร แต่งานส่วนใหญ่ของ TPS จะเกิดข้ึนในระดับปฏิบัติการมากกว่า แม้ว่า TPS จะจาเป็นในการปฏิบัติงานในองค์กรแต่ระบบ TPS ก็ไม่เพียงพอในการสนับสนุนในการตัดสินใจของ ผู้บรหิ าร ดังนั้นองคก์ รจงึ จาเปน็ ต้องมรี ะบบอนื่ สาหรับช่วยผบู้ ริหารดว้ ย ดงั จะกล่าวตอ่ ไป นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 3 ระบบประมวลผลขอ้ มูล P a g e | 47 3.4.4ลกั ษณะสาคัญของระบบสารสนเทศแบบ TPS มดี ังนี้ 1. มีการประมวลผลขอ้ มลู จานวนมาก 2. แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายใน และผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์การเป็นหลัก อย่างไรก็ตามในปัจจุบันหุ้นส่วนทางการค้าอาจจะมีส่วนในการป้อนข้อมูล และอนุญาตให้หน่วยงานที่ เป็นหุน้ ส่วนใชผ้ ลท่ไี ด้จาก TPS โดยตรง 3. กระบวนการประมวลผลขอ้ มลู มกี ารดาเนินการเปน็ ประจา เช่น ทกุ วัน ทกุ สัปดาห์ 4. มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมลู จานวนมาก 5. มีการประมวลผลขอ้ มลู ทร่ี วดเร็ว เน่อื งจากมปี รมิ าณข้อมลู จานวนมาก 6. TPS จะคอยตดิ ตาม และรวบรวมข้อมูลภายหลงั ทผ่ี ลิตขอ้ มลู ออกมาแล้ว 7. ขอ้ มลู ทีป่ อ้ นเข้าไป และที่ผลิตออกมามลี ักษณะมโี ครงสรา้ งทชี่ ัดเจน (Structured Data) 8. ความซบั ซอ้ นในการคิดคานวณมีน้อย 9. มีความแม่นยาค่อนข้างสูง การรักษาความปลอดภัย ตลอดจนการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลมี ความสาคัญเกีย่ วขอ้ งโดยตรงกบั TPS 10. ต้องมกี ารประมวลผลทม่ี ีความน่าเชอ่ื ถอื สงู 3.4.5 กระบวนการของ TPS กระบวนการประมวลข้อมลู ของ TPS มี 3 วิธี คอื (Stair & Reynolds, 1999) 1. Batch processing Batch processing การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมท่ีเกิดขึ้น และรวมไว้เป็นกลุ่มหรือเป็นชุด (batch) เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องหรือจัดลาดับให้เรยี บร้อยก่อนที่จะ ส่งไปประมวลผล โดยการประมวลผลน้ีจะกระทาเป็นระยะ ๆ (อาจจะทาทุกคืน ทุก 2-3 วัน หรือทุก สัปดาห)์ 2. Online processing Online processing คือ ข้อมูลจะได้รับการประมวลผล และทาให้เป็นเอาต์พุตทันทีท่ีมีการป้อน ข้อมูลของธุรกรรมเกิดข้ึน เช่น การเบิกเงินจากตู้ ATM จะประมวลผล และดาเนินการทันที เม่ือมีลูกค้า ใสร่ หัส และป้อนข้อมูล และคาสง่ั เข้าไปในเคร่อื ง 3. Hybrid systems Hybrid systems เป็นวิธีการผสมผสานแบบท่ี 1 และ2 โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดข้ึนทนั ที แตก่ ารประมวลผลจะทาในช่วงระยะเวลาที่กาหนด เชน่ แคชเชยี รท์ ปี่ อ้ นขอ้ มูล การซอ้ื ขายจากลกู ค้าเข้า คอมพิวเตอร์ ณ จุด ขายของ แต่การประมวลผลข้อมูลจากแคชเชียร์ทุกคนอาจจ ะทา หลงั จากนั้น (เชน่ หลงั เลิกงาน) นชุ ากร คงยะฤทธิ์

48 | P a g e บทท่ี 3 ระบบประมวลผลข้อมูล 3.5 สรุปทา้ ยบท ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing) คือ การประมวลผลข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มาผ่าน กระบวนการต่าง ๆ เพอ่ื แปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ตอ้ งการเรยี กวา่ ข้อมลู สนเทศหรอื สารสนเทศ (information) วิธกี ารประมวลผลข้อมลู จาแนกได้ 3 วธิ ี โดยจาแนกตามอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการประมวลผล การประมวลผลด้วยมือ Manual Data Processing การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล Mechanical Data Processing การประมวลผลข้อมูลด้วยเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Data Processing รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ 1. การประมวลผลส่วน บุคคล (Personal Computing) 2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) 3. การ ประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) การประมวลผลข้อมูล สามารถแบ่งได้ 3 ขั้นตอน ดังนี้ คือ การเตรียมข้อมูลนาเข้า (Input Data) การประมวลผล (Processing) การแสดงผลลัพธ์ (Output) ระบบประมวลผลรายการ Transaction Processing Systems (TPS) 3.6 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิบายความหมายของระบบประมวลผลข้อมลู 2. จงอธิบายรปู แบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง 3. จงอธบิ ายข้นั ตอนการทางานของการประมวลผลข้อมูล 4. จงอธิบายความหมายของระบบประมวลผลรายการ และยกตวั อยา่ งประกอบ 5. จงอธิบายกรบวนการของ Transaction Processing Systems (TPS) 3.7 อา้ งอิงประจาบท Blake Gopnik. (2017). The A4 Accounting Machine by Mario Bellini is the Daily Pic by Blake Gopnik. Retrieved March, 11, 2019, form https://www.thedailybeast.com/the- a4-accounting-machine-by-mario-bellini-is-the-daily-pic-by-blake-gopnik weblineinstitute. (2015). Manual Accounting – Its Pros and Cons. Retrieved March, 11, 2019, form https://weblineinstitute.wordpress.com/2015/01/02/manual-accounting- its-pros-and-cons/ การประมวลผลข้อมูล Data Processing (ดาตา้ โปรเซสชิง) คอื การประมวลผลข้อมูลท่ีเกบ็ รวบรวม ได้มาผา่ นกระบวนการตา่ ง ๆ. (2560). คน้ เมือ่ 24 มีนาคม 2562 จาก https://www.mindphp.com/บทความ/31-ความรู้ท่ัวไป/4088-data-processing.html การประมวลผลข้อมลู อเิ ล็กทรอนิกส์ (EDP). (2560). คน้ เม่ือ 24 มนี าคม 2562 จาก https://th.routestofinance.com/electronic-data-processing-coverage สดใส ดลุ ยา. (2553). เทคโนโลยีการประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing). คน้ เม่อื 24 มีนาคม 2562 จาก https://www.scimath.org/article-technology/item/373- distributed-computing นุชากร คงยะฤทธิ์



50 | P a g e บทท่ี 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ แผนบริหารการสอน รหสั วชิ า : 11-411-101 วชิ า : พนื้ ฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยที่ : 4 ช่อื หน่วยเรยี น : ฮาร์ดแวร์ และซอฟตแ์ วร์ เวลาท่ีสอน 9 ชวั่ โมง 1. หวั ข้อประจาบท 1.1 ฮาร์ดแวร์ 1.2 ซอฟต์แวร์ 1.3 สรปุ ทา้ ยบท 1.4 แบบฝึกหัดท้ายบท 1.5 อา้ งอิงประจาบท 2. วัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 2.1 บอกความหมายของฮาร์ดแวร์ได้ 2.2 ยกตัวอยา่ งอุปกรณน์ าข้อมูลเขา้ แต่ละประเภทได้ อธิบายการทางานของซีพยี ไู ด้ 2.3 บอกประเภทของหน่วยความจาหลักในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ได้ 2.4 บอกความแตกต่างระหว่างฮาร์ดดิสก์ (HDD) และไดร์ฟแบบ SSD ได้ 2.5 อธบิ ายลกั ษณะของสอื่ เกบ็ ข้อมลู แบบตา่ ง ๆ ได้ ยกตวั อยา่ งอปุ กรณ์แสดงผลหน้าจอได้ 2.6 จาแนกลักษณะของเครอื่ งพิมพ์แตล่ ะชนดิ ได้ 2.7 บอกความแตกต่างระหวา่ งซอฟตแ์ วร์ระบบกับซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ได้ 2.8 เปรียบเทียบระบบปฏิบตั กิ ารบนอุปกรณ์เคลอื่ นท่ี เชน่ ไอโอเอส แอนดรอยด์ ได้ 2.9 เปรียบเทยี บระบบปฏิบัติการเดสก์ท็อป เชน่ วินโดวส์ แมคโอเอส ได้ 2.10 ระบุโปรแกรมประยกุ ตท์ ่วั ไปได้ ระบุโปรแกรมประยกุ ต์เฉพาะทางได้ 3. วธิ ีการสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท 3.1 บรรยายโดยอาจารยผ์ ูส้ อน 3.2 นกั ศกึ ษารว่ มกันอภิปรายในช้ันเรียน 3.3 ศกึ ษาเอกสารการสอนบทท่ี 4 3.4 นกั ศึกษาเพมิ่ เตมิ นอกชั้นเรียน 3.5 นักศกึ ษาปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามท่กี าหนด 3.6 ใช้ LCD ในการเรยี นการสอน 4. สอ่ื การเรียนการสอน 4.1 เอกสารประกอบการสอน 5. การวัดผลและประเมนิ ผล 5.1 ประเมนิ ผลกิจกรรมและแนวตอบคาถามทา้ ยบท นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 51 บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ 4.1 ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นส่ิงที่เราสามารถมองเห็น และสัมผัสได้ โดยมีทั้งแบบท่ีติดตั้งอยู่ภายใน และภายนอกตัวเครื่อง บางครง้ั ก็เรียกวา่ Device ซึ่งในบทนี้เราจะแบ่งกลุ่มต่างไปจากบทที่แล้วเล็กน้อย โดยมองอุปกรณ์เป็นช้ิน ๆ ที่จับต้องได้ ดังนัน้ อุปกรณ์นาข้อมูลเขา้ และแสดงผลลัพธ์น้ี จงึ แยกเปน็ คนละกลุ่ม สว่ นอปุ กรณป์ ระมวลผลจะรวมท้ัง ซีพยี ู และหน่วยความจาหลกั ซึ่งตา่ งกอ็ ยู่บนเมนบอร์ดหรอื แผงวงจรหลักดว้ ยกัน 4.1.1 อุปกรณน์ าข้อมลู เข้า (Input Device) รูปท่ี 4.1 อปุ กรณ์นาข้อมูลเข้า ทม่ี า: (Computer – Input Devices, 2018) เป็นอุปกรณ์ที่คอยตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้ โดยจะรับเอาข้อมูลหรือชุดคาส่ังเข้าไปในเครื่อง เพ่ือให้คอมพิวเตอร์นาไปประมวลผลต่อไปได้ ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ภาพกราฟิก เสียง หรือวิดีโอ เป็นต้น ซ่ึงมหี ลากหลายประเภท ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี 1. ประเภทคีย์บอร์ดหรอื แปน้ พิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานท่ีจาเป็นสาหรับใช้ในการป้อนข้อมูลท่ีเป็นตัวอักษร อักขระพิเศษ ตัวเลข หรือ ชุดคาสั่งต่าง ๆ ลงในคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลท้ังหมดที่ป้อนเข้ามาจะถูกแปลงให้เป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์ เข้าใจ เพื่อนาไปประมวลผลต่อไป คีย์บอร์ดที่ใช้งานกันในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ เช่น คีย์บอร์ด มาตรฐานที่พบได้ในคอมพิวเตอร์ (พีซี) แบบเดสก์ท็อป คีย์บอร์ดขนาดเล็กท่ีใช้ในเคร่ืองโน้ตบุ๊กท่ัวไป หรือคียบ์ อรด์ เสมอื น (Virtual หรอื on-Screen keyboard ) ในแท็บเล็ตหรือสมารท์ โฟน นชุ ากร คงยะฤทธิ์

52 | P a g e บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ 2. ประเภทชี้ตาแหน่ง และควบคุมทศิ ทาง (Pointing and Control Device) เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ชี้ตาแหน่งที่พบได้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ัวไป ใช้วิธีเลื่อนตัวเมาส์ และคลิกปุ่มเพ่ือ สั่งงาน บางแบบอาจมีล้อเลอ่ื น และปุ่มพิเศษ ชว่ ยเพ่มิ รูปแบบคาสงั่ ใหห้ ลากหลายขนึ้ เทคโนโลยีปจั จบุ นั จะใช้เมาส์ระบบแสงหรือ Optical โดยยิงลาแสงไปที่พ้ืนผิวข้างใต้ และวิเคราะห์การสะท้อนกลับท่ี เปล่ยี นแปลง เพ่ือหาวา่ เมาสเ์ ลือ่ นไปในทศิ ทางใด 2.1 แท่งชี้ควบคุม (Pointing Stick) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับตาแหน่งข้อมูลเช่นเดียวกันมี ลักษณะเป็นก้อนเล็ก ๆ คล้ายกับยางลบดินสอ โดยจะติดต้ังอยู่ตรงส่วนกลางของแป้นพิมพ์ใน คอมพิวเตอร์โนต้ บกุ๊ บางแบบ การควบคุมทศิ ทางของตวั ชี้ จะใช้นวิ้ มือดนั ใหแ้ ทง่ นโี้ ยกไปในทิศทางต่าง ๆ ลูกศรบนจอก็จะเลื่อนไปในทิศทางน้ัน เพิ่มความสะดวกในการใช้งาน ทาให้ไม่ต้องเลื่อนมือลงมาใช้ทัช แพดบ่อย ๆ เรยี กอีกอย่างว่า TrackPoint 2.2 จอยสติก (Joystick) เป็นอุปกรณ์ที่พบเห็นได้ในการเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ เพราะใช้งานสะดวก เช่น การบังคับทิศทางซ้าย ขวา หน้า หลัง หรือบังคับทิศทางในระดับองศา ที่แตกต่างกันในการควบคุมอากาศยานหรือท่าต่อสู้ของตัวละคร ซ่ึงทาให้การเล่มเกมมีความสมจริง มากกวา่ การใช้เมาส์ การเล่นเกมบนอุปกรณ์พกพานั้นสามารถขยับเอียงสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตแทนพวงมาลัยได้ โดยตัวจับการเคลือ่ นไหว และทิศทาง (accelerometer และ gyroscope) ในสมาร์ทโฟนจะจับทิศทาง แล้วขยับตามหรือจะเชื่อมต่อกบั อุปกรณบ์ ังคับทิศทางแบบตา่ ง ๆ เพื่อให้เกิดความสมจรงิ ในการเล่นก็ได้ หรือจะใช้ตวั สมารท์ โฟนหรอื แทบ็ เล็ตเปน็ อุปกรณ์บงั คับทิศทางให้กับอุปกรณ์อน่ื ๆ ไดด้ ้วย 2.3 จอสัมผัสหรอื ทัชสกรนี (Touch Screen) เปน็ อปุ กรณ์ท่สี ามารถใช้นวิ้ มอื แตะบังคบั หรือส่ัง การไปยงั หน้าจอคอมพวิ เตอร์ไดโ้ ดยตรง ไม่จาเปน็ ต้องใชเ้ มาส์หรือแป้นพมิ พ์ ซ่งึ กลายเปน็ มาตรฐานของ สมาร์ทโฟน และแทบ็ เลต็ นับพันล้านเครอ่ื งทั่วโลก และมใี ช้ในเคร่ืองโนต้ บุ๊กบางกลุ่มดว้ ย 3. ประเภทข้อมูลมลั ติมีเดยี (Multimedia Input Device) 3.1 ไมโครโฟน (Microphone) เป็นอุปกรณร์ ับขอ้ มูลประเภทเสยี ง (Voice) เขา้ สู่ระบบเพ่ือนา ข้อมูลเสียงน้ันส่งต่อไปแสดงผลทางลาโพง หรือนาไปใช้ในการบันทึกเสียง มีท้ังแบบที่เชื่อมต่อเข้าทาง แจ็คหูฟัง / ไมโครโฟน (สัญญาณเสียงแบบอนาล็อก) และแบบท่ีเช่ือมต่อกับพอร์ต USB (สัญญาณ ดิจิทัล) โดยจะทางานร่วมกับซอฟต์แวร์ด้านมัลติมีเดียนอกจากนี้ไมโครโฟนยังสามารถใช้ร่วมกับระบบ จดจาเสียงพูดหรือ Voice Recognition เพื่อทางานบางอย่างได้ เช่น ใช้เสียงพูดผ่านไมโครโฟนเข้าไป แทนการพิมพ์ข้อความได้ ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงความหมาย และประมวลผลเสียงท่ีผ่านเข้ามาเป็น ตัวอกั ษรโดยอตั โนมัติ 3.2 กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทภาพถ่ายดิจิทัล ที่ได้รับการพัฒนาเทคโนโลยีมาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ได้ไฟล์ภาพมีความคมชัดมากย่ิงข้ึน และยังถ่าย วดิ ีโอความละเอียดสูงระดับ Full HD (1920x1080) หรอื 4K (3840x2160) ได้อกี ด้วย หลายรุ่นสามารถ บันทกึ ไฟลห์ รือแชร์ภาพผ่านเทคโนโลยี NFC (Near Field Communication) ใชก้ ารนาอปุ กรณ์มาแตะ กัน เพ่ือเริ่มการรับสง่ ขอ้ มลู หรือใช้ Wi-Fi จากตัวกลอ้ งไดท้ ันที สามารถสั่งใหเ้ ชื่อมตอ่ กับสมาร์ทโฟนเพ่ือ กดถา่ ยภาพ หรือจัดการไฟล์ภาพในกลอ้ งผา่ นทางสมารท์ โฟนได้ 3.3 กล้องถ่ายวิดีโอดิจิทัล (Digital Video Camera) เรียกย่อ ๆ ว่ากล้องประเภท DV ซ่ึงเป็น กล้องถ่ายวิดีโอแบบดิจิทัล สามารถถ่ายภาพเคล่ือนไหวและเก็บบันทึกไฟล์ลงสื่อบันทึกข้อมูลประเภท นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 53 ต่าง ๆ เช่น แผ่น DVD-R, SD Card หรือฮาร์ดดิสก์ของกล้องเอง (ขึ้นอยู่กับรุ่นของกล้องว่าใช้สื่อบันทึก แบบใด) ซ่ึงกล้องถ่ายวิดีโอในปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เน้นความคมชัด และ ความละเอียดสูงระดับ Full HD หรือ 4K โดยมีข้อดีกว่าการใช้กล้องถ่ายภาพน่ิงมาถ่ายวิดีโอตรงท่ีถ่าย ตอ่ เนือ่ งได้นาน ๆ โดยตัวรบั ภาพ (เซน็ เซอร์) ไม่รอ้ น 3.4 เว็บแคม (Web Cam) เป็นกล้องถ่ายวิดีโออีกประเภทหนึ่งที่ใช้สาหรับการถ่ายภาพ เคล่ือนไหว แต่คุณภาพไม่เน้นความละเอียดสูงจึงมีขนาดไฟล์เล็กกว่ากล้องแบบ DV นิยมใช้ร่วมกับ โปรแกรมสนทนาออนไลน์ หรอื การถ่ายทอดสด (Live) นอกจากนี้ยังถูกฝังมาในเคร่ืองโน้ตบุ๊ก และแท็บ เล็ต / สมาร์ทโฟนทกุ รุน่ จนกลายเปน็ อุปกรณม์ าตรฐานไปแล้ว 4. ประเภทสแกน และอ่านข้อมลู ดว้ ยแสง (Scanner and Optical Reader) 4.1 สแกนเนอร์ (Scanner) การทางานของสแกนเนอร์ (Scanner) เป็นการเอาเอกสารลงไป บนแท่นวาง รวมถึงวัตถุรูปร่างต่าง ๆ ก็สามารถเก็บรูปภาพหรือเอกสารสาคัญต่าง ๆ เหล่านั้นไว้ใน คอมพิวเตอรไ์ ด้ หลักการทางานจะเหมือนกบั เครื่องถ่ายเอกสารคือ ใชล้ าแสงกวาดผ่านกระดาษหรือวัตถุ น้ันแล้วแปลงสัญญาณภาพเป็นสัญญาณดิจิทัล จากนั้นจะส่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์เพ่ือให้เราบันทึกไฟล์ใน รูปแบบที่ต้องการ เช่น ไฟล์ .jpg หรือ .pdf เป็นต้น ปัจจุบันมักพบสแกนเนอร์ฝังอยู่ในเคร่ืองที่เรียกว่า multifunction ที่สามารถถ่ายเอกสาร (copy) สแกน และ print (บางเคร่ืองสามารถรับส่ง fax) ได้ใน เครอื่ งเดยี วกนั สาหรับรปู ภาพทมี่ ขี อ้ ความอย่นู ้นั สามารถใชโ้ ปรแกรมประเภท OCR (Optical Character Recognition) แปลงภาพขอ้ ความใหเ้ ปน็ ตวั อักขระได้ (แต่ความถกู ต้องยงั ไม่ 100%) รปู ที่ 4.2 โอเอ็มอาร์ (OMR: Optical Mark Reader) ท่มี า: (3.อปุ กรณ์ Input, 2557) 4.2 โอเอ็มอาร์ (OMR: Optical Mark Reader) เป็นเครื่องท่ีนาไปใช้ประโยชน์ในการ ตรวจข้อสอบหรือคะแนนของกลุ่มบุคคลจานวนมาก เช่น การสอบคัดเลือกที่เข้ามหาวิทยาลัย การสอบ วดั ระดบั ภาษาอังกฤษ สอบเขา้ รับราชการ สอบคัดเลอื กพนักงาน รวมทั้งการทาแบบสอบถาม และแบบ ประเมินต่าง ๆ โดยเครื่องจะอ่านเคร่ืองหมาย (Mark) ที่ถูกระบายไว้ในกระดาษคาตอบ ซึ่งโดยปกติ จะต้องใช้ดินสอท่ีมีความเข้มมากพอที่จะให้เครื่องอ่านได้ (เช่น มีความเข้มระดับ 25 ข้ึนไป) หากใช้ ดนิ สอท่ีมีความเข้มต่ากวา่ ระดับทกี่ าหนดอาจทาให้เครือ่ งอ่านให้ไม่ชดั เจน 4.3 เคร่ืองอ่านรหัสบาร์โค้ด (Barcode Reader) มีท่ีมาจากระบบจัดการสินค้าคงคลัง ท่ีจะให้ ป้อนรหัสสินค้ายาว ๆ เข้าระบบได้โดยไม่ผิดพลาดจึงคิดรหัสแห่งสีดา และขาวต่อเนื่องกันไปเรียกว่า บาร์โค้ด (Barcode) พิมพ์ไว้คู่กับรหัสตัวเลขของสินค้าอุปโภค บริโภคเพื่อสะดวกต่อการป้อนข้อมูล นุชากร คงยะฤทธิ์

54 | P a g e บทที่ 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ยาว ๆ แทนการคีย์เข้าไปที่ละตัวอักษร ปัจจุบันเริ่มมีการใช้บาร์โค้ดแบบรูปส่ีเหล่ียม 2 มิติ หรือ QR Code ซ่งึ เก็บข้อมลู ได้ยาวกว่า เครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ดมีหลายรูปแบบ เช่น หัวอ่านมีด้ามจับคล้ายปืน หรือบางแบบก็ฝังอยู่ใน แท่นของเคร่ืองท่ีใช้งาน เช่น จุดเช็คอินสายการบินหรือตามจุดบริการขาย (POS Point Of Sale) ในร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ หรือห้างสรรพสินค้าทั่วไป นอกจากนี้ความสามารถในการอ่านบารโ์ ค้ดยงั ถกู ฝังมาในกล้องของสมาร์ทโฟน และแท็บเลต็ ส่วนมากด้วย รปู ที่ 4.3 เอม็ ไอซีอาร์ (MICR: Magnetic-link Character Recognition) ทีม่ า: (3.อปุ กรณ์ Input, 2557) 4.4 เอ็มไอซีอาร์ (MICR: Magnetic-link Character Recognition) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่าน ตัวอักษรด้วยแสงของเอกสารสาคัญ เช่น เช็คธนาคาร ซ่ึงมีการพิมพ์หมายเลขเช็คด้วยผงหมึกสาร แม่เหล็ก (Magnetic Ink) เป็นแบบอักษรเฉพาะ มีลักษณะเป็นลายเส้นแบบเหลี่ยม พบเห็นได้ในการ ประมวลผลเช็คสาหรับธุรกิจธนาคารที่จะใช้เคร่ืองอ่านแบบพิเศษเพื่อให้สามารถอ่านข้อมูลเช็คจานวน มากจากธนาคารทกุ สาขาทัว่ ประเทศเข้าไปประมวลผลได้ทนั แบบวนั ต่อวัน 5. ประเภทตรวจสอบขอ้ มูลทางกายภาพ (Biometric Input Device) รูปท่ี 4.4 Biometric Input Device ทีม่ า: (SpenceTec UK, 2017) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 55 ไบโอเมตริกส์ (Biometric) เป็นข้อมูลลักษณะเฉพาะทางกายภาพของแต่ละบุคคล เช่น ลายนิ้วมอื ลายฝ่ามอื ลวดลายของม่านตา (Retina) หรอื แมก้ ระทั่งรูปแบบใบหน้าหรือเสียงพูด ซ่ึงสามารถนามาใช้ กับระบบรักษาความปลอดภัยต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ต้ังแต่การผ่านประตูจนถึงการล็อคเครื่องสมาร์ท โฟนเน่ืองจากระบบการตรวจสอบประเภทน้ีจะปลอมแปลงได้ยาก แต่ข้อเสียคือ หากข้อมูลท่ีเก็บไว้น้ี รัว่ ไหลออกไปแล้ว จะไมส่ ามารถเปลีย่ นได้งา่ ย ๆ เหมือนรหสั ผ่านเพราะเปน็ ส่งิ ท่ีตดิ มากบั ตวั เรา เครื่องที่ใช้อ่านข้อมูลเหล่านี้จะมีอยู่หลายประเภทขึ้นอยู่กับลักษณะการตรวจสอบ เช่น เคร่ืองอ่าน ลายนวิ้ มอื เครอื่ งตรวจสอบม่านตา เคร่อื งวเิ คราะห์เสยี งพูด ระบบสแกนใบหน้า และอ่นื ๆ 4.1.2 หนว่ ยประมวลผล (Processing Device) 1. ซีพยี ู (CPU: Central Processing Unit) ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) เป็นอุปกรณ์หลักในการประมวลผล ภายในคอมพิวเตอร์ มีหน้าท่ีเปรียบเหมือนกับสมองของมนุษย์ที่ใช้ในการคิดวิเคราะห์เพ่ือหาผลลัพธ์ ตามทตี่ ้องการรูปแบบปจั จบุ นั จะมาทาเป็นชิปวงจรรวมเรยี กวา่ ไมโครโปรเซสเซอร์ ซีพยี ูทาหนา้ ทค่ี วบคุมการทางาน และประมวลผลขอ้ มูลท่ีได้รับจากอุปกรณ์นาเขา้ (Input Device) ตามคาส่ังต่าง ๆ ในโปรแกรม และส่งต่อไปยังส่วนการจัดเก็บข้อมูล (Storage Device) เพ่ือเก็บบันทึก หรือส่วนแสดงผล (Output Device) เพ่ือแสดงผลลัพธ์ออกมาได้ ซีพียูยิ่งมีความเร็วมากเท่าใดก็จะยิ่ง ประมวลผลได้เร็วขึ้นเท่านัน้ ซ่ึงซีพียูรุ่นใหม่ ๆ ถูกออกแบบ และพัฒนาให้ทางานได้เร็วข้ึนอย่างต่อเนอ่ื ง และมีแนวโน้มว่าจะเร็วขึ้นอีกเร่ือย ๆ เพ่ือให้ทันกับความต้องการของโปรแกรมสมัยใหม่ท่ีซับซ้อน และ กินกาลังเครื่องมากขนึ้ 2. หนว่ ยความจาหลกั (Main Memory) หน่วยความจาหลักหรือ Primary Storage (อาจเรียกได้หลายชื่อเช่น Main Memory, Primary Memory, Internal Memoryม Internal Storage เปน็ ตน้ ) จะเป็นอุปกรณ์ทท่ี างานใกล้ชดิ กบั ซพี ยี มู าก ท่ีสุด และช่วยให้การทางานของซีพียูมีประสิทธิภาพที่ดีข้ึน เพราะเวลาแต่ละวงรอบการทางานของซีพยี ู (Machine Cycle) น้ันเร็วมาก หากไม่มีท่ีเก็บหรือพักข้อมูลท่ีมีความจุ และความเร็วเพียงพอ จะทาให้การประมวลผลช้าลงตามไปด้วย โดยปกติแล้วจะแบ่งหน่วยความจาหลกั ออกเป็น 2 ประเภทคือ ROM และ RAM 2.1 หน่วยความจาแบบ ROM (Read-Only Memory) รอม เปน็ หน่วยความจาท่ีไม่จาเปน็ ต้อง มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงวงจร ถึงแม้ไฟจะดับข้อมูลชุดคาส่ังต่าง ๆ ท่ีอยู่ภายในก็จะไม่สูญหายไปไหน (Non-Volatile Memory) ส่วนใหญ่จะอ่านข้อมูลได้อย่างเดียวและติดตั้งไว้เพ่ือเก็บโปรแกรมประจา เครื่อง เช่น โปรแกรมที่ใช้ตรวจสอบความพร้อมในการทางานขณะท่ีเปิดเคร่ืองขึ้นมา หรือ โปรแกรมควบคุมอปุ กรณ์ต่าง ๆ ในระดับล่างเปน็ ตน้ ซึ่งรวมเรยี กว่า“ ไบออส” หรอื BIOS (Basic input / Output System) ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์นั้นเอง ซึ่งโปรแกรมชุดคาส่ังนี้จะถูกบรรจุไว้ใน ROM อยา่ งถาวรมาแล้วตัง้ แต่ในกระบวนการผลิต (เรียกชดุ คาส่งั ประเภทนี้ว่า Firmware) 2.2 หน่วยความจาแบบ RAM (Random Access Memory) แรม เป็นหน่วยความจาท่ีต้อง อาศัยกระแสไฟฟ้าในการทางานเพื่อไม่ให้ข้อมูลสูญหาย (Volatile Memory) แรมจะถูกใช้เป็นท่ีพัก ข้อมูล และโปรแกรมในระหว่างการทางานของซีพียู เพ่ือให้สามารถเข้าถึง และอ่านหรือแก้ไขข้อมูลตรง จุดไหนก็ได้ เม่ือทางานเสร็จแล้วจึงค่อยนาข้อมูลออกไปเก็บไว้ถาวรท่ีอุปกรณ์จัดเก็บ เช่น ฮาร์ดดิสก์ เมื่อใดก็ตามที่ไฟดับ หรือไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเล้ียง เช่น ปิดเครื่อง ข้อมูลท่ีเก็บใน RAM จะสูญหายไป นชุ ากร คงยะฤทธิ์

56 | P a g e บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ หมด แรมสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ Static RAM (SRAM) และ Dynamic RAM (DRAM) ดังน้ี Static RAM (SRAM) ทาจากวงจรท่ีมีการเก็บข้อมูลด้วยสถานะ “มีไฟ” หรือ “ไม่มีไฟ” ซ่ึงข้อมูลก็จะยังคงอยู่ตลอดเวลาทเ่ี คร่ืองทางาน (มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยงวงจร) จึงกินไฟมาก มีความร้อนสงู และมขี นาดใหญ่จนไมเ่ หมาะทจ่ี ะออกแบบให้มีความจสุ ูง ๆ แต่มคี วามเรว็ ในการทางานสูงมากนิยมใช้ทา เปน็ หน่วยความจาแคช (Cache) ภายในตวั ซีพยี ู เพราะเข้าถงึ ขอ้ มลู ได้อยา่ งรวดเร็ว Dynamic RAM (DRAM) จากวงจรที่มีการเก็บข้อมูลด้วยสถานะ “มีประจุ” หรือ “ไม่มีประจุ” โดยจะสูญเสียประจุไฟฟ้าออกไปได้เร่ือย ๆ จึงต้องมีการรีเฟรช (Refresh) เพ่ือเติมประจุไฟฟ้าอยู่เป็น ระยะ วงจรแบบนี้มีขนาดเล็ก กินกระแสไฟน้อย ไม่เกิดความร้อนสูง สามารถออกแบบให้มีความจุสูงได้ จึงนิยมใช้เป็นหน่วยความจาหลักของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มักอยู่ในรูปแบบของซิปไอซี (Integrated Circuit) บรรจบุ นแผงโมดลู ของแรมชนิดต่าง ๆ 3. เมนบอรด์ (Mainboard) รูปท่ี 4.5 เมนบอร์ด (Mainboard) ทม่ี า: (หนา้ ทีข่ อง Mainboard, 2560) เมนบอร์ดหรือเรียกอีกอย่างว่า แผงวงจรหลัก (Motherboard) เป็นแผงวงจรต่อเช่ือมอุปกรณ์ที่ เกย่ี วข้องกับการทางานของคอมพิวเตอร์ท้งั หมดถือไดว้ ่าเป็นหวั ใจหลักของคอมพวิ เตอร์ทุกเครอื่ ง เพราะ เมนบอร์ดเป็นตัวกาหนด ความสามารถของเคร่ืองว่าจะใช้ซีพียูอะไรได้บ้าง มีประสิทธิภาพเพียงใด สามารถรองรับกับอุปกรณ์ใหม่ได้หรือไม่ ล้วนแล้วแต่ข้ึนอยู่กับเมนบอร์ดท่ีเลือกใช้ทั้งสิ้น ภายใน แผงวงจรจะมีเส้นทองแดงเป็นชุด เรียกว่าบัส (BUS) เพื่อใช้ส่งสัญญาณไฟฟ้าระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในตัวเครื่องให้สามารถทางานร่วมกันได้ เมนบอร์ดของเครื่องโน้ตบุ๊ก สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต จะเลก็ และแนน่ กว่าของเคร่ืองพีซีเดสก์ท็อปมาก และสว่ นประกอบทั้งหลายกจ็ ะถกู ยบุ รวมใหเ้ หลือน้อย ช้ิน น้อยชิป จนแทบไม่สามารถเปลย่ี นหรือซอ่ มอะไรได้เลยเมื่อผลติ ออกจากโรงงานมาแลว้ มีแต่เปลย่ี น ใหมท่ ้งั แผงเทา่ นัน้ 4. ชิปเซ็ต (Chipset) ชิปเซ็ต เป็นชิปจานวนหนง่ึ หรอื หลายตัวที่บรรจวุ งจรสาคัญ ๆ ท่ีช่วยการทางานของซพี ียู แต่ละชิป อาจบรรจุทรานซิสเตอรไ์ ว้นบั ล้านตวั ติดตง้ั ตายตวั บนเมนบอร์ด ทาหน้าท่เี ปน็ ตัวกลางประสานงาน และ ควบคุมการทางานของหน่วยความจา รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงทั้งแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตาม คาส่ังของซีพียู นอกจากนี้ในอุปกรณ์พกพา เช่น สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ยังอาจมีชิปสนับสนุนอื่น ๆ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 57 เช่น ชิปโมเด็มไร้สาย (สาหรับ Wi-Fi และ 3G / 4G), ชิป GPS, ชิปตัวตรวจจับการเคลื่อนไหว / ทิศทาง (Accelerometer / Gyroscope) อีกดว้ ย 4.1.3 อุปกรณจ์ ัดเกบ็ ขอ้ มลู (Storage Device) การทางานของคอมพิวเตอรน์ ้ัน เม่ือตอ้ งการเกบ็ บันทกึ ผลลัพธ์ ขอ้ มูล หรือกลมุ่ คาสงั่ ต่าง ๆ ไวใ้ ช้ใน อนาคตจะไม่สามารถเก็บไวใ้ นหน่วยความจาหลกั (Main Memory หรอื RAM) ได้เพราะมีราคาแพงและ ขนาดจากัดอีกท้ังข้อมูลที่เก็บจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง หากต้องการเก็บข้อมูลท่ีมากขึ้น และเอาไว้ใช้ ประโยชน์ในภายหลังท่ีจาเป็นต้องใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ข้ึน เรียกรวม ๆ ว่าอุปกรณ์จัดเก็บ ข้อมูล (Storage Device) ซ่ึงมีหลายรูปแบบ อาทิ สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) สอื่ เกบ็ ข้อมูลแบบแฟลช (Flash Memory) และส่อื เก็บขอ้ มูลแบบใช้แสง (Optical Storage) 1. ส่อื เก็บข้อมลู แบบจานแมเ่ หล็ก (Magnetic Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลประเภทที่ใช้จาน (Disk) ที่เคลือบผิวด้วยสารแม่เหล็ก เป็นส่ือเก็บข้อมูล อุปกรณ์ท่ีรู้จักกันดี และนิยมใช้คือ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) หรือจานแม่เหล็กแบบแข็ง ที่เรียกว่า Hard เพราะเม่ือก่อนน้ีมีแผ่นจานแม่เหล็กแบบอ่อนที่เรียกว่า ฟล็อปปิดิสก์ (Floppy Disk) หรือแผ่นดิสเก็ตต์ ซ่งึ เก็บข้อมูลไดน้ ้อยจงึ หมดความนยิ ม และเลกิ ใชง้ านกนั ไปแล้ว 1.1 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ฮาร์ดดิสก์หน่ึงตัวมักมีจานแม่เหล็กหลายแผ่นวางซ้อนกันเป็นช้ัน แต่ละจานเรียกว่า แพลตเตอร์ (Platter) ซึ่งอาจจะมีจานวนต่างกันได้ในฮาร์ดดิสก์แต่ละรุ่น โครงสร้าง ขอ้ มูลท่เี ก็บในแผน่ จานแม่เหลก็ มีลกั ษณะ ดังน้ี แทร็ก (Track) เปน็ การแบ่งพื้นที่เก็บขอ้ มลู ออกเป็นสว่ น ๆ ตามแนววงกลมจะมมี ากหรือน้อยวง ก็ขึ้นอยกู่ บั ชนดิ และประเภทของจานแม่เหล็กน้ัน เซคเตอร์ (Sector) เป็นการแบ่งแทร็กออกเป็นช่วงย่อย ๆ สาหรับเก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ใน ปัจจุบันมีสองขนาดคือ 5.25 น้ิวที่ใช้ในเครื่องเดสก์ท็อป และ 3.5 น้ิวที่ใช้ในเคร่ือง โน้ตบุ๊กซึ่งปกติ ฮาร์ดดิสก์ 3.5 นิวจะหมุนช้ากว่า และมีความเร็วต่ากว่า แต่มีข้อดี คือ กินไฟน้อยกว่า ฮาร์ดดิสก์ทั้งสอง ขนาดสามารถต่อแบบภายนอกเครื่อง (external) ไดซ้ งึ่ โดยมากจะใช้สายต่อแบบ USB และในกรณีของ ฮารด์ ดสิ ก์ 5.25 นว้ิ ที่กนิ ไฟมากกว่า จะตอ้ งมกี ารต่อไฟเลย้ี งเพิ่มเติมจากอแดปเตอร์ภายนอกดว้ ย 1.2 ฟลอปปี้ดิสก์ (Floppy Disks) ฟลอปปี้ดิสก์หรือเรียกอีกช่ือหนึ่งว่า ดิสเก็ต (Diskette) เปน็ ส่อื บันทกึ ข้อมูลแบบเก่าที่ใช้วิธีจดั เก็บขอ้ มูลลงบนแผ่นจานแม่เหล็กแบบออ่ น โดยมกี ารจัดแบ่งพื้นท่ี ออกเปน็ Track และ Sector คลา้ ยกบั ฮารด์ ดิสก์ ต่างกนั เพยี งแผน่ จานแมเ่ หล็กทใ่ี ช้จะเปน็ แผ่นพลาสติก อ่อนบาง ๆ เพราะฉะน้ันจงึ ต้องมีกรอบพลาสตกิ แข็งปกปอ้ งไวอ้ ีกชน้ั หน่งึ ปัจจุบนั ฟลอปปด้ี สิ กเ์ ลก็ ใช้งาน กันมานานแล้ว เนื่องจากอ่านเขียนข้อมูลได้ช้า และมีความจุน้อยมากเพียงแค่ 1.44 MB เท่าน้ันซ่ึงไม่ เพียงพอที่จะใช้งานในปัจจุบันอาจจะยังเห็นช่องดิสก์ไดร์ฟสาหรับใส่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ (Floppy Disk Drive) อยู่ในเคร่ืองซีพีรุ่นเก่า ๆ รวมทั้งกลายเป็นไอคอนหรือสัญลักษณ์ของคาส่ังบันทึกข้อมูล (Save) ในโปรแกรมทั่ว ๆ ไปดว้ ย 2. สอื่ เก็บข้อมูลด้วยหน่วยความจาแบบแฟลช (Flash Memory) อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟลช (Flash Memory Drive) เป็นส่ือบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้กัน แพร่หลาย ข้ึนในระยะที่ผ่านมา เพราะมีความจุข้อมูลสูง ความเร็วสูง และมีราคาลดลงกว่าแต่ก่อน พอสมควร นุชากร คงยะฤทธ์ิ

58 | P a g e บทท่ี 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 2.1 Flash Drive เป็นอุปกรณ์ท่ีมีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น Flash Drive, Thumb Drive หรือ Handy Drives มักจะทามาให้เสียบเข้ากับพอร์ต USB ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง ทาหน้าที่เป็น ท้ังส่ือบันทึก และตัวไดร์ฟอ่านเขียนข้อมูลไปในตัว ซ่ึงบางชนิดก็อาจแถมความสามารถในการเล่นเพลง MP3 ไปด้วย บางรนุ่ ก็มีทัง้ พอร์ตแบบ USB เดิม และแบบใหม่คือ USB-C 2.2 Memory Card เป็นอปุ กรณ์หนว่ ยความจาแบบแฟลชท่ีอยู่ในรูปแบบของแผน่ การด์ เล็ก ๆ คือ มีแต่ตัวสื่อ ต้องไปเสียบกับตัวไดร์ฟหรือเครื่องอ่านข้อมูลท่ีเรียกว่า Card Reader อีกที่หนึ่ง นิยมใช้ ในอปุ กรณด์ ิจิทัลแบบพกพา เชน่ กล้องดจิ ิทลั หรอื สมาร์ทโฟน 3. ส่ือเก็บข้อมลู แบบใชแ้ สง (Optical Storage) เป็นส่ือเก็บข้อมูลที่ใช้หลักการทางานของแสงเข้ามาช่วย โครงสร้างการเก็บข้อมูลจะคล้ายกับแผ่น จานแม่เหล็กแต่กต่างกันที่การแบ่งวงของแทรก็ จะเป็นลักษณะคล้ายรูปก้นหอยโดยเร่มิ เก็บบันทึกข้อมูล จากส่วนด้านในออกมาด้านนอก และแบ่งส่วนย่อยของแทร็กออกเป็นเซคเตอร์เช่นเดียวกับแผ่นจาน แม่เหล็ก การอ่านข้อมูลจะอาศัยแสงเลเซอร์ยิงไปตกกระทบพ้ืนผิวของแผ่นจานซึ่งจะมีอยู่ 2 ลักษณะ ดว้ ยกันคือ พิต (Pit) สว่ นท่เี ปน็ หลุมไมส่ ะท้อนแสง และ แลนด์ (Land) หรอื ส่วนที่เป็นผิวเรียบซงึ่ สะท้อน แสง เม่ือหัวอ่านยิ่งแสงเลเซอร์ไปตกบนส่วนที่เป็นพิตจึงไม่สะท้อน แต่ถ้าแสงตกบนส่วนของแลนด์ก็จะ สามารถสะท้อนแสงได้ ทาใหไ้ ดค้ ่าเปน็ 0 หรือ 1 ออกมาตวั อย่างของสือ่ แบบนี้ เช่น แผ่น CD และ DVD เปน็ ตน้ 3.1 CD (Compact Disc) มีความจุข้อมูลต่อแผ่นประมาณ 650-800 MB ตอนแรกพบได้ใน แผน่ ซีดีเพลงทผี่ ลติ จากโรงงาน ปจั จบุ ันเรม่ิ จะไมใ่ ชก้ ันแลว้ ส่วนแผ่นทใี่ ช้เกบ็ ขอ้ มูลแบง่ ประเภทได้ ดังนี้ CD-ROM (Compact Disc Head Only Memory) เป็นแผ่น CD ท่ีอ่านได้อย่างเดียว โดยมาก จะเปน็ แผ่นท่ีปมั้ มาจากโรงงาน รวมถงึ แผน่ CD เพลงดว้ ย CD-R (Compact Disc Recordable) เป็นแผ่นท่ีสามารถใช้ไดร์ฟเขียนแผ่น (CD Writer) บนั ทกึ ข้อมูลได้ แตแ่ กไ้ ขไม่ได้ เพราะเนือ้ ท่บี นแผ่นแต่ละจดุ จะเขยี นข้อมูลได้ครั้งเดียว CD-RW (Compact Disc Rewritable) แผ่นชนิดน้ีจะบันทึกข้อมูลได้หลายครั้ง (โดยใช้วิธีลบ ข้อมูลท้ังแผ่นก่อนแล้วเขยี นใหม่) 3.2 DVD (Digital Versatile Disc หรือ Digital Video Disc) เป็นแผ่นที่เก็บข้อมูลได้มากกว่า CD หลายเท่า เพราะขนาดร่อง และจุดที่บันทึกละเอียดกว่าใช้ลาแสงเลเซอร์ที่ละเอียดกว่าแผ่น CD พบได้ 2 แบบคือ DVD-5 (ความจุ 4. 7 GB) และ DVD-9 (ความจุ 8. 5 GB) แผ่น DVD มีมาตรฐานท่ี ค่ อ น ข้ า ง แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ม่ เ ห มื อ น กั บ แ ผ่ น CD ไ ด้ แ ก่ ม า ต ร ฐ า น ข อ ง อ ง ค์ ก ร DVD Forum (www.dvdforum.org) 3.3 Blu-ray Disc (BD) ตัวแผ่นมีขนาดเท่ากับแผ่น CD / DVD แต่มีความจุสูงขึ้นไปถึงระดับ หลายสิบกิกะไบต์ เพื่อรองรับภาพยนตร์ความละเอียดสูงระดับ Full FHD แผ่นท่ีใช้มีความจุข้อมูล หลายแบบ เช่น 25 หรือ 50 GB โดยแบ่งเป็น BD-R (Recordable) บันทึกได้ครั้งเดียว และ BD-RE (Recordable Erasable) บันทึกแล้วลบเพ่ือบันทึกใหม่ได้ ไดร์ฟที่สามารถอ่าน / เขียนแผ่น Blue-ray จะสามารถอ่าน / เขียนแผ่น CD และ DVD ได้ด้วยซ่ึงยังพบได้บ้างในเคร่ืองเดสก์ท็อปแต่เร่ิมหายากใน เครอื่ งโนต้ บกุ๊ ใหม่ ๆ แล้ว 3.4 ส่ือเก็บข้อมูลแบบเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape Device) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้ ความเป็นแม่เหล็ก แทนศูนย์กับหนึ่งเช่นเดียวกับจานแม่เหล็กแต่มีความจุสูงท่ีสุด เพราะใช้เทปท่ีเป็น นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 59 ม้วนพันซ้อนกัน แต่ละม้วนจึงมีพ้ืนท่ีเก็บข้อมูลมากกว่าจานแม่เหล็ก ทาให้เทปเป็นสื่อบันทึกข้อมูลท่ีมี ราคาต่อความจุถูกท่ีสุด ปัจจุบันมีใช้เฉพาะหน่วยงานท่ีเก็บข้อมูลปริมาณมาก และไม่ค่อยเรียกใช้บ่อย เช่น การทาแบคอัพ ลักษณะการเรียกใช้ข้อมูลจะต้องเป็นลาดับต่อเน่ืองกันไป (Sequential access) จึงไม่ค่อยสะดวกนักถ้าต้องการอ่านข้อมูลเฉพาะบางจุด เทคโนโลยีของเทปแม่เหล็กมักแตกต่างกันไป ตามผู้ผลิตแต่ละราย เช่น Sony, IBM และอื่น ๆ ล่าสุด (ปี 2017) มีรายงานว่าสามารถทาเทปม้วนเดียว ให้มีความจุสูงถึง 330 Terabyte (TB) หรือเทียบเท่าฮาร์ดดิสก์ขนาดใหญ่ (ท่ีใส่เครื่องเดสก์ท็อป) คือ ขนาด 5. 25 นิว้ กวา่ 33 ตวั ได้แล้ว 4. SSD เทคโนโลยีฮารด์ ดิสกค์ วามเร็วสูง SSD (Solid State Disk) เป็นเทคโนโลยีที่นาเอาหน่วยความจาแบบแฟลช (Flash Memory) ที่มีคุณสมบัติในการจัดเก็บข้อมูลไว้ได้โดยไม่สูญหาย แม้ในขณะที่ไม่มีไฟหล่อเล้ียง (Non-Volatile) มาประยุกต์ใช้ทาเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลในลักษณะเดียวกันกับฮาร์ดดิสก์ หรืออาจกล่าวได้ว่าอุปกรณ์ SSD กับ USB Flash Drive ทัง้ ค่ตู ่างก็เปน็ อปุ กรณ์ Non-Volatile เหมอื นกนั ตา่ งกนั ตรงท่ี SSD ทางาน เร็วกว่า เพราะมีวงจรเสริมในการพักข้อมูล และกระจายการเขียนไปหลาย ๆ ชุด โดยความจุของ SSD มีหลายขนาด เชน่ 128 GB, 256 GB หรอื 512 GB ไปจนถึง 1 TB หรือ 2 TB ปจั จุบัน SSD ถูกนามาใช้ แทนฮาร์ดดิสก์เพ่ิมมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก เพราะ SSD ปราศจากกลไกที่ต้องเคล่ือนไหว จึงทนทานต่อการกระทบกระแทกได้ดี ไม่มีเสียงดัง ขนาดบางเบาท่ี สาคัญคอื ประหยัดไฟ และเข้าถงึ ขอ้ มูลไดเ้ ร็วกวา่ ฮาร์ดดิสก์มาก จึงเปดิ เคร่อื งได้อยา่ งรวดเรว็ ภายในไม่กี่ วินาทีซ่ึงอตั ราความเร็วในการอ่านขอ้ มลู นยี้ ังมีแนวโน้มจะเพ่มิ สูงขนึ้ เรื่อย ๆ สวนทางกับราคาท่ถี กู ลง 4.1.4 อปุ กรณแ์ สดงผลลัพธ์ (Output Device) เป็นอปุ กรณ์สาหรับแสดงผลลัพธท์ ีไ่ ด้จากการประมวลของคอมพิวเตอร์ ซง่ึ จะมไี ด้ท้งั ข้อมูลตวั อักษร ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว หรือเสียง ซ่ึงมีหลายประเภท อาทิเช่น จอภาพ (Display หรือ Monitor) เครอื่ งพิมพ์ (Printer) ลาโพงหรือหูฟัง (Speaker / Headphone) รปู ท่ี 4.6 อปุ กรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device) ทีม่ า: (7 Examples of Output Devices, 2018) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

60 | P a g e บทท่ี 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ 1. จอภาพ (Display หรอื Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลในรปู แบบภาพกราฟิกที่เห็นได้เฉพาะตอนเปิดเครื่อง หรอื เรียกวา่ Soft Copy มีหลายเทคโนโลยี เชน่ 1.1 จอภาพแบบ LCD หรือ LED อาศัยการทางานของโมเลกุลชนิดพิเศษท่ีเรียกว่า “ผลึก เหลว” หรือ Liquid Crystal (LCD: Liquid Crystal Display) ซ่ึงเมื่อมีสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังแต่ละจุด บนจอ โมเลกุลของผลึกเหลวตรงจุดนั้นจะบิดตัวเป็นองศาท่ีแตกต่างกันเพ่ือปล่อยให้แสงสีแดง เขียว หรือนา้ เงิน ท่ีผสมมาในแสงสีขาวจากดา้ นหลังจอใหผ้ ่านได้มากน้อยต่างกนั จึงเหน็ แต่ละจุดเป็นสีต่างกัน ไป ปัจจุบันนิยมทาตวั ส่องแสงสขี าวจากด้านหลังด้วยหลอดแบบ LED จงึ เรียกว่าจอ LED ตามไปดว้ ย 1.2 จอภาพแบบ OLED เป็นจอภาพแบบแบนคล้ายกับจอ LCD / LED ต่างกันตรงที่ไม่ใช้แสง สีขาวส่องจากด้านหลังแล้วเอาผลึกแอลซีดีไปบังแสงแต่ละสี แต่ใช้วิธีทาให้เกิดแสงแต่ละจุดบนจอจาก หลอดไฟ LED ขนาดจิ๋วที่จะเปล่งแสงออกมาเป็นแต่ละสีไปเลย โดยไม่มีอะไรบัง ส่วนจุดไหนต้องการ สีดาก็ตัดไฟเฉพาะจุดน้ันให้มืดสนิท จอแบบนี้จึงให้สีสันที่สดใสมากขณะเดียวกันสีดาก็ดาสนิทมากด้วย แต่เดิมราคาจะสูงมากแต่ตอนนีเ้ ร่ิมถูกลง จึงเริ่มมีใช้ท้ังในสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตรุน่ แพง รวมถึงในทีวี จอใหญ่เช่น 55-75 นวิ้ บางร่นุ ดว้ ย 1.3 โปรเจคเตอร์ (Projector) นิยมใช้สาหรับการจัดประชุม สัมมนา หรือนาเสนอผลงาน (Presentation) ท่ีต้องการให้ผู้เข้าชมจานวนมากได้เห็นภาพเดียวกันพร้อม ๆ กันข้อจากัด คือความ ละเอยี ด และความสว่างยงั ส้จู อ LCD / LED ไม่ได้ หรือถ้าเปน็ รนุ่ สวา่ งมากความละเอียดสูง ราคาก็จะสูง มากด้วย 2. เครื่องพมิ พ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลออกมาด้วยการพิมพ์ลงบนกระดาษ จึงเก็บได้ถาวรไม่ลบเลือน หรือเรียกว่า Hard Copy วัสดุท่ีใช้พิมพ์ได้ เช่น กระดาษถ่ายเอกสารธรรมดา กระดาษโฟโต้สาหรับพิมพ์รูปภาพ แผ่นใสสาหรับทาสไลด์ หรือวัสดอุ ่ืน ๆ อย่างเชน่ เส้อื แก้ว หมวก เปน็ ตน้ มหี ลายแบบ ดังนี้ 2.1 เครือ่ งพมิ พแ์ บบดอทเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) หัวเข็มพิมพ์แต่ละจุดลงไปบนผ้าหมึก (Ribbon) เพื่อให้หมึกไปติดที่กระดาษโดยตรง (เรียกอีกอย่างว่าเคร่ืองพิมพ์แบบกระทบ หรือ Impact Printer) เหมาะกับการพิมพ์เอกสารท่ีต้องการสาเนา (Copy) หลาย ๆ ชุดพร้อม ๆ กัน เพ่ือเก็บไว้เป็น หลักฐาน แต่มีข้อจากัดในเรื่องการพิมพ์งานท่ีเป็นสีได้ไม่ดี ความคมชัด และความเร็วก็ยังต่ากว่า เครอ่ื งพมิ พ์แบบอ่ืน ๆ รปู ท่ี 4.7 เครอ่ื งพิมพแ์ บบดอทเมตรกิ ซ์ (Dot Matrix Printer) ท่ีมา: (EPSON LQ-2190 Printer Dot Matrix, 2560) นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 61 2.2 เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต (Inkjet Printer) ใช้วิธีพ่นน้าหมึกสีต่าง ๆ ลงไปบนกระดาษตรง จุดที่ต้องการสามารถเลือกใช้ได้ทั้งหมึกสี และขาวดา มีหลายราคาให้เลือกใช้ตามคุณภาพของงานที่ ต้องการ เช่น งานพิมพ์เอกสารทั่วไป ภาพถ่าย รวมถึงการพิมพ์ลงบนวัสดุโดยตรง (เช่นเส้ือ แก้วกาแฟ) เปน็ ตน้ ขอ้ เสียคือ หากใชไ้ ม่บอ่ ยหัวพมิ พ์อาจอุดตันไดง้ ่ายจากน้าหมึกทต่ี กค้าง 2.3 เคร่ืองพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) ใช้แสงเลเซอร์ฉายไปหลอดสร้างภาพ (Drum) ให้เกิดประจุไฟฟ้าเป็นลวดลายตามภาพท่ีจะพิมพ์ แล้วฉีดผงหมึกเข้าไปตรงที่มีประจุอยู่ (หลักการ เหมือนเคร่ืองถ่ายเอกสาร) จากนั้นให้กระดาษวิ่งมารับผงหมึกสีต่าง ๆ แล้วไปผ่านความร้อนเพ่ือใหภ้ าพ ตดิ แน่น จงึ ไดภ้ าพท่ีมีความละเอียดสูงสีสันสดใส และเร็วกวา่ เคร่อื งพมิ พแ์ บบอิงค์เจต็ แต่เดมิ เครื่องพิมพ์ เลเซอร์นี้มีราคาค่อนข้างแพงโดยเฉพาะการพิมพ์สี เพราะกลไกการพิมพ์ต้องแยกสีเป็นหลายชุดเพื่อนา ภาพแต่ละสีมาพิมพ์ให้ตรงกัน แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาระบบการพิมพ์ให้ง่ายข้ึนราคาจึงลดลงมาก เคร่อื งพมิ พ์แบบสปี ัจจบุ นั ราคาไม่ถงึ ห้าพันบาทเท่านน้ั 2.4 เครื่องพิมพ์ 3 มิติ (3D Printer) เป็นเคร่ืองพิมพ์ท่ีสามารถนาไฟล์โมเดลภาพแบบ 3 มิติ มาผลิตเป็นชิ้นงานที่จับต้องได้ โดยใช้วัสดุอย่างเช่น เส้นใยพลาสติกสีต่าง ๆ มาผ่านกระบวนการฉีดพ่น ของหัวฉีดท่ีละช้ัน (Layer) จนกระท่ังได้เป็นโมเดลช้ินงานที่จับต้องได้จริง สามารถใช้ผลิตช้ินงานได้ หลากหลายรูปแบบ เช่น โมเดลจาลองรูปร่างต่าง ๆ พวงกุญแจ รองเท้า เก้าอี้ จานชาม ของใช้ทั่วไป รวมถึงสามารถพิมพ์ชิ้นส่วนจากเคร่ืองพิมพ์ 3 มิติ มาประกอบเป็นบ้าน หรือรถยนต์ได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์ในการผลิตอวัยวะเทียมได้อีกด้วย เช่น กระดูก ไต หวั ใจเทียม เป็นตน้ รปู ที่ 4.8 เครอื่ งพิมพ์ 3 มติ ิ (3D Printer) ท่ีมา: (บริษัท ไอเดีย เมคเกอร์ เทคโนโลยี จากดั , 2560) 3. ลาโพงหรือหฟู ัง (Speaker / Headphone) 3.1 ลาโพง (Speaker) เช่ือมต่อกับคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครื่องเล่นเสียงต่าง ๆ ผ่านทาง สายทองแดง หรือใช้ระบบไรส้ ายแบบ Bluetooth นิยมใช้แสดงผลในรูปของเสยี งเพลงร้องรวมถึงเสียงที่ ได้จากไมโครโฟน เป็นต้น ลาโพงมีราคาต้ังแต่หลกั ร้อยไปจนถึงหลกั พันบาท ขึ้นอยู่กับคุณภาพของเสยี ง หรือรูปแบบของลาโพง เช่น ลาโพงแบบพกพา ขนาดกะทัดรัด และมีรูปลักษณ์สวยงาม ก็จะมีราคาต่าง กบั ลาโพงแบบมาตรฐานทั่วไป นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

62 | P a g e บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ 3.2 หูฟัง (Headphone) เป็นอุปกรณ์สาหรับการฟังเสียงแบบส่วนตัวเพ่ือความบันเทิง บางแบบก็ใช้คุยโทรศัพท์ได้ด้วยเพราะมีท้ังหูฟัง และไมโครโฟนอยู่ ในตัวมีให้เลือกหลายชนิด ท้ังแบบมี สายเชื่อมต่อและแบบไร้สายผ่านบลูทูธ ช่วงราคาเร่ิมต้ังแต่ไม่ก่ีร้อยบาทไปจนถึงหลายพันหรือเป็นหม่ืน บาท ขึน้ อยกู่ บั คุณภาพ และยห่ี ้อของบรษิ ทั ผผู้ ลิต 4.2 ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคอื ซอฟตแ์ วร์ระบบ และซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ 4.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ผู้ใช้ท่ัวไปมักใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในการทางานเฉพาะบางอย่างให้สาเร็จ เช่น ใช้โปรแกรม ประมวลผลคาในการสร้างเอกสาร จดหมาย และรายงาน ขณะเดียวกันผู้ใช้มักไม่ทราบว่าตนเองทางาน อยู่กับซอฟต์แวร์ระบบด้วย ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) จะทางานร่วมกับผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ และฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพ่ือควบคุมรายละเอียดทางด้านเทคนิคเป็นส่วนใหญ่ เช่น ทาการ จัดสรรเนื้อที่ในหน่วยความจาเพื่อติดตั้งโปรแกรมประมวลผลคา แปลคาส่ังที่ได้รับจากผู้ใช้เป็น ภาษาเคร่อื ง เพ่ือให้คอมพวิ เตอร์ประมวลผลได้ จดั สรรตาแหน่งที่จะบันทึกไฟล์ข้อมลู ต่าง ๆ และควบคุม การแสดงผลลัพธ์ ออกทางเครอื่ งพมิ พ์ ซอฟตแ์ วร์ระบบมีเพยี งระบบเดียว แตป่ ระกอบดว้ ยชุดของโปรแกรมท่ีควบคุมรายละเอยี ดทางด้าน เทคนิคมากมายโดยรับคาส่ังจากผู้ใช้ไม่มากนัก หรือไม่ต้องรับคาสั่งใด ๆ จากผู้ใช้เลย ซอฟต์แวร์ระบบ ประกอบดว้ ยโปรแกรม 3 ชนดิ ดังนี้ 1. ระบบปฏบิ ัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดของโปรแกรมที่ใช้ควบคุมรายละเอียดทางเทคนิคมากมายที่เกี่ยวข้องกับ การใชง้ านคอมพวิ เตอร์ และจดั เป็นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ที่มีความสาคัญมากท่ีสุด คอมพิวเตอร์ของคุณ จะไรป้ ระโยชน์หากระบบปฏบิ ตั งิ านไมท่ างาน 1.1 หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ทุกครั้งต้องติดตั้งระบบปฏิบัติการก่อนจึงจะ สามารถทางานได้ หน้าที่หลักของระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ จัดการกับ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ จัดเตรยี มส่วนตอ่ ประสารกับผ้ใู ช้ และดาเนินงานกับโปรแกรมประยุกต์ จัดการกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการจะเข้าไปจัดการทรัพยากรคอมพิวเตอร์ (Resource) ท้ังหมด ได้แก่ หน่วยความจา หน่วยประมวลผล อุปกรณ์ความจาสารอง รวมถึงอุปกรณ์ รับเข้า และอุปกรณ์ส่งออก เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และจอภาพ เป็นต้น โดยจะดูแล ประสิทธิภาพการทางานของระบบ จัดลาดับการทางานจัดเตรียมระบบความปลอดภัย และเร่ิมต้นการ ทางานของคอมพวิ เตอร์ จัดเตรียมส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ ผู้ใช้ติดต่อโปรแกรมประยกุ ต์ และฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอรผ์ า่ น ทางส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (User interface) ระบบปฏิบัติการรุ่นเก่ามีส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ผ่าน ตัวอักษร (Character Based Interface) เช่น ผู้ใช้ติดต่อกับระบบปฏิบัติการโดยพิมพ์คาส่ัง “copy C:report.txt to D:” เปน็ การทาสาเนาไฟลท์ ่ีชื่อ report.txt จากไดรฟ์ C ไปยังไดรฟ์ D สาหรบั ระบบปฏิบัติการรุ่นใหมส่ ว่ นใหญจ่ ะมีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface: GUI) เชน่ ไอคอน และวนิ โดวส์ นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 63 ดาเนินงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบปฏิบัติการจะทาหน้าท่ีโหลดโปรแกรมเข้าสู่ หนว่ ยความจา เช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์เวริ ์ด และโปรแกรมไมโครซอฟตเ์ อกซ์เซล และดาเนนิ งานกับ โปรแกรมนน้ั ระบบปฏิบัตกิ ารสว่ นใหญ่จะสนับสนุนการทางานแบบมัลติทาสก้งิ (multitasking) ซึ่งเป็น ความสามารถในการสลับการทางานระหวา่ งโปรแกรมประยุกต์ที่อยู่ในหนว่ ยความจา เชน่ ขณะท่ใี ช้งาน โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด และโปรแกรมไมโครซอฟต์เอกซ์เซลอยู่น้ัน คุณสามารถสลับการทางาน ระหว่างสองโปรแกรมได้อย่างง่ายดาย โดยโปรแกรมท่ีกาลังใช้งานอยู่ ในขณะน้ันจะดาเนินงานใน ลักษณะเบื้องหน้า ส่วนโปรแกรมอื่น ๆ ที่เปิดค้างไว้ แต่ยังไม่ได้ใช้งานในขณะน้ันจะดาเนินงานใน ลักษณะเบื้องหลัง (Background) 1.2 ลักษณะของระบบปฏิบัติการการเร่ิมต้นการทางานของระบบปฏิบัติการ เรียกว่า การบูท ระบบ (booting) มี 2 วิธี ได้แก่ วอร์มบูท และโคลด์บูท วอร์มบูท (warm boot) เป็นการทาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ท่ีกาลังใช้งานอยู่เริ่มต้นการทางานใหม่อีกคร้ัง โดยไม่มีการกดปุ่มสวิตซ์ ปิด-เปิด ซึ่งทาได้ หลายวิธี เช่น การรีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์โดยการกดปุ่ม Ctrl, Alt และ Del บนคีย์บอร์ดพร้อมกัน ส่วนโคลด์ บูท (cold boot) เป็นการเริ่มต้นการทางานของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ใหม่หลังจากปิดเครือ่ งไป แล้ว 1.3 ประเภทของระบบปฏิบัติการ ประเภทของระบบปฎิบัติการระบบปฏิบัติการสามารถแบ่ง ได้ 3 ประเภท ได้แก่ ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ระบบปฏิบัติการเครือข่าย และระบบปฏิบัติการ แบบสแตนอโลน ระบบปฏบิ ัติการแบบฝงั (Embedded Operating System) เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารท่ีมีการติดตั้ง ถาวรหรือฝังตัวอยู่ในหน่วยความจารอม (Read Only Memory: ROM) ของอุปกรณ์ เช่น สมาร์ทโฟน กล่องรับสัญญาณเคเบิลทีวี กล่องรับสัญญาณทีวี ผ่านดาวเทียม ระบบวิดีโอเกม และอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกสข์ นาดเลก็ อ่ืน ๆ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System: NOS) เป็นระบบปฏิบัติการท่ีติด ตั้งอยู่ในฮาร์ดดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายหรือเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ (server) เพ่ือควบคุมการติดต่อ ส่ือสาร และประสานการทางานของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ลูกข่าย หรือเครื่องไคลแอนต์ (client) ท้ังหมดที่ มีการเช่ือมต่อกัน เป็นระบบเครือข่าย รวมถึงการทางานกับเครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ต่างชนิดกันด้วย เช่น ภายในวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมีเครือข่าย ขนาดเล็ก ๆ หลายวงเช่ือมต่อเข้า เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ และซับซ้อน ระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่นิยมใช้ ได้แก่ ลินุกซ์ ยนู ิกซ์ และวนิ โดวสเ์ ซริ ์ฟเวอร์ (Windows Server) ระบบปฏิบตั ิการแบบสแตนอโลน (Stand-alone Operating System) และมผี ใู้ ชง้ านมากท่ีสุด ติดตง้ั บน ฮาร์ดดิสกข์ องเดสกท์ อ็ ปคอมพวิ เตอร์ หรอื โนต้ บ๊กุ คอมพวิ เตอร์ หากนาเดสก์ทอ็ ปคอมพิวเตอร์ หรือโน้ตบุ๊ก คอมพิวเตอร์ไปเช่ือมต่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการน้ีจะทางาน ร่วมกับระบบปฏิบัติการเครือข่ายเพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกันได้ ในกรณีเช่นน้ีจะ เรยี กระบบปฏบิ ัติการนีว้ ่า ระบบปฏิบัตกิ ารแบบไคลแอนต์ (client operating system) 2. ระบบปฏิบตั กิ ารบนอุปกรณเ์ คลือ่ นที่ ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์เคลื่อนท่ี (Mobile Operating System) รู้จักกันดีในชื่อของ โมบายโอเอส (Mobile OS) เป็นชนิดของระบบปฏิบัติการ แบบฝัง ถูกติดต้ังในคอมพิวเตอร์มือถือ สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต ซ่ึงอุปกรณ์เหล่านี้ก็ต้องการระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ทั่วไป นุชากร คงยะฤทธ์ิ

64 | P a g e บทท่ี 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ แต่เป็นระบบปฏิบัติการท่ีมีความซับซ้อนน้อยกว่า และถูกพัฒนาขึ้นเป็นพิเศษสาหรับการส่ือสารไร้สาย ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์เคล่ือนที่มีจานวนมาก แต่ที่รู้จักกันดีท่ีสุดคือ ไอโอเอส แอนดรอยด์ และ วนิ โดวส์โฟน 2.1 แอนดรอยด์ (Android) เปิดตัวในปี ค.ศ. 2007 เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพ้ืนฐานอยู่บน ลินุกซ์ เริ่มพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์ จากนั้นถูกซื้อโดยบริษัทกูเกิ้ล เพ่ือนาไปพัฒนาต่อเป็น ระบบปฏิบัติการแบบโอเพ่นซอร์ส ท่ีเปิดให้นักพัฒนาสามารถแก้ไข ซอร์สโค้ดหรือนาไปพัฒนาต่อได้ ทุกวนั น้ีแอนดรอยด์ถูกนามาใชอ้ ย่างแพร่หลายกบั สมาร์ทโฟน และแทบ็ เล็ต 2.2 ไอโอเอส (iOS) รู้จักกันดีในช่ือของไอโฟนโอเอส (iPhone OS) ถูกพัฒนาข้ึนในปี ค.ศ. 2007 โดยบริษัทแอปเป้ิล เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพ้ืนฐานอยู่บนแมคโอเอส ไอโอเอสเป็น ระบบปฏบิ ัติการทใี่ ช้กับไอโฟน (iPhone) และไอแพด (iPad) 2.3 วินโดวส์โฟน 8 (Windows Phone 8) เปิดตัวในปี ค.ศ. 2012 พัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟท์ เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้กับอุปกรณ์เคล่ือนที่หลากหลายชนดิ รวมทั้งสมาร์ทโฟน และเป็น ระบบ ปฏบิ ตั กิ ารทส่ี ามารถรนั โปรแกรมตา่ ง ๆ ท่ถี กู ออกแบบมาสาหรับใชง้ านบนคอมพวิ เตอรเ์ ดสก์ท็อป และแลป็ ท็อปได้อกี ดว้ ย 3. ระบบปฏบิ ัติการบนเครอ่ื งเดสก์ทอ็ ป คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกเครื่องมีระบบ ปฏิบัติการ ไว้สาหรับควบคุมการ ท างาน ของเครื่ อง ระบบปฏิบัติการบนเครื่องเดสก์ท็อปท่ีนิยมใช้อย่างแพร่หลาย ได้แก่ วินโดวส์ แมคโอเอส ยูนิกซ์ และลินกุ ซ์ 3.1 วินโดวส์/ไมโครซอฟท์วินโดวส์ (Windows) พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ นิยมใช้กันมาก สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีส่วนแบ่งการตลาดขนาดใหญ่เน่ืองจากโปรแกรมประยุกต์ส่วน ใหญ่มักถูกพัฒนาให้ทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของระบบปฏิบัติการวนิ โดวส์มากกว่าระบบปฏิบัตกิ าร ตวั อนื่ ๆ วินโดวส์ถกู ออกแบบมาหลายเวอร์ชันเพือ่ ใหส้ ามารถทางานกบั ไมโครโพรเซสเซอรท์ ่แี ตกตา่ งกัน 3.2 แมคโอเอส (Mac OS) เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ถูก พัฒนาข้ึน ในปี ค.ศ. 1984 โดยบริษัทแอปเป้ิล เป็นระบบปฏิบัติการตัวแรกท่ีมีส่วนต่อประสานกราฟิก กับผู้ใช้ ทาให้ง่ายต่อการใช้งาน ระบบปฏิบัติการแมคโอเอสไม่ได้รับความนิยมเท่าระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ เน่ืองจาก มีจานวนโปรแกรมประยุกต์น้อยกว่า อย่างไรก็ตามเม่ือยอดขายเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แอปเป้ิลเพิ่มมากขึ้น การใช้งานแมคโอเอสก็เพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว และได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง วา่ เปน็ หนงึ่ ในนวตั กรรม ใหม่ลา่ สดุ ของระบบปฏิบัตกิ าร 3.3 ยนู กิ ซ์ และลินุกซ์ ยนู ิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏบิ ตั ิการที่ถูกออกแบบในปลายปี ค.ศ. 1960 ในระยะแรกถูกออกแบบ มาให้ใช้งานบนเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ในสภาพแวดล้อมของเครือข่ายแล้ว ค่อย ๆ พัฒนาเป็นเวอร์ชันต่าง ๆ หลายเวอร์ชัน ปัจจุบันถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายบนเคร่ืองเว็บ เซิร์ฟเวอร์ เคร่ืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีประสิทธิภาพสูง ลินุกซ์ (Linux) เป็นระบบปฏิบัติการท่ีพัฒนามาจากยูนิกซ์ โดย นายไลนัส ทอร์วัลด์ (Linus Torvalds) ในปี ค.ศ. 1991 ขณะที่ยังเป็น นักศึกษาของมหาวิทยาลัยเฮซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เป็นระบบปฏิบัติการ เครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง พัฒนาข้ึนมาให้คล้ายคลึงระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ สามารถทางานได้บน เครื่องคอมพิวเตอร์แบบเดสทอ็ ป เพราะใช้ทรัพยากรน้อย และมีเสถียรภาพ สามารถทางานได้พรอ้ มกนั หลาย ๆ คน (Multiusers) และผู้ใช้แต่ละคนสามารถทางานได้หลาย ๆ งานพร้อมกัน (Multitasking) นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 65 ผู้พัฒนายินยอม ให้ผู้สนใจทั่วไปสามารถปรับปรุงและพัฒนาซอร์สโค้ดของโปรแกรมได้ ลินุกซ์จึงจัดอยู่ ในกลุ่มของฟรีแวร์ แบบโอเพ่นซอร์สท่ีมีชื่อเสียง ที่ทุกคนสามารถนาซอร์สโค้ดของลินุกซ์ไปแก้ไข ดัดแปลง แต่งเติม และแจกจ่ายได้อย่างเสรี และผู้ท่ีนาไปพัฒนาต่อจะต้องเปิดเผย\"ซอร์สโค้ดต่อไป เพอ่ื ให้ผอู้ ื่นนาไปใช้งานได้ต่อไป อีกดว้ ย ลนิ ุกซ์เปน็ ระบบปฏิบัติการท่ีมีประสิทธภิ าพ และเปน็ ท่นี ิยม จึง เป็นทางเลือกท่ีน่าสนใจสาหรับผู้ ท่ีไม่ใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ลินุกซ์จึงมักถูกนาไปพัฒนาต่อและ นาไปใชง้ านกันอย่างกวา้ งขวาง เช่น บริษทั แคโนนิคอลไดน้ าลนิ กุ ซม์ าพัฒนาต่อเป็น รูปท่ี 4.9 เวอร์ชวลไลเซชน่ั (virtualization) ทีม่ า: (Virtualization (เวอรช์ วลไลเซชั่น) คืออะไร เทคโนโลยจี าลองการทางานของคอมพมิ เตอร์, 2561) 3.4 เวอร์ชวลไลเซช่ัน ดังที่ทราบกันดีแล้วว่า โปรแกรมประยุกต์ส่วนใหญ่มักถูกออกแบบมาให้ ใชง้ านไดก้ ับแพลตฟอร์มเฉพาะ ถา้ คุณตอ้ งการเปิดใช้งานโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมบนเครื่องเดียวกัน แต่โปรแกรมเหล่าน้ันถูกออกแบบมาให้ใช้งานต่างแพลตฟอร์มกัน คงไม่ใช่วิธีการที่ดีแน่หากต้องติดต้ัง ระบบปฏิบัติการท่ีแตกต่างกันบนคอมพิวเตอร์หลายเคร่ือง สามารถแก้ปัญหาดังกล่าว ได้โดยใช้ เวอรช์ วลไลเซช่ัน (Virtualization) ซง่ึ ทาให้เครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ พยี งเคร่ืองเดยี วสามารถทางานได้เสมือน กับว่ามีคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เคร่ือง โดยมีการแยกการทางานของระบบต่าง ๆ ได้อย่างเป็นอิสระต่อกัน เรียกว่า เครื่องเสมือน (Virtual machine) ซ่ึงเครื่องเสมือนแต่ละตัวจะปรากฏให้ผู้ใช้เห็นเสมือนเป็น คอมพิวเตอร์ที่เป็นอิสระต่อกัน และมีระบบปฏิบัติการเป็นของตนเอง ระบบปฏิบัติการท่ีถูกติดตั้งบน เครื่องคอมพิวเตอร์จริง เรียกว่า Host OS ส่วนระบบปฏิบัติการที่ถูกติดต้ังบนเครื่องเสมือน เรียกว่า Guest OS ดังน้ันคุณสามารถติดต้ังระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันบนเคร่ืองเสมือนแต่ละเครื่องได้ และ สามารถสลับการทางานระหวา่ งเครื่องเสมือน รวมถึงติดตัง้ โปรแกรมท่ีใชบ้ นแพลตฟอรม์ ท่ีแตกต่างกันได้ แทนที่จะติดตั้งแต่ละระบบปฏิบัติการบนเครื่อง คอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ทาให้ลดต้นทุนในการซ้ือ เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างเครื่องเสมือน เช่น VMWare, Virtual Box, Xen และ Microsoft Hyper-V ท่ีมาพรอ้ มกับวินโดวส์ 8 รุ่นโปร (Windows 8 Pro) 4.2.2 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ 1. โปรแกรมประยุกต์ท่ัวไป ประกอบด้วย โปรแกรมประมวลผลคา แผ่นตารางทาโปรแกรมนาเสนอ และระบบจัดการฐานข้อมูล 2. โปรแกรม ประยุกต์เฉพาะทางเป็นโปรแกรมสาหรับงานเฉพาะอย่าง และแต่ละสาขาอาชีพ 3. โมบายแอปเป็นการ เพมิ่ คุณลกั ษณะหรอื โปรแกรมทัว่ ไปท่ีออกแบบมาใชก้ บั สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต นชุ ากร คงยะฤทธิ์

66 | P a g e บทที่ 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 1. โปรแกรมประยกุ ตท์ ่ัวไป 1.1 โปรแกรมประมวลผลคา ( Word Processor) เป็นโปรแกรมท่ีใช้สร้าง เอกสาร (Document) เบ้ืองต้นมีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายไม่ว่าจะเป็นบุคคลท่ัวไปหรือองค์การต่าง ๆ ใช้ใน การสร้างบันทึกจดหมาย และแฟกซ์ ใช้สร้างจดหมายข่าว คู่มือ และแผ่นพับเพ่ือให้ข้อมูลแก่ลูกค้า นกั ศกึ ษา ใช้สรา้ งรายงานการวจิ ยั ไมโครซอฟท์เวิรด์ เป็นโปรแกรมประมวลผลคาท่ีใช้กนั อย่างแพร่หลาย นอกจากน้ียังมีโปรแกรมประมวลผลคาอื่น ๆ อีกประกอบด้วย Corel WordPerfect, Apple Pages, Writer และ Google Docs การสร้างรายงาน การสร้างรายงานจะต้องค้นคว้าหาข้อมูลที่ต้องการจะทารายงานก่อนเมื่อได้ ข้อมลู แล้วกเ็ รมิ่ เขยี นลงในกระดาษเพอ่ื เปน็ ต้นฉบบั มาพมิ พร์ ายงาน มกี ารตรวจสอบคณุ ลกั ษณะอตั โนมัติ แก้ไขไวยากรณ์ และเครื่องหมายวรรคตอนท่ีผิดพลาด ใส่รูปภาพ และตารางคุณลักษณะคาอธิบายภาพ หมายเลขกากบั ภาพ และหมายเลขตารางการใส่ตาแหน่ง และคาอธิบายภาพ คณุ ลกั ษณะเชิงอรรถ และ การใสห่ ัวกระดาษ และทา้ ยกระดาษ 1.2 แผ่นตารางทาการ หรือสเปรดชีต (Spreadsheet) ใช้สาหรับรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเชิง ตัวเลข และสรุปในรูปแบบแผนภูมิ เช่น งบประมาณ และรายงานทางการเงิน นาไปใช้เกือบทุกสาขา อาชีพ ได้แก่ นักการตลาดใช้วิเคราะห์ แนวโน้มยอดการขายนักวิเคราะห์ทางการเงิน ใช้ประเมินทาง การเงิน และแนวโน้มกราฟการลงทุนในตลาดหุ้น นักศึกษา และอาจารย์ใช้บันทึกผลการเรียน และ คานวณหาคา่ เฉล่ยี ผลการเรียน ไมโครซอฟทเ์ อก็ ซเ์ ซล (Microsoft Excel) เป็นแผน่ ตารางทาการทีใ่ ช้กัน อย่างแพร่หลาย นอกจากน้ียังมีแผ่นตารางทาการอื่น ๆ อีกประกอบด้วย Apple Numbers และ OpenOffice Calc โปรแกรมนาเสนอ การแสดงงานวิจัยทาให้ประชาชนเกิดรับรู้ข่าวสารมากยิ่งข้ึนมีการสร้าง แบบจาลองเหมือนจริงในการนาเสนอโปรแกรมนาเสนอ (Presentation Graphic) เป็นโปรแกรมที่ รวบรวม เอาความหลากหลายของการมองเห็นวัตถุ มาสร้างงานนาเสนอเพื่อดึงดูดความสนใจ สร้างความประทับใจให้กับผู้ชม ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการถ่ายทอดเนื้อหาท่ียอดเยี่ยม และยัง โนม้ นา้ วบุคคลใหม้ คี วามสนใจได้ ในสถานการณ์ และสภาพแวดล้อมที่หลากหลายผู้ใช้นาโปรแกรมนาเสนอมาสร้างงานนาเสนอ เพ่อื ดงึ ดูดความสนใจ และบ่งบอกถึงความเช่ียวชาญในการสร้างงานนาเสนอ เช่น ผู้จัดการฝา่ ยการตลาด ใช้ในการนาเสนอแผนกลยุทธ์ทางด้านการตลาดแก่ผู้บริหารระดับสูง พนักงานขายใช้ในการสาธิต ผลิตภัณฑ์ และกระตุ้นการซื้อของลูกค้า นักศึกษาใช้สร้างงานนาเสนอที่มีคุณภาพนาเสนอในชั้นเรียน โปรแกรมนาเสนอที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ Microsoft PowerPoint, OpenOffice Impress และ Apple Keynote 1.3 ระบบจัดการฐานข้อมูล คือ การรวบรวมข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กันมาเก็บไว้ในไฟล์ เดียวกันระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System: DBMS) หรือการจัดการ ฐานข้อมูล (Database Manager) คือโปรแกรมที่ใช้สาหรับสรา้ งสว่ นประกอบของฐานข้อมูลมีเคร่อื งมือ ต่าง ๆ สาหรับนาเข้า แก้ไขและการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลทกุ คนนาฐานข้อมูลไปใช้ในงานต่าง ๆ ต้ังแต่ เจ้าหน้าท่ี โรงพยาบาลบันทึกข้อมูลผู้ป่วย จนถึงเจ้าหน้าท่ีตารวจ ตรวจสอบประวัติการกระทาความผดิ ของผู้รา้ ย สถาบนั และมหาวิทยาลยั ใชบ้ ันทึกข้อมลู นักศึกษา อาจารย์ และหลักสตู รองค์กรต่าง ๆ ใช้เกบ็ รักษาขอ้ มลู พนักงาน เปน็ ต้น ระบบจดั การฐานข้อมูลท่ไี ด้ออกแบบมาใชก้ บั คอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคล และ ใชง้ านกันแพรห่ ลายมี 2 โปรแกรมคือ Microsoft Access และ OpenOffice Base การสรา้ งฐานขอ้ มูล นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 67 2. โปรแกรมประยกุ ตเ์ ฉพาะทาง ท่ีผ่านมาได้กล่าวไปแล้วถึงโปรแกรมประยุกต์ท่ัวไปที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในทุก ๆ กลุ่มอาชีพไม่ เจาะจงเฉพาะ ส่วนน้ีจะเน้นท่ีโปรแกรมประยุกต์เฉพาะทางที่ใชก้ ันภายในกลมุ่ ผ้ใู ชง้ านหรืออาชพี เฉพาะ กลุ่มวิชาชีพใดวชิ าชีพหน่ึงซ่ึงสามารถแบ่งออกเป็นกลมุ่ ใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ โปรแกรมทางด้านกราฟิก (Graphics programs) และโปรแกรมเขยี นเว็บ (Web Authoring Programs) 2.1 โปรแกรมทางด้านกราฟิก โปรแกรมสาหรับกราฟิกถือเป็นโปรแกรมท่ีสาคัญมากของผู้ท่ี ทางานเกี่ยวกับ ภาพถา่ ย นกั ออกแบบ นักดไี ซน์ นกั ทาโฆษณา สถาปนิก และอาชีพอ่ืน ๆ เพราะการจะ สร้างช้ินงานหนึ่งช้ินให้มีความสวยงาม เหมือนจริง น่าสนใจ ดึงดูดลูกค้า จาต้องมีการออกแบบ การคิด การวิเคราะห์ที่ดี และอีกอย่างคือเคร่ืองมือที่ใช้ นั้นก็คือโปรแกรมกราฟิกต่าง ๆ โปรแกรมกราฟิก ทน่ี ิยมใช้ และเป็นที่รู้จักกนั ในปจั จบุ ันได้แก่ โปรแกรม Adobe Photoshop สาหรับโปรแกรมนี้ในปัจจุบันถือเป็นหนึ่งในโปรแกรมคลาสสิก ท่ีเกือบทุกเครื่อง จาเป็นต้องติดต้ังไว้ เพราะ Photoshop เป็นโปรแกรมในการออกแบบ การแต่งภาพ การใส่เอฟเฟ็กต์ยอดนิยม ด้วยความที่ใช้งานง่าย และมีเคร่ืองในการใช้งานมากมาย สามารถพลิกแพลง ได้สารพัดประโยชน์ โดยส่วนใหญ่จะใช้ในการตัดต่อภาพ การแต่งภาพให้สวยข้ึน คมชัดขึ้น ขาวขึ้น ในปัจจบุ ันโปรแกรม Adobe Photoshop มอี อกมาหลายเวอรช์ ัน และยงั คงพฒั นาตอ่ ไปอย่างตอ่ เน่ือง โปรแกรม Adobe Flash สาหรับโปรแกรมน้ีเป็นโปรแกรมท่ีใช้ทา Animation หรือ ภาพเคลอ่ื นไหว ซง่ึ ใชง้ านง่าย เพราะโปรแกรมไม่มีความซับซ้อนมากนัก ถอื เปน็ โปรแกรมพืน้ ฐานในการ หัดออกแบบภาพเคลอื่ นไหว โปรแกรม Adobe Illustrator เป็นโปรแกรมออกแบบโลโก้ ออกแบบภาพ เสริม เติม แต่งภาพ ระดบั มอื อาชีพ มฟี งั ก์ชันคลา้ ยกับ Photoshop แตม่ ีการทางานที่เหนือช้ันกวา่ ในการออกแบบ โปรแกรม Adobe InDesign โปรแกรมนี้นิยมใช้ในการออกแบบวารสาร นิตยสาร หนังสือ อิเลก็ ทรอนิกส์อย่ใู นตระกูล Adobe เหมือนกนั โปรแกรม Sweet Home 3D โปรแกรมท่ีสาหรับการออกแบบบ้าน ท่ีมีลักษณะการใช้งานง่าย และไมย่ ุ่งยาก โดยจะมีอุปกรณ์เฟอรน์ ิเจอรใ์ หเ้ ราไดเ้ ลอื กจานวนมากมาย และยังสามารถที่จะนาอุปกรณ์ เฟอรน์ เิ จอร์ใหม่ ๆ เขา้ มาเพมิ่ ไดต้ ลอด ซ่งึ โปรแกรมรองรบั ไฟลก์ าร Import ไดห้ ลายแบบ โปรแกรม GoogleSketchUpWEN เป็นอีกโปรแกรมหนึ่งในการใช้ออกแบบแปลนบ้าน ออกแบบโครงสรา้ งการกอ่ สร้าง เหมาะสาหรับนักสถาปนกิ ในการออกแบบ โปรแกรม PhotoScape Setup เป็นโปรแกรมตัดต่อภาพ เปล่ียนแปลงภาพ เพิ่มแสงเงา ใส่ กรอบ เพิ่มข้อความ สัญลักษณ์ ลดขนาดไฟล์ภาพ ออกแบบโลโก้อย่างง่าย เป็นหนึ่งในโปรแกรมท่ีนิยม ใช้งาน เพราะใช้ง่าย ไม่จาเป็นต้องมีพื้นฐานหรือศึกษาโปรแกรม ด้วยโปรแกรมไม่ได้ซับซ้อนเหมือนกับ โปรแกรมออกแบบอ่นื ๆ ตดิ ต้ังแล้วใช้งานได้เลย ทม่ี า: (Admin ITGenius, 2558) 2.2 โปรแกรมเขียนเว็บ ปัจจุบันในอินเทอร์เน็ตมีเว็บไซต์มากกว่า 1 พันล้านเว็บไซต์ และมี เพิ่มขึ้นอีกมากมายทุกวัน บริษัท ต่าง ๆ ใช้อินเทอร์เน็ตในการเข้าถึงลูกค้ารายใหม่ และส่งเสริม ผลิตภัณฑ์ บุคคลทั่วไปใช้อินเทอร์เน็ตในการสร้างเว็บส่วนตัวหรือที่เรียกว่าบล็อก (Blog) การสร้าง เว็บไซต์น้ีเรียกว่าการเขียนเว็บ (Web Authoring) ซ่ึงเริ่มต้นด้วยการออกแบบเว็บตามมาด้วยการสร้าง ไฟลเ์ อกสารท่ีแสดงเนอ้ื หาในเว็บไซต์ดังกลา่ ว นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

68 | P a g e บทที่ 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ รูปท่ี 4.10 blog ทมี่ า: (NICK SCHÄFERHOFF, 2019) การออกแบบเว็บไซต์ (Web site Design) เว็บไซต์คือ การสื่อสารท่ีมีรูปแบบเป็นมัลติมีเดีย แบบท่ีตอบสนองได้ การออกแบบเว็บไซต์เร่ิมจากการกาหนดเนื้อหาโดยรวมของไซต์ และทาการ แบ่งย่อยเนื้อหาออกมาเป็นข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ท่ีเก่ียวเน่ืองกัน การออกแบบเว็บไซต์โดยรวม มักได้รับ การนาเสนอในรูปของแผนท่ีกราฟิกไซต์ (Graphical Site Map) เว็บเพจแต่ละเว็บอาจมีการเติม องค์ประกอบท่ีเป็นมัลติมีเดีย (Multimedia Elements) เข้าไปเป็นเพ่ิมความน่าสนใจ และ ความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Interactivity) หนึ่งในองค์ประกอบมัลติมีเดียท่ีพบได้มากใน หลายเว็บไซต์ คือ ภาพเคลื่อนไหวหรือที่เรียกกันว่าแอนิเมชัน น้ีอาจเป็นเพียงแค่ตัวอักษรที่เคล่ือนท่ีได้ หรืออาจเป็นการนาเสนอที่ซับซ้อนก็ได้ ปัจจุบันมีโปรแกรมเฉพาะทางมากมาย สามารถสร้างแอนิเมชัน ตา่ ง ๆ หนึง่ ในซอฟตแ์ วรท์ ใี่ ช้สร้างภาพแอนเิ มชันแบบอนิ เตอร์แอคทีฟคือโปรแกรม Adobe Flash เว็บเพจสว่ นใหญจ่ ะเป็นเอกสารเอชทเี อ็มแอล Hypertext Markup Language (HTML) ดังนัน้ หากเรามีความรู้เกี่ยวกับภาษาเอชทีเอ็มแอล และมีโปรแกรมแก้ไขข้อความ (Text Editor) อย่างง่าย ที่สามารถ สร้างเว็บเพจขึ้นมาได้ แม้ว่าจะไม่มีความรู้เรื่องภาษาเอชทีเอ็มแอลเลย ก็ยังสามารสร้าง เวบ็ เพจขน้ึ โดยอาศัยโปรแกรมประมวลผลคา (Word processing) เชน่ Microsoft Word อย่างไรก็ดีมักมีการใช้โปรแกรมที่มีความสามารถ และมีลักษณะเฉพาะทางมากข้ึนซ่ึงเรียก โปรแกรมเขียนเว็บ (Web Authoring Program) ในการสร้างเว็บไซต์เชิงพาณิชย์ที่มีความสลับซับซ้อน โปรแกรมเขียนเว็บนี้รู้จักกันในอีกช่ือหนึ่งว่าโปรแกรม Web page editors และ HTML editor โดย มีหน้าที่สนับสนุนการออกแบบเว็บไซต์ และการเขียนโค้ดในภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML Coding) โปรแกรมเขียนเว็บบางโปรแกรมจะเรียกตัวเองว่าเป็น WYSIWYG (what you see is what you get) “เห็นอยา่ งไรก็ได้อยา่ งนัน้ ” เพ่ือระบุวา่ ผูใ้ ชจ้ ะสามารถสร้างเวบ็ เพจได้ โดยที่ไมต่ ้องไปยงุ่ เกี่ยวโดยตรงกับ โค้ดภาษาเอชทีเอ็มแอลเลย โปรแกรม WYSIWYG editors นี้จะแสดงหน้าเว็บโดย มีโค้ดภาษา เอชทีเอ็มแอลบรรยายไว้ โปรแกรมเขียนเว็บที่มีการใช้กันมากได้แก่ Adobe Dreamweaver และ Microsoft Expression Web นุชากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 69 5. โปรแกรมประยกุ ต์เฉพาะทางสาหรบั กลุ่มวิชาชีพอ่ืน ๆ ในปัจจุบันยังมีโปรแกรมประยุกต์เฉพาะทางที่มีการนาไปใช้ในกลุ่มวิชาชีพต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น โปรแกรมประยุกต์ทางด้านบัญชี โปรแกรมประยุกต์การจัดการทางด้านการเงิน และโปรแกรม ประยุกต์ใช้สาหรับบริหารจัดการโครงการ ซึ่งส่วนใหญ่จะนาไปใช้เพ่ือดาเนินการบริหารจัดการเกี่ยวกับ ธุรกิจ เช่น จัดเก็บบัญชีหรือทารายงานทางด้านการเงินของบริษัท เป็นเคร่ืองมือในการตัดสินใจในการ ลงทุนสว่ นบคุ คล ใช้สาหรบั การบริหารจัดการโครงการทางธรุ กิจ ใหด้ าเนินการประสานงานร่วมกันอย่าง สะดวกรวดเรว็ ลดความยงุ่ ยาก และซับซ้อนของโครงการ 6. โมบายแอป “โมบายแอป” หรือ “โมบายแอปพลิเคชัน” เป็นโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งเป็น คุณสมบัติที่เพ่ิมเข้าไปในโทรศัพท์เคล่ือนที่เพื่อให้ผู้ใช้สามารถดาเนินการกับงานต่าง ๆ ได้อย่าง หลากหลายข้ึน ในปัจจุบันได้มีการนาโมบายแอปมาใช้กันอย่างกว้างขวาง เช่นแอปพลิเคชันสาหรับ จัดการสมุดท่ีอยู่ การบันทึกรายการท่ีจะทา และรายการข้อความ เพียงเปิดใช้งานด้วยสมาร์ทโฟนหรือ แท็บเล็ต และทาการเช่ือมต่อไร้สายไปยังอินเทอร์เน็ต ทาให้โทรศัพท์เคลื่อนท่ีหรือแท็บแล็ต ก็สามารถ ทาได้ตามความต้องการ ปัจจุบันมีการให้บริการแอปพลิเคชันเฉพาะทาง บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ีอย่าง หลากหลาย แอป (Apps) การใช้งานแอปพลิเคชันเฉพาะทางบนสมาร์ทโฟนหรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ แพร่ขยาย ออกไปอย่างกว้างขวางมีแอปให้เลือกใช้มากกว่า 500,000 แอปบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของไอไฟน โดยแอปทีด่ ี ได้แก่ การฟงั เพลงออนไลน์ ดหู นังออนไลน์ เชอ่ื มตอ่ เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ หรือแมก้ ระท่ัง การซอื้ สินค้าออนไลน์ แอปพลิเคชันหลายตัวถูกพัฒนาขึ้นมาเพ่ือใช้กับโทรศัพท์เคล่ือนที่ รุ่นใดรุ่นหนึ่งเท่าน้ัน ไม่สามารถ ใช้กับยี่ห้อหรือรุ่นอื่นได้ ยกตัวอย่างโทรศัพท์เคล่ือนท่ีของไอโฟน ไม่สามารถใช้งานแอปพลิเคชันของ แอนดรอยด์ท่ีพัฒนาโดยกูเก้ิลได้ ดังนั้นก่อนการติดตั้งแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์เคล่ือนที่ คุณต้องมั่นใจ วา่ โทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ของคุณสามารถรองรับการทางาน และตดิ ตง้ั ใชง้ านแอปพลเิ คชันได้ รปู ท่ี 4.11 แอปพลเิ คชนั บนโทรศัพท์เคลื่อนท่ี ทมี่ า: (BRANDI, 2019) นชุ ากร คงยะฤทธิ์

70 | P a g e บทท่ี 4 ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ แอปสโตร์ (App Stores) แอปสโตร์คือเว็บไซต์ท่ัวไปท่ีให้เข้าถึงแอปพลิเคชันสาหรับโทรศัพท์ เคล่ือนที่ โดยเฉพาะสามารถดาวน์โหลดได้ท้ังแบบฟรีหรือเสยี ค่าใช้จ่ายเล็กน้อย แอปสโตร์เป็นท่ีรู้จักกัน เป็นอย่างดีคือ Apple's App Store, Google Play และ Windows Phone Marketplace แม้ว่า แอปสโตร์ท่ีรู้จักกันเป็นอย่างดี ส่วนใหญ่จะให้บริการเฉพาะโทรศัพท์เคล่ือนที่บางย่ีห้อเท่าน้ัน แต่ก็ยังมี แอปสโตร์อ่ืน ๆ ทใ่ี ห้บริการแอปพลเิ คชันครอบคลมุ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีทง้ั หมด 7. ชดุ ซอฟตแ์ วร์ (Software Suites) ซอฟต์แวร์เป็นการรวบรวมโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต้องใช้เข้าไว้ด้วยกัน และมีการจัด กลุ่มตามประโยชน์การใช้งานเช่น ชุดออฟฟิศ (Office Suites) ชุดออฟฟิศ เป็นที่รู้จักกันอีกชื่อคือ ชุดซอฟต์แวร์ออฟฟิศ (Software Office Suites) เป็นชุดซอฟต์แวร์เพ่ือเพ่ิมผลผลิต (Productivity Suites) คือ การนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ท่ัวไปหลาย ๆ ตัว มารวมไว้ด้วยกัน เพ่ือนาไปใช้งานทางด้าน ธุรกิจ ได้แก่ โปรแกรมประมวลผลคา แผ่นตารางคานวณ โปรแกรมนาเสนอ ระบบจัดการฐานข้อมูล ชุดซอฟตแ์ วรท์ ี่รูจ้ ักกนั มากที่สุดคือ ไมโครซอฟตอ์ อฟฟิศ (Microsoft Office) 8. การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) เป็นลักษณะของการทางานของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านอินเทอร์เนต็ ทใ่ี ห้บริการใดบรกิ ารหน่ึงกับ ผู้ใช้ โดยผู้ให้บริการจะแบ่งปันทรัพยากรให้กับผู้ต้องการใช้งานน้ัน การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เปน็ ลักษณะที่พฒั นาข้นึ ตอ่ มาจากความคดิ และบรกิ ารของเวอรช์ ัวไลเซชนั และเวบ็ เซอร์วซิ โดยผูใ้ ช้งาน นั้นไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในเชิงเทคนิคสาหรับตัวพ้ืนฐานการทางานนั้น สถาบันมาตรฐาน และ เทคโนโลยีแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาให้คาจากัดความ “cloud” ว่า มันเป็นอุปลักษณ์ จากคาใน ภาษาอังกฤษที่แปลว่า เมฆ กล่าวถึงอินเทอร์เน็ตโดยรวม ในรูปของโครงสร้างพ้ืนฐาน (เหมือนระบบ ไฟฟ้า ประปา) ท่ีพร้อมให้บริการกับผู้ใช้งานเมื่อมีความต้องการใช้ ผู้ให้บริการการประมวลผลแบบ กลุ่มเมฆส่วนใหญ่ จะให้บริการในลักษณะของเว็บแอปพลิเคชัน โดยให้ผู้ใช้ทางานผ่านเว็บเบราว์เซอร์ ขณะเดียวกันซอฟต์แวร์ และข้อมูลท้ังหมดจะถูกเก็บไว้บนเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการ การประมวลผล แบบกลุม่ เมฆน้ัน ถูกอธิบายถึงโมเดลรูปแบบใหม่ของเทคโนโลยีสารสนเทศในการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ท่ีเน้นการขยายตัวได้อย่างยืดหยุ่น สามารถท่ีจะปรับขนาดได้ตามความต้องการของผู้ใช้ และมีการ จัดสรรทรัพยากร โดยเน้นการทางานระยะไกลอย่างงา่ ย ท่ีใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เป็นโครงสร้างพื้นฐาน ตัวอย่าง ของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆที่เป็นท่ีรู้จัก เช่น ยูทูบ โดยท่ีผู้ใช้สามารถเก็บวิดีโอออนไลน์ได้ โดยไม่ ต้องมีความรู้ในการสร้างระบบวิดโี อออนไลน์ หรอื ในระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ตา่ ง ๆ เป็นต้น คลาวด์มีหลากหลายระดับหลากหลายรูปแบบแล้วแต่การนาโมเดลน้ีไปใช้งาน โดยมีประโยชน์ท่ี แตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ : Infrastructure-as-a-Service (IaaS) – บริการเวอร์ชวลแมนชีนที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านเครือข่าย ชว่ ยรองรับความตอ้ งการใชง้ านในการประมวลผลหรือสตอเรจ Platform-as-a-Service (PaaS) – บริการด้านแพลตฟอร์มสาหรับซอฟต์แวร์ (เช่นเว็บ แอปพลิเคชัน ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ ระบบประมวลผลกลางสาหรับองค์กรขนาดใหญ่ และมิดเดิลแวร์อ่ืน ๆ โดยทางานภายใตก้ ารควบคมุ ด้านความปลอดภัยสูง) ทเ่ี รียกใช้งานไดผ้ ่านเวบ็ แอปพลิเคชนั Software-as-a-Service (SaaS) – เป็นบริการด้านแอปพลิเคชันโดยคิดค่าบริการเป็นไลเซนต์ของ ผใู้ ช้ หรือตามปรมิ าณการใช้งาน นชุ ากร คงยะฤทธิ์

บทท่ี 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ P a g e | 71 Data-as-a-Service (DaaS) – ให้บริการข้อมูลหรืออินฟอร์เมชันจากคลาวด์อื่น ๆ เป็นแหล่งเก็บ ข้อมลู ดบิ หรอื ข้อมลู เพือ่ ใช้เชื่อมโยงการวิเคราะห์ Business Process-as-a-Service (BPaaS) – เป็นคลาวด์สาหรับบริการด้านธุรกิจท่ีต้องการ ปรบั ปรงุ กระบวนการทางธรุ กิจ และวัดผลลพั ธท์ างธรุ กจิ ได้ ทม่ี า: (Cloud คืออะไร Cloud computing การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ, 2558) 4.3 สรปุ ท้ายบท ฮาร์ดแวร์เป็นอุปกรณ์ที่เก่ียวข้องกับการใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ มีท้ังที่ติดต้ังอยู่ภายใน และ ภายนอกตัวเคร่ือง สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทหลัก ๆ คือ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า อุปกรณ์ ประมวลผล อุปกรณจ์ ัดเกบ็ ขอ้ มูล และอปุ กรณ์แสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้าสามารถแบ่งแยกได้หลายประเภท เช่น แบบกดช้ี ตาแหน่ง ปากกา มัลติมเี ดยี หรือใช้การสแกน ส่วนอุปกรณ์ประมวลผลก็ เช่น ซีพียู แรม เมนบอร์ด ส่วนอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลก็มี หลายประเภท เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่น CD / DVD เทป หรือหน่วยความจาแบบแฟลช และ SSD (Solid State Drive) สาหรับอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์น้ันก็มีหลายประเภท เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ และลาโพง / หูฟัง โครงสร้างโดยท่ัวไปของการจัดเก็บข้อมูลด้วยสื่อบันทึกแบบจานแม่เหล็กที่ควรรู้จัก คือ ภายในแผ่นจะแบ่งเป็นแทร็ก ซึ่งวางตัวตามแนวเส้นรอบวงกลมหลายวงขนานกัน และเซคเตอร์ ซึ่งเป็นการแบ่งแทร็กออกเป็นส่วน ๆ ในขณะที่ส่ือบันทึกแบบแสงจะมีเพียงแทร็กเดียววนเป็นก้นหอย ตลอดทงั้ แผน่ โดยแบ่งสว่ นย่อย ๆ เปน็ เซคเตอร์เช่นกัน ซอฟต์แวร์ระบบ ทางานร่วมกับผู้ใช้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อควบคุม การทางานด้านเทคนิค ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการดาเนนิ งานของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์อื่น ๆ 4.4 แบบฝึกหัดทา้ ยบท จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธบิ ายว่าออปติคอลเมาส์มหี ลักการทางานอย่างไร 2. จงอธบิ ายวา่ OMR คืออะไร พรอ้ มทั้งยกตวั อยา่ งลกั ษณะงานทีน่ าไปใช้ 3. จงอธบิ ายวา่ อปุ กรณท์ ่ถี อื ว่าเป็นหวั ใจหลักของพซี ีทุกเคร่ือง คอื อุปกรณใ์ ด เหตใุ ดจงึ เรยี กเช่นน้ัน 4. จงอธบิ ายวา่ อปุ กรณ์จัดเกบ็ ข้อมลู แบง่ ไดเ้ ป็นกี่ประเภท พรอ้ มทัง้ ยกตัวอย่างประเภทละ 2 รายการ 5. จงอธิบายว่าแทรก็ และเซคเตอร์ในสื่อเกบ็ ขอ้ มลู ชนดิ จานแมเ่ หลก็ คืออะไร 6. จงอธบิ ายความแตกต่างของส่ือเกบ็ ข้อมูลประเภท CD และ DVD 7. จงอธบิ ายวา่ Point of Sale คอื อะไร 8. จงอธิบายว่างานเกี่ยวกับการออกใบเสร็จรับเงิน การออกใบกากับภาษีที่ต้องมีสาเนาหลายใบ ควรใช้เครอ่ื งพิมพแ์ บบใด พร้อมทง้ั อธิบายวา่ เครอื่ งดังกล่าวมหี ลักการทางานอย่างไรบ้าง 9. จงอธิบายว่าเคร่อื งพิมพแ์ บบองิ ค์เจต็ และแบบเลเซอร์ แตกตา่ งกันอยา่ งไร 10. จงยกตัวอยา่ งซอฟต์แวรร์ ะบบมา 3 ซอฟต์แวร์ 11. จงอธิบายความหมายของระบบปฏิบัติการ หน้าท่ีพื้นฐาน และประเภทของระบบปฏิบัติการท้ัง 3 ประเภท 12. จงอธิบายความหมายของระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์เคล่ือนท่ี และระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์ เคลื่อนท่ี ทไี่ ด้รับความนยิ ม นุชากร คงยะฤทธิ์

72 | P a g e บทที่ 4 ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ 13. จงอธิบายความหมายของระบบปฏิบัติการเดสก์ท็อป และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ระบบปฏิบัติการวนิ โดวส์ แมคโอเอส ยนู ิกซ์ ลินุกซ์ และโครมโอเอส 14. จงอธบิ ายความหมายของเวอร์ชวลไลเซชั่น 15. จงอธิบายความหมายของโปรแกรมยูทิลิตี โปรแกรมยูทิลิตีที่จาเป็นสาหรับการใช้งาน และชุด โปรแกรมยูทลิ ิตี 16. จงอธิบายความหมายของไดรเวอร์ การทางานของวิซาร์ตท่ีมีช่ือว่า Add a Device Wizard และ การอปั เดตไดรเวอร์โดยใช้ Windows Update 4.5 อา้ งองิ ประจาบท 3.อุปกรณ์ Input. (2557). ค้นเมอื่ 24 มนี าคม 2562 จาก http://yodcomsci.blogspot.com/2014/12/3-input.html 7 Examples of Output Devices. (2018). Retrieved March, 11, 2019, form https://www.examplesof.net/2018/09/examples-of-output- devices.html#.XWXWzSgzbIV Admin ITGenius. (2558). สุดยอดโปรแกรมทใี่ ชง้ านทางด้านกราฟฟิก. คน้ เมอ่ื 24 มนี าคม 2562 จาก https://www.itgenius.co.th/article/สดุ ยอดโปรแกรมทใ่ี ชง้ านทางด้านกราฟฟิก.html BRANDI. (2019). How Using Social Media For Marketing Can Transform Your Business. Retrieved March, 11, 2019, form https://www.lyfemarketing.com/blog/using-social- media-for-marketing/ Cloud คืออะไร Cloud computing การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ. (2558). คน้ เม่อื 24 มนี าคม 2562 จาก https://www.modify.in.th/11189 Computer – Input Devices. (2018). Retrieved March, 11, 2019, form http://www.kccdelhi.com/computer-knowledge/computer-input-devices/ EPSON LQ-2190 Printer Dot Matrix. (2560). ค้นเม่ือ 24 มีนาคม 2562 จาก http://www.spcbarcode.com/products/detail.php?maincate=25&id_pd=342 NICK SCHÄFERHOFF. (2019). How to Start a Blog in 2019. Retrieved March, 11, 2019, form https://websitesetup.org/how-to-start-a-blog-guide/ SpenceTec UK. (2017). Security Input Devices. Retrieved March, 11, 2019, form https://spencetecuk.com/2017/05/24/security-input-devices/ Virtualization (เวอร์ชวลไลเซช่ัน) คืออะไร เทคโนโลยจี าลองการทางานของคอมพิมเตอร์. (2561). คน้ เมอ่ื 24 มนี าคม 2562 จาก https://mindphp.com/บทความ/234-virtual- machine/5216-what-is-virtualization.html บริษัท ไอเดีย เมคเกอร์ เทคโนโลยี จากัด. (2560). เครอื่ งพิมพ์ 3 มติ ิ ขนาดเล็ก. คน้ เม่ือ 24 มีนาคม 2562 จาก https://www.108cnc.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539339382 หน้าที่ของ Mainboard. (2560). ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562 จาก https://sites.google.com/site/treampc/xngkh-prakxb-pc/hnathi-khxng- mainboard นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ



74 | P a g e บทท่ี 5 ข้อมูล การบริหารขอ้ มูล และเทคโนโลยีฐานข้อมูล แผนบรหิ ารการสอน รหสั วชิ า : 11-411-101 วิชา : พื้นฐานคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ หนว่ ยที่ : 5 ช่อื หนว่ ยเรียน : ขอ้ มูล การบริหารข้อมลู และเทคโนโลยฐี านข้อมลู เวลาทส่ี อน 3 ชวั่ โมง 1. หัวข้อประจาบท 1.7 โครงสร้างขอ้ มูล 1.1 ความหมายของข้อมูล 1.8 โครงสรา้ งขอ้ มลู ดบี เี อม็ เอส 1.2 แหล่งขอ้ มลู 1.9 ประเภทของฐานขอ้ มูล 1.3 คณุ สมบตั ขิ องข้อมลู ทีด่ ี 1.10 สรปุ ทา้ ยบท 1.4 ระบบฐานขอ้ มลู 1.11 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 1.5 ฐานข้อมลู เชงิ สัมพนั ธ์ 1.12 อา้ งอิงประจาบท 1.6 ฐานขอ้ มลู 2. วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 2.1 อธิบายความหมายของขอ้ มูลได้ 2.2 จาแนกประเภทของแหลง่ ขอ้ มูลภายใน และแหลง่ ขอ้ มูลภายนอกได้ 2.3 บอกความแตกต่างระหวา่ งการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมลู กบั ระบบฐานข้อมลู ได้ 2.4 บอกความแตกตา่ งระหวา่ งฐานข้อมลู แบบ Relational กบั แบบ Non-relational ได้ 2.5 อธิบายการจัดโครงสรา้ งขอ้ มูลของอักขระ เขตข้อมูล ระเบยี น ตารางข้อมูล ฐานข้อมูลได้ 2.6 ใหค้ วามหมายของเขตขอ้ มลู หลัก และการนาไปใช้กับฐานข้อมูล 2.7 ให้นิยาม และเปรียบเทียบ ระหว่างการประมวลผลแบบกลุ่มกับการประมวลผลแบบ ทนั ทีทันใด 2.8 บอกรายละเอียดของฐานข้อมูลทั้ง 5 โมเดล ได้แก่ ฐานข้อมูลลาดับช้ัน ฐานข้อมูลแบบ เครอื ขา่ ย ฐานข้อมลู เชิงสัมพนั ธ์ ฐานข้อมูลหลายมติ ิ และฐานข้อมูลเชิงวัตถไุ ด้ 2.9 จาแนกประเภทของฐานข้อมูลท้ัง 4 ฐานข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูลส่วนบุคคล ฐานข้อมูลองค์กร ฐานข้อมูลแบบกระจาย และฐานข้อมลู เชงิ พาณชิ ย์ได้ 3. วิธกี ารสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท 3.1 บรรยายโดยอาจารยผ์ ู้สอน 3.2 นักศกึ ษารว่ มกันอภิปรายในชน้ั เรียน 3.3 ศกึ ษาเอกสารการสอนบทท่ี 5 3.4 นักศึกษาเพิม่ เติมนอกชัน้ เรยี น 3.5 นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามทีก่ าหนด 3.6 ใช้ LCD ในการเรยี นการสอน 4. ส่อื การเรียนการสอน 4.1 เอกสารประกอบการสอน 5. การวดั ผลและประเมนิ ผล 5.1 ประเมนิ ผลกิจกรรมและแนวตอบคาถามท้ายบท นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 5 ข้อมลู การบริหารขอ้ มลู และเทคโนโลยฐี านขอ้ มลู P a g e | 75 บทที่ 5 ข้อมูล การบรหิ ารขอ้ มลู และเทคโนโลยฐี านข้อมูล 5.1 ความหมายของขอ้ มลู ขอ้ มลู (Data) คือ ขอ้ เทจ็ จริงที่มกี ารรวบรวมไว้ และมคี วามหมาย อาจเกยี่ วข้องกับคน ส่งิ ของ หรอื เหตุอ่ืน ๆ ซ่ึงในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ จะมีการนาเข้าข้อมูล และประมวลผลเพ่ือให้ได้ สารสนเทศ (information) สาหรบั การชว่ ยตัดสนิ ใจ และนาเอาไปใช้ประโยชน์อ่ืน ๆ อกี ได้ตามต้องการ ข้อมลู ทีถ่ กู จัดเรยี งข้ึนมาใหมใ่ หน้ า่ ใช้กว่าเดิม รปู ที่ 5.1 ขอ้ มูล ทมี่ า: (อาพาภรณ์ ศรีโวหะ, 2556) โดยปกติข้อมูลท่ีนามาใช้ประมวลผลจะมีอยู่กระจัดกระจายทั่วไป เมื่อต้องการใช้งานจึงจาเป็นต้อง มีการรวบรวม และจดั เรยี งใหม่ให้อยู่ในรูปแบบทส่ี ามารถนาเอามาใช้ได้อย่างเป็นระบบ เพือ่ ให้นาข้อมูล นัน้ ไปใชไ้ ด้ตรงตามความต้องการ และมีระเบียบมากยิ่งขึน้ 5.2 แหลง่ ข้อมลู ข้อมลู ถอื ได้ว่าเปน็ องค์ประกอบหนึ่งท่ีสาคัญสาหรับการประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ โดยเฉพาะใน ยุคน้ีท่ีการติดต่อสื่อสารน้ันรวดเร็ว และไม่จากัดระยะทางอีกต่อไป ยิ่งทาให้ข้อมูลถูกเผยแพร่ และกระจายการใช้งานมากย่ิงข้ึนโดยปกติแลว้ ข้อมูลสาหรบั นามาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์น้ันไดม้ า จากสองแหล่งคอื แหล่งข้อมูลภายใน และแหลง่ ขอ้ มูลภายนอก ดังน้ี 5.2.1แหลง่ ขอ้ มลู ภายใน เป็นแหล่งกาเนิดของข้อมูลท่ีอยู่ภายในองค์กรทั่วไป ข้อมูลท่ีได้มานั้นอาจมาจากพนักงานหรือมีอยู่ แล้วในองค์กร เช่น ยอดขายประจาปี ข้อมูลผู้ถือหุ้น รายงานกาไรขาดทุน รายช่ือพนักงาน ฯลฯ ส่ิงเหล่านี้จะให้ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับข้อเท็จจริงต่าง ๆ ภายในองค์กร ซ่ึงอาจจะเปิดเผยให้กับ บุคคลภายนอกทราบหรือไม่ก็ได้ หากข้อมูลนั้นเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานหลักขององค์กรและมี ความสาคญั มาก เชน่ ขอ้ มูลผลติ ภณั ฑท์ ี่จะออกสู่ตลาดใหม่ ขอ้ มูลการทดลองแปรรปู สนิ ค้าหน่วยงานน้ัน ก็จาเป็นตอ้ งปกปิดไวเ้ พื่อปอ้ งกันการร่วั ไหลของข้อมูล นุชากร คงยะฤทธ์ิ

76 | P a g e บทท่ี 5 ข้อมูล การบรหิ ารข้อมูล และเทคโนโลยฐี านข้อมูล รูปที่ 5.2 แหลง่ ข้อมลู ภายใน ท่ีมา: (อาพาภรณ์ ศรีโวหะ, 2556) 5.2.2แหล่งขอ้ มลู ภายนอก เป็นแหล่งกาเนิดข้อมูลที่มาจากภายนอกองค์กร โดยทั่วไปแล้วสามารถนาข้อมูลต่าง ๆ เหล่านนั้ มา ใช้ประโยชน์ในองคก์ ร หรอื นามาใชก้ บั การประมวลผลด้วยคอมพวิ เตอร์เพ่ือให้ได้ระบบงานที่สมบูรณ์ขึ้น เช่น ข้อมูลลูกค้า เจ้าหนี้ อัตราดอกเบ้ียสถาบันการเงิน กฎหมาย และอัตราภาษีของรัฐบาล รวมถึง ข้อมูลบรษิ ทั คแู่ ขง่ ดว้ ย เราสามารถหาขอ้ มูลจากแหล่งภายนอกนี้ ได้จากบริษัทผู้ให้บริการขอ้ มูลหรือจาก หนังสอื พิมพ์ วิทยุ โทรทศั น์ หรือส่อื อื่น ๆ ไดท้ ว่ั ไป รูปท่ี 5.3 ตวั อยา่ งแหล่งข้อมลู ภายนอกจากผู้ให้บริการข้อมูลด้านการเงนิ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ท่มี า: (เงินออมทรพั ย์ 73 ล้านบัญชี ไม่ถงึ 5 หม่นื , 2561) 5.3 คุณสมบัติของข้อมลู ทีด่ ี ข้อมูลท่ีจะนามาใช้ประมวลผลเพ่ือให้ได้สารสนเทศท่ีต้องการนั้น อาจได้มาจากทั้งแหล่งข้อมูล ภายในหรือภายนอกองค์กร หากได้ข้อมูลท่ีดีย่อมหมายถึงความได้เปรียบในการดาเนินการตามไปด้วย ซ่ึงข้อมลู ทด่ี ีจะต้องมีคณุ สมบัตขิ ั้นพื้นฐาน ดังน้ี ความถูกต้อง (Accuracy) ข้อมูลที่ดีต้องมีความถูกต้องเพื่อให้สามารถนาเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลที่ไม่เป็นจริง มีความคลาดเคล่ือน อาจก่อให้เกิดความเสียหายเม่ือนาไปใช้ต่อ ซ่ึงในการคัดเลือก นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 5 ข้อมลู การบริหารข้อมลู และเทคโนโลยฐี านขอ้ มลู P a g e | 77 ขอ้ มูลที่จะนามาใชจ้ ึงต้องพิจารณาประเด็นนีป้ ระกอบด้วย เพราะการประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอร์จะอิง ตามกระบวนการป้อนข้อมูลเข้า เม่ือใดท่ีป้อนข้อมูลเข้ามาแบบผิด ๆ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก็ จะผิดตามไปด้วย เหมือนสานวนท่ีว่า “ ใส่ขยะเข้าไปก็จะได้ขยะกลับออกมา” หรือ “Garbage In Garbage Out (GIGO)” นนั่ เอง มีความเป็นปัจจุบัน (Update) ข้อมูลที่ดีจาเป็นต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้มีความเป็นปัจจบุ ันอยู่ เสมอ เพราะเหตุการณ์ต่าง ๆ มักเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา เช่น ข้อมูลราคาน้ามันในรอบบัญชีเก่าจะไม่ สามารถนามาใช้คานวณต้นทุนการขนส่งในรอบบัญชีปัจจุบัน ดังน้ัน จาเป็นต้องมีการปรับใหม่ให้เป็น ปัจจุบันมากข้ึน หากข้อมูลล้าสมัยหรือไม่มีการปรับปรุงใด ๆ เม่ือนาไปใช้ก็จะได้ผลลัพธ์ที่คลาดเคล่ือน หรือเกิดความผิดพลาดได้ ตรงตามความต้องการ (Relevance) ควรมีการสารวจเก่ียวกับขอบเขตของข้อมูลที่จะนามาใช้ เพื่อให้สอดคล้อง และตรงกับความต้องการของหน่วยงานให้มากที่สุด ข้อมูลน้ันถึงแม้จะถูกต้องมากแค่ ไหนแต่หากไม่สอดคล้องกับความต้องการ ก็ไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์หรือช่วยในการตัดสินใจใด ๆ ได้ ความสมบูรณ์ (Complete) ข้อมูลจะต้องมีความสมบูรณ์มากพอ จึงจะนาเอาไปใช้ได้เกิด ประโยชนอ์ ยา่ งเต็มที่ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลสามารถทาได้มากกวา่ หนง่ึ คร้ังเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่สี มบรู ณ์จริง ๆ เชน่ การเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ สถิติ หรอื วดั ค่าเฉล่ยี อาจตอ้ งเก็บรวบรวมข้อมูลโดยออกแบบสอบถามรอบแรก ก่อนเรียกว่า ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) จากน้ันจึงเอามาหาค่าที่ต้องการจริง ๆ เรียกว่าเป็นข้อมูล ขัน้ ทสี่ อง หรอื ข้อมูลทตุ ิยภมู ิ (Secondary Data) จงึ จะนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ ความสมบูรณ์ของข้อมูลนี้อาจรวมถึงต้องมีความครบถ้วนด้วย เช่น ในระบบงานบุคลากร ถ้าเรา สนใจเก็บข้อมูลของพนักงานเฉพาะวุฒิการศึกษา และความสามารถเพียงอย่างเดียว แต่ไม่ได้สนใจเรื่อง วันเกิดหรือเพศของพนักงาน หากต้องการเอาข้อมูลไปใช้สาหรับวิจัย และพัฒนาบุคลากร ก็จะได้ข้อมูล หรือรายงานท่ีไม่สมบูรณ์เต็มท่ี เพราะบอกไม่ได้ว่าพนักงานแต่ละเพศหรือแต่ละช่วงวัยท่ีต่างกันมี ความสามารถแตกตา่ งกนั หรือไม่ (เพราะข้อมูลไม่มคี วามสมบรู ณ์นั่นเอง) สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ข้อมูลท่ีมีอยู่ในปัจจุบันอาจได้มาจากแหลง่ ข้อมูลหลาย ๆ ที่ ซ่ึง อาจมีทั้งข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ และข้อมูลซ่ึงมาจากการโฆษณาชวนเช่ือหรือปล่อยข่าวลือต่าง ๆ ดังนั้นหาก ตอ้ งการนามาประมวลผลจึงควรเลือกข้อมลู ที่สามารถตรวจสอบแหลง่ ที่มา หรือแหล่งทมี่ หี ลักฐานอา้ งอิง ได้ เพ่อื ป้องกนั ข้อมูลที่ไม่เกิดประโยชน์ และอาจนาผลเสยี หายมาให้ ลาดับข้ันของการรับรู้ข้อมูล และสร้างองค์ความรู้ ในการรวบรวมข้อมูล และนาไปใช้น้ัน อาจมอง ให้เป็นหลายระดับช้ัน โดยเริ่มจากการจัดการท่ีตัวของข้อมูล (Data) ท่ีรวบรวมให้กลายเป็นสารสนเทศ (Information) ที่นาไปใช้วางแผนหรือตัดสินใจต่อได้ และจัดระบบระเบียบให้กลายเป็นองค์ความรู้ (Knowledge) ท่ีสามารถค้นหา เพ่ิมเติม แก้ไขปรับปรุง และเรียนรู้สืบทอดกันได้ และในที่สุดกลายเปน็ ปญั ญา (Wisdom) ท่ีนาไปตอ่ ยอดหรือประยุกตใ์ ชก้ บั เร่ืองอนื่ ๆ นอกเหนือไปจากเดมิ ได้ดว้ ยแนวคิดตาม โครงสรา้ งดงั กล่าว เรยี กวา่ ปริ ามดิ ของ Data-Information-Knowledge-Wisdom หรอื DIW pyramid นุชากร คงยะฤทธ์ิ

78 | P a g e บทท่ี 5 ข้อมูล การบริหารข้อมลู และเทคโนโลยีฐานขอ้ มูล รปู ที่ 5.4 ลาดับขนั้ ของการรับรู้ขอ้ มลู และสร้างองคค์ วามรู้ ท่ีมา: (What is the DIKW Pyramid?, 2012) 5.3.1 การจัดเก็บในรปู แบบแฟ้มขอ้ มูล การจัดเก็บขอ้ มูลในคอมพวิ เตอร์มีหลายรูปแบบ เรมิ่ จาก บิต, ไบต,์ ฟลิ ด์, เรคคอรด์ และไฟล์ ดงั นี้ 1. บติ (bit หรอื Binary Digit) เป็นหน่วยพื้นฐานที่เลก็ ทีส่ ุดในการเกบ็ ข้อมลู ด้วยเลขฐานสองคอื 0 กบั 1 2. ไบต์ (byte) ประกอบด้วยข้อมูลแปดบิตเรียงต่อกันเป็น 1 ไบต์ ซ่ึงแทนรหัสได้ 2 ยกกาลัง 8 = 256 แบบ ใน ระบบเดิมจะเก็บข้อมูล 1 ไบต์ = 1 ตัวอักษร (ที่เรียกว่ารหัสแบบ “แอสกี้” หรือ ASCII) แต่ในปัจจุบัน เพิ่มเปน็ 2-4 ไบต์ = 1 ตัวอักษร เพอ่ื ให้สามารถใช้แทนอักขระในภาษาตา่ ง ๆ ทวั่ โลกได้พรอ้ มกันถึงหลัก หม่ืนหรือแสนตัว (เช่น ในภาษาจีนหรือญ่ีปุ่น ที่มีอักขระนับหม่ืนแบบ) หรือที่เรียกว่า “ ยูนิโค้ด” (Unicode) 3. ฟลิ ด์ (field) เป็นหน่วยยอ่ ยท่ีสดุ ของข้อมูลซ่ึงมคี วามหมายเฉพาะเจาะจงลงไป เชน่ “TG601” เป็นรหัสเทยี่ วบิน ของสายการบินไทยท่ีบนิ ไปฮอ่ งกง หรือ“ สมชาย” เป็นชอื่ นักศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยแหง่ หน่งึ เป็นต้น 4. เรคคอร์ด (record) กลุ่มของฟิลด์ที่สัมพันธ์กัน โดยใน 1 เรคคอร์ดจะประกอบด้วยฟิลด์ต่าง ๆ รวมกันเป็นชุด เช่น เรคคอร์ดของข้อมูลนักศึกษา 1 คน จะประกอบด้วยฟิลด์ที่เก่ียวข้อง เช่น รหัสประจาตัวนักศึกษา ช่ือ- นามสกลุ วันเกิด เลขประจาตัวประชาชน ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ท่ตี ิดต่อได้ เปน็ ตน้ 5. ไฟล์ (File) หรอื แฟ้มข้อมูล กลุ่มของเรคคอร์ดท่ีสัมพันธ์กัน (มีฟิลด์ตรงกัน) เช่น ในแฟ้มข้อมูลรายช่ือนักศึกษา ก็จะ ประกอบด้วยขอ้ มูลรายช่ือนกั ศกึ ษาทุกคนของสถาบนั เป็นต้น นุชากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 5 ข้อมลู การบรหิ ารขอ้ มลู และเทคโนโลยฐี านข้อมลู P a g e | 79 ซ่ึงข้อมูลแต่ละฟิลด์ของคนละเรคคอร์ดกันอาจเข้ากันได้ เช่น นักศึกษามีชื่อซ้ากัน ดังนั้นใน 1 เรคคอร์ดก็จะต้องมีข้อมูลอย่างน้อยหนึ่งฟิลด์ที่ไม่ซ้า เพื่อใช้อ้างอิงถึงข้อมูลเรคคอร์ดนั้นให้แตกต่างจาก เรคคอรด์ อื่นได้ ซง่ึ เรยี กวา่ คีย์ฟิลด์ (Key Field) เช่น ตวั อย่างนี้นา่ จะใชร้ หัสประจาตัวนักศึกษานั่นเอง รปู ท่ี 5.5 แฟม้ ข้อมลู รายช่ือนักศึกษา ที่มา: (ประเภทของไฟล์, 2555 และนักศกึ ษาในความรับผิดชอบ, 2562) การเก็บข้อมูลเป็นไฟล์ เรคคอร์ด และฟิลด์ แบบนี้จะคล้ายกับตารางข้อมูลท่ีเราเห็นในโปรแกรม ตารางคานวณอย่าง Excel น่ันเอง โดยแต่ละฟิลด์จะเทียบได้กับแต่ละคอลัมน์ (column) แต่ละ เรคคอร์ดเทียบได้กับแถว (row) และเม่ือพิจารณาทั้งแฟ้มข้อมูล ก็จะเทียบได้กับเวิร์กชีตหรือ ตารางขอ้ มูล 1 ชุดนัน่ เอง นุชากร คงยะฤทธ์ิ

80 | P a g e บทท่ี 5 ข้อมลู การบริหารขอ้ มลู และเทคโนโลยฐี านข้อมูล 5.3.2 ปัญหาของการจดั เก็บแฟ้มขอ้ มลู การจัดเก็บข้อมูลลงในรูปแบบของไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเป็นวิธีการมาตรฐานที่ทากันทั่วไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้าเป็นข้อมูลท่ีมีผู้ใช้คนเดียว อย่างไรก็ตามเมื่อข้อมูลมีความซับซ้อนข้ึน และมีผู้ใช้ หลายคน หลายหน่วยงาน ก็จะเร่ิมเกิดปัญหาตามมา เช่น ชื่อลูกค้าในไฟล์ของฝ่ายขายอาจไม่ตรงกบั ช่ือ ลูกค้ารายเดียวกันในไฟลข์ องฝ่ายบัญชีช่อื และรหัสสินค้าของฝา่ ยขายไม่ตรงกับของสินค้าอยา่ งเดียวกัน ในไฟล์ของฝ่ายจัดซ้ือ เป็นต้น เพราะข้อมูลมีที่มา และการจัดการต่างกัน ต่างคนต่างเก็บ ต่างคนต่าง แกไ้ ข รูปท่ี 5.6 แฟม้ ขอ้ มูลท่แี ตล่ ะหนว่ ยงานจัดเกบ็ กนั เองตา่ งหาก ทม่ี า: (อาพาภรณ์ ศรีโวหะ, 2556) 5.4 ระบบฐานข้อมูล จากปัญหาของการประมวลผลแบบแฟ้มขอ้ มลู ข้างตน้ วธิ แี กป้ ญั หาดงั กล่าวคือ การรวบรวมข้อมูลท่ี มีความสัมพันธ์กัน มาจัดเก็บใหม่อย่างเป็นระบบ เพ่ือให้สะดวกต่อการค้นหา และเรียกใช้ข้อมูลร่วมกนั โดยจดั ว่าเปน็ ระบบฐานขอ้ มลู รปู ที่ 5.7 แฟ้มขอ้ มลู ทนี่ ามาเกบ็ รวบรวมกันใหอ้ ยู่ในรปู แบบของฐานขอ้ มลู ท่ีมา: (อาพาภรณ์ ศรโี วหะ, 2556) นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทท่ี 5 ข้อมลู การบริหารขอ้ มูล และเทคโนโลยฐี านขอ้ มูล P a g e | 81 ระบบฐานข้อมูลสามารถใช้งานได้ทง้ั กบั เครื่องคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองเดียว (Stand-alones) หรือจะใช้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบแม่ข่าย (Server) ผ่านระบบ LAN หรืออินเทอร์เน็ตก็ได้ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ ลกั ษณะของงานที่ต้องการเป็นหลัก 1. ขอ้ ดขี องการจัดเกบ็ ขอ้ มูลลงในฐานข้อมลู มี ดังน้ี ลดความซ้าซ้อนกันของข้อมูล (Reduced Data Redundancy) ไม่ให้จัดเก็บข้อมลู ชดุ เดียวกัน ในหลายแฟม้ เช่น ฝา่ ยการเงนิ กบั ฝ่ายขาย ตา่ งกเ็ กบ็ ข้อมลู ลกู ค้าไว้ที่ฝ่ายของตนเอง ทาใหเ้ ปลืองพื้นที่ใน การจัดเกบ็ ขอ้ มูลโดยเปล่าประโยชน์ ย่ิงเกบ็ ขอ้ มูลถูกตอ้ งละเอยี ดมากก็ย่งิ ซ้าซอ้ นกนั มาก ลดความขัดแย้งของข้อมูล (Reduced Data Inconsistency) เม่ือมีการเก็บข้อมูลซ้าซ้อนกันก็ มีโอกาสจะขัดแย้งกันได้ เช่น เลขบัตรประชาชนของลูกค้าในข้อมูลของฝ่ายบัญชี อาจเป็นได้เฉพาะ ตัวเลข 13 หลัก ในขณะท่ีข้อมูลเดียวกันของฝ่ายขายอาจกาหนดผิด คือ ยอมให้มีได้ทั้งตัวเลข และ ตวั อกั ษร ซง่ึ หากฝ่ายขายป้อนข้อมูลผดิ เชน่ มีตัวอักษรหลงเข้าไป ก็จะไม่สามารถนาข้อมูลน้ีไปเช่ือมโยง กับข้อมูลของฝ่ายบัญชีได้ แต่ถ้าเป็นระบบฐานข้อมูล ก็จะมีข้อมูลท่ีถูกต้องเพียงชุดเดียว และมีการ กาหนดท้งั ชนดิ และความยาวรองพิลดน์ ัน้ ๆ อย่างถกู ต้อง รักษาความคงสภาพของข้อมูล (Improved Data Integrity) เป็นการรักษาความถูกต้อง สอดคล้อง สมเหตุผลของข้อมูล เช่น ยอดเงินตามออเดอร์ที่ขายไปของฝ่ายขายกับฝ่ายบัญชีจะต้อง ตรงกัน เพราะเปน็ ขอ้ มลู ชุดเดยี วกนั ทฝี่ ่ายขายเปน็ คนป้อนเขา้ มา หรอื เลขท่ีน่งั และชื่อผู้โดยสารในระบบ จองต๋ัวออนไลน์ กับในระบบเช็คอินที่สนามบินของสายการบินเดียวกันในเที่ยวบินเดียวกัน จะต้อง ตรงกัน เพราะผู้โดยสารเปน็ คนกรอกข้อมูลเข้ามาเองผ่านเว็บ ไมเ่ ช่นน้ันผู้โดยสารกจ็ ะเดินทางไม่ได้ ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (Shared Data) การจัดเก็บข้อมูลไว้ท่ีเดียวกัน ทาให้แต่ละฝ่ายในองค์กร สามารถเรียกใช้ข้อมูลระหว่างกันได้โดยง่าย เช่น ฝ่ายการเงินเกิดต้องการข้อมูลเกี่ยวกับพนักงานขายที่ ดูแลลูกค้ารายหนึง่ กส็ ามารถเรียกใชไ้ ด้จากฐานข้อมลู เลย ง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล (Easier Access) ฐานข้อมูลช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น เพราะมีกลไก ในการเข้าถึงข้อมูลท่ีเป็นแบบเดียวกัน โดยเฉพาะในระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ท่ีเรียกว่า RDBMS (Relational Database Management Systems - ดูหัวข้อถัดไป) จะมีคาส่ังในการเรียกค้น ข้อมูลเป็นภาษา SQL (Structured Query Language) ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตามที่ต้องการ เช่น การค้น เปลี่ยนแปลงแกไ้ ข เพิ่ม และลบรายการขอ้ มูล เปน็ ตน้ ลดระยะเวลาการพัฒนาระบบงาน (Reduced Development Time) การใช้ฐานข้อมูลที่ทา ให้ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล (Data Redundancy) ลดความขัดแย้งของข้อมูล (Data Integrity) ท่ีได้ นั้น ทาให้ปัญหาในการพัฒนาระบบงานต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนมีน้อยมาก ส่งผลให้นักพัฒนาระบบ ประหยัดเวลาได้มากย่งิ ข้ึน นชุ ากร คงยะฤทธิ์

82 | P a g e บทที่ 5 ข้อมูล การบริหารขอ้ มูล และเทคโนโลยฐี านข้อมลู รูปที่ 5.8 การใชข้ ้อมูลเพื่อการประมวลผลในรูปแบบของระบบฐานข้อมลู ท่ีมา: (หน่วยที่ 1 ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู (ตอ่ ), 2558) นอกจากน้ี ฐานข้อมูลยังช่วยในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล โดยผู้ดูแลระบบสามารถ กาหนดสิทธไิ์ ดว้ ่าให้ผู้ใช้คนใดทาอะไรไดห้ รือไมไ่ ดบ้ ้าง ป้องกนั ผู้ไม่เกีย่ วข้องเขา้ ถึงข้อมูลได้ 5.5 ฐานข้อมูลเชงิ สมั พันธ์ จากท่ีอธิบายมาถึงการเกบ็ ข้อมลู ในคอมพิวเตอร์ เร่ิมจากลักษณะของแฟ้มข้อมลู มาจนถึงฐานข้อมูล จะเป็นการทางานกับข้อมูลในลักษณะที่คล้ายตาราง โดยมีฟิลด์ที่เก็บข้อมูลอย่างเดียวกัน (เช่น ฟิลด์ รหัสประจาตัว, ชื่อสินค้า) ในแต่ละเรคคอร์ดที่เก็บข้อมูลชนิดเดียวกัน (เช่น รายช่ือนักศึกษา, รายการ สินค้า) จึงสามารถรวมกันเป็นแฟ้มท่ีมีลักษณะเหมือนตาราง และจัดเก็บลงในฐานข้อมูลท่ีมีหลาย ๆ แฟ้มได้ โดยแต่ละแฟ้มจะมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกัน เช่น มีตารางรายชื่อนักศึกษา ตารางรายช่ือวิชาที่ เปิดสอน ตารางรายการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา ว่าใครลงวิชาอะไรในภาคเรียนไหนบ้าง ซึ่งใน ตารางลงทะเบยี นนี้จะอ้างอิงถึงรหัสนักศึกษาในตารางรายชื่อ อ้างองิ ถงึ ช่ือวิชาในตารางรายช่ือวชิ า เป็น ต้น เราเรียกฐานข้อมูลท่ี “ เก็บข้อมูลทุกอย่างเป็นตารางซ่ึงมีความสัมพันธ์กัน” นี้ว่า ฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์ หรือ Relational Database และเรียกระบบจัดการฐานข้อมูลแบบน้ีว่า ระบบจัดการ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System หรือ RDBMS) ฐานข้อมูล แบบนเี้ ป็นแบบท่ีใชก้ ันมากทีส่ ุด และพบไดใ้ นงานทวั่ ๆ ไป เช่น บญั ชี ธรุ การ การเงิน การขาย ธนาคาร บริหารการศกึ ษา และอ่ืน ๆ นุชากร คงยะฤทธิ์

บทที่ 5 ข้อมลู การบรหิ ารขอ้ มูล และเทคโนโลยฐี านข้อมูล P a g e | 83 5.5.1 SQL เครื่องมอื คน้ ข้อมูลของ RDBMS ในการจัดการกับข้อมูลของฐานข้อมูลแบบ Relational จะใช้ภาษาหรือชุดคาส่ังท่ีเรียกว่า Structured Query Language (SQL) ซึ่งกาหนดเป็นมาตรฐานมาต้ังแต่ทศวรรษ 1970 ภาษาน้ีจะมี ชุดคาสั่งที่ใช้คาภาษาอังกฤษให้เราป้อนเข้าไปเพื่อเรียกดูข้อมูล แก้ไข เพิ่ม ลบ ตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ เลย และสามารถเรียกใช้จากในโปรแกรมได้ด้วย ทาให้การเขียนโปรแกรมจัดการกับฐานข้อมูลแบบน้ี สะดวกขนึ้ มาก และทาได้แมก้ ระทง่ั บนสมาร์ทโฟน รปู ที่ 5.9 ตวั อยา่ งการใชค้ าสง่ั ภาษา SQL เพ่อื แสดงผลข้อมูลในโปรแกรม Microsoft Access ที่มา: (อาพาภรณ์ ศรีโวหะ, 2556) ตัวอยา่ งคาส่งั ภาษา SQL เช่น SELECT ใช้เลือกข้อมลู ทุกเรคคอร์ดที่ตรงตามเงอ่ื นไขทก่ี าหนดออกมา INSERT ใชเ้ พ่ิมขอ้ มลู ใหมแ่ ทรกเขา้ ไปในฐานข้อมูล UPDATE ใชเ้ ลือกข้อมูลเรคคอรด์ ท่ีตรงตามเง่ือนไข แลว้ แกไ้ ขค่าในฟิลด์ทกี่ าหนด DELETE ใช้เลือกขอ้ มลู เรคคอร์ดทต่ี รงตามเงื่อนไข แลว้ ลบเรคคอร์ดเหลา่ น้ันท้ิง รูปท่ี 5.10 ตัวอยา่ งการใช้ภาษา SQL บนมอื ถือดว้ ยแอป SQL Mobile Developer (บน Android) ท่ีมา: (David Gassner, 2018) นุชากร คงยะฤทธ์ิ

84 | P a g e บทที่ 5 ข้อมูล การบรหิ ารขอ้ มลู และเทคโนโลยีฐานขอ้ มลู 5.5.2 Non-Relational Database และ NoSQL นอกเหนือจากงานท่ีจัดเก็บเป็นตาราง ๆ ท่ีมีความสัมพันธ์ชัดเจนได้ ซึ่งนิยมใช้ Relational database แลว้ ยงั มีฐานขอ้ มูลชนดิ อืน่ ทเ่ี หมาะกบั งานลกั ษณะอืน่ ๆ เชน่ เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์อยา่ ง Facebook, Twitter, Instagram ข้อมลู บนเว็บไซต์อีคอมเมริ ์ซขนาด ใหญ่ ทีร่ วมถงึ การบรรยายคุณสมบัติสินคา้ ด้วยมลั ติมเี ดีย รีวิวสนิ ค้า คอมเมนต์ของลกู คา้ ข้อมูลแผนท่ี และรูปภาพขนาดใหญ่ เช่น Google map และ Google Street view ซ่งึ งานเหล่าน้ี อาจมขี ้อมลู ท่หี ลากหลาย ทง้ั ขอ้ ความ ภาพ เสียง วิดีโอ ไฟล์ขอ้ มูลแนบ เอกสาร แผนที่ ฯลฯ จนกาหนด ความสัมพันธ์แน่นอนในแบบตารางไม่ได้ งานเหล่านี้จึงมักจะใช้ฐานข้อมูลแบบ Non-relational แทน หรือบางทีก็เรียกว่า NoSQL หรือ Not only SQL ซึ่งก็มีหลายรูปแบบย่อยออกไปอีก เช่น แบบเก็บ ข้อมูลเป็นระดับชั้น (Hierarchical Database) แบบเครือข่าย (Network Database) แบบเชิงวัตถุ (Object Database) หรือที่นิยมใช้กันในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ท่ีต้องบันทึกความสัมพันธ์ที่ หลากหลายก็มักใชฐ้ านข้อมูลแบบกราฟ (Graph Database) เป็นหลัก (ในงานหนึ่ง ๆ อาจใช้ฐานขอ้ มลู หลายแบบจัดเก็บข้อมลู คนละส่วนกันได้) ตัวอย่างฐานข้อมูลแบบน้ีก็เช่น MongoDB, CouchDB, Memcached, Amazon DynamoDB, Apache Cassandra และอื่น ๆ อกี มาก ขอ้ ดีของฐานข้อมูลแบบนคี้ ือ สามารถรับมือกบั ผูใ้ ช้จานวนมากระดับหลายร้อยลา้ นหรือพนั ล้านคน พร้อมกัน และข้อมูลปริมาณมหาศาลในรูปแบบต่าง ๆ กันที่หล่ังไหลเข้ามาอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา (หรือที่เรียกกันว่าเป็น Big data) ได้ ด้วยการกระจายงานออกไปที่เซิร์ฟเวอร์หลาย ๆ เคร่ือง (Horizontal Scaling) เช่น เพิ่มจานวนจาก 1 เป็น 10, 100 หรือ 1,000 เคร่ืองหรือมากกว่า แทนท่ีจะ เพ่ิมขนาดของเซิร์ฟเวอรห์ ลักตัวเดียวให้ใหญ่ข้ึนไปเรอื่ ย ๆ แบบเดิม ซ่ึงจะไม่ได้ผลดีในการรองรับการใช้ งานแบบนี้ ข้อเสียของฐานข้อมูลแบบนี้ก็คือ ไม่เหมาะกับงานท่ีเน้นการประมวลผลแบบไล่ไปทีละรายการ (Transaction Processing) เช่น ระบบฝากถอนเงิน ระบบซื้อขายหุ้น ซ่ึงเน้นความถูกต้องตรงกันของ ขอ้ มลู ชุดเดยี ว (Data Integrity) ตลอดเวลา เพราะข้อจากัดทม่ี ีการกระจายฐานข้อมูลไปหลาย ๆ เครื่อง เป็นจานวนมากทาให้ไม่สามารถควบคุมให้ข้อมูลทุกเคร่ืองตรงกันเสมอไปได้ แต่ข้อมูลของระบบน้ีก็จะ ถกู ต้องตรงกันในทสี่ ดุ เมื่อปลอ่ ยเวลาใหผ้ ่านไปจนทุกเซิรฟ์ เวอรส์ ามารถปรับ (Sync) ข้อมูลใหต้ รงกันได้ 5.6 ฐานข้อมลู การเก็บข้อมูลภายในองค์กรทุกองค์กร จะเป็นลักษณะตารางข้อมูลท่ีแต่ละแผนกต่างก็เก็บข้อมูล เดียวกัน ที่ซ้าหรือเหมือนกันหลาย ๆ แผนก เช่น ข้อมูลของลูกค้าอาจพบได้ในตารางข้อมูลของแผนก การขาย แผนกการเงิน หรืออาจจะอยู่ที่แผนกสินเช่ือ ข้อมูลท่ีมีซ้า ๆ กันหลายแผนกนี้เรียกว่า ข้อมูล ซ้าซ้อน (Redundancy) ซึ่งจะมีปัญหาอย่างหน่ึง คือ ถ้าหากลูกค้าย้ายท่ีอยู่ ข้อมูลอาจไม่ได้แก้ไขให้ เหมอื นกันทกุ ๆ แผนกจะทาใหเ้ กิดปญั หาได้ เชน่ ในกรณีท่ีลูกค้าเกา่ สั่งซ้ือสนิ ค้า แผนกการขายสามารถ จัดส่งสินค้าส่งไปท่ีอยู่ใหม่ได้ถูกต้อง แต่ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงินจากแผนกการเงินส่งไปยังท่ีอยู่เก่า เหตกุ ารณอ์ ยา่ งนเ้ี รียกว่า ความไม่สอดคล้องของข้อมูล (Data Integrity) นอกจากนี้ การเกบ็ ขอ้ มูลอยู่หลาย ๆ แผนกแบบน้จี ะไม่สามารถใช้ประโยชนไ์ ด้เต็มท่ี เช่น ในกรณที ่ี แผนกส่งเสริมการขาย จะจัดรายการส่งเสริมการขายไปยังลูกค้าช้ันดีที่ซ้ือสินค้าจานวนมาก ๆ ก็ไม่ นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ

บทที่ 5 ข้อมูล การบรหิ ารขอ้ มลู และเทคโนโลยีฐานขอ้ มูล P a g e | 85 สามารถจะทาได้เพราะว่า ไม่สามารถเห็นข้อมูลลูกค้าชั้นดีเหล่าน้ันได้ เพราะข้อมูลเหล่าน้ันอยู่ที่แผนก การเงิน ดงั น้ัน การนาข้อมูลไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด องค์กรจะต้องเก็บข้อมูลทุกอย่างเอาไว้เป็นฐานข้อมูล กลาง เพ่ือใชง้ านร่วมกัน แลว้ นาฐานขอ้ มลู เหลา่ นั้นมาประมวลผลใหไ้ ดส้ ารสนเทศ เพือ่ ใช้ในการตัดสินใจ ภายในองคก์ รต่อไป 5.6.1 ความจา้ เปน็ ในการใช้ฐานขอ้ มลู การใช้งานฐานขอ้ มูลภายในองค์กร มีประโยชนด์ งั ตอ่ ไปน้ี การใช้ข้อมูลร่วมกัน การใช้ข้อมูลร่วมกันภายในองค์กรทาได้ง่าย ๆ เช่น แผนกบัญชี ควรให้แผนก การตลาดทราบวา่ ลูกคา้ คนใดที่ซอ้ื สินคา้ เปน็ จานวนมากบ้าง การรักษาความมั่นคง ผู้ใช้ฐานข้อมูลแต่ละแผนกจะมีรหัสผ่านเพื่อไปจัดการข้อมูลตามหน้าท่ีของ แตล่ ะแผนก เชน่ แผนกบัญชีสามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมลู เงินเดือนของพนกั งานได้ทุก ๆ คนแตแ่ ผนก อน่ื ๆ ไม่สามารถจะทาแบบนั้นได้ ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล ในกรณีไม่ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน แต่ละแผนกต่างก็จัดเก็บรายช่ือ ท่ีอยู่ ของลูกค้าภายในแผนกของตนเอง จะเกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลข้ึนมา เช่น ท่ีอยู่ของลูกค้าคนเดียวกัน จะกระจายอยู่ทุกแผนก ข้อมลู ท่ีซ้ากันทาใหข้ าดประสิทธิภาพในการใช้พนื้ ท่จี ัดเก็บข้อมลู และเกดิ ปญั หา ในการปรับปรงุ ข้อมลู อีกด้วย ความสอดคล้องของข้อมูล การเก็บข้อมูลไว้หลาย ๆ แผนก ซึ่งแต่ละแผนกต่างก็มีโอกาสเกิดตัวผัน แปรเกดิ ขนึ้ เช่น ในกรณกี ารเปลีย่ นแปลงข้อมูลลูกค้าในแผนกหน่งึ ๆ แตไ่ ม่ได้เปลีย่ นแปลง ข้อมูลลูกค้า คนนน้ั ในแผนกอืน่ ๆ อาจทาใหเ้ ขา้ ใจผดิ วา่ เป็นลูกค้าอกี คนหนึง่ ได้ 5.6.2 การจัดการฐานขอ้ มลู ในการสร้างฐานข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูล จาเป็นต้องใช้ซอฟต์แวร์เฉพาะด้านมา ใช้งาน เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) หรือ มีคายอ่ วา่ DBMS ระบบจดั การฐานขอ้ มูล เช่น Microsoft Access ได้ออกแบบมาเพ่ือใชก้ ับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ นอกจากน้ียังมีระบบจัดการฐานข้อมูลอ่ืน ๆ ท่ีออกแบบมาเพ่ือใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูล นชุ ากร คงยะฤทธ์ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook