Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

Published by ปภัสสร ทองสุข, 2019-05-30 01:41:15

Description: การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

Search

Read the Text Version

การสร้างสรรค์งาน เทคโนโลยีการศึกษา EBOOK CREATION OF EDUCATIONAL TECHNOLOGY ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์

preface

ค�ำนำ� หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เล่มนี้ เป็นผลงาน ส่วนหน่ึงของรายวิชา 355244-1 เทคโนโลยีการพิมพ์ ซึ่งมี เน้ือหาเกี่ยวกับ การสร้างสรรค์งานด้านสื่อส่ิงพิมพ์ประเภท ต่างๆ รวมไปถึงเทคนิควิธีการต่างๆ ในการจัดองค์ประกอบ ของช้ินงานให้ออกมาสมบูรณ์และสวยงาม ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจอย่างยิ่ง หากมีข้อผิดพลาดประการใด ก็ ขออภัยมา ณ ที่น้ีด้วย ทิพรัตน์ สทิ ธวิ งศ์

สารบญั บทที่ 1 การสร้างสรรค์งานดา้ นสอ่ื สิง่ พมิ พ ์ - ส่อื ส่งิ พิมพ ์ 2 - ส่งิ พมิ พ์เพ่อื การศึกษา 2 - การจัดองคป์ ระกอบส่ือสิ่งพมิ พ ์ 3 - ประเภทของสอื่ สิ่งพิมพ ์ 5 บทท่ี 2 การสรา้ งสรรค์งานด้านงานกราฟกิ - ความหมายของกราฟิก 12 - องค์ประกอบของการออกแบบงานกราฟกิ 13 - ประเภทของงานกราฟิก 14 บทท่ี 3 การสรา้ งสรรค์งานด้านการถ่ายภาพ - ความเร็วชัตเตอร์ (S,TV) 20 - ขนาดรรู ับแสง (A,AV) 21 - การตัง้ ความเร็วชตั เตอร์และขนาดรูรบั แสง 22 - การเลอื กความเรว็ ชัตเตอร์ทเี่ หมาะสมกับการเคล่อื นทีข่ องวตั ถ ุ 22 - ทศิ ทางการเคลื่อนทีข่ องวัตถ ุ 23 - เทคนคิ การถ่ายภาพเพ่มิ เติม 23 - การจดั องคป์ ระกอบภาพ 23 บทท่ี 4 การสร้างสรรคง์ านดา้ นการผลิตรายการโทรทศั น์ - การผลิตรายการโทรทศั น ์ 36 - ปจั จยั และองค์ประกอบทีจ่ ะต้องคำ� นงึ ทกุ ครง้ั ในกระบวนการผลิต 38 รายการโทรทัศน์ (4 M + 1 T)

- หัวใจของการผลิตรายการ 38 - ข้นั ตอนการผลิตรายการ บันได 3 ข้นั ( 3 P ) 38 - ข้ันเตรยี มการ PRE-PRODUCTION 39 - ขัน้ ตอนผลิตรายการ PRODUCTION 40 บทท่ี 5 การสรา้ งสรรค์งานด้านการผลิตคอมพิวเตอร์ - ความหมายสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส ์ 52 - ข้อด ี 53 - ข้อจำ� กดั 54 - ยคุ ทผี่ ่านมาของเทคโนโลยีการศึกษา 56 - ยคุ เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์เพื่อการศึกษา 60 บทที่ 6 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นสอื่ สังคมออนไลน์ - ความหมายและประเภทของส่ือสงั คมออนไลน ์ 64 - อปุ กรณ์เครื่องมอื ทางสอ่ื สงั คมออนไลน์ 69 - อุปกรณเ์ ครอื ข่าย 71 - ประโยชน์ของ Social networks เครือขา่ ยสังคมออนไลน ์ 74 - ขอ้ จ�ำกดั ของSocial networks เครอื ข่ายสังคมออนไลน ์ 75 - ประโยชน์ของการใช้เฟซบุ๊กเพือ่ การเรยี นการสอน 78 - ขอ้ จ�ำกดั ของการใช้เฟซบุ๊กเพอื่ การเรียนการสอน 78 - ประโยชน์และขอ้ จ�ำกัด การประยกุ ตใ์ ช้งาน 79 Youtubeเพอื่ การเรยี นการสอน - สอ่ื สังคมออนไลนก์ ับคนดัง 82 - ส่อื สังคมออนไลน์กบั ธรุ กจิ 83

บทท่ี 1 กดา้ารนสสรอื่ ้าสงง่ิสพรริม

มรคพง์ ์ าน

2 บทท่ี 1 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นสอ่ื สิง่ พมิ พ์ บทที่ 1 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นสื่อสง่ิ พมิ พ์ สอ่ื สงิ่ พิมพ์ ความหมายของสอื่ สิง่ พิมพ์ ส่ิงพมิ พ์ หมายถึง สมดุ แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พมิ พ์ขน้ึ รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนท่ี แผนผงั แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอน่ื ใดอันมีลกั ษณะเช่นเดียวกัน สือ่ หมายถึง ผหู้ รือสง่ิ ทท่ี าการตดิ ตอ่ ให้ถึงกนั หรอื ชกั นาให้รจู้ ักกนั พิมพ์ หมายถึง ถา่ ยแบบ ใชเ้ ครือ่ งจักรกด ตวั หนังสือหรอื ภาพ เป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่น แผน่ กระดาษ ผ้า ดังนนั้ “สื่อส่ิงพิมพ์” จงึ หมายถงึ ส่งิ ท่ีพิมพข์ ้ึน ไม่ ว่าจะเปน็ แผ่นกระดาษหรอื วัตถใุ ดๆด้วยวิธีการต่างๆอัน เกดิ เปน็ ช้ินงานทีม่ ีลกั ษณะเหมอื น ต้นฉบบั สง่ิ พิมพเ์ พ่อื การศกึ ษา หมายถงึ สง่ิ พมิ พ์ในรปู แบบตา่ งๆ ทจี่ ัดพมิ พ์ข้ึน โดยบรรจุเน้ือหาสาระท่ีดมี ีประโยชนแ์ ละให้ความรทู้ ้งั ที่ การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

บทที่ 1 การสรา้ งสรรค์งานด้านส่ือสิง่ พมิ พ์ 3 เปน็ ความรทู้ ว่ั ๆ ไป เช่น ความรเู้ ก่ยี วกับการประกอบ อาชีพ สุขภาพอนามัย การใชเ้ วลาว่าง เปน็ ตน้ สว่ น สงิ่ พิมพเ์ พ่ือการสอน หมายถงึ สงิ่ พิมพ์ที่ให้ความรเู้ ฉพาะ อย่างตามหลักสูตรการเรียน สิ่งพมิ พเ์ หลา่ นีอ้ าจเยบ็ รวม เล่มหรอื เปน็ แผ่น ท้งั ทใ่ี ช้พมิ พห์ รอื เขยี นดว้ ยมอื ก็ได้ การจดั องคป์ ระกอบส่อื ส่งิ พิมพ์ ในการออกแบบดไี ซน์ (Design) และจกั วาง องคป์ ระกอบ ในการผลิตสือ่ ส่ิงพิมพเ์ พ่อื การโฆษณา ประชาสัมพีนธ์มีหลังสาคญั ที่ใช้เปน็ เกณฑ์ ในการพิจารณา อยู่ 6 ประการ คือ 1. สัดส่วนหรือพรอ็ บพอร์ชน่ั คือการกาหนดขนาด และสดั ส่วนของงานทท่ี าการผลติ โดยเฉพาะงาน ช้ินแรกท่จี ะทาการผลติ เพ่อื เปน็ แนวทางในการจัด วางองคป์ ระกอบยอ่ ยอืน่ ๆการกาหนดกรอบของ ขอบเขตหรอื ขนาดของสิง่ พิมพ์ สัดสว่ นเหล่านีไ้ ม่ เพยี งแต่จะใชส้ ในการกาหนดขนาดของส่อื สิ่งพมิ พเ์ ทา่ น้ันแตส่ ามารถใชใ้ นการกาหนด สัดส่วนของขนาดองค์ประกอบยอ่ ย ๆ ส่วนอื่น ๆ ในส่ือสิ่งพมิ พ์ไดอ้ ีกด้วย การสร้างสรรคง์ านเทคโนโลยกี ารศึกษา

4 บทท่ี 1 การสรา้ งสรรคง์ านด้านสือ่ ส่ิงพิมพ์ 2. ความสมดุลหรือบาลานซ์จะเกดิ ขนึ้ ไดก้ ็ต่อเม่ือ องค์ประกอบยอ่ ย ๆทอ่ี ยใู่ นสื่อสง่ิ พมิ พถ์ กู จัดวาง ให้มนี ้าหนกั เท่กันทาให้เกิดความรู้สกึ สมดุลแกค่ น ดูหรือผู้ทม่ี องน้าหนกั ดังกลา่ วเกดิ ขนึ้ จากรูปร่าง สี และความเขม้ จาง หรือองค์ประกอบภายใน ผลงานนน้ั ๆ 3. 3.ความแตกต่างหรือคอนทราสท์การสอื่ ความหมายโดยทัว่ ไปย่อมจะตอ้ งมบี างสิง่ บางอยา่ งทตี่ ้องการเนน้ มากกวา่ ส่วนอ่นื ๆ นอกจากจะเปน็ การแสดงความสาคัญแลว้ ยังทา ให้ส่งิ ท่ตี อ้ งการแสดงน้นั มคี วามนา่ สนใจมากขึ้น การผลิตสอื่ ส่ิงพมิ พ์เพอ่ื การโฆษณาเพอ่ื ประชาสมั พนั ธถ์ า้ ไม่เน้นใหเ้ ห็นความแตกแต่ง งานกจ็ ะดูไมน่ ่าใจ 4. ลลี าจังหวะหรอื รทิ ่มึ หมายถงึ การเคล่ือนไหวท่ีมี ความซา้ และตอ่ เน่ืองกนั เปน็ ระยะ ๆและจากการ เคลือ่ นไหวซา้ ๆ กนั ทาให้เกดิ รปู ร่าง ขนาด รูปลักษณะตา่ ง ๆกันออกไป 5. ความมเี อกภาพหรือยนู ิตเ้ี ป็นการนาเอา องค์ประกอบซงึ่ มีลักษณะต่าง ๆเขา้ มาจดั วาง เพอื่ ใหส้ ่อื สง่ิ พมิ พส์ ามารถสอื่ ความหมายตาม การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยกี ารศึกษา

บทที่ 1 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นส่ือส่งิ พิมพ์ 5 ความต้องการนนั้ จะต้องพจิ ารณาใหอ้ งคป์ ระกอบ ต่าง ๆเหลา่ นน้ั มีความสัมพนั ธ์กันอย่างมเี อกภาพ อกี ด้วย 6. ความผสมกลมกลืนหรือฮาร์โมนีความพอดี เหมาะสมของสว่ นประกอบตา่ ง ๆท่ปี ระกอบกัน ขึ้นเปน็ สง่ิ พิมพแ์ ละมคี วามเปน็ อนั หน่ึงอันเดียวกนั ความผสมกลมกลนื จะพอไดจ้ ากลักษณะของ องคป์ ระกอบในเรอ่ื งของสี รปู ร่างและลักษณะ ของตวั อักษร ประเภทของสอ่ื สิ่งพมิ พ์ ในปัจจบุ ันสามารถแบง่ ประเภทของสื่อส่ิงพมิ พ์ ไดม้ ามายหลายประเภท โดยทง้ั ส่งิ พิมพ์ 2 มิติ และส่งิ พมิ พ์ 3 มติ ิ คือ ส่งิ พิมพท์ ี่มลี ักษณะเปน็ แผน่ เรยี บ ใช้วัสดุจาพวก กระดาษและมเี ป้าหมายเพื่อนาเสนอเน้อื หาข่าวสารตา่ ง ๆ เช่น หนงั สือ นิตยสาร จุลสาร หนงั สอื พิมพ์ แผน่ พับ โบ ชวั ร์ ใบปลวิ นามบตั ร แมกกาซนี พ็อกเกต็ บุ๊ค เป็นต้น ส่วนสิง่ พมิ พ์ 3 มติ ิ คือ ส่ิงพิมพ์ท่มี ีลักษณะพิเศษที่ต้อง อาศัยระบบการพมิ พแ์ บบพเิ ศษ และส่วนใหญ่จะเปน็ การ พมิ พโ์ ดยตรงลงบนผลติ ภัณฑ์ท่ีสรา้ งรูปทรงมาแล้ว สาหรบั ตวั อยา่ งการพิมพแ์ บบ 3 มติ ไิ ด้แก่ การพิมพส์ กนี บนภา ชนะต่าง ๆ เชน่ แกว้ กระปอ๋ ง พลาสติก การพมิ พร์ ะบบ การสร้างสรรคง์ านเทคโนโลยกี ารศึกษา

6 บทท่ี 1 การสร้างสรรคง์ านด้านสือ่ สง่ิ พิมพ์ แพดบนภาชนะท่มี ผี วิ ตา่ งระดบั เชน่ เครือ่ งปนั้ ดนิ เผา เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า การพิมพร์ ะบบพน่ หมกึ เชน่ การพมิ พ์วนั หมดอายขุ องอาหารกระปอ๋ งต่าง ๆ โดยสามารถจาแนก ประเภทของส่ือสิ่งพมิ พ์ได้ ดังนี้ 1. สอ่ื สง่ิ พมิ พป์ ระเภทหนงั สอื สอื่ สงิ่ พพิ ม์ประเภท หนังสือจะมีหนงั สอื สารคดี ตารา แบบเรียน และหนังสือ บนั เทิงคดี จะเน้นความรู้ ตา่ งๆ https://yhoo.it/30KYLcG 2. สื่อสงิ่ พมิ พ์เพอื่ เผยแพร่ข่าวสาร สื่อสง่ิ พมิ พ์เพื่อเผยแพรข่ า่ วสาร... เช่น หนังสือพมิ พ์ วารสาร นติ ยสาร จุลสาร ใบปลวิ แผ่นพับ โบชัวร์ หรือ โปสเตอร์ • หนังสือพมิ พ์ (Newspapers) เป็นสือ่ สิง่ พมิ พ์ท่ี ผลติ ข้ึนโดยนาเสนอเรอื่ งราวข่าวสารภาพ และ ความคดิ เห็น ในลกั ษณะของแผน่ พิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้วิธีการพับรวมกับ ซ่งึ ส่ือสงิ่ พิมพ์ชนิดนี้ได้พมิ พ์ การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

บทท่ี 1 การสรา้ งสรรค์งานด้านสอื่ ส่ิงพมิ พ์ 7 ออกเผยแพรท่ ้ังลกั ษณะหนังสอื พิมพ์รายวนั ราย สัปดาห์ และรายเดือน • วารสาร นติ ยสาร เปน็ สอื่ สง่ิ พิมพท์ ีผ่ ลิตขึน้ โดย นาเสนอสาระข่าว ความบันเทิง ท่มี รี ปู แบบการ นาเสนอ ทีโ่ ดเด่น สะดดุ ตา และสรา้ งความสนใจ ใหก้ บั ผูอ้ า่ น ท้งั นี้การผลติ น้นั มีการกาหนด ระยะเวลาการออกแบบเผยแพร่ทแ่ี นน่ อน ท้ัง ลกั ษณะวารสาร นิตยสารรายปักษ์ (15 วนั ) และ รายเดอื น • จุลสาร เปน็ ส่ือส่ิงพมิ พ์ที่ผลิตขึ้นแบบไมม่ ุ่งหวังผล กาไร เป็นแบบให้เปลา่ โดยใหผ้ ูอ้ ่านศกึ ษาหา ความรู้ ทีก่ าหนดออกแบบเผยแพร่เป็นคร้ัง ๆ หรือลาดับต่าง ๆ ในวาระพเิ ศษ • โบชวั ร์ (Brochure) เปน็ ส่ือสง่ิ พิมพท์ ี่มีลักษณะเป็นสมุดเลม่ เล็ก ๆ เย็บติดกันเปน็ เลม่ จานวน 8 หน้า เป็นอยา่ งน้อยมปี กหนา้ และ ปกหลงั ซงึ่ ในการแสดงเน้อื หาจะ เกย่ี วกบั โฆษณาสินค้า • ใบปลิว (Leaflet, https://th.images.search.yahoo.com Handbill) เป็นส่ือสงิ่ พิมพ์ใบเดยี ว ท่ี การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

8 บทท่ี 1 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นสอ่ื ส่ิงพมิ พ์ เน้นการประกาศ มักมีขนาด A4 เพ่ืองา่ ยในการ แจกจ่าย ลกั ษณะการแสดงเนือ้ หาเปน็ ข้อความที่ ผู้อา่ นแล้วเข้าใจงา่ ย • แผน่ พบั (Folder) เป็นสือ่ ส่งิ พิมพ์ทเ่ี นน้ การผลิต โดยเน้นการเสนอเนอื้ หา ซึ่งเน้ือหาท่นี าเสนอนนั้ เปน็ เนื้อหาท่ีสรปุ ใจความสาคญั ลักษณะเป็นการ พบั เป็นรูปเลม่ ต่าง ๆ • โปสเตอร์ (Poster) เป็นส่ือส่ิงพมิ พโ์ ฆษณา โดย ใช้ปดิ ตามสถานทีต่ า่ ง ๆ มีขนาดใหญ่เป็นพเิ ศษซึ่ง เน้นการนาเสนออย่างโดเด่นดึงดูดความสนใจ 3. ส่งิ พมิ พเ์ พ่อื การบรรจุภัณฑ์ สิง่ พิมพเ์ พอ่ื การบรรจภุ ณั ฑ์เป็นสง่ิ พิมพท์ ่ีใช้ในการ ห่อห้มุ ผลิตภณั ฑ์การค้าตา่ ง ๆ แยกเป็นส่ิงพมิ พ์หลกั ไดแ้ ก่ สิ่งพมิ พ์ทใ่ี ช้ปิดรอบขวด หรอื กระปอ๋ งผลติ ภัณฑก์ ารคา้ ส่ิงพิมพ์รอง ได้แก่ ส่ิงพิมพ์ที่เปน็ กลอ่ ง บรรจหุ รอื ลงั https://th.images.search.yahoo.com การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

บทท่ี 1 การสร้างสรรคง์ านดา้ นส่ือสิ่งพิมพ์ 9 4. ส่งิ พิมพ์มีคา่ สงิ่ พิมพม์ ีค่า เปน็ ส่อื สงิ่ พิมพ์ทีเ่ นน้ การนาไปใชเ้ ปน็ หลักฐานสาคญั ต่าง ๆ ซ่ึง กาหนดตามกฎหมาย เช่น ธนาณัติ บัตรเครดิต เชค็ ธนาคาร ต๋วั แลกเงนิ หนงั สอื เดินทาง โฉนด เปน็ ตน้ https://bit.ly/2VPIPlL 5.ส่งิ พิมพ์ลกั ษณะพิเศษ สิ่งพมิ พล์ ักษณะพเิ ศษ เปน็ สอื่ ส่ิงพิมพ์มกี ารผลิตขึน้ ตามลกั ษณะพิเศษ แล้วแต่การใชง้ าน ได้แกน่ ามบตั ร บัตร อวยพร ปฏิทนิ ใบส่งของ ใบเสรจ็ รบั เงิน สิง่ พมิ พบ์ นแก้ว สงิ่ พิมพบ์ นผ้า เปน็ ต้น https://bit.ly/2JHbvMf https://bit.ly/2HZYnhU https://bit.ly/2VUNOSa การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

บทท่ี 2 กกราารฟสรกิ ้างสรร

รคง์ านดา้ นงาน

12 บทท่ี 2 การสรา้ งสรรคง์ านด้านงานกราฟิก บทท่ี 2 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นงานกราฟกิ กราฟิก หมายถึง ภาพลายเส้นหรือภาพทเ่ี กิดจาก การวดั จากการขดี เขียนท่แี สดงดว้ ยตารางหรือแผนภาพ การวาด เขยี นหรือการระบายสี การสร้างงานศลิ ปะบนพ้นื ระนาบหรอื กระบวนการออกแบบต่าง ๆ ในสง่ิ ท่ีเปน็ วสั ดุ 2 มติ ิ คือมี ความกว้างและความยาวเทา่ นน้ั เช่น งาน ออกแบบบ้านของสถาปนกิ ในการเขยี นแบบ ตัวภาพและ รายละเอยี ดบนแปลนบ้าน เรียกวา่ เป็นงานกราฟกิ การ เขยี นภาพเหมือนจรงิ ของจติ กร การออกแบบภาพโฆษณา ของนักออกแบบ การออกแบบฉลากหรอื ลวดลายหรอื ภาพประกอบหรอื ตัวอักษรทป่ี รากฏบนฉลากสนิ ค้า บนตัว สินคา้ หรอื บนภาชนะบรรจุภัณฑส์ ินค้า ฯลฯ การออกแบบ หมายถงึ การวางแผนสร้างสรรค์ รูปแบบโดยวางแผนจดั สดั สว่ นประกอบของการออกแบบ ใหส้ ัมพันธ์ กบั ประโยชน์ใช้สอย วสั ดุ และการผลิตของสงิ่ ท่ี ต้องการออกแบบนั้น ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบทางความงาม และพิจารณาถงึ ประโยชน์ใช้สอยการออกแบบที่ดีนั้นควร จะคานงึ ถงึ ปัจจยั ต่อไปน้ี การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยีการศึกษา

บทที่ 2 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นงานกราฟกิ 13 1. รปู แบบที่สรา้ งสรรค์ 2. มคี วามงามท่นี า่ สนใจ 3. สมั พนั ธก์ ับประโยชนใ์ ช้สอย 4. เหมาะสมกบั วัสดุ 5. สอดคล้องกับการผลิต องคป์ ระกอบของการออกแบบงานกราฟกิ 1. เส้น (Line) คอื จดุ หลาย ๆ จุด ถูกนามาวาง ต่อเนอื่ งจนกลายเป็นเสน้ รปู ทรงตา่ ง ๆ ขน้ึ มา รูปทรงของเสน้ ที่ จะส่ือออกมาถงึ ความรู้สึกที่ แตกตา่ งกันออกไป • ส้นแนวนอน ให้ความรู้สกึ สงบ ราบเรียบ • เสน้ ตรงแนวตัง้ ให้ความรู้สึกมน่ั คง แขง็ แรง • เส้นทแยง ให้ความรสู้ กึ ไมม่ น่ั คง รวดเร็ว แสดงถึงการเคลือ่ นไหว เส้นตดั กัน ให้ ความรูส้ ึกประสาน แขง็ แกร่ง หนาแนน่ • เส้นโคง้ ให้ความรู้สึกอ่อนช้อย อ่อนน้อม • เสน้ ประ ใหค้ วามรู้สึก โปรง่ ไมส่ มบูรณ์ หรอื ในบางกรณอี าจจะใชเ้ ปน็ สัญลักษณ์ ในการแสดงถงึ ส่วนที่ ถูกซอ่ นเอาไว้ การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

14 บทท่ี 2 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นงานกราฟิก • เส้นโคง้ ก้นหอย ให้ความรู้สกึ เคลื่อนไหว ไมม่ ที ี่ส้นิ สุด • เสน้ โคง้ แบบคลื่น ให้ความรสู้ กึ ถงึ การ เคลอ่ื นไหวอยา่ งนม่ิ นวล • เส้นซิกแซก็ ใหค้ วามร้สู ึก น่ากลวั อนั ตราย 2. รปู ร่าง (Shape) เกดิ จากการนาเส้นแบบต่าง ๆ มาตอ่ กนั จนได้รูปร่าง 2 มิตทิ ม่ี ีความกว้างและ ความยาว (หรือความสงู ) ในทางศิลปะจะแบ่ง รูปร่างออกเปน็ 2 แบบคือ รูปรา่ งท่ีคนุ้ ตา แบบที่ เห็นแลว้ ร้เู ลยวา่ นั่นคอื อะไร เชน่ ดอกไม้ หรือคน และอกี แบบหนึง่ จะเป็นรปู ร่างแบบฟรฟี อร์ม เปน็ แนวทีใ่ ช้รูปรา่ งสือ่ ความหมายท่ี จนิ ตนาการไว้ ออกมา ไม่มรี ปู ทรงที่แน่นอน แตด่ แู ล้วเกดิ จินตนาการถึงอารมณท์ ี่ต้องการสอื่ ได้ รปู ร่างแต่ ละ ชนดิ มคี วามหมายดงั นี้ - วงกลม Circle : เป็น ศูนย์กลาง ปกปอ้ ง ศูนยร์ วมความสนใจ - สีเ่ หลย่ี ม Square : วางตามแนวต้ังฉาก ให้ ความรสู้ ึกสงบ มนั่ คง เปน็ ระเบียบ 3 - สามเหลี่ยม Triangle : วางรปู ร่างสามเหลยี่ มใน การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

บทท่ี 2 การสร้างสรรค์งานด้านงานกราฟิก 15 ภาพจะไดค้ วามรสู้ ึกหยดุ น่งิ ม่ันคง แต่ที่ส่วน ปลายมมุ ทง้ั 3 ดา้ น ให้ความรู้สึกถงึ ทิศทาง ความ เฉียบคมและมีแรงผลักดนั - หกเหลยี่ ม Hexagon : จะให้ความรสู้ ึกถงึ การเชอื่ มโยง - รูปรา่ ง ธรรมชาติ Organic: จะให้ความร้สู ึกล่นื ไหล อสิ ระ ไม่มีกฎเกณฑ์ 3. รปู ทรง (Form) คอื รปู ร่างทีม่ มี ิตเิ พ่ิมขึน้ มา กลายเป็นงาน 3 มติ ิคอื มีความลึกเพิม่ เขา้ มาด้วย 4. น้าหนัก (Value) คือเกิดจากการเติมสี เงาลงไปท่ี ตัวรปู ทรง ทาให้เกิดความรูส้ ึกมมี วล ความ หนาแน่นทาให้ ร้สู กึ ถงึ ความหนัก เบา ทึบหรอื โปร่งแสง ในการท างานกราฟิกรปู รา่ งจะมผี ล อยา่ งมากตอ่ อารมณข์ องงาน เชน่ ถา้ ตอ้ งการงาน ทอ่ี ารมณ์ผหู้ ญงิ จัด ๆ เพยี งแค่ ใสร่ ูปของดอกไม้ ลงไปก็จะสามารถแสดงอารมณ์ได้อย่างชัดเจน หรอื ในงานท่ีตอ้ งการให้มีมิตมิ ากขึ้นกอ็ าจจะเป็น รปู ทรงของ ดอกไม้ในมมุ มองท่ีแปลกตา ก็จะ สามารถสื่ออารมณท์ ี่ตอ้ งการออกไปไดพ้ ร้อมกบั เป็นการสร้างความน่าสนใจเพิม่ ขน้ึ มาอีกด้วย 5. พืน้ ผวิ (Texture) คือส่วนทีช่ ว่ ยส่อื อารมณข์ อง งานออกมาได้ชัดเจนมากขน้ึ เชน่ ถ้าเลอื กพิมพ์ การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศึกษา

16 บทท่ี 2 การสร้างสรรคง์ านด้านงานกราฟกิ งานลงในกระดาษ Glossy ท่เี งาและแวววาว งาน นนั้ จะสือ่ ออกไปได้ ทันทวี ่า “หรู มีระดบั ” หรือ ถ้าใส่ลวดลายทดี่ ูคล้าย ๆ สนิม หรือรอยเป้ือนลง ไป ในงานก็จะสอ่ื ไดท้ ันทีถึง “ความเก่า” 6. ทวี่ ่าง (Space) อาจจะจะเกดิ จากความตัง้ ใจ หรือไม่ตง้ั ใจของนัก ออกแบบกไ็ ด้ ท่ีว่างไมไ่ ด้ หมายความถึงพืน้ ท่ีว่างเปล่าในงานเพียงอย่าง เดยี ว แต่หมายถงึ รวมไปถึงพื้นทีท่ ่ไี มส่ าคัญหรือ Background ด้วย ในการออกแบบงานกราฟกิ ทวี่ า่ งจะเปน็ ตัวช่วยในงานดูไมห่ นกั 4 จนเกินไป และถา้ ควบคุมพนื้ ท่ีว่างน้ีใหด้ ี ๆ ทวี่ ่างกจ็ ะเป็นตวั ท่ีช่วยเสริมจุดเด่นให้เหน็ ได้ชัดเจนมากขน้ึ 7. สี (Color) สีของงานกราฟกิ ถือเปน็ หวั ใจหลกั ของการออกแบบงานกราฟิก เพราะการเลอื กใชส้ ี จะแสดงถงึ อารมณท์ ีต่ อ้ งการไดช้ ัดเจนมากกวา่ ส่วนประกอบอืน่ ๆ ทัง้ หมด เชน่ สโี ทนร้อน สาหรบั งานทีต่ อ้ งการความ ตน่ื เตน้ ทา้ ทาย หรือ สีโทนเยน็ สาหรบั งานต้องการให้ดูสุภาพ สบาย ๆ 8. ตัวอกั ษร (Text) คือสว่ นที่ส่ือความหมายของงาน ซึ่งในงานกราฟกิ ท่ดี ีบาง งาน นกั ออกแบบอาจจะ ใชเ้ พยี งแค่ตัวอกั ษรและสีเป็นส่วนประกอบเพียง การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

บทท่ี 2 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นงานกราฟกิ 17 สอง อย่าง เพอ่ื สร้างสรรค์งานที่สามารถส่อื ความหมายออกมาได้ในดไี ซนท์ ่สี วยงาม ประเภทของงานกราฟกิ การออกแบบงานกราฟกิ ย่อมมีวัตถปุ ระสงค์และ เป้าหมายทแ่ี ตกต่างกันไป ลักษณะเฉพาะของงานหรอื เงอื่ นไขต่าง ๆ ของงานและวธิ กี ารดาเนินงานตอ้ ง สอดคลอ้ งกบั ปัจจัยทกุ ดา้ นในการสร้างงานออกแบบจงึ ควรศกึ ษาถึงองคป์ ระกอบสาคญั ๆ หลาย ๆ ด้าน แนวทาง ในการคิดงานกราฟิก จะแปรเปลย่ี นไปตามลักษณะของสอื่ หรืองานแตล่ ะประเภท โดยสามารถจัด หมวดหม่ไู ด้ดงั นี้ 1. งานกราฟิกบนสอื่ โฆษณาสงิ่ พมิ พ์ คือ สื่อสาหรบั การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์สินค้าหรอื บริการ หรือ องคก์ ร ได้แก่ แผน่ ปา้ ยโฆษณา หรือโปสเตอร์ แผ่นพับ แผน่ ปลวิ และบัตรเชิญ งานกราฟกิ บนบรรจุ ภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑม์ หี นา้ ท่ีหลัก คือเปน็ ตวั ภาชนะ สาหรบั บรรจุ สนิ คา้ มหี ลายรูปแบบ แตกต่าง กันไปตามลักษณะของสนิ ค้า https://bit.ly/2X9sPwb การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

บทที่ 3 กถา่ายรสภรา้าพงสรร

รคง์ านดา้ นการ

20 บทที่ 3 การสร้างสรรคง์ านดา้ นการถ่ายภาพ บทที่ 3 การสร้างสรรค์งานดา้ นการถา่ ยภาพ ความเร็วชตั เตอร์ (S,TV) เปน็ การกาหนดระยะเวลาในการบนั ทึกภาพ ซึง่ กลไกของกลอ้ งจะมแี ผน่ เลือ่ นเปดิ ปดิ อย่หู น้าฟิล์ม (หรือ แผน่ รบั แสง CCD ในกรณีของกล้องดิจติ อล) เรยี กวา่ ชตั เตอร์ สามารถเปดิ และปดิ เพ่อื เปิดให้แสงเขา้ ไปบนั ทกึ ภาพ ตามระยะเวลาท่เี ราต้งั ความเรว็ ชัตเตอร์ เราตอ้ งเลือกให้ เหมาะสมกบั วัตถุทต่ี อ้ งการถ่ายภาพ โดยท่ัวไปจะพจิ ารณา จากสภาพแสง เช่น การถา่ ยภาพจากแหลง่ แสงที่มแี สง น้อย เชน่ แสงเทียน ต้องเลอื กใช้ความเร็วชัตเตอร์หลาย วินาที สว่ นการถา่ ยภาพกลางแจ้ง มีแดดจัด ตอ้ งใช้ ความเรว็ ชดั เตอร์สูงกว่า เช่น 1/500 วินาทีเป็นต้น ปจั จัยอน่ื ท่สี าคญั คือ ความเร็วในการเคลอ่ื นทข่ี อง วตั ถุ เชน่ การถ่ายภาพรถยนตเ์ คล่ือนทดี่ ้วยความเร็ว ตอ้ งการให้ภาพคมชัด ตอ้ งใช้ความเร็วชตั เตอร์สูงสุดเท่าท่ี ทาได้ โดยสมั พันธก์ บั ขนาดรรู บั แสงที่เลือก เชน่ ตั้ง ความเร็วชตั เตอรท์ ี่ 1/4000 วินาที เปน็ ต้น การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยีการศึกษา

บทที่ 3 การสร้างสรรคง์ านด้านการถา่ ยภาพ 21 ขนาดรูรบั แสง (A,AV) กลอ้ งส่วนใหญจ่ ะมอี ปุ กรณบ์ ังคบั ให้แสงผา่ น เลนสม์ ากหรอื นอ้ ย โดยใช้แผน่ กลีบโลหะซึ่งตดิ ต้งั อยใู่ นตัว เลนสเ์ ปน็ การกาหนดปรมิ าณแสงผ่านเลนสไ์ ด้มากหรือ น้อย โดยวธิ ีเปดิ รเู ลก็ สุด เช่น f/22 และคอ่ ยๆใหญ่ข้ึน ตามลาดับ จนกระทง่ั เปดิ เต็มท่ี เช่น f/1.4 แต่ขนาดเปดิ เตม็ ทีจ่ ะขน้ึ กับขนาดชิ้นเลนส์ดว้ ย เลนส์ราคาสูงท่ีมีเลนส์ ชิ้นหน้าขนาดใหญ่ จะรับแสงได้มากกวา่ ซงึ่ หมายถึงเปิดรู รับแสงเตม็ ท่ไี ดก้ วา้ งกวา่ เช่น f/1.2 สาหรบั การถ่ายภาพ จะเลอื กใช้ขนาดรูรับแสงใด โดยทว่ั ไปจะพิจารณาจาก สภาพแสง ถา้ แสงมากมกั จะใช้ขนาดรรู บั แสงเลก็ เชน่ f/11 ถา้ แสงน้อยมกั จะใช้ขนาดรูรับแสงใหญ่ เชน่ f/2 เปน็ ต้น การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

22 บทท่ี 3 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นการถา่ ยภาพ การต้งั ความเรว็ ชตั เตอร์และขนาดรรู ับแสง การเลอื กคู่ที่เหมาะสมตามตัวอย่างในหวั ข้อ ความสัมพนั ธ์ระหว่างความเร็วชตั เตอรก์ ับขนาดรูรบั แสง ใหพ้ จิ ารณาได้จากปจั จยั ตา่ งๆดงั น้ี 1. ความเรว็ ในการเคลอื่ นที่ของวัตถทุ ่จี ะถ่าย วตั ถุทีเ่ คลือ่ นทเ่ี ร็ว แต่เราต้องการภาพชดั ตอ้ งใช้ความเรว็ ชตั เตอรส์ งู สุดเท่าทีก่ ล้องจะทาได้ แต่ถ้าเป็นวตั ถุที่อยนู่ ิง่ นั้น สามารถเลือกความเร็วชัตเตอร์เท่าไรกไ็ ด้ 2. ความชัดลกึ ของวตั ถทุ ่ีจะถ่าย ขนาดรรู บั แสงเลก็ เชน่ f/22 จะให้ความชัดลึกมากกวา่ ขนาดรรู บั แสงกว้าง เช่น f/1.4 ซึง่ เป็นประเดน็ สาคญั มาก ในการถ่ายภาพระยะใกล้ หรอื ใช้เลนสถ์ ่ายไกลในการ ถ่ายภาพ การเลือกความเรว็ ชัตเตอร์ท่เี หมาะสมกับการ เคล่ือนท่ีของวตั ถุ ปัจจัยท่ีเกยี่ วข้องกับการเลอื กความเรว็ ชัตเตอรท์ ่ี เกี่ยวขอ้ งกับการเคล่อื นทขี่ องวัตถุนน้ั ใหพ้ ิจารณาดังนี้ การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

บทที่ 3 การสร้างสรรค์งานดา้ นการถา่ ยภาพ 23 ทศิ ทางการเคลือ่ นทขี่ องวัตถุ แบ่งทศิ ทางการเคลื่อนท่ีเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื เคลอื่ นทเ่ี ข้าหา/ออกห่างกลอ้ ง หรอื เคล่ือนที่ผ่านกลอ้ ง จากซา้ ยไปขวาหรอื กลับกัน โดยที่การเคลือ่ นท่ีเข้าหาหรอื ออกห่างจากกล้องนนั้ สามารถเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ตา่ ว่าการเคล่ือนท่ีผา่ นกล้อง เช่น รถยนตท์ ่ีขับดว้ ยความเรว็ ด้วยความเรว็ 60 กม./ชม.เท่ากนั ท่เี คลือ่ นทเ่ี ข้าหากลอ้ ง อาจใช้ความเรว็ ชัตเตอร์ 1/125 แต่ถ้าเคลอื่ นที่ผา่ นกล้อง อาจตอ้ งใช้ความเรว็ ชัตเตอรถ์ ึง 1/500 ความเร็วในการเคลอื่ นทขี่ องวัตถุ วัตถุทีเ่ คล่ือนที่เรว็ เชน่ รถแขง่ ควรเลือกใช้ ความเรว็ ชตั เตอร์สงู สดุ ทีก่ ลอ้ งสามารถทาได้ สว่ นคนเดิน สามารถใช้ความเร็วทีน่ อ้ ยกวา่ ได้ อย่างไรก็ตาม การ ถา่ ยภาพวตั ถุเคลือ่ นที่ ควรเลือกใชค้ วามเร็วชัตเตอรส์ ูงสุด เท่าที่สภาพแสงอานวย เทคนิคการถา่ ยภาพเพ่ิมเตมิ 1. เลือกรปู รา่ งของวัตถหุ รือตวั แบบทเ่ี หน็ ได้ชดั วตั ถุทุกอยา่ งหรือตวั แบบสามารถทาใหเ้ กิดภาพ Silhouette ได้ แตใ่ ช่ว่าจะถา่ ยออกมาไดส้ วยงามไปเสยี หมด ก่อนถา่ ยควรหาวัตถุที่มีรปู ร่างหรอื สว่ นโคง้ ทีเ่ หน็ ได้ การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

24 บทท่ี 3 การสร้างสรรค์งานด้านการถา่ ยภาพ ชัดจะดีกว่า เพราะอย่าลมื ว่าภาพ Silhouette น้นั ตวั แบบ จะไม่สอ่ื ออกมาเป็นสหี รอื มีรายละเอียดอืน่ ๆ แต่จะเหน็ เปน็ เพยี งโครงร่างมืดๆ เทา่ นน้ั การทวี่ ตั ถหุ รือตัวแบบมี รปู ร่างทีโ่ ดดเด่นน่าจดจาจะทาใหภ้ าพดูนา่ สนใจและดงึ ดดู สายตามากขึน้ 2. หาแสงที่ใช่ การถ่ายภาพ Silhouette สามารถทาได้ ง่าย เพยี งแค่หาแสงที่ผ่านเข้ามาดา้ นหลงั วตั ถหุ รอื ตวั แบบ ที่ตอ้ งการถา่ ย และแสงจากฉากหน้าจะตอ้ งสวา่ งน้อยกว่า ฉากหลงั ปกติใน การถ่ายกอ็ าศัย แสงจากดวง อาทิตยซ์ ึง่ เป็น แสงธรรมชาตทิ ่ี การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยกี ารศึกษา

บทท่ี 3 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นการถ่ายภาพ 25 พบเห็นได้งา่ ยและสวยงามทีส่ ดุ ส่วนเวลาในการถ่ายทด่ี ี ท่ีสดุ คอื ช่วงกอ่ นดวงอาทติ ย์ขึ้นและตก หรอื จะใช้แสง ประดษิ ฐ์ที่มนุษย์สรา้ งขึน้ ก็ได้เช่นกัน 3. ปิดแฟลช เวลาจะเริ่มถา่ ยถ้ากลอ้ งอยู่ในโหมด Auto กลอ้ ง อาจล่ันแฟลชออกมาได้ เพราะถา่ ยตอนแสงน้อย จะทาให้ วัตถหุ รอื ตวั แบบสว่างขึ้นจนกลายเปน็ ภาพถา่ ยธรรมดา ไมใ่ ชภ่ าพ Silhouette ดงั นน้ั ก่อนถา่ ย ควรปดิ แฟลชทกุ คร้ัง 4. จดั องคป์ ระกอบของภาพ สถานทที่ ี่เหมาะแก่การถา่ ยภาพ Silhouette คือ สถานท่เี ปิดโลง่ เช่น ชายหาด ทุง่ หญา้ กวา้ ง ๆ หรอื ริม แมน่ ้า เมือ่ หาสถานท่แี ละวัตถุ Silhouette ได้แล้ว กม็ าจัด องคป์ ระกอบของการ ถ่ายภาพ Silhouette กนั ต่อ ซ่ึงทาไดง้ า่ ย ๆ โดยให้ วัตถหุ รอื ตัวแบบอยู่ที่ฉาก หน้า สว่ นทอ้ งฟ้าเป็นฉาก หลัง ถา้ ให้ดีควรเป็นชว่ งท่ี การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

26 บทท่ี 3 การสรา้ งสรรคง์ านด้านการถ่ายภาพ ท้องฟา้ โปรง่ และไม่มีเมฆจะดีกวา่ ซ่งึ ช่วยเพิ่มความ สวยงามในภาพได้ สว่ นการวางตาแหนง่ ของวัตถกุ บั แสงก็ เป็นเรื่องท่สี าคญั 5. วตั ถหุ รอื ตัวแบบต้องโดดเด่น ถา้ ต้องการถา่ ย วตั ถหุ ลายอย่างให้อย่ใู น ภาพเดียวกัน พยายามอยา่ ใหว้ ตั ถุอยูใ่ กลก้ นั เกินไป หรือเงาของวัตถุทับซ้อน กนั ยกตวั อย่างเช่น ถ้าใน ฉากมคี นและตน้ ไม้อยู่ ควร ให้คนยืนหา่ งหรือยืนข้างๆ ต้นไม้ และหลกี เลยี่ งการยืนหนา้ ตน้ ไม้ เพราะจะทาใหเ้ งา ของต้นไม้กับคนรวมกนั จนเกดิ เปน็ รปู รา่ งใหม่ ๆ ข้ึนมา ซง่ึ ทาให้ผูท้ ช่ี มภาพสับสนวา่ เป็นภาพอะไร หากจะถ่ายเนน้ เฉพาะตวั บุคคลตอ้ งให้คนท่รี บั ชม ภาพจดจาภาพได้ง่าย ๆ โดยใชโ้ ครงร่างของใบหนา้ ท่ีเห็น ไดช้ ัดเจน เช่น จมูก ปากและแก้ม การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

บทท่ี 3 การสรา้ งสรรคง์ านด้านการถา่ ยภาพ 27 6. โหมด Auto กลอ้ งดจิ ทิ ัลสมัยนฉ้ี ลาดในเร่อื งการวัดแสงแบบ อัตโนมตั ิอย่แู ลว้ แม้แต่เวลาท่ีต้องการภาพ Silhouette กล้องก็จะทาให้ตัวแบบสวา่ งขน้ึ มา ดงั น้นั กอ่ นเร่มิ ถา่ ยให้ จัดองคป์ ระกอบของภาพกอ่ น โดยวัดแสงไปยงั จดุ ท่ี ท้องฟา้ สวา่ งทีส่ ดุ ในภาพ กดชตั เตอรล์ งครึ่งนึงแลว้ หัน กลอ้ งกลบั ไปมมุ ทจี่ ัด องคป์ ระกอบไว้ และถา่ ยภาพได้เลย หรอื จะใช้ โหมดวัดแสงแบบจดุ ซง่ึ ช่วยวัดแสงไปจุดท่ีตอ้ งการแทน การวัดแสงหลายๆ จดุ ในภาพกไ็ ด้ 7. โหมด Manual ช่างภาพบางคนชอบตั้งค่าโหมด Manual มากกวา่ ในการถ่ายภาพ Silhouette ให้ตงั้ คา่ f แคบ ๆ เชน่ f8 หรอื มากกวา่ นั้น เพือ่ ให้มีความชดั ลึกทัง้ ภาพและ ช่วยลดความคลาดเคลือ่ นของสีอนั เกิดจากการเล็งกลอ้ งไป ที่ดวงอาทติ ย์ ในการตัง้ คา่ สปีดชตั เตอร์ถ้าภาพ ยงั มืดไม่พอ ก็ให้เพิ่มส ปดี ชตั เตอรส์ ูงๆ อกี โดย ให้เริ่มท่ี 1/125 ในกรณี การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

28 บทท่ี 3 การสร้างสรรคง์ านด้านการถ่ายภาพ ทวี่ ตั ถุหรือตัวแบบหยุดนง่ิ หรอื 1/250 เม่ือวัตถมุ ีการ เคลื่อนไหว สว่ นการตั้งคา่ ISO ควรต้ังให้ต่าเท่าทีจ่ ะทาได้ เพราะ ขณะที่ดวงอาทติ ยก์ าลงั ตก มักอดใจไมไ่ ดท้ ่จี ะเพม่ิ ค่า ISO ใหส้ ูงขึน้ ควรค่อยๆ เพมิ่ ISO จะดกี วา่ เพราะถา้ ISO สูง เกินไป ภาพก็จะเกิด Noise ได้ แต่โอกาสในการเกิด Noise กข็ นึ้ อยู่กับกลอ้ งแตล่ ะร่นุ ดว้ ย 8. การโฟกัส ในการถา่ ยภาพ Silhouette วตั ถุหรอื ตวั แบบที่อยฉู่ ากหน้าจะต้อง อยู่ในโฟกสั หากวดั แสงเสร็จเรยี บร้อย แลว้ ใหเ้ ลอื ก Manual focus เพราะ โหมดน้จี ะดีกวา่ การตงั้ ค่าแบบ Auto focus ตรงทสี่ ามารถเลอื กจดุ โฟกัสได้ เอง โดยเลอื กโฟกสั ไปที่ตวั วตั ถุหรือตัว แบบท่อี ยู่ฉากหนา้ และมีอกี วิธหี นง่ึ ท่ี ทาได้คอื ใช้การต้งั ค่ารูรบั แสง f แคบ ๆ อย่างทบี่ อกไปแล้วในข้อ 7 เพ่อื ใหท้ ้ัง ภาพชัดลกึ อยู่ในชว่ งโฟกัสทงั้ หมด การสร้างสรรคง์ านเทคโนโลยีการศกึ ษา

บทท่ี 3 การสรา้ งสรรค์งานด้านการถา่ ยภาพ 29 เทคนิคการจดั องคป์ ระกอบในภาพถา่ ย การจดั องค์ประกอบภาพ 1. กฎสามส่วน กฏ 3 สว่ น (Rule of Third) การ จดั วางตาแหนง่ หลกั ของ ภาพถา่ ย เป็นองค์ประกอบ หนึง่ ที่สามารถทาให้เกิดผล ทางด้านแนวความคดิ และ ความรสู้ กึ ได้ การวางตาแหนง่ ทีเ่ หมาะสมของจดุ สนใจใน ภาพ เปน็ อกี ส่งิ หนง่ึ ท่สี าคัญ และทีน่ ิยมกนั โดยทั่วไปคือ ? กฎสามส่วน? กฎ สามส่วนกล่าวไว้ ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้ง หรือแนวนอนก็ตาม หากเรา แบ่งภาพน้นั ออกเป็นสามส่วน ท้งั ตามแนวต้งั และแนวนอน แล้วลากเส้นแบง่ ภาพทงั้ สาม เสน้ จะเกิดจุดตัดกันท้งั หมด 4 จุด ซ่ึงจุดตดั ของเส้นท้ังส่ีน้ี เปน็ ตาแหน่งที่เหมาะสมสาหรบั การจัดวางวัตถทุ ีต่ ้องการ เน้นใหเ้ ป็นจุดเด่น หลกั สว่ นรายละเอียดอ่นื ๆนน้ั เป็นส่วน สาคัญทรี่ องลงมา การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยีการศึกษา

30 บทท่ี 3 การสร้างสรรคง์ านดา้ นการถา่ ยภาพ การจดั วางตาแหน่งจดุ เด่นหลกั ไมจ่ าเป็นจะต้องจากดั มาก นัก อาจถอื เอาบรเิ วณใกล้เคียงทงั้ ส่จี ุดน้ี จากตัวอยา่ ง จะเหน็ ได้ว่าจุดสนใจจะอยู่บริเวณจุดตดั ทาใหภ้ าพดสู มบรู ณ์ สายตาใหไ้ ปสูจุดสนใจใน ภาพไดก้ ็จะชว่ ยเสริมให้ ภาพดดู ไี ดอ้ ีกทางในรูป แนวตงั้ ก็เชน่ เดยี วกัน หรอื จะจัดในตาแหนง่ ท่ี ใกล้เคียงก็ได้ นอก จากนีเ้ รา ยังสามารถใช้แนวเส้น แบง่ 3 เส้นนี้ เป็นแนว ในการจัดสัดสว่ นภาพก็ ได้อยา่ งการจัดวางเส้น ขอบฟา้ ใหอ้ ยใู่ นแนว เส้น แบง่ โดยใหส้ ว่ นพืน้ ดนิ และทอ้ งฟา้ อยู่ในอัตราส่วน 3:1 หรือ 1:3 แต่ไมค่ วรแบ่ง 1: 1 การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

บทท่ี 3 การสร้างสรรคง์ านดา้ นการถ่ายภาพ 31 จาก ตัวอย่างจะเหน็ ได้วา่ อัตราส่วนระหวา่ งพืน้ ดนิ กบั ทอ้ งฟ้าเปน็ 1:3 นอกจากนตี้ าแหน่งจุดสนใจยงั อยูท่ ่ี บรเิ วณจุดตดั ทาใหภ้ าพดสู มบูรณ์ และนา่ สนใจยง่ิ ขนึ้ และเรายงั สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในการจดั องค์ประกอบ ภาพอ่นื ๆ โดยใช้หลักการเดยี วกัน 2. เสน้ นาสายตา การใชเ้ ส้นนาสายตา เปน็ การสรา้ ง มติ ิให้กบั ภาพไดด้ วี ธิ หี น่ึง เราสามารถใช้ ถนน ทางเดินของ แมน่ า้ ลาธาร ร้วั หรือแมแ้ ต่อะไรก็ได้ ท่ีดูแลว้ เปน็ เส้นนาสายตาผู้ชมเขา้ ไปสใู่ นภาพ การทาเชน่ นจี้ ะทาใหภ้ าพถา่ ยเกิด มิติ มีความลกึ ยงิ่ ถา้ เราวางแนวเสน้ การใช้เส้นตรงจะทาให้เกิดความรสู้ ึก รวดเร็วรนุ แรง การใชเ้ ส้นโคง้ จะทาให้เกิดความรสู้ ึกนุ่มนวล ค่อย เปน็ ค่อยไป ข้อสงั เกต : ในบางคร้ังถ้าเราใช้จดุ เร่ิมขอ้ เส้นนาสายตาที่ มมุ ภาพ อาจทาให้ภาพดูตัน ๆ และดอู ึดอดั ได้ แก้ไขไดโ้ ดย การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

32 บทท่ี 3 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นการถ่ายภาพ การเร่มิ จุดเสน้ นาสายตาบริเวณขอบภาพทั้ง 2 ดา้ น เปิด ให้มีพ้นื ท่วี า่ งๆให้รู้สึกเหมือนวา่ เราปล่อยใหเ้ ส้นนาสายตา เขา้ มาจากข้างนอกภาพ การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

บทท่ี 3 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นการถา่ ยภาพ 33 การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

บทท่ี 4 กผาลรติ สรรา้ายงกสารรร

รรโคทง์ ราทนัศดน้า์ นการ

36 บทท่ี 4 การสรา้ งสรรคง์ านด้านการผลติ รายการโทรทัศน์ บทที่ 4 การสร้างสรรคง์ านดา้ นการผลิตรายการ โทรทัศน์ การผลิตรายการโทรทศั น์ ความหมายและบทบาทหนา้ ที่ต่างๆของทมี ผลิต รายการ 1. ผอู้ านวยการผลิต Excutive Producer เป็น ผู้บรหิ ารระดับสงู มหี นา้ ที่ การจดั รา่ ง จัดทา ควบคุมงบประมาณการผลติ เปน็ แหลง่ สนับสนนุ ดา้ นการหางบประมาณ และดแู ลรบั ผิดชอบเรื่อง คา่ ใช้จ่ายต่างๆ ถา้ ในระดบั องค์กร มตี าแหน่ง เทียบเทา่ กับ CEO 2. ผู้ควบคมุ การผลิต Producer ดแู ล ควบคมุ และ บริหารการผลิตรายการ ในทกุ ด้าน เปน็ ผู้มอี านาจ ตดั สนิ ใจสงู สุดในการผลติ รายการโทรทศั น์ 3. ผชู้ ่วยผู้ควบคุมการผลิต Co-producer เปน็ ผู้ช่วย ของProducer ในด้านตา่ งๆ 4. ผสู้ รา้ งสรรคร์ ายการ Creative พัฒนาและ สรา้ งสรรค์รูปแบบการนาเสนอรายการให้น่าสนใจ การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

บทท่ี 4 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นการผลติ รายการโทรทัศน์ 37 5. Script-writer รอ้ ยเรยี งเน้ือหา ผลติ บทสาหรบั พิธีกร และรายการ 6. ประสานงาน Co-ordinator มีหนา้ ท่ตี ดิ ต่อ ประสานงาน ท้งั ภายนอก (แขกรบั เชิญ / สถานที่ / อาหาร ฯลฯ) และภายใน (ฝา่ ยต่างๆ) ให้ทางาน ได้อยา่ งราบรืน่ และสัมพนั ธก์ นั 7. ศลิ ปกรรม ดแู ล ผลิตและออกแบบฉาก และ บรรยากาศใหเ้ ปน็ ไปตามเน้ือหาในรายการ 8. ช่างภาพ Cameraman 9. ผู้กากับเทคนิค ( Technical Director ) 10. ช่างกล้อง ( Camera Operators ) 11. ชา่ งเทคนคิ ด้านแสง ( Lighting Technician) หรือ ผู้กากับแสง 12. ชา่ งเทคนิคดา้ นภาพ ( Video Engineer ) หรือ ผู้ กากับภาพ 13. ช่างเทคนิคด้านเสียง ( Audio Engineer ) หรือผู้ กากับเสยี ง 14. ชา่ งเทคนคิ ผู้ควบคุมการตดั ตอ่ ( Videotape Editor ) 15. ผชู้ ว่ ยประสานงานการผลติ ( Production Assistant ) การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยีการศกึ ษา

38 บทท่ี 4 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นการผลติ รายการโทรทศั น์ 16. ผู้กากบั เวที ( Floor or Stage Manager ) กระบวนการผลติ รายการโทรทศั น์ ปัจจยั และองค์ประกอบทีจ่ ะต้องคานงึ ทกุ ครั้ง ใน กระบวนการผลติ รายการโทรทัศน์ (4 M + 1 T) - คน (MAN) - อปุ กรณ์ (MATERIAL) - งบประมาณ (MONEY) - การจัดการ (MANAGEMENT) - เวลา (TIME) หัวใจของการผลิตรายการ 1. เขียนบท 2. ถา่ ยทา 3. กากบั 4. ตัดต่อ ขั้นตอนการผลิตรายการ บันได 3 ข้นั ( 3 P ) Pre- Production ข้นั ตอนการเตรียมงาน Production ขั้นตอนการผลติ รายการ Post-Production ข้นั ตอนเรยี บเรยี งและลาดบั รายการ ก่อนเปน็ ชิน้ งาน การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยกี ารศึกษา

บทที่ 4 การสร้างสรรค์งานดา้ นการผลติ รายการโทรทัศน์ 39 ขัน้ เตรยี มการ PRE-PRODUCTION 1. วางแผน (Plan) กาหนดเรื่องราว เนอ้ื หา ทต่ี ้องการจะผลิต โดยยึดหลัก 5 W + 2H • Who กลุ่มเป้าหมายเปน็ ใคร / รายการ ตอบสนองคนกลุม่ ไหน • Why วัตถปุ ระสงค์ในการผลิตรายการ • What จะผลิตรายการอะไร xประเภทไหน • Where กาหนดสถานทใี่ นการถ่ายทารายการ (ในสตูดโิ อ / ภายนอก ) ออกอากาศช่องทาง ไหน ตดั ต่อท่ไี หน • When จะเรม่ิ ผลติ เม่ือไหร่ / ออกอากาศเมอื่ ไหร่ เวลาไหน ใหต้ รงกับกลมุ่ เป้าหมาย / จะใชเ้ วลาใน การผลติ เทา่ ใด • How จะผลติ รายการอยา่ งไร กาหนด รายละเอียดในการผลิต • How Much ใช้งบประมาณเทา่ ไหร่ 2. หาขอ้ มูล เตรยี มเนือ้ หา โดยคน้ หาได้จาก • เอกสาร การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

40 บทท่ี 4 การสร้างสรรค์งานด้านการผลติ รายการโทรทศั น์ • บุคคล / แหล่งขา่ ว • สถานท่ีจริงที่จะไปถา่ ยทา • แล้วนามารวบรวม สงั เคราะห์ จัดทาและเรยี บ เรียงเนื้อหา ใหเ้ ปน็ โครงร่างรายการ 3. จัดทาสครปิ ท์ / บท เรมิ่ จากวางประเด็น (Concept) => แกน่ ของเร่ือง (Theme) => เค้าโครงเร่อื ง (Plot / Treatment) => (Outline Script / Synopsis) => บทโทรทัศน์ (Full Script) => บทภาพ (Story board) 4. ประสานงาน กับสว่ นตา่ งๆ ท้งั ภายใน (ทีมงาน) และภายนอก (สถานที่ / พธิ กี รหรอื ผู้ แสดง) ขนั้ ตอนผลิตรายการ PRODUCTION สถานที่ การถา่ ยทานอกสตูดโิ อ แบ่งตามลักษณะการทางานได้เป็น 3 รูปแบบ 1. ENG (Electronic News Gethering) เป็นการถ่ายทาโดยใชก้ ล้องเดย่ี ว เหมาะสาหรับงานที่ การสร้างสรรค์งานเทคโนโลยีการศึกษา

บทที่ 4 การสร้างสรรค์งานด้านการผลิตรายการโทรทศั น์ 41 ตอ้ งการความคล่องตัว ใชท้ มี งานในหารถ่ายทาไม่มากนัก เชน่ ขา่ ว สารคดี 2. EFP (Electronic Field Product) เปน็ การถ่ายทา ทใ่ี ช้กล้องมากกวา่ 1 ตัว ต่อสายเคเบ้ิล จาก กลอ้ งไปสเู่ ครื่องผสมสัญญาณ (Mixer) เพอื่ ทาการเลือก ภาพ ใหไ้ ดภ้ าพที่หลากหลาย ได้อย่างตอ่ เน่อื ง เหมาะกับ งานประเภท สนทนา สาธิต หรอื ภิปราย 3. Mobile Unit เป็นการถา่ ยทาท่ีมีลักษณะ คลา้ ยกบั EFP และการถา่ ยทาในสตูดิโอ โดยอุกรณ์การ ควบคมุ จะติดตั้งอยใู่ นรถทีเ่ รียก OB (Outsid Broadcasting) ส่วนใหญ่จะใช้ในงานที่มีการถา่ ยทอดสด ต่างๆ การเตรียมการถ่ายทา • เตรยี มและตรวจเช็คอปุ กรณ์ • จดั เตรยี มฉากและพนื้ ทที่ ี่จะใช้ • จดั เตรยี มแสง และเสียง • จัดวางตาแหน่งกลอ้ ง • ซักซอ้ มทีมงานทกุ ฝา่ ย • ซอ้ มการแสดง การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

42 บทท่ี 4 การสร้างสรรคง์ านดา้ นการผลติ รายการโทรทัศน์ • ถา่ ยทาจริง ตามทไ่ี ด้ทาการซกั ซ้อมกับ นักแสดงไว้แลว้ **** ควรจะมีการถา่ ยทาเผ่ือไวห้ ลงั จากถ่ายทาเสรจ็ ส้นิ แลว้ เพื่อประโยชน์ในการตัดตอ่ ในการเลือกภาพ หรอื แทรกภาพ (Insert / Cut away) **** ความเขา้ ใจเร่ืองภาพ ขนาดภาพ 1. Extreme Long Shot ( ELS) เปน็ ขนาดภาพท่ี วา้ งมาก ส่วนใหญจ่ ะใช้เพื่อแนะนาสถานที่ แสดง ภาพรวมทง้ั หมดของฉากนัน้ ๆ 2. Long Shot ( ELS) ภาพกว้าง ทเี่ จาะจงสถานที่ มากขนึ้ เพอ่ื แสดงความสาคญั ของภาพ 3. Medium Shot (MS) ภาพระยะปานกลาง เป็น ภาพวตั ถุในระยะปานกลางเพอื่ ตัดฉากหลงั และ รายละเอยี ดอื่นๆที่ไมจ่ าเปน็ ออกไป และเน้น เรือ่ งราวทเี่ ราต้องนาเสนอ รายละเอียดจะเห็น มากมากขน้ึ เช่นภาพคร่ึงตัว 5. 4. Close Up (CU) ภาพระยะใกล้ เปน็ ภาพท่ี ตัดฉากหลังออกทง้ั เพอ่ื เนน้ ในสิง่ ท่ีเราตอ้ งการ นาเสนอ เชน่ สีหนา้ แผลที่ขา ที่มือกาลังเขียน การสรา้ งสรรค์งานเทคโนโลยกี ารศึกษา

บทท่ี 4 การสร้างสรรคง์ านด้านการผลติ รายการโทรทศั น์ 43 หนังสอื เปน็ ต้น สว่ นใหญ่เปน็ ภาพที่ใช้สอ่ื ดว้ ย ภาษากาย มากกวา่ การสอื่ ด้วยการพูด 6. Extreme Close Up (ECU) ภาพใกล้มาก จะ เน้นเจาะจง เฉพาะจุดที่สาคัญเท่าน้นั เชน่ เฉพาะ แววตา ปาก เพือ่ แสดงอารมณ์ของภาพ มุมภาพ ภาพมมุ สูง / มมุ กด - ให้ความรู้สกึ กดดนั หรือตกตตา่ ของ ตวั ละคร ภาพระดับสายตา – เปน็ ทวั่ ไป คลา้ ยแทนสายตาผ้ชู ม ภาพมุมตา่ / มมุ เงย – ให้ความรสู้ กึ ยงิ่ ใหญ่ มพี ลงั อานาจ มุมภาพจะลักษณะท่ถี ่าย เพื่อบอกเน้อื หา และลกั ษณะภาพท่ถี า่ ย เช่น • ภาพทถี่ า่ ยจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view) • ภาพครึ่งอก (Bust Shot) • ภาพเอียง (Canted Shot) • ภาพถา่ ยขา้ มไหล่ (Cross Shot / X Shot) • ภาพเตม็ ตวั (Full Shot) การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยีการศกึ ษา

44 บทท่ี 4 การสร้างสรรคง์ านดา้ นการผลิตรายการโทรทัศน์ • ภาพบุคคล 2 คนครง่ึ ตัว (Two Shot / Double Shot ) ลักษณะของภาพ ภาพแบบออฟเจคตีฟ (Objective Shot) เปน็ การ ถ่ายภาพในลักษณะแทนสายตาของผูช้ ม ภาพแบบซบั เจคตีฟ (Subjective Shot) เปน็ การ ถา่ ยภาพในลักษณะกล้องจะตัง้ อยใู่ นตาแหน่งแทนสายตา ของผูแ้ สดง การเคลอ่ื นกลอ้ ง การแพนกล้อง (Panning) หมายถงึ การเคลือ่ นท่ขี องกลอ้ งตามแนวนอนไปทางซา้ ย หรือไปทางขวา โดยกลอ้ งยงั อยู่ ณ จุดเดิม การทิล้ ท์ (Tilting) หมายถงึ การเคล่ือนกล้องตามแนวดงิ่ จากล่างขึ้นบน และ จากบนลงลา่ ง โดยกลอ้ งยังอยู่ ณ จดุ เดมิ เพ่ือให้เหน็ วตั ถุ ตามแนวตง้ั เช่น ภาพอาคารสงู การซูม (Zooming) หมายถงึ การเปล่ยี นความยาวโฟกัสของเลนส์ ในขณะที่ ถ่ายภาพโดยการใช้เลนสซ์ ูม ทาใหม้ มุ ภาพ เปล่ียนไป ถา้ การสรา้ งสรรคง์ านเทคโนโลยีการศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook