รายงานข้อมลู สถานการณ์ ดา้ นความรนุ แรงในครอบครัว สำ�หรับการรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองผถู้ กู กระทำ�ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำ�ปี 2562 สว่ นท่ี 3 บทวเิ คราะหส์ ถานการณค์ วามรุนแรงตอ่ เด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว และข้อเสนอแนะเชิงมาตรการ ในการป้องกนั และแก้ไขปญั หาความรนุ แรงในครอบครัว และแนวทางการด�ำเนินงานตามพระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครอง ผู้ถูกกระท�ำดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 เนอื้ หาสว่ นท่ี 3 ของรายงานขอ้ มลู สถานการณด์ า้ นความรนุ แรงในครอบครวั สำ� หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ คุ้มครองผถู้ ูกกระท�ำด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจ�ำปี 2562 เปน็ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลบางประเด็นทีส่ �ำคัญจากส่วนที่ 1 และ 2 ของรายงานฉบบั น้ี รวมทั้งน�ำเสนอข้อเสนอแนะเชิงมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและแนวทางการดำ� เนินงาน ตามพระราชบญั ญัตฯิ ดังน้ี 1. บทวเิ คราะห์สถานการณ์ความรุนแรงต่อเดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครัว ข้อมูลเกี่ยวกับจ�ำนวนเหตุการณ์หรือจ�ำนวนท้ังผู้ถูกกระท�ำและผู้กระท�ำความรุนแรงในครอบครัว พบว่า หน่วยงานที่จัดเก็บข้อมูล ในภาพรวมของความรุนแรงจากแหล่งขอ้ มูลในรายงานฉบบั นี้ ยังไม่ได้แยกขอ้ มูลเฉพาะกรณีการกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครัว เชน่ 1) ข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ท่ีรวบรวมจากหน่วยงานท่ัวประเทศ ได้แก่ ข้อมูลของศูนย์พ่ึงได้ โรงพยาบาล ท่ัวประเทศในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีการให้ความช่วยเหลือเด็กและสตรีท่ีมาขอรับบริการ พบว่า จ�ำนวนผู้ถูกกระท�ำความรุนแรง ในปี 2562 จำ� นวนท้งั ส้นิ 15,797 ราย โดยมีอัตราเฉลยี่ 43 ราย/วัน ในจำ� นวนดังกลา่ วผู้ถกู กระทำ� ความรุนแรง สว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง จำ� นวน 14,523 ราย รองลงมา คือ เพศชาย จ�ำนวน 1,265 ราย และเพศทางเลือก จ�ำนวน 9 ราย ทัง้ น้ี ระดบั อายขุ องผทู้ ีม่ ารบั บรกิ าร ของศนู ย์พึ่งได้ สงู สุดสามอนั ดบั แรก ได้แก่ ช่วงอายุ 10 ปี - ไมเ่ กิน 20 ปี ถกู กระท�ำความรนุ แรงมากทส่ี ดุ จ�ำนวน 5,553 ราย รองลงมา คอื ระดบั ชว่ งอายุ 20 ปี - ไมเ่ กนิ 30 ปี จำ� นวน 2,863 ราย และระดับชว่ งอายุ 30 ปี - ไม่เกิน 40 ปี จ�ำนวน 2,478 ราย ซงึ่ ขอ้ มลู จากกระทรวงสาธารณสขุ ขา้ งตน้ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู ผถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั ทเี่ ขา้ รบั บรกิ ารในบา้ นพกั เดก็ และ ครอบครวั ทัว่ ประเทศ จำ� แนกตามชว่ งอายุและเพศ จำ� นวนทงั้ สิ้น 1,226 ราย พบว่า ชว่ งอายผุ ถู้ กู กระทำ� ความรุนแรงในครอบครวั มากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ ชว่ งอายุ 5 ปี - ไมเ่ กนิ 18 ปี จำ� นวน 519 ราย รองลงมา คอื ชว่ งอายุ 18 - 30 ปี จำ� นวน 192 ราย และชว่ งอายุ 31 - 40 ปี จำ� นวน 175 ราย และข้อมูลจ�ำนวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว จากระบบฐานข้อมูลภายใต้เว็บไซต์ www.violence.in.th ของกรมกิจการ สตรีและสถาบันครอบครัว มีประเด็นข้อมูลท่ีน่าสนใจ คือ ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระท�ำและผู้ถูกกระท�ำความรุนแรงในครอบครัว ท่ีเกดิ ขึ้น มจี ำ� นวนทง้ั ส้นิ 1,532 เหตุการณ์ โดยความสมั พันธ์ระหว่างผูก้ ระทำ� และผถู้ ูกกระทำ� ทเี่ กดิ ข้นึ มากท่สี ดุ คือ ระหว่าง สามี/ภรรยา จ�ำนวน 878 ราย รองลงมา คือ ระหว่างบิดามารดากระท�ำต่อบุตร จ�ำนวน 405 ราย และพ่ี/น้องกระท�ำกับพี่/น้อง จ�ำนวน 55 ราย ของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผกู้ ระทำ� และผถู้ กู กระทำ� ทงั้ หมด และสาเหต/ุ ปจั จยั กระตนุ้ สว่ นใหญม่ าจากการเมาสรุ า/ยาเสพตดิ จำ� นวน 882 ราย รองลงมา คอื นอกใจ/หงึ หวง จำ� นวน 355 ราย และสขุ ภาพกาย/จติ จำ� นวน 271 ราย 2) ด้านสาเหต/ุ ปัจจยั กระตุ้นท่ีกอ่ ใหเ้ กิดความรนุ แรง ขอ้ มูลสถติ ิ ระบุว่า สาเหต/ุ ปัจจัยกระตุ้นที่กอ่ ใหเ้ กดิ ความรุนแรง อันดับแรก เปน็ เร่อื งของสัมพนั ธภาพในครอบครวั ได้แก่ การหงึ หวง/นอกใจ ซง่ึ เป็นข้อมลู ท่ตี รงกันทง้ั จากแหลง่ ข้อมลู ศูนย์พึ่งได้ กระทรวงสาธารณสุข โดยสาเหตุของความรุนแรงเกิดจากสัมพันธภาพในครอบครัวมากท่ีสุด จ�ำนวน 11,674 ราย รองลงมา คือ สาร/สิ่งกระตุ้น (สุรา/สารเสพติด/สื่อลามก) จ�ำนวน 7,276 ราย และ สภาพแวดล้อม จ�ำนวน 6,905 ราย ของจ�ำนวนปัจจัยกระตุ้นให้เกิดการกระท�ำ ความรนุ แรงทง้ั หมด จำ� นวนท้งั ส้นิ 29,751 เหตุการณ์ ซง่ึ ใน 1 เหตกุ ารณค์ วามรุนแรง พบว่า สาม/ี ภรรยา/คเู่ พศทางเลือก เป็นผ้กู ระท�ำ ความรนุ แรงมากทส่ี ดุ จำ� นวน 4,720 ราย รองลงมา คอื แฟน จำ� นวน 3,852 ราย และอนื่ ๆ (คนรจู้ กั ทาง Facebook, แฟนเกา่ , เพอื่ นของญาต)ิ จ�ำนวน 1,704 ราย สอดคล้องกบั ข้อมูลจากมลู นธิ ิหญิงชายกา้ วไกล ที่ระบวุ ่า สาเหต/ุ ปจั จัยกระตุ้น อนั ดบั แรก ๆ เปน็ การหงึ หวง/นอกใจ การเสพสรุ าเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอลล์ และบันดาลโทสะ รวมกันคิดเป็นร้อยละ 62.22 และท่นี า่ สนใจ คือ ข้อมูลจากโรงพยาบาล ในสังกัดกรงุ เทพมหานคร พบวา่ สาเหตปุ จั จัยของการถูกกระทำ� ความรุนแรงมากท่สี ุด สามอันดับแรก ได้แก่ สุขภาพกาย/จิต จ�ำนวน 595 เรื่อง รองลงมา คือ สุรา/ยาเสพติด จ�ำนวน 385 เรื่อง และการหึงหวง/นอกใจ จำ� นวน 320 เรอ่ื ง นอกจากน้ีขอ้ มลู ระบบฐานขอ้ มลู ความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครวั ภายใตเ้ วบ็ ไซต ์ www.violence.in.th ของกรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ แสดงให้เหน็ วา่ สาเหตุหลักของการกระท�ำ ความรนุ แรงยงั คงเป็นทั้งเร่ือง การเมาสรุ า/เสพสารเสพติด และการหงึ หวง/นอกใจ รวมกันคดิ เป็นรอ้ ยละ 62.16 นอกจากน้ี ยงั มปี ญั หา 50
กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ ดา้ นอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ปญั หาสขุ ภาพกาย/จติ ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ภายในและปญั หาเศรษฐกจิ /ตกงาน ซงึ่ เปน็ ปจั จยั ภายนอกทม่ี ผี ลกระทบ อนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 3) สถานทเี่ กดิ เหตคุ วามรนุ แรงในครอบครวั พบวา่ บา้ นตนเอง เปน็ สถานทเี่ กดิ เหตคุ วามรนุ แรงอนั ดบั หนง่ึ ทงั้ จากระบบฐานขอ้ มลู ฯ ภายใตเ้ วบ็ ไซต์ www.violence.in.th (รอ้ ยละ 71.02) และโรงพยาบาลตำ� รวจ (รอ้ ยละ 78.20) แสดงใหเ้ หน็ วา่ ปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั มักเกิดเหตุในเคหสถาน ซึ่งบุคคลภายนอกไม่สามารถเข้าถึงได้ แต่ขณะเดียวกัน ความรุนแรงในครอบครัวก็สามารถเกิดได้นอกเคหสถาน ได้เช่นกัน โดยข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลฯ ภายใต้เว็บไซต์ www.violence.in.th พบว่า บ้านคนอ่ืนเป็นสถานท่ีเกิดความรุนแรง ถงึ ร้อยละ 7.18 ดงั นนั้ ในทกุ สถานทค่ี วรให้ความส�ำคัญในการเฝา้ ระวงั และระงบั เหตคุ วามรนุ แรงในครอบครวั ขอ้ สงั เกต ในปี 2562 ขอ้ มลู การใหค้ วามชว่ ยเหลอื กรณปี ญั หาความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครวั พบวา่ การทำ� รา้ ย รา่ งกายมจี ำ� นวนมากกวา่ การลว่ งละเมดิ ทางเพศ โดยขอ้ มลู จากบา้ นพกั เดก็ และครอบครวั กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน กระทรวงการพฒั นา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ระบุว่า การทำ� รา้ ยร่างกายมจี ำ� นวนมากกว่าการล่วงละเมิดทางเพศในอตั ราส่วนประมาณ 3 เท่า 4) การคุ้มครองช่วยเหลือผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ประกอบด้วย การให้ความช่วยเหลือในเบ้ืองต้น ได้แก่ การสอบถามผกู้ ระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั /ผถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั บคุ คลอน่ื ทอ่ี ยใู่ นสถานทท่ี เ่ี กย่ี วกบั การกระทำ� ทไี่ ดร้ บั แจง้ เหตุ และการจดั ใหผ้ ถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั เขา้ รบั คำ� ปรกึ ษาจากจติ แพทย์ นกั จติ วทิ ยา หรอื นกั สงั คมสงเคราะห์ อนั เปน็ กระบวนการ ลำ� ดับแรก ๆ ในกระบวนการชว่ ยเหลอื ผู้ถกู กระทำ� ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั 5) ประเดน็ ดา้ นความแตกต่างในด้านจำ� นวนข้อมลู ระหวา่ งจ�ำนวนขอ้ มลู ของกระทรวงสาธารณสุขกับกระทรวงการพฒั นาสังคม และความมนั่ คงของมนษุ ย์ เนอ่ื งมาจากกรณผี ถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรงฯ ทเ่ี ขา้ สกู่ ระบวนการชว่ ยเหลอื ดแู ลเบอ้ื งตน้ ของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ โรงพยาบาล ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีบางกรณีท่ีไม่ได้เข้าสู่กระบวนการคุ้มครองช่วยเหลือของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนษุ ย์ สง่ ผลให้จ�ำนวนข้อมลู ของท้ังสองหนว่ ยงานมีความแตกต่างกนั เพ่ือให้การรวบรวบข้อมูล กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั มกี ารจัดเกบ็ ขอ้ มูลภาพรวมในระดบั จังหวัด โดยใช้กลไกศูนยพ์ ัฒนา ครอบครวั ในชมุ ชน (ศพค.) ในทกุ จงั หวดั ทว่ั ประเทศดำ� เนนิ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ความรนุ แรงในครอบครวั ซง่ึ ขณะนี้ กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครัวด�ำเนินการพัฒนาศักยภาพศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) ให้มีบทบาทเป็นศูนย์ปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการกระท�ำ ความรนุ แรงในครอบครวั ระดบั ตำ� บล (ศปก.ต.) ในแตล่ ะพนื้ ท่ี ซงึ่ ในปจั จบุ นั มศี นู ยพ์ ฒั นาครอบครวั ในชมุ ชนเขา้ รว่ มโครงการ จำ� นวน 707 แหง่ ท่วั ประเทศ 2. บทวิเคราะห์ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญตั ิคุ้มครองผถู้ ูกกระท�ำดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 เนอ่ื งดว้ ยพระราชบญั ญัติคุม้ ครองผถู้ ูกกระทำ� ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 มาตรา 17 ก�ำหนดใหก้ ระทรวงการพัฒนา สงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ดั ทำ� รายงานประจำ� ปี ไดแ้ ก่ จำ� นวนคดกี ารกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั จำ� นวนคำ� สงั่ กำ� หนดมาตรการ หรือวิธีการเพ่ือบรรเทาทุกข์ จ�ำนวนการละเมิดค�ำส่ังก�ำหนดมาตรการหรือวิธีการเพ่ือบรรเทาทุกข์ของพนักงานเจ้าหน้าท่ีและศาล และจ�ำนวนการยอมความ โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไ์ ดร้ วบรวมข้อมูลจาก 1) หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมที่เกย่ี วข้อง ได้แก่ ส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาติ ในปี 2562 มีจ�ำนวนคดกี ารกระท�ำความรุนแรง ในครอบครัว 52 คดี โดยแบ่งเป็นการร้องทุกข์ จำ� นวน 51 คดี และไมร่ อ้ งทุกข์ จำ� นวน 1 คดี มีการออกค�ำส่งั ก�ำหนดมาตรการหรอื วธิ กี าร เพ่อื บรรเทาทุกข์ จำ� นวน 8 ค�ำสั่ง การละเมิดค�ำสง่ั ก�ำหนดมาตรการ/วธิ ีการบรรเทาทกุ ข์ จำ� นวน 2 คำ� ส่งั และการยอมความชั้นสอบสวน จำ� นวน 9 คำ� สง่ั สว่ นขอ้ มลู ของสำ� นกั งานอยั การสงู สดุ แสดงจำ� นวนคดตี ามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ทีเ่ ข้าสู่กระบวนการของอยั การ แบง่ เปน็ เป็น สัง่ ฟอ้ ง 145 เร่อื ง ไมฟ่ อ้ ง จำ� นวน 13 เรอ่ื ง ยุติคดี (ยอมความ) จำ� นวน 16 เร่ือง และใช้มาตรการตามมาตรา 10 จ�ำนวน 16 เรื่อง และส�ำนักงานศาลยุติธรรม พบว่า คดีฟ้องศาลโดยตรงในปี 2562 มีจ�ำนวน 52 คดี มีจำ� นวนเพิ่มข้นึ จากปี 2561 คิดเป็นรอ้ ยละ 8.33 2) ข้อมูลจ�ำนวนความช่วยเหลือผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัวตามแบบรายงานการด�ำเนินการคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำ ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว (แบบ คร. 6) ปี 2562 จำ� นวนทงั้ สิน้ 1,739 ราย ในจำ� นวนน้ี ไดแ้ ก่ การจดั ใหผ้ ู้ถกู กระทำ� ด้วยความรุนแรง ในครอบครวั เขา้ รบั คำ� ปรกึ ษาจากจติ แพทย์ นกั จติ วทิ ยา หรอื นกั สงั คมสงเคราะหม์ ากทสี่ ดุ คอื จำ� นวน 502 ราย รองลงมา คอื การระงบั เหตุ และสอบถามผู้กระทำ� /ผู้ถกู กระท�ำด้วยความรนุ แรงในครอบครัว จ�ำนวน 495 ราย และการให้ความช่วยเหลือด้านอ่นื ๆ จ�ำนวน 265 ราย เช่น การไกล่เกลย่ี ทำ� บนั ทึกขอ้ ตกลงระหวา่ งทง้ั สองฝา่ ย ประสานหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งในการช่วยเหลือ/ด�ำเนนิ การชว่ ยเหลอื เงนิ สงเคราะห์ ครอบครวั และใหค้ �ำแนะน�ำเกยี่ วกับพระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองผ้ถู ูกกระท�ำดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 51
รายงานข้อมลู สถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครวั สำ�หรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองผู้ถกู กระทำ�ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำ�ปี 2562 3. การด�ำเนินงานดา้ นการยตุ ิความรุนแรงและการส่งเสริมสถาบันครอบครัวใหม้ ีความเข้มแข็งในปี 2562 จากสถานการณค์ วามรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครวั ดงั กลา่ ว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ มกี ารขบั เคลอ่ื นนโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาสถาบนั ครอบครวั พ.ศ. 2560 - 2564 ซงึ่ กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ไดก้ ำ� หนด ยุทธศาสตรด์ า้ นครอบครวั 5 ดา้ น ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาศักยภาพของครอบครัว เป็นยุทธศาสตร์ท่ีเน้นการส่งเสริมให้ครอบครัวมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มีสัมพันธภาพท่ีดี และท�ำบทบาทหน้าท่ีได้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้ครอบครัวด�ำเนินชีวิตโดยยึดมั่นในหลักคุณธรรมและจริยธรรม พร้อมทั้งส่งเสริมให้ครอบครัวด�ำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือให้ครอบครัวมีภูมิคุ้มกัน สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ภายใตส้ ภาวการณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลง 2) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 สรา้ งหลกั ประกนั ความมนั่ คงของครอบครวั เปน็ ยทุ ธศาสตรท์ มี่ งุ่ เนน้ การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั สวสั ดกิ ารครอบครวั ขั้นพื้นฐานท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของครอบครัวทุกลักษณะ การส่งเสริมความม่ันคงด้านเศรษฐกิจของครอบครัว ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการสง่ เสรมิ วนิ ยั การออมในครอบครวั พรอ้ มทง้ั การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสม มบี รรยากาศ การเรียนรู้ และความปลอดภยั สำ� หรบั ครอบครวั 3) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การบรหิ ารจัดการทีเ่ ออ้ื ต่อความเขม้ แข็งของครอบครวั เปน็ ยทุ ธศาสตร์ที่มุง่ เนน้ การพฒั นาศกั ยภาพกลไก และบุคลากรท่ีทำ� งานด้านครอบครัว การพฒั นากฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขอ้ บังคับเก่ยี วกับครอบครัวใหม้ ีความทันสมัยใหเ้ หมาะสมกับ สถานการณ์ และการพฒั นาการบริหารจดั การการท�ำงานดา้ นครอบครวั อย่างเป็นระบบ พร้อมกบั การสง่ เสริมและพฒั นางานวิชาการด้าน ครอบครัว 4) ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาครอบครัว เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการสร้าง และผลกั ดนั เครอื ขา่ ยทางสงั คมทกุ รปู แบบ ทกุ ระดบั ใหม้ ศี กั ยภาพในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาครอบครวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสรา้ งการมสี ว่ นรว่ ม อยา่ งเปน็ รปู ธรรม พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกดิ ระบบเครอื ขา่ ยครอบครัวในรูปแบบตา่ ง ๆ 5) ยุทธศาสตร์ท่ี 5 พัฒนากระบวนการสื่อสารสังคมเพ่ือพัฒนาครอบครัว เป็นยุทธศาสตร์ท่ีเน้นการส่งเสริมการผลิตส่ือ และชอ่ งทางสอ่ื การเรยี นรเู้ พอื่ การพฒั นาครอบครวั เขม้ แขง็ และการพฒั นากระบวนการใชส้ อ่ื เปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ของครอบครวั รวมทงั้ การพฒั นากลไกและสง่ เสรมิ การบังคบั ใชก้ ฎหมายดา้ นสอื่ ให้มีประสทิ ธภิ าพ สบื เนือ่ งจากการกำ� หนดนโยบายและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาสถาบันครอบครวั พ.ศ. 2560 - 2564 ท้ัง 5 ด้าน ดังกล่าว ในการส่งเสรมิ สถาบันครอบครวั ให้มคี วามเขม้ แขง็ ในปี 2562 กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว ได้ดำ� เนนิ มาตรการในการป้องกนั และแก้ไขปญั หา ความรนุ แรงในครอบครัวท้ังระยะสน้ั และระยะยาว ไดแ้ ก่ 1) การสรา้ งระบบพฒั นาศกั ยภาพครอบครัวเขม้ แขง็ กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัวได้ดำ� เนินการ ดงั น้ี ด�ำเนินการทบทวนและจัดท�ำนิยาม ความหมาย และประเภทครอบครัว เพื่อให้มีกรอบการท�ำงานกับกลุ่มเป้าหมาย ในการดำ� เนนิ งานดา้ นครอบครวั ไดอ้ ยา่ งชัดเจน ด�ำเนินการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพครอบครัวตามโครงการส่งเสริมสัมพันธภาพในครอบครัว กิจกรรมหลักสูตรโรงเรียน ครอบครัว ใน 4 ภูมิภาค เช่น ด�ำเนินการในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวท้ัง 8 แห่ง โดยเป็นแกนกลางประสานงาน ในชุมชน ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาสงั คมในทกุ กลุ่มเปา้ หมาย เชน่ เดก็ สตรี ผสู้ งู อายุ คนพิการ และครอบครัว เป็นตน้ โดยด�ำเนนิ การจดั อบรม ให้ความร้เู ร่อื งครอบครัว เพ่อื สง่ เสรมิ ความเข้มแขง็ ของครอบครัวทกุ ชว่ งวยั (Family Life Cycle) ดำ� เนนิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความเขม้ แขง็ ของสถาบนั ครอบครวั ในระดบั พน้ื ทเ่ี ปน็ การรณรงคใ์ หส้ งั คมไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของครอบครัว โดยจัดกิจกรรมวันแห่งครอบครัวทั่วประเทศและกระตุ้นให้เกิดครอบครัวไทยใจอาสา การยกย่องเชิดชูเกียรติครอบครัว/ บุคคลต้นแบบด้านครอบครัว 76 จงั หวัด และกรุงเทพมหานคร โดยไดม้ กี ารคดั เลือก และมอบรางวลั ครอบครวั ร่มเย็น ทง้ั นี้ การมอบรางวลั ตา่ ง ๆ ดงั กล่าว เพ่ือเปน็ เกียรติขวัญกำ� ลงั ใจ และการให้ความร้ดู า้ นครอบครวั ผ่านส่ือเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ 2) การสร้างระบบครอบครัวให้มีความม่ันคง กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้ด�ำเนินการจัดท�ำเกณฑ์มาตรฐานสมาคม ฌาปนกจิ สงเคราะห์ และเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพนายทะเบยี นสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะหป์ ระจำ� ทอ้ งที่ พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั เปน็ สมาชิกการฌาปนกิจสงเคราะห์ และสง่ เสริมให้มีการรวมกลมุ่ เพ่ือสร้างหลักประกนั ใหแ้ กค่ รอบครวั 3) การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของกลไกดา้ นครอบครวั ในระดบั จงั หวดั กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ไดส้ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ การด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) ซ่ึงเป็นองค์กรภาคประชาชน เพ่ือเป็นศูนย์กลางและกลไกในการเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขปัญหา ให้ค�ำแนะน�ำ และส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับครอบครัวในพื้นท่ี ซึ่งในปี 2562 ศพค. ได้ด�ำเนินงานด้านครอบครัว 52
กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ หลายโครงการ ได้แก่ โครงการโรงเรียนครอบครัว โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โครงการส่งเสริม สัมพันธภาพของครอบครัว โครงการป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โครงการส่งเสริมหลักประกันความม่ันคงของครอบครัว โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและเห็นคุณค่าในตนเองเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้าประเวณี และโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ รวมท้งั กจิ กรรมส่งเสริมสมั พนั ธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัวตา่ งช่วงวัย โดยมกี ลุ่มเป้าหมายเขา้ รว่ มโครงการ จำ� นวนท้งั สิ้น 347,737 คน หรอื 113,912 ครอบครวั ท้ังนี้ กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั ไดส้ ง่ เสรมิ ศพค. ใหเ้ ปน็ ศูนยป์ ฏบิ ัติการเพื่อปอ้ งกนั การกระทำ� ความรุนแรงในครอบครวั ระดับต�ำบล (ศปก.ต.) โดยด�ำเนินงานรว่ มกบั เครือข่าย สหวิชาชพี และ อปท. ในพื้นท่ี/ต�ำบล ในปี 2562 มี ศปก.ต. เขา้ ร่วมโครงการแลว้ จ�ำนวน 707 แห่ง โดย สค. ด�ำเนินการเสริมสร้างศักยภาพ ศปก.ต. และบุคลากรจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเข้าร่วมกิจกรรม การเสริมสรา้ งศกั ยภาพกลไก ศปก.ต. 4) การพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นครอบครวั ไดแ้ ก่ ระบบมาตรฐานครอบครวั เขม้ แขง็ www.stat.thaifamily.in.th และระบบขอ้ มลู ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว www.violence.in.th โดย สค. ได้จัดท�ำและเผยแพร่รายงานข้อมูลความรุนแรง ในครอบครัว ตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 และรายงานสถานการณ์ ความเขม้ แขง็ ของครอบครวั ซึ่ง สค. ด�ำเนินการโครงการคลังข้อมูลสารสนเทศด้านครอบครัวแห่งชาติ (Family Big Data) โดยวางแผนจัดท�ำระบบข้อมูล ดา้ นครอบครวั เชอ่ื มโยงขอ้ มลู พนื้ ฐานจากทกุ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานในการสง่ เสรมิ สถาบนั ครอบครวั กำ� หนดนโยบาย และแผนงานไดต้ รงกบั ความตอ้ งการของครอบครวั ทนั ตอ่ สถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งสามารถน�ำข้อมลู ไปใช้ประโยชน์ ในเชงิ วชิ าการหรอื งานวจิ ยั ตอ่ ไป และ สค. สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนและหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งทกุ ภาคสว่ นไดม้ สี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับประเด็นการขับเคล่ือนด้านครอบครัว โดยการจัดเวทีสมัชชาครอบครัวทั้งในระดับจังหวัด และระดับชาติ จ�ำนวนผู้เข้าร่วมงาน สมชั ชาครอบครัวทกุ ระดบั ในปี 2562 จ�ำนวนทงั้ สน้ิ 7,567 คน 5) การส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาครอบครัว กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นาศกั ยภาพ และสนบั สนนุ หนว่ ยงานและภาคเี ครอื ขา่ ยทง้ั ในสว่ นกลาง และสว่ นภมู ภิ าค 76 จงั หวดั ใหม้ กี ารจดั ทำ� แผนงาน โครงการท่ีมีการด�ำเนินการด้านครอบครัวอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติการพัฒนาสถาบันครอบครัวระดับจังหวัด และสนับสนุนให้มีการบูรณาการท�ำงานด้านครอบครัว การขับเคลื่อนและติดตามการด�ำเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการดังกล่าว รวมทั้งการจัดท�ำแผนปฏิบัติการเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ท้ังน้ี สค. ได้ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส�ำนักงานอัยการสูงสุด สภานิติบัญญัติแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ในการรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ ความรุนแรงในครอบครัวแก่สังคมมาอย่างต่อเน่ือง ในปี 2562 มีบุคลากรจากหน่วยงานและองค์กรเครือข่ายเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม จำ� นวนทง้ั ส้ิน 600 คน 6) การพัฒนากระบวนการส่ือสารสังคมเพ่ือพัฒนาครอบครัว กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้ส่งเสริมการผลิตส่ือ และช่องทางส่ือการเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง ท้ังการพัฒนาช่องทางการสื่อสารสังคมเพ่ือพัฒนาครอบครัว ผ่านการรณรงคท์ างสงั คม โดยการผลิตส่อื การเรยี นรู้เพอ่ื การพัฒนาครอบครวั เขม้ แข็ง และเสริมสรา้ งสมั พันธภาพทด่ี ีในครอบครวั 7) การสร้างกระแสสังคมและสร้างภูมิคุ้มกันครอบครัวจากความรุนแรง ในปี 2562 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้จัดกิจกรรมสร้างความตระหนักต่อปัญหาความรุนแรง รณรงค์ปรับเจตคติของคนในสังคม และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั ปญั หา การใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั สทิ ธดิ า้ นครอบครวั สปู่ ระชาชนตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 โดย ในสว่ นกลาง ไดจ้ ดั กจิ กรรมการตดิ เขม็ กลดั รบิ บน้ิ สขี าว ใหแ้ กน่ ายกรฐั มนตรี และคณะรฐั มนตรี และในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดมีการจัดกิจกรรมงานรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก สตรี บุคคลในครอบครัว และความรุนแรงในสังคม ทุกรูปแบบทัง้ 76 จงั หวดั ทวั่ ประเทศ โดยผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมรณรงคย์ ตุ คิ วามรนุ แรงฯ ท่วั ประเทศ จำ� นวน 25,719 คน 8) การด�ำเนินการในด้านกฎหมายป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ในปี 2562 กรมกิจการสตรีและสถาบัน ครอบครัวได้มีการผลักดันและจัดเตรียมความพร้อมในการบังคับใช้กฎหมายฉบับใหม่ในการคุ้มครองและส่งเสริมสถาบันครอบครัว คือ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาและคมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั พ.ศ. 2562 โดยการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพใหก้ บั กลไกสำ� คญั ในการขบั เคลอ่ื น พระราชบัญญัติฯ ท้ังในระดับชาติ และระดับท้องถ่ิน รวมท้ังกรุงเทพมหานครและส่วนภูมิภาค พร้อมท้ังได้ก�ำหนดกระบวนการ พัฒนาสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง และคุ้มครองสถาบันครอบครัวจากความรุนแรง โดยผู้เข้าร่วมการอบรม/สัมมนาเสริมสร้าง ศักยภาพตา่ ง ๆ จ�ำนวนรวม 643 คน 53
รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ดา้ นความรนุ แรงในครอบครัว สำ�หรับการรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองผู้ถกู กระทำ�ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำ�ปี 2562 4. แนวทางการด�ำเนินงานในการคุ้มครองผ้ถู ูกกระทำ� ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัวในปี 2563 ในปี 2563 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ (พม.) โดยกรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ไดก้ ำ� หนดแนวทาง ที่จะด�ำเนินการในการคมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั ซงึ่ ก�ำหนดใหด้ �ำเนนิ การสืบเนอ่ื งจากปี 2562 ไดแ้ ก่ 1) การส่งเสริมสหวิชาชีพและเครือข่ายด้านครอบครัวไทยปลอดความรุนแรง ในปี พ.ศ. 2563 กรมกิจการสตรีและสถาบัน ครอบครัวมีแนวทางการด�ำเนินการพัฒนาศักยภาพทีมสหวิชาชีพและเครือข่ายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำความรุนแรง ในครอบครัว พ.ศ. 2550 การเสริมสรา้ งความรู้แก่ผู้ปฏบิ ัตงิ านด้านความรนุ แรงในครอบครัว ได้แก่ พนกั งานเจ้าหน้าทต่ี ามพระราชบญั ญตั ิฯ ทีมสหวิชาชีพ พนักงานสอบสวน บุคลากรผู้ปฏิบัติงานกระบวนการยุติธรรม กระบวนการยุติธรรม และบุคลากรอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง ตามบทบาทของแตล่ ะหนว่ ยงาน/องคก์ รในการปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญตั ฯิ พฒั นาศกั ยภาพของศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ปอ้ งกนั การกระทำ� ความรุนแรงในครอบครัว ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถขับเคลื่อนงานด้านการป้องกัน และแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ตามพระราชบัญญตั ิดงั กล่าว ได้อยา่ งเป็นระบบ 2) การเสริมสรา้ งเครอื ข่ายในระดับพ้นื ทใ่ี นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาความรนุ แรงในครอบครวั กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครัวก�ำลังด�ำเนินการพัฒนากลไกชุมชน คือ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้มีบทบาทหน้าท่ีเป็น ศูนย์ปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการกระท�ำความรุนแรงในครอบครัวระดับต�ำบล โดยในปี 2563 มีแนวทางเน้นการพัฒนาศักยภาพ ของศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ป้องกันการกระทำ� ความรุนแรงในครอบครวั ระดับตำ� บล ซง่ึ จดั ตั้งไว้สบื เนือ่ งมาจนถงึ ปี 2562 ไม่นอ้ ยกวา่ 450 แห่ง ทั้ง 76 จังหวัด เพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้ตามแนวทางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ช่วยเหลือเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวเบื้องต้น และสามารถประสานสง่ ตอ่ ทมี สหวิชาชีพไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3) การสนับสนุนกระบวนการขับเคล่ือนการด�ำเนินงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ในปี พ.ศ. 2563 กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั มแี นวทางดำ� เนนิ การขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งานตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง ผถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรงในครึ อบครัว พ.ศ. 2550 ได้แก่ การปรับปรงุ ระบบข้อมูลความรนุ แรงต่อเด็ก สตรี และความรนุ แรงในครอบครวั www.violence.in.th ซ่ึงจะด�ำเนินการรว่ มกบั ระบบขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นครอบครวั หรือ Family Big Data ในปี 2563 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ โดยกรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั มแี ผนการในการจดั ทำ� ระบบขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นครอบครวั หรอื ระบบ Family Big Data Platform โดยเปน็ การดำ� เนนิ การจดั ทำ� ระบบสารสนเทศดา้ นครอบครวั ขนาดใหญ่ (Thai Family Big Data) โดยมีการจดั หาระบบจดั เก็บขอ้ มูล และวิเคราะห์ขอ้ มลู ด้านครอบครวั แลกเปล่ยี นและเชือ่ มโยงข้อมูล ด้านครอบครัวกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทั้งน้ี ในระบบดังกล่าวจะมีส่วนของการบูรณาการกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการเชื่อมโยงข้อมูล สว่ นบุคคลของผูถ้ กู กระท�ำและผู้กระท�ำความรุนแรงในครอบครัว รวมถึงการคุม้ ครองชว่ ยเหลอื ผถู้ กู กระท�ำความรุนแรง ประโยชนข์ องการดำ� เนนิ การระบบขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นครอบครวั หรอื ระบบ Family Big Data Platform คอื การมรี ะบบตน้ แบบ เพ่ือระบุข้อมูลจ�ำนวนครอบครัวของประเทศไทยที่ถูกต้องและแม่นย�ำเพียงพอที่จะสามารถระบุจ�ำนวนและชี้เป้าพิกัดของครอบครัว แตล่ ะประเภทใหแ้ ก่หน่วยงานในทุกระดับใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการให้ความชว่ ยเหลือกบั ครอบครัวท่ีประสบปญั หาหรือเป็นกลมุ่ เสี่ยง 4) การสรา้ งทัศนคติความรู้ความเขา้ ใจต่อประชาชนเพ่ือยตุ ิความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบคุ คลในครอบครัว ในปี 2563 กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กำ� หนดแนวทางการจดั งานรณรงคย์ ตุ คิ วามรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี บคุ คลในครอบครวั และความรุนแรงในสังคมทุกรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างกระแสสังคมให้เกิดความตระหนักต่อปัญหาและน�ำไปสู่การรวมพลัง ของทุกภาคสว่ นในการยุตคิ วามรุนแรงตอ่ เด็ก สตรี บคุ คลในครอบครวั และความรนุ แรงในสังคมทกุ รปู แบบ การด�ำเนินการประกอบด้วย กิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวร่วมกับหน่วยงานทุกภาคส่วนและหน่วยงาน ที่เกีย่ วขอ้ ง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค การผลิตสือ่ ประชาสัมพันธ์รณรงค์เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ทางชอ่ งทางส่อื ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่อื ใหป้ ระชาชนกลุ่มเป้าหมาย ตระหนกั ถงึ ปญั หา รบั รสู้ ทิ ธิ ชอ่ งทางการใหค้ วามชว่ ยเหลอื และเขา้ ถงึ การใหบ้ รกิ ารคมุ้ ครองชว่ ยเหลอื ทเ่ี ปน็ มติ รมากขน้ึ สอื่ มวลชนตระหนกั และให้ความรว่ มมือในการนำ� เสนอข้อมลู อย่างสร้างสรรค์ และปรบั ทศั นคตสิ ังคมและผปู้ ฏบิ ัตงิ านด้านครอบครวั 5) การดำ� เนนิ การปรับปรุงกฎหมายปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั ในปี 2563 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้วางแนวทางปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครอง สถาบันครอบครัว พ.ศ. 2562 โดยรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานองค์กรทุกภาคส่วนทั่วประเทศ เพื่อให้มี การดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และกำ� หนดสรปุ ผลขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นา และค้มุ ครองสถาบนั ครอบครวั พ.ศ. 2562 เพ่อื ดำ� เนินการปรบั ปรุงกฎหมายต่อไป 54
กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ เอกสารอา้ งอิง กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย,์ (2562) แบบบันทึกข้อมูลดา้ นการกระทำ� ความรุนแรงตอ่ เดก็ สตรี และบุคคลในครอบครัว ของหนว่ ยงานบ้านพักเด็กและครอบครวั 77 จงั หวดั (ระหว่างวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธนั วาคม 2562). กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย,์ (2562) บนั ทกึ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื เบ้ืองต้นตามแบบ รายงานการด�ำเนนิ การค้มุ ครองผ้ถู ูกกระทำ� ความรนุ แรงครอบครวั หรือแบบ คร.6 ประจ�ำปี 2562. กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย,์ (2562) รายงานข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก สตรีและความรุนแรงในครอบครัว ส�ำหรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำ� ปี 2561. กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย,์ (2563) ขอ้ มลู ตามระบบฐานขอ้ มลู ความรนุ แรงในครอบครวั ภายใต้ HYPERLINK “http://www.violence.in.th” http://www.violence.in.th. มลู นธิ ิปวณี าหงสกลุ เพื่อเดก็ และสตรี (องคก์ รสาธารณประโยชน์), (2563) ข้อมลู การรับเร่อื งขอความชว่ ยเหลือและเร่อื งราวรอ้ งทุกข์ ประจำ� ปี 2562. มูลนิธิศุภนิมิตรแห่งประเทศไทย, (2563) ข้อมูลด้านการกระท�ำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวของมูลนิธิศุภนิมิตร (ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก, (2563) ข้อมูลด้านการกระท�ำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวของมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก (ระหวา่ งวันท่ี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล, (2563) บันทึกข้อมูลด้านการกระท�ำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัวของมูลนิธิหญิงชายก้าวไกล (ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). โรงพยาบาลต�ำรวจ, (2563) ข้อมูลด้านการกระท�ำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์พ่ึงได้ โรงพยาบาลต�ำรวจ (ระหว่างวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). โรงพยาบาลรามาธบิ ด,ี (2563) แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ดา้ นการกระทำ� ความรนุ แรงตอ่ เดก็ อายตุ ำ่� กวา่ 18 ปี (ผถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั ) ของงาน สังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี (ระหวา่ งวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์, (2563) แบบสรุปรายงานผู้ถูกกระท�ำความรุนแรง ในครอบครัวที่ขอรับบรกิ ารจากศนู ยช์ ่วยเหลือสงั คม ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ประจ�ำปี 2562 (ระหว่าง วันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). สภาสงั คมสงเคราะหแ์ หง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ,์ (2563) ขอ้ มูลผู้รบั บรกิ ารศูนย์บริการปรึกษา ปี 2562. สมาคมบณั ฑติ สตรที างกฎหมายแห่งประเทศไทยในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์, (2563) บนั ทึกข้อมูลดา้ นการกระทำ� ความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และบุคคล ในครอบครัวของสมาคมบัณฑติ สตรีทางกฎหมายแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ (ระหวา่ งวันที่ 1 มกราคม - 31 ธนั วาคม 2562). สมาคมวางแผนครอบครวั แหง่ ประเทศไทยในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนน,ี (2563) แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ดา้ นการกระทำ� ความรนุ แรง ต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัวของสมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). สมาคมสง่ เสรมิ สถานภาพสตรใี นพระอปุ ถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมน่ื สทุ ธนารีนาถ (2563) บนั ทึกขอ้ มูล ดา้ นการกระทำ� ความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และบคุ คลในครอบครวั ของสมาคมสง่ เสรมิ สถานภาพสตรใี นพระอปุ ถมั ภฯ์ (ระหวา่ งวนั ท่ี 1 มกราคม - 31 ธนั วาคม 2562). ส�ำนกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร, (2563) บนั ทึกขอ้ มลู ด้านการกระทำ� ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัวของศนู ย์พิทกั ษ์สทิ ธิเดก็ และ สตรี โรงพยาบาลในสังกัดสำ� นกั การแพทย์ กรงุ เทพมหานคร (ระหว่างวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). ส�ำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร, (2563) แบบบันทึกข้อมูลด้านการกระท�ำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัวของส�ำนักอนามัย กรงุ เทพมหานคร (ระหว่างวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562). กองบรหิ ารการสาธารณสุข สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ , (2563) สถิตผิ ูม้ ารบั บริการในศนู ยพ์ ่ึงได้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ, (2563) แบบรายงานคดตี ามพระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองผู้ถกู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจ�ำปี 2562. สำ� นกั งานศาลยตุ ธิ รรม, (2563) สถติ คิ ดตี ามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ศาลเยาวชนและครอบครวั ท่ัวราชอาณาจกั ร ประจ�ำปี 2562. สำ� นกั งานอยั การสูงสุด, (2563) แบบรายงานคดีตามพระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจ�ำปี 2562. 55
รายงานข้อมูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครวั ส�ำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองผู้ถูกกระทำ�ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำ�ปี 2562 คณะผ้จู ัดท�ำ คณะท่ีปรกึ ษา นางสาวอุษณี กังวารจติ ต์ อธบิ ดกี รมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครัว รองอธบิ ดกี รมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั นางสาววจิ ิตา รชตะนันทกิ ุล รองอธบิ ดกี รมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ผู้อำ� นวยการกองสง่ เสรมิ สถาบันครอบครัว นางสาวสุนีย ์ ศรีสง่าตระกูลเลิศ ผ้อู �ำนวยการกลุ่มคุ้มครองและพทิ ักษส์ ิทธิ กองสง่ เสริมสถาบันครอบครัว นายกนั ตพงศ์ รังษสี วา่ ง กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว นางอรยี าพร อรุณเนตร กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครัว กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครวั กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั คณะผ้จู ดั ทำ� กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัว 1. นายกรณรงค ์ เหรียนระวี 2. นางสาววชั นี อชั ฌานภาลัย 3. นายชวภณ อบุ ลสุวรรณ 4. นายกนกชยั มสี กุล 5. นางสาวนชุ นารถ แซ่บ้าง 56
กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ไม่ ไไมม่่ยอมรบันงิ่ เฉย... กระท�ำ คว�มรนุ แรง ต่อเด็ก สตรี และบคุ คลในครอบครัว กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั 57 กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ 255 ถนนราชเทวี แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทร/โทรสาร 0 2642 7750 www.dwf.go.th www.violence.in.th
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161