Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนิเทศแบบร่วมพัฒนา

การนิเทศแบบร่วมพัฒนา

Description: โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม

Search

Read the Text Version

1

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา ประวัติความเปน็ มา โรงเรียนนวมนิ ทราชูทศิ มัชฌิม เปน็ โรงเรียนหนงึ่ ในจำนวน 5 โรงเรียนท่ีอยู่ในโครงการจัดตง้ั โรงเรียน มธั ยมศกึ ษา เพื่อเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร (รัชกาลที่ 9) เนื่องในวโรกาสเฉลมิ พระชนมายุ ครบ 5 รอบในวนั ท่ี 5 ธันวาคม 2530 ของกรมสามัญศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมจี ุดมงุ่ หมายท่ีจะให้โรงเรียนนเ้ี ป็นอนุสรณแ์ ห่งความตระหนักและรำลึกในพระมหา กรุณาธิคณุ ให้กว้างไกลทัว่ ทุกทิศจึงประกาศจัดตง้ั โรงเรยี นนวมนิ ทราชูทิศขึ้น 5 โรงเรยี นตามหลกั ภมู ศิ าสตร์ของ ประเทศ ภาคละ 1 โรงเรียน ดังน้ี ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ โรงเรยี นนวมนิ ทราชูทิศ พายพั โรงเรยี นนวมินทราชูทิศ อีสาน จงั หวัดเชียงใหม่ จังหวัดมกุ ดาหาร ภาคกลาง สว่ นกลาง โรงเรียนนวมนิ ทราชทู ิศ มัชฌิม โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรงุ เทพมหานคร จังหวดั นครสวรรค์ ภาคใต้ โรงเรียนนวมนิ ทราชูทิศ ทักษิณ จงั หวดั สงขลา 1

กรมสามัญศึกษามีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะจัดโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทั้ง 5 แห่ง ให้เป็นโรงเรียนขนาด ใหญ่ 60 ห้องเรียน สามารถรับนักเรียนเข้าเรียนทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและ ตอนปลาย จำนวน 2,700 คน โดยจัดให้โรงเรียนมีความพร้อมความสมบูรณ์ ด้านอาคารเรียน อาคารประกอบ วัสดุครุภัณฑ์ อุปกรณ์การเรียนการ สอน ตลอดจนกำลงั บุคลากร กรมสามัญศึกษาปรารถนาทีจ่ ะส่งเสริมโรงเรียนนวมนิ ทราชทู ิศ 5 แห่ง ให้มีคุณภาพมาตรฐานสูง มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในด้านการบริหาร การปกครอง นักเรยี นมีระเบียบวินัย มีศีลธรรมจรรยาและมีความกตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ และพระมหากษัตริย์ อย่างดีเยี่ยม ปัจจุบันโรงเรยี นเปิดทำการเรียนการสอนในระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับชั้นมัธยมศกึ ษา ตอนปลาย การก่อต้งั โรงเรยี นนวมินทราชูทิศ มชั ฌิม โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม จังหวัดนครสวรรค์ จัดต้ังข้ึนเม่ือวันที่ 31 มีนาคม 2529สถานที่ตั้งเลขที่ 88/7 หมู่ 10 ถนนนครสวรรค์ – พิษณุโลก ตำบลนครสวรรค์ตก อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000 โทร (056) 220736 แฟกซ์ (056)220736 โดยใช้ค่ายลูกเสือพระบาง มีเนื้อท่ีท้ังส้ินประมาณ 32 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาอนุมตั ิในหลักการ ให้กรมสามัญศึกษา ใช้ประโยชน์ในท่ดี ินดงั กล่าว มีเขตพนื้ ท่ีบริการ 8 ตำบล ไดแ้ ก่ 1. ตำบลนครสวรรคต์ ก 2. ตำบลวดั ไทรย์ 3. ตำบลบางม่วง 4. ตำบลบ้านมะเกลอื 5. ตำบลตะเคียนเล่ือน 6. ตำบลบางพระหลวง 7. ตำบลหนองกรด 8. ตำบลบงึ เสนาท 2

แผนที่โรงเรยี นนวมนิ ทราชูทิศ มัชฌิม 3

ข้อมลู สภาพชุมชนโดยรวม โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม ต้ังอยู่ในเขตชุมชนเทศบาลนครนครสวรรค์ บริเวณใกล้เคียงโดยรอบ โรงเรียน ได้แก่ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ศูนย์วิทยพัฒนาหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศูนย์บริการ สาธารณสุข 2 เทศบาลนครนครสวรรค์ สถานบริการน้ำมัน โรงแรม รา้ นจำหน่ายวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง ร้านค้า ขายเครื่องอุปโภค บริโภค บริษัทตัวแทนจำหน่ายรถมอเตอร์ไซด์ อู่ซ่อมรถยนต์ บ้านท่ีอยู่อาศัย วัดพระบาง มงคล และสถานท่ีประกอบพิธีทางศาสนาอิสลาม การสืบสานประเพณีและศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นท่ีเป็นที่ รจู้ กั โดยทั่วไป คือ งานดอกบวั บานที่บงึ บอระเพ็ด งานประเพณีแห่เจ้าพ่อเจา้ แมน่ ครสวรรค์ งานประเพณีแขง่ เรือ ยาว งานลอยกระทง และงานประเพณสี งกรานต์ ขนาดและที่ตั้งเทศบาลนครนครสวรรค์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ ต้ังอยู่ใจกลางท้องที่ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ อยู่ห่างจากกรงุ เทพมหานครไปทางทิศเหนือประมาณ 237 กิโลเมตร มีพน้ื ที่ในเขตการปกครอง จำนวน 27.87 ตารางกโิ ลเมตร พ้นื ท่ีครอบคลมุ 5 ตำบล ดังนี้ 1. ตำบลปากนำ้ โพท้ังตำบล 2. ตำบลนครสวรรค์ตก หมทู่ ่ี 1 , 4 , 5 , 9 , 10 3. ตำบลนครสวรรคอ์ อก หมู่ท่ี 1 , 4 , 5 , 6 , 7 4. ตำบลวดั ไทร หมู่ที่ 10 , 11 , 12 , 13 5. ตำบลแควใหญ่ หมทู่ ี่ 4 , 7 , 10 สภาพภมู ศิ าสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมิประเทศในเขตเทศบาลส่วนใหญ่เป็นท่ีราบลุ่มโดยมีภูเขาขนาดเล็กอยู่ตอนกลาง ได้แก่ เขากบ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 185.50 เมตรนอกจากน้ียังมีเขาน้อย เขาวัดไทร เขาดาวดึงส์ และเขาโกรกพม่าที่มีลักษณะเป็นภูเขาขนาดเล็กมีแม่น้ำปิงผ่านกลางพ้ืนท่ีตั้งแต่ทางด้าน ทิศเหนืออ้อมมาทางทิศตะวันออกแล้วเลี้ยวลงใต้มารวมกับแม่น้ำน่านบริเวณปากน้ำโพเป็นต้นแม่น้ำเจ้าพระยา ทางด้านทศิ ตะวันออกของเทศบาล สภาพภูมิอากาศ ภูมิอากาศโดยท่ัวไปจะเป็นภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน ท่ีมีลักษณะค่อนข้างร้อนและแห้งแล้ง มีอุณหภูมิสงู สุดโดยเฉล่ีย 34.4 องศาเซลเซียสอณุ หภูมิต่ำสุดโดยเฉลี่ยท่ี 20 องศาเซลเซยี สและอุณหภูมิเฉลี่ยท้ังปี ที่ 28.7 องศาเซลเซียสมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม โดยเฉพาะในเขตเทศบาลถือว่าเป็นบริเวณที่มี ฝนตกชกุ ของจงั หวดั ซึ่งมีฝนตกอยรู่ ะหว่าง 80 - 100 วันต่อปี 4

ข้อมลู พื้นฐานสถานศกึ ษา ชอ่ื สถานศึกษาภาษาไทย นวมนิ ทราชทู ศิ มัชฌิม ชอื่ สถานศกึ ษาภาษาอังกฤษ Navamindarajudis Matchim School เลขทสี่ ถานศกึ ษาต้ังอยู่ เลขท่ี 88/7 หมู่ 10 ถนนนครสวรรค์-พษิ ณโุ ลก หมายเลขโทรศัพท์ ตำบลนครสวรรคต์ ก อำเภอเมอื งนครสวรรค์ หมายเลขโทรสาร จังหวดั นครสวรรค์ 60000 วัน เดือน ปี พ.ศ. ท่กี ่อตง้ั รหัสกระทรวง / กรมต้นสงั กัด 88/7 Moo 10 Nakhonsawan-Pitsanulok Tumbon Nakhonsawantok Amphur Muang รหสั ประเภทสถานศกึ ษา Nakhonsawan 60000 ชอ่ื -สกุลผู้บรหิ ารสถานศึกษา เนื้อที่สถานศกึ ษา โทร (056) 220736 แฟกซ์ (056) 220736 31 มนี าคม 2529 2004 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรยี นมัธยมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา นครสวรรค์ นายชาญณรงค์ ยาสุทธิ 32 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา 5

ความหมายของนามโรงเรียน นวมนิ ทราชูทิศ มชั ฌิม เปน็ มงคลนามพระราชทาน เกดิ จากการสนธคิ ำในภาษา นวม (อา่ นว่า นะ-วะ-มะ) ว. ท่ี 9 เชน่ นวมสรุ ทิน = วนั ท่ี 9. (ป.) อนิ ท (อา่ นว่า อิน-ทะ) น. ชือ่ เทวราชผู้เป็นใหญใ่ นสวรรคช์ ้ันดาวดึงส์และชั้นจาตุมหาราช, พระอินทร์ ; ผ้เู ปน็ ใหญ่. (ป.; ส. อนิ ทฺ ฺร). ราชา (อ่านว่า รา-ชา) น. พระเจา้ แผ่นดนิ , พระมหากษตั รยิ ์. (ป., ส.). อทุ ิศ (อา่ นวา่ อุ-ทดิ ) ก. ให้, ยกให้,ทำเพ่ือ,สละใหโ้ ดยเจาะจง. (ส. อุทฺทศิ ยฺ ; ป.อทุ ฺทิสสฺ วา่ เจาะจง). นวมินทราชูทิศ เกิดจากการสนธิคำว่า นวม กับ อินท เป็น นวมินท และ ราชา กับ อุทิศ เป็น ราชูทิศ จากน้นั นำคำว่า นวมินท มาสมาส กบั คำวา่ ราชทู ศิ เป็น นวมนิ ทราชทู ิศ • นวมินทราชูทิศ (อ่านว่า นะ-วะ-มิน-ทะ-รา-ชู-ทิด) จึงมีความหมายว่า สร้างข้ึนเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็น ราชสักการะแด่พระเจา้ แผน่ ดินผู้ยงิ่ ใหญ่ รัชการท่ี 9 • มชั ฌมิ (อา่ นว่า มัด-ชิม) ช่ือโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ต้องมีช่ือภาคเป็นสร้อยท้ายช่ือเพื่อบอกว่าเป็นโรงเรียนนวมินทราชูทิศประจำ ภ าค ใด เช่ น โรงเรีย น น วมิ น ท ราชู ทิ ศ มั ช ฌิ ม เป็ น โรงเรีย น น ว มิ น ท ราชู ทิ ศ ป ระจ ำภ าค ก ล าง โรงเรียนนวมินทราชทู ิศ ทักษิณ เปน็ โรงเรยี นนวมินทราชทู ศิ ประจำภาคใต้ เปน็ ต้น พระพทุ ธรปู ประจำสถานศึกษา พระสมณโคดม 6

ปรชั ญาโรงเรียน ความรู้ คู่ คณุ ธรรม ปณธิ านของโรงเรยี น นวมินทราชูทศิ น้อมจติ เพื่อในหลวง สัญลักษณ์ของโรงเรยี น พระมหาพิชัยมงกุฎ รองรับด้วยช่ือ \" โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม\" ซ่ึงเป็น ตราที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย-เดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) โปรดเกล้าฯพระราชทานให้เป็นตราสัญลักษณ์ ของโรงเรียน สปี ระจำโรงเรียน นำ้ เงนิ - เหลอื ง สีน้ำเงิน หมายถึง พระมหากษัตรยิ ์ สีเหลือง หมายถึง สีประจำวันจันทร์ ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รชั กาลที่ 9) คำขวญั รักษศ์ ักด์ศิ รี มีคุณธรรม นำวิชาการ สืบสานงานพระราชดำริ ต้นไมป้ ระจำโรงเรียน ต้นราชพฤกษ์ ต้นไม.้ ..ดอกไม.้ ..ประจำชาติไทย สเี หลืองของดอก หมายถึง สีประจำโรงเรียนแทน ความเจริญร่งุ เรอื ง ชอ่ ดอก หมายถงึ ความสามัคคี กล่ินของดอก หมายถึง ช่ือเสยี งท่ีขจรขจาย 7

คณะสใี นโรงเรยี น โรงเรียนนวมนิ ทราชทู ิศ มัชฌิม แบ่งคณะสเี ป็น 6 คณะ โดยมีการอญั เชิญนามวงั และ พระตำหนักในรัชกาลปจั จุบันตามภมู ิภาคต่าง ๆ มาเป็นช่อื คณะสีดังนี้ คณะจิตรลดา อัญเชิญนามพระตำหนกั จิตรลดารโหฐานมาเปน็ ชื่อคณะสี มสี ีแดงเป็นสปี ระจำคณะ คณะไกลกังวล อญั เชิญนามวงั ไกลกังวลมาเปน็ ชื่อคณะสี มีสมี ่วงเปน็ สีประจำคณะ คณะภพู ิงค์ อญั เชญิ นามพระตำหนกั ภพู งิ ค์ราชนเิ วศน์มาเป็นช่อื คณะสี มสี เี ขยี วเป็นสีประจำคณะ คณะทกั ษิณ อัญเชญิ นามพระตำหนกั ทักษิณราชนิเวศน์มาเป็นชอื่ คณะสี มีสชี มพเู ป็นสีประจำคณะ คณะจกั รี อญั เชิญนามพระท่นี ัง่ จักรีมหาปราสาทมาเปน็ ชอ่ื คณะสี มีสีส้มเปน็ สีประจำคณะ คณะภูพาน อญั เชิญนามพระตำหนกั ภพู านราชนิเวศน์มาเปน็ ชอ่ื คณะสี มสี ฟี า้ เป็นสีประจำคณะ 8

เพลงประจำโรงเรยี น เพลงมาร์ชนวมินท์ เราเทิดองคท์ รงชยั จงรกั จอมไทถวายชวี ี นวมินทเ์ ราน้ีทง้ั กายใจพลีเพื่อเกียรตยิ ืนยง ดว้ ยองค์พระภูมนิ ทรช์ ่ือนวมนิ ท์ถวลิ ดำรง การใด ธ ประสงค์นำชยั พระองค์ทรงพระภบู าล เรามีใจพากเพียร เราจะเรียนดว้ ยจติ สราญ มีไมตรีประสานไดเ้ ขยี นเรียนอ่านเจริญนานไกล งามดัง่ ราชพฤกษป์ ระทับรู้สกึ ระลกึ ดวงใจ นวมนิ ทถ์ ่ินไหนทกุ แคว้นแดนไทยให้สามัคคี รู้ค่ธู รรมย่อมนำถงึ คุณความดี รอ้ ยพันปีคุณความดไี มม่ สี ลาย ให้เจรญิ งอกงาม ดั่งช่ือนามความหมาย ผองเราท้ังหญิงชายเราพร้อมใจกายใฝใ่ นการเรียน เพลงรม่ ราชพฤกษ์ ราชพฤกษร์ ะลึกใจว่า นวมนิ ทราชทู ศิ อนั ร่มเย็น ร่มรื่นใจแม้ได้แลเหน็ ยิง่ งามเน้นสงี ามเดน่ นำ้ เงนิ เหลอื ง ปรัชญาความรูค้ ธู่ รรม ครสู อนนำจำไปให้ความรุ่งเรือง ตอ้ งพากเพียรเขียนอา่ นเนืองเนือง จะประเทอื งร่งุ เรอื งเพียบพรอ้ มความดี โรงเรียนเราเพือ่ นเราทง้ั ผอง เปรยี บพีน่ ้องตอ้ งมคี วามรักศักดศ์ิ รี การกีฬาการกจิ ใดมี สามคั ครี ่วมใจมีระเบียบนำ เทดิ องค์พระประมขุ คุ้มเกล้า บญุ ของชาวเราไทยหวั ใจฝงั จำ จะแซซ่ ้องร้องเอ่ยถอ้ ยคำ ปกเกล้าลำ้ บาทบงสุอ์ งค์พระภมู ินทร์ 9

ข้อมูลครแู ละบคุ ลากรจำแนกตามเพศ ลาดบั ตาแหน่ง เพศ รวม ชาย หญงิ 1 ผบู้ ริหาร 32 5 2 ครู 38 74 112 3 ช่วยราชการ 11 2 4 พนักงานราชการ 30 3 5 ครูอตั ราจ้าง 11 2 6 ครูตา่ งชาติ 21 3 7 เจ้าพนักงานการเงนิ และบัญชี 01 1 8 ลูกจ้างประจา 41 5 9 ลูกจ้างช่วั คราว 10 17 27 รวม 62 98 160 10

ข้อมลู ครแู ละบคุ ลากรจำแนกตามระดับการศึกษา วุฒกิ ารศกึ ษา ลาดบั ตาแหน่ง ตากวา่ ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวม ปรญิ ญาตรี 5 1 ผบู้ ริหาร 41 112 2 2 ครู 78 34 3 2 3 ช่วยราชการ 2 3 1 4 พนักงานราชการ 21 5 27 5 ครูอตั ราจ้าง 2 160 6 ครูตา่ งชาติ 3 7 เจ้าพนกั งานการเงินและบัญชี 1 8 ลกู จ้างประจา 32 9 ลูกจ้างชั่วคราว 16 10 1 รวม 19 100 40 1 แผนภูมแิ สดงวฒุ กิ ารศกึ ษาของครูและบุคลากร ต่ากวา่ ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก 1% 25% 12% 62% 11

ขอ้ มูลนักเรียนจำแนกตามเพศและระดับช้นั ขอ้ มลู นกั เรียน ณ วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2563 จำนวนนกั เรียนในโรงเรียนท้งั สิน้ 2,346 คน จำแนกตามเพศและระดับช้ันที่เปิดสอน ระดบั ช้ันเรียน จานวนห้อง เพศ รวม เฉลยี ตอ่ ห้อง ชาย หญงิ ม.1 12 253 225 478 39.83 ม.2 12 254 256 510 42.50 ม.3 12 227 235 462 38.50 รวม 36 734 716 1,450 ม.4 8 114 198 312 39.00 ม.5 8 128 171 299 37.38 ม.6 8 111 174 285 35.63 รวม 24 353 543 896 รวมทง้ั หมด 60 1,087 1,259 2,346 ่จานวน จานวนนักเรยี นแยกตามเพศและระดับช้นั ท่ีเปดิ สอน 300 ม.6 250 111 200 174 150 100 50 0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ชาย 253 254 227 114 128 หญิง 225 256 235 198 171 12

ตอนท่ี 2 ผลการดำเนนิ งานดา้ นการนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา 2.1 ชอ่ื รูปแบบ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มชั ฌิม ใช้รปู แบบการนเิ ทศแบบร่วมพัฒนา (Cooperaive Development Supervision) คือ ปฏิสัมพันธ์ทางการนิเทศระหวา่ งผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์และครู ในกระบวนการนเิ ทศการศึกษาทม่ี งุ่ แกป้ ัญหาและพฒั นาการเรียนการสอนอยา่ งเปน็ ระบบ โดยใช้เทคนคิ การนิเทศ การสอนเป็นปจั จยั หลัก บนพื้นฐานของสมั พนั ธ์ภาพแห่งการร่วมคดิ รว่ มทำ พึงพา ช่วยเหลือ ยอมรบั ซึง่ กันและ กัน ให้เกียรตแิ ละจรงิ ใจต่อกนั ระหว่างผ้นู ิเทศ ผู้สอนและค่สู ัญญา เพื่อร่วมกนั พัฒนาทักษะวชิ าชพี อนั จะสง่ ผล โดยตรงตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา จดุ มุง่ หมายทวั่ ไป การนิเทศแบบรว่ มพัฒนาเป็นการนิเทศทมี่ ุง่ แกป้ ัญหา และพฒั นาการเรยี น การสอนอย่างเปน็ ระบบ เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการเรยี นของนกั เรียน โดยการปรบั ปรงุ การปฏิบัติงานของครูให้เกดิ ประสิทธภิ าพบนพ้นื ฐานของกระบวนการทเี่ กดิ จากความต้องการของครูในการพฒั นาทักษะวิชาชีพ จุดมงุ่ หมายเฉพาะ 1. เพื่อพัฒนาทกั ษะการสอนและทกั ษะการนเิ ทศแกค่ รูอย่างเป็นระบบ โดยใช้วิธีการนเิ ทศ ตนเอง นิเทศโยเพื่อนคูส่ ัญญา นิเทศโดยนเิ ทศภายในโรงเรียนและนิเทศโดยศึกษานเิ ทศก์ 2. เพื่อเสรมิ สรา้ งสมั พนั ธภาพทางวิชาชีพระหวา่ งครูและศึกษานเิ ทศกใ์ หก้ ระชบั มน่ั ยงิ่ ข้นึ 3. เพอ่ื สร้างเสรมิ เจตคตทิ ่ดี ตี ่อการนเิ ทศการสอนให้แก่ผ้บู ริหารสถานศึกษาและครู ใหเ้ กิดความ มนั่ ใจว่าการนเิ ทศการสอนสามารถชว่ ยครูแกป้ ัญหาและพัฒนาการเรยี นการสอนได้ 4. เพื่อกระตนุ้ ให้ครเู ป็นผ้นู ำในการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน เหน็ ความสำคัญและ ประโยชน์ของการนิเทศ พฒั นาตนเองเป็นผ้นู ำการนเิ ทศภายในโรงเรยี น สามารถนเิ ทศตนเองและนเิ ทศเพ่ือนครู ดว้ ยกันอย่างมีหลักวิชาและมีรูปแบบที่ชัดเจน 5. เพอื่ ให้ครูเกิดความภาคภูมิใจในวิชาชพี และมุ่งมัน่ พฒั นาตนเองเปน็ ครมู ืออาชีพอย่าง มาตรฐาน และรกั ษาระดับคุณภาพไว้อยา่ งต่อเนือ่ ง 6. เพือ่ ให้ศกึ ษานิเทศก์ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง พัฒนาสอ่ื การนเิ ทศ พฒั นาเทคนิค วธิ กี ารนเิ ทศ และนำไปสู่การพัฒนาครูอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 7. เพ่อื พัฒนาศาสตรท์ างการนิเทศการศกึ ษา ให้สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการ ตลอดจนกระแสสังคมและสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน โดยเน้นให้เกดิ ประโยชน์ต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้ มากทสี่ ดุ 13

14

ลกั ษณะสำคญั ของการนิเทศแบบร่วมพัฒนา ปฏิสัมพนั ธ์ทางการนเิ ทศจากใจถงึ ใจ บนพนื้ ฐานของความรัก ความเข้าใจและ ความจริงใจต่อกันในการพัฒนาทักษะวิชาชพี ซง่ึ มลี กั ษณะสำคัญดงั นี้ 1. เป็นการนิเทศที่พัฒนามาจากการผสมผสานกันระหว่างการนิเทศจากบุคลากร ภายนอกและการนิเทศภายในโรงเรียน โยมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วย วิธกี ารที่เปน็ ระบบและมขี ัน้ ตอนการดำเนินงานท่ชี ดั เจน 2. ในกระบวนการปฏสิ ัมพันธ์ทางการนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนา จะมีศูนย์กลางอยทู่ ี่ตวั ครใู น กลุ่มสาระการเรียนรู้และโรงเรียน ซึงมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน เช่น หัวหน้ากุล่มสาระการเรียนรู้มีหน้าท่ีเป็นผู้ นิเทศหรือคู่สัญญา (ถ้าผู้รับนิเทศต้องการ) เพื่อนครูท่ีสนิทสนมไว้วางใจกันและพร้อมท่ีจะร่วมมือกันในการพัฒนา ทักษะวชิ าชีพ มบี ทบาทหนา้ ทเ่ี ปน็ ค้สู ญั ญา และครทู ี่มีความสนใจต้องการมสี ่วนรว่ มแตย่ ังขาดความพร้อม สามารถ มีส่วนร่วมได้ในบทบาทของเพ่ือนร่วมอุดมการณ์ และมีเครือข่ายที่เป็นบุคลากรจากภายนอก เช่น ศึกษานิเทศก์ หรือครผู ู้ร่วมนเิ ทศ ซ่งึ กจ็ ะมีบทบาทเปน็ ผูน้ เิ ทศหรอื ทปี่ รึกษา 3. เป็นรูปแบบการนิเทศท่ีให้ความสำคัญท้ังกระบวนการนิเทศทั่วไป และกระบวนการ นิเทศการสอน โดยท้ังสองกระบวนการจะเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน และส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียน การสอนดีข้ึน และสำหรับการนิเทศการสอนในรูปแบบของการนิเทศแบบร่วมพัฒนานี้ได้พัฒนามาจากแนวคิดใน การนเิ ทศการสอนแบบคลินิกและการนิเทศเชิงเน้นวตั ถุประสงค์ 4. เป็นการวมกลุ่มกัน เพ่ือพัฒนาวิชาชีพของครูท่ีมีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพสูงและ มีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาความเจริญงอกงามทางวิชาชีพ โดยกำหนดเป็นโครงการนิเทศ มีระยะเวลาใน การดำเนินงาน สามารถติดตามผลการปฏิบัติงานได้ ซ่ึงผู้บริหารสถานศึกษาและผู้นิเทศจะต้องรับรูเมีส่วนร่วม ในการติดตามผล ให้ความสนบั สนุนและอำนวยความสะดวก 5. เน้นหลักประชาธิปไตยในการนิเทศ โดยครูจะมีเสรีภาพในการนิเทศ เลือกผู้นิเทศ เลือกคู่สัญญา เลือกเวลาในการปฏิบัติการนิเทศ เลือกบทเรียนท่ีจะสอน เลือกเครื่องมือสังเกตการสอน ในการนิเทศการสอน ครูสามารถเลือกวิธีการนิเทศตนเอง คือ สังเกตพฤติกรรมการสอนของตนเองแทนที่จะให้ ผู้นิเทศหรือคู่สัญญาหรือศึกษานิเทศก์เข้าไปสังเกตการสอนหรือถ้าหากครูมีความพร้อมใจ ต้องการให้ผู้นิเทศหรือ คู่สัญญาเข้าไปสังเกตการสอน ครูก็สามารถเลือกหรือรับรู้ทำความเข้าใจกับเครื่องมือสังเกตการสอน จนเป็นที่ พอใจและไมม่ คี วามวติ กกงั วลต่อผลของการใชเ้ คร่ืองมอื สังเกตการสอนนั้นๆ 6. การสังเกตการสอนในกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนา ผู้นิเทศต้องไม่สร้าง ภาพพจน์ในการวัดผลหรือประเมินผลการสอน แต่จะเป็นการบันทึกและอธิบายภาพทเ่ี กิดขน้ึ ในหอ้ งเรียนว่าผ้สู อน มีพฤติกรรมอย่างไร มากนอ้ ยเทา่ ใด ไม่ใช่ดีหรอื ไม่ดีอย่างไรเพราะไม่ตอ้ งการใหค้ รเู กิดความรู้หว่ันกลัวการประเมิน และวิตกกังวลตอ่ ปฏิสมั พันธท์ างการนเิ ทศ 7. การสังเกตการสอนในกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนาจะเน้นท่ีการสังเกตตนเอง เชิงเน้นวัตถุประสงคเ์ ป็นหลกั โดยมเี ครือ่ งมอื สงั เกตการสอนที่สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ท่ีตอ้ งการนิเทศซึง่ ข้ึนอยูก่ ับ 15

ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ส่วนการสังเกตการสอนโดยคู่สัญญาหรือผู้นิเทศอ่ืน ๆ เช่น หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หรอื ศกึ ษานิเทศก์ จะเกิดข้ึนไดต้ ่อเมอ่ื เปน็ ความตอ้ งการของครผู ูน้ ั้น 8. การวิเคราะห์พฤติกรรมการสอนของครู จะต้องข้ึนอยู่กับข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การสอนไม่ใช่จากความคิดเหน็ สว่ นตัว ค่านิยม หรือประสบการณ์ของผู้นิเทศเอง 9. การใช้ข้อมูลป้อนกลับหลังจากการสังเกตการสอน และการวิเคราะห์พฤติกรรม การสอนผ้นู ิเทศจะใชเ้ ทคนิคนิเทศทางอ้อม เพอ่ื พัฒนาให้ครูสามารถวางแผนการสอนได้เอง วเิ คราะห์การสอนของ ตนเองได้ ประเมนิ ผลการสอนของตนเองได้ และสามารถนเิ ทศตนเอวได้ในที่สดุ 10. การปฏิบัติการนิเทศ ยึดหลักการนิเทศแบบมีส่วนร่วม คือ ท้ังผู้นิเทศและผู้รับ การนิเทศจะทำงานร่วมกนั ท่ังกระบวนการ ต้งั แต่การหาความต้องการจำเป็นในการนเิ ทศ การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ ในการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การดำเนินการนิเทศและการประเมินผลการนิเทศด้วยความเสมอภาคกัน ยอมรบั ยกยอ่ ง ใหเ้ กียรติซึ่งกันและกนั ในฐานะผรู้ ่วมวชิ าชีพ 11.ในกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนา ไดใ้ ห้ความสำคญั ตอ่ การเสรมิ ขวญั และกำลังใจ แก่ผู้ปฏิบัติการในทุกขั้นตอนของการดำเนินงาน ท้ังน้ีเพ่ือให้ครูเกิดความภาคภูมิใจและเกิดความสุขในวิชาชีพ มีพลังท่จี ะแกไ้ ข ปรับปรงุ การปฏบิ ัตงิ าน แลละมคี วามพึงพอใจที่จะนำข้อนเิ ทศไปปฏิบัตใิ หเ้ กิดผลอย่างต่อเน่ือง 12. การนิเทศแบบร่วมพัฒนา เป็นการนิเทศที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลักสำคัญใน การแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอน เป็นการทำงานอย่างเป็นระบบ แต่สามารถยดื หยุ่นไดต้ ามสถานการณ์ ที่เหมาะสม 13. เป็นการนิเทศท่ียึดหลักการเชิงมนุษย์นิยม เป็นการทำงานร่วมกันด้วยความจริงใจ เช่อื มน่ั เข้าใจซึง่ กันและกนั ชว่ ยเหลอื ร่วมมือและสนับสนนุ ตอ่ กันในการพัฒนาความกา้ วหนา้ ทางวิชาชพี 14. ผู้นิเทศและครูมีโอกาสวิเคราะห์พฤติกรรมการนิเทศและปฏิสัมพันธ์ทางการนิเทศ ร่วมกัน เพื่อจะไดแ้ กไ้ ขข้อบกพร่อง และช่วยกันวางแผนในการพัฒนาปฏิสมั พันธท์ างการนิเทศใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ และสัมพนั ธภาพที่ดตี อ่ กัน 15. มรี ูปแบบในการสร้างและพัฒนาเครือข่ายแนวร่วมในการขยายผลตามลำดับข้ันของ การมสี ่วนร่วม เปน็ การสรา้ งแรงจูงใจให้แก่ผูด้ ำเนนิ งาน และผู้ทม่ี ีความสนใจจะอาสาเขา้ ร่วมดำเนินงาน ใชเ้ ทคนิค วิธีการขยายผลโดยการ \"ขายตรง\" และ \"การมีสว่ นร่วม\" โดยคอ่ ยๆขายบความคิดและเชญิ ชวนให้เข้ามามีส่วนร่วม ท่ีละน้อย ในฐานะ \"เพื่อนร่วมอุดมการณ์\"จนกว่าจะเกิดความพร้อมท่ีจะอาสาเข้าร่วมดำเนินการด้วยอย่างเต็มตัว และเมื่อเข้าร่วมดำเนินการแล้ว มีผลการดำเนินงานดีเด่น มีประสิทธิภาพ มีเครือข่ายแนวร่วมเป็นจำนวนมาก ก็จะได้รับการเสริมแรงในลักษณะต่างๆ ซึ่งเทคนิคนี้เรียกว่าเทคนิค \"การสร้างรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์\" เพ่ือการพัฒนา ทต่ี อ่ เน่ืองและไมห่ ยุดยงั้ กระบวนการนเิ ทศแบบร่วมพฒั นา ขัน้ ที่ 1 การวางแผนการดำเนนิ งาน (Planning-P) เป็นขั้นตอนทผ่ี ู้มีส่วนร่วมใน การดำเนนิ งานทกุ ฝ่ายจะประชุมหารือกนั ถึงปญั หาในการจดั การเรียนการสอนที่เป็นปัญหาสำคญั เร่งด่วนควรแก้ไข ก่อน และหรือนโยบายในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนโดยจะระดมสมองหาความต้องการ 16

จำเป็น (Need Assessment) ในเร่ืองท่ีจะต้องมีการนิเทศ รวมท้ังร่วมกันวางแผนและกำหนดขั้นตอน การปฏิบัติงานนิเทศ ซ่ึงอาจจะดำเนินการในลักษณะของงานหรือโครงการนิเทศเพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนา การเรยี นการสอน ข้ันที่ 2 การเสริมสร้างความรู้ในการปฏิบัติงาน (Informing-I) เป็นขั้นตอนของ การทำความเข้าใจกระบวนการนิเทศท้ังระบบ และวิธีการดำเนนิ งานในแต่ละขน้ั ของการนิเทศ เพอ่ื ใหผ้ ู้ดำเนินงาน มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ และมีเทคนิคในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพขั้นตอนน้ีนอกจากจะเป็น การชว่ ยให้ผู้ดำเนินงานสามารถทำงานได้อย่างมีคุณภาพแล้ว ยังเป็นการเสรมิ สร้างความม่ันใจในการทำงานให้แก่ ผ้ดู ำเนนิ งานอีกดว้ ย ข้ันท่ี 3การปฏิบัติงานตามแผน (Doing - D) เมื่อผู้ดำเนินงานได้ผ่านข่ีนตอน การวางแผนและข้ันตอนการเสริมสร้างความรู้ในการปฏิบัติงานไปแล้ว การปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ในแต่ละ ขั้นตอนอย่างเป็นระบบท้ังในส่วนของผู้ให้การนิเทศ ผู้รับการนิเทศ และผู้สนับสนุนการนิเทศก็จะดำเนินไป ตามปฏิทินปฏิบัติงานท่ีได้ตกลงร่วมกันและกำหนเดไว้ในแผน โดยจะได้รับความช่วยเหลือและร่วมมือจากผู้นิเทศ ภายนอก เช่น ศึกษานิเทศก์ ครูผู้ร่วมนิเทศ ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน และเครือข่ายจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งผู้นิเทศภายในโรงเรียนเช่น หัวหน้ากลมุ่ สาระ คู่สัญญา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ขั้น ท่ี 4 การประเมิน ผลการปฏิบัติงาน (Evaluation - E) การประเมินผล การปฏิบัติงานหรือโครงการนิเทศ ควรดำเนินการประเมินทั้งระบบ เพ่ือให้ทราบประสิทธิภาพของโครงการจึง ควรจะประเมินส่ิงต่างๆ ตามลำดับของความสำคัญ ดังน้ี 1) ผลผลติ ทีไ่ ดจ้ ากการนเิ ทศ (Output) คือ สัมฤทธผิ ลติ การเรยี นของผู้เรียน และการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมของผู้รบั การนิเทศตามเป้าหมายของการนิเทศน้ัน ได้แก่ ผลที่เกดิ ข้ึนจากการนิเทศ (ระดับความสามารถในการทำงานของผู้รับการนิเทศ การเพ่ิมจำนวนของบุคลากรท่ีมีคุณภาพภายในหน่วยงาน ความต้ังใจในการทำงานของบุคลากร และความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน) และผลท่ีเกิดขึ้นระหว่าง การดำเนินการนิเทศ(เจตคติของผู้รับการนิเทศท่ีมีต่องานและต่อผู้ร่วมงาน ระดับความพึงพอใจในการทำงาน ความผูกพันของผู้รับการนิเทศที่มีต่อเป้าหมายในการทำงาน ระดับของจุดมุ่งหมายท่ีจัดต้ังข้ึน ระดับความร่วมมือ รว่ มใจที่มีต่อกลุ่มทำงาน ความเชอ่ื ม่นั และความไว้ว่างใจในตนเอง เพ่ือนร่วมงานและผู้บงั คับบัญชา และความร้สู ึก ของผรู้ บั การนเิ ทศท่มี ีตอ่ สภาพแวดล้อมในการทำงาน) 2) กระบวนการดำเนินงาน (Process) คือ ความเหมาะสมของขั้นตอนใน การทำงาน ความเหมาะสมของการจัดกิจกรรม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ริเทศกับผู้รับการนิเทศและบรรยากาศใน การทำงาน 3) ปัจจัยป้อนเข้า (Input) คือ การลงทุนในด้านทรัพยากรมนุษย์ วัสดุอุปกรณ์ สื่อการนิเทศ เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ งบประมาณการเงิน รวมท้ังระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงานตาม โครงการ 17

ข้ันที่ 5 การเผยแพร่ขยายผล (Diffusing - D) ในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อเป็น การเสริมสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน ส่วนการขยายเครืออข่ายการดำเนินงานนิเทศ โดยใช้เทคนิค การขายความคิด ให้เกิดความเชื่อถือ ศรัทธา แล้วจึงใช้เทคนิคการเชิญชวนให้เข้ามามีส่วนร่วมที่ละน้อย ในฐานะ เพื่อร่วมอาชีพหรืออดุ มการณ์ จนเกิดความพร้อมท่จี ะเขา้ รว่ มดำเนนิ การดว้ ยอย่างเต็มตัว ในฐานะ \"ครูปฏิบตั ิการ\" หรือ ฐานะ \"คู่สัญญา\" และเมื่อดำเนินการงานได้ผลดี มีเครือข่ายแนวร่วมเพ่ิมมากข้ึน ครูปฏิบัติการก็จะได้ ปรับเปล่ียนบทบาทขึ้นเป็นผู้นิเทศเครือข่ายผู้ปฏิบัติการรุ่นต่อไป ซ่ึงนับว่าเป็นการให้แรงเสริมแก่ผู้ปฏิบัติงาน หรือเรียกว่าใช้เทคนิค \"การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์\" นับว่า เป็นกลวิธีการเผยแพร่และขยายผลท่ีมีประสิทธิภาพ โดยเน้นความพร้อมหรือความสมัครใจของครูเป็นหลัก ขั้นเสริม การร่วมใจและการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ (Cooperating - C Reinforcing - R) นับว่าเป็นกลไกสำคัญท่ีจะทำให้ผลการดำเนินงานได้ทั้งคน งานและจิตใจท่ี ผูกพันอย่กู ับงาน กระบวนการนิเทศการสอนแบบรว่ มพัฒนา กระบวนการนเทศการสอนแบบร่วมพัฒนา เป็นกระบวนการนิเทศการสอนในชั้นเรียนอย่าง มีระบบครบวงจร โดยเน้นการสังเกตการสอนอย่างมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำข้อมูลมาแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียน การสอน โดยมขี น้ั ตอนการดำเนินงาน ดังตอ่ ไปน้ี ข้ันตอนท่ี 1 คู่สัญญาตกลงร่วมกัน เป็นขั้นตอนที่ครู 2 คนท่ีสนิทสนมไว้วางใจซึ่งกันและกัน ได้ตกลงร่วมกันในการท่ีจะพัฒนาทักษะวิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์จะร่วมกันแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน หรือปรับปรุงพฤติกรรมการสอน โดยฝ่ายหน่ึงเป็นผู้สอน และอีกฝ่ายหน่ึงทำหน้าที่เป็นคู่สัญญา คอยให้ ความช่วยเหลือ แนะนำ ให้คำปรึกษาและให้กำลังใจ ซ่ึงสัมพันธภาพของคู่สัญญา จะดำเนินไปในลักษณะของ เพื่อนร่วมอาชีพที่มีเจตนารมณ์และอุดมการณ์เดียวกัน ความสัมพันธ์ของคู่สัญญาทั้งสองจะอยู่บนพ้ืนฐานของ ความเป็นประชาธิปไตย ความเสมอภาค การยอมรับซึ่งกันและกัน มีความจริงใจ ให้เกียรติกัน มีความพร้อมที่ จะร่วมมอื ชว่ ยเหลอื กันในการแกป้ ญั หา และพัฒนาการเรยี นการสอนใหเ้ กดิ สมั ฤทธิผลจนเปน็ ที่พอใจร่วมกนั ข้ันตอนท่ี 2 วิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอนร่วมกัน เป็นข้ันท่ีครูผู้สอนจะนำปัญหาท่ีพบ ในการจัดการเรียนการสอนมาปรึกษาหารือกับคู่สญั ญา เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการแก้ปัญหา และรว่ มกัน วเิ คราะห์หาสาเหตุของปัญหา ซ่ึงอาจใช้แผนภูมิก้างปลาในการศึกษาสาเหตุของปญั หา และชว่ ยกันรวบรวมข้อมูล ต่าง ๆ ที่จะเป็นแนวทางในการวางแผนแก้ปัญหา โดยอาจนำปัญหาและสาเหตุท่ีวิเคราะห์ได้ไปปรึกษาหัวหน้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งมีบทบาทเป็นผู้นิเทศโดยตรงอยู่แล้ว หรือปรึกษาหารือเพ่ือนร่วมงานในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ซึ่งอาจเปน็ ผูเ้ ชี่ยวชาญหรือมปี ระสบการณ์เกย่ี วกบั ปญั หาในลักษณะเดยี วกนั มาแล้ว ขัน้ ตอนที่ 3 กำหนดวัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา เป็นขั้นตอนท่ีผู้สอนจะตกลงใจ เลือกปัญหาที่สำคัญ และต้องการแก้ไขก่อนมาระบุวัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา ส่วนคู่สัญญาจะมี หนา้ ทคี่ อยเป็นคคู่ ิดใหค้ ำปรกึ ษาและให้กำลังใจ ขั้นตอนที่ 4 วางแผนการสอนและผลิตส่ือ เป็นขั้นตอนท่ีผู้สอนจะนำจุดประสงคืการเรียนรู้ และเนื้อหาท่ีต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนท้ังจากในบทเรียน และส่ืออ่ืน ๆ มาวิเคราะห์ร่วมกับคู่สัญญา เพื่อวาง แผนการสอนและเตรียมการผลิตส่ือประกอบการสอน โดยคู่สัญญาจะทำงานร่วมกันกับผู้สอนพร้อมทั้งช่วย 18

ปรับปรุง แก้ไขแผนการสอน และส่ือให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยทั้งคู่จะรับผิดชอบร่วมกันในผลของการสอน ในกรณีท่ีผสู้ อนต้องการให้คู่สัญญาเข้าไปสงั เกตการสอน คู่สญั ญาจะได้เข้าใจบทเรียนเพ่ิมขึ้น จากการเข้าไปมสี ่วน รว่ มในการวางแผนการสอน เม่ือผู้สอนเตรียมการสอนเรียบร้อยแลว้ คู่สัญญาก็จะให้กำลังใจ เพอื่ ช่วยใหผ้ ู้สอนเกิด ความมนั่ ใจ และเกิดพลังทจ่ี ะดำเนนิ การสอนใหเ้ กิดสัมฤทธิ์ตามจุดประสงค์ทต่ี ั้งไว้ ขั้นตอนท่ี 5 วางแผนการนิเทศการสอน เป็นขั้นท่ีทั้งผู้สอนและคู่สัญญาจะวางแผนร่วมกัน โดยกำหนดวิธีการและแนวปฏิบัติในการสังเกตการสอนในช้ันเรียน รวมท้ังช่วยกันสร้างเครื่องมือสังเกตการสอน ที่เฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงค์ในการนิเทศแต่ละคร้ังหรือเลือกเครื่องมือสังเกตการสอนท่ีมีอยู่แล้ว และทำ ความเข้าใจเก่ยี วกับเครื่องมอื สังเกตการสอนที่จะใชร้ วมทง้ั อปุ กรณ์ที่จำเป็นต้องใชใ้ นขณะสังเกตการสอน ตลอดจน สร้างข้อตกลงร่วมกันว่าในขณะสอนและสังเกตการสอน ผู้สอนจะอนุญาตให้คู่สัญญาเข้าไปสังเกตการสอนอยู่หลัง ชั้นเรียน หรือจะให้คู่สัญญามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนหรือร่วมกิจกรรมด้วย ตลอดจนตกลงร่วมกันว่า จะแจ้งให้ผู้เรียนทราบหรือไม่ว่าคาบเรยี นรี้จะมีผู้มาสังเกตการสอน จะสังเกตตลอดทั้งคาบเรียนหรือช่วงเวลาหน่ึง ทงั้ น้ี ข้อตกลงทง้ั หมดตอ้ งอยู่ในความยินยอมพร้อมใจ หรือความต้องการของผู้สอนทั้งสิ้น เพ่ือผ้สู อนจะได้สบายใจ ไม่วิตกกังวลต่อพฤติกรรมการสังเกตการสอนของคู่สัญญา ในกรณีท่ีผู้สอนต้องการจะสังเกตการสอนด้วยตนเอง คู่สัญญาก็จะมีหน้าท่ีเพียงให้ความร่วมมือช่วยเหลือและให้ข้อเสนอแนะในการสร้างหรือเลือกใช้เคร่ืองมือสังเกต การสอนทเ่ี หมาะสมเทา่ นั้น ขั้นตอนท่ี 6 สอนและสังเกตการสอน เป็นการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการเรียน การสอนของนักเรียนและครู ตลอดจนสภาพการณ์ทุกอยา่ งทเี่ กิดขนึ้ ในห้องเรียน การสงั เกตการสอนเปรยี บเสมอื น การนำกระจกบานใหญ่ไปตั้งไว้หลังชั้นเรียน เพ่ือสะท้อนให้เห็นว่าในห้องเรียนน้ันมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง และผู้สังเกต กจ็ ะบันทึกข้อมูลทีร่ วบรวมได้ไปวิเคราะห์ สงั เคราะห์ หรือพิจารณา วนิ ิจฉัย เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุง แก้ไข พฤตกิ รรมการเรียนการสอนต่อไป ข้ันตอนท่ี7วิเคราะห์ผลการสอนและผลการสังเกตการสอน เป็นข้ันท่ีคู่สัญญาจะร่วมกัน วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้จากการสังเกตการสอน ซ่ึงจะค้นพบพฤติกรรมทั้งที่ประสบความสำเร็จอย่างเด่นชัด ของผสู้ อน และพฤติกรรมท่ีควรปรับปรุง แก้ไข ในด้านต่าง ๆ ซึ่งผสู้ ังเกตไดร้ วบรวมไว้ท้ังหมด ตลอดจนขอ้ มลู หรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี กิดข้ึนในขณะการเรยี นการสอนกำลงั ดำเนนิ อยู่ ผู้สงั เกตการสอนและผู้สอนจะรว่ มกันวิเคราะห์ แปลความ ตีความพฤติกรรมท่ีสังเกตได้ และนำผลการวิเคราะห์ มาอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกันบน พื้นฐานของความเสมอภาคจริงใจ และมีความมุ่งหวงั อยา่ งเดียวกนั คอื การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน ขั้นตอนที่ 8 ให้ข้อมูลป้อนกลับซ่ึงกันและกัน เป็นขั้นตอนเสรีมสร้างขวัญ ที่ผู้ทำหน้าที่นิเทศ จะต้องใช้เทคนิคหรือกลวิธีหรือทักษะท่ีละเอียดอ่อน ที่มีประสิทธิภาพ (เทคนิควิธีการนิเทศทางอ้อม ของ นิพนธ์ ไทยพานิช ดังนี้ คือ ผนู้ ิเทศจะต้องพดู น้อย ฟงั มาก ยอมรับและใช้ความคิดของครใู ห้เป็นประโยชนต์ ่อการนิเทศ ใช้ คำถามช่วยคลี่คลายทำให้กระจ่างชัดเจนขึ้น ให้คำยกย่อง ชมเชยในผลงานของครู หลีกเล่ียงการให้คำแนะนำ โดยตรง หากจำเป็นควรเสนอทางเลือกให้หลาย ๆ วิธีเพ่ือให้ครูเลือกวิธีการที่เหมาะสมเอง การสนับสนุนครูคำ พ๔ด แบะการยอมรับและใช้ความรู้สึกของครูให้เป็นประโยชน์ หรือ ใช้แซนวิช เทคนิค ของ Bittlle ดังน้ี ชมเชย ยกย่อง ยอมรับในผลงานท่ีประสบความสำเร็จของครู อภิปราย-พูดคุยถึงพฤติกรรมท่ีควรปรับปรุงแก้ไขเพียง 19

เล็กน้อย สรปุ ผลงาน แนะวิธีแกไ้ ข ให้กำลังใจครซู ้ำอกี เพื่อจะไดเ้ กิดพลังในการนำขอ้ เสนอแนะไปปฏิบตั ิให้เกิดผล) ประกอบกับตอ้ งมีศลิ ปะในการพดู ผนวกกับการใช้จิตวทิ ยาในการใหค้ ำปรกึ ษาซึง่ ไม่ควรให้มากเกินไปและไมค่ วรให้ ในส่ิงท่ีเป็นข้อจำกัด ผ้นู ิเทศจะต้องเลือกเฉพาะพฤติกรรมทค่ี าดคะเนว่าครูจะสามารถปรับปรงุ หรือเปลีย่ นแปลงได้ เท่าน้ัน การให้ข้อมูลป้อนกลับ ต้องคำนึงสัมพันธภาพทางวิชาชีพที่ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของพฤติกรรม ดังต่อไปน้ี คือ ต้องเกิดจากความต้องการของครู มุ่งพัฒนาทักษะวิชาชีพ ร่วมมือกันในฐานะเพ่ือนร่วมวิชาชีพ มุ่งเฉพาะ พฤติกรรมการเรียนการสอนไม่ใช่บุคลิกภาพของครู ครูมีความพร้อมท่ีจะรับ สถานท่ีและจังหวะเวลาที่เหมาะสม ครูมีส่วนร่วมทกุ ขั้นตอน อย่าให้มากเกินไป หลีกเล่ยี งการใช้คำนิยมส่วนตัว ใหใ้ นลกั ษณะเชิญชวน ไม่ใช่การวัดผล การสอนของครู อยู่บนพ้ืนฐานของการนิเทศทางอ้อม ประชาธิปไตย เสมอภาค จริงใจ ให้เกียรติกัน ยอมรบั ซ่ึงกัน และกนั ข้ันตอนท่ี 9 วางแผนการสอนและการนิเทศการสอนต่อเน่ือง เป็นการเร่ิมต้นวัฏจักรของ กระบวนการนิเทศอีกรอบหน่ึง เพ่ือให้ครู และผู้นิเทศมีโอกาสทบทวนกระบวนการเรียนการสอนร่วมกันอีกคร้ัง หนึ่ง และมีโอกาสเลือกพฤติกรรมการเรียนการสอนท่ีประสบความสำเร็จไปในการสอนคร้ังต่อไป รวมทั้งเลือก พฤติกรรมการเรียนการสอนที่ควรปรับปรุงในวัฏจักรเก่าไปร่วมกันศึกษาหาแนวทางและวางแผนในการปรับปรุง โดยการนำพาไปทดลองสอนและสังเกตการสอนอีกครั้งหนึ่งในวัฏจักรใหม่ เทคนิคในการนิเทศของผู้นิเทศและ ความมุง่ ม่นั ของผรู้ บั การนเิ ทศจะนำไปสู่ความเปน็ ครมู ืออาชีพ (Professional Teacher) 2.2 สภาพปัจจบุ นั /ปัญหา การจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ให้โรงเรียนประสานความร่วมมือ ส่งเสริม สนับสนุนครูผู้สอน จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนการสอนท่ีเอื้ออำนวยให้ผู้เรียนได้เป็นศูนย์กลางของ การเรียนรูอ้ ย่างแทจ้ ริง เป็นท่ีทราบกันดีว่าการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา น้นั “ครู” นับวา่ เปน็ บคุ คลสำคญั ที่มีความใกล้ชดิ และสง่ ผลโดยตรงต่อการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนมากทสี่ ุด“คร”ู ในฐานะ กลไกหลักของการเรียนการสอน จึงต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ด้วยการศึกษา ค้นคว้าเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญจัดการเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการ วิจัยเพื่อพัฒนา ปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนการสอน บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ โดยยึดหลักว่า ทุกแห่งเป็นแหล่งเรียนรู้และทุกสิ่งที่พบล้วนเป็นสื่อการเรียนรู้ ให้อิสระแก่ผู้เรียนใน การแสวงหาความรู้ ความคิดด้วยการลงมือปฏิบัติจริง คอยให้คำปรึกษา แนะนำ เสริมแรงและเป็นตัวแบบท่ีดี เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ยอมรบั และพัฒนาตนเองไปสู่บุคคลแห่งการเรียนรู้ เป็นขอ้ สนับสนุนอยา่ งชัดเจนว่า การจัดการศึกษาจะสำเร็จหรือล้มเหลวนั้นขึ้นอยู่กับครูผู้สอน ท่ามกลางความผันผวนและการเปล่ียนแปลงท่ีไม่ หยุดน่ิง ภาระงานของครูที่ต้องสร้างผู้เรียนให้ดำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและมีคุณลักษณะตามท่ีสังคม ปรารถนา จะตอ้ งปรงั ปรงุ พฒั นาตนเองอย่เู สมอ 20

การพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและเจตคติท่ีดี สอดคล้องกับการจัดการศึกษา และการพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางท่ีพึงประสงค์นั้นถือเป็นเรอ่ื งที่มีความสำคัญอย่างย่ิงหากจะรอคอย ให้หน่วยงาน ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือ หน่วยงานภายนอกจัดการพัฒนาครูและบุคลากร ก็ไม่อาจเป็นหลักประกันได้ว่า การจัดการพัฒนาน้ันๆ จะสอดคล้องตรงตามความต้องการของบุคลกรภายในโรงเรียนหรือไม่ กระบวนการนิเทศ ภายในจึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในการพัฒนาครูและบุคลากรของหน่วยงาน ด้วยการพ่ึงพาตนเอง กลุ่มเครือข่าย ความร่วมมือ ระบบบริหารภายในองคก์ ร การแลกเปล่ียนเรยี นรู้และประสบการณ์ จึงเป็นวิธกี ารสำคญั ทีจ่ ะสามารถ สนองความตอ้ งการในการพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรสายงานการสอนได้ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม ให้ความสำคัญกับการพัฒนาครูผู้สอนเพ่ือให้ขีดความสามารถ ในการจัดการเรียนรู้ นำพาผู้เรียนบรรลุเป้าหมายตามที่หลักสูตรกำหนด โดยมุ่งพัฒนาครูและบุคลากร ส่งเสริม สนับสนุนให้พัฒนาตนเอง และจัดกิจกรรมนิเทศภายในโรงเรียนท้ังแบบเป็นทางการ เช่น การสนทนาทางวิชาการ การประชุมย่อย การศึกษาเอกสาร และการนิเทศแบบเป็นทางการที่มีการกำหนดไว้เป็นแผนการนิเทศภายใน ท่ีชัดเจน ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเน่ืองโดยมีจุดเน้นในการพัฒนาแตกต่างกันออกไปในแต่ละปีการศึกษา ทัง้ นี้เปน็ ไปตามสภาพปญั หาและความตอ้ งการในการพฒั นาของโรงเรียนและบุคลากร ที่มาของปัญหาและความต้องการในการพัฒนา การจดั การเรยี นการสอนในปีการศกึ ษา 2562 ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรายวิชา พืน้ ฐาน ในระดบั 2.5 ข้ึนไป ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ปกี ารศกึ ษา 2562 ชัน้ ปกี ารศึกษา 2562 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ไทย คณติ วิทย์ สังคม สขุ ศึกษาฯ ศิลปะ การงาน อังกฤษ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 64.39 44.47 63.69 75.69 69.14 69.69 77.89 54.29 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 65.72 54.31 68.27 69.16 87.28 75.63 93.44 17.11 มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 67.45 27.86 68.15 61.88 74.93 69.38 76.31 29.71 มธั ยมศึกษาปีที่ 6 82.98 50.72 72.76 86.13 94.06 83.33 90.78 33.82 83.14 36.09 47.74 80.92 80.70 83.80 - 28.88 83.16 49.06 62.61 67.67 95.54 91.10 90.74 38.53 คา่ เฉลย่ี ท้ังโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2562 66.31 เพ่ิมข้นึ จากปีการศกึ ษา 2561 ร้อยละ 6.25 จากตารางข้างต้นจะเห็นได้ว่า มีผลการทดสอบในภาพรวมนักเรียนมีผลการเรียนมากกว่าในปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 6.25 แตผ่ ลการเรยี นยังไมถ่ ึงค่าเป้าหมายทีโ่ รงเรียนกำหนดท่ตี อ้ งเพ่มิ ขนึ้ รอ้ ยละ 10 ผลคะแนนที่ปรากฏ สอดคล้องกับสภาพปัญหาของการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 25 62 ตามแนวนโยบายในการพัฒนาและจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ อันเป็นท่มี าของจุดเน้นการพัฒนา ในปี 2563 มดี ังนี้ 21

1. เพิม่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนใน 5 วชิ าหลัก อยา่ งน้อยร้อยละ 3 2. ส่งเสริมพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปญั ญา ตามหลักสตู รให้กับนักเรียนปฐมวยั 3. นักเรยี นทกุ คนมจี ิตสำนึกในความเป็นไทย รกั ความเปน็ ไทย อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 4. เพ่ิมศักยภาพนักเรยี นดา้ นคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปะ 5. สรา้ งทางเลอื กในการเรยี นร้ใู ห้ประชากรวยั เรียน โอกาสในการเขา้ ถงึ ลดการออกกลางคัน เพม่ิ ศักยภาพด้านงานอาชพี 6. โรงเรียนมรี ะบบประกนั คุณภาพภายในตามมาตรฐานท่ี สมศ. กำหนด การจัดการศึกษาในปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม ดำเนินการจัดการเรียน การสอน การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ควบคู่กันไป เมื่อส้ินปีการศึกษาได้ประเมิน สรุปผล การดำเนินงานและสำรวจความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูและบุ คลากรของโรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิมโดยใช้แบบสำรวจที่โรงเรียนจัดทำขึ้นพบว่าครูและบุคลากรของโรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม มคี วามต้องการในการพัฒนาในเรือ่ งตา่ งๆ เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คอื 1. การพัฒนาส่อื ICT 2. การพฒั นาและใชแ้ หล่งเรยี นรู้ 3. การจดั ชน้ั เรียนทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้ / การวิจัยในชนั้ เรียน 4. การวดั และประเมินผลผเู้ รียน โรงเรียนได้มกี ารประชมุ หวั หนา้ กลมุ่ สาระและได้ข้อสรุปในการพัฒนาโดยทีป่ ระชมุ มีความเหน็ พ้องกันว่า จะใชก้ ระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรยี นเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ในการจดั การเรียนรเู้ พ่ือการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ดว้ ยกระบวนการวิจัยและพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน เพอื่ ความสอดคล้อง สนองต่อการดำเนนิ งานตามโครงการพฒั นา คุณภาพครทู ้งั ระบบตามแนวทาง โดยใชร้ ะบบ Coaching and Mentoring 22

2.3 กระบวนการนเิ ทศการนเิ ทศการเรยี นการสอน โรงเรยี นนวมินทราชูทศิ มชั ฌิม 23

2.4 วิธีการดำเนนิ การ ปฏิทินปฏบิ ตั ิงานนเิ ทศการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนภายในโรงเรยี นนวมนิ ทราชูทศิ มัชฌมิ ประจำปกี ารศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1/2563 วัน วันท/่ี เดือน/ปี กิจกรรม ผรู้ ับผดิ ชอบ จนั ทร์ 13 มถิ ุนายน 2563 ประชมุ คณะกรรมการนเิ ทศการสอนในโรงเรยี น คณะกรรมการ นเิ ทศการเรยี นการ สอน พุธ 24 มิถนุ ายน 2563 ประชุมแตง่ ต้ังออกคำส่ังคณะกรรมการนเิ ทศสอนภายใน คณะกรรมการ นเิ ทศการเรียนการ สอน 1 กรกฎาคม 2563 ดำเนินกจิ กรรมนเิ ทศการจัดการเรียนการสอนของครู คณะกรรมการ ถงึ ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ นเิ ทศการเรยี นการ 13 พฤศจิกายน  รปู แบบการสอนแบบเรยี ลไทม์ใน สอน 2563 ชั่วโมงสอนปกติ  รปู แบบการสอนแบบเรยี ลไทมใ์ นนอก ช่วั โมงสอนปกติ ( นดั นกั เรียนสอนนอกเวลา )  รูปแบบการสอนแบบบนั ทกึ วดี ีโอ ชม ยอ้ นหลัง  อนื่ ๆ โปรดระบุ จันทร์ 16 พฤศจิกายน ส่งแบบประเมนิ นิเทศการจัดการเรียนการสอนของครู หวั หนา้ กลมุ่ สาระ 2563 การเรียนรู้ พุธ 25 พฤศจกิ ายน สรปุ งานนิเทศการจัดการเรยี นการสอนของครปู ระจำภาค หวั หน้างานนิเทศ 2563 เรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2563 การเรยี นการสอน 24

ปฏทิ นิ ปฏิบัตงิ านนิเทศการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนภายในโรงเรยี นนวมินทราชทู ิศ มัชฌิม ประจำปีการศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วนั วนั ท/่ี เดือน/ปี กจิ กรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบ องั คาร 8 ธนั วาคม 2563 ประชมุ คณะกรรมการวชิ าการ คณะกรรมบริหาร วชิ าการ อังคาร 15 ธนั วาคม 2563 ดำเนนิ การจัดตารางนิเทศตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ คณะกรรมการ ถงึ นิเทศการเรียน การสอน 22 ธันวาคม 2563 28 ธันวาคม 2563 ดำเนินกิจกรรมนิเทศการจดั การเรียนการสอนของครู คณะกรรมการ ถึง ทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ นิเทศการเรยี น 18 กุมภาพันธ์  รูปแบบการสอนแบบเรยี ลไทม์ใน การสอน 2564 ช่วั โมงสอนปกติ  รูปแบบการสอนแบบเรยี ลไทม์ใน นอกชว่ั โมงสอนปกติ ( นดั นกั เรียนสอนนอกเวลา )  รูปแบบการสอนแบบบันทกึ วดี โี อ ชม ย้อนหลัง  อน่ื ๆ โปรดระบุ ศกุ ร์ 19 กมุ ภาพันธ์ สง่ แบบประเมนิ นิเทศการจัดการเรียนการสอนของครู หัวหนา้ กลุม่ สาระ 2564 การเรยี นรู้ จันทร์ 19 มนี าคม 2564 สรปุ งานนิเทศการจดั การเรยี นการสอนของครปู ระจำ หัวหนา้ งานนเิ ทศ ภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2563 การเรียนการสอน 25

2.5 การกำกบั ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล 1. ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของการดำเนินงาน เช่น การดำเนินงานของผรู้ บั การนิเทศ เพ่ือนำผลไป ปรับปรงุ แนวทางการดำเนนิ งาน 2. ประเมินผลการนิเทศเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัตกิ ารนเิ ทศตามระยะเวลาท่ีตอ้ งการในการนำผลไปใช้ในการ พฒั นา หรอื ในแตล่ ะปีการศึกษา 3. รายงานผลการนเิ ทศต่อผเู้ กยี่ วขอ้ ง 4. นำผลการนเิ ทศท่ีเปน็ ปัญหา อปุ สรรคและข้อเสนอแนะไปพัฒนาการนิเทศในครงั้ ต่อไปหรือใน ปี การศกึ ษาต่อไป 2.6 ผลสำเรจ็ ทไ่ี ด้ และการนำไปใช้ประโยชน์ ผลการดำเนนิ งาน การจดั การเรียนการสอนในปีการศกึ ษา 2563 รอ้ ยละของนักเรยี นที่มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนรายวิชา พืน้ ฐาน ในระดบั 2.5 ขึน้ ไป ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 ปีการศึกษา 2562 ช้ัน ปกี ารศึกษา 2562 การงาน อังกฤษ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 52.66 32.36 มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ไทย คณติ วิทย์ สงั คม สขุ ศึกษาฯ ศลิ ปะ 76.14 11.79 มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 51.10 31.11 52.53 61.85 72.85 74.32 91.76 16.79 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 56.80 40.36 62.37 56.55 76.56 86.03 95.64 24.11 มัธยมศึกษาปที ่ี 5 65.86 21.51 54.34 57.85 65.74 66.85 16.78 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 68.55 41.75 65.78 85.19 92.75 76.33 - 34.86 75.13 45.97 57.80 65.32 89.26 79.70 63.83 77.99 33.27 68.14 55.90 95.60 62.32 คา่ เฉลี่ยทั้งโรงเรียน ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 60.46 เพ่มิ ขึน้ จากปีการศกึ ษา 2562 ร้อยละ 8.33 จากตารางจะเหน็ ไดว้ ่าผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นท่มี ีผลการเรยี นระดับ 2.5 ขน้ึ ไป ในปกี ารศึกษา 2563 มี คา่ เฉล่ยี รวมเท่ากับ รอ้ ยละ 60.46 เพิ่มขึน้ จากปีการศกึ ษา 2562 รอ้ ยละ 8.33 ซง่ึ จากการดำเนนิ การจดั การ เรยี นการสอนและกระบวนการนเิ ทศภายในสถานศึกษาส่งผลให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นในระดับ 2.5 เพ่ิมสงู ขนึ้ จากปีการศกึ ษา 2562 26

ตอนที่ 3 ข้อมลู อนื่ ๆ เพ่ิมเตมิ ผลงานดเี ด่นในรอบปที ่ีผ่านมา ระดับรางวลั /ช่ือรางวลั ทีไ่ ดร้ ับ หน่วยงานท่มี อบรางวัล 1 ผลงานครูดีเด่น - รางวลั พอ่ ตัวอย่างแห่งชาติ ประจำปี 2563 - สมาคมผู้อาสาสมัคร ชือ่ ชว่ ยการศึกษาและ นายชาญณรงค์ ยาสุทธิ คัดเลือกพ่อตัวอย่าง นางวนิดา จนั ทรเ์ ขยี ว แหง่ ชาติ นางจนิ ตนา พรมชัยชนะ นายสรุ เดช วงศก์ ระจ่าง - รางวลั ผ้บู ังคบั บัญชาลูกเสอื ดีเด่น “ประเภท - สำนักงานลูกเสอื ผู้สนับสนนุ ” ประจำปี 2563 แหง่ ชาติ - รางวัลผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ครุ ุ - สำนักงาน สภา ประเภทผูป้ ระกอบวชิ าชีพผบู้ ริหาร คณะกรรมการส่งเสรมิ สถานศกึ ษา ระดบั ประเทศ ประจำปี 2563 สวสั ดกิ ารและสวัสดภิ าพ ครูและบคุ ลากรทางการ ศกึ ษา (สกสค.) - รางวลั ครูดีไมม่ ีอบายมขุ ประเภทผู้บริหาร - คุรุสภา ถานศกึ ษา ประจำปี 2563 - ผูบ้ ริหารสถานศึกษาท่ีมีผลงานดเี ด่น - สมาคมผู้บรหิ ารแห่ง ประจำปี 2563 ประเทศไทย - รางวัล ครดู ีไม่มอี บายมุข ประเภทผู้บรหิ าร - ครุ ุสภา ถานศึกษา ประจำปี 2563 - ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาที่มผี ลงานดีเดน่ - สมาคมผ้บู ริหารแห่ง ประจำปี 2563 ประเทศไทย - รองผู้อำนวยการโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาผู้มกี าร - สพฐ. ปฏิบตั หิ น้าทด่ี ีเด่น - อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาพเิ ศษ รางวลั เหรียญเงนิ กระทรวงศึกษาธิการ การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั สมาคมวิทยาศาสตร์แห่ง มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สาขาวทิ ยาศาสตร์ ประเทศไทย กระทรวงการ ประยกุ ต์ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ แหง่ ชาตสิ ่วนภูมิภาค คร้งั ท่ี 31ประจำปี 2563 วิจัยและนวัตกรรม คณะ - อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาพเิ ศษ รางวัลชมเชย วทิ ยาศาสตร์มหาวิทยาลัย การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั นเรศวร มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ กายภาพ เน่ืองในงานสปั ดาห์วิทยาศาสตร์ แห่งชาตสิ ่วนภมู ภิ าค ครัง้ ที่ 31ประจำปี 2563 27

ชอื่ ระดับรางวลั /ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานทมี่ อบรางวลั นายองอาจ เมณฑ์กูล นางนภสั วรรณ นุชชม อาจารย์ทป่ี รึกษา รางวัลเหรียญเงิน กระทรวงศกึ ษาธิการ สมาคม นางสาวคัทธรียา โคตรสกี ุล นางสาวสินจัย ชารดิ า การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั วิทยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศ นางนลินี ประทมุ านนท์ นายปรเมษ บาลเพียร มัธยมศึกษาตอนตน้ สาขาวทิ ยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา ประยกุ ต์ เน่ืองในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและ แหง่ ชาติส่วนภมู ภิ าค ครั้งที่ 31 ประจำปี นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ 2563 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร อาจารย์ท่ีปรึกษารางวัลเหรียญเงิน การ กระทรวงศกึ ษาธิการ สมาคม ป ระกวด โครงงาน วิท ยาศ าสตร์ ระดั บ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศ มัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา ชีวภาพ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ วิ ท ย าศ าส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ แห่งชาติส่วนภูมิภาค ครั้งท่ี 31 ประจำปี นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ 2563 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาพเิ ศษ รางวัลเหรียญเงิน การ กระทรวงศกึ ษาธิการ สมาคม ป ระกวด โครงงาน วิท ยาศ าสตร์ ระดั บ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศ มัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา ชีวภาพ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ วิ ท ย าศ าส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ แห่งชาติส่วนภูมิภาค ครั้งท่ี 31 ประจำปี นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ 2563 มหาวิทยาลยั นเรศวร อาจารย์ที่ปรึกษา รางวัลเหรียญเงิน การ กระทรวงศกึ ษาธิการ สมาคม ป ระกวด โครงงาน วิท ยาศ าสตร์ ระดั บ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศ มัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา ประยุกต์ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ วิ ท ย าศ าส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ แห่งชาติส่วนภูมิภาค ครั้งท่ี 31 ประจำปี นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ 2563 มหาวิทยาลัยนเรศวร อาจารยท์ ี่ปรึกษาพิเศษ รางวัลเหรียญเงิน การ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สมาคม ป ระกวด โครงงาน วิท ยาศ าสตร์ ระดั บ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศ มัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา ประยุกต์ เน่ืองในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ วิ ท ย าศ าส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ แห่งชาติส่วนภูมิภาค คร้ังท่ี 31 ประจำปี นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ 2563 มหาวิทยาลัยนเรศวร อาจารย์ท่ีปรึกษา รางวัลเหรียญเงิน การ กระทรวงศึกษาธกิ าร สมาคม ป ระกวด โครงงาน วิท ยาศ าสตร์ ระดั บ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศ มัธยมศึกษาตอนต้น สาขาวิทยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา ประยุกต์ เน่ืองในงานสปั ดาห์วทิ ยาศาสตร์ วิ ท ย าศ าส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ แหง่ ชาติส่วนภูมิภาค ครง้ั ที่ 31 ประจำปี2563 นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 28

ช่ือ ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลท่ไี ดร้ ับ หน่วยงานทีม่ อบรางวัล นายฉลอง เกษรบวั อาจารย์ทป่ี รึกษาพเิ ศษ รางวลั เหรยี ญเงิน การ กระทรวงศึกษาธกิ าร สมาคม นางสาววรรณวภิ า ห้อยกอน นายสุเมธ สระทองแป้น ประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดับ วทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศ นางกนกพร จีนมหันต์ มัธยมศึกษาตอนต้น สาขาวิทยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา นางสาวกิตต์ชิ ญาห์ เมธาวรารักษ์ ประยุกต์ เน่ืองในงานสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิจยั และ แหง่ ชาติสว่ นภมู ิภาค คร้งั ท่ี 31 ประจำปี นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ 2563 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร อาจารยท์ ่ีปรึกษา รางวลั ชมเชย การประกวด กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอน วิทยาศาสตร์แหง่ ประเทศ ปลาย สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เน่อื งใน ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา งานสัปดาหว์ ิทยาศาสตรแ์ หง่ ชาติสว่ นภมู ภิ าค วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ ครัง้ ที่ 31 ประจำปี 2563 นวตั กรรม คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร - อาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ รางวัลชมเชย การ -ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ป ระกวด โครงงาน วิท ยาศ าสตร์ ระดั บ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่ง มัธยมศึกษาตอนต้น สาขาวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย กระทรวงการ กายภาพ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย แห่งชาติส่วนภูมิภาค คร้ังท่ี 31 ประจำปี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ค ณ ะ 2563 วิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัย - การประกวดผลงานวิจัย ระดับ ดี โครงการ นเรศวร ส่งเสริมวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา -ส ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ สร้างมัธยมศึกษาเขต องค์ ความรู้ และ การศกึ ษา 42 นวัตกรรมในการจัดการศึกษา สพม.42 ประจำปีงบประมาณ 2563 - อาจารย์ที่ ปรึกษา รางวัลชมเชย การ กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม ป ระกวด โครงงาน วิท ยาศ าสตร์ ระดั บ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศ มัธยมศึกษาตอนต้น สาขาวิทยาศาสตร์ ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา กายภาพ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ วิ ท ย าศ าส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ แห่งชาติส่วนภูมิภาค ครั้งท่ี 31 ประจำปี นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ 2563 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร - คุรุสภา - ครูดไี มม่ อี ุบายมุข ผคู้ วบคุมทีม รางวลั ชนะเลศิ การแข่งขันกีฬา คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-sport) ระดับมธั ยมศกึ ษา เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราช ตอนต้นในงานสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ ประจำปี ภัฏนครสวรรค์ 2563อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-sport) ระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้นในงานสปั ดาห์ วิทยาศาสตร์ ประจำปี 2563 29

ชอื่ ระดับรางวลั /ช่ือรางวลั ทไ่ี ด้รับ หน่วยงานที่มอบรางวลั นางสาวกติ ติช์ ญาห์ เมธาวรารักษ์ (ต่อ) - ครูผู้ควบคุม รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 สำนักงานคณ ะกรรมการ นายวราวัฒน์ กล่นั หุ่น ระดับจังหวัด โครงการยุวชนประกันภัย ก ำ กั บ แ ล ะ ส่ งเส ริ ม ก า ร นายวริ ชั ญาณปัญญา ประจำปี 2563 ประเภทคลปิ วีดีโอสนั้ ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ป ร ะ กั น ภั ย นางสาวอุชุกร ชัยประภา (คปภ) ว่าท่ี ร.ต.นพดล โอชา - ผู้ควบคุมทีม การแข่งขัน TO BE NUMBER - TO BE NUMBER ONE นายสรรเพชร พันธุ์ค้า ONE TEEN DANCERCISE THAILAND และกระทรวงสาธารณสุข CHAMPIONSHIP 2021 ระดับภาคเหนอื - มูลนิธิครอบครัวพอเพียง - ครูดีศรีแผ่นดิน โครงการครอบครัวพอเพียง และกระทรวงศกึ ษาธิการ สู่สถานศึกษาและชุมชน ประจำปีการศึกษา 2562 -การประกวดผลงานวิจัย ระดับ ยอดเยี่ยม สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โครงการส่งเสริมวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพ มธั ยมศกึ ษาเขต 42 การศึกษา สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมใน ก ารจั ด ก ารศึ ก ษ า ส พ ม .4 2 ป ระ จ ำปี งบประมาณ 2563 - ครผู ู้สอนดเี ด่น กล่มุ สาระการเรยี นรู้ - ครุ ุสภา คณติ ศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 การป ระกวด ผลงาน วิจัย ระดั บ ดี เด่ น สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา โครงการส่งเสริมวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ มธั ยมศึกษาเขต 42 การศึกษา สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมใน ก ารจั ด ก ารศึ ก ษ า ส พ ม .4 2 ป ระ จ ำปี งบประมาณ 2563 การประกวดผลงานวิจัย ระดับ ชมเชย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โครงการส่งเสริมวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพ มธั ยมศึกษาเขต 42 การศึกษา สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมใน ก ารจั ด ก ารศึ ก ษ า ส พ ม .4 2 ป ระ จ ำปี งบประมาณ 2563 - ผู้ฝึกสอน รางวัลชนะเลิศ การแข่งขัน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ วอลเลย์บอลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศแห่ง สมาคมกีฬาวอลเลยบ์ อลแห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 16 (ปีท่ี 36) ประจำปี ประเทศไทย 2563 ชิงถ้วยพ ระราช ทาน สมเด็จพ ระ กนิ ษ ฐาธิราช เจ้า กรม ส ม เด็ จพ ระเท พ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (รอบ คดั เลือกภาคเหนือ) - ผู้ฝึกสอน รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การ - บรษิ ัทไทยดริ้งค์ จำกัด แข่งขันวอลเลย์บอลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศ และ สมาคมกฬี าวอลเลย์ แหง่ ประเทศไทย คร้ังที่ 16 (ปที ่ี 36) ประจำปี บอลแหง่ ประเทศไทย 30

ชอ่ื ระดบั รางวัล/ชื่อรางวัลทีไ่ ดร้ ับ หนว่ ยงานท่ีมอบรางวัล นายพีรวิชญ์ เสือเผอื ก 2563 ชิงถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระ กนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (รอบชิง ชนะเลศิ แห่งประเทศไทย) - รางวลั ชนะเลิศ การแขง่ ขันวอลเลย์บอล ยวุ ชน เอส โคลา่ รนุ่ อายไุ มเ่ กิน 16 ปี ครง้ั ท่ี 8 (ปีท่ี 31) ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ประจำปี 2563 ชงิ ถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (รอบ คดั เลอื กภาคเหนือ) - รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันวอลเลย์บอล ยุวชน เอส โคลา่ รนุ่ อายไุ ม่เกิน 16 ปี ครัง้ ที่ 8 - กรมพลศึกษา และจังหวัด (ปีท่ี 31) ชิงชนะเลิศแหง่ ประเทศไทย เพชรบรู ณ์ ประจำปี 2563 ชิงถว้ ยพระราชทานสมเด็จ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (รอบชิง ชนะเลิศแหง่ ประเทศไทย) - ผู้ฝึกสอน รางวัลชนะเลิศ วอลเลย์บอลชาย การแข่งขนั กีฬานกั เรยี น นกั ศึกษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 42 ประจำปี 2564 รอบคดั เลอื ก ตวั แทนเขตการแข่งขนั กีฬาท่ี 6 - ผู้ฝึกสอน รางวัลชนะเลิศ การแขง่ ขัน การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค และ วอลเลยบ์ อลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศแหง่ สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแหง่ ประเทศไทย ครั้งท่ี 16 (ปีท่ี 36) ประจำปี ประเทศไทย 2563 ชิงถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระ กนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (รอบ คดั เลือกภาคเหนอื ) - ผู้ฝึกสอน รางวัลรองชนะเลิศอันดบั 1 การ -บริษัทไทยดร้ิงค์ จำกัด และ แข่งขนั วอลเลยบ์ อลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศ สมาคมกีฬาวอลเลยบ์ อลแห่ง แหง่ ประเทศไทย คร้งั ที่ 16 (ปที ่ี 36) ประจำปี 2563 ชิงถว้ ยพระราชทานสมเด็จพระ ประเทศไทย กนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (รอบชงิ ชนะเลิศแหง่ ประเทศไทย) รางวัลชนะเลศิ การแข่งขันวอลเลยบ์ อลยุวชน 31

ชอ่ื ระดบั รางวัล/ชื่อรางวัลทไ่ี ดร้ ับ หนว่ ยงานท่มี อบรางวัล นายพรี วิชญ์ เสือเผือก (ต่อ) เอส โคล่า รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี คร้ังท่ี 8 (ปีท่ี นายณพลพงศ์ ด้วยกลัด นางสาววรินทรตั น์ เงนิ สขุ 31) ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ประจำปี นางสาววรนิ ทรตั น์ เงนิ สุข (ต่อ) นายแสวง สารวิ งษ์ 2563 ชิงถ้วยพ ระราช ทาน สมเด็จพ ระ นางจติ ธิดา จรบุรี กนิ ษ ฐาธิราช เจ้า กรม ส ม เด็ จพ ระเท พ นางดุจเดือน หมีอิม่ นางอาทีวร ใจการณุ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (รอบ นางฟารดี า สงั ข์ขาว คัดเลือกภาคเหนือ) - รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันวอลเลย์บอล ยุวชน เอส โคล่า รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี คร้ังท่ี 8 (ปี ที่ 31) ชิ งช น ะ เลิ ศ แ ห่ งป ระ เท ศ ไท ย ประจำปี 2563 ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (รอบชิง - กรมพลศึกษา และจังหวัด ชนะเลิศแหง่ ประเทศไทย) - ผู้ฝึกสอน รางวัลชนะเลิศ วอลเลย์บอลชาย เพชรบูรณ์ การแข่งขันกีฬานักเรียน นักศึกษาแห่งชาติ คร้ังท่ี 42 ประจำปี 2564 รอบคัดเลือก ตวั แทนเขตการแข่งขันกีฬาที่ 6 ผู้ควบคุมทีม รางวัลชมเชย การสร้างสรรค์งาน กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม ฐานบุคลากรทางการศึกษา โครงการสืบ ศาสตร์ สานศิลป์ ศิลปนิ แห่งชาติ 2563 ผู้ฝึกสอน รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ สำนักงานคณ ะกรรมการ กิจกรรม Planet Exploration Competition การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ม.1-3 การแข่งขันหุ่นยนต์พัฒนาศักยภาพ เยาวชนไทย ด้านห่นุ ยนตค์ ร้งั ที่ 1 Thailand Robot & Robotic Olympiad 2020 ผู้ฝึกสอน รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ สำนักงานคณ ะกรรมการ 1 กิ จ ก ร ร ม Planet Exploration การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน Competition ม.4-6 การแข่งขันหุ่นยนต์ พัฒนาศกั ยภาพเยาวชนไทยดา้ นหุน่ ยนตค์ ร้ังที่ 1 Thailand Robot & Robotic Olympiad 2020 ครดู ไี มม่ อี ุบายมขุ ปกี ารศึกษา 2563 - ครุ ุสภา ครูดีไม่มีอบุ ายมุข ปีการศึกษา 2563 - ครุ สุ ภา ครูดีไม่มอี ุบายมุข ปีการศึกษา 2563 - คุรุสภา ครูดีไม่มีอุบายมขุ ปีการศึกษา 2563 - คุรสุ ภา 32

ชื่อ ระดบั รางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หนว่ ยงานท่มี อบรางวลั นางสาวณชิ กานต์ เวชกรณ์ ครูดไี ม่มอี บุ ายมขุ ปีการศึกษา 2563 - ครุ ุสภา นางสาวอังศุมาลินทร์ คชพงษ์ นายจรนิ ทร์ สทิ ธิวะ ครดู ไี ม่มอี ุบายมขุ ปีการศึกษา 2563 - ครุ ุสภา นายณฏั ฐ์วฒั น์ อนนั ตะสขุ - ครูดีไม่มีอบุ ายมุข ปกี ารศึกษา 2563 - ครุ สุ ภา นายธนสาร ปานอ่อง - ครดู ขี องแผน่ ดนิ ขั้นพื้นฐาน - มูลนธิ ิครดู ีของแผ่นดิน นายพีรวชิ ญ์ เสือเผือก - ครผู ู้ควบคุม รางวัล รองชนะเลิศ อันดบั 1 - สำนกั งานคณะกรรมการ นายสรรเสริญ วีระพจนานันท์ ระดบั จงั หวดั โครงการยวุ ชนประกนั ภัย กำกบั และสง่ เสรมิ การ ว่าท่ีร.ต.วรุฒ สาครสทิ ธ์ิ ประจำปี 2563 ประเภทคลิปวีดีโอสน้ั ประกอบธรุ กิจประกันภัย (คปภ) นางชลุ กี ร พิมลศรี ครูดีไม่มีอุบายมุข ปีการศึกษา 2563 - คุรสุ ภา นางธนวรรณ มขุ ขนั ธ์ นายศภุ ชัย ช่อมะลิ ครูดไี ม่มีอุบายมุข ปีการศึกษา 2563 - ครุ สุ ภา ครูดไี ม่มีอบุ ายมุข ปีการศึกษา 2563 - คุรุสภา ครูดไี ม่มอี ุบายมขุ ปีการศึกษา 2563 - ครุ สุ ภา - ครูดไี มม่ ีอบุ ายมุข ปกี ารศึกษา 2563 - คุรสุ ภา - ครดู ีของแผน่ ดินข้ันพ้นื ฐาน - มูลนิธิครดู ขี องแผ่นดนิ ครดู ีไม่มอี บุ ายมุข ปีการศึกษา 2563 - ครุ สุ ภา ครูดไี ม่มอี บุ ายมขุ ปีการศึกษา 2563 - คุรุสภา - ครผู ู้ควบคุม รางวัล รองชนะเลิศ อันดบั 1 สำนกั งานคณะกรรมการ ระดับจงั หวดั โครงการยวุ ชนประกนั ภยั กำกบั และสง่ เสรมิ การ ประจำปี 2563 ประเภทคลปิ วดี ีโอสั้น ประกอบธุรกจิ ประกนั ภัย (คปภ) 33

2. ผลงานนักเรียนดเี ด่น ระดับรางวัล/ช่ือรางวัลทไ่ี ด้รับ หนว่ ยงานที่มอบรางวลั รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันวอลเลย์บอล บริษัทไทยดริ้งค์ จำกัด และ ช่อื ยุวชน เอส โคล่า รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง คร้ังท่ี 8 (ปีท่ี 31) ชิงชนะเลิศแห่ง ประเทศไทย นายอภิชาต ดวงจันทร์ ประเทศไทย ประจำปี 2563 ชิงถ้วย นายธนพล แสนวันดี พระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราช นายณัฐพงษ์ ชาชำนาญ เจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ นายจกั รพันธ์ นาควเิ ศษ สยามบรมราชกุมารี (รอบคัดเลือก นายภูวฤทธ์ิ ทองไธสง ภาคเหนอื ) นายกมลภพ สอนสบื นายเบญจมินทร์ ใจดี รางวัลชนะเลศิ การแข่งขันวอลเลย์บอล บริษัทไทยดริ้งค์ จำกัด และ นายจกั พันธ์ วริ ุณภักดี ยุวชน เอส โคล่า รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง นายพชั พล บตุ รโคตร ครั้งท่ี 8 (ปีที่ 31) ชิงชนะเลิศแห่ง ประเทศไทย นายสันตสิ ขุ จนั ทะเมนชัย ประเทศไทย ประจำปี 2563 ชิงถ้วย นายธีรศักดิ์ ซามาตย์ พระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราช นายธนวตั ขันทอง เจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ นายปภงั กร ปริตตว์ รภัทร สยามบรมราชกุมารี (รอบชิงชนะเลิศ นายนนทวฒั น์ รักสะโปะ แห่งประเทศไทย) นายอภชิ าต ดวงจนั ทร์ รางวัลชนะเลศิ การแข่งขันวอลเลย์บอล การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ นายธนพล แสนวนั ดี เยาวชน PEA ชิงชนะเลิศแห่งประเทศ สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง นายณัฐพงษ์ ชาชำนาญ ไทย ครงั้ ท่ี 16 (ปีท่ี 36) ประจำปี 2563 ประเทศไทย นายจักรพนั ธ์ นาควเิ ศษ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิ นายภวู ฤทธิ์ ทองไธสง ร า ช เจ้ า ก ร ม ส ม เด็ จ พ ร ะ เท พ นายกมลภพ สอนสืบ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นายเบญจมินทร์ ใจดี (รอบคดั เลอื กภาคเหนือ) นายจกั พันธ์ วริ ณุ ภักดี นายพชั พล บตุ รโคตร 34 นายสันติสุข จนั ทะเมนชัย นายธรี ศักด์ิ ซามาตย์ นายธนวัต ขนั ทอง นายปภงั กร ปรติ ต์วรภัทร นายนนทวฒั น์ รกั สะโปะ นายเจนณรงค์ สิมตะมะ นายนนทวัฒน์ รกั สะโปะ นายธนภัทร กิตติธัญพงศ์ นายภรู ิ จนั ทอภิชัย นายนภดล สขุ ภวู งค์ นายภูวฤทธ์ ทองไธสง นายวงศกร อาจพันธ์ นายธรรพ์ณธร หมนี พราน

ช่อื ระดบั รางวลั /ช่ือรางวลั ทีไ่ ดร้ ับ หนว่ ยงานที่มอบรางวัล นายธนกร เผือกสงค์ (ต่อ) รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันวอลเลย์บอล การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ นายนติ พิ ล นาคมี นายศภุ วิชญ์ ณ นคร เยาวชน PEA ชิงชนะเลิศแห่งประเทศ สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง นายธนาวฒุ ิ ศรีวรรณแก้ว ไทย ครั้งท่ี 16 (ปีที่ 36) ประจำปี 2563 นายอภิชาต ดวงจันทร์ ชงิ ถ้วยพระราชทานสมเดจ็ พระกนิษฐาธิ ประเทศไทย นายธนพล แสนวนั ดี นายณัฐพงษ์ ชาชำนาญ ร า ช เจ้ า ก ร ม ส ม เด็ จ พ ร ะ เท พ นายจกั รพันธ์ นาควิเศษ นายกมลภพ สอนสืบ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นายเบญจมนิ ทร์ ใจดี นายจักพนั ธ์ วริ ุณภักดี (รอบคดั เลือกภาคเหนอื ) นายพชั พล บตุ รโคตร นายธรี ศกั ด์ิ ซามาตย์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขัน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ วอลเลย์บอลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศ สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง นายเจนณรงค์ สิมตะมะ แห่งประเทศไทย ครั้งท่ี 16 (ปีท่ี 36) ประเทศไทย นายนภดล สุขภวู งค์ ประจำปี 2563 ชิงถ้วยพระราชทาน นายภูวฤทธ์ ทองไธสง สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ นายวงศกร อาจพันธ์ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช นายธรรพณ์ ธร หมนี พราน กุมารี (รอบชิงชนะเลิศแห่งประเทศ นายธนกร เผือก ไทย) นายอภิชาต ดวงจันทร์ นายธนพล แสนวนั ดี ลูกเสือรวมใจ เทดิ ไท้องราชนั สำนั กงาน ลู กเสื อจั งห วั ด นายณฐั พงษ์ ชาชำนาญ นครสวรรค์ นายจกั รพันธ์ นาควิเศษ นายกมลภพ สอนสบื รางวัลเหรยี ญเงนิ การประกวดโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม นายเบญจมินทร์ ใจดี วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย นายจกั พนั ธ์ วริ ุณภักดี กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ นายเอกวรกร พรหมเสน สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เน่ืองในงาน วิจยั และนวตั กรรม คณะวิทยาศาสตร์ สั ป ด า ห์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ช า ติ ส่ ว น มหาวิทยาลยั นเรศวร เด็กหญงิ พชั รี บงั แสงออน ภมู ิภาค ครั้งที่ 31 ประจำปี 2563 เดก็ หญิงจิรนันท์ วงษ์ละมัย เด็กหญงิ นภสั สร ศรมี หรรณ์ เด็กหญิงชิตนิ นั ท์ เพ็ชรสมภาพ เดก็ หญงิ ณฏั ฐกานต์ สขุ กลุ นางสาวปรียานชุ ขนุ อาจ เดก็ หญงิ ณฐั ธดิ า บุญบำรุง เดก็ หญงิ นชิ า คำชอบ 35

ช่อื ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลท่ีได้รับ หนว่ ยงานทมี่ อบรางวลั นายธนบดี แตงสวน นางสาวปรศิ นา เด่นปญั จพล รางวลั เหรียญเงนิ การประกวดโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม นางสาวสโรชา ศาสตรานนท์ วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอน วิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เนื่อง กระท รวงการอุ ดมศึ กษ า นายภมู ิมนิ ทร์ ปิตาโส ในงานสปั ดาห์วิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติส่วน วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม นางสาวตรติ าภรร์ เขียวอุบล ภูมิภาค คร้ังที่ 31 ประจำปี 2563 คณะวิทยาศาสตร์มหาวทิ ยาลัย นางสาวเพญ็ นภา โชตพิ รมราช นเรศวร เดก็ หญงิ กาญจนณัฐ สุ่นน่มิ เดก็ หญิงจนั ทพร เจรญิ ขำ รางวัลเหรียญเงนิ การประกวดโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม เดก็ หญงิ ปาลิตา ไผช่ ู วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอน วทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เนื่อง กระท รวงการอุ ดมศึ กษ า นางสาวจริ าภา ยืนนาน ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาตสิ ่วน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม นางสาวภัณฑริ า ทองสด ภมู ิภาค ครง้ั ท่ี 31 ประจำปี 2563 คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัย นางสาวรัฐฑิพร วงษก์ ยี ู้ นเรศวร เดก็ หญงิ พสุดา ฉตั รโชตกิ มาก เดก็ หญงิ ภสั สร ผายภักดี รางวัลเหรยี ญเงนิ การประกวดโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม เดก็ หญิงเมธาพร ร้วิ ทอง วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศไทย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เนื่องในงาน กระท รวงการอุ ดมศึ กษ า เดก็ ชายกรกฤต สวุ รรณวฒั นากลุ สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติส่วน วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เด็กหญิงเมธาวี กติ ติประสพสุข ภูมภิ าค คร้ังท่ี 31 ประจำปี 2563 คณะวิทยาศาสตร์มหาวทิ ยาลัย นายทยาวัต เศวตวนสั นเรศวร นายเกริกกรรชยั เกษสาคร รางวัลชมเชย การประกวดโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอน วิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ปลาย สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ เนื่อง กระท รวงการอุ ดมศึ กษ า ในงานสปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์แห่งชาตสิ ว่ น วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม ภมู ิภาค ครง้ั ท่ี 31 ประจำปี 2563 คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัย นเรศวร รางวัลชมเชย การประกวดโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศไทย สาขาวิทยาศาสตรก์ ายภาพ เนื่องในงาน กระท รวงการอุ ดมศึ กษ า สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติส่วน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ภูมภิ าค ครง้ั ท่ี 31 ประจำปี 2563 คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัย นเรศวร รางวั ลช น ะเลิ ศ ก ารแข่ งขั น กี ฬ า ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ อิ เล็ ก ท รอ นิ ก ส์ (e-sport) ร ะ ดั บ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราช มัธยมศึกษาตอนต้นในงานสัปดาห์ ภฏั นครสวรรค์ วิทยาศาสตร์ ประจำปี 2563 รางวัลชมเชย การแข่งขันคณิตคิดเร็ว กระทรวงศึกษาธิการ สมาคม เน่ื องใน งาน สัป ดาห์ วิท ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย แ ห่ งช าติ ส่ ว น ภู มิ ภ าค ค ร้ั งท่ี 3 1 กระท รวงการอุ ดมศึ กษ า 36

ชอื่ ระดบั รางวลั /ช่ือรางวลั ท่ไี ดร้ ับ หนว่ ยงานทม่ี อบรางวลั นายเกริกกรรชยั เกษสาคร ประจำปี 2563 วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม เดก็ ชายกฤชกำภู หนุ่ อินทร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวทิ ยาลัย นายเนตอพงษ์ สิทธิวงษา นเรศวร นายธนกร พรมวะรากรณ์ นายธัชพล สทิ ธิ รางวัลชมเชย การแข่งขันคณิตคิดเร็ว ภาควิชาคณิตศาสตร์ และ นางสาวอภญิ ญา อนิ ทรอ์ รา่ ม นางสาวสุดารตั น์ ชืน่ จติ ร์ เนื่ องใน งาน สัป ดาห์ วิท ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย นางสาวปนัดดา วรวาท นายโชตกิ ลุ โพธิ์สะอาด แ ห่ งช าติ ส่ ว น ภู มิ ภ าค ค ร้ั งที่ 3 1 นเรศวร นายพิสฐิ ชยั สขุ ขวญั ประจำปี 2563 เด็กชายพลวัตร เข็มทอง เดก็ ชายคุณานนต์ มงคลอทิ ธเิ วช - รางวัลเหรียญเงิน การสร้างสรรค์งาน กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม นายณัฐวฒุ ิ พูลสมบตั ิ จิตกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โครงการสืบศาสตร์ สานศิลป์ ศิลปิน แหง่ ชาติ 2563 - รองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวด ศูนย์การเรียนรู้ภูทอง จังหวัด วาดภาพระบายสี ระดับช้ันมัธยมศึกษา นครสวรรค์ ปีที่ 1-3 กิจกรรมการแสดงผลงานทาง ศิลปะ Artist Market (ตลาดนัดศิลปิน) ประจำปกี ารศกึ ษา 2562 รางวัลเหรียญทองแดง การสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม เทคนคิ ประติมากรรม ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย โครงการสืบศาสตร์ สาน ศลิ ป์ ศลิ ปินแหง่ ชาติ 2563 ร า ง วั ล ช ม เช ย ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมโครงการสืบศาสตร์ สาน ศิลป์ ศลิ ปินแหง่ ชาติ 2563 รางวัลเหรียญทอง การสร้างสรรค์ กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม เทคนิคประติมากรรม ระดับชั้นมัธย ศึกษาตอนต้น โครงการสืบศาสตร์ สาน ศิลป์ ศิลปนิ แหง่ ชาติ 2563 รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรม สำนักงานคณ ะกรรมการ Planet Exploration Competition การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ม.1-3 การแข่งขัน หุ่ น ยน ต์พั ฒ น า ศักยภาพเยาวชนไทยด้านหุ่นยนต์คร้ังที่ 1 Thailand Robot & Robotic Olympiad 2020 รางวัลเหรยี ญทอง รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 สำนักงานคณะกรรมการ นายธนภทั ร กลำ่ โพธิ์ กิ จ ก ร ร ม Plane Exploration การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน นายเอกพงษ์ พงษ์ภกั ดี Competition ม.4-6 การแข่งขนั ห่นุ ยนต์ 37

ชื่อ ระดับรางวลั /ชื่อรางวัลท่ีได้รับ หนว่ ยงานที่มอบรางวลั นายอนุสิทธ์ิ จันทรา พั ฒ น าศักยภ าพ เยาวช น ไท ยด้าน นายจักรกฤษ ทองประดบั นางสาวแพรเพชร มงคลไทร หุ่นยนต์ครั้งที่ 1 Thailand Robot & นางสาวสิรลิ กั ษณ์ ยิม้ หมวก นางสาวพลอยไพลนิ นพรตั น์ Robotic Olympiad 2020 - กิจกรรมโครงการยุวชนประกนั ภยั - สำนักงานคณะกรรมการ ประจำปี 2563 รางวัล รองชนะเลิศ กำกับและส่งเสรมิ การ อนั ดับ 1 ระดบั จังหวดั ประเภทคลิป ประกอบธุรกจิ ประกันภยั วดี โี อสัน้ (คปภ) 38

กิจกรรมแข่งขันสอบออนไลน์ 5 ภูมิภาค วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จัดโดย กลุ่มโรงเรียน เฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ 5 ภูมิภาค นักเรียนเข้าร่วมแข่งขันเป็นตัวแทนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ณ ICT 2 เมื่อวันท่ี 16 ธันวาคม 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ได้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันงานศิลปินแห่งชาติสัญจร ปี 2563 ณ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร จังหวัดพษิ ณโุ ลก ระหว่างวันที่ 23-24 ธนั วาคม 2563 โดยไดร้ บั รางวลั มากมาย 39

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม เอาชนะแชมป์เก่า 2 สมัยซ้อนอย่าง อัสสัมชัญ 3-1 เซต คว้าแชมป์ วอลเลย์บอลยวุ ชน \"เอสโคล่า\" รนุ่ อายุไม่เกนิ 16 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 (ปที ่ี 31) ประจ่าปี 2563 มาครองเป็นสมยั ที่ 3 และเปน็ ทีมที่ควา้ แชมป์ในรายการนม้ี ากท่สี ุด โดยพวกเขาเคยทำได้ในปี 2558, 2559, 2563 กิจกรรมแข่งขันสอบออนไลน์ 5 ภูมิภาค วิชาภาษาไทยจัดโดย กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชู ทิศ 5 ภูมิภาคนักเรียนเข้าร่วมแข่งขันเป็นตัวแทนระดับ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ณ ICT 2 เมอ่ื วนั ที่ 15 ธนั วาคม 2563 40

ดร.ชาญณรงค์ ยาสุทธิ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม และคณะผบู้ ริหารมอบเกียรติบัตรแก่นักเรียน กจิ กรรม “อย.นอ้ ย” ปกี ารศึกษา 2563 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1- ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 วันที่ 22 มีนาคม 2564 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด้านวิชาการและวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์และความเป็นเลิศของ นักเรียนกิจกรรมส่งเสริมผลสัมฤธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยสู่มาตรฐานสากลโดยความร่วมมือระหว่างโรงเรียน นวมินทราชทู ิศ มัชฌิม และมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ วนั ที่ 12 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมโรงเรยี นนวมนิ - ทราชูทิศ มัชฌมิ 41

โรงเรียนนวมินทราชทู ิศ มัชฌิม ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์จัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมด้าน วชิ าการและวชิ าชพี เพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธแ์ิ ละความเป็นเลิศของนกั เรยี น กิจรรม สง่ เสริมการเรยี นรดู้ า้ นหุ่นยนต์ส่สู ากล วันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ณ หอสมดุ โรงเรยี นนวมนิ ทราชทู ศิ มัชฌิม ดร.ชาญณรงค์ ยาสุทธิ ผู้อำนวยการโรงเรียนนวมินทราชูทิศ มชั ฌิม พร้อมตวั แทนคณะผู้บริหารและคณะ ครูร่วมพิธอี ัญเชิญถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี “การแข่งขันวอลเลย์บอลบอลยุวชน เอสโคล่า รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี” ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย 2563 (แชมปส์ มยั ที่ 3) วนั ที่ 5 กมุ ภาพันธ์ 2564 42

คณะครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา โรงเรียนนวมินทราชูทศิ มัชฌิม จัดการเรียนการสอนออนไลน์ ช่วงการปิด เรยี นกรณพี เิ ศษ เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัส โควดิ -19 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด้านวิชาการและวิชาชีพเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์และความเป็นเลิศของ นักเรยี นกจิ กรรมสง่ เสริมผลสัมฤธท์ิ างการเรยี นวชิ าภาษาไทยสูม่ าตรฐานสากลโดยความรว่ มมือระหว่างโรงเรียนนว มินทราชูทิศ มัชฌิม และมหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ วันท่ี 12 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมโรงเรยี นนวมินทราชูทิศ มชั ฌิม 43

ประมวลภาพกจิ กรรมการนเิ ทศการเรียนการสอนครูโรงเรยี นนวมนิ ทราชูทศิ มัชฌมิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 44

ประมวลภาพกจิ กรรมการนเิ ทศการเรียนการสอนครูโรงเรยี นนวมนิ ทราชูทศิ มัชฌมิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 45

ประมวลภาพกจิ กรรมการนเิ ทศการเรียนการสอนครูโรงเรยี นนวมนิ ทราชูทศิ มัชฌมิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 46

สรุปการนิเทศการจดั การเรยี นการสอน โรงเรยี นนวมินทราชทู ิศ มัชฌิม ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2519 (COVID-19) รูปแบบการเรียนการสอนทจ่ี ะขอรบั การนิเทศ รูปแบบการสอนในห้องเรียนปกติ จำนวน 124 คน รอ้ ยละ 100 ขอ้ เสนอแนะที่พบจากการนเิ ทศการเรียนการสอน สง่ิ ท่ีควรยกย่อง 1. มีการใช้เทคนคิ การสอนและสื่อการสอน เทคโนโลยที ่ที ำให้นกั เรยี นเข้าใจง่าย 2. มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั 3. นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั การเรยี นรู้ 4. มใี บงาน ใบกิจกรรมทำให้นกั เรยี นเรียนรูแ้ ละเขา้ ใจได้เปน็ อย่างดี 5. สื่อการเรยี นรเู้ หมาะสมกับเนื้อหา 6. มีการใช้เทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอนที่หลากหลาย 7. มกี ารทำแบบทดสอบก่อนเรยี น และหลงั เรยี น 8. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทใี่ ห้นกั เรียนได้ลงมือปฏิบตั ิจริง 9. ใชค้ ำถามกระตุน้ ใหน้ ักเรยี นคิดและรว่ มกันอภปิ ราย 10. จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนสอดแทรกคณุ ธรรม สงิ่ ทคี่ วรพัฒนา 1. ควรให้นักเรียนได้แสดงความคดิ เห็นและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 2. ควรมกี ารอธิบายเพ่ิมเตมิ เมื่อมีการใช้สอื่ วีดที ัศนป์ ระกอบการสอน 3. ควรจดั กจิ กรรมภาคปฏบิ ตั ิเพื่อใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ด้วยตนเอง 4. ควรใช้ส่ือเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย 5. เวลาในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 6. ควรเดินดนู ักเรยี นในขณะทำกิจกรรม ใหท้ ั่วหอ้ ง 7. พฒั นาสือ่ การเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกับเนอ้ื หา และทนั ต่อสถานการณ์ 8. เพ่ิมอุปกรณ์การใช้เสยี ง เช่น ไมโครโฟน 47

แบบสรุปประเมนิ นเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนของครูผู้สอน โรงเรยี นนวมนิ ทราชทู ิศ มชั ฌมิ คำช้แี จง ให้ใส่เครื่องหมาย √ ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกับความเปน็ จรงิ มากที่สดุ รายการประเมิน การปฏบิ ัติ หมายเหตุ มี ไมม่ ี 1. ด้านการจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ 1.1 แผนการจดั การเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ 124 - 1.2 สาระการเรยี นรู้สอดคล้องกบั วัดชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ 124 - 1.3 ใชเ้ ทคนคิ การสอน/สือ่ การสอนสอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ 123 1 1.4 แผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ีมอี งค์ประกอบครบถ้วนตามรูปแบบท่ี 124 - สถานศกึ ษา กำหนด และสามารถนำมาปฏบิ ัติไดจ้ รงิ 123 1 2. ดา้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ 124 - 2.1 นำเข้าสู่บทเรียนที่สอดคล้องกับเน้ือหาและมีความนา่ สนใจ 124 - 2.2 จัดกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 122 2 2.3 นักเรยี นมีส่วนร่วมในการทำกจิ กรรมการเรยี นการสอนอย่างมีความสุข 120 4 2.4 มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและการปฏิบัติตนทเ่ี หมาะสม 122 2 2.5 มกี ารใชค้ ำถามท่ีกระตนุ้ ใหค้ ดิ วเิ คราะห์ 2.6 เปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนแสดงออก/แสดงความคิดเห็นและรับฟังความ 116 8 คิดเห็น 2.7 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดค้ รบทุกทกั ษะ (ฟงั พูด อ่าน เขยี น) 124 - เชน่ การจดั การเรียนรู้แบบ ACTIVE LEARNING 2.8 มคี วามมงุ่ มน่ั ในการสอน 116 8 3. ดา้ นสือ่ นวตั กรรมการเรียนรู้ 3.1 มกี ารสร้างหรือพัฒนาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศึกษา และ 121 3 แหลง่ เรยี นรู้ได้อย่างหลากหลาย มีการจดั การเรียนรู้ทม่ี ี Application 3.2 สอ่ื มคี วามเหมาะสมกบั นักเรียน / กิจกรรมการเรยี น 123 1 4. ด้านการประเมินผลการเรยี นรู้ 120 4 4.1 ประเมินผลตรงตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.2 ประเมินผลการเรยี นรูต้ ามสภาพจริง ใช้วิธีประเมนิ ทห่ี ลากหลายและ สมำ่ เสมอ 48

แบบสรปุ ประเมินนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนของครผู ู้สอน โรงเรยี นนวมินทราชทู ศิ มัชฌมิ ประเมนิ นิเทศการจัดการเรียนการสอนของครผู ู้สอนโรงเรียนนวมนิ ทราชูทศิ มัชฌมิ คิดเปน็ รอ้ ยละ ดังน้ี รายการประเมนิ การปฏิบตั ิ หมายเหตุ มี ไมม่ ี 1. ด้านการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ 1.1 แผนการจัดการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ 100 - 1.2 สาระการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับวัดช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ 100 - 1.3 ใช้เทคนคิ การสอน/สื่อการสอนสอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ 99.20 0.80 1.4 แผนการจัดการเรยี นรู้ ท่ีมีองคป์ ระกอบครบถ้วนตามรูปแบบท่ี 100 - สถานศึกษา กำหนด และสามารถนำมาปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง 99.20 0.80 2. ดา้ นการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 100 - 2.1 นำเขา้ ส่บู ทเรยี นทสี่ อดคล้องกับเน้ือหาและมีความนา่ สนใจ 100 - 2.2 จดั กิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 98.40 1.60 2.3 นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในการทำกิจกรรมการเรยี นการสอนอย่างมีความสขุ 96.80 3.20 2.4 มกี ารสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและการปฏบิ ัติตนทเ่ี หมาะสม 98.40 1.60 2.5 มีการใชค้ ำถามท่ีกระตุ้นให้คิด วเิ คราะห์ 2.6 เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นแสดงออก/แสดงความคดิ เหน็ และรับฟังความ 93.60 6.40 คดิ เหน็ 2.7 จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนไดค้ รบทกุ ทกั ษะ (ฟงั พูด อา่ น เขียน) 100 - เช่น การจัดการเรียนร้แู บบ ACTIVE LEARNING 2.8 มีความมงุ่ มั่นในการสอน 93.60 6.40 3. ดา้ นสื่อนวัตกรรมการเรยี นรู้ 3.1 มีการสร้างหรอื พฒั นาส่ือนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และ 97.60 2.40 แหลง่ เรยี นรู้ไดอ้ ย่างหลากหลาย มีการจัดการเรยี นรู้ทมี่ ี Application 3.2 สอ่ื มคี วามเหมาะสมกบั นักเรียน / กิจกรรมการเรียน 99.20 0.80 4. ด้านการประเมินผลการเรียนรู้ 96.80 3.20 4.1 ประเมนิ ผลตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.2 ประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามสภาพจรงิ ใชว้ ธิ ปี ระเมนิ ที่หลากหลายและ สม่ำเสมอ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook