Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนประจำปีงบประมาณ2562

แผนประจำปีงบประมาณ2562

Published by Aisara Deemak, 2020-04-23 23:33:03

Description: แผนประจำปีงบประมาณ2562

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 . สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เอกสารลาดบั ท่ี 2/2562 กลมุ่ นโยบายและแผน สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3

คานา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 นี้ จัดทาข้ึนโดยความร่วมมือจากทุกกลุ่มงาน ในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินการ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินงาน ขับเคล่ือนกลยุทธ์สู่ความสาเร็จตามเป้าหมาย โดยมีสาระสาคัญประกอบด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ กิจกรรม และงบประมาณ ซ่ึงได้ดาเนินการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปี กับนโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และนโยบายของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เพ่อื ให้การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ในความรับผิดชอบ มีคุณภาพ เกดิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสูงสดุ โดยม่งุ สเู่ ป้าหมายสดุ ทา้ ยคือการพัฒนา ให้นักเรียนไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งทั่วถึงและมคี ุณภาพเต็มตามศกั ยภาพท่เี ท่าเทยี มกัน ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ฉบบั น้ี สาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3

สารบัญ หนา้ คานา 1 สว่ นที่ 1 สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการในการพฒั นา 3 - สภาพทั่วไป 10 - ปัญหา อุปสรรค และความตอ้ งการในการพัฒนา 12 ส่วนท่ี 2 บรบิ ทท่เี กี่ยวข้องกับการจดั ทาแผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 15 สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 19 - ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) 23 - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) 24 - แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560 – 2579) 24 - นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร)ี - นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2558 – 2564) 26 - นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร - นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 33 สว่ นท่ี 3 สาระสาคญั ของแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 36 - ทิศทางการดาเนินงานของสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ส่วนที่ 4 โครงการ/กิจกรรม 42 - สรุปโครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.25562 47 - รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 52 กลยุทธท์ ี่ 1 ขับเคลื่อนจดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่งคง (1) โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรยี นพ้ืนทีย่ ากลาบาก และโรงเรยี นพ้นื ทสี่ งู ในถิน่ ทุรกนั ดาร 55 กลยุทธ์ท่ี 2 เรง่ รดั การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนให้มีความรคู้ วามสามารถ 58 และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 62 (1) โครงการพฒั นาการจัดประสบการณ์การเรียนรรู้ ะดบั ปฐมวยั 66 (2) โครงการพฒั นาระบบการวดั และประเมนิ คุณภาพผู้เรียนเพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น (3) โครงการพฒั นาการยกระดับผลสัมฤทธิใ์ นการทดสอบความสามารถพ้ืนฐาน ของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) (4) โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาครผู สู้ อนภาษาไทยช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 เพื่อแก้ไขปญั หาการอ่านไมอ่ อกเขยี นไม่ได้ (5) โครงการพัฒนาศักยภาพครใู นการจดั การเรยี นรวู้ ิทยาการคานวณ (6) โครงการส่งเสรมิ ระบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (7) โครงการแขง่ ขันทักษะทางวชิ าการนกั เรยี น “งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น”

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ (8) โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 70 (9) โครงการพัฒนาการเรยี นการสอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 74 (10) โครงการพัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 78 (11) โครงการสงิ่ แวดล้อมศึกษา : คา่ ยห้องเรียนสเี ขยี วรักพลังงาน 83 (12) โครงการสง่ เสริมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 88 (13) โครงการแข่งขนั กีฬานกั เรยี นต้ายภยั ยาเสพติด “สพฐ.เกมส์” ประจาปี 2561 93 (14) โครงการเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ระบบดแู ลช่วยเหลอื และคมุ้ ครองนักเรียน 97 ประจาปี 2562 กลยุทธท์ ่ี 3 พัฒนาศกั ยภาพผบู้ ริหาร ครู แลบคุ ลากรทางการศึกษา สคู่ วามเป็นมืออาชีพ (1) โครงการสง่ เสริมประสิทธภิ าพการบริหารงานบุคคล 102 (2) โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 108 ตามมาตรฐานวชิ าชพี สู่ความเปน็ มืออาชีพ (3) โครงการมุทิตาจติ ผู้ทเ่ี กษียณอายุราชการ 117 กลยุทธ์ที่ 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลื่อมล้าทางการศกึ ษา (1) โครงการส่งเสริมการแนะแนวการศึกษาต่อและอาชพี 120 (2) โครงการเพิม่ โอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษาให้ผู้เรียนได้รับ 123 การศกึ ษาภาคบังคบั กลยุทธ์ท่ี 5 เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการแบบบรู ณาการ (1) โครงการพฒั นาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการ สพป.ลาปาง เขต 3 128 (2) โครงการจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา การบรหิ ารงบประมาณ 131 และการตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน (3) โครงการพฒั นาคุณภาพโรงเรียนขนาดเลก็ 138 (4) โครงการขบั เคลื่อนนโยบายการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ัติ 143 (5) โครงการพฒั นาระบบการควบคมุ ภายใน 147 (6) โครงการเสริมสรา้ งประสิทธภิ าพการปฏิบัติราชการและการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน 151 สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา (7) โครงการพฒั นาประสิทธิภาพการประชาสมั พันธ์ สพป.ลาปาง เขต 3 155 (8) โครงการเสรมิ สรา้ งประสิทธิภาพการมสี ว่ นร่วมการจดั การศกึ ษา 159 (9) โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การด้านการเงินและสินทรัพย์ 162 (10) โครงการพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมลู และบรหิ ารจัดการสารสนเทศทางการศึกษา 169 และระบบการจดั การศึกษาทางไกล

สารบญั (ตอ่ ) หน้า ภาคผนวก - คาส่งั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ท่ี 244/2561 ลงวนั ท่ี 30 ตุลาคม พ.ศ.2561 เรอื่ งแต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ โครงการ และจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 3 - คาสั่งสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ที่ 221/2561 ลงวันท่ี 24 กนั ยายน พ.ศ.2561 เรือ่ งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร จดั ทาแผนพฒั นาการศกึ ษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 - คณะผูจ้ ดั ทา

 สว่ นที่ 1 สภาพปจั จุบนั ปญั หา และความต้องการในการพฒั นา 

ส่วนที่ 1 สภาพปัจจุบนั ปญั หา และความตอ้ งการในการพฒั นา  1. สภาพท่ัวไป 1.1 ที่ตั้ง สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เป็นส่วนราชการสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ทาหน้าที่ส่งเสริม กากับ ติดตามการดาเนินงาน สถานศึกษา ในเขตอาเภอแจ้ห่ม อาเภอวังเหนือ และอาเภอเมืองปาน ตั้งอยู่เลขที่ 359 ตาบลแจ้ห่ม อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง อยู่ห่างจากจังหวัดลาปางข้ึนไปทางทิศเหนือ ตามเส้นทางถนนสายลาปาง – แจ้ห่ม ประมาณ 54 กิโลเมตร อาคารท่ที าการเปน็ อาคารเรียนแบบ 004 สร้าง พ.ศ. 2516 2 ช้นั 12 ห้อง อาณาเขตตดิ ตอ่ ของสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกบั จงั หวัดพะเยา , จงั หวดั เชยี งราย ทิศใต้ มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั อาเภอเมอื ง , อาเภอแมเ่ มาะ จงั หวัดลาปาง ทศิ ตะวันตก มอี าณาเขตติดต่อกบั จังหวัดเชียงราย , จังหวัดเชียงใหม่ ทศิ ตะวันออก มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั อาเภองาว จงั หวดั ลาปาง , จังหวัดพะเยา ลกั ษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นท่ีโดยทั่วไปของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ประกอบด้วย โรงเรียนในเขตอาเภอแจ้ห่ม อาเภอวังเหนือ และอาเภอเมืองปาน มีพื้นที่ทั้งหมด 3,248.47 ตารางกิโลเมตร สภาพของพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขามีป่าไม้ล้อมรอบ พื้นที่ป่าไม้ร้อยละ 61 ของพื้นที่ทั้งหมด มีที่ราบลุ่ม บริเวณท่ีราบใกล้แม่น้าเป็นบางส่วน มีแม่น้าสายสาคัญไหลผ่าน คือ แม่น้าวัง แม่น้าสอย แม่น้ามอญ แม่น้าปาน และแม่น้าตุ๋ย ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีประชากรจานวน 117,720 คน (ชายจานวน 58,950 คน หญงิ จานวน 58,770 คน คน) ลักษณะภูมิอากาศ จากลกั ษณะพืน้ ที่ของจงั หวดั ทีเ่ ป็นแอ่งคลา้ ยก้นกระทะ จงึ ทาให้อากาศร้อนอบอา้ วเกอื บตลอดปี ฤดูร้อนร้อนจัด และหนาวจัดในฤดูหนาว มีอุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด 41.6 องศาเซลเซียส เฉล่ียต่าสุด 10.5 องศาเซลเซียส ปรมิ าณน้าฝนวัดได้ 1,105.0 มิลลิเมตรตอ่ ปี ลกั ษณะภูมอิ ากาศแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ฤดู คอื ฤดูร้อน เร่ิมประมาณต้นเดือนมีนาคมจนถึงปลายเดือนพฤษภาคม อากาศจะร้อนอบอ้าวมาก เดอื นทมี่ อี ากาศรอ้ นทส่ี ดุ คอื เดือนเมษายน ฤดูฝน เร่มิ ประมาณกลางเดอื นพฤษภาคม ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวเย็นมาก ชว่ งท่มี อี ากาศหนาวจดั คอื เดือนมกราคม 1.2 ข้อมูลพืน้ ฐาน โรงเรียนในสังกัด จานวน 92 โรงเรยี น 2 สาขา - เปิดสอนชัน้ อนบุ าล – ประถมศึกษา 79 โรงเรยี น โรงเรียน - เปดิ สอนชัน้ อนบุ าล – ชนั้ ม.ต้น 13

ด้านการปกครอง สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 มพี น้ื ท่ตี ้ังอยู่ในเขตปกครอง ดังนี้ • อาเภอ 3 อาเภอ • ตาบล 20 ตาบล • หมบู่ า้ น 197 หมู่บ้าน • จานวนครวั เรอื น 41,140 ครวั เรอื น • จานวนประชากร 117,720 คน • องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 17 แห่ง • เทศบาลตาบล 6 แห่ง (ข้อมลู ณ เดือนธันวาคม 2560 : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) ด้านการศึกษา สถานศกึ ษา 96 แหง่ • สถานศึกษาของรฐั 92 แห่ง (2 สาขา) • สถานศึกษาของเอกชน - แหง่ • สถานศึกษาของสงฆ์ 2 แหง่ • สถานศึกษาสงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ 2 แห่ง นกั เรียน 6,869 คน • ระดับปฐมวยั 1,395 คน • ระดบั ประถมศึกษา 4,887 คน • ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 587 คน (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 10 มถิ นุ ายน 2561) ขา้ ราชการ 604 คน • ขา้ ราชการครู 573 คน • ผู้อานวยการสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา/ 2 คน รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา • ศกึ ษานเิ ทศก์ 4 คน • บคุ ลากรทางการศึกษาอ่นื ม.38 ค.(2) 25 คน ลูกจา้ ง 245 คน • ลกู จา้ งประจา 49 คน • ลูกจ้างชว่ั คราวสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา 19 คน • พนกั งานราชการ 16 คน • ครูธรุ การ 94 คน • ครรู ายเดือน ขน้ั วิกฤต 27 คน • ครพู ่ีเลี้ยงเด็กพิการ 21 คน • บคุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 19 คน (ข้อมูล ณ เดอื นพฤศจิกายน 2561)

2. ปญั หา อุปสรรค และความตอ้ งการในการพัฒนา การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม (SWOT) ของสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ทั้งสภาพแวดล้อมภายนอกและสภาพแวดล้อมภายใน ปรากฏดังนี้ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก โดยวเิ คราะห์แบบ C-PEST C : ด้านพฤติกรรมของลกู คา้ ประเด็นที่เป็นโอกาส 1. ผู้ปกครองให้การสนบั สนุนการจดั การศึกษาของโรงเรียน ส่งผลดตี ่อการขบั เคลื่อนการจดั การศกึ ษา 2. ชุมชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ภาคเอกชนและภาครัฐบาล เป็นภาคเี ครือข่ายที่ดี ในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประเด็นทเี่ ป็นอุปสรรค 1. ผู้ปกครองสว่ นหนง่ึ ท่ีมีฐานะดี มคี ่านิยมส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียนทีม่ ีชื่อเสยี ง สง่ ผล ให้ จานวนนักเรียนในเขตบริการของโรงเรยี นลดลง 2. นักเรียนทม่ี ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษมจี านวนมาก ส่งผลตอ่ การจดั การศึกษา P : ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย ประเด็นท่เี ปน็ โอกาส 1. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 , พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม , พระราชบญั ญตั ิการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545 กาหนดให้ประชาชนทุกคน ไดร้ ับการศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน ไมน่ ้อยกวา่ 12 ปี โดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย ส่งผลให้ผเู้ รยี นไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถงึ 2. การปฏริ ูประบบบรหิ ารภาครฐั และการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 สง่ ผลให้มีการปรับเปลี่ยน การบรกิ ารทางการศึกษาเป็นไปในทิศทางท่ดี ี 3. นโยบายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน สนับสนนุ และเอ้ือต่อการจดั การศึกษา 4. นโยบายรฐั บาลกาหนดให้มีการกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมสี ว่ นรว่ ม ในการจดั การศกึ ษา ทาให้โรงเรียนไดร้ ับการสนับสนุนการจดั การศึกษา 5. การปรับเปลย่ี นระบบงบประมาณโดยองิ ยุทธศาสตรช์ าติ (SPBB) มีความชัดเจนในการกาหนด ตัวชวี้ ดั ในการพฒั นา 6. รัฐบาลกาหนดโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ส่งผลให้โรงเรยี นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างทัว่ ถึงและมีคุณภาพ ประเด็นท่เี ปน็ อปุ สรรค 1. นโยบายด้านการศกึ ษาของรัฐบาล ปรบั เปลยี่ นบ่อย ขาดความต่อเน่ือง เป็นอปุ สรรคต่อ การกาหนดทิศทางการจดั การศึกษา 2. นโยบายของหน่วยเหนือ ไม่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและแก้ไขปัญหาระดับพน้ื ที่ไมไ่ ด้ 3. ประชาชนมีความรู้ในด้านกฎหมายการศึกษาน้อย ยงั ไม่เหน็ ความสาคัญเทา่ ที่ควร ส่งผลตอ่ การจดั การศึกษา

E : ดา้ นเศรษฐกจิ ประเดน็ ทเี่ ปน็ โอกาส 1. การปรบั เปล่ียนประเทศไทยไปสูป่ ระเทศไทย 4.0 โดยการปรบั โครงสร้างทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ส่งผลใหเ้ ศรษฐกิจมแี นวโนม้ ดีข้ึน 2. โครงการสวสั ดกิ ารแห่งรฐั ทาใหผ้ ้ปู กครองมรี ายได้มากข้ึน สง่ ผลดีตอ่ การสนบั สนนุ การศึกษา 3. โครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทาให้ผู้เรยี นไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาอยา่ ง ผู้ปกครองลดภาระค่าใชจ้ ่ายสาหรับบุตรหลาน ประเด็นทเ่ี ปน็ อุปสรรค 1. ผปู้ กครองสว่ นใหญ่มรี ายได้ตา่ ฐานะยากจน การสนับสนุนการศึกษาไดไ้ มเ่ ต็มท่ี สง่ ผลให้ นกั เรียนบางคนขาดโอกาสทางการศึกษา 2. ไม่มีตลาดแรงงานขนาดใหญใ่ นท้องถ่ิน ทาใหเ้ กิดภาวะการวา่ งงานแอบแฝง 3. ค่าครองชีพท่ีสูงข้นึ มีผลกระทบต่อผ้ปู กครอง ส่งผลตอ่ การจดั การศึกษา S : ดา้ นสังคมและวฒั นธรรม ประเด็นทเ่ี ป็นโอกาส 1. เป็นสังคมเกษตรกรรม มีการนาเทคโนโลยีสมัยใหมม่ าใช้และเป็นต้นแบบ สง่ เสริมกจิ กรรม การเรียนการสอน 2. สถาบันทางศาสนา มีบทบาทในการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรมในสถานศกึ ษา 3. สภาพชมุ ชนเปน็ แหล่งเรยี นรูท้ สี่ าคญั มีขนบธรรมเนียมประเพณแี ละวถิ ชี วี ติ ท่ีเอ้ือตอ่ การจดั การศึกษา ประเดน็ ทเ่ี ป็นอปุ สรรค 1. ปญั หาสงิ่ เสพตดิ ในชุมชน เป็นปัจจยั เส่ยี งตอ่ ประชากรวัยเรียน 2. อตั ราการเกดิ ของประชากรลดลง สง่ ผลให้มีโรงเรียนขนาดเลก็ เพิ่มขึน้ 3. ค่านิยมดา้ นวัตถุ ส่งผลกระทบต่อวถิ ชี ีวิตของผเู้ รยี น 4. แนวโน้มครอบครัวมีอัตราการหยา่ รา้ งสูง สง่ ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผ้เู รียน 5. วิถีการดารงชีวติ ของชุมชน มคี า่ นิยมที่ไม่เหมาะสม ส่งผลต่อการเลียนแบบพฤตกิ รรม T : ดา้ นเทคโนโลยี ประเด็นที่เปน็ โอกาส 1. การสนับสนุนให้โรงเรียนตามนโยบายของรฐั บาล เป็นแหลง่ สนบั สนนุ ความรูด้ า้ น เทคโนโลยี 2. ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี ทาใหก้ ารสื่อสารทว่ั ถึง ครอบคลมุ ทุกพนื้ ท่ีของชมุ ชน อานวย ความสะดวกในการปฏิบตั ิงานของเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาและโรงเรยี น ให้มคี วามสะดวกและคล่องตัวมากย่งิ ข้นึ 3. เอกชนสนับสนนุ ระบบสัญญาณอินเตอร์เนต็ ให้กบั โรงเรียน ประเดน็ ทีเ่ ป็นอุปสรรค 1. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เกม อนิ เตอร์เน็ต ที่ไมเ่ หมาะสม ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรม ผู้เรยี น 2. การใช้เทคโนโลยที ่ไี ม่คุม้ คา่ ตอ่ การจัดการเรียนรู้

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน โดยวิเคราะห์แบบ 7S S1 : ดา้ นโครงสรา้ ง ประเดน็ ที่เป็นจุดแขง็ 1. โครงสรา้ งการบรหิ ารสานักงาน กลมุ่ เครือข่าย รวมถึงโรงเรียน เป็นระบบ 2. โรงเรียนมีความพร้อมในการบริหารจดั การ 3. กลุ่มเครือขา่ ยโรงเรยี น มสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการศึกษาร่วมกับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา 4. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาสามารถบริหารจัดการเป็นไปตามมาตรฐานสานักงานเขตพ้ืนท่ี ดาเนินงาน ตามระเบียบกฎหมายที่กาหนด มีการกาหนดบทบาท คุณลกั ษณะ ความรับผดิ ชอบ มอบหมายงานชัดเจน 5. การปรับเพิ่มกลมุ่ งานในเขตพ้ืนที่การศกึ ษา เป็น 9 กลมุ่ กบั 1 หน่วย เพื่อเพมิ่ ประสิทธภิ าพ ในการปฏบิ ตั งิ านของบุคลากร ประเด็นทเี่ ปน็ จุดอ่อน 1. เขตพนื้ ที่การศึกษาขาดกระบวนการมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจของกลุม่ เครือข่ายโรงเรียน 2. การดาเนนิ งานของศนู ย์พัฒนาวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ยงั ไม่เปน็ ระบบ ขาดบุคลากร ในการขับเคลอ่ื น ขาดการประสานงาน ขาดการกากับติดตาม S2 : ด้านกลยุทธข์ องหนว่ ยงาน ประเด็นที่เป็นจดุ แข็ง 1. กาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตวั ชวี้ ดั ชัดเจน และสอดคล้องกับบริบทของ หนว่ ยงาน ทุกฝา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการดาเนนิ การ 2. การจดั ทาโครงการ/กจิ กรรม สอดคลอ้ งกบั กลยุทธข์ องหนว่ ยเหนือ โดยใช้กระบวนการ มสี ว่ นร่วมของผมู้ ีสว่ นเกย่ี วข้อง 3. การวางแผนการจดั การศกึ ษา เกิดจากการมีสว่ นร่วมของผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย 4. กลยทุ ธข์ องเขตพนื้ ท่ีการศึกษามเี ป้าหมายทส่ี ง่ ถึงผู้เรยี นโดยตรง ประเดน็ ทเ่ี ปน็ จุดอ่อน 1. โครงการบางโครงการยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ เนื่องจากมีข้อจากับด้านงบประมาณ ระยะเวลา และกลุม่ เป้าหมาย 2. การติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงาน ขาดความต่อเน่ือง ไม่เปน็ ไปตามปฏทิ นิ ท่ีกาหนด รวมถึงขาดเคร่อื งมือท่ีชัดเจน S3 : ด้านระบบในการดาเนินงานของหน่วยงาน ประเดน็ ท่ีเปน็ จุดแขง็ 1. เขตพื้นท่ีการศึกษามีการกาหนดขั้นตอน แนวทางและคู่มือการปฏบิ ตั งิ านทีช่ ัดเจน มรี ะบบ การควบคมุ ภายในท่มี ปี ระสิทธภิ าพ รองรบั การกระจายอานาจ 2. เขตพืน้ ท่กี ารศึกษามีการบริหารจัดการ และมรี ะบบควบคุมดา้ นงบประมาณอย่างมีคณุ ภาพ การใชจ้ า่ ยเงินเปน็ ไปตามที่กาหนด 3. เขตพ้นื ที่การศึกษามรี ะบบการสรรหาและคัดเลือกบคุ ลากรท่ีชัดเจนโปร่งใส ตรวจสอบได้ บรหิ ารอตั รากาลังตามแผนอตั รากาลงั 4. เขตพื้นทีก่ ารศึกษาและโรงเรยี น มีระบบควบคมุ ใชว้ สั ดุ อุปกรณอ์ ย่างค้มุ ค่าและเตม็ ศกั ยภาพ 5. โรงเรียนมีระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิภาพ

6. เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาและโรงเรยี น มีระบบการตดิ ต่อสอ่ื สารเทคโนโลยสี ารสนเทศท่หี ลากหลาย สนบั สนุนการดาเนนิ งาน 7. เขตพ้นื ท่ีการศึกษา มรี ะบบการจดั ตัง้ งบประมาณ (ปร.4 ปร.5 ปร.6) อย่างมีประสิทธภิ าพ 8. เขตพื้นท่ีการศึกษา มีระบบการฝึกอบรม สัมมนา เพ่ือเพิ่มศกั ยภาพให้กับบุคลากรอย่าง ตอ่ เนื่อง 9. เขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีระบบการบริการท่ีดี อานวยความสะดวกให้ผู้รบั บริการอยา่ งท่วั ถึง และ มีคุณภาพ ประเด็นทีเ่ ปน็ จดุ อ่อน 1. โรงเรียนบางแหง่ ยังไม่ใช้แผนเปน็ เคร่ืองมือในการดาเนนิ งาน 2. ระบบการจัดเก็บข้อมลู หรือคลังข้อมูลของเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ไมเ่ ปน็ ปจั จุบัน ไมส่ ะดวกตอ่ การใช้งาน และทนั ต่อความต้องการใช้ 3. การให้บรกิ ารข้อมูลสารสนเทศแก่ผ้มู ีส่วนเกย่ี วขอ้ งไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ 4. การส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้ในหนว่ ยงาน (KM) ขาดการมีสว่ นร่วมและไม่มคี วามต่อเนอ่ื ง 5. ระบบงานสารบรรณระหว่างเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาและโรงเรยี น ช้าและขาดความต่อเนื่อง S4 : ด้านแบบแผนหรือพฤตกิ รรมในการบริหารจดั การ ประเด็นที่เปน็ จุดแข็ง 1. ผู้บรหิ ารและบคุ ลากรในเขตพื้นท่ีการศกึ ษา มีความสามารถในการบรหิ ารจัดการเชงิ กลยุทธ์ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม มีทักษะการสัง่ การ การควบคุมการจงู ใจ สะท้อนถึงวัฒนธรรม หน่วยงาน 2. ผูบ้ ริหาร กระจายอานาจตัดสนิ ใจใหบ้ คุ ลากรไดใ้ ชศ้ ักยภาพทมี่ อี ยู่ ปฏบิ ัติงานอย่างเตม็ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะทกี่ าหนด 3. การบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ของเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ประเดน็ ทเี่ ป็นจุดอ่อน 1. ผบู้ รหิ ารสว่ นหน่ึง ยังใช้การบริหารแบบเดิม ยงั ไม่เปน็ ผู้นาทางวิชาการ 2. ผบู้ รหิ ารขาดการสง่ เสริมการวิจยั และพัฒนานวตั กรรมใหม่ ๆ เพื่อนามาใชใ้ นการบรหิ าร จัดการองค์กร 3. รปู แบบการบริหารจัดการของทมี บริหาร ไม่เอ้ือต่อการบริหารจัดการของเขตพ้ืนที่การศึกษา และโรงเรียน S5 : ด้านบุคลากร/สมาชกิ ในหนว่ ยงาน ประเดน็ ท่ีเปน็ จดุ แข็ง 1. ผบู้ ริหารการศกึ ษาและผูบ้ ริหารโรงเรยี นได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะ ด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย 2. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะ 3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั การเสรมิ สรา้ งความรู้เรอื่ งระเบียบ กฎหมาย สง่ เสริมวนิ ยั คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ 4. บคุ ลากรในเขตพืน้ ที่การศึกษามีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง มาตรฐานวชิ าชพี และบทบาทหน้าที่ 5. มีการส่งเสริม สร้างขวัญกาลังใจให้แก่ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาดว้ ยรูปแบบและวิธกี าร ท่หี ลากหลาย

ประเดน็ ทีเ่ ปน็ จดุ อ่อน 1. อัตรากาลังครูในโรงเรียน ไมส่ อดคล้องกับสภาพความเป็นจรงิ ในการจดั การเรียนการสอน โดยเฉพาะโรงเรยี นขนาดเลก็ มคี รูสอนไมค่ รบชัน้ 2. ครมู ภี าระงานอ่ืนท่ีต้องรับผดิ ชอบนอกเหนือจากงานสอน 3. อตั รากาลังของบุคลากรในเขตพื้นท่ีและโรงเรยี น ไม่เพียงพอกับภารกิจงาน เนื่องจากแนวโนม้ การเกษยี ณอายรุ าชการ และมกี ารย้ายออกเพ่ิมสงู ข้ึน 4. การปรับอัตรากาลงั ลูกจ้างประจาของโรงเรียน (นักการภารโรง) ส่งผลตอ่ การบรหิ าร จดั การ ของเขตพนื้ ท่ีการศึกษาและโรงเรียน S6 : ด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถของหนว่ ยงาน ประเดน็ ทเ่ี ป็นจดุ แขง็ 1. บคุ ลากรมศี ักยภาพและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สามารถปฏบิ ตั ิหน้าท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมาย ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2. บคุ ลากรมีความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบตั ิงานตามสมรรถนะ/มาตรฐานวิชาชพี ประเดน็ ทเ่ี ป็นจุดอ่อน 1. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาสว่ นใหญ่ ขาดความรู้และทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร ภาษาองั กฤษ รวมถึงภาษาทใ่ี ช้ในกลมุ่ อาเซียน 2. ขาดแคลนบุคลากรทีม่ ีความรู้ ความสามารถและทักษะด้าน ICT ด้านงานก่อสรา้ ง และ งานวิจัยทางการศกึ ษา 3. บุคลากรส่วนใหญ่ขาดความตอ่ เน่ืองในการจัดทาแผนพัฒนาตนเอง 4. ครไู ม่สามารถจัดการเรยี นรู้ใหน้ ักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (nt , O-NET) ตามเป้าหมาย ที่เขตพ้ืนที่การศกึ ษากาหนด เนื่องจากโรงเรียนขนาดแคลนครู 5. ครบู างสว่ นไม่ใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรแู้ ละยังไม่ปรบั เปลีย่ นวิธกี ารจดั การเรียนการสอน 6. บคุ ลากรในเขตพน้ื ที่การศึกษา ไม่มีการจัดทาแผนพัฒนาตนเอง S7 : ดา้ นค่านยิ มร่วมกนั ของสมาชิกในหน่วยงาน ประเดน็ ทเ่ี ปน็ จุดแขง็ 1. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา อนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณีไทยและทอ้ งถ่นิ 2. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา มจี ิตสานึกในการรักษาความสะอาดและอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดล้อม 3. บุคลากรสว่ นใหญ่มคี ่านยิ มในการทางานแบบมุ่งผลสมั ฤทธิ์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ ทางานเปน็ ทีม มีจติ สาธารณะ ประเด็นท่เี ป็นจดุ อ่อน 1. คา่ นิยมองคก์ ร ไมม่ ีการนาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิท่ีแท้จรงิ 2. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาบางสว่ น มคี า่ นิยมฟุ้งเฟ้อ 3. บุคลากรในเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ขาดความเชอื่ ม่ัน ขาดการประสานการทางานทีด่ ใี นการ ดาเนนิ งาน

2. การประเมนิ สถานภาพของหน่วยงาน จากผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงาน สรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดลอ้ มภายนอก และกาหนดเปน็ กราฟได้ดงั น้ี ตารางสรุปผลการวิเคราะห์สถานภาพของสภาพแวดลอ้ มภายนอก รายการปัจจัยสภาพแวดลอ้ ม น้าหนัก คะแนนเฉลี่ย น้าหนัก x คะแนนเฉลย่ี สรุปผล ภายนอก โอกาส อปุ สรรค โอกาส อปุ สรรค C : ด้านพฤตกิ รรมลูกค้า 0.15 2.00 3.00 0.30 0.45 -0.15 P : ด้านการเมอื งและกฎหมาย 0.25 4.00 1.00 1.00 0.25 +0.75 E : ดา้ นเศรษฐกจิ 0.15 3.00 2.00 0.45 0.30 +0.15 S : ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม 0.25 2.00 3.00 0.50 0.75 -0.25 T : ด้านเทคโนโลยี 0.20 4.00 1.00 0.80 0.20 +0.60 สรุปปจั จยั ภายนอก 3.05 1.95 เฉล่ียปจั จัยภายนอก 0.55 ตารางสรุปผลการวิเคราะหส์ ถานภาพของสภาพแวดล้อมภายใน รายการปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายใน น้าหนัก คะแนนเฉลีย่ น้าหนัก x คะแนนเฉลย่ี สรุปผล จุดแข็ง จดุ ออ่ น จดุ แขง็ จุดออ่ น 3.00 2.00 S1 : ดา้ นโครงสรา้ ง 0.10 2.50 2.50 0.30 0.20 +0.10 3.00 2.00 S2 : ด้านกลยุทธข์ องหนว่ ยงาน 0.12 0.30 0.30 +0.00 2.00 3.00 S3 : ดา้ นระบบในการดาเนนิ งาน 0.15 0.45 0.30 +0.15 2.00 3.00 ของหนว่ ยงาน 3.00 2.00 S4 : ดา้ นแบบแผนหรอื พฤตกิ รรม 0.17 0.30 0.45 -0.15 2.00 3.00 ในการบรหิ ารจดั การ S5 : ด้านบคุ ลากร/สมาชิก 0.16 0.34 0.51 -0.17 ในหน่วยงาน S6 : ด้านทักษะ ความรู้ 0.15 0.48 0.32 +0.16 ความสามารถ ของหน่วยงาน S7 : ดา้ นค่านิยมร่วมกันของสมาชิก 0.15 0.30 0.45 -0.15 ในหน่วยงาน 2.47 2.53 -0.03 สรปุ ปัจจัยภายใน เฉลีย่ ปัจจยั ภายใน

กราฟแสดงสถานภาพของหนว่ ยงาน จากกราฟ แสดงสถานภาพของหน่วยงานในลักษณะ Question Marks (เอ้ือและอ่อน) ซ่ึงบ่งบอกวา่ สพป.ลาปาง เขต 3 ภาพรวมส่วนใหญ่มีปัจจัยภายนอกท่ีเอื้อ มีความพร้อมสูงให้การสนับสนุน แต่ปัจจัยภายใน ออ่ น หากแก้ปัญหาจุดออ่ นของหนว่ ยงานได้ จะนาไปสสู่ ภาพท่เี ออื้ และแขง็ Stars ได้ จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 3 ทั้งสภาพแวดลอ้ มภายนอกและสภาพแวดลอ้ มภายใน พบวา่ มคี วามจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งส่งเสริมและ พัฒนาในด้านต่าง ๆ ตามนโยบายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี เพ่ือให้ สอดคล้อง กบั การพัฒนาประเทศ และกา้ วเขา้ สูป่ ระเทศไทย 4.0 เช่น การพัฒนาผูเ้ รยี นทกุ คนใหม้ คี ุณลักษณะ และทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การเพ่ิมศักยภาพนักเรียนให้อ่านออกเขียนได้ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก ทักษะภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน มุ่งพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม ตามค่านิยมหลักของไทย 12 ประการ และดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างโอกาสให้กับประชากรวัยเรียนอย่างทั่วถึง การพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียน พ้ืนท่ีสูงในถ่ินทุรกันดารการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานกาหนด ตาแหน่งและมาตรฐานวิชาชีพ ทักษะภาษาอังกฤษ ทักษะด้าน ICT และทักษะในการจัดการเรียนการสอนท่ี หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การเพิ่มประสิทธภิ าพระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ DLTV DLIT เพื่อการ เรียนรู้ และการบริหารจัดการสารสนเทศเพ่ือการวางแผนบริหารจัดการศึกษา ตลอดจนส่งเสริมให้ทุกภาคส่วน เขา้ มามีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา

 สว่ นที่ 2 บริบททเี่ กยี่ วข้องกับการจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 

สว่ นที่ 2 บรบิ ทที่เก่ียวข้องกบั การจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3   ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) วิสยั ทศั น์ ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง เป้าหมาย 1. ความมั่นคง 1.1 การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอก ประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความม่ันคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และการเมือง 1.2 ประเทศมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ท่ีเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความม่ันคง เป็นกลไกท่ีนาไปสู่ การบริหารประเทศทตี่ ่อเน่ืองและโปรง่ ใสตามหลกั ธรรมาภบิ าล 1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศชุมชน มคี วามเข้มแขง็ ครอบครัวมคี วามอบอนุ่ 1.4 ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ท่ีมั่นคงพอเพียงกับการดารงชีวิต มีทอี่ ย่อู าศยั และความปลอดภัยในชวี ติ ทรพั ยส์ นิ 1.5 ฐานทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม มคี วามมนั่ คงของอาหาร พลงั งาน และนา้ 2. ความมง่ั ค่ัง 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเป็นประเทศในกลุ่ม รายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน มากขน้ึ 2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ท้ังภายในและ ภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาค ท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทาธุรกิจ มีบทบาทสาคัญในระดับภูมิภาค และระดับโลก เกิดสายสมั พันธท์ างเศรษฐกิจและการคา้ อย่างมพี ลัง 2.3 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม 3. ความย่งั ยนื 3.1 การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้าง มลภาวะตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรบั และเยียวยาของระบบนิเวศน์

3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของ ประชาคมโลก ซ่ึงเป็นท่ียอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม มคี วามเอือ้ อาทร เสียสละเพือ่ ผลประโยชน์สว่ นรวม 3.3 ประชาชนทกุ ภาคสว่ นในสังคมยดึ ถือและปฏิบตั ติ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสรา้ งความปรองดองสมานฉนั ท์ 2. เพอ่ื เพ่ิมกระจายโอกาสและคณุ ภาพการให้บริการของรัฐอยา่ งทั่วถึง เท่าเทียม เป็นธรรม 3. เพ่อื ลดตน้ ทุนใหภ้ าคการผลิตและบริการ 4. เพ่อื เพิ่มมูลค่าสินคา้ เกษตร อตุ สาหกรรม และบรกิ ารด้วยนวตั กรรม ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเก่ียวข้องกับภารกิจ ของสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จานวน 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การสรา้ งความมัน่ คง ยุทธศาสตร์ท่ี 1.1 เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ยุทธศาสตร์ท่ี 1.3 การรักษาความม่ันคงภายใน และความสงบเรียบร้อยภายใน ตลอดจน การบรหิ ารจดั การความมั่นคงชายแดนและชายฝง่ั ทะเล ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ยุทธศาสตร์ท่ี 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ บนฐานของการพัฒนานวัตกรรมและ มีความเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดยมีการใช้ดิจิทัลและการค้าท่ีเข้มแข็งเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายกิจกรรม การผลติ ภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม บริการและการทอ่ งเที่ยว ยุทธศาสตร์ท่ี 2.3 การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และพัฒนาวิสาหกิจชุมชน และสถาบันเกษตรกร ยุทธศาสตร์ที่ 2.5 การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานในด้านการขนส่ง ด้านพลังงาน ระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารและการวิจยั และพฒั นา ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพศกั ยภาพคน ยุทธศาสตรท์ ี่ 3.1 การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนนุ การเจรญิ เตบิ โตของประเทศ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3.2 การยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรยี นรู้ให้มคี ุณภาพเท่าเทียมและท่ัวถึง ยุทธศาสตร์ท่ี 3.3 การปลูกฝังระเบยี บวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ดา้ นการสรา้ งโอกาสบนความเสมอภาคและความเท่าเทยี มกนั ทางสงั คม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4.1 การสรา้ งความม่นั คงและการลดความเหลื่อมลา้ ทางด้านเศรษฐกจิ และสังคม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 ด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5.1 การจดั ระบบอนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟูและป้องกันการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ยุทธศาสตร์ที่ 6.1 การปรับปรงุ โครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหนว่ ยงานภาครฐั ให้มีขนาดทเี่ หมาะสม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6.4 การต่อต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ ยทุ ธศาสตร์ที่ 6.5 การปรับปรงุ กฎหมายและระเบียบต่างๆ ใหท้ ันสมัย เปน็ ธรรมและเป็นสากล

 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติไดจ้ ัดทาแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึงเป็น การแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐาน ในการยกระดับประเทศไทยใหเ้ ปน็ ประเทศท่ีพัฒนาแลว้ มีความมัน่ คง มง่ั คัง่ ย่งั ยืน ดว้ ยการพัฒนาตามปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มหี ลกั การทีส่ าคัญ คือ 1) ยึด“หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่าง สมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีดี ซ่ึงเป็นเงื่อนไข ที่จาเป็นสาหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนซ่ึงมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนท่ีสมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคมคุณภาพ มที ย่ี ืนและเปดิ โอกาสให้กบั ทุกคนในสงั คมไดด้ าเนนิ ชีวติ ท่ดี มี ีความสขุ และอย่รู ่วมกนั อย่างสมานฉันท์ 2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต และสุขภาวะท่ีดี สาหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสง่ิ แวดล้อมอย่างเก้ือกูล อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู ใช้ประโยชน์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอย่างเหมาะสม 3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทย ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มัน่ คง มั่งคั่ง ย่ังยืน” 4) ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ทีเ่ ปน็ เป้าหมายในยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี มาเป็นกรอบในการกาหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบ เป้าหมายทยี่ ัง่ ยืน (SDGs) 5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหลื่อมล้าและขับเคล่ือนการเจริญเติบโต จากการเพ่มิ ผลติ ภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภมู ิปัญญาและนวัตกรรม” 6) ยึด “หลักการนาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ ทเ่ี ป็นเปา้ หมายระยะยาว” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะ ความรคู้ วามสามารถและพัฒนาตนเองได้ตอ่ เนื่องตลอดชีวิต 2. เพื่อให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึง ทรัพยากรและบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพา ตนเองได้ 3. เพื่อใหเ้ ศรษฐกิจเข้มแข็ง แขง่ ขันได้ มเี สถยี รภาพ และมีความยั่งยนื สร้างความเขม้ แข็งของ ฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากขึ้น สร้างความเข้มแข็งของ เศรษฐกิจฐานราก และสร้างความมนั่ คงทางพลังงาน อาหาร และนา้

4. เพอ่ื รักษาและฟน้ื ฟูทรพั ยากรธรรมชาติและคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มใหส้ ามารถสนบั สนนุ การ เติบโตท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ มและการมีคุณภาพชีวิตที่ดขี องประชาชน 5. เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการทางานเชิง บรู ณาการของภาคกี ารพฒั นา 6. เพ่ือให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับ การพฒั นายกระดับฐานการผลิตและบรกิ ารเดิมและขยายฐานการผลิตและบริการใหม่ 7. เพ่ือผลักดนั ใหป้ ระเทศไทยมีความเช่ือมโยง (Connectivity) กับประเทศตา่ งๆ ทั้งในระดับ อนุภมู ภิ าค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธภิ าพ รวมทง้ั ให้ประเทศไทยมบี ทบาทนาและ สร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ ท้ังในระดับอนุภูมิภาค ภมู ภิ าค และโลก เป้าหมายรวม เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กาหนดเป้าหมายรวมการพัฒนา ของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ประกอบดว้ ย 1. คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดี ของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์มีความรับผิดชอบ และทาประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมีวถิ ีชีวิตที่พอเพียง และมีความเป็นไทย 2. ความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพอย่างท่ัวถึง และเป็นธรรม 3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐานบริการ และดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ที่เข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการมีระบบการผลิต และให้บริการจากฐานรายได้เดิมท่ีมีมูลค่าเพิ่มสูงข้ึน และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้ช้ันสูง ใหม่ๆ ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตและการให้บริการสู่ภูมิภาคเพื่อลด ความเหลอื่ มล้า โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพ 4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อม มคี วามมั่นคงทางอาหาร พลงั งาน และนา้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับภารกิจของ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 9 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนษุ ย์ ให้ความสาคัญกับการวางรากฐาน การพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เริ่มต้ังแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะ ทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้ และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวท่ีรวดเร็ว บนพ้ืนฐานของการมีสถาบันทางสังคม ที่เข้มแข็งทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนท่ีร่วมกัน พัฒนาทนุ มนษุ ยใ์ หม้ ีคณุ ภาพสงู อกี ทง้ั ยงั เป็นทนุ ทางสงั คมสาคญั ในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม ให้ความสาคัญกับ การดาเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและสาธารณสุข รวมทั้งการปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซึ่งเป็นการดาเนินงานต่อเนื่องจากที่ได้ขับเคลื่อน และผลักดันในชว่ งแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 11 และมุ่งเนน้ มากข้ึนในเร่อื งการเพิ่มทักษะแรงงานและการใช้นโยบาย แรงงานท่ีสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้สูงขึ้น และการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและ สังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชีพ รายได้ และให้ความช่วยเหลือที่เชื่อมโยงการเพ่ิมผลิตภาพ สาหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่าสุด ผู้ด้อยโอกาสสตรี และผู้สูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจเพื่อสังคม การพัฒนาองค์กรการเงิน ฐานรากและ การเข้าถึงเงินทุนเพื่อสร้างอาชีพ และการสนับสนุนการเข้าถึงปัจจัย การผลิตคุณภาพดีที่ราคาเป็นธรรม เป็นต้น และในขณะเดยี วกันกต็ ้องเพิ่มประสทิ ธภิ าพการใชง้ บประมาณเชิงพ้ืนท่ีและบูรณาการเพื่อการลดความเหล่ือมล้า ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน เน้นให้เศรษฐกิจ เติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไกสาคัญ ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพิ่มข้ึน การลงทุนภาครัฐและเอกชนมีการขยายตัว อยา่ งตอ่ เนือ่ งและมาจากความร่วมมอื กันมากขึน้ ประชาชนและผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบภาษีมากขน้ึ และประเทศไทย มีขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังเน้นให้เศรษฐกิจรายสาขามีการเติบโต อย่างเข้มแข็ง ภาคการเกษตรเน้นเกษตรกรรมย่ังยืนและให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมข้ึน มีการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมนิเวศ การท่องเที่ยวสามารถทารายได้และแข่งขันได้มากข้ึน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ภาคการเงินมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมขั้นก้าวหน้าท่ีเข้มข้นมากข้ึน การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาและยกระดับคุณภาพของ กาลังคน และความคิดสร้างสรรค์ในการขยายฐานเศรษฐกิจ การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตาม แนวระเบียงเศรษฐกิจ การผสมผสานภาคบริการเข้ากับการค้าและการเตรียมความพร้อมของภาคบริการ ใหส้ ามารถรองรบั การแข่งขนั ที่เสรีข้ึน ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นท้าทาย ที่ต้องเร่งดาเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของ ประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติส่ิงแวดล้อมเพ่ือลดมลพิษที่เกิดจากการผลิต และการบริโภค พัฒนาระบบ บริหารจัดการท่ีโปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเป็นวงกว้างมากข้ึน ต้องเร่งเตรียมความพร้อมในลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพิ่มขีดความสามารถ ในการปรับตัวต่อ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมท้งั บริหารจดั การเพ่ือลดความเส่ียงด้านภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นค่ัง และย่ังยืน ให้ความสาคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความม่ันคงที่เป็นปัจจัยสาคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและ อุดมการณ์บนพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและการเตรียมการ รับมือกับภัยคุกคามข้ามชาติซ่ึงจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในระยะ 20 ปขี ้างหน้า

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย เปน็ ชว่ งเวลาสาคัญทีต่ อ้ งเรง่ ปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์ิอย่างจริงจงั เพือ่ ให้ เป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญท่ีจะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบผลสาเร็จบรรลุเป้าหมาย ทั้งการบริหารจัดการภาครัฐให้โปรง่ ใส มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชน มสี ว่ นร่วม มีการกระจายอานาจ และแบ่งภารกจิ รับผิดชอบทีเ่ หมาะสม ระหว่างสว่ นกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น และวางพืน้ ฐานเพื่อให้บรรลตุ ามกรอบเปา้ หมายอนาคตในปี 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นการขยาย ขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพ่อื รองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นทเ่ี ศรษฐกจิ หลัก และ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชวี ิตของทุกกลุม่ ในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงในอนภุ ูมิภาคและในอาเซียนอย่าง เป็นระบบ โดยมีโครงข่ายเชื่อมโยงภายในประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ การ พัฒนาระบบการบริหารจัดการและการกากับดูแลให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลเพื่อเพ่ิมประสิทฺธิภาพ การ ดาเนินการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการพ้ืนฐาน และการคุ้มครองผู้บริโภค การพัฒนาอุตสาหกรรม ต่อเนื่องเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ และการพัฒนาผู้ประกอบการ ในสาขาโลจิสติกส์และ หน่วยงานท่ีมีศักยภาพเพ่อื ไปทาธุรกิจในต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้ความสาคัญกับ การใช้องคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด สร้างสรรค์อยา่ งเข้มขน้ ทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมท้งั ให้ความสาคัญกับการพฒั นาสภาวะแวดล้อม หรือปัจจัยพ้ืนฐานที่เอื้ออานวยท้ังการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากรวิจัย โครงสร้างพ้ืนฐานทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการบรหิ ารจดั การ เพ่ือช่วยขบั เคล่ือนการพัฒนาประเทศให้กา้ วสู่เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ท่ี 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ประเทศไทยต้องใช้ประโยชน์ จากศักยภาพและภูมสิ งั คมเฉพาะของพ้ืนท่ี และการดาเนินยุทธศาสตร์เชงิ รุกเพื่อเสริมจดุ เด่นในระดับภาคและ จังหวัดในการเป็นฐานการผลิตและบริการท่ีสาคัญ ประกอบกับการขยายตัวของประชากรในเขตเมือง จะเป็น โอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายได้ของประชาชนโดยการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่และ มีศักยภาพในการรองรับการค้าการลงทุน รวมทั้งลดแรงกดดันจากการกระจุกตัวของการพัฒนา ในกรุงเทพฯ และภาคกลางไปสู่ภูมิภาค นอกจากนี้การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนยังเป็นโอกาสในการเปิด พื้นทเี่ ศรษฐกจิ ใหมบ่ ริเวณชายแดนเชอื่ มโยงการค้าการลงทนุ ในภูมิภาคของไทยกบั ประเทศเพื่อนบา้ นอกี ด้วย  แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2579) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เป็นแผนที่วางกรอบเป้าหมายและทิศทาง การจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค ในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะ ในการทางานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสาคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียม และท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีกท้ัง ยึดตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนชว่ งวยั การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งประชากรของประเทศ ความเหลอื่ มลา้ ของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนายุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการ จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสาคญั ดังน้ี

วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสขุ สอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพอื่ พฒั นาสงั คมไทยใหเ้ ป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม รรู้ ักสามคั คี และ ร่วมมือผนกึ กาลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้าภายใน ประเทศลดลง ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธกิ ารทัง้ 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพอื่ ความมัน่ คงของสังคมและประเทศชาติ เปา้ หมาย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษได้รับ การศกึ ษาและเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ 3. คนทกุ ช่วงวยั ได้รับการศึกษา การดแู ลและปอ้ งกนั จากภยั คุกคามในชีวติ รปู แบบใหม่ แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พ้ืนที่สูง พ้ืนท่ี ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝ่ังทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ่ ชน-ชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว) 4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นตน้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ เป้าหมาย 1. กาลังคนมีทักษะท่ีสาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศ เฉพาะดา้ น 3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจ

แนวทางการพัฒนา 1. ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ 2. สง่ เสรมิ การผลิตและพัฒนากาลงั คนทม่ี คี วามเชี่ยวชาญและเปน็ เลิศเฉพาะดา้ น 3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ เปา้ หมาย 1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็น ในศตวรรษท่ี 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ มาตรฐานวชิ าชีพ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้ตามศกั ยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่าง มคี ุณภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรมและส่ือการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยไม่จากดั เวลาและสถานที่ 5. ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมนิ ผลมีประสิทธิภาพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดบั สากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตอยา่ งเหมาะสม เตม็ ตามศกั ยภาพในแตล่ ะช่วงวยั 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ส่ือตาราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี 3. สรา้ งเสริมและปรบั เปล่ยี นคา่ นยิ มของคนไทยให้มวี ินัย จติ สาธารณะ และพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ 4. พฒั นาระบบและกลไกการตดิ ตาม การวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 5. พัฒนาคลงั ขอ้ มลู สื่อ และนวตั กรรมการเรยี นรู้ ทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐาน 6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา 7. พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทางการศึกษา เปา้ หมาย 1. ผเู้ รยี นทุกคนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มคี ณุ ภาพ 2. การเพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อการศึกษาสาหรบั คนทุกชว่ งวัย 3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพ่อื การวางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การติดตามประเมินและรายงานผล แนวทางการพฒั นา 1. เพ่มิ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาทีม่ ีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพือ่ การศกึ ษาสาหรับคนทกุ ชว่ งวัย 3. พฒั นาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชือ่ มโยงและเข้าถึงได้

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจดั การศกึ ษาเพื่อสร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม เปา้ หมาย 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คณุ ธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิ 3. การวจิ ยั เพอื่ พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางการพฒั นา 1. สง่ เสริม สนบั สนุนการสรา้ งจิตสานกึ รกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มีคณุ ธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏบิ ตั ิในการดาเนนิ ชวี ติ 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ ที่เกยี่ วข้องกบั การสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา เปา้ หมาย 1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจนและ สามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษา 3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและพน้ื ท่ี 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจดั การทรัพยากรทางการศึกษารองรบั ลกั ษณะที่แตกตา่ ง กนั ของผ้เู รียน สถานศึกษา และความต้องการกาลงั แรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สรา้ งขวัญกาลงั ใจ และส่งเสรมิ ใหป้ ฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างเต็มตามศักยภาพ แนวทางการพฒั นา 1. ปรับปรงุ โครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการศกึ ษา 2. เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา 3. สง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศึกษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพ การจดั การศกึ ษา 5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

 นโยบายรฐั บาล (พลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี) นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 โดยได้กาหนดนโยบายไว้ 11 ด้าน โดยมีนโยบายที่เก่ียวข้องกับภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 9 นโยบาย ดงั นี้ นโยบายท่ี 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นองค์ประกอบสาคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยรัฐบาล จึงถือเป็นหน้าที่สาคัญย่ิงยวดในอันท่ีจะ เชิดชูสถาบันนี้ไว้ด้วยความจงรักภักดี และปกป้องรักษาพระบรมเดชานุภาพ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ ท่ีถูกต้องและเป็นจริงเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ทั้งจะสนับสนุน โครงการท้ังหลายอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่สถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานทั้งหลาย ของรัฐเรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน สามารถนาหลักดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการและการพัฒนา ตลอดจนเรง่ ขยายผลตามโครงการและแบบอยา่ งทีท่ รงวางรากฐานไว้ให้แพร่หลาย นโยบายท่ี 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ โดยเร่งแก้ไขปัญหาการใช้ ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา มาใช้ตามแนวทาง กัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อมั่นใน กระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีซึ่งเป็นพหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาส ก่อความรุนแรงแทรกซ้อนเพ่ือซ้าเติมปัญหาไม่ว่าจากผมู้ ีอิทธิพลในท้องถ่ินหรือเจ้าหน้าที่ฝา่ ยบ้านเมือง ท้ังจะเพิ่ม ระดับปฏิสัมพันธก์ ับตา่ งประเทศ และองค์การระหว่างประเทศท่ีอาจช่วยคล่ีคลายปัญหาได้ รวมทั้ง เสริมสรา้ ง ความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศ เช่น การคุ้มครองดูแลคนไทยและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดน การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการเปิดโลกทัศน์ให้มีลักษณะ สากล เปน็ ต้น 2.1 ในระยะเร่งด่วน รัฐบาลให้ความสาคญั ต่อการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมการเมอื ง และความม่ันคงอาเซียน ในกิจการ 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความมั่นคงทางทะเล การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การสร้างความไว้วางใจกับประเทศเพ่ือนบ้าน และการเสริมสร้าง ศกั ยภาพในการปฏบิ ัติการทางทหารรว่ มกันของอาเซียน โดยเนน้ ความรว่ มมอื เพ่อื ป้องกัน แกไ้ ขขอ้ พพิ าทต่างๆ และการแก้ไขปัญหาเส้นเขตแดนโดยใช้กลไก ท้ังระดับทวิภาคีและพหุภาคี ทั้งจะจัดระเบียบการพัฒนา ตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการบริหารจัดการพื้นท่ีชายแดนท้ังทางบกและทางทะเล รองรับ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามแนวชายแดน โดยใชร้ ะบบเฝา้ ตรวจท่ีมเี ทคโนโลยที ันสมยั กาหนดใหป้ ัญหา ยาเสพติด การค้าอาวุธ การค้ามนุษย์ การกระทาอันเป็นโจรสลัด การก่อการร้ายสากลและอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นปัญหาเฉพาะหน้าที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดยการบังคับใช้กฎหมายท่ีเข้มงวด และจัดการปัญหา อ่ืนๆ ที่เชื่อมโยงต่อเนื่องให้เบ็ดเสร็จ เช่น ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล การปรับปรุงระบบ การเข้าเมือง การจดั ระเบยี บแรงงานตา่ งด้าว เปน็ ตน้ 2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใชค้ วามรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตรเ์ ข้าใจ เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็น ต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อม่ันในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือก ปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็น พหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพื่อซ้าเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นหรือ เจ้าหน้าท่ี ฝ่ายบ้านเมือง ท้ังจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศที่อาจช่วย คลคี่ ลายปัญหาได้

2.4 เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศบนหลักการที่ว่านโยบายการต่างประเทศ เป็นส่วนประกอบสาคัญของนโยบายองค์รวมท้ังหมดในการบริหารราชการแผ่นดิน ไม่ว่าในด้านการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม โดยจะนากลไกทางการทูตแบบบูรณาการมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เชน่ การค้มุ ครองดแู ลคนไทยและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดน การแลกเปล่ียน ทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้าการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ และการเปดิ โลกทศั น์ใหม้ ีลกั ษณะสากล เปน็ ตน้ นโยบายที่ 3 การลดความเหล่อื มล้าของสงั คม และการสร้างโอกาสเขา้ ถึงบรกิ ารของรฐั 3.1 ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสร้างโอกาสอาชีพและการมีรายได้ที่มั่นคงแก่ผู้ท่ีเข้าสู่ ตลาดแรงงาน รวมท้ังสตรี ผู้ด้อยโอกาสและแรงงานข้ามชาติที่ถูกกฎหมาย พรอ้ มทงั้ ยกระดับคณุ ภาพแรงงาน โดยให้แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ทั้งจะเชื่อมโยงข้อมูลและการดาเนินการระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชน เพื่อให้ตรงกับความต้องการของ พ้ืนท่แี ละของประเทศโดยรวม นอกจากนีจ้ ะสง่ เสรมิ ให้แรงงานนอกระบบเข้าสรู่ ะบบทถี่ ูกกฎหมายมากขึน้ 3.4 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือ กิจกรรมท่ีเหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคม ในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟ้ืน และโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัว รวมทั้งพัฒนา ระบบการเงินการคลงั สาหรับการดูแลผู้สูงอายุ 3.5 เตรียมความพร้อมเข้าสสู่ ังคมท่ีมีความหลากหลาย เนอื่ งจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพัฒนาระบบความคุ้มครองทางสังคมของ แรงงานอาเซยี น 3.6 จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่ เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนท่ัวไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบ แห่งชาติท่ีได้ประกาศไว้แล้ว นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรยี นรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม 4.1 การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญทั้งการศึกษาในระบบและ การศึกษาทางเลือกไปพร้อมกัน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชีพและดารงชีวิตได้โดยมีความใฝ่รู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพ การเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพ่ือสร้างสัมมาชีพในพ้ืนท่ี ลดความเหลื่อมล้า และพัฒนากาลังคนให้เป็น ท่ตี อ้ งการเหมาะสมกับพื้นท่ี ทง้ั ในดา้ นการเกษตร อุตสาหกรรม และธรุ กจิ บรกิ าร 4.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ให้สอดคล้องกับความจาเปน็ ของผู้เรียนและลกั ษณะพื้นที่ของสถานศึกษา และปรับปรุง และบูรณาการระบบ การก้ยู มื เงินเพื่อการศกึ ษาใหม้ ีประสิทธภิ าพ เพอ่ื เพิ่มโอกาสแก่ผยู้ ากจนหรือดอ้ ยโอกาส จดั ระบบการสนบั สนุน ให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะ พจิ ารณาจดั ให้มคี ูปองการศกึ ษาเปน็ แนวทางหน่ึง 4.3 ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และประชาชน ท่วั ไปมีโอกาสรว่ มจดั การศึกษาท่มี ีคุณภาพ ท่วั ถึง และรว่ มในการปฏริ ปู การศึกษา การเรียนรู้ กระจายอานาจ การบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามศักยภาพและ ความพร้อม โดยให้สถานศึกษาสามารถเปน็ นติ บิ คุ คล และบริหารจดั การไดอ้ ยา่ งอิสระและคลอ่ งตัวขน้ึ

4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้มีความรู้และทักษะใหม่ ที่สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และ หลกั สูตรใหเ้ ชือ่ มโยงกบั ภมู ิสงั คม โดยบรู ณาการความรู้และคุณธรรมเขา้ ดว้ ยกันเพื่อใหเ้ อ้ือต่อการพฒั นาผู้เรียน ท้งั ในด้านความรู้ ทกั ษะ การใฝ่เรยี นรู้ การแก้ปญั หา การรบั ฟังความเห็นผอู้ ่ืน มีคุณธรรม จริยธรรม และความ เป็นพลเมอื งดี โดยเน้นความร่วมมอื ระหวา่ งผู้เกยี่ วขอ้ งทง้ั ในและนอกโรงเรยี น 4.6 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เน้นครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตามวิชาท่ีสอน นาเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือท่ีเหมาะสมมาใช้ในการเรียน การสอน เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครูหรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น รวมท้ังปรับระบบการประเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียน การสอนและการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนเป็นสาคญั นโยบายท่ี 6 การเพม่ิ ศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ 6.6 ชักจูงให้นักท่องเท่ียวต่างชาติเข้ามาเท่ียวในประเทศไทย โดยพิจารณามาตรการ ลดผลกระทบจากการประกาศใช้กฎอัยการศึกในบางพ้ืนที่ที่มีต่อการท่องเที่ยวในโอกาสแรกที่จะทาได้ และ สร้างสิ่งจูงใจและสิ่งอานวยความสะดวกท่ีเกื้อกูลต่อบรรยากาศการท่องเท่ียว ส่งเสริมการท่องเท่ียว ท่ีครอบคลุม แหล่งท่องเท่ียวอันมีลักษณะโดดเด่นร่วมกันหรือจัดเป็นกลุ่มได้ เช่น กลุ่มธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสุขภาพ เช่น น้าพุร้อนธรรมชาติ ทั้งจะให้ เช่ือมโยงกับผลิตภัณฑ์ท่ีพัฒนาจากวิถีชีวิต ชุมชน รวมทั้งพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวในประเทศท้ังท่ีเป็นแหล่ง ท่องเท่ียวเดิมและแหล่งท่องเท่ียวใหม่ โดยเน้น การใหค้ วามรแู้ ละเพิม่ มาตรฐานความปลอดภยั ในชวี ิต และทรพั ย์สนิ การควบคุมสนิ คา้ และบรกิ ารให้มคี ุณภาพ ราคาเป็นธรรม ตลอดจนการอานวยความสะดวก ในดา้ นต่าง ๆ แกน่ กั ท่องเที่ยว 6.16 ด้านอุตสาหกรรม ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับศักยภาพพ้ืนฐาน ของประเทศ เช่น ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ต้ังแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า โดยการพัฒนา วัตถุดิบและกระบวนการผลิตให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ส่งเสริม การพัฒนา นวัตกรรมเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่อาหารไทยบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญา ส่งเสริม การวิจัยเกษตรแปรรูป เพื่อเพ่ิมมูลค่าสินค้าเกษตร และแก้ไขปัญหาที่สาคัญของประเทศ เป็นต้น ส่งเสริม อุตสาหกรรมท่ีใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ส่งเสริมอุตสาหกรรมท่ีใช้การออกแบบและสร้างสรรค์ และส่งเสริม อุตสาหกรรมเครื่องจกั รกลเทคโนโลยขี ้นั สูงเพื่อปรบั กระบวนการผลติ สรู่ ะบบอตั โนมัติ และก่งึ อัตโนมตั ิ 6.18 ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล ให้เริ่มขับเคล่ือน ได้อย่างจริงจังซ่ึงจะทาให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ ซ่ึงหมายรวมถึงการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรงท้ังผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์สื่อสารดิจิทัล อุปกรณ์โทรคมนาคมดิจิทัลและการใช้ดิจิทัลรองรับการให้บริการของภาคธุรกิจการเงิน และธุรกิจบริการอ่ืนๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงภาคสื่อสารและบันเทิง ตลอดจนการใช้ดิจิทัลรองรับการผลิตสินค้า อุตสาหกรรมและการพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ปรับปรุงบทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยตรงให้ดูแลและผลักดันงานสาคัญของประเทศชาติในเร่ืองน้ีและจะจัดให้มีค ณะกรรมการระดับชาติ เพ่ือขับเคลื่อนอยา่ งจริงจงั

นโยบายท่ี 7 การส่งเสรมิ บทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน 7.3 พัฒนาแรงงานของภาคอุตสาหกรรมเพ่ือรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทั้งแรงงานวิชาชีพ แรงงานมีทักษะ และแรงงานไม่มีทักษะ โดยการเร่งรัดและขยายผลการใช้ระบบคุณวุฒิ วิชาชีพให้เกิดผลในทางปฏิบัติ โดยคานึงถึงความเป็นเอกภาพกับระบบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐาน วิชาชีพ ใน 8 กลุ่มที่มีข้อตกลงการเปิดเสรีในอาเซียนควบคู่ไปกับการวางแผนด้านการผลิตให้เพียงพอ การยกระดับฝีมือแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น การส่งเสริม การพฒั นาระบบ การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานเพอื่ ใชใ้ นการประเมินค่าจ้างแรงงาน นโยบายที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ัยและพฒั นา และนวัตกรรม 8.2 เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนที่เช่ือมโยงระหว่าง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การผลิตกาลังคนในสาขาที่ขาดแคลน การเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการทางาน การให้บุคลากรด้านการวิจัยของภาครัฐสามารถไปทางาน ในภาคเอกชน และการให้อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมมีช่องทางได้เทคโนโลยี โดยความร่วมมือ จากหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาภาครัฐ นโยบายท่ี 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่าง การอนรุ ักษ์กับการใช้ประโยชน์อยา่ งยั่งยืน 9.5 เร่งรัดการควบคุมมลพิษทัง้ ทางอากาศ ขยะ และนา้ เสยี ที่เกิดจากการผลิตและบริโภค เพื่อสร้างคุณภาพส่ิงแวดล้อมท่ีดีให้แก่ประชาชน โดยให้ความสาคัญในการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ เป็นลาดับแรก ส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะเพ่ือนากลับมาใช้ใหม่ให้มากที่สุดเร่งกาจัดขยะมูลฝอย ตกค้างสะสมในสถานท่ีกาจัดขยะในพ้ืนท่ีวิกฤติซ่ึงจะใช้ท่ีดินของรัฐเป็นหลักในพ้ืนท่ีใดท่ีสามารถจัดการขย ะ มูลฝอย โดยการแปรรูปเป็นพลังงาน ก็จะสนับสนุนให้ดาเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมน้ัน จะวางระเบียบ มาตรการการบริหารจัดการเป็นพิเศษ โดยกาหนดให้ท้ิงในบ่อขยะอุตสาหกรรมที่สร้างข้ึนอย่างถูกต้องตาม มาตรฐานและให้แยกเป็นสัดส่วนจากบ่อขยะชุมชน สาหรับขยะของเสียอันตรายขยะอิเล็กทรอนิกส์ และขยะ ติดเช้ือ จะพัฒนาระบบกากับติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังไม่ให้มีการลักลอบทิ้ง รวมทั้งจัดการสารเคมี โดยลดความเส่ียงและอันตรายท่ีเกิดจากการร่ัวไหล และการเกิดอุบัติเหตุให้ความสาคัญในการจัดการอย่าง ครบวงจรและ ใช้มาตรการทางกฎหมายและการบังคบั ใช้กฎหมายอยา่ งเดด็ ขาด นโยบายที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤตมิ ชิ อบในภาครฐั 10.1 ปรับปรุงระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐท้ังในระดับ ประเทศ ภูมิภาคและท้องถิ่น ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่ซ้าซ้อนหรือลักล่ันกัน หรือมีเส้นทางการปฏิบัติงานท่ียืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัย โดยนาเทคโนโลยีมาใช้แก้ไข กฎระเบียบให้โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตรากาลัง และปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี การบริหารจัดการภาครัฐแบบใหม่การตอบสนองความต้องการของประชาชนในฐานะท่ีเป็นศูนย์กลาง และ การอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการเพื่อสร้างความเชื่อม่ันวางใจในระบบราชการลดต้นทุนดาเนินการของ ภาคธุรกิจเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพไว้ใน ระบบราชการ โดยจะดาเนินการตั้งแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามลาดับความจาเป็น และตามที่กฎหมายเอ้ือ ให้สามารถดาเนนิ การได้

10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึก ในการรักษาศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการและความซ่ือสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครัฐ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่อื ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบของเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับอย่าง เคร่งครัด ยกเลิก หรือแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่ไม่จาเป็น สร้างภาระแก่ประชาชนเกินควร หรอื เปดิ ช่องโอกาสการทจุ ริต เช่น ระเบยี บการจัดซ้ือ จดั จ้าง การอนุญาต อนมุ ตั ิ และการขอรับบริการจากรัฐ ซงึ่ มีข้นั ตอนยดื ยาวใช้เวลานาน ซ้าซ้อน และเสียคา่ ใช้จา่ ยท้ังของภาครฐั และประชาชน 10.6 ปรับปรุงและจัดให้มีกฎหมายเพ่ือให้ครอบคลุมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตประพฤติมิชอบ และการมีผลประโยชน์ทับซ้อนในภาครัฐทุกระดับ โดยถือว่าเรื่องนี้เป็นวาระ สาคัญเร่งด่วนแห่งชาติและเปน็ เร่ืองท่ีต้องแทรกอยู่ในการปฏิรูปทกุ ด้านท้ังจะเร่งรัดการดาเนินการต่อผกู้ ระทา การทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบทง้ั ในดา้ นวนิ ัยและคดี รวมทง้ั ให้ผใู้ ช้บรกิ ารมีโอกาสประเมินระดบั ความน่าเช่ือถือ ของหน่วยงานของรัฐ และเปิดเผยผลการประเมินต่อประชาชน ทั้งจะนากรณีศึกษาท่ีเคยเป็นปัญหา เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง การรว่ มทุน การใช้จ่ายเงนิ ภาครฐั การปฏบิ ตั ิหรอื ละเว้นการปฏิบตั ิโดยมชิ อบ การใชด้ ุลพินิจ ของเจ้าหน้าที่ การมีผลประโยชน์ขัดแย้งหรือทับซ้อน ซึ่งได้มีคาวินิจฉัยขององค์กรต่าง ๆ เป็นบรรทัดฐานแล้ว มาเปน็ บทเรียนใหค้ วามรแู้ กเ่ จา้ หน้าทีข่ องรฐั และประมวลเป็นกฎระเบียบหรือคู่มือในการปฏิบัติราชการ  นโยบายความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ.2558 – 2564) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติกาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการดาเนินการด้านความมั่นคง ของภาครัฐในระยะ 7 ปี แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 นโยบายเสริมสร้างความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติและ ส่วนท่ี 2 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติทั่วไป โดยกาหนดกรอบความคิดหลักจากการกาหนดนโยบายได้คานึงถึง ค่านิยมหลกั ของชาติ 12 ประการ ดงั น้ี วิสัยทัศน์ “ชาติมีเสถียรภาพและเป็นปึกแผ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวติ ประเทศมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ปลอดภัยจากภัยคุกคามข้ามพรมแดน พร้อมเผชิญวิกฤติการณ์ มีบทบาทเชิงรุกในประชาคมอาเซียน และดาเนินความสัมพนั ธ์กับนานาประเทศอยา่ งมีดุลยภาพ” นโยบายความมน่ั คงที่เกี่ยวขอ้ งกบั ภารกิจของสานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมดี ังนี้ นโยบายสาคัญเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ (ศธ.เป็นหน่วยหลัก) เก่ียวขอ้ งใน 3 นโยบาย ดงั น้ี นโยบายที่ 1 เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับ สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ นโยบายที่ 2 สรา้ งความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันทใ์ นชาติ 2.4) สง่ เสริม ให้ประชาชนเกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชาติ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีความรัก ความภาคภูมิใจในความ เปน็ ชาตแิ ละเป็นสังคมพหวุ ัฒนธรรมทีเ่ ขม้ แขง็ นโยบายที่ 3 ปอ้ งกันและแก้ไขการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3.3) เสรมิ สรา้ ง สันติสุขและการพัฒนาอย่างย่ังยืนโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเป็นพลังในการเข้าถึง ประชาชน

 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ วิสยั ทศั น์ มงุ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความร้คู ูค่ ุณธรรม มคี ณุ ภาพชีวิตทด่ี ีมคี วามสุขในสังคม พันธกิจ 1. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดบั /ประเทศ สสู่ ากล 2. เสรมิ สร้างโอกาสเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาของประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง เท่าเทยี ม 3. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์ 1. คณุ ภาพการศึกษาของไทยดีข้นึ คนไทยมีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ยี นแปลง และการพฒั นาประเทศในอนาคต 2. กาลงั คนได้รบั การผลติ และพฒั นา เพื่อเสรมิ สร้างศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ 3. มอี งค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนนุ การพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยนื 4. คนไทยไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ 5. ระบบบริหารจัดการศึกษามีประสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าล โดยการมสี ่วนรว่ มจาก ทุกภาคส่วน ยทุ ธศาสตร์ 1. พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล 2. ผลติ พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา 3. ผลติ และพฒั นากาลังคน รวมท้งั งานวิจัยทีส่ อดคลอ้ งกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ 4. ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บริการทางการศกึ ษาและการเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ 5. สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพือ่ การศึกษา 6. พฒั นาระบบบริหารจัดการและส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา  นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน วิสัยทศั น์ สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนุษย์ สสู่ งั คมอนาคตทย่ี ่ังยนื พันธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ 2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ใหม้ ีความรู้ ทักษะวิชาการ ทกั ษะชีวติ ทักษะวชิ าชพี คณุ ลักษณะในศตวรรษที่ 21 3. สง่ เสรมิ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา อย่างทงั่ ถงึ และเท่าเทียม 5. สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม ยดึ หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง และเป้าหมายโลกเพือ่ การพัฒนาทยี่ ังยนื (SDGs) 6. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการแบบบูรณาการ และสง่ เสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการจัด การศึกษา

เปา้ หมาย 1. ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวตั กรรม มีความรู้ มีทักษะและ คณุ ลักษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 มสี ุขภาวะทเี่ หมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพง่ึ พาตนเอง และปรับตวั เปน็ พลเมืองและพลโลกทีด่ ี 2. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพื้นท่ี หา่ งไกลทรุ กันดาร ได้รบั การศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถึง เท่าเทยี ม และมีคณุ ภาพ พร้อมก้าวสสู่ ากล ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ครู เป็นผ้เู รยี นรู้ มีจิตวญิ ญาณความเป็นครู มคี วามแมน่ ยาทางวชิ าการ และมีทักษะการจัด การเรียนรทู้ ี่หลากหลาย ตอบสนองผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล เป็นผู้สรา้ งสรรค์นวตั กรรมและทักษะในการใช้เทคโนโลยี 4. ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวตั กรรม มีภาวะผนู้ า ทางวชิ าการ มสี านึกความรับผิดชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบรว่ มมือ 5. สถานศกึ ษามีความเป็นอสิ ระในการบรหิ ารงานและจัดการเรยี นรู้ ร่วมมือกบั ชมุ ชน ภาคเอกชน และผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาระดับพื้นท่ี จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อการเรียนรู้ในทุกมิติ เป็นโรงเรียน นวัตกรรม 6. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา มกี ารบริหารงานเชิงบูรณาการ เป็นสานกั งานแหง่ นวตั กรรม ยุคใหม่ ใช้ข้อมูลสารสนเทศและการวิจยั และพฒั นาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล อย่างเปน็ ระบบ 7. สานักงานส่วนกลาง ปรบั เปล่ียนวัฒนธรรมการทางาน โดยกระจายอานาจการบริหารงานและ การจดั การศึกษาใหส้ ถานศึกษา บรหิ ารเชิงบรู ณาการ มรี ะบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสทิ ธภิ าพ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผล และการรายงานผลอยา่ งเป็นระบบ ใช้วจิ ัยและนวัตกรรมในการขับเคลือ่ นคณุ ภาพ นโยบาย นโยบายท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพื่อความมัน่ คง นโยบายที่ 2 พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น นโยบายท่ี 3 พฒั นาผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา นโยบายที่ 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาที่มคี ุณภาพ มีมาตรฐาน และ ลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศกึ ษา นโยบายที่ 5 เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การ

 สว่ นท่ี 3 สาระสาคัญของแผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3  สว่ นที่ 3

สาระสาคัญของแผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3   ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 วิสัยทศั น์ สรา้ งคุณภาพผูเ้ รยี น สู่สงั คมอนาคตทย่ี ่งั ยนื พนั ธกจิ 1. จดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัยและการศึกษาภาคบงั คบั เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลัก ของชาตแิ ละการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมขุ 2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ใหม้ ีความรู้ ทักษะวชิ าการ ทกั ษะชีวติ และทักษะวิชาชพี คุณลกั ษณะในศตวรรษที่ 21 3. สง่ เสริมการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชีพ 4. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอื่ มลา้ ให้กับผู้เรียนทุกคนไดร้ บั บริการทางการศึกษา อย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม 5. ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา เปา้ ประสงค์ 1. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาจัดการศึกษาระดับปฐมวัยและการศึกษาภาคบังคับ เพื่อเสริมสร้าง ความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์เป็นประมุข 2. ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการแข่งขัน มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ และมีคณุ ลกั ษณะในศตวรรษที่ 21 3. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ ับการพัฒนาให้เป็นครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ 4. ผูเ้ รยี นทกุ กลุ่มเป้าหมายไดร้ ับโอกาส ความเสมอภาค และบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และเทา่ เทียม 5. เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามีการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม 6. เขตพ้ืนท่ีการศึกษามีการบริหารจัดการแบบบูรณาการ อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับ ความร่วมมอื สนับสนนุ จากทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศึกษา กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ที่ 1 ขับเคลื่อนจัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คง กลยทุ ธ์ท่ี 2 เร่งรัดการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นใหม้ คี วามรูค้ วามสามารถและ เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาศกั ยภาพผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ กลยทุ ธ์ที่ 4 สร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษา กลยทุ ธ์ที่ 5 เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการแบบบรู ณาการ ตัวชว้ี ัด

กลยุทธท์ ี่ 1 ขับเคลื่อนจดั การศึกษาเพ่อื ความม่ันคง (1) การส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนโรงเรียนพ้ืนท่ีสูงในถ่ินทุรกันดาร กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มทดี่ อ้ ยโอกาส ไดร้ บั บรกิ ารด้านการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ท่ีมีคณุ ภาพและเหมาะสมตรงตามความต้องการ ตวั ชวี้ ดั 1. จานวนผูเ้ รียนบา้ นไกล ไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาจากการได้เข้าพกั ในโรงเรียนที่มีหอพักนอน หรือการสนับสนนุ การเดนิ ทางจากบ้านถงึ โรงเรยี นอยา่ งปลอดภยั 2. จานวนโรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือใช้ในการประกอบอาหาร การพัฒนา ทักษะชวี ิต และการพัฒนาสภาพหอพักนอนใหม้ ีคุณภาพท่ีดีอยา่ งเหมาะสม 3. จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพท้ังด้านทักษะวชิ าการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ ที่เหมาะสมกับบรบิ ท 4. จานวนผ้เู รยี นกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ กลุ่มทดี่ ้อยโอกาส และกลุม่ ท่ีอยูใ่ นพ้ืนท่ีห่างไกลกันดาร ได้รับ การสง่ เสริมการเรียนรู้ทม่ี คี ุณภาพ และเกิดจิตสานึกรกั ในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 5. การบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนพ้ืนทสี่ ูงในถ่นิ ทุรกันดาร ไดร้ ับการปรบั ปรุงและมรี ูปแบบ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ 6. ผู้เรียนในโรงเรียนพน้ื ท่ีสูงในถิน่ ทุรกนั ดาร มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสูงขนึ้ กลยทุ ธท์ ี่ 2 เร่งรัดการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นให้มคี วามรู้ความสามารถและเพิม่ ขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขัน (1) ปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรทกุ ระดับการศึกษา ใหเ้ ออ้ื ต่อการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียน เป็นรายบุคคล มที ักษะท่จี าเป็นในศตวรรษท่ี 21 นาไปสู่การจัดการศกึ ษาเพื่อการมงี านทา (Career Education) ตวั ชว้ี ดั 1. ร้อยละของสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีหลักคิดที่ถูกต้อง รักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ตามความต้องการ และมีทักษะในการปอ้ งกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่ 2. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผูเ้ รยี นและพืน้ ท่ี (2) พัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดย่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข มที ศั นคติทดี่ ีตอ่ บา้ นเมือง มีหลักคิดทีถ่ ูกต้อง เป็นพลเมอื งดี ของชาติ และพลเมอื งโลกทดี่ ี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ตัวชว้ี ดั 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข 2. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิด ที่ถูกตอ้ ง เปน็ พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม 3. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีปรับปรุงหลักสูตร จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรม การเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มีทัศนคตทิ ่ดี ีต่อบ้านเมือง มีหลักคดิ ทถ่ี ูกตอ้ ง เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ มี คุณธรรม จริยธรรม 4. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปพฒั นาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามท่ีกาหนดได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ (3) พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ใหม้ ีทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 มคี วามเป็นเลศิ ดา้ นวิชาการ นาไปสกู่ ารสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ตวั ช้ีวดั ดา้ นผเู้ รียน 1. ร้อยละของผู้เรียนระดับปฐมวัย ได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ สตปิ ญั ญา และมคี วามพรอ้ มทีจ่ ะเข้ารับการศกึ ษาในระดับที่สูงขนึ้ 2. ร้อยละของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา มพี ฒั นาการทด่ี รี อบด้าน 3. รอ้ ยละของผเู้ รยี นทอ่ี ่านออกเขียนได้ คดิ เลขเปน็ และมีนสิ ยั รกั การอ่าน 4. ร้อยละของผู้เรยี นทีม่ ที กั ษะการคิด วเิ คราะห์ 5. ร้อยละของผู้เรยี นทผี่ ่านการประเมนิ สมรรถนะทจี่ าเป็นดา้ นการรเู้ รอื่ งการอ่าน (Reading Literacy) 6. ร้อยละของผู้เรียนท่ีผ่านการประเมินสมรรถนะที่จาเป็นด้านการรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) 7. ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินสมรรถนะท่ีจาเป็นด้านการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) 8. รอ้ ยละของผเู้ รียนทม่ี ที ักษะสอื่ สารอังกฤษ และสอ่ื สารภาษาท่ี 3 ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 9. รอ้ ยละของผู้เรียนท่มี ีทักษะดา้ น Digital Literacy ในการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 10. รอ้ ยละของผเู้ รยี นทมี่ คี วามรู้ และทกั ษะในการป้องกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ 11. ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) มากกวา่ รอ้ ยละ 50 ในแต่ละวิชาเพิ่มขน้ึ จากปกี ารศึกษาที่ผา่ นมา 12. ร้อยละ 60 ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีสมรรถนะการเรียนรู้เร่ืองการอ่าน ตงั้ แต่ระดับขัน้ พน้ื ฐานขน้ึ ไป (ระดบั 2) ตามแนวทางการประเมนิ PISA 13. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนท้ังหมดได้รับการประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหาตามแนวทาง การประเมนิ PISA ด้านสถานศกึ ษา 1. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาจัดการเรยี นรูท้ ใ่ี ห้ผู้เรยี นได้เรียนรผู้ ่านกจิ กรรม การปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning) 2. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีมกี ารจัดการเรียนรใู้ หผ้ เู้ รียนในลักษณะของ STEM ศกึ ษา 3. ร้อยละของสถานศึกษาที่การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได 5 ขั้น (IS: Independent Study) 4. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ และบรรยากาศส่ิงแวดล้อมที่ส่งเสริมสนับสนุน ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรู้และฝกึ ทักษะดา้ นภาษาองั กฤษและภาษาท่ี 3 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพและทักษะชีวิต มีสุขภาวะที่ดี สามารถดารงชีวิตอยู่ใน สังคม ไดอ้ ย่างมีความสุข ตวั ชี้วัด

1. รอ้ ยละของผู้เรยี น มี ID plan และ Portfolio เพอื่ การศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ และบรรยากาศส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนา ทักษะอาชพี ตามความถนัด 3. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมสี ุขภาวะท่ีดีทุกช่วงวยั 4. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมรี ะบบป้องกันและแก้ไขปัญหาในสถานศึกษา (5) การจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน (SDGs) เพ่ือสร้างเสริม คณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวช้วี ดั 1. รอ้ ยละของผูเ้ รียนที่มีพฤติกรรมแสดงออกถึงการดาเนนิ ชีวิตท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม และ การประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานส่ิงแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพือ่ การพัฒนาท่ีย่งั ยนื (Environmental Education Sustainable Development: EESD) 3. ทุกสถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโลก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Global Goals for Sustainable Development) (6) พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียนทมี่ ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ตวั ชว้ี ัด 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของแต่ละระดับ 2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการพัฒนาด้านทักษะอาชีพ ทักษะ การดารงชีวติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตสาธารณะ 3. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ได้รับการส่งเสริมให้มีความสามารถพเิ ศษ ด้านต่าง ๆ อาทิ ดนตรี กฬี า ศลิ ปะ และเทคโนโลยี เป็นตน้ (7) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา นา Digital Technology มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความถนัด สร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) เพอื่ การเรียนรูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ ตวั ชวี้ ดั 1. ร้อยละของผู้เรยี นที่เรียนผา่ น Digital Platform 2. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการเรยี นรู้ เพ่อื ให้พฒั นาตนเองผ่าน Digital Platform กลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นาศักยภาพผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ (1) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบนั ทางการศึกษาท่ีผลติ ครู ในการผลติ และพฒั นาครู ใหต้ รงกบั สาขาวิชา และสอดคลอ้ งกับการพฒั นาในศตวรรษท่ี 21 ตวั ชี้วัด 1. สถานศึกษามีแผนความตอ้ งการครรู ะยะ 20 ปี 2. สถานศกึ ษามกี รอบสมรรถนะครูทสี่ อดคล้องกบั การพฒั นาในศตวรรษที่ 21 และสอดคล้อง กับบรบิ ทของพนื้ ที่ 3. สถานศึกษาทุกแห่งมจี านวนครูอย่างเหมาะสม และเพยี งพอต่อการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น

(2) พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชีพ มีศกั ยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ตัวชี้วัด 1. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท มีศักยภาพในการปฏิบัติงานครบ ตามความจาเปน็ ในการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการ เรียนรู้ และการวัดประเมินผลอยา่ งมีคุณภาพในรปู แบบที่หลากหลาย ตามศกั ยภาพของผ้เู รยี นแตล่ ะบคุ คล (3) นา Digital Technology มาใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ทุกประเภททั้งระบบ ตัวชว้ี ดั 1. สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัดทุกแห่ง มีระบบฐานข้อมูลผู้บริหาร ครู และบุคลากร ทางการศึกษา เพอื่ วางแผนการผลิตครูทงั้ ระบบ 2. รอ้ ยละของบุคลากรในสงั กัดทพ่ี ัฒนาตนเองผ่านระบบ Digital Technology 3. รอ้ ยละของ Digital Technology เกี่ยวกับองค์ความรใู้ นสาขาท่ีขาดแคลน กลยทุ ธ์ท่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาท่มี คี ณุ ภาพและมาตรฐาน ลดความเหลอ่ื ม ลา้ ทางการศกึ ษา (1) ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัด การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของพน้ื ที่ ตัวชวี้ ดั 1. ร้อยละของเดก็ วัยเรยี นที่เขา้ รับการศกึ ษาในแต่ละระดับการศกึ ษา 2. ร้อยละของนักเรยี นออกกลางคนั 3. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มรี ะบบการดูแลชว่ ยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนว ที่มีประสทิ ธภิ าพ 4. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีระบบฐานข้อมลู ประชากรวยั เรียนและสามารถนามาใช้ในการวางแผน จัดการเรียนรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รียนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ (2) ยกระดบั สถานศกึ ษาในสังกดั ทุกระดบั และทุกประเภท ใหม้ ีมาตรฐานตามบริบทของพ้ืนท่ี เพอ่ื ให้พัฒนาผเู้ รยี น มีคุณภาพ มมี าตรฐานเสมอกัน ตวั ชี้วัด 1. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทผ่ี ่านการประเมินมาตรฐานสถานศึกษาตามที่กาหนด (3) สรา้ งความเข้มแข็งในการบริหารจดั การศึกษาสาหรับผ้เู รียนท่มี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ ตัวชว้ี ัด 1. มขี ้อมูลสารสนเทศของการจดั การศึกษาพเิ ศษ ทเ่ี ชอ่ื มโยงกับหนว่ ยงานที่เก่ียวข้องทุกระดับ 2. ทุกสถานศึกษาในสังกดั มคี วามพร้อมทง้ั ระบบ เพอ่ื สามารถจดั การศึกษาแบบเรียนรวม (4) จัดสรรงบประมาณสนับสนุนผเู้ รียนและสถานศึกษาอย่างเหมาะสมเพยี งพอ ตวั ชวี้ ดั

1. มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษาโดยตรง อย่างเหมาะสม 2. ผู้เรียนทุกคนและสถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการเรียนรู้อย่างเหมาะสม และเพียงพอต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 3. จานวนโครงการ/กิจกรรมทีไ่ ด้รบั ความร่วมมอื จากกองทนุ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (5) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศกึ ษา หน่วยงานทุกระดับนา Digital Technology มาใช้เป็น เคร่อื งมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพของผูเ้ รียน ตวั ช้ีวัด 1. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบโครงข่ายสื่อสารโทรคมนาคมที่สามารถเช่ือมต่อกับโครงข่าย อนิ เทอร์เนต็ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ และปลอดภยั 2. สถานศึกษามี Digital Device เพอ่ื ใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของผู้เรียน และเป็นเคร่ืองมือ ในการจัดการเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ กลยทุ ธท์ ่ี 5 เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการแบบบรู ณาการ (1) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ สถานศึกษา ตัวชี้วดั 1. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพมาตรฐานสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่มผี ลการประเมินภายนอก ในระดบั ดขี ้ึนไป 3. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment) (2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วม บรหิ ารจดั การศึกษา ตัวชว้ี ดั 1. รอ้ ยละของสถานศึกษา มกี ารบรหิ ารจดั การแบบมีสว่ นรว่ ม (3) ยกระดบั การบริหารงานของสถานศึกษาให้มีอิสระ นาไปส่กู ารกระจายอานาจ 4 ด้าน ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางในการจัดการศกึ ษาตามบริบทของพ้นื ท่ี ตัวชี้วัด 1. มีรูปแบบและแนวทางในการบริหารจดั การของโรงเรยี นให้เกดิ คุณภาพ 2. มีข้อเสนอเชงิ นโยบายในการกระจายอานาจท้งั ระบบ 3. มีรปู แบบและแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กให้เกิดคุณภาพ 4. ร้อยละของสถานศึกษามีคุณภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน/ปฐมวยั /ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ) และพัฒนาส่รู ะดับสากล 5. จานวนโรงเรยี นขนาดเลก็ ลดลง 6. รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีอย่ใู นโรงเรียนขนาดเล็กมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสูงขึ้น (4) ปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเพื่อสนับสนุนผู้เรียนและสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพียงพอ ตวั ชว้ี ัด

1. มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษาโดยตรง อยา่ งเหมาะสม 2. ผู้เรียนและสถานศึกษา ได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการเรียนรู้อย่างเหมาะสม และเพยี งพอต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 3. จานวนโครงการ/กิจกรรม ทีไ่ ด้รับความรว่ มมอื จากกองทนุ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (5) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา หน่วยงานทุกระดับนา Digital Technology มาใช้ในการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารอย่างเป็นระบบ นาไปสู่การนาเทคโนโลยี Big Data เพอ่ื เชอื่ มโยง ขอ้ มลู ดา้ นต่าง ๆ ตัง้ แต่ข้อมลู ผู้เรยี น ขอ้ มลู ครู ข้อมูลสถานศกึ ษา ขอ้ มลู งบประมาณ และข้อมลู อื่น ๆ ทีจ่ าเป็น มาวิเคราะห์เพื่อให้สถานศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ และ ความถนดั และสามารถวิเคราะห์เป็นขอ้ มูลในการวางแผนการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศต่อไป ตวั ชีว้ ดั 1. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีสามารถใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษา ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2. สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลท่ีสามารถเชื่อมโยงกับข้อมูลต่าง ๆ นาไปสู่ การวเิ คราะห์เพอ่ื วางแผนการจดั การเรียนรูใ้ ห้ผูเ้ รียนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

 ส่วนท่ี 4 โครงการ/กจิ กรรม 







 ภาคผนวก 

คณะผู้จัดทา 1. นายสมบูรณ์ สันชมุ ภู รองผ้อู านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 2. นายธรี ศกั ดิ์ สืบสุตนิ ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน 3. น.ส.สวุ ารณิ ี โยยานะ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ 4. น.ส.สุดากานต์ ไชยรุง่ เรอื ง นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร 5. นายนพดล ดว้ งธวิ งศ์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏิบัตกิ าร 6. น.ส.เสาวรีย์ ศรจี นั ทร์ เจ้าพนกั งานธุรการปฏบิ ัติงาน 7. นางภาณณิ ี ใจธรรม เจา้ หนา้ ที่ธรุ การ 8. นายอสิ ระ ดีมาก เจา้ หนา้ ทโ่ี สตทัศนปู กรณ์ ***********************************

 กลยทุ ธ์ท่ี 1 ขบั เคล่ือนจดั การศึกษาเพื่อความม่นั คง 

โครงการ พฒั นาคณุ ภาพโรงเรียนพนื้ ท่ียากลาบาก และโรงเรียนพ้นื ที่สูงในถิน่ ทรุ กนั ดาร หนว่ ยงานรบั ผิดชอบโครงการ กลมุ่ นโยบายและแผน สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธรี ศกั ดิ์ สบื สตุ ิน และ น.ส.สวุ ารณิ ี โยยานะ ลักษณะโครงการ ( ) ใหม่ ( / ) ต่อเนอื่ ง ระยะเวลาดาเนนิ การ ตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 สอดคล้องกับนโยบาย สพฐ. นโยบายที่ 1 จัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คง สอดคลอ้ งกบั กลยุทธ์ สพป. กลยทุ ธ์ที่ 1 ขับเคลอ่ื นจัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คง 1. หลักการและเหตุผล จากพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถที่พระองค์ทรงห่วงใย เร่ืองการศึกษาของเด็ก โดยเฉพาะเด็กด้อยโอกาส เด็กชาวเขาและเด็กที่อยู่ในถ่ินทุรกันดาร ที่มีปัญหาความเป็นอยู่ และโอกาสได้รับการศึกษา และพระราชดารัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีคราวเสด็จ ทรงบรรยายเรื่อง“การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร” ณ ห้องสมานฉันท์ ชั้น 3สานักงานใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2550 ตอนหนึ่งว่า “...ทาอย่างไรจะให้โรงเรียน ในถิ่นทุรกันดารและเยาวชนท่ีอยู่ในวัยการศึกษาเล่าเรียน มีพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง พร้อมที่จะสร้างเสริม สตปิ ญั ญาเพือ่ การพัฒนาตนเองและเปน็ ประโยชนแ์ กภ่ ูมลิ าเนา สงั คมสืบไป... เรือ่ งการศกึ ษาต้องเนน้ คุณภาพ และโอกาสในการศึกษาไม่ใช่จะสอนอย่างไรก็ได้โดยไม่มีหลักเกณฑ์...ข้าพเจ้าเช่ือว่าแนวทางท่ีเราทางาน มาแต่เดิม ไม่ผิดยังใช้ได้ดีโดยเฉพาะในเขตทุรกันดารแต่เราต้องเปลี่ยนความคิดแต่ก่อนคิดว่าให้คนในเขตทุรกันดาร เรียนเพื่อเพียงเพื่อให้อ่านออกเขียนได้เท่านั้นปัจจุบันเขามีสิทธิที่จะเรียนถึงชั้นสูงได้เหมือนลูกคนในเมือง ต้องมยี ทุ ธศาสตร์การพัฒนาเพมิ่ มากขน้ึ ...” การพัฒนาการจัดการศึกษาให้แก่ประชากรวัยเรียนบนพ้ืนที่สูง ท้ังที่มีและไม่มีหลักฐาน ทางทะเบียนราษฎร์ ให้มีโอกาสทางการศึกษาและคุณภาพอย่างทั่วถึงด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ตามบริบทของ พื้นท่ีที่สถานศึกษาตั้งอยู่ จะเห็นได้ว่ามีกฎหมายและนโยบายท่ีเกี่ยวข้องกับเด็กด้อยโอกาสหลายฉบับได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ที่กาหนดให้ความคุ้มครองผู้ด้อยโอกาสและเสียเปรียบ ได้มีโอกาสทางการศึกษาและคุ้มครองสิทธิต่าง ๆ โดยเน้นความเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติ เพราะ กฎแห่งความ แตกต่าง ความเสมอภาคในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างท่ัวถึง มีคุณภาพ โดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย นอกจากน้ีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ยังไดร้ ะบุไว้ในมาตรา 10 เกีย่ วกับการจัดการศกึ ษา ตอ้ งจัดให้บคุ คลมีสทิ ธิและโอกาสเสมอกัน ในการรบั การศึกษา ข้ันพื้นฐาน ไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และท่ีสาคัญ อีกประการหนึ่งคือประเทศไทยเป็นภาคีขององค์การสหประชาชาติ ได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ.1998(พ.ศ.2532) ท่ีกาหนดให้รัฐภาคียอมรับสิทธิของเด็กท่ีจะได้รับการศึกษาบนพื้นฐานของโอกาส ท่ีเท่าเทียมกันและปฏิญญาโลกว่าด้วยการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education For All) “ปฏิญญาจอมเทียน” ค.ศ.1990 (พ.ศ.2533) โดยมุ่งเน้นเพ่ือจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการเรียนรู้ข้ันพื้นฐานของปวงชน และเป็นไปอย่างเสมอภาค ทั่วถึง และเป็นธรรม ขจัดความเหล่ือมล้ากันในระบบการศึกษาระหวา่ งกลุ่มตา่ ง ๆ ได้แก่ เพศ กลุ่มทางสังคม ครอบครัว ระดับรายได้ กลุ่มเชื้อชาติ สัญชาติ กลุ่มเมือง/ชนบท เป็นต้น และ อนุสัญญาวา่ ดว้ ยการขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชื้อชาตใิ นทุกรปู แบบทีไ่ ด้กาหนดสิทธิในการไดร้ ับการศึกษา

เนื่องจากสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ในเขตพื้นที่อาเภอวังเหนือ อาเภอเมืองปาน และอาเภอแจ้ห่ม มีภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง ห่างไกล และทุรกันดาร เป็นพื้นที่ป่าไม้ ต้นน้าลาธาร ประชากรที่อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีบริเวณนี้ มีหลากหลายเผ่าพันธุ์ ได้แก่ ชาวไทยพื้นเมือง ชาวไทยภูเขาเผ่าต่าง ๆ เช่น กะเหรี่ยง อีก้อ (อาข่า) เย้า ม้ง เป็นต้น การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนจะกระจัดกระจายเป็นหย่อมบ้าน ตามที่ราบเชิงเขา หุบเขา บนเข้า การคมนาคมไม่สะดวก มีวัฒนธรรมความเช่ือท่ีแตกต่างกันประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาไร่ทาสวน หาของป่ารับจ้างทั่วไป มีฐานะจากจน จึงให้ความสาคัญกับการหาเลี้ยงชีพมากกว่าการที่จะให้บุตรหลานเข้ารับ การศึกษา และจากการดาเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในเขตพื้นท่ีสูงในถิ่นทุรกันดารในปีท่ีผ่านมา พบว่าโรงเรียนในโครงการยังมีปัญหาในการจัดการศึกษาอีกมาก ซ่ึงโรงเรียนเหล่านี้ยังต้องได้รับการดูแลและ ยกระดับคณุ ภาพใหท้ ัดเทยี มกบั โรงเรียนอน่ื สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เป็นองค์กรหลักในการจัดการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน ได้ตระหนักในหน้าที่และเล็งเห็นความสาคัญในการจัดการศึกษาให้ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีและ ทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนพื้นที่ยากลาบาก และโรงเรียนพื้นท่ีสูงในถ่ินทุรกันดาร เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนพ้ืนที่ยากลาบาก และโรงเรียนพ้ืนท่ีสูงในถิ่นทุรกันดาร และเป็นการขับเคล่ือนนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปสู่การ ปฏบิ ัติ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื ทบทวนการจัดทาแผนและฐานข้อมลู โรงเรียนพน้ื ทสี่ งู ในถิ่นทรุ กันดาร 2.2 เพือ่ จัดเวทแี สดงผลงานโรงเรยี นพื้นทส่ี ูงในถิน่ ทุรกันดาร 2.3 เพ่อื พัฒนาและยกระดบั คุณภาพโรงเรียนพนื้ ทย่ี ากลาบาก และโรงเรยี นพ้ืนท่ีสูงในถ่ินทุรกันดาร 3. เป้าหมาย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ (1) จดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารทบทวนการจดั ทาแผนและฐานข้อมลู โรงเรียนพน้ื ท่ีสงู ในถ่ิน ทุรกนั ดาร จานวน 30 โรงเรียน จานวน 1 คร้งั (2) จดั เวทีแสดงผลงานโรงเรยี นพนื้ ท่ีสูงในถิ่นทุรกันดาร จานวน 1 ครั้ง (3) บริหารจดั การโรงเรียนพน้ื ท่ียากลาบาก และโรงเรยี นพ้นื ท่สี ูงในถิน่ ทรุ กนั ดาร ในด้าน วชิ าการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบคุ คล และด้านการบริหารทวั่ ไป จานวน 33 โรงเรียน (4) ส่งเสริมทกั ษะวิชาการ ทกั ษะวชิ าชีพ และทักษะชวี ิต ใหก้ ับนกั เรยี นโรงเรียนพื้นที่สงู ในถ่นิ ทุรกนั ดาร จานวน 30 โรงเรยี น 3.2 เชงิ คุณภาพ (1) สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 และโรงเรยี นพนื้ ท่สี ูงในถ่ิน ทุรกนั ดาร จานวน 30 โรงเรยี น มแี ผนและฐานข้อมลู ของโรงเรยี นที่ถูกต้องและครบถ้วน สามารถใช้ในการวางแผน การบรหิ ารจัดการศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (2) โรงเรยี นพ้นื ท่ีสงู ในถิ่นทรุ กันดาร จัดแสดงผลงานเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (3) โรงเรียนพื้นที่ยากลาบาก และโรงเรียนพื้นท่ีสูงในถิ่นทุรกันดาร ได้รับการยกระดับ และพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา (4) นักเรยี นในโรงเรียนพื้นที่สงู ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ไดร้ ับการสง่ เสรมิ ทักษะวิชาการ ทักษะ วชิ าชพี และทักษะชวี ิต

4. วธิ กี ารดาเนนิ งาน ท่ี กจิ กรรม/ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 1 กิจกรรมที่ 1 การจดั ทาแผน ฐานข้อมูล นายธีรศักดิ์ สบื สตุ ิน และเวทีแสดงผลงานโรงเรยี นพน้ื ทส่ี ูง น.ส.สวุ ารณิ ี โยยานะ ในถ่ินทรุ กนั ดาร ขั้นตอนการดาเนินงาน 1.1 แต่งตง้ั คณะกรรมการ มี.ค. 2562 1.2 ประชุมคณะกรรมการ ม.ี ค. 2562 1.3 ประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารจัดทาแผน ฐานขอ้ มูล เม.ย. 2562 และเวทีแสดงผลงานโรงเรียนพนื้ ทสี่ งู ในถ่ินทรุ กันดาร 1.4 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน พ.ค. 2562 2 กิจกรรมท่ี 2 การบริหารจัดการและพฒั นา โรงเรียนพื้นท่ียากลาบาก และโรงเรียนพืน้ ทสี่ ูง ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน 2.1 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ ธ.ค. 2561 2.2 ประชุมคณะกรรมการ ธ.ค. 2561 2.3 สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและพฒั นา ธ.ค. 2561 – ก.ย. 2562 คณุ ภาพโรงเรยี นพ้นื ที่ยากลาบาก และ โรงเรยี นพ้นื ที่สูงในถิ่นทรุ กนั ดาร - ดา้ นวชิ าการ - ด้านงบประมาณ - ด้านการบรหิ ารงานบุคคล - ดา้ นการบริหารงานทั่วไป 2.4 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน ก.ย. 2562 3 กจิ กรรมท่ี 3 การบริหารจัดการโรงเรียน พื้นที่สูงในถิ่นทรุ กนั ดาร ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.1 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ ม.ค. 2562 3.2 ประชุมคณะกรรมการ ม.ค. 2562 3.3 จดั สรรงบประมาณเพ่ือการบรหิ ารจัดการ ม.ค. – ก.ย. 2562 ใหก้ ับโรงเรยี นพ้นื ท่ีสงู ในถ่ินทุรกนั ดาร 3.4 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน ก.ย. 2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook