Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีการฝึกอบรม Training Technology

เทคโนโลยีการฝึกอบรม Training Technology

Published by ปภัสสร ทองสุข, 2019-05-31 06:41:52

Description: เทคโนโลยีการฝึกอบรม
Training Technology

Search

Read the Text Version

แนวคิดและทฤษฎเี กี่ยวกบั การฝึกอบรม บทที่ 1 เปน็ ส่วนหนึ่งของการจดั การเรยี นการสอนรายวิชาเทคโนโลยีสือ่ สิ่งพิมพ์ เรเียทบคเโรนียโงลโยดกียารปฝภกึ สั อสบรรมทองส1ขุ



เทคโนโลยีการฝกึ อบรม Training Technology หนงั สือเลม่ นี้เป็นส่วนหนึง่ ของการจดั การเรยี นการสอน ในรายวิชาเทคโนโลยสี ือ่ ส่ิงพิมพ์ เรียบเรยี งโดย ปภสั สร ทองสุข รหสั นสิ ติ 60411233 สาขาเทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร



ค�ำ นำ� หนงั สือเลม่ น้ีเป็นส่วนหนึง่ ของการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา เทคโนโลยสี อ่ื ส่งิ พิมพ์ เรยี บเรียงโดย นิสติ หลักสูตรศลิ ปศาสตรบนั ฑติ (เทคโนโลยสี ่ือสารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร) เพื่อให้ สอดคลอ้ งกับสาระวชิ าในกรอบหลักสตู รมาตรฐานดา้ นเทคโนโลยีและสอ่ื สาร การศึกษา ของสำ�นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้เรยี บเรียงหวงั วา่ การเรยี บเรียงครัง้ นี้มีผลประโยชน์ต่อผู้สนใจไม่มากก็ น้อย เรียบเรยี งโดย ปภสั สร ทองสุข

สารบัญ บทท่ี 1 แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกับการฝกึ อบรม ความหมายของการฝกึ อบรม 2 วตั ถปุ ระสงค์ในการฝกึ อบรม 3 ประโยชนข์ องการฝึกอบรม 5 ความส�ำ คัญของการฝกึ อบรม 7 บทบาทนกั เทคโนโลยกี ารศกึ ษาด้านการจดั การฝึกอบรม 10 บทบาทของเทคโนโลยที างการศกึ ษา 13 บทที่ 2 เทคนคิ การฝกึ อบรม 18 เทคนคิ การฝึกอบรมโดยใชว้ ทิ ยากรเป็นศนู ย์กลางการเรียนร ู้ 21 - การบรรยาย 21 - การอภปิ รายเป็นคณะ 22 - การชุมนุมปาฐกถาหรอื การประชมุ ทางวชิ าการ 24 - การสาธิต 25 - การสอนงาน 26 เทคนิคการฝกึ อบรมโดยใช้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมเป็นศนู ยก์ ลางการเรยี นร ู้ 28 - การประชมุ กลุม่ ยอ่ ย 28 - กรณศี ึกษา 30 - การประชมุ เปน็ ฟอรมั 32 - เกมการบริหาร 33 - การแสดงบทบาทสมมต ิ 34 - การสมั มนา 35 - การศกึ ษาดงู านนอกสถานท ี่ 36 - การประชมุ ปฏิบัตกิ าร 37 - การฝึกการรบั รู้ 38 - การใช้กจิ กรรมนนั ทนาการ 39 - การใชฐ้ านกิจกรรม 40

ข้นั ตอนการจดั ฝึกอบรมโดยใชเ้ ทคนคิ ต่างๆ 42 - วิธีการจัดสัมมนา 43 - วิธกี ารจดั การฝกึ อบรมทั่วไป 43 - วธิ ีการจัดการศึกษาดูงาน 43 - วธิ ีการจัดการประชุมปฏบิ ตั กิ าร 44 - วธิ ีการฝกึ กอบรมพนักงาน 45 - วธิ กี ารฝึกอบรมผ้บู รหิ ารระดับต่างๆ 46 การเรียนรู้ของผู้ใหญ ่ 46 - สง่ิ ที่เป็นอุปสรรคตอ่ การเรียนรขู้ องผู้ใหญ่ 48 บทที่ 3 หลกั การเลอื กใช้อุปกรณ์ประกอบการฝกึ อบรม 53 ลักษณะของอุปกรณ์ทดี่ ี 53 ประเภทของอปุ กรณ์การฝกึ อบรม 54 ประโยชน์ของการใชอ้ ุปกรณ ์ 62 บทที่ 4 การวางแผนการฝึกอบรมและการเขยี นโครงการ 62 การจดั ทำ�แผนการฝึกอบรม 63 โครงสร้างของแผนการฝึกอบรม 63 กระบวนการจัดทำ�แผนการฝกึ อบรม 64 การกำ�หนดนโยบาย เป้าหมาย และกลยทุ ธ์ในการฝกึ อบรม 66 การกำ�หนดงบประมาณและเวลาในการฝกึ อบรม 68 การเขียนโครงการฝกึ อบรม 75 - ข้อแนะน�ำ ในการเขยี นโครงการฝึกอบรม 80 - โครงการฝกึ อบรมทด่ี ี 80 บทที่ 5 การประเมินผลโครงการฝกึ อบรม 81 การประเมินการเรียนรู้ 83 - การประเมินผลการเปลยี่ นแปลงดา้ นความร ู้ 84 - การประเมนิ ผลการเปลย่ี นแปลงดา้ นทักษะ - การประเมนิ ผลการเปลยี่ นแปลงด้านทัศนคต ิ - การประเมนิ ผลก่อนการฝกึ อบรมและการประเมินผลหลังการฝึกอบรม

บทที่1 แนวคิดและทฤษฎี เก่ียวกบั การฝกึ อบรม



บทที่ 1 แนวคดิ และทฤษฎเี กย่ี วกบั การฝกึ อบรม บทท่ี 1 แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกบั การฝึกอบรม ความหมายของการฝกึ อบรม การฝึกอบรม (training) มีผ้ใู หค้ วามหมายไว้ หลายแนวทาง ดังนี้ 1. กระบวนการท่จี ดั ขนึ้ อย่างเป็นระบบ เพื่อท่จี ะ หาทางให้มีการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมและหรอื เจตคติของ พนักงาน เพ่ือท่ีจะสามารถปฏิบตั ิงานได้ดีข้นึ ซง่ึ จะนาไปสู่ การเพิ่มผลผลิตและใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ ต่อเปา้ หมายของ องค์กร 2. กระบวนการท่จี ดั ข้ึนเพือ่ ให้บุคคลได้เรียนรแู้ ละมี ความชานาญเพ่ือวตั ถุประสงคอ์ ย่างใดอยา่ งหน่ึงโดยมุ่งให้ คนได้เกิดการเรยี นรู้เร่ืองใดเรอ่ื งหนง่ึ โดยเฉพาะ และเพื่อ เปลย่ี นพฤติกรรมของคนในทางทต่ี ้องการ 3. การให้คาแนะนา ฝึกใหม้ รี ะเบียบวนิ ับ เพอ่ื ใหผ้ ู้ เขา้ อบรมได้มคี วามชานาญเพิ่มข้นึ รวมท้งั ได้เรยี นร้ถู ึง วิธีการปฏิบตั ิงานเฉพาะตาแหนง่ เพือ่ ให้เขามีความรู้ ความสามารถทกี่ ้าวต่อไปในอนาคต 2 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกับการฝกึ อบรม บทที่ 1 4. กระบวนการท่ชี ่วยเพมิ่ พนู ความถนดั ทาง ธรรมชาติ ทักษะ หรือความชานาญความสามารถของ บุคคล เพื่อใหป้ ฏบิ ตั ิงานดยี ิ่งข้ึน จากความหมายทีก่ ลา่ วมา สามารถสรปุ ไดว้ า่ การ ฝึกอบรมเป็นกจิ กรรมการเรียนร้เู ฉพาะของบคุ คลเพื่อทจี่ ะ ปรบั ปรงุ และเพิม่ พนู ความรู้ (knowledge) ความเขา้ ใจ (understanding) ทักษะ (skill) และเจตคติ (attitude) อันเหมาะสมจนสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน พฤติกรรมและเจตคตติ ่อการปฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ีให้มี ประสิทธภิ าพย่งิ ขึน้ วัตถุประสงคใ์ นการฝกึ อบรม เพือ่ เป็นการเพ่มิ พูนความรู้ความสามารถในการ ทางานเฉพาะอยา่ ง อาจจาแนกวัตถปุ ระสงคใ์ นการ ฝึกอบรมได้ 4 ประการ เรยี กย่อๆวา่ KUSA ดงั น้ี 1.เพม่ิ พนู ความรู้ Knowledge,K มคี วามรู้ หลักการ ทฤษฎี แนวคิดในเร่ืองท่ีอบรมเพอื่ นาไปใชใ้ น การทางาน เทคโนโลยีการฝึกอบรม 3

บทที่ 1 แนวคดิ และทฤษฎเี กย่ี วกบั การฝกึ อบรม 2 เพ่ือเพ่มิ พนู ความเข้าใจ Understand,U เปน็ ลกั ษณะทีต่ ่อเนอ่ื งจากความรู้ กล่าวคอื หลักการและ ทฤษฎีแลว้ สามารถตีความ แปลความ ขยายความ และอธิบายให้คนอืน่ ทราบได้ รวมทั้งสามารถนาไป ประยุกต์ได้ 3 เพอ่ื เพ่มิ พนู ทักษะ Skill S ทักษะความ คล่องแคลว่ ในการปฏิบตั ิอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ไดโ้ ดย อตั โนมัติ เชน่ การใชเ้ คร่ืองมือตา่ งๆการขับรถ การข่ี จักรยานเป็นต้น 4 ถา้ เปลย่ี นแปลงเจตคติ attitude A เจตคติ หรือทัศนคติ คือความรสู้ ึกท่ดี ีหรือไมด่ ีต่อสิ่งตา่ งๆ การ ฝึกอบรมมุ่งให้เกิดเพื่อเพม่ิ ความรูส้ กึ ทด่ี ๆี ต่อองค์การ ตอ่ ผูบ้ ังคบั บัญชาตอ่ เพอื่ นรว่ มงานและต่องานที่มี หนา้ ท่รี ับผดิ ชอบเช่นความจงรักภกั ดตี อ่ บริษทั ความ ภาคภมู ิใจต่อสถาบนั ความสามัคคใี นหมู่คณะ ความ รับผิดชอบตอ่ งาน ความเอาใจใส่ตอ่ งาน ความ กระตือรอื ร้นเป็นต้น การฝกึ อบรมต่างจากการศกึ ษา คือ การศกึ ษาจะมงุ่ พฒั นาในสว่ นรวม แต่การฝกึ อบรมจะเป็นการฝึกใหแ้ ก่ บคุ คลเพ่ือทางานอย่างใดอยา่ งหนึง่ ซ่งึ โดยทั่วไปแล้วการ 4 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

แนวคดิ และทฤษฎเี กยี่ วกับการฝึกอบรม บทที่ 1 ฝกึ อบรมดึงดดู ความสนใจได้น้อย ดงั น้นั การจะใหบ้ รรลุถงึ วัตถปุ ระสงค์ 4 ประการ ประการดงั กลา่ วจะต้องใช้ เทคนิค วธิ กี ารและแรงจงู ใจต่างๆเขา้ ชว่ ยมากมาย ประโยชน์ของการฝกึ อบรม 1.การฝึกอบรมมีประโยชนแ์ ก่ทุกฝา่ ยดังนี้ 1) ระดบั องคก์ ารหรือหน่วยงาน การฝึกอบรมมี ประโยชนใ์ นระดับองค์การดงั นี้ 2) เพิม่ ผลผลิตขององค์การท้งั ทางตรงและทางอ้อม 3) ลดคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นแรงงาน 4) สรา้ งขวัญและกาลังใจให้แก่พนกั งาน ทาให้ พนักงานทางานเต็มความสามารถ 5) ลดความสญู เสียวัสดุอุปกรณ์และคา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ 6) แกป้ ญั หาต่างๆขององค์การ ทาใหข้ ่าวสารภายใน องค์การดีขนึ้ 7) ทาให้ก้าวหนา้ สามารถแข่งขันกบั ผอู้ ื่นได้ องค์การ บรรลุเป้าหมายตามที่ตั้งไว้ 2.ระดับผู้บังคบั บญั ชา การฝกึ อบรมมีประโยชนด์ งั น้ี 1) ช่วยเพม่ิ ผลผลิตในสว่ นงานของตนให้สูงข้ึน เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม 5

บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกบั การฝกึ อบรม 2) ลดเวลาในการสอนงานและลดเวลาในการพฒั นา พนกั งาน 3) ลดภาระในการปกครองบังคับบัญชา 4) ช่วยให้พนกั งานตะหนักในบทบาทหนา้ ทแ่ี ละ ความรับผิดชอบของตน 5) สร้างความสมั พันธ์อนั ดรี ะหว่างผบู้ งั คับบญั ชากับ พนกั งาน 3.ระดบั พนักงานหรือตวั ผูเ้ ข้ารบั การอบรมเอง การ ฝึกอบรมมปี ระโยชนด์ งั นี้ 1) เพ่ิมความร้คู วามสามารถเปน็ การเพ่ิมคณุ ค่าใหแ้ ก่ ตนเอง 2) ลดการทางานผดิ พลาดหรืออุบตั ิเหตุ 3) ทาใหม้ ที ัศนคติทด่ี ตี ่อการปฏิบัติงาน เพื่อน ร่วมงาน และองค์การ 4) เพม่ิ โอกาสความกา้ วหน้าในด้านตา่ งๆ เชน่ ความกา้ วหน้าในตาแหนง่ หน้าท่ี และรายได้ เพ่ิมขึน้ หรือโอกาสในการเปล่ียนงาน 5) ลดเวลาในการเรยี นร้งู าน 6) สรา้ งความรสู้ กึ ดีๆให้แกต่ นเอง ทาใหม้ ีกาลังใจ มากข้ึน 6 เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม

แนวคดิ และทฤษฎีเกย่ี วกบั การฝึกอบรม บทที่ 1 7) ทาให้รจู้ ักคนมากขนึ้ กวา้ งขวางมากขึ้นการ ปฏบิ ัติงานสะดวกขึ้น 8) ความรูก้ ว้างขวาง กา้ วทนั ต่อเทคโนโลยใี หม่ๆ ความรู้ใหมๆ่ และสงั คมทีเ่ ปล่ียนไป เมือ่ สว่ นต่างๆดังกลา่ วมีคุณภาพดียอ่ มส่งผลตอ่ องค์การโดยสว่ นรวม ทาให้องคก์ ารมีประสิทธิภาพ และมีความม่ันคงสูงขนึ้ ความสาคัญของการฝกึ อบรม องค์การตา่ งๆไมว่ ่าจากภาครฐั และภาคเอกชน ต่างก็ให้ความสาคญั ในเร่ืองการฝึกอบรมมกี ารส่งเสรมิ ให้ บุคลากรมโี อกาสเขา้ รับการฝึกอบรมมากขึ้น บางองค์กร การกาหนดงบประมาณการฝึกอบรมในอตั ราถงึ ร้อยละ 10 ของงบประมาณทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการฝึกอบรมในขณะ ทาการหรอื การฝึกอบรมนอกท่ีทาการ โดยองค์การเป็น ผจู้ ดั การฝึกอบรมเองหรอื องค์การฝกึ อบรมอื่นเป็นผูจ้ ดั ฝกึ อบรมให้ การทมี่ ีการฝหึ อบรมเนือ่ งจากสาเหตุ ดังน้ี 1. ไม่มีสถาบันการศึกษาใดๆ ท่ีสามารถผลติ คนใหม้ คี วามสามารถทีจ่ ะทางานในองค์การต่างๆ ได้ทันที เทคโนโลยกี ารฝึกอบรม 7

บทที่ 1 แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกบั การฝกึ อบรม องค์การท่ีรับบุคลากรใหม่จึงต้องทาการฝกึ อบรมประเภท ก่อนการทางาน (Preservice Training) ไม่ว่าจะเป็นการ ปฐมนเิ ทศ (Orientation) หรอื การแนะนาการทางาน (Introduction Training) เพื่อให้บุคคลากรใหมส่ ามารถ คนุ้ เคยกบั สถานที่ทจี่ ะทางานเขา้ ใจถึงสิทธแิ ละหนา้ ที่ใน ฐานะเปน็ สมาชิกขององค์การ ตลอดจนเขา้ ใจวัตถุประสงค์ ของหน่วยงานมีความรู้ ทักษะและเจตคติท่พี อเหมาะกับ ความต้องการของหนว่ ยงาน และช่วยสร้างขวัญและ เจต คติที่ถูกต้องให้กับบคุ ลากรใหม่ 2. สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ อันประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก มีการเปลยี่ นแปลงอยู่ ตลอดเวลา สภาพแวดล้อมภายนอก ไดแ้ ก่ สภาพการเมือง เศรษฐกจิ และสังคมของในประเทศและตา่ งประเทศ นโยบายของรฐั บาลที่ให้ความสาคญั ทางดา้ นอุตสาหกรรม ทางด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพื่อพฒั นาเศรษฐกจิ ความ เจริญกา้ วหน้าอย่างรวดเรว็ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีและระบบการศึกษา ความเสอื่ มโทรมของ ศีลธรรมในลังคม และทรัพยากรธรรมชาติ การ เปลยี่ นแปลงสภาพแวดล้อม ภายใน ได้แก่ นโยบายของ 8 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกบั การฝึกอบรม บทท่ี 1 องค์การ การแบ่งส่วนงาน การเปล่ียนแปลงผู้บรหิ าร การ เปลี่ยนแปลงวธิ ีการทางาน การเปลี่ยนแปลงตาแหน่งหนา้ ที หรอื การเลือนตาแหนง่ หน้าท่ี เป็นผลให้องค์การต้อง หาทางใหบ้ ุคลากรสามารถทางานให้สภาพแวดล้อมใหม่ได้ ภายใน เวลารวดเร็ว และการฝกึ อบรมที่ถกู ตอ้ ง จะช่วยให้ บคุ ลากรสามารถเรียนรไู้ ดเ้ ร็วย่งิ ข้นึ การ ฝกึ อบรมและการ พฒั นาน้ีเป็นการอบรมหลงั จากที่บคุ ลากรไดเ้ ขา้ มา ปฏิบัตงิ านในองค์การแล้ว เรยี กวา่ การฝกึ อบรมระหวา่ ง ทางาน (In-service Training) 3. ได้มีการพิสูจน์แลว้ ว่า การขาดการ ฝกึ อบรมอย่างมรี ะบบ ก่อใหเ้ กิดคา่ ใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม ทางอ้อมสูงกว่าเน่ืองจากผ้ปู ฏิบัติงานตอ้ งฝึกฝนตนเอง โดย ลงผิด ลองถูก หรือสังเกตจากผคู้ นใหเ้ สยี เวลา และอาจ ไมไ่ ดเ้ รียนรู้วธิ กี ารทางานท่ดี ีที่สุดอีกดว้ ย เมื่อองคก์ ารใด มี การฝึกอบรมอย่างมีระบบ องค์การนัน้ ก็ไดร้ ับประโยชน์ จากการฝึกอบรม คอื มีการเพิ่มผลผลิต (Productivity) นนั้ ก็คือ มีผลผลติ ลงมตี น้ ทนุ ต่า มกี าไรมาก มบี ุคลากรท่ีมี คุณภาพและความพอใจในการทางานตง้ั อกต้งั ใจทางาน อย่างขยนั ขันแข็ง ลดอบุ ตั เิ หตุ มีการปรับปรงุ คุณภาพ เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม 9

บทที่ 1 แนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกบั การฝึกอบรม สินคา้ และบริการ ทาให้ไดล้ กู ค้าเพ่ิม หรือ มผี รู้ ับบริการพึง พอใจในการบริการมากขนึ้ มีส่วนแบ่งของตลาดมากขน้ึ และสามารถ สะสมกาไรเพือ่ เปลีย่ นเครอื่ งจกั ร และลงทุน เพิม่ ทาใหก้ จิ การเตบิ โตกา้ วหนา้ ได้ โยเดอร์ (Yoder) ได้กล่าวว่า “ถา้ พนักงานได้ พัฒนาและใชท้ ักษะต่างๆ ของเขาอย่างสงู สุดและเต็ม ความสามารถแล้ว เขาจะต้องมโี อกาสทีจะได้พฒั นาตนเอง มีชอ่ งทางให้ได้ทางานทีใ่ ช้ทกั ษะสูงขึ้น และมีความ รบั ผดิ ชอบมากขึ้น” จากคากล่าวนท้ี าให้ เหน็ ความจาเปน็ ในการบริหารงานบุคคลทจ่ี ะต้องมีการพัฒนาบุคลากร โดยเฉพาะในดา้ นการฝึกทักษะต่าง ๆ เพ่ือบุคลากรได้ ทางานทีใช้ทักษะมากข้ึน และมีความรับผดิ ชอบมากใน นบั เป็นการสนองตอบความต้องการของมนษุ ยต์ ามลาดบั ขนั้ ตามทฤษฎขี องม (Abraham H. Maslow) ได้อีกด้วย บทบาทนักเทคโนโลยีการศกึ ษาด้านการจัดการฝึกอบรม 1. จดั ทาแผนพัฒนาบุคลากรใหส้ อดคลอ้ งกับ เปา้ หมายและแผนทางยุทธวธิ ีขององค์กร เม่ือองคก์ รมี เป้าหมายและแผนทางยุทธวิธใี นการพัฒนา องค์กรแล้วก็ 10 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกับการฝึกอบรม บทท่ี 1 เป็นหนา้ ทข่ี องหน่วยฝกึ อบรมที่จะต้องจัดทาแผนการเรียน การ สอนทจี่ ะช่วยใหบ้ คุ ลากรสามารถปฏบิ ัติภารกิจตามท่ี กาหนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ โครงการฝกึ อบรมท่ีจัด ข้นึ จะต้องสนบั สนนุ การดาเนินการ ตามเป้าหมายของ องค์กร ใหส้ มั ฤทธผิ ลตามลาดับความจาเป็นเร่งด่วนของ กจิ กรรมน้นั ๆ การช้แี จงจากหน่วยฝึกอบรมให้ผูจ้ ะเขา้ รับ การฝกึ อบรมไดเ้ ห็นภาพรวมใน เรอื่ งของนโยบาย เป้าหมาย และแผนทางยุทธวิธขี ององค์กร บทบาทของ หน่วยต่างๆ และความสัมพนธร์ ะหวา่ งการฝกึ อบรมกบั การ บรรลเุ ป้าหมาย ขององคก์ ร จะชว่ ยใหผ้ ้เู ขา้ รับการ ฝกึ อบรมเหน็ ความสาคัญของการฝกึ อบรมและการนา ความรู้มาใชห้ ลงั จากการฝกึ อบรมแลว้ 2. จดั ทาหลักสตู รฝกึ อบรมตามกระบวนการที่ ถกู ต้อง หลกั สูตรฝึกอบรมทีจ่ ัดทาขน้ึ จะต้องตง้ั อยู่บน พ้ืนฐานของกระบวนการที่ถูกต้อง มีความเหมาะ สมกบั สติปัญญา ความรูพืน้ ฐาน และความจาเป็นของการ ฝึกอบรม ฯลฯ กระบวนการในการจดั ทาโครงการฝกึ อบรม โดยทั่วๆ ไป เทคโนโลยีการฝกึ อบรม 11

บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการฝกึ อบรม 3.สร้างแรงจูงใจให้แก่ผ้ทู ี่กาลังจะเข้ารบั การ ฝึกอบรมในกระบวนการหา ความจาเป็นในการฝึกอบรม หนว่ ยฝกึ อบรมมักจะต้ังสมมตุ ิฐานว่าพนักงาน ทุกคนจะ ยอมรบั ว่าตนเองควรไดร้ ับการฝกึ อบรม ยินดีที่จะเข้า หลักสูตรเพื่อเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ และนามาใช้หลงั จากการ ฝกึ อบรมแลว้ เสร็จ ในความเป็นจรงิ สมมตฐิ านดังกลา่ วอาจ ไม่ถูกต้องทง้ั หมด ดังนั้น เพื่อใหก้ าร ฝกึ อบรมไดผ้ ลดี จะตอ้ งสรา้ งความสนใจ หรือแรงจูงใจให้เกิด ข้ึนก่อนที่การ ฝึกอบรมจะเร่ิมตน้ เชน่ แจกเอกสารทีน่ ่าอ่าน จดั ทา รูปเลม่ อยา่ งดีให้ไปศึกษาด้ายตนเองก่อน การแนบ เอกสารคาชมจากผบู้ งคับบัญชา ระดบั สูง ถงึ การเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพในการทางานของผผู้ ่านการฝกึ อบรม เอกสารนโยบายขององค์กรทใี่ หค้ วามสามารถในการเลื่อน ตาแหนง่ วา่ จะต้อง ผา่ นหลักสูตรฝึกอบรมมาก่อน คา่ ยนื ยันจากผบู้ ริหารระดบั สงู ว่าองค์กรจาเปน็ ต้องมีผ้ทู ี่มี ความรูค้ วามสามารถในเรื่องทีจะฝึกอบรม ฯลฯ การสรา้ ง แรงจงู ใจดังกล่าวจะชว่ ยใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมเกดิ ความ สนใจและมุงมน่ั ท่ี จะเรียนรู้ แลtนาความรทู้ ี่ได้รับมาใช้ 12 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

แนวคิดและทฤษฎเี ก่ยี วกบั การฝึกอบรม บทที่ 1 5. จัดทาเคร่อื งมอื ช่วยจาในการปฏบิ ตั ิงาน ขณะที่ ทาการฝึกอบรม ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมจะไมส่ ามารถจดจา ได้หมดทุกอย่าง ดงั นัน้ ถึงแม้วา่ จะเปน็ เรือ่ งทีม่ ีข้นั ตอนไม่ ยงุ่ ยากนกั แต่ถ้าจาไม่ได้ก็ไมส่ ามารถปฏิบตั ใิ หถ้ ้าตอ้ ง ตามทไ่ี ด้รับการฝึกอบรมมาทางแกใ้ นกรณีเช่นนก้ี ็คือ หนว่ ยฝกึ อบรมพิมพ์ขัน้ ตอน หรอื รูปแสดงวธิ ีการอย่างย่อๆ แล้วติดไว้ในบริเวณท่ที างาน บนปา้ ยประกาศ หรือทาเป็น บัตรเคลือบพลาสติก สาหรับพกติดตัวเวลาทางาน ตวั อย่างของเคร่ืองมือชว่ ยจา บทบาทของเทคโนโลยที างการศกึ ษา นกั การศึกษาในประเทศพัฒนาต่างยอมรับกันว่า ในบรรดากจิ กรรมของมนุษย์ทีใ่ ต้ ทาข้ึนทัง้ หลานั้น สง่ิ ที่ ปรากฏชดั คอื การนาเอาเทคโนโลยีไปใช้ในกิจกรรม เหลา่ น้นั ทงั้ หมด ยกเวน้ การศึกษา (ตอ่ สวสั ดิพาณิช, 2515) และเทคโนโลยหี ลายสาขาได้พฒั นาไปมากยอ่ ม มี ผลกระทบต่อระบบการศึกษา จงึ ปรากฏว่ามเี ทคโนโลยี ทางการศึกษาตามมา จนไดม้ ีการพัฒนา ระบบยทุ ธวิธีและ เคร่อื งมอื เครอื่ งใช้ตา่ ง ๆ ตลอดเวลาเพือ่ นาไปใช้ใน เทคโนโลยีการฝกึ อบรม 13

บทท่ี 1 แนวคิดและทฤษฎเี กย่ี วกบั การฝึกอบรม การศึกษา ใหเ้ กิด ประสิทธิภาพย่งิ ขน้ึ เสมอ ดงั น้นั เทคโนโลยที างการศึกษามบี ทบาทดังต่อไปน้ี 1. เทคโนโลยีทางการศึกษามีบทบาทสาคญั ใน กระบวนการพัฒนารูปแบบของนวัตกรรมเพ่ือให้ เกดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลทง้ั การศึกษาในระบบและ นอกระบบ 2. เทคโนโลยมี ีบทบาทในการวจิ ารณญาน และ ชว่ ยในการวางแผนเพื่อให้สามารถนานวัตกรรมไปใชใ้ น กจิ กรรมทางการศึกษาให้เกิดผลอยา่ งจรงิ จังตามโอกาสอัน ควร 3. เทคโนโลยชี ่วยใหผ้ เู้ หมือนมีเวลาสาหรบั เสริมสร้างความสมั พนั ธ์กบั ผูเ้ รยี นและพนิ จิ พิจารณา รวมทั้งการวางแผนเก่ียวกบั การใช้นวตั กรรมใน กระบวนการเรียนการ สอนทั้งที่ภารกิจแบบเก่า ของผ้สู อนจะถูกจากัด เวลาเพอ่ื การป้อนเน้ือหา ให้แกผ่ เู้ รยี นไม่มีเวลาเพียง https://techxcite.com/topics/11793/filemanager/intel-4.jpg 14 เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม

แนวคิดและทฤษฎเี กี่ยวกบั การฝึกอบรม บทที่ 1 พอท่จี ะเอาใจใสผ่ เู้ รียนได้รวมทัง้ การทางานนอกเหนือจาก การปอ้ นข้อมูลดังกลา่ ว 4. เทคโนโลยชี ว่ ยใหผ้ ูส้ อนสามารถเสนอความรู้ ตา่ งๆ ตามความเหมาะสมกบั กลุม่ ผ้เู รียนทมี่ ลี กั ษณะ ตา่ งกนั ซึ่งแตเ่ ดมิ ครูไม่มีหนทางทจ่ี ะสู้ความคิดเหลา่ น้ีได้ 5. เทคโนโลยมี บี ทบาทใน การสนองความตอ้ งการ ด้านยุทธวธิ ีการศึกษาเป็น รายบคุ คลและด้านการ เสรมิ สนองการศึกษาแบบ https://bit.ly/30N7wD4 เสรีอนั เปน็ พ้นื ฐานของ การศกึ ษาแบบประชาธิปไตย เทคโนโลยีการฝกึ อบรม 15

บทท่ี 1 แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกับการฝกึ อบรม ความร้เู กย่ี วกบั การฝึกอบรม 16 เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม

แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกบั การฝกึ อบรม บทที่ 1 เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม 17

บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเกยี่ วกบั การฝกึ อบรม บทท2่ี เทคนิคการฝกึ อบรม 18 เทคโนโลยีการฝกึ อบรม

แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกบั การฝกึ อบรม บทที่ 1 เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม 19

บทที่ 2 เทคนคิ การฝึกอบรม บทท่ี 2 เทคนคิ การฝึกอบรม การถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และการเปล่ียนแปลง ทัศนคติให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเปน็ เรื่องสาคญั จะต้อง ใช้เทคนิควิธกี ารตา่ งๆประกอบกนั หลายประการ เนอื่ งจาก ผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมส่วนใหญ่ไม่ส้สู นใจต่อกันความรู้ เพราะเปน็ ผู้ใหญแ่ ล้ว ดงั นน้ั การศึกษาเทคนิคการฝึกอบรม จงึ เป็นเรื่องจาเปน็ อย่างย่งิ เทคนคิ การฝกึ อบรมก็คือวธิ ีการถ่ายทอดความรู้ ทกั ษะ และทศั นคติเพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมไดเ้ รียนรู้ มากที่สุดในเวลาจากดั เทคนิคการฝึกอบรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญๆ่ ดังนี้ 1 ใช้วิทยากรเป็นศูนย์กลางเรยี นรู้ 2 ใช้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมเป็นศูนยก์ ลางการ เรียนรู้ 20 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

เทคนิคการฝึกอบรม บทท่ี 2 เทคนคิ การฝกึ อบรมโดยใช้วิทยากรเป็นศูนย์กลางการ เรยี นรู้ การบรรยาย ในการบรรยาย วิทยากรบรรยายตามหวั ขอ้ ท่ี ไดร้ ับมอบหมายอาจใช้ส่ือ ต่างๆประกอบการบรรยาย เช่น รปู ภาพ แผ่นใส Slide Powerpoint CD DVD เป็นตน้ บา้ งคร้ังอาจ เปดิ โอกาสให้ผู้ฟังซกั ถาม https://bit.ly/2YP8dd7 วิธกี าร วิทยากรพดู หรืออธบิ ายให้ฟัง ข้อดี ไดเ้ นื้อหาวิชาตามหัวข้อทีก่ าหนดครบถว้ น การเสนอเน้ือหาเปน็ ระเบียบตามลาดับ ผเู้ ข้ารับการ ฝกึ อบรมมโี อกาสซักถาม ได้เน้ือหาวิชามากในเวลาจากัด สามารถใช้กับการฝึกอบรมที่มจี านวนผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม มากๆ วิทยากรบรรยายดี เตรียมมาดี และมีส่ือประกอบจะ ได้รับความสนใจมาก สามารถควบคุมเวลาให้เป็นไปตาม กาหนดได้ เทคโนโลยกี ารฝึกอบรม 21

บทที่ 2 เทคนิคการฝึกอบรม ข้อจากัด เป็นการส่ือสารทางเดียวผู้ฟงั อาจเบื่อ หนา่ ย วทิ ยากรตอ้ งมคี วามร้ใู นเนอื้ หาวชิ าเปน็ อยา่ งดีและมี ความสามารถในการบรรยายได้ดดี ้วย สถานท่ีและเวลา จัดหอ้ งแบบชั้นเรยี น โดย วทิ ยากรอาจยนื หรือนัง่ บรรยายกไ็ ด้แตไ่ ม่ควรใชเ้ วลาเกนิ 2 ชว่ั โมง การอภปิ รายเป็นคณะ การอภิปรายเปน็ คณะ (panel discussion) เปน็ การอธิบายโดยผูท้ รงคุณวฒุ ิ 3-5 คนให้ข้อเท็จจรงิ ความ คดิ เห็น ปญั หา อุปสรรค แนวทางแก้ไข มีพธิ กี ร 1 คนเปน็ ผูด้ าเนนิ การอภปิ ราย ประสาน เชอื่ มโยง และสรปุ การอภปิ ราย ของวิทยากรแตล่ ะคนหลงั การ อภปิ รายแลว้ เปดิ โอกาสให้ผู้ฟัง ซกั ถาม https://bit.ly/30PLtLO วธิ กี าร วิทยากร 3-5 คนพูดที ละคน 22 เทคโนโลยกี ารฝึกอบรม

เทคนิคการฝกึ อบรม บทท่ี 2 ข้อดี ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมจะได้รับความคดิ เห็น ของผู้อภปิ รายหลายคนทาให้เกิดการเรยี นรู้อยา่ ง กวา้ งขวาง และการอภปิ รายเปน็ กจิ กรรมท่ีดงึ ดูดความ สนใจได้ดไี ม่น่าเบ่ือหนา่ ย มบี รรยากาศท่ีเป็นกนั เอง ผฟู้ งั มี โอกาสซักถามได้ นอกจากน้ียังเหมาะสาหรับการฝกึ อบรม ทีม่ ผี ู้เขา้ รับการฝึกอบรมจานวนมากๆด้วย ข้อจากดั ผู้อภิปรายเสนอความคดิ เหน็ ไมเ่ ตม็ ที่ เพราะระยะเวลาส้นั ถ้าผู้อภปิ รายมคี วามรู้น้อย ประสบการณ์น้อยจะไม่เกิดประโยชนเ์ ท่าที่ควร การ ควบคุมการอภปิ รายและการรักษาเวลาทาไดย้ าก บางคร้งั อภิปรายนอกเรอื่ งมากเกนิ ไปทาให้เปน็ ภาระของพิธกี รใน การควบคุมการอภปิ ราย สถานทแ่ี ละเวลา จัดห้องแบบชนั้ เรยี น โดยจดั ที่ น่ังใหว้ ทิ ยากรสงู กวา่ ผู้ฟงั เพื่อจะไดเ้ ห็นผู้ฟังชดั เจน และ พธิ ีกรนงั่ กลาง ไม่ควรใชเ้ วลาเกิน 3 ช่วั โมง เทคโนโลยีการฝกึ อบรม 23

บทที่ 2 เทคนิคการฝกึ อบรม การชมุ นมุ ปาฐกถาหรือการประชุมทางวิชาการ การชุมนมุ ปาฐกถาหรือการประชุมทางวิชาการ เป็นการบรรยายแบบมีวทิ ยากรหรือผู้เชยี วชาญ ประมาณ 2 ถงึ 6 คน มีพิธกี รเปน็ ผดู้ าเนินการอภิปรายและสรุปการ บรรยาย การชมุ นุมปาฐกถามีลักษณะคลา้ ยการอภปิ ราย เป็นคณะแต่เนน้ หัวข้อวิชาเปน็ สาคัญ เม่ือเสร็จสิ้นการ บรรยายจะเปิดโอกาสให้ผูฟ้ ังซักถามปัญหาตา่ งๆได้ วธิ กี าร วทิ ยากรบรรยายใหฟ้ ังทลี ะคน ข้อดี ทาใหผ้ ู้เขา้ รบั การฝึกอบรมได้รบั ความรูจ้ าก วิทยากรหลายคนหลายดา้ น ไมน่ า่ เบ่ือเพราะฟงั จาก วทิ ยากรหลายคน การบรรยายใชเ้ วลาส้นั ๆทาใหไ้ ดเ้ นื้อหา ตรงตามหวั ข้อวชิ า วิธีนี้ สามารถใชก้ ับการ ฝกึ อบรมทม่ี จี านวนผู้ เข้ารับการฝึกอบรม จานวนมากๆได้ http://enb.iisd.org/oceans/icp11/images/22jun/IMG_6592m.JPG 24 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

เทคนิคการฝกึ อบรม บทท่ี 2 ขอ้ จากัด วทิ ยากรแตล่ ะคนอาจบรรยายทัศนะ แตกต่างกันออกไปยากแก่การสรุปใหต้ รงตามหวั ข้อวชิ า ผ้ฟู งั อาจเบ่ือหน่ายถา้ วิทยากรบรรยายไมด่ ีเพราะเปน็ การ สือ่ สารทางเดยี ววทิ ยากรมเี วลาจากัดการบรรยายอาจไม่ ชดั เจน สถานทแี่ ละเวลา จดั หอ้ งแบบช้ันเรียน โดยให้ วิทยากรนง่ั สูงกวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมพธิ ีกรน่ังกลางควร ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 3 ชั่วโมง การสาธติ การสาธิต (demonstration) เปน็ การแสดงใหผ้ ู้ เขา้ รบั การฝกึ อบรมไดเ้ ห็นการปฏิบตั จิ ริง ซง่ึ การกระทา หรือปฏิบตั จิ ริงจะมีลักษณะคล้ายการสอนงาน การสาธิต นยิ มใชก้ บั หวั ข้อวิชาท่ีมกี ารปฏบิ ตั ิ เช่น การฝกึ อบรม เกยี่ วกบั การใชเ้ ครอ่ื งมือหรืออุปกรณต์ ่างๆ นาฏศิลป์ และ ขบั ร้อง วธิ ีการ วทิ ยากรทาใหด้ ูแล้วผู้รับการฝกึ อบรม ทดลองทาตาม เทคโนโลยีการฝกึ อบรม 25

บทท่ี 2 เทคนิคการฝกึ อบรม ขอ้ ดี เกดิ ความรูค้ วามเข้าใจเร็ว และมคี วาม น่าเชื่อถือสูง เพมิ่ ทักษะของผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมได้ดี ไม่ เบ่ือหน่าย สามารถปฏบิ ตั ิได้หลายคร้ัง ข้อจากัด ตอ้ งใช้เวลาเตรยี มการมากเหมาะกบั การฝึกอบรมกลมุ่ เล็กๆวิทยากรต้องมีความชานาญจริงๆ และตอ้ งไม่พลาด สถานท่ีและเวลา จัดที่น่งั เป็นรปู วงกลมหรือตวั ยู และเวลาท่ใี ช้ไม่ควรเกิน 2-3 ชั่วโมง การสอนงาน การสอนงาน (coaching) เป็นการแนะนาให้รูจ้ กั วิธปี ฏิบตั ิงานใหถ้ ูกตอ้ งโดยปกติจะเป็นการสอนหรืออบรม ในระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ านสอนเปน็ รายบคุ คลหรือสอนเปน็ กล่มุ เลก็ ๆซึ่งผ้สู อนต้องมี ประสบการณ์และทักษะ ในเรื่องท่สี อนจริง วธิ กี าร หวั หน้างานสอน การทางาน https://bit.ly/2HE44CZ ข้อดี เนน้ เน้อื หาตาม ความเหมาะสมของแต่ละคน 26 เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม

เทคนคิ การฝึกอบรม บทท่ี 2 ขอ้ จากดั คณุ ค่าข้นึ กบั ผู้สอนงานซึง่ ส่วนใหญค่ ือหวั หนา้ งาน สถานทีแ่ ละเวลา ใช้สถานที่ทางานและเวลาทางานปกติ เทคนิคการฝกึ อบรมโดยใช้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเป็น ศูนยก์ ลางการเรยี นรู้การระดมสมอง การระดมสมอง (brainstorming) เปน็ การ ประชุมกลุ่มเล็กไม่เกิน 15 คนเปิดโอกาสใหท้ ุกคนแสดง ความคดิ เหน็ อย่างเสรีโดย ปราศจากข้อจากดั หรือ กฎเกณฑใ์ ดๆในหัวข้อใด หวั ขอ้ หนงึ่ หรอื ปัญหาใด ปญั หาโดยไม่คานึงว่าจะ https://ak9.picdn.net/shutterstock/videos/12720479/thumb/1.jpg ถูกหรอื ผดิ ดีหรือไมด่ ี ความคิดหรือข้อเสนอทุกอย่างจะถูกจดไวแ้ ล้วนาไป กล่ันกรองอีกช้ันหนง่ึ ดังนน้ั พอเร่ิมประชุมต้องมีการเลอื ก ประธานและเลขานกุ ารของกลุม่ เสียกอ่ น วิธีการ ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมทุกคนเสนอความ คิดเห็นแลว้ ช่วยกันสรปุ เทคโนโลยีการฝึกอบรม 27

บทที่ 2 เทคนคิ การฝึกอบรม ข้อดี ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมมสี ่วนรว่ มโดยตรง ช่วยกนั คดิ ช่วยกันเสนอทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ปัญหาทเ่ี ผชิญอยูไ่ ดท้ าให้ได้ความคิด หลากหลายในเวลาจากัดสามารถเร้าความสนใจของผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมได้บรรยากาศเป็นกนั เอง ขอ้ จากดั ได้ความคิดเห็นจานวนมากแต่อาจมี ตอ้ งจากัดกลุ่มผู้เขา้ รับการฝึกอบรมเพือ่ ให้ทุกคนไดร้ ่วม แสดงความคดิ เหน็ ปัญหาท่ีนามาระดมสมองควรเปน็ ปญั หาเดียว สถานทีแ่ ละเวลา จดั ท่ีนงั่ แบบตวั ยู วงกลม หรอื แบบตัววี ให้เวลาแสดงความคดิ เห็นไมเ่ กิน 15 นาทใี ชเ้ วลา ทง้ั หมดรวมท้งั สรปุ ไม่ควรเกนิ 1 ชว่ั โมง 30 นาที การประชมุ กลุม่ ย่อย การประชมุ กลุ่มย่อย (Buzz session) บางครั้ง เรียกวา่ บซั ซก์ รปุ๊ (Buzz group) หรือฟลิ ลิป 6-6 (Phillip 6-6) เปน็ การแบ่งผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมเป็นกลมุ่ ย่อยจาก กลุ่มใหญก่ ลุ่มย่อยละ 2-6 คน เพี่อพิจารณาประเดน็ ปญั หา 28 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

เทคนิคการฝกึ อบรม บทท่ี 2 อาจเป็นปัญหาเดียวกนั หรือต่างกันในช่วงเวลาทีก่ าหนด มี วิทยากรคอยช่วยเหลือทกุ กล่มุ แต่ละกลุ่มต้องเลือกประธานและเลขานุการของกลุม่ เพ่อื ดาเนนิ การ แลว้ นาความคิดเห็นของกลมุ่ เสนอต่อที่ประชุม ใหญ่ สาหรบั การประชมุ แบบฟลิ ลิป 6-6 นนั้ เปน็ การจัดกลุ่ม ยอ่ ยอยา่ งรวดเรว็ โดยผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมท่ีนัง่ อยใู่ น หอ้ งประชมุ แถวหนา้ 3 คน ยกเกา้ อีหันกลบั ไปหาผนัง แถวหลังตน 3 คนรวมกลุ่ม กันเป็น 6 คน ใหเ้ วลาปรึกษากนั 6 นาที https://bit.ly/2X5I75c แลา้ สลายกล่มุ กลับทเี่ ดิม วธิ ีการ กลมุ่ ช่วยกนั วิเคราะห์ปัญหาท่ีไดร้ บั มอบหมาย ข้อดี เปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคดิ เห็น บรรยากาศเปน็ กนั เอง ขอ้ จากดั การประชุมกลมุ่ ย่อยในหอ้ งเดยี วกนั อาจ ทาใหเ้ กดิ เสยี งรบกวนกัน ประธานท่ีเลือกไดอ้ าจไม่มี เทคโนโลยีการฝึกอบรม 29

บทท่ี 2 เทคนคิ การฝึกอบรม ลกั ษณะผู้นา ดาเนนิ การประชุมไมด่ ีทาใหผ้ ู้รว่ มการประชมุ ขาดการแสดงความคดิ เหน็ บางกลมุ่ อาจได้ความคดิ เห็น นอ้ ย บางกลุ่มอาจใช้เวลามากทาใหค้ วบคุมเวลาไดย้ าก สถานท่แี ละเวลา จัดท่ีนง่ั แบบวงกลมาหรือ สเี่ หลย่ี ม เวลาแสดงความคดิ เห็นไมค่ วรเกิน 30 นาที ใช้ เวลาทั้งหมดรวมท้งั แสดงความคดิ เห็นและสรุปไมเ่ กนิ 2 ช้ โมง หรอื มากกวา่ นัน้ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับจานวนกลุ่มและข้อปัญหา กรณีศึกษา กรณีศึกษา (case study) เป็นการศกึ ษาเรื่องราว ทรี่ วบรวมจากเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดข้นึ เพื่อให้ผูเ้ ข้ารบั การ ฝึกอบรมตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆภายใต้สถานการณท์ ่ี ใกลเ้ คยี งความจริงมากท่ีสุด เปน็ เทคนิคที่เหมาะกับกลุ่ม เล็กๆ เรื่องที่มอบหมายให้ต้องมรี ายละเอยี ดเพียงพอที่ผู้ เขา้ รับการฝกึ อบรมจะมองเห็นจุดสาคญั ของปญั หา และ ข้อมลู เพอื่ นามาใช้พิจารณา การศึกษากรณีศกึ ษาอาจให้ ศกึ ษาเปน็ รายบุคคลหรือเป็นกลุม่ เลก็ ๆกไ็ ด้ วิธกี าร กลมุ่ ช่วยกนั วิเคราะห์แก้ไขปัญหาในกรณีศกึ ษา 30 เทคโนโลยีการฝกึ อบรม

เทคนิคการฝึกอบรม บทท่ี 2 ข้อดี ช่วยให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมได้วเิ คราะห์ ตดั สนิ ปัญหาในเร่อื งทเ่ี หมือนจริงและสามารถนาไปปรับใช้ กับการปฏบิ ัตงิ านได้ กรณศี ึกษาเป็นกิจกรรมที่มี บรรยากาศเป็นกันเอง เพราะทกุ คนมโี อกาสแลกเปลยี น ความคิดเห็นและประสบการณ์ ข้อจากัด สมาชิกบางคนอาจครอบงาความคดิ ของผู้อื่น เพราะบคุ ลิกภาพ วัยวฒุ ิหรือคุณวฒุ ิ กรณีศึกษา ทเี่ ป็นเรอ่ื งจริงหาได้ยาก โดยเฉพาะเรอ่ื งทเี หมาะสมกับ กลมุ่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมและเหมาะสมกับเวลา การสร้าง กรณศี ึกษาเปน็ งาน ตอ้ งใช้เวลาและงบประมาณ ตอนสรปุ ผลกรณศี ึกษา วทิ ยากรมกั ไมใ่ ห้ความสาคัญ และรบี สรุปจบ สถานท่ีและเวลา จดั ท่ีนั้งแบบวงกลม หรอื สเ่ี หลย่ี ม หรอื เป็นรปู ตวั ยู่ เวลาที่ใช้ไม่ควรเกนิ 1-28โมง เทคโนโลยกี ารฝึกอบรม 31

บทท่ี 2 เทคนคิ การฝกึ อบรม การประชมุ เป็นฟอรัม การประชุมเแบบฟอรมั (forum) เป็นเทคนิคทีใช้ กบั การประชมุ กลมุ่ ใหญ่ ซ่ึงเปิดโอกาสให้ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ แสดงความคดิ เหน็ และมี ส่วนรว่ มในการฝกึ อบรม โดยการชักถามแสดง ขอ้ เทจ็ จรงิ ปรึกษาหารือ แสดงความคดิ เหน็ กบั วทิ ยากร https://bit.ly/2Xj5yIc วิธกี าร วิทยากรพดู ให้ฟงั แลว้ ผ้ฟู งั สอบถามและ แสดงความคิดเหน็ ได้ ขอ้ ดี ผูเ้ ขา้ รับการฝึทอบรมมโี อกาสรว่ มแสดง ความคดิ เห็น วเิ คราะหป์ ัญหา เป็นการกระต้นุ ใหผ้ ู้เขา้ รับ การฝกึ อบรมต้องเตรียมตวั ให้ดียิง่ ข้นึ และมบี รรยากาศ เป็นกนั เอง ข้อจากัด เวลาอาจไม่พอถ้าเปน็ เนอื้ หาทผี่ ้เู ขา้ รบั การ https://bit.ly/2X9Rb97 ฝกึ อบรมสนใจกันทุก 32 เทคโนโลยกี ารฝึกอบรม

เทคนิคการฝกึ อบรม บทท่ี 2 คน พิธกี รและวิทยากรต้องมีความรูค้ วามสามารถดี ผ้เู ข้า รับการฝึกอบรมบางคนอาจไม่กล้าพดู แสดงความคิดเหน็ หรือบางคนอาจพูดเรือ่ งนอกประเด็น สถานทแี่ ละเวลา จดั หอ้ งแบบชนั้ เรียนหรือรูปตัว ยู เวลาที่ใช้ไม่ควรเกนิ 30-40 นาที เกมการบรหิ าร เกมการบรหิ าร (management games) เปน็ การแขง่ ขนั ระหว่างกุลม่ บุคคลตง้ั แต่2 กลมุ่ ขึ้นไป โดย แข่งขันเพ่ือดาเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอยา่ ง หนึ่ง เปน็ การใหป้ ฏบิ ตั เิ หมือนเหตกุ ารณ์จรงิ อาจเป็นเรอื่ ง เกยี่ วกบั การสื่อสาร การตดั สินใจ การวางแผนการเปน็ ผ้นู า มนษุ ยส์ ัมพันธ์ ฯลฯ ขนาดของกลมุ่ ในการแข่งขันขน้ึ อยู่ กบั เกมทนี่ ามาใช้ วิธกี าร ทกุ คนในกล่มุ ร่วมกันแข่งขนั ตามเกม ข้อดี เป็นการย่อสถานการณ์จริงให้ฝึกในช่วงสนั้ ๆ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมมีส่วนรว่ มช่วยกนั คิดช่วยกันทา ทาให้ มบี รรยากาศเปน็ กันเอง ไดร้ บั ความรู้โดยไม่รู้ตัว ขอ้ จากดั การเลือกเกมท่ีไมเ่ หมาะสมจะไม่ ก่อให้เกิดประโยชน์ การแบง่ กลุม่ มากเกินไปจะเป็น เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม 33

บทท่ี 2 เทคนิคการฝึกอบรม อปุ สรรคในการแข่งขนั และเกมบางชนิดต้องใช้อุปกรณ์ และเวลามาก สถานทีและเวลา การจดั สถานท่ีขึ้นอยู่กับ ลักษณะของเกมอปุ กรณ์และจานวนคนเวลาที่ใช้ 30 นาที ถึง 3 ชัว่ โมง การแสดงบทบาทสมมติ การแสดงบทบาทสมมติ (role playing) เปน็ การ ให้ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมแสดงบทบาทในสถานการณ์ท่ี เหมอื นจริง โดยกาหนดโครงเรื่องและให้ผ้แู สดงคดิ คาพดู ไปตามทอ้ งเรื่องเเละบทบาททกี่ าหนด เสร็จแลว้ ใหผ้ ดู้ ู วเิ คราะห์เสนอแนวทางเเก้ปัญหา วธิ นี เ้ี หมาะกบั กลุม่ ทีก่ ลา้ แสดงออก และมีวุฒภิ าวะเพียงพอที่จะวเิ คราะหต์ รวจสอบ และเเก้ปัญหา วิธีการ ทุกคนในกลมุ่ แสดงบทบาทอย่างใดอยา่ ง หนึง่ ตามท่ีกาหนดให้ ข้อดี กระุตน้ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสนใจ ทาให้ ได้แนวทางท่ีจะนาไปแกป้ ญั หาได้ และเป็นกจิ กรรมท่ีมบี รรยากาศเป็นกนั เอง ขอ้ จากัด ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมบางคนไมช่ อบ 34 เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรม

เทคนคิ การฝกึ อบรม บทท่ี 2 แสดงออก บางคร้ังผ้แู สดงไมเ่ ข้าใจบทบาททาให้ไม่ สามารถแสดงได้ตรงตามท่ีกาหนด สถานทแ่ี ละเวลา จดั ให้เหมาะกับสถานการณ์ท่ี สมมตแิ ละให้ทกุ คน มองเห็นการแสดงอยา่ ง ท่วั ถึง ควรใช้เวลา ประมาณ 10-30 นาที https://bit.ly/2EDit0o การสัมมนา การสมั มนา (seminar) เปน็ การประชุมของผทู้ ี่ ปฏิบตั ิงานอย่างเดยี วกันหรือคลา้ ยกนั แลว้ พบปัญหาท่ี เหมือนๆกนั เพื่อร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ หาแนวทาง ปฏิบตั ิในการแก้ปัญหาทุกคนท่ีไปรว่ มการสัมมนาต้อง ชว่ ยกนั พูดช่วยกนั แสดง ความคิดเหน็ ปกติจะจะ บรรยายใหค้ วามรู้ พื้นฐานก่อนแลว้ แบ่งกลมุ่ http://www.dusit.ac.th/wp-content/gallery/4-top5/IMG_0022.jpg เทคโนโลยีการฝึกอบรม 35

บทท่ี 2 เทคนคิ การฝึกอบรม ย่อย จากนนั้ นาผลการอภิปรายของกล่มุ ย่อยเสนอท่ี ประชุมใหญ่ วิธีการ ทุกคนร่วมกนั อภปิ รายเสนอความคิดเห็น ขอ้ ดี เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมมีโอกาสมสี ่วนรว่ มมาก ผลสรปุ ของการสมั มนานาไปเป็นแนวทางแก้ปัญหาได้ดี ข้อจากัด ทปี่ รีกษากลุ่มหรือสมาชกิ บางคนอาจ ครอบงาความคดิ ของผอู้ ่ืนไดเ้ พราะวัยวฒุ หิ รอื คุณวุฒหิ รอื ตาแหนง่ หนา้ ท่ีการงาน ถ้าเวลาจากดั รบี สรุปผลอาจได้ ขอ้ สรุปที่ไมน่ ่าพอใจ สถานท่ีและเวลา จดั สถานที่ในรปู การประชุม ใหญแ่ ละประชุมกลุ่มย่อย ใชเ้ วลาประมาณ 1-3 วัน การศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี การศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี (field trip) เปน็ การ นาผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมไปศึกษายงั สถานที่อน่ื นอกสถานที่ ฝึกอบรม เพือ่ ใหพ้ บเห็นของจริงซง่ึ ผูจ้ ดั ตอ้ งเตรยี มการเปน็ อย่างดี วิธีการ นาผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมไปศึกษาดูงาน นอกสถานที่ ข้อดี เพ่ิมความรู้ความเข้าใจได้เหน็ การปฏิบัตจิ ริง 36 เทคโนโลยีการฝกึ อบรม

เทคนคิ การฝกึ อบรม บทท่ี 2 สร้างความสนใจและกระตือรือสรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ ง ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรม ขอ้ จากัด ตอ้ งใช้เวลาและเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยมาก ต้อง ไดร้ ับความรว่ มมือจากทุกฝ่ายเฉพาะเจา้ ของสถานที่ทจ่ี ะ ไปศึกษา สถานท่ีและเวลา ใช้สถานท่ีจริง ใช้เวลา 1-7 วนั http://www.fap.or.th/upload/9414/Y58qYQPYJk.jpg การประชมุ ปฏิบตั กิ าร การประชมุ ปฏบิ ัติการ (workshop) เป็นการ ฝกึ อบรมทใี่ ห้ผรู้ ับการ ฝกึ อบรมฝกึ อบรมได้ ปฏบิ ัตจิ รงิ โดยทั่วไปจะ มกี ารบรรยายให้ความรู้ พน้ื ฐานก่อนแลว้ จึงให้ ลงมอื ปฏิบตั ิ อาจเป็น https://bit.ly/30MLz6W เทคโนโลยีการฝกึ อบรม 37

บทท่ี 2 เทคนิคการฝึกอบรม การฝึกการใชเ้ คร่ืองมือใหม่ๆ ประชมุ เพ่ือช่วยกนั สร้างคู่มอื หรือประชุมเพ่ือสรา้ งอปุ กรณ์ตา่ งๆ เปน็ ตน้ การปฏบิ ัติ นยิ มใหร้ วมกนั เป็นกลมุ่ ยอ่ ยๆมากกวา่ ปฏิบัตเิ ปน็ กลมุ่ ใหญ่ หรอื รายบคุ คล วธิ กี าร แบ่งกลุ่มทางานตามท่ีกาหนด ขอ้ ดี ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมมีส่วนรว่ มในการ ประชุมทาให้ไม่เบื่อหน่าย ขอ้ จากดั ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมตอ้ งทุ่มเทเวลา ให้แก่งานมาก และเป็นกจิ กรรมท่ีใช้งบประมาณมาก ในบางคร้ังต้องใช้ อาคารสถานท่แี ละใชว้ ัสดอุ ุปกรณม์ าก สถานท่ีและเวลา จัดแบบช้ันเรยี นในการบรรยาย แลว้ จดั เปน็ วงกลมหรอื ตัวยู ในการประชมุ กลุ่มย่อย หรือ ลกั ษณะอีน่ ตามความเหมาะสมของการปฏิบัติ ใชเ้ วลา 3-5 วัน การฝกึ การรบั รู้ การฝึกการรบั รู้ (sensitivity training) เปน็ กจิ กรรมการฝึกประสาทสมั ผัสใหเ้ ข้าใจผ้อู ืน่ โดยการสงั เกต ลักษณะทา่ ทางของผอู้ ืน่ วธิ ีการฝกึ อบรมจะไม่ใช้การ บรรยายหรอื บอกหลกั เกนฑ์ แต่ใหน้ าพฤติกรรมที่เกิดข้นึ 38 เทคโนโลยีการฝึกอบรม

เทคนิคการฝึกอบรม บทท่ี 2 ในหอ้ งฝึกอบรมมาเป็นตวั อยา่ งสดๆร้อนๆแล้วโยงไปถงึ พฤติกรรมอื่นๆในขณะปฏิบตั ิงานในองคก์ าร วิธกี ารสรา้ ง บรรยากาศในขณะฝึกอบรมคือพยายามใหเ้ กิดสงิ่ ต่อไปน้ี 1. ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมเเตล่ ะคนแสดงตวั หรือเปดิ เผยตวั ออกมา 2.ให้มกี ารวเิ คราะห์พถติกรรมของแต่ละบคุ คลวา่ มี ข้อผดิ พลาดทใ่ี ด 3. ให้โอกาสทดลองแก้ไขพฤติกรรมทผ่ี ดิ พลาดใหม่ว่าใชไ้ ด้ หรอื ยัง 4. มกี ารประเมินผล วธิ กี าร ผ้เู ขา้ อบรมฝึกสังเกตผู้อ่ืน ข้อดี สมาชกิ มสี ่วนร่วม มีความรู้สีกวา่ ตนมคี ุณคา่ ไม่เบ่ือหน่ายต่อการฝกึ อบรม ข้อจากดั ส้นิ เปลืองเวลา ยากแกก่ ารประเมนิ ผล และคา่ ใชจ้ า่ ยสูง สถานทีและเวลา จดั ทน่ี ง่ั เปน็ วงกลมหรอื สเ่ี หลย่ี ม ใชเ้ วลา 1-2 ช่ัวโมง การใชก้ จิ กรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการ (recreational activity) เปน็ การให้ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมรว่ มกันทากิจกรรมอย่างใด เทคโนโลยีการฝึกอบรม 39

บทที่ 2 เทคนคิ การฝึกอบรม อย่างหนึง่ หรือหลายอย่าง เช่น การร้องเพลง การปรบมอื เปน็ จังหวะพร้อมกนั การรอ้ งเพลงประกอบทา่ ทาง การ เล่นเกมสน้ั เป็นต้น โดยเน้นการทากิจกรรมเป็นกลุ่ม ทั้งน้ี เพือ่ มุง่ เปลย่ี นทัศนคติและสร้างความสัมพันธ์ ตลอดจน สร้างความสนกุ สนานในระหวา่ งการฝึกอบรม วธิ กี าร ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมทากิจการมอย่างใด อย่างหนึง่ ในทานันทนาการ ขอ้ ดี ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมมสี ่วนร่วมทกุ คน บรรยากาศสนกุ สนานรน่ื เริง ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมมโี อกาส แสดงออกทุกคน ข้อจากัด ใช้ได้กบั บางหวั ข้อวิชาเท่าน้ัน ส่วนมาก จะใช้เพ่ือเปน็ การสลับกับการบรรยาย บางคนมคี วามรสู้ กึ ว่าเปน็ การเล่น วิทยากรต้องมีทกั ษะในการนากลุม่ สถานทแี่ ละเวลา จดั ทน่ี ่ังแบบชั้นเรยี น หรือเป็น วงกลม หรือเปน็ กลุ่มๆ ไม่ควรใชเ้ วลาเกิน 20-40 นาที การใชฐ้ านกิจกรรม เทคนิคการใช้ฐานกิจกรรมประยุกต์มาจากิจกรรมวอล์ คแรลล่ี แตไ่ มต่ ้องมกี ารเดนิ แขง่ ขนั กนั จริงๆ เพียงแต่ใช้สถานทีก่ ว้างพอท่ีจะจัดฐานกิจกรรม ไดห้ ลายๆฐานครบตามที่ 40 เทคโนโลยีการฝกึ อบรม

เทคนคิ การฝกึ อบรม บทท่ี 2 ตอ้ งการ หรือใช้หอ้ งเรยี นในอาคารเป็นสถานทจ่ี ัดกิจกรรมแตล่ ะ ฐานก็ได้ วธิ ีการ แบง่ ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมออกเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 6-8 คนตามความเหมาะสมจัดฐานกิจกรรมตามจานวนกลุ่มท่ี แบง่ ในแต่ละฐานจัดกิจกรรมให้ปฏิบัตโิ ดยมีคาสั่งหรอื ลายแทงไว้ ให้ทกุ ฐาน กาหนดเวลาทากิจกรรมแต่ละฐาน จัดวิทยากรประจา ฐานไว้ดา้ ยฐานละ1-2 คน เพื่อแจ้งกติกาหรือชว่ ยเหลือและเปน็ ผู้ สังเกตพฤตกิ รรมของแต่ละกลุ่ม กิจกรรมที่จดั ไวใ้ นแตล่ ะฐานต้องมุ่งใหเ้ กดิ ความรู้และ ทักษะตามความมุ่งหมายของ โครงการฝกึ อบรมนั้นๆ ให้เร่มิ ทากิจกรรมพร้อมกนั ทุกกลุ่มแลว้ หมุนเวยี นกนั ไปจนครบทุกฐานหรอื อีกแบบหนง่ึ ให้ทกุ กลมุ่ เร่ิม จากฐานท่ี 1-2-3 เร่อื ยไปจนครบ เมื่อเสร็จในการทากจิ กรรมทกุ ฐานแลว้ ใหม้ กี ารประชมุ ใหญ่ รายงาน และสรปุ ผลการทา กจิ กรรมทุกกลุ่ม หัวหน้าวทิ ยากรสรปุ อีกคร้งั ข้อดี ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมมีส่วนร่วมทากิจกรรมทกุ คน บรรยากาศสนกุ สนาน ท้าทาย ไม่นา่ เบ่ือ เปน็ การฝึกอบรม ภาคสนาม ข้อจากดั ตอ้ งใชส้ ถานท่ีกวา้ งขวาง ใช้ทีมวิทยากรหลาย คน ใชเ้ วลา เตรยี มการนาน เทคโนโลยีการฝกึ อบรม 41

บทท่ี 2 เทคนคิ การฝึกอบรม สถานท่ีและเวลา ใช้สนามกว้างที่รม่ ร่ืน หรือห้องเรยี น หลายห้องใช้เวลา 1-2 วัน ขน้ั ตอนการจดั ฝึกอบรมโดยใชเ้ ทคนคิ ต่างๆ วธิ กี ารจดั สมั มนา ขนั้ ท่ี1 ต้องมีการบรรยายให้ความรู้พ้นื ฐานเพื่อให้เกิด ความเข้าใจตรงกนั ในปัญหาต่างๆ ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ ร้อยละ 20 ของ เวลาสมั มนาท้งั หมด ข้นั ที่ 2 แบง่ กลุ่มย่อยอภิปรายปญั หาและเสนอแนวทาง แกป้ ญั หา ทาได้ 2 วิธี ทกุ กลุ่มอภปิ รายปญั หาเดียวกันแต่ละกลุม่ อภปิ รายปญั หาไม่ เหมือนกนั แล้วสรุปแนวทางแกป้ ญั หา อาจเขยี นมาในแผน่ ใส เตรียมเสนอรายงาน ขน้ั ที่ 3 ทกุ กลุ่มรายงานตเ่ ทป็ ระชุมใหญ่เสนอ แนวความคดิ อาจมกี ารแก้ไข ปรบั ปรุงการตดั หรือเพิ่มเติมรายละเอยี ดใดๆสามารถทาไดใ้ นชว่ ง นี้ แลว้ สรุปเป็นความเหน็ ของที่ประชุมใหญ่ 42 เทคโนโลยกี ารฝึกอบรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook