Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนประจำปีงบประมาณ2562

แผนประจำปีงบประมาณ2562

Published by Aisara Deemak, 2020-04-23 23:33:03

Description: แผนประจำปีงบประมาณ2562

Search

Read the Text Version

4. วธิ กี ารดาเนินงาน (ต่อ) ระยะเวลาดาเนินงาน ผู้รับผดิ ชอบ นายธีรศักดิ์ สบื สตุ นิ ที่ กิจกรรม/ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน ม.ค. 2562 น.ส.สวุ าริณี โยยานะ 4 กิจกรรมท่ี 4 การส่งเสริมทักษะวิชาการ ม.ค. 2562 ม.ค. – ก.ย. 2562 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวติ ข้นั ตอนการดาเนินงาน ก.ย. 2562 4.1 แต่งตัง้ คณะกรรมการ 4.2 ประชุมคณะกรรมการ ก.พ. 2562 4.3 จัดสรรงบประมาณเพื่อสง่ เสริมทักษะวิชาการ ก.พ. 2562 ทักษะวชิ าชีพ และทักษะชีวิต ใหก้ บั โรงเรียน ก.พ. – ก.ย. 2562 พื้นที่สงู ในถน่ิ ทรุ กันดาร ก.ย. 2562 1.4 สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งาน 5 กจิ กรรมที่ 5 การส่งเสริมการมีส่วนรว่ ม โรงเรียนพนื้ ที่สงู ในถน่ิ ทุรกนั ดาร ข้นั ตอนการดาเนินงาน 5.1 แต่งตงั้ คณะกรรมการ 5.2 ประชุมคณะกรรมการ 5.3 จัดสรรงบประมาณเพอ่ื ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ ม โรงเรยี นพืน้ ที่สูงในถน่ิ ทุรกันดาร 5.4 สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งาน 5. ระยะเวลาและสถานท่ดี าเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนนิ การ ตลุ าคม 2561 – กันยายน 2562 5.2 สถานท่ีดาเนนิ การ - สถานท่ีจดั อบรมในจงั หวดั ลาปาง - หอ้ งประชุม สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3

6. งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 1,415,000 บาท - งบประมาณจากสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จานวน 140,000 บาท - งบประมาณจากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน จานวน 1,275,000 บาท 6.2 รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ กิจกรรม งบประมาณ กิจกรรมท่ี 1 การจัดทาแผนและฐานข้อมูลโรงเรียนพนื้ ทส่ี ูงในถ่นิ ทรุ กนั ดาร ค่าใชจ้ ่าย (100,000) 1.1 ค่าอาหารกลางวนั ผู้เขา้ ประชมุ และคณะกรรมการ รวม 40 คน 2 มือ้ ๆ ละ 250 บาท 20,000 1.2 ค่าอาหารเย็นผูเ้ ขา้ ประชุมและคณะกรรมการ รวม 40 คน 1 มื้อ ๆ ละ 300 บาท 12,000 1.3 ค่าอาหารวา่ งพรอ้ มเครื่องดมื่ ผ้เู ขา้ ประชุมและคณะกรรมการ รวม 40 คน 4 ม้ือ 8,000 มอ้ื ละ 50 บาท 1.4 ค่าทพี่ ักผเู้ ขา้ ประชมุ และคณะกรรมการ รวม 40 คน 1 คนื ๆ ละ 600 บาท 24,000 1.5 ค่าวัสดปุ ระกอบใช้ในการประชุม เชน่ กระดาษเอ 4 , หมกึ พิมพ์ ฯลฯ 2,000 1.6 ค่าเอกสารประกอบการประชุม จานวน 40 ชุด ๆ ละ 100 บาท 4,000 1.7 ค่าวทิ ยากรและคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางของวทิ ยากร 10,000 1.8 สนบั สนนุ งบประมาณให้กบั โรงเรียนเพื่อการจดั เวทีแสดงผลงาน 20,000 กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาคณุ ภาพโรงเรียนพ้ืนท่ียากลาบาก และโรงเรียนพื้นทส่ี งู (40,000) ในถ่นิ ทรุ กนั ดาร คา่ ใช้จ่าย 10,000 2.1 ค่าดาเนนิ การพัฒนางานดา้ นวิชาการ 10,000 2.2 คา่ ดาเนินการพัฒนางานด้านงบประมาณ 10,000 2.3 คา่ ดาเนินการพัฒนางานด้านการบรหิ ารงานบุคคล 10,000 2.4 ค่าดาเนนิ การพัฒนางานด้านการบรหิ ารงานท่วั ไป กิจกรรมท่ี 3 การบริหารจัดการโรงเรียนพื้นทสี่ ูงในถ่นิ ทุรกันดาร (225,000) คา่ ใชจ้ า่ ย 225,000 3.1 จดั สรรงบประมาณเพื่อเป็นคา่ ดาเนนิ การบริหารจดั การโรงเรียนพืน้ ทส่ี ูง ในถิน่ ทุรกันดาร จานวน 30 โรงเรยี น ๆ ละ 7,500 บาท (750,000) กิจกรรมที่ 4 การส่งเสริมทักษะวิชาการ ทกั ษะวิชาชีพ และทักษะชีวติ ค่าใช้จ่าย 750,000 4.1 จดั สรรงบประมาณสาหรับการส่งเสริมทักษะวิชาการ ทักษะวชิ าชีพ และทักษะชีวติ ให้กบั โรงเรียนพน้ื ทีส่ งู ในถิน่ ทุรกนั ดาร จานวน 30 โรงเรียน ๆ ละ 25,000 บาท

6. งบประมาณ (ตอ่ ) งบประมาณ (300,000) กิจกรรม กิจกรรมที่ 5 การส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มโรงเรียนพื้นทสี่ ูงในถน่ิ ทรุ กันดาร 300,000 คา่ ใช้จ่าย 5.1 จัดสรรงบประมาณสาหรับการรว่ มงานแสดงผลงานระดบั ประเทศให้กับโรงเรยี น 1,415,000 พน้ื ท่ีสงู ในถิ่นทุรกนั ดาร จานวน 30 โรงเรียน ๆ ละ 10,000 รวม หมายเหตุ สามารถถวั จา่ ยได้ทุกรายการ 7. การวเิ คราะหค์ วามเสี่ยงของโครงการ 7.1 ปจั จยั ความเส่ยี ง - ขาดการดาเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่ือง - ขาดการตรวจสอบขอ้ มลู ท่ถี กู ต้องก่อนบนั ทึกในโปรแกรม - มีการเปลยี่ นแปลงบคุ ลากรผ้รู บั ผดิ ชอบบอ่ ยครง้ั ทาให้ขาดความต่อเนือ่ งในการปฏบิ ตั ิงาน 7.2 แนวทางการบริหารความเส่ียง - กากับ ติดตามการดาเนนิ งานอย่างสมา่ เสมอ และตอ่ เน่ือง - แจง้ ใหโ้ รงเรียนตรวจสอบขอ้ มูลก่อนการบนั ทกึ ในโปรกรม - กาหนดบคุ ลากรทาหนา้ ท่แี ทน ในกรณีบคุ ลากรผู้รับผดิ ชอบหลักไมส่ ามารถปฏิบัตงิ านได้ - จดั ทาเอกสารคมู่ ือการดาเนินงานมอบให้กับโรงเรียน 8. ตัวช้ีวดั และคา่ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั ค่าเปา้ หมาย - รอ้ ยละของการจดั ทาแผนและฐานข้อมลู โรงเรยี นพ้ืนท่ีสงู ในถน่ิ ทรุ กันดาร รอ้ ยละ 100 - รอ้ ยละของโรงเรียนพ้ืนที่สงู ในถ่ินทุรกนั ดารท่จี ัดเวทีแสดงผลงาน ร้อยละ 100 เพ่อื การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ - ร้อยละของโรงเรียนที่ได้รับการสนบั สนุนงบประมาณเพ่ือยกระดบั และ ร้อยละ 100 พฒั นาคุณภาพการศึกษา 9. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 โรงเรียนพื้นท่ียากลาบาก และ โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร สามารถวางแผนและจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ทาใหผ้ ู้เรยี น ได้รับโอกาสทางการศกึ ษาตามสภาพและบริบทของโรงเรียนไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

 กลยุทธ์ท่ี 2 เร่งรดั การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนให้มคี วามรู้ความสามารถ และเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั 

โครงการ พัฒนาการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวยั หน่วยงานรบั ผดิ ชอบโครงการ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางกนิษฐา สวยสด ลักษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ตอ่ เนือ่ ง ระยะเวลาดาเนนิ การ พฤศจิกายน 2561 – กันยายน 2562 สอดคลอ้ งกบั นโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรียน สอดคลอ้ งกับกลยุทธ์ สพป. กลยทุ ธท์ ่ี 2 เรง่ รดั การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นให้มีความรู้ความสามารถ และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขัน 1. หลักการและเหตุผล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดให้สถานศึกษาใช้หลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยพุทธศักราช 2560 เป็นหลักสูตรสาหรับสถานศึกษาในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย เพ่ือให้เด็ก ปฐมวัยได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปญั ญาอย่างเต็มตามศักยภาพ มีความพร้อม ท่ีจะเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และร่วมกับมูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไดจ้ ัดทาโครงการ \"บา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” มาตงั้ แตป่ ีการศกึ ษา 2554 - 2561 จานวน 8 รุ่น โดยในปีงบประมาณนี้มีนโยบายให้ทุกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ เพ่ือเป็นแนวทางในการ พัฒนาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยมีเป้าหมายในการปลูกฝังให้เด็ก ๆ มีเจตคติท่ีดี ต่อวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ และเทคโนโลยีด้วยกิจกรรมท่ีสร้างความสนุก ความเพลิดเพลิน ความสนใจใคร่รู้และ ความกระตือรือร้น ฝึกทักษะการสังเกต รู้จักตั้งคาถามและหาคาตอบด้วยตนเอง เพ่ือเตรียมความพร้อมให้เด็ก ปฐมวยั เหลา่ น้เี ติบโตข้ึนเป็นนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร หรอื เป็นทรพั ยากรบุคคลท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์และมีความรู้ ทางวิทยาศาสตรท์ ี่จะขบั เคล่ือนเศรษฐกิจและสงั คมไทยให้เจรญิ กา้ วหน้าต่อไป ปจั จบุ นั โรงเรียนในสังกดั ทเ่ี ปิดสอนระดับปฐมวัยทุกโรงเรียนจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ตาม หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ทั้งน้ีในปีงบประมาณที่ผ่านมาได้พัฒนาครู เรื่องการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรไู้ ปแล้ว และผลจาก การรวมโรงเรียนขนาดเล็กทาใหท้ ุกโรงเรียนเขา้ ร่วมโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย โดยการทา กิจกรรมร่วมกบั โรงเรยี นหลัก กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 จึงดาเนนิ การนิเทศ ตดิ ตาม แลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละนาเสนอผลงานวธิ ีปฏบิ ัตทิ ี่ดีการ ใช้หลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การดาเนินงาน โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย และประเมนิ โรงเรียนในโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย เพอื่ ให้ครู มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนระดับปฐมวัยตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวยั ได้อยา่ งมคี ุณภาพและประสิทธิภาพต่อไป

2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื พัฒนาครผู ู้สอนระดับปฐมวยั ใหส้ ามารถจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 โดยการนิเทศ 2.2 เพ่ือพฒั นาครผู ู้สอนระดับปฐมวัยใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจ และสามารถจัดกจิ กรรมการ เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์สาหรบั เด็กปฐมวยั ได้โดยการนิเทศ 2.3 เพ่ือให้ครูผูส้ อนระดับปฐมวัยมเี วทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้และการ จดั กจิ กรรมบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อยระดับการศึกษาปฐมวัย 3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ (1) ครผู สู้ อนระดบั ปฐมวัยทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาโดยการนิเทศ เรอ่ื ง การจดั การเรยี นรู้ตาม หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 (2) ครผู ้สู อนปฐมวัยระดบั ชน้ั อนบุ าล 3 ทกุ คนได้รับการพัฒนาโดยการนเิ ทศ เรื่อง การจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์สาหรบั เด็กปฐมวยั (3) ครูผสู้ อนระดับปฐมวยั ทกุ คน ได้แลกเปลีย่ นเรียนรู้การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และ การจัดกิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อยระดับการศึกษาปฐมวัย (4) โรงเรยี นในโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยรุ่น 3 และ 7 และโรงเรยี นท่ี ยงั ไม่ไดข้ อประเมินขอรบั ป้ายโครงการ ได้รับการประเมิน 3.2 เชงิ คุณภาพ (1) ครูผู้สอนระดับปฐมวยั สามารถจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 และกิจกรรมบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อยระดบั การศึกษาปฐมวยั ได้ (2) นักเรยี นได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา 4. วิธีการดาเนนิ งาน ท่ี กจิ กรรม/ขน้ั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผรู้ ับผดิ ชอบ 1 กจิ กรรมที่ 1 นเิ ทศการใช้หลักสตู รสถานศกึ ษา พ.ย. 2561 – ก.ย. 2562 นางกนิษฐา สวยสด การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ การวัดและ ประเมินผลการเรยี นรู้ และการดาเนนิ งาน โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 1.1 ประชุมวางแผนการนิเทศ 1.2 สร้างเคร่ืองมอื นิเทศ 1.3 นเิ ทศ ตดิ ตาม 1.4 สรุปผลการนเิ ทศ

4. วธิ กี ารดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผรู้ ับผิดชอบ ม.ี ค. 2562 นางกนษิ ฐา สวยสด ที่ กิจกรรม/ขนั้ ตอนการดาเนินงาน กจิ กรรมท่ี 2 กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้และ ม.ค. – ม.ี ค. 2562 นาเสนอผลงานวิธปี ฏิบัติทดี่ ี ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 2.1 ประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งาน 2.2 จดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละนาเสนอ ผลงานวธิ ีปฏิบัตทิ ี่ 2.3 ประเมินผลการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 ประเมินโรงเรียนในโครงการ บ้านนกั วิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย เพ่ือขอรับ ปา้ ยโครงการ ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 1.1 ประเมนิ โรงเรยี นในโครงการ บา้ นนักวทิ ยาศาสตร์ ประเทศไทย 1.2 สรุปผลการประเมนิ 5. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนนิ การ พฤศจิกายน 2561 – กนั ยายน 2562 5.2 สถานทีด่ าเนนิ การ - ห้องประชมุ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 25,000 บาท (1,000) 6.2 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ 1,000 กจิ กรรม กจิ กรรมที่ 1 นเิ ทศการใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ และการดาเนินงานโครงการ บ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย คา่ ใช้จ่าย - ค่าเอกสารการนิเทศ จานวน 100 ชดุ

6. งบประมาณ (ตอ่ ) งบประมาณ (17,000) กจิ กรรม กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละนาเสนอผลงานวธิ ีปฏิบตั ทิ ่ดี ี 13,000 คา่ ใชจ้ ่าย 2.1 คา่ อาหารกลางวนั และเครอื่ งดื่ม จานวน 100 คน ๆ ละ 130 บาท 3,300 จานวน 1 วัน 700 2.2 ค่าวัสดุ เชน่ กระดาษเกียรติบัตร กรอบเกยี รตบิ ตั ร กระดาษปรุ๊ฟ เปน็ ต้น 2.3 คา่ ปา้ ยกจิ กรรม (7,000) กิจกรรมท่ี 3 ประเมินโรงเรียนในโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์ ประเทศไทย เพ่อื ขอรับป้ายโครงการ 7,000 - คา่ อาหาร อาหารว่างและเครอื่ งดมื่ 25,000 รวม หมายเหตุ สามารถถัวจา่ ยไดท้ กุ รายการ 7. การวเิ คราะหค์ วามเสี่ยงของโครงการ 7.1 ปจั จัยความเสีย่ ง - ครูผู้สอนระดบั ปฐมวยั ไมไ่ ดร้ ับการนเิ ทศครบทกุ คน จะทาให้การจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้ไมเ่ กิดประสทิ ธภิ าพสูงสุด 7.2 แนวทางการบริหารความเสย่ี ง - สรา้ งเครอื ข่ายการนเิ ทศ บูรณาการกับการนเิ ทศอื่นๆ และส่งเสรมิ การนิเทศภายใน สถานศึกษา 8. ตวั ช้ีวัดและค่าเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 90 ตวั ช้ีวดั - รอ้ ยละของครูผ้สู อบระดบั ปฐมวยั ที่ได้รับการนเิ ทศและสามารถจดั ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 90 ประสบการณ์จดั การเรียนรูไ้ ดต้ ามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ร้อยละ 100 พทุ ธศักราชการ 2560 ได้ - รอ้ ยละของครูผู้สอนระดับปฐมวยั ท่ีไดร้ ับการนเิ ทศและสามารถจัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 กิจกรรมบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยได้ - รอ้ ยละของนักเรยี นปฐมวยั ท่ไี ด้รับการสง่ เสริมพฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ-์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา - โรงเรียนผา่ นการประเมนิ และเข้ารบั ตราพระราชทาน

9. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 9.1 ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวทาง การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย 9.2 ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรบั เด็กปฐมวยั ได้อยา่ งมคี ุณภาพ 9.3 นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และ ได้รับการปลูกฝังเตรียมความพร้อมให้มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

โครงการ พฒั นาระบบการวัด และประเมินคณุ ภาพผู้เรียนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางกนิษฐา สวยสด ลักษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ต่อเนอื่ ง ระยะเวลาดาเนินการ พฤศจิกายน 2561 – กันยายน 2562 สอดคลอ้ งกับนโยบาย สพฐ. นโยบายท่ี 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องกับกลยุทธ์ สพป. กลยทุ ธ์ท่ี 2 เร่งรัดการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนให้มคี วามร้คู วามสามารถ และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน 1. หลักการและเหตุผล จุดมุ่งหมายและหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข เพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ตามความในมาตรา 6 ท่ีว่า การจัดการศึกษาต้องเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนด ให้ใช้ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการตัดสิน ผลการเรียนของผู้เรียนท่ีจบการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) การจัดกิจกรรมเสริมเพ่ือพัฒนาศักยภาพนักเรียน ด้านการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์โดยใช้องค์ความรู้จากผลการทดสอบ PISA กอปรกับสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานประกาศ เร่ือง แนวทางการใช้ข้อสอบในการสอบปลายปีของผู้เรียน ท่ีกาหนดให้ข้อสอบ ปลายปี เป็นข้อสอบที่วัดความคิดข้ันสูงมีกรอบโครงสร้างข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของ หลกั สูตร และมกี ระบวนการสรา้ งทไ่ี ดม้ าตรฐาน และมขี ้อสอบแบบเขียนตอบรว่ มด้วย สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ได้ดาเนินการพัฒนาระบบการวัด และประเมินคุณภาพผูเ้ รียนเพื่อยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นให้กบั ทกุ โรงเรยี นอย่างตอ่ เนื่อง พัฒนาครูด้าน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ตลอดจน รายงานผลการประเมนิ โดยใชร้ ะบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จึงดาเนินการยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ NT, O-NET และการประเมิน ระดับนานาชาติ PISA จัดทาข้อสอบปลายปีระดับสานักงานเขตพื้นท่ี และประชุมครูด้านการวัดและ ประเมินผล การเรียนรู้ ตามโครงการพัฒนาระบบการวัด และประเมินคุณภาพผู้เรียนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน และตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 พรอ้ มรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ และการประเมินระดับนานาชาติ PISA ตอ่ ไป

2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพื่อยกผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) และการทดสอบความสามารถ พ้ืนฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) 2.2 เพ่ือจัดทาข้อสอบปลายปีระดับสานักงานเขตพนื้ ท่ี 2.3 เพือ่ พฒั นาครดู ้านการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั แนว ปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 2.4 พฒั นาโรงเรียนให้มีความพร้อมในการประเมนิ ระดับนานาชาติ PiSA 3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปริมาณ (1) คะแนนผลการทดสอบระดับชาติ เพิม่ ข้ึนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 3 (2) นกั เรยี นที่มคี ะแนนผลการทดสอบระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) มากกวา่ ร้อยละ 50 เพม่ิ ข้ึนเม่ือเปรียบเทียบกับปกี ารศึกษาท่ผี า่ นมา (3) มขี ้อสอบปลายปรี ะดับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ช้ัน ป.1 – ม.3 จานวน 8 กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ (4) พัฒนาครูด้านการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ จานวน 92 โรงเรียน (5) โรงเรียนทเี่ ปิดสอนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นมีความพร้อมในการประเมินระดบั นานาชาติ PISA จานวน 11 โรงเรยี น 3.2 เชงิ คุณภาพ (1) นกั เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐาน และตัวชวี้ ัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (2) โรงเรียนใช้ขอ้ สอบปลายปที ่มี ีคุณภาพวัดการคิดข้นั สงู (3) ครวู ัดผลของสถานศึกษามคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมินผล การเรียนร้หู ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (4) สถานศึกษาวัดและประเมินผลตามมาตรฐาน และตวั ช้ีวดั ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (5) โรงเรียนทีเ่ ปดิ สอบระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ มีความพร้อมในการประเมนิ ระดบั นานาชาติ PISA

4. วธิ ีการดาเนนิ งาน ที่ กจิ กรรม/ขน้ั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผรู้ ับผิดชอบ 1 กจิ กรรมที่ 1 ยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ พ.ย. 2561 – ส.ค. 2562 นางกนิษฐา สวยสด NT, O-NET และการประเมินระดบั นานาชาติ PISA ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1.1 ประชุมวางแผนการดาเนินงาน 1.2 สรา้ งความตระหนัก ประชาสัมพันธ์การ ทดสอบระดบั ชาติ NT,O-NET และการประเมิน ระดบั นานาชาติ PISA 1.3 จดั สอบ Pre O-NET 1.4 ถอดบทเรยี นและเชดิ ชูเกียรติโรงเรียนที่ ประสบความสาเรจ็ 1.5 นิเทศ ติดตาม กจิ กรรมที่ 2 จดั ทาข้อสอบปลายปีระดบั ธ.ค. 2561 – ม.ี ค. 2562 สานกั งานเขตพนื้ ท่ี ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 2.1 ประชมุ คณะกรรมการดาเนินงาน 2.2 จัดทาขอ้ สอบปลายปีระดบั สานักงานเขตพ้ืนที่ 2.3 นิเทศ ติดตามการใช้ข้อสอบปลายปี กิจกรรมที่ 3 ประชมุ ครดู ้านการวัดและ ก.พ. 2562 ประเมินผลการเรยี นรู้ ขั้นตอนการดาเนนิ งาน 3.1 ประชุมวางแผนการดาเนินงาน 3.2 ประชุมครูด้านการวดั และประเมนิ ผล การเรียนรู้ 3.3 นเิ ทศ ตดิ ตาม กจิ กรรมที่ 4 นเิ ทศ ติดตาม การวัดและ พ.ย. 2561 – ก.ย. 2562 ประเมินผลการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 4.1 วางแผนการนเิ ทศ 4.2 จดั ทาเคร่อื งมือนเิ ทศ 4.3 นเิ ทศ ติดตาม 4.4 ประเมินผลการนเิ ทศ สรุป และจัดทา รายงานการนิเทศ

5. ระยะเวลาและสถานทีด่ าเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ พฤศจิกายน 2561 – กนั ยายน 2562 5.2 สถานท่ีดาเนนิ การ - ห้องประชุม สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 100,000 บาท (63,100) 6.2 รายละเอียดการใช้งบประมาณ 2,000 กิจกรรม 55,100 กจิ กรรมที่ 1 ยกระดบั ผลการทดสอบระดับชาติ NT,O-NET และการประเมนิ ระดับนานาชาติ PISA 6,000 คา่ ใช้จ่าย (13,500) 1.1 ค่าป้าย countdown การสอบ NT, O-NET 1.2 จดั สรรงบประมาณใหก้ ลุ่มเครือข่ายโรงเรยี นจัดทาขอ้ สอบ Pre O-NET สาหรบั 11,700 นกั เรยี นช้นั ป.6 และ ม.3 จานวน 1,060 คนๆ จานวน 4 ชุดๆ ละ 13 บาท 1.3 คา่ วสั ดุ เช่น กรอบเกยี รติบตั ร กระดาษเกียรตบิ ตั ร หมึกเคร่ืองพิมพ์ เป็นต้น 1,800 กิจกรรมท่ี 2 กจิ กรรมประชุมครูด้านการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (23,400) ค่าใชจ้ ่าย 2.1 คา่ อาหาร อาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืมผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ จานวน 90 คน ๆ ละ 1 วนั 3,900 วนั ละ 130 บาท 2.2 ค่าเอกสารการประชมุ จานวน 90 ชุดๆ ละ 20 บาท 19,500 กิจกรรมที่ 3 จัดทาข้อสอบปลายปรี ะดับสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ค่าใชจ้ า่ ย 100,000 3.1 ค่าอาหาร อาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม คณะกรรมการดาเนินงาน จานวน 15 คนๆ ละ 2 วนั ๆ ละ 130 บาท 3.2 คา่ อาหาร อาหารวา่ งและเครอื่ งด่ืมผู้เข้าร่วมประชมุ จานวน 75 คนๆ ละ 2 วนั วันละ 130 บาท รวม หมายเหตุ สามารถถัวจา่ ยไดท้ ุกรายการ 7. การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ 7.1 ปจั จัยความเสย่ี ง - โรงเรียนไม่สามารถสรา้ งขอ้ สอบปลายปที มี่ ีคณุ ภาพได้ทุกชนั้ และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เนอื่ งจากสว่ นใหญ่เป็นโรงเรียนขนาดเลก็ ครไู มค่ รบช้นั และสอนมากกวา่ 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ 7.2 แนวทางการบริหารความเสี่ยง - จดั ทาข้อสอบปลายปรี ะดับสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา

8. ตัวช้ีวัดและคา่ เป้าหมาย ค่าเป้าหมาย เพมิ่ ขึ้นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 3 ตวั ช้วี ดั เพิ่มขนึ้ เมือ่ เปรียบเทยี บกับ - ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนจากการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) - จานวนนกั เรียนท่ีมคี ะแนนผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2560 มากกวา่ ร้อยละ 50 เมือ่ เปรยี บเทียบกบั ปีการศกึ ษาทีผ่ า่ นมา ร้อยละ 100 - รอ้ ยละของสถานศึกษาวัดและประเมินผลตามมาตรฐาน และตวั ชี้วัดของ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ร้อยละ 80 - รอ้ ยละของครวู ดั ผลของสถานศึกษามคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับแนว ปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้หลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ร้อยละ 80 ขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2521 - โรงเรียนที่เปดิ สอนระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มคี วามพร้อมในการประเมิน ระดับนานาชาติ PISA 9. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 9.1 นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก การทดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) เพิ่มขน้ึ อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 3 9.2 นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน และตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 9.3 โรงเรียนทีเ่ ปดิ สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความพร้อมในการประเมินระดบั นานาชาติ PISA

โครงการ พัฒนาการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ใิ นการทดสอบความสามารถข้นั พืน้ ฐาน ของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) หน่วยงานรับผดิ ชอบโครงการ กล่มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางกนิษฐา สวยสด และ นางสาวบรู ณี ภักดีณรงค์ ลกั ษณะโครงการ ( / ) ใหม่ ( ) ตอ่ เนื่อง ระยะเวลาดาเนินการ มิถนุ ายน – สงิ หาคม 2562 สอดคล้องกบั นโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น สอดคลอ้ งกบั กลยทุ ธ์ สพป. กลยทุ ธท์ ี่ 2 เร่งรัดการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนให้มีความรคู้ วามสามารถ และเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 1. หลักการและเหตผุ ล สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ไดก้ าหนดให้มีการประเมินคณุ ภาพการศึกษา ข้ันพื้นฐานเพ่ือการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) โดยจะประเมินความสามารถท่ีตกผลึก (Crystallization) จากการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานใน 3 ด้าน คือ ด้านภาษา (Literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning abilities) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน โดยมี การปรบั เปลยี่ นรปู แบบการวัดและประเมินคุณภาพผูเ้ รยี นหลายประการ ประกอบดว้ ย การปรบั เปล่ยี นกรอบ การประเมินคุณภาพผู้เรียนเป็นการประเมินสมรรถนะพ้ืนฐานที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงได้แก่ การรู้เร่ือง การอ่าน (Reading Literacy) และการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematic Literacy) ซึ่งทุกโรงเรียนในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถแก้ปัญหาและ พัฒนานักเรียนที่ยังอ่านและเขียนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจนเพ่ือ พัฒนายกระดับผลสัมฤทธ์ิการเรียนภาษาไทยให้เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูล สาคัญที่สะท้อนคุณภาพการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จาเป็นต้องมีข้อมูล ผลการเรียนรู้ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาในการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน และเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานในภาพรวม เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกาหนดนโยบาย กาหนดยุทธศาสตร์ แผนการศึกษาของชาติ ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับสถานศกึ ษา ในการประเมินคร้ังน้ีจะมีแบบทดสอบด้านภาษา (Literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และ ด้านเหตุผล (Reasoning abilities) ซึ่งประกอบดว้ ยขอ้ สอบแบบเลือกตอบ และเขยี นตอบ โดยโรงเรียนจะตอ้ ง เตรียมความพร้อมและสอนเสริมเพื่อเตรียมตัวผู้เรียนในการเข้ารับการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) และเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนสามารถทาข้อสอบแนว PISA ดังนั้น สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 มีนโยบายในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทกุ ระดับช้นั จึงไดจ้ ัดทาโครงการส่งเสริมการเตรียมความพร้อมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในการประเมนิ คุณภาพ การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเพอ่ื การประกันคณุ ภาพผู้เรยี น (NT)

2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนได้มีการเตรียมความพร้อม เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ในการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานเพื่อการประกนั คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) 2.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนนุ ให้โรงเรยี นได้มีการเตรียมความพร้อม ในการประเมินข้อสอบแนว PISA 3. เปา้ หมาย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ (1) โรงเรียนในสังกดั มีการเตรยี มความพรอ้ ม เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิในการประเมนิ คุณภาพ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานเพอื่ การประกันคณุ ภาพผูเ้ รียน (NT) จานวน 93 โรง (2) โรงเรียนในสังกัดได้มีการเตรยี มความพรอ้ มในการประเมนิ ขอ้ สอบแนว PISA จานวน 93 โรง 3.2 เชิงคุณภาพ (1) โรงเรียนมีการพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ในการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพอื่ การประกันคุณภาพผู้เรยี น (NT) (2) โรงเรียนในสงั กัดไดม้ ีการเตรยี มความพรอ้ มในการประเมนิ ขอ้ สอบแนว PISA จานวน 93 โรง 4. วธิ ีการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผ้รู บั ผิดชอบ มิ.ย.2562 นางกนิษฐา สวยสด ที่ กจิ กรรม/ขั้นตอนการดาเนนิ งาน 1 กจิ กรรมท่ี 1 การส่งเสริมการเตรียมความพร้อม ก.ค. – ส.ค.2562 นางสาวบรู ณี ภกั ดณี รงค์ เพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิในการประเมินคุณภาพ ผู้เรียน (NT) ขั้นตอนการดาเนนิ งาน 1.1 ขออนุมตั ดิ าเนนิ การตามโครงการกิจกรรม 1.2 ทาหนงั สอื เชิญวทิ ยากรและแจง้ กาหนดการ แกผ่ ู้เขา้ รว่ มอบรม 1.3 เตรยี มเอกสารประกอบการอบรม 1.4 ดาเนินการอบรม 1.5 สรปุ และรายงานผล กจิ กรรมท่ี 2 การนเิ ทศ ตดิ ตาม 5. ระยะเวลาและสถานทีด่ าเนินการ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ มิถุนายน 2562 5.2 สถานที่ดาเนนิ การ - ห้องประชมุ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3

6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 40,500 บาท (40,500) 6.2 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ 14,400 กจิ กรรม 1,600 กิจกรรมท่ี 1 การสง่ เสริมการเตรยี มความพร้อมเพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ใิ นการ 5,000 ประเมนิ คุณภาพการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผ้เู รียน (NT) 7,500 ค่าใชจ้ ่าย 1.1 คา่ วทิ ยากร ชัว่ โมงละ 1,200 บาท จานวน 6 ชวั่ โมง จานวน 2 วนั 12,000 1.2 คา่ ที่พักวิทยากร วันละ 800 บาท จานวน 1 คน จานวน 2 วัน 40,500 1.3 ค่าพาหนะวทิ ยากร คา่ ต๋ัวเคร่ืองบินไป-กลับ จานวน 1 คน จานวน 2 เทยี่ ว 1.4 ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม จานวน 75 คน จานวน 2 มอ้ื ๆ ละ 25 บาท จานวน 2 วัน 1.5 คา่ อาหารกลางวนั จานวน 75 คน จานวน 1 ม้ือๆ ละ 80 บาท จานวน 2 วัน รวม หมายเหตุ สามารถถัวจ่ายได้ทุกรายการ 7. การวิเคราะหค์ วามเสย่ี งของโครงการ 7.1 ปจั จยั ความเสยี่ ง - โรงเรยี นในสงั กัด สพป.ลาปาง เขต 3 เปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ และมบี คุ ลากรไมเ่ พียงพอ 7.2 แนวทางการบรหิ ารความเสยี่ ง - การบรหิ ารจัดการการสอบ โดยใชท้ รพั ยากรร่วมกนั ในกลุม่ เครอื ข่ายสถานศกึ ษา 8. ตวั ชี้วดั และค่าเปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย ครูผสู้ อน ตวั ชี้วดั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 - โรงเรยี นทุกโรงเรียนในสังกัด สพป.ลาปาง เขต 3 มีความพร้อม ทกุ คนในสงั กดั ในการทดสอบ NT 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ได้มีการเตรียม ความพร้อมในการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) และมีการ สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้โรงเรียนได้มีการเตรยี มความพรอ้ มในการประเมนิ ข้อสอบแนว PISA

โครงการ การอบรมเชงิ ปฏิบัติการพฒั นาครผู ้สู อนภาษาไทยชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เพอื่ แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออกเขยี นไม่ได้ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบโครงการ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผูร้ ับผิดชอบโครงการ นางกนิษฐา สวยสด และ นางสาวบรู ณี ภกั ดีณรงค์ ลักษณะโครงการ ( / ) ใหม่ ( ) ต่อเนอ่ื ง ระยะเวลาดาเนินการ มีนาคม – สงิ หาคม 2562 สอดคล้องกบั นโยบาย สพฐ. นโยบายท่ี 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องกบั กลยุทธ์ สพป. กลยทุ ธ์ที่ 2 เรง่ รดั การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนให้มีความร้คู วามสามารถ และเพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขัน 1. หลักการและเหตุผล ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ท้ังระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ แก้ปัญหา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยมีความเชื่อมโยงกัน ท้ังหลักสตู รการเรียนการสอนให้ก้าวทนั การเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับการเรียนยุคใหม่ โดยจดุ เน้นในการ พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถและทักษะ ได้แก่ นักเรียนชั้น ป.1 สามารถอ่านออกเขียนได้ เนื่องจากภาษาไทย เป็นพ้ืนฐานของการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระอื่น สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ได้เล็งเห็นถึงความจาเป็นดังกล่าวจึงกาหนดโครงการนี้ข้ึนเพ่ือพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาที่ 1 ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนที่ยังอ่านและเขียนไม่ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจนเพื่อพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทย ใหเ้ พมิ่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ีการประเมินผลความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้ทุกครั้งท่ีผ่านมาโดยสานักงาน เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 พบวา่ โรงเรียนในสงั กดั ยังมีนักเรียนจานวนหนึ่ง ท่ีมีผลการอ่านและการเขียนต่ากว่ามาตรฐาน จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วน เพ่ือพัฒนาให้นักเรียน กลุ่มดังกล่าวมีความสามารถในการอ่านออก เขยี นได้ อ่านรเู้ รื่องและสอ่ื สารได้ ดังนั้นสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จึงได้จัดโครงการครูผู้สอน ภาษาไทยเพ่ือแก้ปัญหาการอ่านและการเขียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเสริมสร้างและพัฒนาตนเองให้เต็มตาม ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล โดยใชภ้ าษาเปน็ เคร่ืองมอื ในการแสวงหาความร้ตู ่อไป 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ให้มีความรู้ความเข้าใจตลอดจน สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเพ่อื แก้ไขปญั หานกั เรียนอ่านไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ด้ 2.2 เพือ่ พฒั นาครูผูส้ อนภาษาไทยชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจและสามารถ ผลติ ส่ือท่ใี ช้ในการจดั การเรยี นการสอนเพือ่ แกไ้ ขปัญหานกั เรยี นอา่ นไม่ออกเขยี นไม่ได้

3. เปา้ หมาย 3.1 เชงิ ปริมาณ (1) พัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 90 คน ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ ตลอดจนสามารถจดั กิจกรรมการเรียนการสอนเพอ่ื แก้ไขปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ (2) พัฒนาครูผู้สอนภาษาไทยช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 90 คน ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ และสามารถผลิตสื่อท่ีใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนเพอ่ื แก้ไขปญั หานักเรียนอ่านไม่ออกเขยี นไม่ได้ 3.2 เชิงคุณภาพ (1) ครูผู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพื่อแกไ้ ขปัญหานกั เรียนอ่านไม่ออกเขยี นไมไ่ ด้ (2) ครูผู้สอนภาษาไทยชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถผลิตส่อื ทใ่ี ช้ ในการจัดการเรียนการสอนเพอื่ แกไ้ ขปัญหานกั เรียนอ่านไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้ 4. วธิ กี ารดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผรู้ ับผดิ ชอบ มี.ค. 2562 นางกนษิ ฐา สวยสด ที่ กจิ กรรม/ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 1 กิจกรรมท่ี 1 การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาครู พ.ค. – ส.ค.2562 นางสาวบูรณี ภกั ดณี รงค์ ผูส้ อนภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 เพื่อ แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออกเขยี นไม่ได้ ขั้นตอนการดาเนินงาน 1.1 ขออนมุ ัตดิ าเนินการตามโครงการกจิ กรรม 1.2 ทาหนังสือเชิญวิทยากรและแจ้งกาหนดการ แกผ่ เู้ ขา้ ร่วมอบรม 1.3 เตรยี มเอกสารประกอบการอบรม 1.4 ดาเนินการอบรม 1.5 สรปุ และรายงานผล กิจกรรมที่ 2 การนเิ ทศ ตดิ ตาม 5. ระยะเวลาและสถานทดี่ าเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ มนี าคม 2562 5.2 สถานทด่ี าเนนิ การ - ห้องประชมุ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3

6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 48,900 บาท (48,900) 6.2 รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ 14,400 กจิ กรรม 1,600 กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาครผู ูส้ อนภาษาไทยชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 5,000 เพอ่ื แก้ไขปัญหาการอา่ นไม่ออกเขยี นไมไ่ ด้ 9,000 ค่าใชจ้ า่ ย 1.1 ค่าวทิ ยากร ช่วั โมงละ 1,200 บาท จานวน 6 ชัว่ โมง จานวน 2 วัน 14,400 1.2 ค่าท่ีพักวทิ ยากร วันละ 800 บาท จานวน 1 คน จานวน 2 วนั 4,500 1.3 คา่ พาหนะวทิ ยากร คา่ ตว๋ั เคร่อื งบินไป-กลบั จานวน 1 คน จานวน 2 เทย่ี ว 48,900 1.4 คา่ อาหารวา่ งและเครื่องด่ืม จานวน 90 คน จานวน 2 มอื้ ๆ ละ 25 บาท จานวน 2 วัน 1.5 ค่าอาหารกลางวนั จานวน 90 คน จานวน 1 มือ้ ๆ ละ 80 บาท จานวน 2 วัน 1.6 คา่ ส่อื /วัสดกุ ารศึกษาเพ่ือการจัดการอบรม รวม หมายเหตุ สามารถถัวจา่ ยได้ทุกรายการ 7. การวเิ คราะห์ความเสี่ยงของโครงการ 7.1 ปจั จยั ความเสย่ี ง - ครูผู้สอนมีภาระงานสอนมากและหลายกลุ่มสาระ อาจไม่มีเวลาในการผลิตส่ือท่ีใช้ในการ จัดการเรียนการสอนภาษาไทย 7.2 แนวทางการบริหารความเส่ยี ง - การนเิ ทศ ติดตามการจดั การเรยี นการสอน 8. ตวั ช้ีวัดและคา่ เปา้ หมาย คา่ เป้าหมาย ครูผสู้ อน ตวั ชว้ี ัด ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ทุกคน - ครูผสู้ อนภาษาไทยชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 สามารถผลิตสอื่ การสอน เพอื่ แก้ไขปัญหานักเรียนอา่ นไม่ออกเขียนไม่ได้ 9. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั 9.1 ครูผู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความรู้ความเข้าใจตลอดจนสามารถจัด กิจกรรมการเรียนการสอนเพือ่ แก้ไขปญั หานักเรยี นอา่ นไมอ่ อกเขียนไม่ได้ 9.2 ครูผู้สอนภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 มีความรู้ความเข้าใจและสามารถผลิตส่ือทีใ่ ช้ ในการจดั การเรยี นการสอนเพ่อื แก้ไขปัญหานักเรยี นอ่านไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้

โครงการ การพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรยี นรูว้ ทิ ยาการคานวณ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบโครงการ กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ นางกนิษฐา สวยสด และ นางทานตะวนั มะโนพงศ์พันธ์ ลักษณะโครงการ ( / ) ใหม่ ( ) ต่อเนอ่ื ง ระยะเวลาดาเนินการ พฤศจิกายน 2561 – กนั ยายน 2562 สอดคลอ้ งกับนโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรียน สอดคลอ้ งกับกลยทุ ธ์ สพป. กลยทุ ธ์ที่ 2 เรง่ รดั การพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียนให้มคี วามรคู้ วามสามารถ และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน 1. หลกั การและเหตผุ ล ตามที่กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ซึ่งได้มีการกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 มีเน้ือหาสาคัญใหม่ คือ วิทยาการคานวณ (Computing Science) ในสาระท่ี 4 เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยเนื้อหาเปน็ การเรียนรู้เก่ียวกับการพัฒนาผเู้ รยี น ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ แนวคิดเชงิ คานวณเพ่ือแกป้ ัญหาในชวี ติ จริง มที ักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปญั หาเป็นขั้นตอน และเป็นระบบประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคานวณและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารในการแก้ปัญหา ที่พบในชีวิตจริง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัยและ มีจริยธรรม ซึ่งผู้สอนอาจมีความสับสน และความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในหลักการต่าง ๆ ของมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวัด ตลอดจนกระบวนการจดั การเรียนรเู้ พอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกับตวั ชี้วดั ดังน้ันจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้สอนสาระเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั หลกั การและเป้าหมายสาคัญท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐานหลักสูตร และตวั ชว้ี ดั รวมถึงการจัด กระบวนการเรียนรู้ การใช้สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ และแนวทางการวัดประเมินผลการเรียนรู้ให้บรรลุคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร ให้ครบถ้วนทุกด้าน ได้แก่ ทักษะการคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) การแก้ปัญหาและการใช้เหตุผลตั้งตรรกะ ท้ังน้ี เพื่อประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ผูเ้ รียน กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนา ศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ และ สามารถออกแบบการเรียนรู้และการประเมินผู้เรียน สาหรับการเรียนการสอนวิทยาการคานวณอย่างมีประสิทธิภาพให้บรรลุตามเป้าประสงค์ของหลักสูตร สถานศกึ ษาตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2561) อนั จะส่งผล ตอ่ ผลสัมฤทธ์ิของนกั เรยี นอยา่ งแท้จริง 2. วัตถุประสงค์ เพือ่ พัฒนาศักยภาพครูในการจดั การเรียนรู้สาระที่ 4 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

3. เป้าหมาย 3.1 เชงิ ปริมาณ ครูผูส้ อน ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1,4 และระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 จานวน 150 คน 3.2 เชงิ คณุ ภาพ 4. วิธีการดาเนนิ งาน ท่ี กจิ กรรม/ขั้นตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผ้รู บั ผดิ ชอบ 1 กิจกรรมที่ 1 กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบผลการ พ.ย.2561 นางกนษิ ฐา สวยสด จดั กิจกรรมการเรียนร้วู ทิ ยาการคานวณ นางทานตะวนั มะโนพงศ์พนั ธ์ ข้ันตอนการดาเนินงาน - นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม วทิ ยาการคานวณ กิจกรรมท่ี 2 จัดทาคู่มือประกอบการอบรม ธ.ค.2561 เชิงปฏบิ ัตกิ ารฯ ข้ันตอนการดาเนินงาน 2.1 วางแผนการอบรม กาหนดเน้ือหาร่วมกบั วทิ ยากร 2.2 จัดทาตน้ ฉบับคู่มือประกอบการอบรมฯ 2.3 ส่งต้นฉบับให้ร้านคา้ ดาเนินการสาเนา จานวน 150 ชดุ กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการฯ ธ.ค. 2561 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 3.1 จดั ทาหนงั สือแจ้งครผู สู้ อนวทิ ยาการคานวณ ป.1, ป.4, ม.1 3.2 ดาเนินการจัดอบรมฯ ตามตารางทีก่ าหนดไว้ 3.3 ประเมินความพึงพอใจในการเขา้ รับการ อบรมพฒั นา กจิ กรรมที่ 4 นเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรียนรู้ ธ.ค.2561 – ม.ี ค.2562 สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 4.1 กาหนดปฏทิ ินในการนเิ ทศตดิ ตาม 4.2 นิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้สาระท่ี 4 เทคโนโลยี 4.3 สรุปผลการนิเทศตดิ ตามฯ กิจกรรมท่ี 5 รายงานสรุปผลการดาเนินงาน เม.ย.2562 ตามโครงการ

5. ระยะเวลาและสถานทีด่ าเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนนิ การ พฤศจกิ ายน 2561 – กันยายน 2562 5.2 สถานทดี่ าเนินการ - หอ้ งประชุม สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 - โรงเรียนในสังกดั 6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 60,000 บาท 6.2 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ (5,000) กจิ กรรม 5,000 กิจกรรมท่ี 1 กากับ ติดตาม ตรวจสอบผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาการ (51,800) คานวณ ค่าใชจ้ ่าย 7,200 - ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดกจิ กรรมวทิ ยาการคานวณผ่าน Google Form 39,000 กจิ กรรมท่ี 2 จดั ทาคูม่ ือประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ัติการฯ 1,600 ค่าใชจ้ า่ ย 4,000 2.1 วางแผนการอบรม กาหนดเนื้อหาร่วมกับวทิ ยากร (3,200) 2.2 จัดทาต้นฉบบั คู่มือประกอบการอบรมฯ 2.3 สง่ ตน้ ฉบบั ใหร้ า้ นคา้ ดาเนินการสาเนา จานวน 150 ชดุ 3,200 กิจกรรมท่ี 3 จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการฯ ค่าใช้จา่ ย 60,000 3.1 จัดทาหนงั สอื แจง้ ครผู ูส้ อนวทิ ยาการคานวณ ป.1, ป.4, ม.1 3.2 ดาเนินการจดั อบรมฯ ตามตารางที่กาหนดไว้ 3.2.1 ค่าวิทยากรจาก สสวท.ชั่วโมงละ 600 บาท จานวน 12 ชั่วโมง 3.2.2 ค่าอาหารและอาหารวา่ ง จานวน 2 วันๆ ละ 130 บาท จานวน 150 คน 3.2.3 คา่ ทพี่ ักวิทยากร จานวน 2 คืนๆ ละ 800 บาท 3.2.4 คา่ พาหนะวิทยากร 3.3 ประเมินความพึงพอใจในการเขา้ รบั การอบรมพัฒนา กิจกรรมท่ี 4 นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการเรยี นรสู้ าระท่ี 4 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) คา่ ใช้จ่าย - ค่าเบ้ยี เล้ยี งสาหรับการนิเทศ ติดตามการจดั การเรียนรสู้ าระที่ 4 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กิจกรรมที่ 5 รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการ รวม หมายเหตุ สามารถถัวจา่ ยไดท้ ุกรายการ

7. การวเิ คราะหค์ วามเส่ียงของโครงการ 7.1 ปจั จยั ความเสีย่ ง - สือ่ ทผ่ี ลิตขนึ้ หรือแนวทางการจัดกิจกรรมวทิ ยาการคานวณไม่ได้นาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 7.2 แนวทางการบรหิ ารความเสี่ยง - การนิเทศ ตดิ ตามอยา่ งต่อเน่อื งโดยใชก้ ารนเิ ทศแบบทางตรงและทางอ้อม และสง่ เสริม การนิเทศภายใน 8. ตัวชี้วัดและคา่ เป้าหมาย ค่าเปา้ หมาย ร้อยละ 100 ตวั ช้ีวดั - ร้อยละของครทู ่ีผ่านการพฒั นาศักยภาพในการจดั การเรียนรู้ในสาระท่ี 4 รอ้ ยละ 80 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) - รอ้ ยละของครมู ีความรู้ความเขา้ ใจสามารถจดั การเรียนรูใ้ นสาระที่ 4 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 9. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั 9.1 ครูผู้สอนที่ผา่ นการอบรมสามารถจัดการเรียนรู้ในสาระที่ 4 (วิทยาการคานวณ) ให้เหมาะสม กับบรบิ ทของโรงเรียน 9.2 ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรผู้ ่านส่อื ทีค่ รนู าไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

โครงการ ส่งเสริมระบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา หนว่ ยงานรับผิดชอบโครงการ กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางกนษิ ฐา สวยสด และ นางทานตะวนั มะโนพงศพ์ นั ธ์ ลกั ษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ตอ่ เนื่อง ระยะเวลาดาเนินการ ตลุ าคม 2561 – กันยายน 2562 สอดคลอ้ งกับนโยบาย สพฐ. นโยบายท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน สอดคลอ้ งกับกลยทุ ธ์ สพป. กลยุทธท์ ี่ 2 เรง่ รดั การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนให้มคี วามรู้ความสามารถ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขัน 1. หลกั การและเหตผุ ล จากประกาศกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เมื่อวนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2561 ใหส้ ถานศึกษามีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบรหิ ารคุณภาพการศึกษาที่สถานศกึ ษาจัดขึ้น เพ่อื ให้ เกิดการพฒั นาและสรา้ งความเชื่อมนั่ ให้แกผ่ มู้ สี ่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชน โดยใหส้ ถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้ มีระบบกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดข้ึน เพื่อให้เกิดการ พัฒนาและสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่า สถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษา ได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแล กอปรกับสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) จะเร่ิมดาเนินการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบส่ีในปีงบประมาณ 2559-2563 จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาโรงเรียนให้มีความรู้ ความเขา้ ใจเรื่องการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ.2561 เพ่ือสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชน และพร้อมรับการประเมิน คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี จากผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาในสังกัดพบว่า ยังขาดการนาเสนอข้อมูลท่ีสะท้อนการดาเนินงานของโรงเรียนอย่างแท้จริง ดังน้ันกลุ่มนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลการจัดการศึกษา จึงจัดทาโครงการดังกล่าว เพ่ือส่งเสริมให้สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพ ภายในทีเ่ ขม้ แข็ง และพรอ้ มรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ีต่อไป 2. วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมผู้บริหารสถานศึกษาและครูให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงานตาม ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และนาผลการดาเนินงานไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ - ผูบ้ ริหารและครโู รงเรยี นทุกโรงในสงั กดั 3.2 เชิงคณุ ภาพ - ผู้บริหารสถานศึกษาและครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงานตามระบบประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และนาผลการดาเนินงานไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา 4. วิธกี ารดาเนินงาน ที่ กิจกรรม/ข้นั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผ้รู ับผิดชอบ กิจกรรมที่ 1 อบรมปฏิบัติการเรอ่ื งการส่งเสริม พ.ย.2561 นางกนิษฐา สวยสด ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน นางทานตะวนั มะโนพงศ์พันธ์ สถานศึกษา ข้ันตอนการดาเนินงาน 1.1 ขออนมุ ัติดาเนินการตามโครงการกจิ กรรม 1.2 แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งาน 1.3 จัดอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการขบั เคลอื่ นระบบ ธ.ค.2561 การประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา กิจกรรมที่ 2 นเิ ทศ ตดิ ตามการพัฒนาระบบ พ.ย. 2561 – ก.ย. 2562 การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถาน ศึกษา ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน - นิเทศ ติดตามให้ความช่วยเหลอื สถานศึกษา กจิ กรรมที่ 3 การสงั เคราะหร์ ายงานผลการ เม.ย.2562 ประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ขน้ั ตอนการดาเนินงาน - สังเคราะหร์ ายงานผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา 5. ระยะเวลาและสถานท่ดี าเนินการ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ พฤศจิกายน 2561 – กนั ยายน 2562 5.2 สถานท่ีดาเนนิ การ - ห้องประชุม สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3

6. งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 40,000 บาท 6.2 รายละเอียดการใช้งบประมาณ กจิ กรรม งบประมาณ กิจกรรมที่ 1 การอบรมปฏบิ ัตกิ ารเรื่อง การสง่ เสริมระบบการประกนั คณุ ภาพ (29,000) ภายในสถานศกึ ษา คา่ ใช้จา่ ย 3,600 1.1 ค่าตอบแทนวิทยากร จานวน 1 คน จานวน 6 ชัว่ โมงๆ ละ 600 บาท 6,000 1.2 ค่าพาหนะวทิ ยากรและค่าที่พักวทิ ยากร 18,720 1.3 คา่ อาหารของผู้เข้ารับการอบรม จานวน 144 คนๆ ละ 130 บาท 1.4 คา่ เอกสารและค่าวัสดุในการจัดอบรม 680 กิจกรรมที่ 2 นเิ ทศ ตดิ ตามการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (5,000) สถานศกึ ษา คา่ ใชจ้ ่าย 5,000 - คา่ เบยี้ เลี้ยงในการนเิ ทศ ตดิ ตามสาหรบั คณะกรรมการในการออกนเิ ทศติดตาม (6,000) กจิ กรรมที่ 3 การสังเคราะห์รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) - ค่าจ้างเหมาสงั เคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 6,000 40,000 รวม หมายเหตุ สามารถถัวจา่ ยได้ทุกรายการ 7. การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ 7.1 ปัจจยั ความเส่ยี ง - การดาเนนิ งานนเิ ทศ ตดิ ตามไม่เป็นไปตามปฏิทินการดาเนนิ งาน - โรงเรียนไม่ไดส้ รุปผลการดาเนนิ งานท้งั 3 มาตรฐานเทียบกับเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ 7.2 แนวทางการบริหารความเส่ียง - ใชก้ ลมุ่ เครือข่ายเป็นฐานในการร่วมกนั ขับเคลื่อนพัฒนาระบบประกนั ภายในให้เข้มแขง็ - สร้างความตระหนักในการดาเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพภายในตามเป้าหมายท่ีกาหนด 8. ตวั ช้ีวัดและค่าเปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย ร้อยละ 100 ตวั ชว้ี ดั - ร้อยละของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาและครมู คี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับ รอ้ ยละ 70 การดาเนนิ งานตามระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา - รอ้ ยละของโรงเรียนนาผลการดาเนนิ งานไปปรับปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาของสถานศึกษา

9. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 9.1 ผู้บริหารสถานศึกษาและครูมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการดาเนินงานตามระบบประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 9.2 โรงเรียนมีระบบการประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและดาเนินการจนเป็นวัฒนธรรม การทางานปกตขิ องโรงเรียน

โครงการ แขง่ ขันทกั ษะทางวชิ าการนกั เรียน “งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน” หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบโครงการ กล่มุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นางกนิษฐา สวยสด , นายคฑาวุธ แข็งแรง และ นางทานตะวนั มะโนพงศพ์ ันธ์ ลักษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ตอ่ เน่อื ง ระยะเวลาดาเนินการ ตุลาคม 2561 – กนั ยายน 2562 สอดคล้องกบั นโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรียน สอดคลอ้ งกับกลยทุ ธ์ สพป. กลยทุ ธ์ท่ี 2 เรง่ รัดการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นให้มีความรู้ความสามารถ และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 1. หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบันการเจรญิ เติบโตด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของประชาชนมากย่ิงขึ้น ส่งผลให้การดาเนินชีวิตของทุก ๆ คน มีการพัฒนาและ ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ท่ีเปล่ียนไปอยู่ตลอดเวลา ดังน้ันการจัดการศึกษาจึงจาเป็นต้องสร้างเด็ก และเยาวชนให้มีความรู้ ความสามารถ ท่ีเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ์ในปัจจุบัน การจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความเป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ และมีสุนทรียภาพ ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะการแสดง รวมถึงการประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการเตรียมพร้อมให้เด็กและ เยาวชนเปน็ กาลงั สาคญั ในการขับเคลือ่ นประเทศในอนาคต สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 3 ในฐานะเป็นหน่วยงานหลักในการจัด การศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชน ให้เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (ดี เก่ง มีคุณธรรมและ จรยิ ธรรม) จึงสร้างโอกาสใหแ้ ก่เด็กและเยาวชนได้แสดงออกซง่ึ ศักยภาพและสุนทรียภาพ กิจกรรมสร้างสรรค์ ตลอดจนสนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ใช้ความรู้ ความสามารถ ในการพฒั นาการเรียน การสอนอย่างเต็มความสามารถ โดยกาหนดจัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การศึกษาปฐมวัยและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และคัดเลือกตัวแทนเข้าร่วม การแข่งขันระดับภาค และระดบั ประเทศต่อไป 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้นักเรียนแสดงความสามารถท่ีเป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ สุนทรียภาพด้านดนตรี – นาฏศิลป์ ศิลปะการแสดง และส่ิงประดิษฐ์ ในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาลาปางเขต 3 2.2 เพ่ือคัดเลือกนักเรียนเป็นตัวแทนเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เข้าแข่งขัน ระดับภาค

3. เป้าหมาย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ (1) นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปางเขต 3 ไดร้ ่วมกิจกรรมโครงการแขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการจานวน 1 คร้ัง เวลา 3 วัน (2) นักเรียนท่ีเข้าร่วมแข่งขันผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับเหรียญทองคิดเป็นร้อยละ 80 ของกิจกรรมการแข่งขันระดบั เขตพ้นื ท่ีการศึกษาเพอ่ื เขา้ รว่ มแขง่ ขนั ในระดับภาค 3.2 เชงิ คณุ ภาพ (1) นักเรียนเกิดการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะด้านวิชาการสาขาต่าง ๆ และสามารถนาไปใชใ้ นการดารงชีวิตอยา่ งมีความสขุ ซ่ึงเกดิ จากการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกนั (2) บุคลากรและครูในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมศักยภาพนักเรียน และมีโอกาสแลกเปล่ียน ประสบการณ์ร่วมกบั ผเู้ ขา้ แข่งขนั จากเขตพื้นทีก่ ารศึกษาอน่ื ๆ 4. วิธีการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผู้รับผดิ ชอบ พ.ย. – ธ.ค. 2561 นางกนษิ ฐา สวยสด ที่ กิจกรรม/ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน นายคฑาวธุ แข็งแรง 1 กิจกรรมท่ี 1 ร่วมงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน นางทานตะวนั มะโนพงศ์พันธ์ ระดับภาคเหนือ ข้นั ตอนการดาเนินงาน ก.ค. – ก.ย. 2562 1.1 แต่งตั้งคณะทางาน วางแผนเตรียมดาเนินงาน 1.2 ประชมุ คณะกรรมการ/คณะทางาน 1.3 ดาเนินงานตามแผน 1.4 ประเมิน สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 1.5 รายงานผลการดาเนนิ งาน กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมแข่งขันศิลปหัตถกรรม ระดับเขตพ้ืนท่ี ครัง้ ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา 2562 ขนั้ ตอนการดาเนินงาน 2.1 ประชมุ คณะทางานเพื่อวางแผน 2.2 เตรียมเอกสารดาเนนิ งาน 2.3 ประชมุ ผ้ดู แู ลระบบระดบั เขตพ้นื ท่ี 2.4 จัดกิจกรรมประกวดแข่งขนั 5. ระยะเวลาและสถานท่ีดาเนินการ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ - ระหวา่ งวันท่ี 19 – 23 ธนั วาคม 2561 ณ จงั หวดั พะเยา - กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 5.2 สถานทีด่ าเนนิ การ - ห้องประชมุ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 - กล่มุ เครอื ข่าย 17 กล่มุ เครือข่าย และโรงเรียนแจ้หม่ วิทยา

6. งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 750,000 บาท - จาก สพป.ลาปาง เขต 3 จานวน 250,000 บาท - งบอดุ หนนุ จากองค์การบริหารส่วนจงั หวัดลาปาง จานวน 500,000 บาท 6.2 รายละเอียดการใช้งบประมาณ กิจกรรม งบประมาณ กจิ กรรมที่ 1 รว่ มงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ระดบั ภาคเหนอื ครงั้ ที่ 68 (34,080) คา่ ใช้จา่ ย 1.1 ค่าเบ้ียเลยี้ ง คา่ ที่พกั คา่ น้ามนั เชื้อเพลงิ (สาหรับบุคลากรเขตพืน้ ท่ี) 11,480 16,600 1.1.1 คา่ เบีย้ เลีย้ ง คนละ 240 บาท 6,000 1.1.2 ค่าที่พัก จานวน 14 หอ้ ง (715,920) 1.1.3 คา่ น้ามันเชอ้ื เพลิง กจิ กรรมท่ี 2 ประกวดแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม ระดับเขตพืน้ ที่ ครง้ั ที่ 69 238,000 ปีการศกึ ษา 2562 คา่ ใชจ้ ่าย 19,860 2.1 จดั สรรงบประมาณใหก้ ลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาจัดซื้อวัสดฝุ ึกสาหรบั นกั เรียน 80,000 (งบ อบจ.) 55,000 2.2 จดั แข่งขันงานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นระดบั เขตพ้ืนที่ 30,000 2.2.1 ค่าวสั ดุ คา่ จดั ทาเอกสาร 2.2.2 ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม 7,500 2.2.3 ค่าจัดเวทแี ละเช่าเครือ่ งเสยี ง 10,000 2.2.4 ค่าจ้างเหมาทาแบบทดสอบ เชต็ ระบบคอมพิวเตอร์ ค่าตอบแทน 10,000 ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เบ้ียเลย้ี งจราจรและพยาบาล 3,560 2.2.5 คา่ ปา้ ยไวนลิ คา่ โล่ 250,000 2.2.6 คา่ เช่าสถานที่ 12,000 2.2.7 ค่าการแสดงในพิธเี ปดิ 750,000 2.2.8 รว่ มประชมุ ผดู้ ูแลระบบระดับเขตพื้นที่ ณ จงั หวัดเจ้าภาพ 2.3 คา่ เงนิ รางวัลนักเรยี นชนะเลศิ 2.4 คา่ นา้ ด่มื บริการนักเรียนในวันแข่งขัน รวม หมายเหตุ สามารถถัวจ่ายไดท้ ุกรายการ

7. การวิเคราะหค์ วามเสี่ยงของโครงการ 7.1 ปัจจยั ความเส่ียง - ครูผู้ฝึกสอนในแต่ละกิจกรรมการแข่งขันไม่ได้ตรวจสอบรายชื่อตัวแทนของกลุ่มเครือข่าย ทาให้เข้าแขง่ ขนั ผดิ กจิ กรรมการแขง่ ขัน โดยเฉพาะเด็กพิเศษเรียนร่วม 7.2 แนวทางการบรหิ ารความเสี่ยง - ประชุมสร้างความตระหนัก และความเข้าใจเกณฑ์การแข่งขันแต่ละรายการใหช้ ัดเจน และ การตรวจสอบตวั แทนเข้าแข่งขันในแตล่ ะรายการ 8. ตวั ชี้วดั และคา่ เปา้ หมาย คา่ เปา้ หมาย รอ้ ยละ 80 ตวั ช้วี ดั - ร้อยละของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา รว่ มกจิ กรรมแข่งขัน ร้อยละ 80 งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา - นักเรยี นทเ่ี ขา้ ร่วมแข่งขันผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ในระดับเหรยี ญทอง คิดเป็นร้อยละ 80 ของกจิ กรรมการแข่งขนั ระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา 9. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั 9.1 นักเรียนเกิดการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะด้านวิชาการสาขาต่าง ๆ และสามารถนาไปใช้ในการดารงชีวิตอยา่ งมคี วามสุข ซ่ึงเกดิ จากการแลกเปล่ยี นเรียนรูป้ ระสบการณ์รว่ มกนั 9.2 ผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ เพ่ิมพูนประสบการณ์ และนาไปพฒั นางาน

โครงการ การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นางกนษิ ฐา สวยสด และ นายคฑาวธุ แข็งแรง ลักษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ตอ่ เนอ่ื ง ระยะเวลาดาเนนิ การ กนั ยายน 2561 – ตุลาคม 2562 สอดคลอ้ งกบั นโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น สอดคลอ้ งกับกลยทุ ธ์ สพป. กลยุทธท์ ่ี 2 เรง่ รดั การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นให้มีความรู้ความสามารถ และเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขัน 1. หลักการและเหตุผล หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพล ยึดม่ัน ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ในการพัฒนาผู้เรียนตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด ซ่ึงจะช่วยให้ ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซ่ึงประกอบด้วยความสามารถในการสื่อสารท่ีเป็นสากล ความสามารถในการคดิ ความสารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิตภายใต้หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง และความสมารถในการใช้เทคโนโลยี 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพ่ือให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ไดน้ อ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศึกษา ตง้ั แตก่ ารบริหารจดั การจนถึงกิจกรรมการจัดการเรียน การสอน 2.2 เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ได้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ นโยบายการจัดการศึกษาของชาติ บริบทของชุมชน 2.3 เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ รักษ์ความเป็นไทยหวั ใจพอเพียงและพัฒนา ตนเองสสู่ ากล

3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ (1) สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ทุกโรงเรียน ปรับปรงุ สถานศึกษาได้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาชาติ และบรบิ ทของชมุ ชน (2) สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ทุกโรงเรียน น้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นการสอน (3) นกั เรยี นในสังกดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 อย่างนอ้ ย 100 คน ร่วมกจิ กรรม “ค่ายสร้างสรรคค์ วามเป็นไทยหัวใจสากล...บนความพอเพียง” 3.2 เชิงคณุ ภาพ (1) สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ทุกโรงเรียน มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพครอบคลุมมาตรฐานชาติ และนโยบายการจัดการศึกษา นาสู่กระบวนการเรียน การสอนท่มี คี ุณภาพ (2) ผู้เรียนมิได้เรียนรู้ทักษะการใช้ชีวิตที่รอบด้านภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเป็นสากล 4. วิธีการดาเนนิ งาน ท่ี กจิ กรรม/ขนั้ ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผู้รบั ผดิ ชอบ กิจกรรมท่ี 1 การปรบั ปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พ.ย. 2561 – ธ.ค. 2561 นางกนิษฐา สวยสด ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน นายคฑาวธุ แข็งแรง - ปรบั ปรุงหลักสตู รสถานศึกษา กจิ กรรมท่ี 2 การนเิ ทศ ติดตามการนอ้ มนา พ.ย. 2561 – ก.ย. 2562 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูส่ ถาน ศึกษา - นิเทศ ติดตามฯ กจิ กรรมที่ 3 ค่ายสร้างสรรค์ “ความเปน็ ไทย ก.ค. 2562 – ส.ค. 2562 หวั ใจสากล...บนความพอเพียง” ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน - เขา้ คา่ ยสร้างสรรค์ “ความเป็นไทยหัวใจสากล.. บนความพอเพยี ง 5. ระยะเวลาและสถานท่ดี าเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ พฤศจิกายน 2561 – สงิ หาคม 2562 5.2 สถานทด่ี าเนนิ การ - สถานศึกษาทกุ แห่งในสงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 - หอ้ งประชุม สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3

6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 62,800 บาท - 6.2 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ - กิจกรรม (62,800) กจิ กรรมท่ี 1 การปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษา กจิ กรรมท่ี 2 การนิเทศ ติดตามการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ 39,000 สถานศกึ ษา กิจกรรมท่ี 3 คา่ ยสรา้ งสรรค์ “ความเปน็ ไทยหวั ใจสากล...บนความพอเพียง” 5,800 ค่าใช้จ่าย 3,600 3.1 คา่ อาหาร อาหารวา่ งและเครอื่ งดื่ม สาหรับนักเรยี น ครูผู้ดแู ลและทมี งาน 14,400 จานวน 150 คนๆ ละ 130 บาท 3.2 คา่ เอกสาร/วัสดุ อุปกรณ์ในการจดั คา่ ย และปา้ ยไวน้ ลิ 3.3 คา่ ที่พักวทิ ยากร และคา่ น้ามนั รบั -สง่ 3.4 ค่าตอบแทนวทิ ยากร จานวน 2 คนๆ ละ 600 บาท จานวน 2 วนั รวม 62,800 สามารถถัวจ่ายไดท้ กุ รายการ หมายเหตุ 7. การวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งของโครงการ 7.1 ปัจจัยความเส่ยี ง การนิเทศ ติดตาม กากับ ดูแลส่งเสริม สนับสนุนโรงเรียนในสังกัดให้สามารถจัดการศึกษา และพฒั นาการศึกษาให้บรรลตุ ามจดุ หมายของหลักสตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน และนโยบายท่ีเกี่ยวข้องในระดับ เขตพ้ืนที่การศึกษา ในช่วงปีงบประมาณท่ีผ่านมา ยังดาเนินการได้ไม่เต็มที่และต่อเนื่อง ด้วยสาเหตุของ อัตรากาลงั บคุ ลากรมจี ากัด กอรป์ กับภารกิจงานตามนโยบายที่รับผดิ ชอบค่อนขา้ งมาก 7.2 แนวทางการบรหิ ารความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นิเทศ ติดตามกากับ ดูแลส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนในสังกัด ควรบูรณาการงานนิเทศ ติดตาม โรงเรียนในคราวเดียวกัน เพื่อให้เกิดความท่ัวถึงงานต่างๆ ในการนิเทศติดตาม แต่ละครั้ง รวมถึงใช้ระบบเครือข่ายมีส่วนร่วมในการประสานงานแบบบูรณาการ และได้รับการตอบสนอง การดาเนินการแก้ไข พฒั นาจากโรงเรียนซึ่งเป็นหนว่ ยรบั การนเิ ทศ

8. ตวั ช้ีวดั และค่าเป้าหมาย คา่ เป้าหมาย รอ้ ยละ 100 ตวั ช้วี ัด - สถานศึกษาในสังกดั ฯ ทุกโรงเรียนมหี ลกั สูตรสถานศึกษาทปี่ รบั ปรุงตาม ร้อยละ 100 มาตรฐานชาติ และนโยบายการศึกษา - สถานศึกษาในสงั กดั ฯ ทกุ โรงเรียนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ อย่างน้อยร้อยละ 80 พอเพยี งสสู่ ถานศึกษา - ผู้เรียนในระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ผ่านการเขา้ ค่าย “ความเปน็ ไทยหัวใจสากล...บนความพอเพียง 9. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั สถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาทุกแห่งมหี ลักสตู รสถานศึกษา ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานชาติ นโยบายการจัดการศึกษาของรัฐบาล เป็นไปตามความต้องการของผู้เรียนและ ชุมชนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ตั้งแต่การบริหารจัดการถึงกระบวนการ จดั การเรยี นการสอนที่เป็นรปู ธรรม ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรูแ้ ละพฒั นาภายใต้ความเป็นไทยทเ่ี ทยี บเคยี งกับความเป็นสากล

โครงการ พัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) หน่วยงานรับผดิ ชอบโครงการ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางกนษิ ฐา สวยสด และ นายคฑาวธุ แขง็ แรง ลักษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ต่อเนือ่ ง ระยะเวลาดาเนินการ กนั ยายน 2561 – ตุลาคม 2562 สอดคลอ้ งกับนโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น สอดคล้องกบั กลยทุ ธ์ สพป. กลยุทธท์ ี่ 2 เรง่ รดั การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นให้มคี วามรคู้ วามสามารถ และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั 1. หลักการและเหตผุ ล การเรียนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบันมีความสาคัญและจาเป็น ย่ิงในยุคข้อมูลข่าวสาร ท่ีต้องใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการส่ือสาร ในการศึกษาและใช้ในชีวิตประจาวันในยุคของโลกไร้พรมแดน ซ่ึงรัฐบาลไทยมีนโยบายในการการเสริมสรางสมรรถนะและความสามารถในการสื่อสารเปนภาษาอังกฤษของ คนไทย ในสภาวะท่ีระดับความสามารถของคนไทยในดานภาษาอังกฤษยังอยู ระดับต่ามาก ขณะที่ตองเรง พัฒนาประเทศใหกาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกและรองรับภาวะการคา การลงทุน การเชื่อมโยงระหวาง ประเทศ และการเขารวมเปนสมาชิกของประชาคมทางเศรษฐกจิ ที่ใชภาษาอังกฤษเปน ภาษากลาง การปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษจึงเปนนโยบายสาคัญของกระทรวงศึกษาธิการท่ีจะตอง เรงดาเนินการใหเกิด ผลสาเร็จโดยเร็ว เพื่อเป็นการต่อยอดและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามนโยบายดังกล่าวและ ความย่ังยืนที่จะเกิดขึ้นของการเป็นสมาชิกของประชาคมอาเซียน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 3 จึงได้จดั ทาโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ขึ้น 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาให้มีความพร้อม ในการให้บริการด้านสื่อและแหลง่ เรยี นรู้แกส่ มาชกิ ในเครือข่าย 2.2 เพ่ือให้วิทยากรแกนนาและสมาชิกในเครือข่ายได้มีโอกาสในการเสวนาแลกเปลี่ยน เรยี นรใู้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ

3. เป้าหมาย 3.1 เชงิ ปริมาณ (1) ศนู ย์พฒั นาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 3 ศนู ย์ (2) วิทยากรแกนนาและสมาชกิ ในเครือข่าย จานวน 100 คน 3.2 เชิงคณุ ภาพ (1) ศนู ย์พฒั นาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา จานวน 3 ศนู ย์ ได้รับการ พัฒนาเปน็ ศูนย์สอ่ื บริการทางการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (2) ครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษไดร้ บั การแลกเปล่ียนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนและ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในห้องเรียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4. วธิ กี ารดาเนินงาน ท่ี กจิ กรรม/ข้ันตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผู้รับผดิ ชอบ กจิ กรรมที่ 1 การบรหิ ารจัดการและพัฒนาศูนย์ ม.ค. 2562 นางกนิษฐา สวยสด PEER Center และการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ นายคฑาวุธ แขง็ แรง ขัน้ ตอนการดาเนินงาน 1.1 แตง่ ต้ังคณะกรรมการ 1.2 ประชมุ คณะกรรมการ 1.3 จัดสรรงบประมาณใหศ้ นู ย์ PEER Center จานวน 3 ศูนย์ 1.4 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน กจิ กรรมที่ 2 การนเิ ทศ ติดตามการดาเนนิ งาน พ.ค. 2562 – ส.ค. 2562 ของศนู ย์ PEER Center ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 2.1 นิเทศ ตดิ ตามผลการดาเนินงานของศูนย์ PEER Center 2.2 นิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนการสอน ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษ 2.3 สรปุ รายงานผลการดาเนินการ ก.ย. 2562 5. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนนิ การ พฤศจกิ ายน 2561 – สิงหาคม 2562 5.2 สถานท่ีดาเนนิ การ - ห้องประชมุ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 - ศูนยพ์ ัฒนาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศกึ ษาท้งั 3 ศนู ย์ (อนุบาลวงั เหนือ , อนุบาลแจห้ ่ม , บ้านแพะ)

6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 50,000 บาท (45,000) 6.2 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ กจิ กรรม 45,000 กจิ กรรมที่ 1 การบริหารจดั การและพัฒนาศูนย์ PEER Center (5,000) และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ 3,000 ค่าใช้จ่าย 2,000 1.1 จดั สรรใหศ้ ูนย์ PEER Center จานวน 3 ศูนยๆ์ ละ 15,000 บาท 50,000 1.1.1 กิจกรรมการแลกเปลย่ี นกระบวนจดั การเรียนการสอนโดยใช้แนวทาง ของ English Boot Camp 1.1.2 ปรับปรุงและพฒั นาศูนย์ PEER Center ใหม้ ีความพร้อมในการให้บรกิ าร กิจกรรมที่ 2 การนิเทศ ตดิ ตามการดาเนนิ งานศนู ย์ PEER Center ค่าใชจ้ ่าย 2.1 คา่ น้ามันเชือ้ เพลงิ ครัง้ ละ 500 บาท จานวน 6 ครัง้ 2.1 คา่ เอกสารนเิ ทศฯ และการรายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งาน รวม หมายเหตุ สามารถถัวจ่ายไดท้ กุ รายการ 7. การวเิ คราะห์ความเสีย่ งของโครงการ 7.1 ปจั จัยความเสย่ี ง ในการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ในรอบปีงบประมาณท่ีผ่านมา ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ได้ดาเนินการพัฒนา ครูตามจุดเน้นและจุดท่ีควรพัฒนาแต่ประเด็นปัญหาอยู่ที่ขาดการนิเทศติดตาม ที่ต่อเนื่อง และสม่าเสมอ เน่ืองดว้ ยปัจจยั เร่ืองภาระงานทต่ี อ้ งรับผิดชอบอยา่ งหลากหลาย 7.2 แนวทางการบรหิ ารความเส่ยี ง ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ได้ดาเนินการจัดเตรียมโครงการฯ อย่างรอบคอบ แนวทางการแก้ปัญหาที่ประสบในรอบปีงบประมาณที่ผ่าน การนิเทศ ติดตาม หรือรายงานผล การดาเนินงาน ต้องดาเนินการในรูปของคณะกรรมการ และกระจายการนิเทศสู่สถานศึกษา ให้ผู้บริหาร สถานศึกษารวมถึงเครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา (PEER Center) มีส่วนร่วม ในการพัฒนาไปพรอ้ มๆ กนั

8. ตัวช้ีวดั และคา่ เป้าหมาย คา่ เป้าหมาย รอ้ ยละ 100 ตัวช้ีวดั - ครูผู้สอนกล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) รอ้ ยละ 100 ในสังกัดสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 เข้ารว่ ม โครงการพฒั นาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) - ศนู ยพ์ ัฒนาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา (PEER Center) ได้รับการพัฒนาให้มคี วามพร้อมในการบรกิ าร 9. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของโรงเรียนทุกโรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ดาเนินการเร่งรัดพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สกู่ ารยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และใช้กระบวนการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร (CLT)

โครงการ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน่วยงานรับผดิ ชอบโครงการ กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางกนิษฐา สวยสด และ นายคฑาวธุ แข็งแรง ลักษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ต่อเนอ่ื ง ระยะเวลาดาเนินการ พฤศจิกายน 2561 – กนั ยายน 2562 สอดคล้องกบั นโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น สอดคลอ้ งกับกลยทุ ธ์ สพป. กลยุทธ์ที่ 2 เรง่ รัดการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นให้มีความรคู้ วามสามารถ และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขัน 1. หลักการและเหตุผล คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิด สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ แบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตัดสนิ ใจ แกป้ ัญหา และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน ได้อยา่ งมคี วามสขุ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เล็งเห็นความสาคัญของการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ซ่ึงถือได้ว่าเป็นเป้าหมายสาคัญการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในศาสตร์นี้ แต่จากผลการทดสอบ การศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ในแต่ละปีการศึกษา พบว่า ผลการทดสอบของผู้เรียนยังอยู่ในระดับ ท่ีไม่น่าพอใจ มีคะแนนเฉลี่ย ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติ และต่ากว่าร้อยละ 50 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเปน็ ภารกจิ ทส่ี าคัญที่สุดของสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีบทบาทหลักในการสนับสนุน กระตุ้นและส่งเสริมให้ สถานศึกษาเร่งรัดพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู้การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียน จึงได้ จัดทาโครงการพฒั นาคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรข์ ึน้ มา 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพ่อื พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครผู ู้สอนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สูก่ ารยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนโดยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอนิ เดยี (เวทคณติ ) 2.2 เพอ่ื สง่ เสริมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหวา่ งครผู สู้ อนกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ เกีย่ วกับความสามารถทางคณิตศาสตรท์ ีส่ อดคลอ้ งกับความแตกต่างของนักเรียน

3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ (1) ครูผู้สอนคณิตศาสตร์โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จานวน 80 คน เข้ารว่ มกิจกรรมการพฒั นาครผู สู้ อนคณติ ศาสตร์ด้วยเทคนิคคิดเลขเรว็ แบบอินเดีย (เวทคณิต) (2) รอ้ ยละ 50 ของครูผ้สู อนคณิตศาสตรม์ ีผลงานทีป่ ระสบความสาเรจ็ ด้านการพฒั นาทักษะ การคิดคานวณ / แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ (3) ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาในสงั กัดเข้าร่วมกจิ กรรมการแข่งขนั ความสามารถทางคณิตศาสตร์ ของนกั เรยี น 3.2 เชงิ คณุ ภาพ (1) ครผู ้สู อนคณติ ศาสตร์โรงเรยี นในสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ท่ีผ่านการพฒั นาสามารถใช้ความรูท้ ีไ่ ดไ้ ปพฒั นาผูเ้ รยี นในการคดิ เลขเรว็ แบบอินเดยี ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ (2) สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 พัฒนาทักษะการคิดคานวณด้วยกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ และพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความแตกตา่ งของนักเรียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 4. วธิ กี ารดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผรู้ ับผิดชอบ ม.ค. 2562 นางกนษิ ฐา สวยสด ท่ี กจิ กรรม/ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน นายคฑาวุธ แข็งแรง กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาครผู ู้สอนคณติ ศาสตร์ ก.ค. 2562 ด้วยเทคนคิ คดิ เลขเรว็ แบบอินเดยี (เวทคณติ ) ข้นั ตอนการดาเนินงาน 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการ 1.2 ประชมุ คณะกรรมการ 1.3 ขออนมุ ตั ดิ าเนินการตามโครงการกิจกรรม 1.4 ดาเนนิ การอบรม 1.5 สรุปและรายงานผล กจิ กรรมท่ี 2 การประกวดผลงานท่ีประสบผล สาเรจ็ ด้านการพฒั นาทักษะการคิดคานวณ/ ดา้ นการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 2.1 แต่งตัง้ คณะกรรมการ 2.2 ประชมุ คณะกรรมการ และคัดเลือกผลงาน 2.3 สรปุ และรายงานผล

4. วธิ ีการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผูร้ บั ผดิ ชอบ ส.ค. 2562 นางกนษิ ฐา สวยสด ที่ กิจกรรม/ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน นายคฑาวธุ แข็งแรง กจิ กรรมท่ี 3 การแข่งขนั ความสามารถทาง คณิตศาสตรข์ องนกั เรียน ก.ย. 2562 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 3.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมการ 3.2 ประชุมคณะกรรมการ 3.3 ขออนุมิดาเนนิ การตามโครงการกจิ กรรม 3.4 ดาเนนิ การแขง่ ขันนักเรยี น 3.5 สรปุ และรายงาน กจิ กรรมท่ี 4 นิเทศ ติดตามและสรปุ รายงาน ผลการดาเนินงาน 5. ระยะเวลาและสถานท่ดี าเนนิ การ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ พฤศจกิ ายน 2561 – สิงหาคม 2562 5.2 สถานทีด่ าเนินการ - หอ้ งประชุม สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 6. งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 87,200 บาท 6.2 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ กจิ กรรม งบประมาณ กิจกรรมท่ี 1 การพฒั นาครูผสู้ อนคณิตศาสตรด์ ้วยเทคนคิ คดิ เลขเรว็ แบบอินเดีย (เวทคณติ ) (44,500) คา่ ใช้จา่ ย 1.1 ค่าอาหาร อาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม จานวน 100 คนๆ ละ 130 บาท จานวน 2 วนั 26,000 1.2 คา่ ตอบแทนวิทยากร จานวน 6 ชว่ั โมงๆ ละ 600 บาท จานวน 2 คน 2 วนั 14,400 1.3 ค่าทีพ่ ักวทิ ยากร จานวน 2 คนๆ ละ 800 บาท 1,600 1.4 คา่ น้ามันเช้ือเพลิงรบั -ส่งวิทยากร 1,500 1.5 ค่าป้ายไวนิล (3 กจิ กรรม 1 ปา้ ย) 1,000

6. งบประมาณ (ตอ่ ) งบประมาณ (11,300) กิจกรรม กจิ กรรมท่ี 2 การประกวดผลงานที่ประสบผลสาเร็จดา้ นการพฒั นาทกั ษะการคิด 1,950 คานวณ/ดา้ นการแก้โจทย์ปัญหาคณติ ศาสตร์ 2,600 ค่าใชจ้ ่าย 2.1 ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องด่ืม จานวน 15 คนๆ ละ 130 บาท 4,500 2.2 ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม จานวน 20 คนๆ ละ 130 บาท 2,250 2.3 ค่าโลร่ างวลั (31,400) 2.3.1 โล่รางวัลชนะเลศิ จานวน 3 รางวลั ๆ ละ 1,500 บาท 2,600 2.3.2 เกยี รติบตั รรางวัลรองชนะเลศิ ที่ 1-3 จานวน 9 รางวลั ๆ ละ 250 บาท กจิ กรรมท่ี 3 การแขง่ ขนั ความสามารถทางคณิตศาสตรข์ องนักเรียน 10,400 ค่าใช้จ่าย 3.1 คา่ อาหาร อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม กรรมการเตรียมการแข่งขนั จานวน 20 คน 3,000 คนละ 130 บาท 2,400 3.2 ค่าอาหาร อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื กรรมการวนั แข่งขนั จานวน 80 คนๆ ละ 130 บาท 1,800 3.3 ค่าเงินรางวลั 1,200 3.3.1 รางวัลชนะเลศิ จานวน 3 รางวลั ๆ ละ 1,000 บาท (ป.1-3, ป.4-6. ม.1-3) 6,000 3.3.2 รางวัลรองชนะเลิศท่ี 1 จานวน 3 รางวัลๆ ละ 800 บาท 3.3.3 รางวัลรองชนะเลิศท่ี 2 จานวน 3 รางวัลๆ ละ 600 บาท 87,200 3.3.4 รางวัลชมเชย จานวน 3 รางวัลๆ ละ 400 บาท 3.4 คา่ ตอบแทนกรรมการดาเนินการแข่งขนั จานวน 12 คนๆ ละ 500 บาท 3.5 คา่ วสั ดุ อปุ กรณ์ ในการแข่งขนั รวม หมายเหตุ สามารถถวั จ่ายได้ทกุ รายการ 7. การวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งของโครงการ 7.1 ปจั จัยความเสย่ี ง ในการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ได้ดาเนินการพัฒนาครูตามจุดเน้นและจุด ที่ควรพัฒนา แต่ประเด็นปัญหาอยู่ที่ขาดการนิเทศติดตาม ท่ีต่อเน่ือง และสม่าเสมอเนื่องด้วยปัจจัยเร่ืองภาระ งานท่ีตอ้ งรับผดิ ชอบอย่างหลากหลาย 7.2 แนวทางการบริหารความเสย่ี ง ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ได้ดาเนินการจัดเตรียมโครงการฯ อย่างรอบคอบแนวทางการแก้ปัญหาท่ีประสบในรอบปีงบประมาณที่ผ่าน การนิเทศ ติดตาม หรือรายงานผล การดาเนินงาน ต้องดาเนินการในรูปของคณะกรรมการ และกระจายการนิเทศสู่สถานศึกษา ให้ผู้บริหาร สถานศกึ ษารวมถงึ เครอื ขา่ ยมีส่วนร่วมในการพัฒนาไปพร้อม ๆ กนั

8. ตวั ช้ีวัดและคา่ เปา้ หมาย ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ตวั ชวี้ ดั - ครูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ในสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่ี รอ้ ยละ 60 การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เข้ารว่ มโครงการพฒั นาคณุ ภาพ การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ 100 - ครูผูส้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ในสงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 สง่ ผลงานดีเด่นดา้ นการคิดคานวณ/ โจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ เขา้ ร่วมประกวด - สถานศึกษาในสังกัดสานักเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 สง่ นกั เรียนเข้าร่วมกจิ กรรมการแข่งขัน 9. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 9.1 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัดสานักงาน เขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ดาเนินการเร่งรดั พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนสกู่ ารยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน 9.2 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทุกโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 อย่างน้อยร้อยละ 60 มีผลงานด้านการคิดคานวณและการแก้โจทย์ ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ 9.3 นักเรียนที่มีความสามรถพิเศษทางด้านคณิตศาสตร์ มีเวทีหรือสนามในการทดสอบ ความสามารถของตนเอง

โครงการ โรงเรยี นส่ิงแวดล้อมศึกษา : คา่ ยหอ้ งเรยี นสเี ขยี วรกั พลังงาน หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบโครงการ กลุ่มสง่ เสริมการจัดการศึกษา สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผ้รู ับผิดชอบโครงการ นางขวญั ใจ ชะเอม และ นางวราภรณ์ พานธงรักษ์ ลกั ษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ต่อเนอ่ื ง ระยะเวลาดาเนนิ การ พฤษภาคม 2561 – กนั ยายน 2562 สอดคลอ้ งกบั นโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องกับกลยทุ ธ์ สพป. กลยทุ ธ์ที่ 2 เร่งรัดการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนให้มีความรคู้ วามสามารถ และเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน 1. หลกั การและเหตผุ ล จากคาแถลงนโยบายของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นายบุญรัตน์ ยอดเพชร ในรายการ พุธเช้า ข่าว สพฐ. ครั้งท่ี 31/2561 ประจาวันพุธท่ี 15 สิงหาคม 2561 ประเด็นจากศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ซ่ึงได้ให้ความสาคัญต่อการดาเนินการจัดการขยะในโรงเรียน (Zero waste school) โดยให้แนวทางดาเนินการแก่ผู้บริหารโรงเรียน ครู หันมาเปล่ียนแปลง ผลักดัน ปลูกฝัง ให้นักเรียนมีระเบียบ มวี ินยั รจู้ ักเลอื กใชส้ ่ิงของท่ีไม่สร้างขยะ ทีเ่ กดิ มลพิษ และรู้จกั วิธกี ารจัดการขยะ ก็จะสามารถทาให้ประเทศไทย ดูแลเร่ืองขยะได้อย่างเป็นระบบ ถือเป็นข้อสั่งการให้ทุกโรงเรียนดาเนินการเรื่องของโครงการจัดการขยะอยา่ งเปน็ ระบบ ในปีที่ผ่านมาสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ได้นานโยบายดังกล่าว มาขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติ โดยจัดทาโครงการพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานส่ิงแวดล้อมศึกษา อบรมครู นักเรียน 17 กลุ่มเครือข่าย จานวน 85 คน (ครู 2 คน นักเรียน 3 คน) และได้นารูปแบบโครงการค่าย Green School Camp : ค่ายห้องเรียนสีเขียวรักพลังงาน ฐานการเรียนรู้ด้านการจัดการขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน (5 ฐาน) ในการจัดกิจกรรม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 โดยกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา จึงได้จัดโครงการโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษา: ค่ายห้องเรียนสีเขียวรักพลังงานขึ้น เพื่อสร้างความเข้าใจ และ สร้างเจตคติแก่ครูผู้สอนในการนาแนวทางการจัดกิจกรรมส่ิงแวดล้อมศึกษาไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสานึกให้ผู้เรียนมีความตระหนัก เห็นความสาคัญและมีจิตสานึกท่ีดีในด้านการจัดการขยะ และ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เนื่องจากปัญหาสิ่งแวดล้อมและขยะเป็นปัญหาที่คนไทยทุกคนต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง เพ่อื คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี องคนไทยและพลโลก

2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการรู้คุณค่าและรักษาส่ิงแวดล้อมให้แก่ครูและ นักเรียนในสังกัดให้นักเรียนได้ลงมือทดลองปฏิบัติจริง จนเกิดความตระหนักถึงความจาเป็นในการประหยัด พลังงานและการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ สามารถเป็นผู้นาในการดาเนินกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม นาความรู้ด้านพลังงาน การจัดการขยะ และอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมไปขยายผลทโ่ี รงเรียนไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธิภาพและเป็นรูปธรรม 2.2 เพื่อพฒั นาครู ให้มีความร้เู รอื่ งพลงั งาน การอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อม สามารถจดั กระบวนการ เรียนรู้ให้กับนักเรียน เพื่อสร้างทัศนคติและปลูกฝังจิตสานึกและพฤติกรรมการใช้พลังงานท่ีถูกต้องลด การสรา้ งขยะ และดแู ลสงิ่ แวดล้อม ซึง่ มงุ่ หวังใหเ้ กิดการขยายผลจากนักเรยี นส่คู รอบครวั และชุมชนตอ่ ไป 3. เปา้ หมาย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ (1) พฒั นาครเู พ่ือเป็นวทิ ยากร ในด้านการอนุรักษพ์ ลงั งาน ลดการสร้างขยะ และการอนรุ ักษ์ ส่ิงแวดลอ้ ม จานวน 60 คน (2) พัฒนาครูแกนนา จานวน 40 คน และนักเรียนแกนนา จานวน 60 คน ในด้านการอนุรักษ์ พลังงาน ลดการสรา้ งขยะ และการอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม (3) มโี รงเรียนท่มี ีการบรหิ ารจัดการด้านพลงั งาน ส่งิ แวดล้อมและการจัดการขยะทีด่ ี (Best Practice) จานวน 5 โรงเรยี น 3.2 เชิงคุณภาพ (1) ครูแกนนาท่ีเข้ารับการอบรม สามารถนาความรู้ด้านการลดใช้พลังงาน การจัดการขยะ และอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดล้อม ปลกู ฝงั ความรแู้ ละทศั นคติใหน้ ักเรียนมีระเบียบ มวี ินยั รู้จกั เลือกใชส้ ่ิงของที่ไม่สร้างขยะ ท่เี กิดมลพิษ และรู้จกั วธิ กี ารจัดการขยะอยา่ งเป็นระบบ (2) นักเรียนแกนนาที่เข้ารับการอบรม เกิดความตระหนักถึงความจาเป็นในการประหยัด พลังงาน และการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ สามารถเป็นผู้นาในการดาเนินกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน และส่งิ แวดลอ้ มนาความร้ดู า้ นพลังงาน การจัดการขยะ และอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มไปขยายผลทโี่ รงเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเปน็ รปู ธรรม 4. วธิ ีการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผูร้ ับผิดชอบ มี.ค. – เม.ย. 2562 นางขวัญใจ ชะเอม ที่ กิจกรรม/ข้ันตอนการดาเนนิ งาน นางวราภรณ์ พานธงรักษ์ กจิ กรรมท่ี 1 อบรมครูแกนนา ค่าย Green School Camp : คา่ ยห้องเรียนสีเขยี วรกั พลังงาน ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 1.1 แต่งตง้ั คณะกรรมการ 1.2 ประชมุ คณะกรรมการ 1.3 อบรมครแู กนนา จานวน 60 คน ระยะเวลา 2 วนั 1 คนื 1.4 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน 4. วิธกี ารดาเนนิ งาน (ต่อ)

ที่ กจิ กรรม/ข้นั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผ้รู บั ผดิ ชอบ กิจกรรมที่ 2 อบรมครแู ละนกั เรียนแกนนา เม.ย. – ก.ค. 2562 นางขวัญใจ ชะเอม นางวราภรณ์ พานธงรักษ์ คา่ ย Green School Camp : ค่ายหอ้ งเรยี น สเี ขยี วรักพลังงาน ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 2.1 ประชุมคณะกรรมการ 2.2 อบรมครูและนกั เรียนแกนนา (ครู 40 คน นักเรียน 60 คน ระยะเวลา 2 วัน 1 คนื ) 2.3 ออกติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งาน ของทกุ โรงเรียนในสงั กัด คัดเลอื กโรงเรียนท่มี ี ผลการดาเนนิ งานดเี ด่นเพอื่ เป็นตน้ แบบระดบั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา 2.4 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน 5. ระยะเวลาและสถานทด่ี าเนินการ 5.1 ระยะเวลาดาเนินการ มนี าคม – กันยายน 2562 5.2 สถานทด่ี าเนนิ การ - โรงเรียนบา้ นใหมผ่ า้ ขาว อาเภอแจ้หม่ จังหวัดลาปาง 6. งบประมาณ งบประมาณ 6.1 งบประมาณจานวน 162,160 บาท (73,000) 6.2 รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ 1,200 กจิ กรรม 750 กิจกรรมที่ 1 อบรมครูแกนนาค่าย Green School Camp : คา่ ยห้องเรียนสีเขียว รกั พลังงาน 25,600 ค่าใชจ้ ่าย 16,000 1.1 คา่ อาหารกลางวัน สาหรับคณะกรรมการและเจ้าหนา้ ท่ีที่เกีย่ วข้อง จานวน 15 คน จานวน 1 มอ้ื ๆ ละ 80 บาท 1.2 คา่ อาหารว่างและเครื่องด่ืม สาหรับคณะกรรมการและเจา้ หนา้ ทท่ี ีเ่ กย่ี วข้อง จานวน 15 คน จานวน 1 มอ้ื ๆ ละ 25 บาท 1.3 ค่าอาหาร จานวน 4 ม้ือๆ ละ 80 บาท สาหรับผูเ้ ข้ารบั การอบรมคณะวทิ ยากร และเจา้ หนา้ ท่ีท่ีเกี่ยวข้อง จานวน 80 คน 1.4 ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม จานวน 8 ม้ือๆ ละ 25 บาท สาหรบั ผูเ้ ขา้ รบั การอบรม คณะวทิ ยากร และเจา้ หน้าที่ทีเ่ กย่ี วข้อง จานวน 80 คน 6. งบประมาณ (ตอ่ )

กิจกรรม งบประมาณ 1.5 ค่าวสั ดุสาหรับใชใ้ นการอบรม เชน่ กระดาษ เอ 4 , หมกึ พมิ พ์ ฯลฯ 10,490 1.6 คา่ จา้ งทาป้ายไว้นลิ ขนาด 4x2 เมตร จานวน 1 ผืน 960 1.7 ค่าสมนาคุณวิทยากร 15,000 1.8 คา่ สถานที่ 3,000 กจิ กรรมที่ 2 อบรมครแู ละนักเรียนแกนนาคา่ ย Green School Camp : ค่าย ห้องเรยี นสเี ขียวรักพลงั งาน (89,160) ค่าใช้จา่ ย 2.1 คา่ อาหารกลางวัน สาหรับคณะกรรมการและเจ้าหนา้ ท่ีที่เก่ียวข้อง รวม 15 คน 1,200 คนละ 80 บาท จานวน 1 ม้ือ 2.2 ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม สาหรบั คณะกรรมการและเจ้าหนา้ ท่ีทีเ่ ก่ียวข้อง 750 จานวน 15 คนๆ ละ 25 บาท จานวน 2 ม้อื 2.3 คา่ อาหารกลางวัน สาหรบั ผู้เขา้ รบั การอบรม คณะวทิ ยากร และเจ้าหนา้ ท่ี 38,400 ทีเ่ กยี่ วข้อง จานวน 120 คนๆ ละ 80 บาท จานวน 4 มือ้ 2.4 คา่ อาหารว่างและเครื่องดื่ม สาหรับผู้เขา้ รับการอบรม คณะวิทยากร และ 24,000 เจ้าหนา้ ท่ีท่ีเก่ยี วข้อง จานวน 120 คนๆ ละ 25 บาท จานวน 8 ม้ือ 5,850 2.5 ค่าวัสดุสาหรับใชใ้ นการอบรม เช่น กระดาษ เอ 4, หมึกพมิ พ์, กระดาษบรู๊ฟ ฯลฯ 2.6 คา่ จ้างทาป้ายไวนลิ ขนาด 4x2 เมตร จานวน 1 ผนื 960 2.7 คา่ สมนาคุณวิทยากร 15,000 2.8 ค่าสถานที่ 3,000 162,160 รวม หมายเหตุ สามารถถัวจ่ายไดท้ กุ รายการ 7. การวิเคราะหค์ วามเสย่ี งของโครงการ 7.1 ปัจจยั ความเสย่ี ง - ขาดการดาเนนิ งานอย่างต่อเนอ่ื ง - มกี ารเปลี่ยนแปลงบุคลากรผู้รบั ผดิ ชอบบ่อยครง้ั ทาใหข้ าดความตอ่ เน่อื งในการปฏิบัตงิ าน 7.2 แนวทางการบรหิ ารความเส่ยี ง - กากบั ตดิ ตามการดาเนินงานอย่างสมา่ เสมอและตอ่ เนื่อง - กาหนดบุคลากรทาหนา้ ท่ีแทน ในกรณบี ุคลากรผู้รบั ผดิ ชอบหลกั ไมส่ ามารถปฏบิ ตั งิ านได้ - จัดทาเอกสารค่มู อื การดาเนนิ งานมอบให้กับโรงเรยี น 8. ตวั ช้ีวดั และค่าเปา้ หมาย

ตัวช้ีวดั คา่ เปา้ หมาย - ร้อยละของโรงเรยี นในสังกัด มีการจัดการขยะและอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม ร้อยละ 100 อย่างมีระบบ - ร้อยละของนกั เรียนในสังกัดมรี ะเบียบ มีวนิ ัย รูจ้ กั เลอื กใช้สง่ิ ของทไ่ี ม่ รอ้ ยละ 100 สรา้ งขยะทเ่ี กดิ มลพษิ และรจู้ กั วิธกี ารจดั การขยะ ขยายผลไปสคู่ รอบครัว และชุมชน 9. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั 9.1 ครู และนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและทัศนคติ รู้คุณค่าและรักษาสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงความจาเป็นในการประหยัดพลังงาน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ มปี ระสิทธภิ าพและเป็นรูปธรรม 9.2 ครู สามารถจดั กระบวนการเรียนรู้ให้กับนักเรียน เพอ่ื สรา้ งทัศนคติและปลูกฝังจิตสานึก และพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ถูกต้อง ลดการสร้างขยะ และดูแลสิ่งแวดล้อม สามารถขยายผลจากนักเรียน สคู่ รอบครัวและชมุ ชนตอ่ ไป 9.3 นักเรียนมีระเบียบ มีวินัย รู้จักเลือกใช้สิ่งของท่ีไม่สร้างขยะที่เกิดมลพิษ และรู้จักวิธีการ จัดการ โครงการ สง่ เสริมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น หนว่ ยงานรับผิดชอบโครงการ กลุม่ ส่งเสริมการจดั การศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook