Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.3

(4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.3

Published by agenda.ebook, 2020-09-03 05:47:12

Description: (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.3 การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 29 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 10 กันยายน 2563

Search

Read the Text Version

เรอ่ื งทค่ี ณะกรรมาธิการ พิจารณาเสรจ็ แลว้ ครงั้ ท่ี 29 (สมัยสามัญประจาปคี รง้ั ท่ีหน่งึ ) วันที่ 10 กันยายน 2563 ระเบยี บวาระท่ี 4.3













สารบัญ หน้า ๑. ความเปน็ มาและลาดับการดาเนนิ การของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ๑ พิจารณาศกึ ษาปญั หา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ๓ ๓ ๑) การเลือกกรรมาธิการวิสามญั ใหด้ ารงตาแหน่งต่างๆ ๔ ๒) การแตง่ ต้ังผูช้ ่วยเลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญ ๕ ๓) การเชญิ บคุ คลภายนอกมาร่วมประชมุ สอบถามความคิดเห็น ๘ ๔) การทางานของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญ ๑๐ ๕) กรอบการทางานและการพจิ ารณาศึกษาของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญ ๖) การจัดทารายงานของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ๑๒ ๒. รายงานผลการพิจารณาศึกษา ขอ้ สังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ ๑๒ ของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญ ๑๒ ๒๑ หมวด ๑ บททว่ั ไป และหมวด ๒ พระมหากษตั รยิ ์ ๒๒ ๒๕ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ๓๑ ๓๑ หมวด ๔ หน้าที่ของปวงชนชาวไทย ๓๒ ๔๑ หมวด ๕ หน้าทขี่ องรัฐ ๔๓ ๕๒ หมวด ๖ แนวนโยบายแหง่ รัฐ ๕๓ ๕๔ หมวด ๗ รฐั สภา ๕๙ ๑) ส่วนท่ี ๑ บททว่ั ไป ๖๒ ๒) ส่วนท่ี ๒ สภาผูแ้ ทนราษฎร ๖๒ ๓) ส่วนที่ ๓ วฒุ สิ ภา ๗๑ ๔) ส่วนท่ี ๔ บทท่ใี ชแ้ ก่สภาทั้งสอง ๗๒ ๕) สว่ นที่ ๕ การประชุมรว่ มกันของรัฐสภา ๗๔ ๖) ขอ้ เสนอแนะพิเศษทา้ ยหมวด ๗ รฐั สภา หมวด ๘ คณะรัฐมนตรี หมวด ๙ การขดั กันแห่งผลประโยชน์ หมวด ๑๐ ศาล ๑) ส่วนท่ี ๑ บททว่ั ไป ๒) สว่ นที่ ๒ ศาลยตุ ิธรรม ๓) สว่ นท่ี ๓ ศาลปกครอง ๔) สว่ นที่ ๔ ศาลทหาร

สารบัญ หนา้ หมวด ๑๑ ศาลรฐั ธรรมนูญ ๗๘ หมวด ๑๒ องค์กรอสิ ระ ๘๘ ๘๙ ๑) สว่ นที่ ๑ บททั่วไป ๙๔ ๒) สว่ นที่ ๒ คณะกรรมการการเลอื กตัง้ ๙๖ ๓) สว่ นท่ี ๓ ผูต้ รวจการแผน่ ดิน ๙๗ ๔) ส่วนท่ี ๔ คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ๑๐๐ ๕) สว่ นที่ ๕ คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน ๑๐๒ ๖) ส่วนที่ ๖ คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาติ หมวด ๑๓ องค์กรอยั การ ๑๐๖ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ๑๑๐ หมวด ๑๕ การแกไ้ ขเพิม่ เตมิ รัฐธรรมนญู หมวด ๑๖ การปฏริ ูปประเทศ ๑๑๙ บทเฉพาะกาล ขอ้ เสนอแนะเรอ่ื งการปฏิรปู ระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ๑๒๓ ๑๓๒ ๓. ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั รายงานการประชุมชวเลข (แยกรายบุคคล) ๑๓๙ ความเหน็ เป็นลายลักษณอ์ กั ษรของกรรมาธิการท่มี ไิ ดเ้ ข้าร่วมประชมุ ๑๔๔

รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ พจิ ารณาศึกษาปญั หา หลกั เกณฑ์ และแนวทางการแกไ้ ขเพ่ิมเติม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ----------------------------- ๑. ความเป็นมาและลาดับการดาเนินการของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามที่ที่ประชมุ สภาผู้แทนราษฎร ชุดท่ี ๒๕ ปีท่ี ๑ ครั้งท่ี ๑๒ (สมัยสามัญประจาปคี ร้ังที่สอง) วันพุธที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๒ ได้พิจารณาญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (นายสุทิน คลังแสง และนายปิยบุตร แสงกนกกุล เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎร ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษากระบวนการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (นายสมคิด เช้ือคง กับคณะ เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เร่ือง ขอให้สภาผู้แทนราษฎร ต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาและแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ (นายเทพไท เสนพงศ์ เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เร่ือง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาศึกษาแนวทาง การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (นายนิกร จานง และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา เร่ืองหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ รวมกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ท่ีเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (นายวิเชียร ชวลิต เป็นผู้เสนอ) และญัตติ เร่ือง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์ และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (นายจตุพร เจริญเชื้อ เป็นผู้เสนอ) และลงมติต้ังกรรมาธิการวิสามัญข้ึนคณะหนึ่งเพ่ือพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทาง การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามข้อบังคับการประชุม สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๔๙ โดยได้กาหนดระยะเวลาพิจารณาศึกษาไว้ ๑๒๐ วัน ครบกาหนด วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๓ แต่เกิดการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID–19) ต้ังแต่ต้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ จนมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID–19) ในเวลาต่อมา ทาให้ไม่อาจประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ ได้ตามกาหนดการที่วางไว้เดิม คณะกรรมาธิการวิสามัญจึงขอขยายระยะเวลาพิจารณาศึกษาต่อประธาน สภาผู้แทนราษฎรออกไปจนถึงวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ เนื่องจากขณะนั้นอยู่ระหว่าง ปิดสมัยประชุมสภาผู้แทนราษฎร แต่ยังคงมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID–19) อย่างต่อเนื่อง ทาให้คณะกรรมาธิการวิสามัญไม่อาจประชุมได้ จนกระท่ังเปิดสมัยประชุม สภาผู้แทนราษฎร ชุดท่ี ๒๕ ปีที่ ๒ (สมัยสามัญประจาปีคร้ังที่หน่ึง) เมื่อวันศุกร์ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๓ คณะกรรมาธิการวิสามัญจึงกลบั มาประชมุ ได้อกี ครั้งเม่ือวันศุกร์ที่ ๕ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ แต่ใกล้ครบกาหนดเวลา ท่ีขอขยายไว้ถึงวันพฤหัสบดีท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ ดังกล่าวแล้ว คณะกรรมาธิการวิสามัญจึงขอขยายระยะเวลา พิจารณาศึกษาต่อสภาผู้แทนราษฎรออกไปอีกเป็นเวลา ๙๐ วัน นับแต่วันศุกร์ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๓

-๒- ครบกาหนดวันพุธท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๖๓ แต่คณะกรรมาธิการวิสามัญสามารถทาการพิจารณาศึกษา เสร็จก่อนกาหนดเป็นเวลาประมาณ ๓๐ วัน โดยประชุมพิจารณาเสร็จส้ินเม่ือวันศุกร์ท่ี ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ และประชุมพิจารณารับรองรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญท่ีจัดทาโดยคณะทางานจัดทารายงาน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ เพื่อเสนอรายงานต่อประธานสภาผู้แทนราษฎรในวันจันทร์ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติม รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ประกอบดว้ ย ๑. นายกฤช เอื้อวงศ์ ๒. นายโกวิทย์ ธารณา ๓. นายจตุพร เจริญเชอ้ื ๔. นายชัยเกษม นิติสิริ ๕. นายชัยธวชั ตลุ าธน ๖. นายชานาญ จันทรเ์ รือง ๗. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ๘. รองศาสตราจารยช์ ศู ักด์ิ ศิรินิล ๙. นายดารงค์ พเิ ดช ๑๐. พันตารวจเอก ทวี สอดสอ่ ง ๑๑. นายทศพล เพ็งส้ม ๑๒. นายเทพไท เสนพงศ์ ๑๓. นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ ๑๔. นายธนกร วงั บุญคงชนะ ๑๕. นายนิกร จานง ๑๖. นายนพิ ฏิ ฐ์ อินทรสมบตั ิ ๑๗. นายนิโรธ สุนทรเลขา ๑๘. นายบัญญัติ บรรทดั ฐาน ๑๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บณั ฑติ จนั ทรโ์ รจนกิจ ๒๐. นายบญุ ดารง ประเสรฐิ โสภา ๒๑. นายปกรณ์ นิลประพันธ์ ๒๒. นายประยทุ ธ์ ศิรพิ านิชย์ ๒๓. นายปยิ บตุ ร แสงกนกกลุ ๒๔. นายพงศเ์ ทพ เทพกาญจนา ๒๕. นายพรี ะพนั ธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒๖. นายไพบลู ย์ นติ ติ ะวัน ๒๗. นายภราดร ปริศนานันทกุล ๒๘. รองศาสตราจารย์โภคนิ พลกลุ ๒๙. นายมนญู สวิ าภริ มยร์ ตั น์ ๓๐. นายยงยทุ ธ ตยิ ะไพรชั ๓๑. รองศาสตราจารยร์ งค์ บญุ สวยขวัญ ๓๒. นายรงั สิมนั ต์ โรม ๓๓. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกลู ๓๔. ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ลยั พร รัตนเศรษฐ ๓๕. นายวฒั นา เมอื งสขุ ๓๖. นายวิเชียร ชวลิต ๓๗. ศาสตราจารยว์ ฒุ สิ าร ตนั ไชย ๓๘. นายศุภชัย ใจสมุทร ๓๙. นายสนธิญาณ ช่ืนฤทยั ในธรรม ๔๐. รองศาสตราจารยส์ มชัย ศรสี ทุ ธยิ ากร ๔๑. นายสฤษฏ์พงษ์ เก่ยี วขอ้ ง ๔๒. นายสมั พันธ์ เลิศนวุ ฒั น์ ๔๓. นายสริ ะ เจนจาคะ ๔๔. นายสทุ ศั น์ เงนิ หมื่น ๔๕. นายสุทิน คลังแสง ๔๖. นายสุรสทิ ธิ์ นิธวิ ุฒิวรรักษ์ ๔๗. นาวาอากาศเอก อนุดษิ ฐ์ นาครทรรพ ๔๘. ศาสตราจารยอ์ ดุ ม รัฐอมฤต ๔๙. นายเอกพันธ์ุ ปณิ ฑวณชิ คณะกรรมาธิการวิสามัญเร่ิมการประชุมพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทาง การแกไ้ ขเพมิ่ เติมรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ คร้ังแรก เมอื่ วนั องั คารที่ ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๒ โดยมกี ารดาเนนิ การต่าง ๆ เปน็ ลาดับ ดังนี้

-๓- ๑) การเลือกกรรมาธิการวสิ ามญั ใหด้ ารงตาแหน่งต่างๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญมมี ตเิ ลือกกรรมาธิการวิสามญั ให้ดารงตาแหน่งต่าง ๆ ในคณะกรรมาธิการ วสิ ามญั ดงั น้ี (๑) นายพีระพันธุ์ สาลรี ัฐวภิ าค เปน็ ประธานคณะกรรมาธิการ (๒) นายไพบลู ย์ นติ ิตะวัน เป็นรองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทหี่ น่งึ (๓) นายวัฒนา เมอื งสขุ เปน็ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทสี่ อง (๔) นายชานาญ จันทร์เรือง เปน็ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนที่สาม (๕) นายชินวรณ์ บณุ ยเกียรติ เป็นรองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี ่ี (๖) นายวเิ ชียร ชวลิต เปน็ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท่ีห้า (๗) รองศาสตราจารย์สมชัย ศรสี ุทธิยากร เปน็ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หก (๘) นายศุภชัย ใจสมุทร เป็นรองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่ีเจด็ (๙) รองศาสตราจารยโ์ ภคิน พลกลุ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ (๑๐) นายสัมพันธ์ เลศิ นวุ ฒั น์ เป็นทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร (๑๑) พันตารวจเอก ทวี สอดส่อง เป็นทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ (๑๒) นายสทุ ัศน์ เงินหมนื่ เป็นทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ (๑๓) นายมนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ เปน็ ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธิการ (๑๔) นายสุรสทิ ธิ์ นธิ วิ ุฒิวรรกั ษ์ เปน็ ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธิการ (๑๕) นายทศพล เพ็งส้ม เปน็ เลขานุการคณะกรรมาธกิ าร (๑๖) นายจตพุ ร เจริญเชอื้ เป็นผูช้ ว่ ยเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนทีห่ น่งึ (๑๗) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วลยั พร รัตนเศรษฐ เปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร คนทีส่ อง (๑๘) นายภราดร ปริศนานนั ทกุล เปน็ ผู้ชว่ ยเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนทส่ี าม (๑๙) นายชัยธวัช ตลุ าธน เปน็ ผู้ชว่ ยเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนที่สี่ (๒๐) นายสุทนิ คลังแสง เปน็ โฆษกคณะกรรมาธิการ (๒๑) นายธนกร วังบุญคงชนะ เป็นโฆษกคณะกรรมาธกิ าร (๒๒) นายรงั สิมันต์ โรม เปน็ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร (๒๓) นายนพิ ฏิ ฐ์ อนิ ทรสมบัติ เปน็ โฆษกคณะกรรมาธิการ (๒๔) นางสาวธณกิ านต์ พรพงษาโรจน์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธกิ าร ๒) การแตง่ ตงั้ ผู้ช่วยเลขานกุ ารประจาคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ท่ีประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญมีมติตั้งนายรัฐภูมิ คาศรี นิติกรชานาญการพิเศษ กลุ่มงานบริการเอกสารอ้างอิง สานักกรรมาธิการ ๒ ปฏบิ ัติหน้าที่เปน็ ผู้ช่วยเลขานุการประจาคณะกรรมาธกิ าร วิสามัญ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๙๓ วรรคส่ี

-๔- ๓) การเชิญบคุ คลภายนอกมาร่วมประชมุ สอบถามความคิดเห็น คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญได้เชิญบุคคลภายนอกมาร่วมประชุมสอบถามความคดิ เห็นต่าง ๆ ดังน้ี ๓.๑) คณะกรรมาธิการความม่ันคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติ และการ ปฏริ ปู ประเทศ สภาผแู้ ทนราษฎร - พลตารวจตรี สพุ ิศาล ภกั ดีนฤนาถ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทส่ี าม ๓.๒) คณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และจัดทาและ ดาเนนิ การตามยุทธศาสตรช์ าติ วฒุ ิสภา (๑) พลเอก สงิ หศ์ กึ สิงห์ไพร ประธานคณะกรรมาธิการ (๒) พลเอก ชูศักดิ์ เมฆสวุ รรณ์ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท่ีหนึ่ง (๓) พลเอก วรพงษ์ สงา่ เนตร เลขานุการคณะกรรมาธกิ าร ๓.๓) สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ - นายปุณณลกั ข์ิ สุรสั วดี ผอู้ านวยการกองยทุ ธศาสตรช์ าติ และการปฏริ ปู ประเทศ ๓.๔) สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน (๑) นายสทุ ธิพงษ์ บญุ นธิ ิ รองผู้วา่ การตรวจเงินแผน่ ดิน (๒) นายชาญยุทธ เชย่ี วชาญวฒั นา นติ กิ รชานาญการพิเศษ (๓) นายธงธาดา วิบูลกจิ นักจดั การงานท่วั ไปปฏบิ ตั ิการ ๓.๕) กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถนิ่ (๑) นางจิรพฒั น์ เธียรพานชิ ผู้อานวยการสานักบรหิ ารการคลังท้องถิน่ (๒) นายพงษ์ศกั ดิ์ กวีนันทชัย ผอู้ านวยการกลุ่มงานจดั สรรเงินอดุ หนุน และพฒั นาระบบงบประมาณ (๓) นายชรนิ ทร์ สัจจาม่ัน ผู้อานวยการกลุม่ งานนโยบายการคลงั และพฒั นารายได้ ๓.๖) กรมบญั ชกี ลาง - นางสาวรชั นวี รรณ แสงสาคร นติ กิ รชานาญการพิเศษ ๓.๗) สานกั งานบรหิ ารหน้ีสาธารณะ (๑) นายธรี ชั ย์ อตั นวานิช ทปี่ รกึ ษาด้านการตลาดตราสารหน้ี (๒) นางสาวอปุ มา ใจหงษ์ ผ้อู านวยการสานกั จดั การหน้ี (๓) นายธีรเดช ลขิ ิตตระกลู วงศ์ ผอู้ านวยการกลมุ่ กฎหมาย (๔) นางสาวปวณี า สาเร็จ ผอู้ านวยการสว่ นจัดการเงินกหู้ นว่ ยงานอนื่ (๕) นายพรชยั ชาติพหล นกั วิชาการคลังปฏิบตั ิการ (๖) นายเอนกพงศ์ ไพศาลโรจน์ นิติกรปฏิบัตกิ าร

-๕- ๔) การทางานของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ๔.๑) การประชมุ ของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั คณะกรรมาธิการวิสามัญมีการประชุมพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทาง การแก้ไขเพิม่ เติมรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ จานวน ๒๓ ครงั้ ดังน้ี ครั้งท่ี ๑ วันอังคารที่ ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ครั้งท่ี ๒ วนั อังคารท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๓ วันศุกร์ท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๔ วนั ศกุ ร์ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๕ วนั ศุกรท์ ่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๖ วนั ศุกร์ท่ี ๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๗ วันจนั ทร์ท่ี ๑๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๘ วันศุกรท์ ี่ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๙ วันพฤหสั บดที ี่ ๕ มนี าคม ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๑๐ วันศกุ รท์ ่ี ๖ มนี าคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๑๑ วันพฤหสั บดีท่ี ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๑๒ วันศุกร์ที่ ๑๓ มนี าคม ๒๕๖๓ ครั้งที่ ๑๓ วนั ศกุ ร์ท่ี ๕ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๑๔ วันศกุ ร์ที่ ๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๑๕ วันศุกร์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๑๖ วนั ศุกร์ที่ ๒๖ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๑๗ วนั ศกุ ร์ท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครงั้ ท่ี ๑๘ วนั ศกุ ร์ท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๑๙ วันพฤหัสบดีท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๒๐ วนั ศกุ ร์ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๒๑ วันศกุ รท์ ่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๒๒ วันศกุ รท์ ่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๒๓ วันพฤหสั บดที ี่ ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๖๓ ๔.๒) การตั้งคณะอนุกรรมาธิการ เพื่อให้การพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นไปโดยละเอียดและได้รับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากประชาชนมากขึ้น รวมท้ังเผยแพร่การทางานของคณะกรรมาธิการวิสามัญให้กว้างขวางเพ่ือกระตุ้นให้ ประชาชนมีส่วนร่วมกับการพิจารณาศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้มากขึ้น คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญจงึ มีมติต้ังคณะอนกุ รรมาธิการ จานวน ๒ คณะ ดังนี้

-๖- (๑) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบญั ญัตริ ัฐธรรมนูญ พระราชบัญญตั ิประกอบ รฐั ธรรมนูญ และกฎหมายอื่น (๒) คณะอนกุ รรมาธกิ ารประชาสัมพนั ธแ์ ละรับฟังความคิดเห็นของประชาชน คณะอนุกรรมาธิการแตล่ ะคณะดังกล่าวมีอานาจหนา้ ท่ีและองค์ประกอบ ดงั น้ี (๑) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประกอบรฐั ธรรมนญู และกฎหมายอ่นื คณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน มอี านาจหน้าที่พิจารณาศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัตริ ัฐธรรมนูญโดยละเอียด รายมาตรา รวมทั้งบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อนาผลการพิจารณาศึกษามาประกอบการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ให้มีความ ละเอยี ดมากขึน้ ประกอบดว้ ย (๑) นายไพบลู ย์ นติ ติ ะวัน เป็นประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร (๒) รองศาสตราจารยส์ มชัย ศรีสทุ ธยิ ากร เป็นรองประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร (๓) นายชัยเกษม นิตสิ ริ ิ เป็นรองประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร (๔) รองศาสตราจารยร์ งค์ บญุ สวยขวญั เป็นอนกุ รรมาธกิ าร (๕) นายทศพล เพ็งสม้ เป็นอนกุ รรมาธิการ (๖) นายจตุพร เจริญเชอ้ื เปน็ อนุกรรมาธิการ (๗) นายนกิ ร จานง เป็นเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ (๘) นายสริ ะ เจนจาคะ เป็นโฆษกคณะอนกุ รรมาธิการ (๙) นายภราดร ปริศนานันทกุล เป็นโฆษกคณะอนุกรรมาธิการ (๑๐) นายปยิ บตุ ร แสงกนกกุล เป็นโฆษกคณะอนุกรรมาธิการ ทั้งน้ี คณะกรรมาธิการวิสามัญได้ตั้งท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์ บทบัญญัตริ ฐั ธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น ดงั นี้ (๑) นายประยุทธ์ ศริ พิ านชิ ย์ (๒) นายเทพไท เสนพงศ์ (๓) รองศาสตราจารยโ์ ภคิน พลกุล (๔) นายสรุ สทิ ธิ์ นธิ วิ ฒุ ิวรรกั ษ์ (๕) ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ ัณฑติ จันทร์โรจนกจิ (๖) นายพงศเ์ ทพ เทพกาญจนา (๗) นายกฤช เอ้ือวงศ์ (๘) นายชานาญ จนั ทรเ์ รือง (๙) นายศภุ ชัย ใจสมุทร (๑๐) รองศาสตราจารยช์ ศู ักด์ิ ศิรนิ ลิ (๑๑) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วชิ ชกุ ร นาคธน (๑๒) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รอ้ ยตารวจเอก วิเชียร ตันศริ คิ งคล

-๗- (๑๓) นางสาวทิพานนั ศริ ิชนะ (๑๔) นายพนัส ทศั นยี านนท์ (๑๕) นายนติ ิธร ลา้ เหลือ (๑๖) นายเสรี เยาวะ (๑๗) นายสุรพศั ประภาพร (๑๘) รองศาสตราจารย์วีระศกั ด์ิ เครอื เทพ (๑๙) นายยนื หยัด ใจสมทุ ร (๒๐) นายคมสัน โพธิค์ ง (๒๑) นางสาวศิรวิ ัลยา คชาธาร (๒๒) รองศาสตราจารยย์ ุทธพร อิสรชัย (๒๓) นางสาวชมพูนทุ ต้งั ถาวร (๒๔) นายสหสั ชยั อนันตเมฆ (๒) คณะอนุกรรมาธิการประชาสมั พันธ์และรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน คณะอนุกรรมาธกิ ารประชาสัมพนั ธ์และรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน มีอานาจหน้าที่ ในด้านการประชาสัมพันธ์เผยแพร่การทางานของคณะกรรมาธิการวิสามญั และกระตุ้นให้ประชาชนมีสว่ นร่วม ในการพิจารณาศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญ รวมทั้งเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนเก่ียวกับปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทาง การแกไ้ ขเพิ่มเติมรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ประกอบด้วย (๑) นายวฒั นา เมืองสขุ เปน็ ประธานคณะอนุกรรมาธิการ (๒) นายวิเชยี ร ชวลิต เป็นรองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ (๓) ศาสตราจารย์วฒุ ิสาร ตนั ไชย เป็นรองประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร (๔) นายสทุ นิ คลังแสง เปน็ อนุกรรมาธกิ าร (๕) นายธนกร วงั บุญคงชนะ เปน็ อนกุ รรมาธิการ (๖) นายเอกพนั ธ์ุ ปณิ ฑวณชิ เปน็ อนุกรรมาธิการ (๗) นายนพิ ิฏฐ์ อนิ ทรสมบัติ เปน็ อนุกรรมาธกิ าร (๘) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วลยั พร รัตนเศรษฐเปน็ เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ (๙) นายรังสิมนั ต์ โรม เป็นโฆษกคณะอนุกรรมาธกิ าร (๑๐) นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ เปน็ โฆษกคณะอนกุ รรมาธิการ นายธนกร วังบุญคงชนะ อนุกรรมาธิการ ได้ลาออกจากการเป็นอนุกรรมาธิการ ประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ต่อมาในคราวการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ คร้ังท่ี ๓ วันศุกร์ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ ท่ีประชุมได้มีมติตั้งนายโกวิทย์ ธารณา เป็นอนุกรรมาธิการ ประชาสมั พนั ธแ์ ละรบั ฟังความคิดเหน็ ของประชาชนแทนนายธนกร วังบุญคงชนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญได้ต้ังที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์และรับฟัง ความคดิ เห็นของประชาชน ดงั นี้ (๑) นายวรรณรตั น์ ชาญนุกลู

-๘- (๒) นายชยั ธวัช ตุลาธน (๓) พนั ตารวจเอก ทวี สอดส่อง (๔) นายยงยทุ ธ ติยะไพรัช (๕) นายดารงค์ พิเดช (๖) นายพงศกร อรรณนพพร (๗) ผชู้ ่วยศาสตราจารย์อนสุ รณ์ ธรรมใจ (๘) ผู้ชว่ ยศาสตราจารยพ์ รสนั ต์ เล้ยี งบุญเลิศชยั (๙) ศาสตราจารยน์ ิเวศน์ นันทจติ (๑๐) นายสุทศั น์ เงินหมืน่ (๑๑) นายภูมภัสส์ พงษ์จิรนธิ ภิ ร (๑๒) นายสญั ญา สถริ บตุ ร (๑๓) ร้อยตารวจโท อาทติ ย์ บุญญะโสภัต (๑๔) นายนาลาภ เบา้ สุวรรณ (๑๕) นายพจน์ เจริญสันเทยี ะ (๑๖) นายณรชิ ผลานุรกั ษา (๑๗) นายสังข์ ทรัพย์พันแสง (๑๘) นายดสิ ทตั คาประกอบ (๑๙) นายธนชาติ แสงประดบั (๒๐) นางสาวชตุ มิ า กมุ าร (๒๑) นางอมรัตน์ โชคปมิตตก์ ุล (๒๒) พันเอก (พิเศษ) เจียรนัย วงศ์สะอาด (๒๓) ว่าทร่ี ้อยตรี ถวัลย์ รยุ าพร (๒๔) นายย่ิงชพี อัชฌานนท์ (๒๕) นายล่าสนั เลศิ กูลประหยัด (๒๖) นายณฐั รจุ วงศท์ างสวัสดิ์ (๒๗) นายคมสัณห์ ฐานะชุตพิ นั ธ์ (๒๘) นายวรภพ วิรยิ ะโรจน์ (๒๙) นายโคทม อารียา (๓๐) นายพรษิ ฐ์ ชีวารักษ์ (๓๑) นางสาววทันยา วงษโ์ อภาสี (๓๒) ร้อยโทหญงิ สณุ สิ า ทวิ ากรดารง ๕) กรอบการทางานและการพจิ ารณาศกึ ษาของคณะกรรมาธิการวิสามญั คณะกรรมาธิการวิสามัญมีอานาจหน้าที่เพียงเป็นผู้ศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทาง การแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพื่อเป็นข้อมูลหรือแนวทางในการแก้ไข เพ่ิมเติมรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เปน็ รายมาตรา หรอื เพือ่ การยกร่างรัฐธรรมนูญ

-๙- แห่งราชอาณาจักรไทยฉบับใหม่ทั้งฉบับแทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ คณะกรรมาธิการวิสามัญจึงกาหนดกรอบและแนวทางการทางานของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญ บนพ้ืนฐานของ หลักการและเหตุผลทางวชิ าการและข้อเท็จจริงของความเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ โดยเน้นสิทธิเสรีภาพ และความมีประชาธิปไตยของประชาชน รูปแบบการเมืองการบริหารราชการที่ดีมีธรรมาภิบาล ระบบ กระบวนการยุติธรรมที่มีความเป็นธรรมเชื่อถือได้และมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน อยา่ งแทจ้ รงิ ภายใตร้ ะบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข นอกจากนั้น คณะกรรมาธิการวิสามัญยังเห็นควรรวบรวมความคิดเห็นเก่ียวกับบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้ได้มุมมองและความคิดเห็นท่ีหลากหลาย อย่างกว้างขวาง ท้ังในระหว่างคณะกรรมาธิการวิสามัญด้วยกันเอง จากพรรคการเมือง ส่วนราชการ และจากประชาชนทุกระดับ ทั้งในด้านที่เหน็ ดว้ ยและไมเ่ ห็นดว้ ยกับหลักการ เจตนารมณ์ และบทบัญญัติตา่ ง ๆ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซ่ึงจะสามารถทาให้ได้มุมมองและข้อเท็จจริง ท่ีจะใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ และของผู้ท่ีจะใช้ประโยชน์จากรายงาน ของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ทั้งเพื่อการศึกษาวิเคราะห์และเพ่ือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นรายมาตรา หรือเพ่ือการยกร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับใหม่ท้ังฉบับแทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ คณะกรรมาธิการวิสามัญ จงึ กาหนดให้มีการรับฟังความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะทั้งสองด้าน คือ ด้านที่เห็นด้วยและด้านที่ไม่เห็นด้วยกับ หลักการ เจตนารมณ์ และบทบัญญัติต่าง ๆ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้กว้างขวางท่ีสุดเพื่อประโยชน์ของการเป็นฐานข้อมูลดังท่ีกล่าวมา ท้ังน้ี โดยผ่านการทางานของ คณะอนกุ รรมาธกิ ารประชาสมั พันธแ์ ละรบั ฟงั ความคดิ เห็นของประชาชน คณะกรรมาธิการวิสามัญกาหนดกรอบการทางานและการพิจารณาศึกษารัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นรายหมวดและพิจารณาบางบทบัญญัติมาตราเป็นการเฉพาะ ในบางกรณี โดยได้มอบหมายการพิจารณาศึกษาบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในรายละเอียดให้คณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนญู และกฎหมายอ่ืน เปน็ ผพู้ ิจารณาศกึ ษา ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญทาการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการ แกไ้ ขเพิ่มเติมรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ภายใต้กรอบการพิจารณา ดงั น้ี (๑) หลักเกณฑ์และเจตนารมณ์ในแต่ละหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ (๒) ปัญหาและความไม่สมบูรณ์ของบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (๓) ขอ้ สงั เกตและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการวิสามัญ อน่ึง คณะกรรมาธิการวิสามัญได้ศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพ่ิมเติม รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ ประกอบด้วย (๑) ญตั ตขิ องสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรท่ีเสนอให้มกี ารตง้ั คณะกรรมาธิการ ท้ัง ๖ ฉบับ (๒) ประเด็นการอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในช้ันการพิจารณาญัตติ

- ๑๐ - (๓) รายงานผลการพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น ท่ีได้ทาการศึกษาบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในเชิงลึก รวมท้ังการศึกษาเชิงเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญของ ต่างประเทศ (๔) รายงานผลการพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์และรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชน รวมท้ังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนทั่วไป กลุ่มอาชีพต่าง ๆ นิสิตนกั ศึกษา พรรคการเมือง สมาชิกรัฐสภา และหนว่ ยงานของรฐั ฯลฯ ทีเ่ สนอความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ เข้ามาท่ีคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพื่อให้ได้มุมมอง และข้อเสนอแนะอย่างกว้างขวาง เพ่ือเป็นแนวทางในการพิจารณาแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในโอกาสต่อไป ทั้งการแก้ไขเพ่ิมเติมแบบรายมาตราและ แบบการยกรา่ งรฐั ธรรมนูญฉบบั ใหมท่ ัง้ ฉบับ ๖) การจัดทารายงานของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั คณะกรรมาธิการวิสามัญได้จัดทารายงานฉบับนี้บนแนวทางการศึกษาทางวิชาการ ท่ีจะนาเสนอความคิดเห็นของกรรมาธิการวิสามัญ และข้อเสนอแนะจากประชาชนและกลุ่มอาชีพทั่วไป รวมทั้งจากสมาชิกรัฐสภา พรรคการเมือง ส่วนราชการต่าง ๆ และนิสิตนักศึกษาในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ที่แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในแต่ละหมวดแต่ละมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท้ังที่เห็นว่าหลักเกณฑ์ เจตนารมณ์ และเน้ือความท่ีบัญญัติไว้ในบทบัญญัติต่าง ๆ ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีบัญญัติไว้เดิมน้ันถูกต้องเหมาะสมแล้วไม่จาเป็นต้อง แก้ไขเพิ่มเติมหรือยกร่างใหม่แต่ประการใด และที่เห็นว่าเนื้อความของบทบัญญัติต่าง ๆ ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ น้ัน ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์หรือไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศในปัจจุบัน สมควรท่ีจะต้องแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติน้ัน ๆ หรือเพ่ิมบทบัญญัติใหม่ โดยคณะกรรมาธิการวิสามัญได้รวบรวมความคิดเห็นของกรรมาธิการวิสามัญ แตล่ ะท่านทีแ่ สดงความคดิ เหน็ ในแต่ละหมวดแต่ละมาตราไว้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายงานฉบับน้ดี ว้ ย ในการจัดทารายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฉบับน้ี คณะกรรมาธิการวิสามัญ ได้นาเอาความคิดเห็นด้านท่ีมีจานวนข้างมากเป็นแนวทางร่วมในการจัดทารายงาน และได้นาความคิดเห็น ด้านที่มีจานวนข้างน้อยมาประกอบเป็นแนวทางและข้อมูลเพื่ อประโยชน์ในการศึกษาวิเคราะห์ต่อไปด้วย และยงั นาความคิดเห็นโดยละเอยี ดของกรรมาธิการวิสามัญแต่ละท่านท่ีแสดงความคิดเห็นทงั้ ในด้านท่ีมีจานวน ข้ า ง ม า ก แ ล ะ ด้ า น ที่ มี จ า น ว น ข้ า ง น้ อ ย ใ น ที่ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม า ธิ ก า ร วิ ส า มั ญ ม า ป ร ะ ก อ บ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ของรายงานฉบับนี้ โดยยังเปิดโอกาสให้กรรมาธิการวิสามัญที่ติดภารกิจไม่อาจเข้าร่วมประชุมในหมวดใด คราวใด สามารถแสดงความคิดเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมาธิการวิสามัญกาหนด โดยให้ยื่นความเห็นต่อฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพ่ือนาความคิดเห็นดังกล่าวมารวบรวม ไว้ในรายงานฉบบั นด้ี ้วย นอกจากน้ัน คณะกรรมาธิการวิสามัญได้นารายงานของคณะอนุกรรมาธิการศึกษา วิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน และรายงานของ คณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน มาเป็นส่วนหน่ึงของรายงานฉบับน้ี

- ๑๑ - ในภาคผนวก ก และได้จัดทาสรุปความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนทั่วไป กลุ่มอาชีพต่าง ๆ นสิ ิตนักศกึ ษา พรรคการเมือง สมาชิกรัฐสภา และหนว่ ยงานของรฐั ฯลฯ ทเี่ สนอความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ผา่ นทางคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนซ่ึงรวบรวมเป็นส่วนหนึ่งของ รายงานของคณะอนุกรรมาธิการประชาสมั พันธ์และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชนไว้ในภาคผนวก ข ดว้ ย ท้ังน้ี คณะกรรมาธิการวิสามัญกาหนดให้มีคณะทางานจัดทารายงานข้ึนมาคณะหนึ่ง ประกอบด้วย (๑) นายพีระพันธ์ุ สาลรี ฐั วิภาค เป็นประธานคณะทางานฯ (๒) นายชานาญ จนั ทรเ์ รอื ง เป็นคณะทางานฯ (๓) รองศาสตราจารย์สมชยั ศรีสุทธยิ ากร เป็นคณะทางานฯ (๔) พันตารวจเอก ทวี สอดสอ่ ง เป็นคณะทางานฯ (๕) นายสุทัศน์ เงินหมนื่ เป็นคณะทางานฯ (๖) นายรงั สมิ ันต์ โรม เป็นคณะทางานฯ (๗) นายโกวทิ ย์ ธารณา เปน็ คณะทางานฯ (๘) ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์บัณฑิต จนั ทรโ์ รจนกจิ เปน็ คณะทางานฯ (๙) รองศาสตราจารย์รงค์ บญุ สวยขวญั เปน็ คณะทางานฯ (๑๐) ศาสตราจารย์วุฒสิ าร ตันไชย เปน็ คณะทางานฯ (๑๑) นายเอกพนั ธ์ุ ปิณฑวณิช เปน็ คณะทางานฯ (๑๒) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วลัยพร รัตนเศรษฐ เปน็ คณะทางานฯ (๑๓) นายนกิ ร จานง เป็นคณะทางานฯ (๑๔) นางสาวธีรพรรณ ใจมนั่ เปน็ คณะทางานฯ (๑๕) นายรัฐภมู ิ คาศรี เป็นเลขานุการคณะทางานฯ คณะทางานจดั ทารายงานแบ่งการจดั ทารายงาน โดยมีผรู้ ับผดิ ชอบดาเนินการ ดังน้ี - หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และหมวด ๔ หน้าที่ของปวงชนชาวไทย นายชยั ธวัช ตุลาธน เป็นผู้รบั ผิดชอบการจดั ทา - หมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ หมวด ๗ รัฐสภา และหมวด ๘ คณะรัฐมนตรี นายนกิ ร จานง เปน็ ผ้รู บั ผิดชอบการจดั ทา - หมวด ๙ การขัดกันแห่งผลประโยชน์ หมวด ๑๐ ศาล หมวด ๑๑ ศาลรัฐธรรมนูญ และหมวด ๑๓ องคก์ รอัยการ นายพรี ะพนั ธ์ุ สาลรี ฐั วภิ าค เปน็ ผู้รับผิดชอบการจดั ทา - หมวด ๑๒ องค์กรอสิ ระ นายเอกพนั ธ์ุ ปณิ ฑวณชิ เปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบการจดั ทา - หมวด ๑๔ การปกครองท้องถิ่น นายชานาญ จันทร์เรือง ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย และนายโกวิทย์ ธารณา เป็นผู้รบั ผดิ ชอบการจัดทา - หมวด ๑๕ การแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ รองศาสตราจารย์สมชัย ศรีสุทธิยากร เป็นผรู้ บั ผดิ ชอบการจดั ทา - หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ นายรงั สมิ ันต์ โรม เป็นผ้รู ับผิดชอบการจัดทา - บทเฉพาะกาล รองศาสตราจารย์สมชัย ศรีสุทธิยากร และนายรังสิมันต์ โรม เป็นผรู้ ับผดิ ชอบการจดั ทา

- ๑๒ - ๒. รายงานผลการพิจารณาศึกษา ขอ้ สังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมาธิการ วสิ ามญั คณะกรรมาธิการวิสามัญทาการพิจารณาศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นรายหมวดเพ่ือพิจารณาศึกษาว่าบทบัญญัติในแต่ละหมวด มีประเด็นปัญหาการบังคับใช้ หรือความไม่สมบูรณ์ของบทบัญญัติรวมทั้งหลักการและเจตนารมณ์ของบทบัญญัติน้ัน ๆ หรือไม่ หรือจะก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการปฏิบัติตามบทบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ เพียงใด ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญได้นาเสนอ ผลการพิจารณาศึกษา ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะในหมวดหรือในบทบัญญัติมาตราต่าง ๆ ไว้ด้วย ดังน้ี หมวด ๑ บทท่ัวไป และหมวด ๒ พระมหากษตั ริย์ คณะกรรมาธิการวิสามัญมีความเห็นว่าหมวด ๑ บททั่วไป และหมวด ๒ พระมหากษัตริย์ ไม่มีประเด็นท่จี ะตอ้ งพิจารณาศึกษา จึงเห็นควรข้ามไปเร่ิมพิจารณาศึกษาตั้งแต่หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของ ปวงชนชาวไทยเป็นต้นไป หมวด ๓ สิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย บทบัญญัติในหมวดนี้มี ๒๕ มาตรา คือ มาตรา ๒๕ ถงึ มาตรา ๔๙ มวี ัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ ในการรับรองสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และเพ่ือให้ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพอย่างเท่าเทียมกัน ในระบอบประชาธิปไตย โดยสามารถใช้สิทธิและเสรีภาพได้ทันทีไม่ต้องรอให้มีการบัญญัติกฎหมายอนุวัติ การมาใช้บังคับก่อน ทั้งน้ี ถ้าไม่มีการกาหนดห้ามหรือจากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย บุคคลย่อมมี สิทธิและเสรภี าพทจี่ ะทาการน้นั ได้และไดร้ บั ความคุ้มครองตามรฐั ธรรมนญู คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาบทบัญญัตใิ นหมวดนีแ้ ลว้ มปี ระเด็นความเหน็ ดงั นี้ ๑) ปญั หาหลกั การเกี่ยวกับสทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชน ผลการพจิ ารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่าในประเด็นเก่ียวกับการบัญญัติหมวดว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย จะต้องพจิ ารณาบนหลกั การพื้นฐานสามประการ คอื (๑) พิจารณาถึงความสัมพันธ์หรือข้อตกลงระหว่างประเทศ เช่น ปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) กติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights หรือ ICCPR) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child) หรืออนุสัญญาว่าด้วยการจัดการ การเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women หรือ CEDAW) (๒) ประเด็นกรอบในการใช้สิทธิเสรีภาพ ซึ่งต้องทาให้เกิดความสมดุลกันระหว่างการรับรอง สิทธิเสรีภาพกับการกาหนดขอบเขตการใช้สิทธิเสรีภาพ เนื่องจากการใช้สิทธิเสรีภาพต้องมีขอบเขต โดยจะกระทบตอ่ ความคงอยขู่ องรฐั ไม่ได้ (๓) ควรคานึงถึงสิทธิเสรีภาพในความท้าทายใหม่ที่ประเทศไทยต้องเผชิญในอนาคตด้วย เช่น สงั คมผู้สงู อายุ (Aged Society) หรือการลดความเหล่อื มล้าทางปญั ญา เป็นต้น

- ๑๓ - นอกจากน้ัน กรอบการใช้สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย จะต้องเกิดความสมดุลระหว่าง การรับรองสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทยกับการกาหนดขอบเขตการใช้สิทธิเสรีภาพ เน่ืองจากการใช้ สิทธิเสรีภาพต้องมีขอบเขตโดยจะกระทบต่อความคงอยู่ของรัฐไม่ได้ และการกาหนดหลักการเก่ียวกับการใช้ สิทธิและเสรีภาพของประชาชนจะต้องคานึงถึงสิทธิเสรีภาพในความท้าทายใหม่ท่ีประเทศไทยต้องเผชิญ ในปัจจุบันและท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย เช่น สังคมผู้สูงอายุ (Aged Society) หรือการลดความเหล่ือมล้า ทางปัญญา หรือความมั่นคงและปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security) หรือการรับรู้ข้อมูลทางส่ือสังคม ออนไลน์ (Social Media) เป็นต้น ที่มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและมีอิทธิพลทางความคิดต่อบุคคล ในยุคปัจจุบันเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะมีการนาเร่ืองดังกล่าวมาเป็นอาวุธทาลายบุคคลหรือสังคมใดสังคมหน่ึง ไดเ้ ช่นกนั ซึ่งหากมีการใชส้ ิทธิเสรีภาพเกินขอบเขตอาจเกิดปญั หาได้ จงึ ควรกาหนดกรอบในการใชส้ ทิ ธเิ สรภี าพ ของปวงชนชาวไทยภายใต้ความคงอยู่ของรัฐดว้ ย จากการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพบว่า สาระสาคัญการบัญญัติสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชนตามท่ีบัญญตั ิในหมวด ๓ สิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติหลักประกันสิทธิและเสรีภาพของประชาชนด้อยกว่าท่ีเคยบัญญัติในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เช่น สิทธิของประชาชนในการถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ซ่ึงในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท ย พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดบ้ ัญญัติใหป้ ระชาชนผมู้ ีสทิ ธิ เลือกตั้งสามารถเข้าช่ือถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองได้ แต่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มไิ ดใ้ ห้สทิ ธแิ ก่ประชาชนในการดาเนนิ การดงั กล่าว เปน็ ต้น ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติในหมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย โดยเพ่ิมหลักประกันสิทธิและเสรีภาพดังเช่นที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เช่น สทิ ธิของประชาชนผู้มสี ิทธเิ ลือกตัง้ ในการถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เป็นตน้ ๒) การรับรองสิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย มาตรา ๒๕ เป็นบทบญั ญตั ิทม่ี ีเจตนารมณ์เพื่อเป็นหลกั ประกันวา่ สทิ ธแิ ละเสรีภาพของปวงชน ชาวไทยได้รับการคุ้มครองทุกกรณีที่มิได้มีบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายห้ามหรือจากัดไว้ โดยมีเงื่อนไข กาหนดแต่เพียงว่าการใช้สทิ ธแิ ละเสรีภาพน้ันจะต้องไม่กระทบกระเทือนหรือเปน็ อันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรือศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน และไม่ละเมดิ สิทธิและเสรภี าพของบุคคลอืน่ ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติมาตรา ๒๕ มีบทบัญญัติท่ีมีลักษณะเป็นการ จากัดการใช้สิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยมีบทกาหนดเก่ียวกับการใช้สิทธิหรือเสรีภาพจะต้อง ไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความม่ันคงของรัฐ ซ่ึงกระทบต่อใช้สิทธิและเสรีภาพของประชาชน บางประการ เนื่องจากคาว่า “ความมั่นคงของรัฐ” น้ัน อาจตีความได้ในหลายมิติและอาจเกิดปัญหาในการ ตีความอันจะส่งผลใหเ้ กดิ การกระทบตอ่ สิทธิและเสรีภาพของบุคคลเกนิ ควรแก่กรณี

- ๑๔ - ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญมีความเหน็ ต่อการแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๒๖ แบ่งเปน็ ๓ แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ ๑ ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๒๕ โดยตัดความว่า “เป็นอันตรายต่อความมั่นคง ของรัฐ ความสงบเรียบร้อย” ออก เน่ืองจากเป็นถอ้ ยคาที่มีความหมายกวา้ ง และรัฐจะยกขน้ึ เป็นข้ออา้ งในการ จากดั สิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชน แนวทางที่ ๒ ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๒๕ โดยตัดความว่า “ไม่กระทบกระเทือนหรือเป็น อันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อย” ออก และใช้ความว่า “ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลอื่น และไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญ หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน” แทน ซ่ึงเป็นถ้อยคา ทบ่ี ญั ญัตใิ นมาตรา ๒๘ วรรคหน่ึง ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ แนวทางที่ ๓ ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๒๕ โดยตัดความว่า “ความม่ังคงของรฐั ” ออก แล้วใช้ คาว่า “การดารงอยู่ของรัฐ” แทน เน่ืองจากสิทธิและเสรีภาพบางประเด็นอาจส่งผลกระทบต่อการดารงอยู่ ของรัฐและมีนยั ตอ่ ความมั่นคงของประเทศ ๓) หลักประกันความเสมอภาค มาตรา ๒๗ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อกาหนดหลักแห่งความเสมอภาคของบุคคล และห้ามการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม รวมทั้งเพื่อรับรองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลไม่ว่าชายหรือหญิง ย่อมมีความเท่าเทียมกนั จะเลือกปฏิบัติโดยไมเ่ ป็นธรรมต่อบคุ คลใด ๆ ไมไ่ ด้ ผลการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัตใิ นมาตรา ๒๗ วรรคสอง ท่ีบัญญัติว่า “ชายและหญิง มีสิทธิเท่าเทียมกัน” เป็นบทบัญญัติที่อาจนาไปสู่การตีความเก่ียวกับการรบั รองสิทธิความเทา่ เทียมกันระหว่าง ชายและหญิงได้ว่าปัจจุบันชายและหญิงมีสิทธิไม่เท่าเทียมกัน นอกจากน้ัน เมื่อพิจารณาปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) ก็ไม่ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า กฎหมายภายในของรัฐภาคีจะต้องมีบทบัญญัติในเรื่องความเท่าเทียมกันระหว่างชายและหญิงแต่ประการใด ส่วนอนุสัญญาว่าด้วยการจัดการการเลอื กปฏิบตั ิต่อสตรีในทกุ รูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women หรือ CEDAW) นั้น ได้บัญญัติเงื่อนไขบังคับให้กฎหมาย ภายในของรฐั ภาคีจะต้องมีการบัญญัติเกี่ยวกบั การคุ้มครองในเรื่องการเลือกปฏบิ ตั ิตอ่ สตรีเท่าน้นั ดังนั้น กรณีท่ี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมิได้มีบทบัญญัติรับรองสิทธิความเท่าเทียมกันระหว่างชายและหญิงก็ตาม ไม่มีผลให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยขัดต่อพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก แต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม หากตัดบทบัญญัติในมาตรา ๒๗ วรรคสอง ที่บัญญัติว่า “ชายและหญิงมีสิทธิ เท่าเทียมกัน” จะไม่ส่งผลกระทบต่อการรับรองสิทธิความเท่าเทียมกันระหว่างชายและหญิง เนื่องจากใน มาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง ได้บัญญัติความว่า “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับ ความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน” ซึ่งเป็นบทบัญญัติท่ีเป็นการรับรองสิทธิความเท่าเทียมกันระหว่าง ชายและหญิงว่าบุคคลไม่ว่าจะมีเพศใดซ่ึงหมายความรวมถึงเพศสภาพด้วย ย่อมได้รับการรับรองในเร่ือง สทิ ธิความเท่าเทียมกนั ระหวา่ งชายและหญงิ

- ๑๕ - ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรตดั ความว่า “ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน” ในมาตรา ๒๗ วรรคสอง ออก เนื่องจากถ้อยคาในมาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง มีความหมายครอบคลุมเร่ือง ความเท่าเทียมกันของบคุ คลไว้แล้ว ๔) หลักประกันสทิ ธิและเสรีภาพในกระบวนการยุตธิ รรม มาตรา ๒๙ เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพ่ือเป็นหลักประกันสิทธิและเสรีภาพข้ันพ้ืนฐาน ของบุคคลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา รวมทั้งกาหนดหลักประกันในเรื่องสิทธิข้ันพ้ืนฐานของบุคคล เพ่ือคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยบัญญัติว่าก่อนมีคาพิพากษา อันถึงท่ีสุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทาความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลน้ันเสมือนเป็นผู้กระทาความผิดมิได้ ท้ังน้ี การควบคุมหรือคุมขังผู้ต้องหาหรือจาเลยให้กระทาได้เท่าที่จาเป็นเพ่ือป้องกันการหลบหนีเท่าน้ัน นอกจากนี้ ในคดีอาญา จะบังคับให้บุคคลให้การเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเองมิได้ เพื่อให้เป็นไปตามหลักสากล ในเร่อื งเอกสทิ ธิ์ท่จี ะไมใ่ หก้ ารเปน็ ปฏิปักษต์ ่อตนเองในคดอี าญา เพื่อคุ้มครองสทิ ธขิ องจาเลยในคดีอาญา ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในกระบวนการ ยุติธรรม และการเลือกปฏิบัติหรือการมีส่วนได้เสียในการดาเนินกระบวนการยุติธรรมนั้น ในทางปฏิบัติ ประชาชนไม่ได้รับความคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในกระบวนการยุติธรรมอย่างแท้จริง เนื่องจากการพิจารณา คดีของศาลในบางกรณีมีปัญหาเร่ืองผู้มีส่วนได้เสียในการดาเนินคดี เช่น คดีละเมิดอานาจศาล หรือกรณีศาล ไม่อนุญาตให้ประกันตัวผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีอาญาโดยไม่มีเหตุผลสมควร เป็นต้น นอกจากนี้ คดีพิพาท ที่ประชาชนเป็นคู่ความกับรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ ประชาชนไม่ได้รับความเป็นธรรมและสิทธิในการเข้าถึง กระบวนการยุติธรรมในทางอาญา รวมท้ังปัญหาการบังคับใช้กฎหมายที่เป็นผลเสียแก่บุคคลท่ีไม่ใช่ทางอาญา เชน่ คดียบุ พรรคการเมืองที่ตดั สิทธิคณะกรรมการบริหารพรรค ซ่งึ นา่ จะเป็นการขดั ต่อหลักนิติธรรม เปน็ ต้น ข้อสังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ (๑) ควรแกไ้ ขเพิ่มเติมมาตรา ๒๙ โดยบญั ญัติลกั ษณะเดียวกบั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐ ที่บัญญตั ิว่า “มาตรา ๓๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทาการอันกฎหมายท่ีใช้อยู่ในเวลา ที่กระทานัน้ บัญญัติเป็นความผิดและกาหนดโทษไว้ และโทษท่ีจะลงแก่บุคคลนั้นจะหนกั กวา่ โทษที่กาหนดไว้ใน กฎหมายท่ีใช้อย่ใู นเวลาท่กี ระทาความผดิ มไิ ด้ ในคดีอาญา ตอ้ งสนั นิษฐานไวก้ อ่ นว่าผู้ต้องหาหรอื จาเลยไมม่ ีความผิด ก่อนมีคาพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทาความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้น เสมอื นเป็นผกู้ ระทาความผดิ มิได้ มาตรา ๔๐ บคุ คลย่อมมสี ิทธิในกระบวนการยตุ ธิ รรม ดังต่อไปน้ี (๑) สิทธเิ ข้าถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรมไดโ้ ดยงา่ ย สะดวก รวดเร็ว และทั่วถงึ (๒) สิทธิพ้ืนฐานในกระบวนพิจารณา ซ่ึงอย่างน้อยต้องมีหลักประกันข้ันพ้ืนฐาน เรื่องการได้รับการพิจารณาโดยเปิดเผย การได้รับทราบข้อเท็จจริงและตรวจเอกสารอย่างเพียงพอ การเสนอข้อเท็จจริง ข้อโต้แย้ง และพยานหลักฐานของตน การคัดค้านผู้พิพากษาหรือตุลาการ การได้รับการ

- ๑๖ - พิจารณาโดยผู้พิพากษาหรือตุลาการที่นั่งพิจารณาคดีครบองค์คณะ และการได้รับทราบเหตุผลประกอบคาวินิจฉัย คาพพิ ากษา หรอื คาส่ัง (๓) บคุ คลยอ่ มมีสทิ ธทิ จี่ ะให้คดีของตนได้รับการพจิ ารณาอย่างถูกต้อง รวดเรว็ และเปน็ ธรรม (๔) ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา โจทก์ จาเลย คู่กรณี ผู้มีส่วนได้เสีย หรือพยานในคดีมีสิทธิได้รับ การปฏิบัติที่เหมาะสมในการดาเนินการตามกระบวนการยุติธรรม รวมท้ังสิทธิในการได้รับการสอบ สวน อยา่ งถูกต้อง รวดเรว็ เป็นธรรม และการไม่ใหถ้ ้อยคาเป็นปฏปิ ักษต์ อ่ ตนเอง (๕) ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จาเลย และพยานในคดีอาญา มีสิทธิได้รับความคุ้มครอง และความช่วยเหลือที่จาเป็นและเหมาะสมจากรัฐ ส่วนค่าตอบแทน ค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายที่จาเป็นให้เป็นไป ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ (๖) เดก็ เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรือผู้พกิ ารหรือทุพพลภาพ ยอ่ มมสี ทิ ธิไดร้ บั ความคุ้มครอง ในการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่างเหมาะสม และย่อมมีสิทธิได้รับการปฏิบัติท่ีเหมาะสมในคดี ทเ่ี กีย่ วกับความรนุ แรงทางเพศ (๗) ในคดอี าญา ผู้ต้องหาหรอื จาเลยมีสทิ ธิไดร้ ับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีที่ถูกตอ้ ง รวดเร็ว และเป็นธรรม โอกาสในการต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ การตรวจสอบหรือได้รับทราบพยานหลักฐาน ตามสมควร การได้รบั ความชว่ ยเหลอื ในทางคดจี ากทนายความ และการได้รบั การปลอ่ ยตัวช่วั คราว (๘) ในคดีแพง่ บคุ คลมีสิทธิไดร้ บั ความช่วยเหลือทางกฎหมายอยา่ งเหมาะสมจากรัฐ” (๒) ควรเพ่ิมบทบัญญัติในมาตรา ๒๙ เพ่ือเป็นหลักประกันมิให้มีการใช้กฎหมายย้อนหลัง ทเี่ ป็นผลเสยี แกบ่ คุ คล ๕) หลักประกันเสรภี าพในการถือศาสนา มาตรา ๓๑ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพ่ือรับรองเสรีภาพของบุคคลในการถือศาสนา แต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย โดยบทบัญญัติแห่งมาตราน้ีกาหนดความในส่วนแรกเป็นการรับรองเสรีภาพในการ นบั ถือศาสนาซ่งึ เปน็ เร่ืองท่ีรฐั ไม่สามารถจะไปจากัดสิทธิเสรภี าพดังกล่าวได้ สว่ นทสี่ องเรอื่ งเสรีภาพในการปฏิบตั ิ การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งอาจถูกจากัดสิทธิได้ หากการกระทาดังกล่าวเป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของ ปวงชนชาวไทย เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของรัฐ และขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติในมาตรา ๓๑ ความว่า “ไม่เป็นอันตรายต่อ ความปลอดภยั ของรัฐ” นั้น เป็นบทบญั ญัติท่ีส่งผลกระทบต่อการใช้เสรีภาพของประชาชนในการนับถือศาสนา เน่ืองจากการปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาน้ัน ไม่มีศาสนาใดท่ีกาหนดวิธีการปฏิบัติตามหลัก ศาสนา หรือการประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาที่มีลักษณะเป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของรัฐ ดังน้ัน การบญั ญัตถิ อ้ ยคาดังกล่าวจึงเปน็ บทบญั ญตั ทิ ไี่ มเ่ หมาะสม

- ๑๗ - ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นว่า ควรแก้ไขมาตรา ๓๑ โดยตัดความว่า “ไม่เป็นอันตราย ต่อความปลอดภัยของรัฐ” ออก เนื่องจากตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาที่ประชาชน ชาวไทยส่วนใหญน่ ับถือ รวมท้ังศาสนาอนื่ ๆ เช่น ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ เป็นต้น ไมม่ ศี าสนาใดทีถ่ ่ายทอด คาสอนและการประกอบพธิ ีกรรมท่ีเปน็ อนั ตรายต่อความปลอดภยั ของรัฐ จงึ ควรตัดถอ้ ยคาดังกล่าวออก ๖) หลกั ประกันสิทธิในการฟอ้ งหน่วยงานของรฐั มาตรา ๔๑ เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพ่ือกาหนดสิทธิของบุคคลและชุมชนในการเข้าถึง ข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะของรัฐ การร้องทุกข์และการฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดเน่ืองจากการกระทา หรือละเว้นการกระทา นอกจากน้ี ความในมาตราน้ีเป็นการคุ้มครองสิทธิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ทาให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารงานของรัฐและง่ายต่อการตรวจสอบ และเป็นการคุ้มครองสิทธิของบุคคล ในการร้องทกุ ขแ์ ละการฟ้องหนว่ ยงานของรัฐดว้ ย ผลการพจิ ารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติมาตรา ๔๑ (๓) ท่ีบัญญัติว่า “ฟ้องหน่วยงานของรัฐ ให้รับผิดเน่ืองจากการกระทาหรือการละเว้นการกระทาของข้าราชการพนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงาน ของรัฐ” เปน็ บทบญั ญัติทไี่ มม่ ีความชัดเจนในทางปฏิบัตวิ ่าประชาชนจะต้องดาเนินการอยา่ งไร และเปน็ บทบญั ญัติ ที่ก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติ เน่ืองจากกฎหมายไทยบัญญัติให้หน่วยงานของรัฐระดับกรมมีฐานะเป็น นิติบุคคล การจะฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดเน่ืองจากการกระทาหรือการละเว้นการกระทาของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐจะต้องฟ้องหัวหน้าหน่วยงานเป็นจาเลยร่วมให้ต้องรับผิดด้วย อย่างไรก็ตาม การกาหนดให้ประชาชนท่ีถูกละเมิดสิทธิต้องไปฟ้องหน่วยงานของรัฐเพ่ือให้ได้รับการบังคับ ตามสิทธทิ ต่ี นมี แตก่ ารฟอ้ งหนว่ ยงานของรัฐส่วนใหญ่ใช้เวลาในการพจิ ารณาท่ียาวนาน นอกจากนี้ การท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กาหนดหมวดหน้าที่ ของรัฐข้ึนใหม่ ย่อมตีความได้ว่าหากรัฐไม่ทาหน้าท่ี ประชาชนย่อมมีสิทธิฟ้องรัฐได้ ดังนั้น ในกรณีที่ประชาชน ได้รับผลกระทบจากการกระทาหรือการละเว้นการกระทาของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ จึงมีประเด็นท่ีต้องกาหนดให้ชัดเจนว่าประชาชนชนจะสามารถฟ้องร้องบุคคลหรือหน่วยงานใด และหากกรณี ดงั กลา่ วเป็นการกระทาของรัฐบาล คณะรฐั มนตรจี ะต้องมคี วามรับผิดชอบในลักษณะใดดว้ ย ข้อสังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔๑ (๓) โดยบัญญัติ หลักการเพิ่มเติมกรณีท่ีประชาชนยื่นฟ้องหน่วยงานของรัฐจะต้องได้รับการพิจารณาโดยรวดเร็ว และเพ่ิมสิทธิ ของชุมชนในการได้รับการสนับสนุนทางกฎหมาย และทนายความในการฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐได้ โดยสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมท้ังการเพ่ิมบทคุ้มครองประชาชนจากการท่ีหน่วยงานภาครัฐตรากฎหมายหรือ อนุบัญญัติต่าง ๆ ที่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญด้วย เช่น กรณีศาลปกครองสูงสุดออกระเบียบ ของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดกาหนดวันนับอายุความซึ่งขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติของ กฎหมายทีอ่ อกโดยฝา่ ยนิตบิ ัญญตั ิ เปน็ ตน้

- ๑๘ - ๗) หลกั ประกนั สทิ ธิของบุคคลและชมุ ชน มาตรา ๔๓ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อรับรองสิทธิของบุคคลและสิทธิของชุมชน ในการอนุรักษ์ และฟ้ืนฟูศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ รวมทั้งกาหนดการมีส่วนร่วมในการบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทางชวี ภาพตามวธิ ีการที่กฎหมายบญั ญัติ ผลการพจิ ารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติในหมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย เป็นการบัญญัติเพ่ือคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพเป็นเรื่องของบุคคลที่เป็นปัจเจก การบัญญัติสิทธิชุมชนไว้ใน มาตรา ๔๓ อาจทาให้เกิดปัญหาในการตีความว่า การใช้สิทธิและเสรีภาพน้ัน ๆ เป็นการกระทาในฐานะท่ีเป็น ปัจเจกบุคคล หรือเป็นการใช้สิทธิในฐานะที่เป็นชุมชน รวมทั้งไม่มีความชัดเจนว่า “ชุมชน” หมายถึงเฉพาะ บุคคล หรือหมายความรวมถึงการรวมตัวกันในลักษณะที่เป็นองค์กรด้วยหรือไม่ ท้ังนี้ ความหมายของคาว่า “ชุมชน” ในมิติทางสังคมวิทยาที่เปลี่ยนแปลง คือ แนวด้ังเดิมท่ีเน้นชุมชนหรือกลุ่มคนท่ีมีความคิดความเชื่อ รว่ มกนั (Shared Beliefs) และการอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีเดยี วกัน ส่วนแนวคดิ ใหมเ่ พิม่ ความหมาย ชุมชนเสมือนจริง (Virtual Community) ที่มคี วามหมายไมน่ ิ่ง จงึ อาจมีปญั หาในการตคี วามการใชส้ ิทธขิ องชุมชนตามมาตรา ๔๓ รวมท้ังการอา้ งสิทธชิ ุมชนเพือ่ การใช้อานาจและแสวงหาประโยชน์ทีม่ ิชอบดว้ ยกฎหมายได้ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า บทบัญญัติในมาตรา ๔๓ ควรบัญญัติให้ชัดเจนว่า “สิทธิของชมุ ชน” หมายความถึงการใช้สิทธิของปัจเจกบุคคลหรอื หมายความถึงการใชส้ ิทธิที่เปน็ การรวมตวั กัน ของบุคคล ๘) หลกั ประกนั เสรีภาพในการจดั ตง้ั พรรคการเมอื ง มาตรา ๔๕ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองเสรีภาพของประชาชนในการจัดต้ัง พรรคการเมือง และกาหนดแนวทางในการบริหารพรรคการเมืองให้อยู่ภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน รวมทั้งมงุ่ หมายเพ่ือให้พรรคการเมืองเปน็ ของประชาชนอย่างกว้างขวางโดยใหป้ ระชาชนมีส่วนรว่ มในการจัดตั้ง พรรคการเมอื งต้ังแต่เร่ิมแรก โดยกาหนดให้การบริหารและการส่งผู้สมัคร และการดาเนินกิจกรรมอน่ื ๆ ของพรรค ต้องให้สมาชิกของพรรคมีส่วนร่วมด้วย เป็นการป้องกันมิให้พรรคการเมืองมีลักษณะเป็นธุรกิจการเมือง หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งอาศัยความได้เปรียบทางการเงินมาเป็นผู้บงการพรรคแต่เพียงผู้เดียวหรือกลุ่มเดียว ท้ังป้องกันมิให้บุคคลภายนอกที่มิได้เป็นสมาชิกของพรรคมาเป็นผู้ครอบงาหรือชี้นากิจการของพรรคได้ และจะต้องมกี ลไกในการกากบั ดแู ลสมาชกิ ของพรรคมิให้ฝา่ ฝืนกฎหมายเกยี่ วกบั การเลือกตั้งด้วย ผลการพจิ ารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติมาตรา ๔๕ วรรคสอง ท่ีบัญญัติว่า “กฎหมาย ตามวรรคหนึง่ อย่างนอ้ ยต้องมบี ทบญั ญัติเกย่ี วกับการบริหารพรรคการเมือง ซึ่งต้องกาหนดให้เป็นไปโดยเปิดเผย และตรวจสอบได้ เปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางในการกาหนดนโยบายและการส่งผู้สมัคร รับเลือกต้ัง และกาหนดมาตรการให้สามารถดาเนินการโดยอิสระไม่ถูกครอบงาหรือช้ีนาโดยบุคคลซึ่งมิได้เป็น สมาชิกของพรรคการเมอื งนั้น รวมท้ังมาตรการกากับดูแลมิให้สมาชิกของพรรคการเมอื งกระทาการอันเปน็ การ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับการเลือกต้ัง” การบัญญัติหลักการในเร่ืองการเปิดโอกาสให้สมาชิก

- ๑๙ - มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางในการกาหนดนโยบายและการส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังนั้น เป็นบทบัญญัติท่ีเป็น อปุ สรรคต่อพรรคการเมืองขนาดเล็กในการสง่ ผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง เนื่องจากมาตรา ๔๗ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กาหนดเง่อื นไขไว้ว่าการส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลอื กตั้งในเขตเลือกตั้งใด ให้พรรคการเมืองส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังจากผู้ซ่ึงได้รับเลือกจากสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมือง ประจาจงั หวัดท่ีมเี ขตพ้ืนทีร่ ับผิดชอบในเขตเลือกตั้งน้ันเป็นผ้สู มัครรับเลือกต้ัง แตก่ ารท่ีพรรคการเมืองจะจัดต้ัง สาขาพรรคการเมืองหรือการมีตัวแทนพรรคการเมืองประจาจังหวัดได้นั้น พรรคการเมืองน้ันจะต้องมีสมาชิก ซง่ึ มภี ูมิลาเนาอยู่ในเขตเลือกตั้งในจงั หวดั นั้นเกินหน่ึงร้อยคน จงึ จะสามารถจัดต้งั สาขาพรรคการเมืองหรือการมี ตัวแทนพรรคการเมืองประจาจังหวัดได้ ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อพรรคการเมืองขนาดเล็กในการจัดตั้งสาขา พรรคการเมืองหรือการมีตัวแทนพรรคการเมืองประจาจังหวัดเพ่ือดาเนินการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลอื กตง้ั ในจังหวดั น้ันได้ อย่างไรก็ตาม การบัญญัตหิ ลักการเกี่ยวกับการบริหารพรรคการเมืองตามท่ีบัญญัติในมาตรา ๔๕ วรรคสอง ความว่า “เปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางในการกาหนดนโยบายและการส่งผู้สมัคร รับเลือกตั้ง” นั้น เป็นบทบัญญัติท่ีเป็นการสร้างพรรคการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยโดยการเปิดโอกาส ให้สมาชิกพรรคการเมืองมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายและการส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง รวมท้ังเป็นเจ้าของ พรรคการเมืองได้อย่างแท้จริง ไม่ใช่การให้กรรมการบริหารพรรคการเมืองหรือนายทุนของพรรคการเมือง เป็นผู้กาหนดนโยบายและส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแต่เพียงฝ่ายเดียวดังเช่นในอดีต อย่างไรก็ตาม พรรคการเมือง ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตกอยู่ภายใต้ข้อจากัดในรัฐธรรมนูญ หลายประการ เช่น การเสนอนโยบายการพัฒนาประเทศของพรรคการเมือง จะต้องมีความสอดคล้อง หรือตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ หรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งล้วนเป็นแผนท่ีเกิดข้ึน โดยระบบราชการ แตกต่างจากแนวนโยบายหรือข้อเสนอแนะของพรรคการเมืองท่ีมีความเป็นพลวัตร มีความ ยดื หย่นุ และทันตอ่ สถานการณก์ ารเปลีย่ นแปลงของโลก เปน็ ตน้ ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรทบทวนบทบัญญัติในมาตรา ๔๕ วรรคสอง และมาตราอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวกับพรรคการเมือง ในส่วนวิธีการเปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการส่งผู้สมัคร เพื่อนาไปสู่การทบทวนบทบัญญตั ิตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐ ในหมวด ๓ การส่งผู้สมัครรับเลือกต้ัง (มาตรา ๔๗ ถึงมาตรา ๕๗) ที่กระทบต่อการบริหารพรรคการเมือง และการส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง เช่น มาตรา ๕๗ การกาหนดนโยบายพรรคการเมืองท่ีใช้ประกาศโฆษณา หากเปน็ นโยบายทต่ี อ้ งใช้จา่ ยเงนิ จะต้องระบแุ หล่งทมี่ าของเงนิ ทจ่ี ะใชใ้ นการดาเนนิ การ เป็นตน้ ๙) หลักประกันสิทธิของผู้บริโภค มาตรา ๔๖ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค และสิทธิในการ รวมกนั จัดต้งั องค์กรของผู้บรโิ ภค และสิทธิขององค์กรของผู้บรโิ ภคที่จะรวมตัวกันจดั ตั้งเป็นองค์กรท่มี ีความเป็น อสิ ระเพอ่ื ให้เกิดพลังในการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค

- ๒๐ - ผลการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติมาตรา ๔๖ วรรคสาม ที่บัญญัติว่า “องค์กรของ ผู้บริโภคตามวรรคสองมีสิทธิรวมกันจัดตั้งเป็นองค์กรที่มีความเป็นอิสระเพ่ือให้เกิดพลังในการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภคโดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐ ท้ังน้ี หลักเกณฑ์และวิธีการจัดต้ังอานาจในการ เปน็ ตวั แทนของผู้บริโภค และการสนบั สนุนดา้ นการเงินจากรัฐ ให้เปน็ ไปตามที่กฎหมายบัญญัติ” ในทางปฏิบัติ องค์กรของผ้บู รโิ ภคต่าง ๆ ไมส่ ามารถรวมกนั จัดตง้ั องค์กรทค่ี มุ้ ครองสิทธผิ ู้บรโิ ภคไดอ้ ย่างแทจ้ ริง ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเหน็ ว่า ควรแก้ไขเพมิ่ เติมมาตรา ๔๖ โดยกาหนดใหม้ ีองค์กร ที่มีความเป็นอิสระในการคุ้มครองผู้บริโภค ท่ีบริหารงานโดยคณะกรรมการท่ีมาจากผู้แทนของผู้บริโภค และให้องค์กรน้ีไม่มีบทบาทหน้าท่ีในการออกระเบียบหรือข้อบังคับใดได้ เพ่ือให้ทาหน้าท่ีในการคุ้มครองสิทธิ ของผู้บริโภคให้กับประชาชนอย่างแท้จริง ลักษณะเดียวกับที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ๑๐) หลักประกนั สทิ ธิของผสู้ ูงอายุและผูย้ ากไร้ มาตรา ๔๘ วรรคสอง เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพ่ือเป็นหลักประกันในการคุ้มครอง สทิ ธขิ องผู้สงู อายทุ ไ่ี ม่มรี ายได้เพียงพอ และบุคคลผู้ยากไร้ ท่ีจะไดร้ ับการช่วยเหลอื จากรฐั ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวสิ ามัญเห็นวา่ บทบัญญัติมาตรา ๔๘ วรรคสอง ท่บี ัญญตั ิวา่ “บคุ คลซง่ึ มีอายุ เกนิ หกสบิ ปแี ละไมม่ ีรายได้เพียงพอแกก่ ารยังชีพ และบุคคลผ้ยู ากไร้ยอ่ มมสี ิทธิได้รบั ความช่วยเหลอื ท่ีเหมาะสม จากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ” เป็นบทบัญญัติท่ีก่อให้เกิดปัญหาความเหล่ือมล้า เนื่องจากบุคคลอายุหกสิบปี ที่จะมีสิทธิได้รับเบีย้ ผสู้ ูงอายุจะต้องพสิ ูจน์ให้ได้ว่าเป็นผ้ไู ม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชพี หรือเปน็ บคุ คลผยู้ ากไร้ จงึ จะมีสทิ ธไิ ดร้ ับการชว่ ยเหลือจากรฐั ข้อสังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๔๘ โดยบัญญัติหลักการ เพิ่มเติมเพ่ือให้บุคคลทุกคนมีสิทธิเสมอกันในการได้รับความช่วยเหลือจากรัฐและนาไปสู่การเป็นรัฐสวัสดิการ รวมทั้งการกาหนดให้บุคคลท่ีมีอายเุ กินหกสิบปีทุกคนมีสิทธิได้รับเบ้ียผู้สูงอายุ โดยตัดเงอ่ื นไขในเรื่องการพิสูจน์ว่า เป็นผไู้ ม่มรี ายได้เพยี งพอแก่การยังชีพ หรือเปน็ บคุ คลผูย้ ากไรอ้ อก ๑๑) หลักประกันสิทธิและเสรีภาพในการปกป้องการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ มาตรา ๔๙ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพ่ือกาหนดกลไกในการคุ้มครองการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และกาหนดกลไกในการดาเนินการในกรณีมีการ ฝ่าฝืนไวด้ ว้ ยวา่ เมื่อผู้ทราบการกระทาอันเป็นการลม้ ล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ย่อมมีสิทธิร้องต่ออัยการสูงสุดเพ่ือร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยส่ังการให้เลิกการกระทา ดังกล่าว นอกจากนี้ ได้กาหนดกระบวนการรองรับสิทธิของประชาชนในกรณีที่อัยการสูงสุดมีคาสั่งไม่รับ

- ๒๑ - ดาเนินการตามท่ีร้องขอ หรือไม่ดาเนินการภายในสิบห้าวันนบั แต่วันที่ได้รบั คาร้องขอ ประชาชนผู้ร้องสามารถ ยืน่ คารอ้ งโดยตรงตอ่ ศาลรฐั ธรรมนญู เองได้ แตไ่ มก่ ระทบต่อการดาเนนิ คดีอาญาต่อผ้กู ระทาการตามวรรคหน่ึง ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติมาตรา ๔๙ มีความมุ่งหมายในการป้องกัน การกระทารัฐประหารหรือการใช้กาลังเพ่ือล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ซ่ึงเดิมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กาหนดบทบญั ญัตเิ ก่ียวกับการเสนอเร่ืองต่อศาลรัฐธรรมนญู เพื่อวนิ จิ ฉัย ว่ามีการกระทาที่เป็นการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยกาหนดให้เสนอเรื่องตอ่ อัยการสงู สุดเพ่ือตรวจสอบข้อเท็จจรงิ และให้อัยการสูงสดุ ยน่ื คาร้องตอ่ ศาลรัฐธรรมนูญ ว่ามีการกระทาความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ โดยไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีสิทธิย่ืนคาร้อง ต่อศาลรัฐธรรมนูญโดยตรง แต่ในอดีตท่ีผ่านมาศาลรัฐธรรมนูญได้เคยมีคาวินิจฉัยในคดีหนึ่งว่าประชาชน สามารถย่ืนคาร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญเพ่ือวินิจฉัยว่ามีการดาเนินการท่ีเป็นการล้มล้างการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้ จึงทาให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติและมีการ นาไปใช้เปน็ เคร่ืองมือทางการเมืองเพ่อื รอ้ งต่อศาลรัฐธรรมนูญ กรณีท่ีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอญัตติแก้ไข เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต่อสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งจะมีผู้เสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อวินิจฉัยว่าการเสนอญัตติ แก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญถือเป็นการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมุข อย่บู อ่ ยครัง้ ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔๙ โดยบัญญัติเป็น ข้อยกเว้นว่าญัตติเสนอแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ ไม่ถือเป็นการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ  ผลการศกึ ษาและความเหน็ ของคณะอนกุ รรมาธิการศึกษาวิเคราะหบ์ ทบัญญตั ิรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ของคณะอนุกรรมาธกิ ารประชาสัมพนั ธแ์ ละรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน รายละเอียดผลการพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์ บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน และคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ในหมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ปรากฏอยู่ในรายงาน ของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น และคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน ในภาคผนวก ก และภาคผนวก ข หมวด ๔ หน้าท่ขี องปวงชนชาวไทย บทบัญญัติในหมวดน้ีมี ๑ มาตรา คือ มาตรา ๕๐ มีวัตถุประสงค์และเจตนารมณ์เพื่อกาหนดให้ ปวงชนชาวไทยต้องมีหน้าท่ีรับผิดชอบต่อประเทศชาติและสังคมส่วนรวมเพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการ พัฒนาประเทศตามความในหมวด ๔ หน้าท่ีของปวงชนชาวไทย ด้วย อย่างไรก็ตาม ความจาเป็นที่ต้องมีการ กาหนดหน้าท่ีของบุคคลไว้ในรัฐธรรมนูญ เนื่องจากคาว่า “สิทธิและเสรีภาพ” มีคาควบคู่กันอยู่คือ “หน้าที่”

- ๒๒ - ไม่ว่าเร่ืองใด ๆ ก็ตาม เมื่อมี “สิทธิและเสรีภาพ” ก็ย่อมมี “หน้าท่ี” คู่กันเสมอ เม่ือบุคคลมีสิทธิและเสรีภาพ ย่อมก่อให้เกิดหน้าที่ตามมาด้วย และหน้าท่ีเหล่าน้ีจะต้องมีการตรากฎหมายมาใช้บังคับซ่ึงอาจมีผลเป็นการ จากัดสิทธแิ ละเสรภี าพแม้กระท่ังสทิ ธิขนั้ พ้นื ฐานบางประการได้ ผลการพจิ ารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า คาว่า “หน้าที่” เป็นบทบัญญัติท่ีมีลักษณะเชิงบังคับว่า ปวงชนชาวไทยมีหน้าที่ต้องกระทาหากไม่กระทาย่อมมีความผิด เช่น ปวงชนชาวไทยมีหน้าที่เสียภาษี หน้าที่ รับราชการทหาร เป็นต้น แต่หน้าท่ีของปวงชนชาวไทยตามท่ีบัญญัติในมาตรา ๕๐ ในบางหน้าที่ไม่มีผล ในเชิงบังคับ เช่น มาตรา ๕๐ (๘) ที่กาหนดว่า “ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทงั้ มรดกทางวฒั นธรรม” ข้อสังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรพิจารณาทบทวนบัญญัติในมาตรา ๕๐ (๑) ถึง (๑๐) ว่ากรณีใดควรกาหนดให้เป็นหน้าท่ีหรือเป็นสิทธิ เช่น การไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติ เป็นต้น และบางกรณีมีความจาเป็นต้องกาหนดให้เป็นหน้าที่ของปวงชนชาวไทยหรือไม่ เช่น ร่วมมือและสนับสนุน การอนุรักษ์และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งมรดก ทางวฒั นธรรม” เปน็ ต้น  ผลการศึกษาและความเห็นของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น และการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนของคณะอนกุ รรมาธกิ ารประชาสมั พนั ธแ์ ละรับฟงั ความคดิ เห็นของประชาชน รายละเอียดผลการพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน และคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ในหมวด ๔ หน้าท่ีของปวงชนชาวไทย ปรากฏอยู่ในรายงานของ คณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน และคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์และรบั ฟังความคิดเหน็ ของประชาชน ในภาคผนวก ก และภาคผนวก ข หมวด ๕ หน้าทีข่ องรัฐ บทบัญญัติในหมวดน้ีมี ๑๓ มาตรา คือ มาตรา ๕๑ ถึงมาตรา ๖๓ มวี ัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ เพ่ือเป็นหลักประกันให้แก่ประชาชนว่า รัฐต้องดาเนินการอันเป็นหน้าท่ีของรัฐตามท่ีรัฐธรรมนูญกาหนด ตามกาลงั ความสามารถทางการเงินการคลังของรัฐ เพื่อให้สิทธขิ องประชาชนในเร่ืองสาคัญ ๆ เกิดเป็นรูปธรรม โดยที่ประชาชนไม่ต้องเรียกร้อง รวมทั้งกาหนดให้ประชาชนทุกคนได้รับการดูแลอย่างท่ัวถึง จึงกาหนด ให้เป็นหน้าท่ีของรัฐในการดูแล เพราะหากให้เอกชนเป็นฝ่ายดาเนินการอาจขาดประสิทธิภาพได้ เช่น การศกึ ษา และการสาธารณสขุ เปน็ ต้น คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาบทบัญญัตใิ นหมวดน้ีแลว้ มปี ระเดน็ ความเห็น ดงั นี้

- ๒๓ - ๑) การบญั ญตั ิหน้าท่ขี องรฐั ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่าบทบัญญัติในหมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ มีปัญหาเก่ียวกับ หลักการการบญั ญตั ิหน้าที่ของรฐั ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาเหน็ ว่า หน้าท่ีของรฐั ตามทบ่ี ัญญัติในมาตรา ๕๒ ถึงมาตรา ๖๓ ควรกาหนดใหม้ ีหน่วยงานใดเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ และหน่วยงานนนั้ ต้องดาเนินการอย่างไร ๒) มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๑ เป็นบทบัญญัตทิ ่ีมีเจตนารมณ์เพ่ือให้สิทธิประชาชนและชุมชนที่จะติดตาม เร่งรัด ตลอดจนฟ้องร้องรัฐหรือหน่วยงานของรัฐให้ปฏิบัติตามหน้าท่ีที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญได้ ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารท่กี ฎหมายบญั ญัติ ผลการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญเหน็ ว่า การฟ้องรอ้ งรัฐตามทบี่ ัญญัตใิ นมาตรา ๕๑ ซง่ึ ได้กาหนดให้รัฐ มีหน้าที่ดาเนินการตามท่ีกาหนดไว้ในหมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ หากรัฐหรือหน่วยงานของรัฐไม่ดาเนินการ ตามหน้าที่ มาตรา ๕๑ ได้บัญญัติรับรองสิทธิของประชาชนและชุมชนท่ีจะติดตามและเร่งรัดให้รัฐดาเนินการ รวมตลอดทั้งฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือจัดให้ประชาชนหรือชุมชนได้รับประโยชน์นั้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกฎหมายบัญญัติ อย่างไรก็ตาม การจะเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลได้น้ัน จะต้องพิจารณาหลักท่ัวในการฟ้องคดีว่าผู้ฟ้องคดีเป็นผู้เสียหายท่ีมีอานาจในการฟ้องคดีหรือไม่ ดังนั้น หากไม่มีการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์เกี่ยวกับผู้มีอานาจฟ้องคดีย่อมจะส่งผลกระทบต่ออานาจ ของประชาชนในการฟ้องร้องดาเนินคดีต่อรัฐเพ่ือให้ปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีกาหนดไว้ในหมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ โดยประชาชนจะไม่สามารถอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพ่ือฟ้องร้องรัฐให้ปฏิบัติ ตามหน้าที่โดยตรงได้ แต่จะต้องอาศัยหลักในเร่ืองอานาจการฟ้องคดีตามหลักกฎหมายทั่วไปซ่ึงอาจเป็นอุปสรรค ตอ่ การใชส้ ิทธขิ องประชาชนและชมุ ชนในการฟอ้ งรอ้ งหน่วยงานของรัฐใหป้ ฏิบตั ิตามหน้าที่ได้ การกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐให้ปฏิบัติตามหน้าที่นั้น เป็นการ เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐใหป้ ฏิบัติตามหน้าที่ได้โดยใช้ช่องทางผ่านผู้ตรวจการ แผ่นดินตามท่ีกาหนดไว้ในมาตรา ๔๕ ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของ ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยกาหนดให้บุคคลหรือชมุ ชนซ่ึงเปน็ ผู้ไดร้ ับประโยชนโ์ ดยตรงจากการทาหน้าท่ี ของรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในหมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ และได้รับความ เสียหายจากการไม่ปฏิบัติหน้าท่ีของรัฐ มีสิทธิยื่นคาร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยคดีได้ ซ่ึงในทางปฏิบัติ การกาหนดหน้าทีข่ องรัฐนั้น เปน็ อานาจหน้าที่ของฝา่ ยบรหิ ารในการสรา้ งบรรทัดฐานวา่ แตล่ ะหน่วยงานจะต้อง ปฏบิ ตั ิอยา่ งไร จะบังคับใช้กฎหมายอยา่ งไรให้เกดิ มรรคผลสูงสดุ ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นวา่ ควรพิจารณาบทบัญญัติในมาตรา ๕๑ ว่าจะมวี ิธีการใด เพ่ือให้อานาจแก่ประชาชนในการกากับควบคุมการใช้อานาจของภาครัฐโดยอาศัยอานาจตามท่ีกาหนดไว้ ใน รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐

- ๒๔ - ๓) หน้าที่จัดให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของ ประชาชน มาตรา ๕๘ เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพ่ือเป็นหลักประกันว่าการดาเนินการของรัฐ หรือการอนุญาตให้ดาเนินการใดท่ีส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต วิถีชีวิตของประชาชนหรือชุมชน อย่างรุนแรง รัฐต้องศึกษา ประเมินผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ท้ังนี้ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่เกี่ยวข้องก่อน โดยต้องคานึง ให้เกดิ ผลกระทบน้อยทสี่ ดุ และต้องเยยี วยาผไู้ ดร้ บั ผลกระทบอย่างเปน็ ธรรมและโดยไม่ชกั ชา้ ผลการพจิ ารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติในมาตรา ๕๘ ท่ีกาหนดหลักการเกี่ยวกับการ ดาเนินโครงการของรัฐทม่ี ีผลกระทบตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คณุ ภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสาคัญอ่ืนใดของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐต้องดาเนินการให้มี การศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดให้มี การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชนท่ีเกี่ยวข้องก่อน เพื่อนามาประกอบ การพิจารณาดาเนินการหรืออนุญาต แต่ในทางปฏิบัติหน่วยงานของรัฐกระทาได้เพียงการประเมินผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมเท่าน้ัน จึงมีความจาเป็นที่จะต้องกาหนดให้มีกลไกบางประการที่จะสามารถกากับให้รัฐ ดาเนินการตามหนา้ ทข่ี องรัฐไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ไมใ่ ช่เพยี งการดาเนินการใหค้ รบกระบวนการเท่านน้ั ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ บทบญั ญัติมาตรา ๕๘ โดยกาหนด กลไกและมาตรการบังคับให้รัฐจะต้องดาเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อมและ สุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดให้มีการรับฟงั ความคิดเห็นของผมู้ ีสว่ นได้เสยี และประชาชนและชุมชน ท่ีเก่ียวข้องก่อนดาเนินโครงการมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวติ หรือสว่ นได้เสยี สาคัญอืน่ ใดของประชาชนหรอื ชมุ ชนหรอื ส่งิ แวดล้อมอย่างรุนแรงในทกุ กรณี  ผลการศึกษาและความเห็นของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น และการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนของคณะอนุกรรมาธกิ ารประชาสมั พนั ธแ์ ละรบั ฟังความคดิ เห็นของประชาชน รา ยล ะเอี ยด ผ ลก าร พิ จา ร ณา ศึก ษ าข อง ค ณะอนุก รร ม าธิ กา ร ศึก ษ าวิ เค ร าะห์บ ท บัญ ญั ติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น และคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ในหมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ ปรากฏอยู่ในรายงานของคณะ อนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญั ติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น และคณะอนกุ รรมาธิการประชาสัมพันธ์และรับฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน ในภาคผนวก ก และภาคผนวก ข

- ๒๕ - หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ บทบัญญัตใิ นหมวดน้ีมี ๑๕ มาตรา คอื มาตรา ๖๔ ถึงมาตรา ๗๘ มีวัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ เพ่ือใช้เป็นแนวทางให้รัฐดาเนินการตรากฎหมายและกาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินเพ่ือให้เกิด ความต่อเนื่องและสม่าเสมอในการบริหารราชการแผ่นดิน อย่างไรก็ตาม หากรัฐไม่ดาเนินการหรือไม่อาจ ดาเนินการได้ ก็ไม่ก่อให้เกิดสิทธิในการฟ้องร้องรัฐ แต่รัฐต้องรับผิดชอบทางการเมือง ในหมวดน้ีจึงใช้คาขึ้นต้น ของแต่ละมาตราว่า “รัฐพึง” ซ่ึงจะแตกต่างกับบทบัญญัติในหมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ อันมีสภาพบังคับให้รัฐ ตอ้ งปฏิบัติ ไม่เช่นนั้นอาจเป็นเหตุฟ้องร้องบังคับให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติได้ ดังนั้น การใชถ้ ้อยคาในหมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ จึงใช้คาขน้ึ ตน้ ของแตล่ ะมาตราว่า “รฐั ต้อง” ซ่ึงมีนยั สาคญั ว่า เป็นการบังคับใหร้ ฐั ต้องปฏิบตั ิ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาบทบญั ญัตใิ นหมวดน้ีแล้ว มปี ระเดน็ ความเหน็ ดงั น้ี ๑) ปัญหาหลกั การการบญั ญตั ิแนวนโยบายแหง่ รัฐ ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า มีปัญหาหลักการการบัญญัติแนวนโยบายแห่งรัฐ เน่ืองจาก แนวคิดเก่ียวกับการกาหนดแนวนโยบายแห่งรัฐ ควรเปิดโอกาสให้รัฐบาลมีอิสระในการกาหนดแนวนโยบาย แห่งรัฐท่ีจะใช้ในการดาเนินการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน ไม่ควรบัญญัตเิ ป็นบทบังคับให้รัฐบาลจะต้องดาเนินการ ตามแนวนโยบายแห่งรัฐในเร่ืองใดบ้างไว้ในรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ การบัญญัติในหมวดแนวนโยบายแห่งรัฐ ควรบัญญัติในลักษณะที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการผู้กาหนดแนวนโยบายแห่งรัฐโดยผ่านระบอบ ประชาธิปไตยแบบตัวแทน เพราะปัจจัยความต้องการของประชาชนและประเทศย่อมแปรผันไปตามสังคม และกาลเวลาในแตล่ ะยคุ สมัย ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า การกาหนดนโยบายการบริหารประเทศ ควรให้อิสระ แก่คณะรัฐมนตรี ไมค่ วรบญั ญัติเปน็ บทบังคับไวใ้ นรฐั ธรรมนญู ๒) ทศิ ทางของนโยบายการกระจายอานาจ ผลการพิจารณาศกึ ษา บทบัญญัติในหมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ และหมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถ่ิน ไม่ได้กล่าวถึงทิศทางนโยบายการปกครองส่วนท้องถิ่นและการกระจายอานาจ และแนวทางในการส่งเสริม และพัฒนาการปกครองท้องถิ่นให้เข้มแข็ง การกระจายอานาจ และการสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่นิ ในทิศทางท่ีกระจายอานาจเพิม่ มากขน้ึ ข้อสังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรกาหนดเจตนารมณ์ เรื่อง ทิศทางการพัฒนา การปกครองท้องถนิ่ และการกระจายอานาจท่ีเพิม่ ข้ึนไวใ้ นแนวนโยบายแห่งรัฐ หรือหมวดท่ีว่าด้วยการปกครอง ส่วนท้องถ่ินโดยตรง อาทิ การบัญญัตใิ นมาตรา ๒๘๑ วรรคหน่ึง วา่ “ภายใต้บังคับมาตรา ๑ รัฐจะต้องใหค้ วาม เป็นอิสระแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตาม เจตนารมณ์ของประชาชน ในท้องถ่ิน และส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะและ มสี ว่ นร่วมในการตัดสินใจแกไ้ ขปัญหาในพื้นที่” เป็นต้น และควรบัญญัตแิ นวทางการกระจายอานาจไปสู่องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้ชัดเจน ดังเช่นที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐

- ๒๖ - และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ท่ีบัญญัติเป็นแนวทางในการออกกฎหมาย ลาดับรองต่อไป อีกท้ังควรบัญญัติให้มีการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยบัญญัติไว้ในหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ โดยเพิ่มในส่วนของมาตรา ๒๕๘ ก. ด้านการเมอื งอกี ดว้ ย ๓) การจัดให้มียุทธศาสตรช์ าติ มาตรา ๖๕ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพ่ือกาหนดให้รัฐพึงจัดให้มี “ยุทธศาสตร์ชาติ” เพื่อให้มีแผนการพัฒนาประเทศโดยกาหนดกรอบเวลาและแนวทางพัฒนาให้หน่วยงานของรัฐทุกภาคส่วน ต้องปฏิบัติสู่เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล และเป็นกรอบในการจัดทา แผนของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในการบรหิ ารประเทศให้สอดคลอ้ งเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั และมีการบูรณาการกัน ผลการพจิ ารณาศึกษา (๑) การกาหนดให้รัฐต้องกาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นการกาหนดแนวนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินไว้อย่างเคร่งครัดซ่ึงอาจส่งผล ต่อคณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบกับหลักเกณฑ์การแก้ไขเพิ่มเติมยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีถูกกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง ได้กาหนดว่า “ให้คณะกรรมการจัดให้มีการทบทวนยุทธศาสตร์ชาติทุกห้าปีหรือในกรณีที่สถานการณ์ของโลกหรือ ส ถ า น ก า ร ณ์ข อ ง ป ร ะ เ ทศ เปลี่ ยนแปลงไปจนไม่สามารถหรื อไม่ เหมาะสมท่ี จะด าเนิ นการตามเป้ าห มาย หรือยุทธศาสตร์ด้านหนึ่งด้านใดได้” ซ่ึงการกาหนดบทบัญญัติในลักษณะดังกล่าวไม่เหมาะสมทาให้การแก้ไข ยุทธศาสตร์ชาติกระทาได้ยากและอาจส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ เน่ืองจากการจะแก้ไขเพ่ิมเติมยุทธศาสตร์ชาติ ได้น้ัน พระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ กาหนดให้คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ เพียงองคก์ รเดียวท่ีมอี านาจในการแก้ไขเพมิ่ เติมยุทธศาสตร์ชาติ (๒) การกาหนดยุทธศาสตร์ชาติและการกาหนดให้มีคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงทาให้เกิดคณะกรรมการท่ีมีอานาจมากเกินไปและเป็นการส่งเสริมให้มีรัฐราชการอยู่เหนือฝ่ายการเมือง ซ่ึงเป็นอปุ สรรคตอ่ การเปลี่ยนแปลงประเทศไทยในอนาคต (๓) กรณีทีร่ ัฐพึงจัดให้มียทุ ธศาสตร์ชาติตามท่บี ัญญตั ิไวใ้ นมาตรา ๖๕ นัน้ ประชาชนยังมคี วาม เข้าใจที่คลาดเคล่ือน เนื่องจากประชาชนมีความเข้าใจว่ายุทธศาสตร์ชาติครอบคลุมการพัฒนาประเทศ ในทุกด้าน ดังนั้น การบัญญัติให้มียุทธศาสตร์ชาติในรัฐธรรมนูญสามารถกระทาได้ แต่ต้องบัญญัติเกี่ยวกับ วิธีการจดั ทายทุ ธศาสตร์ชาติ รวมทัง้ ชอ่ งทางในการดาเนินการแกไ้ ขยุทธศาสตร์ชาติให้ชดั เจน (๔) ระยะเวลาในการทบทวนยุทธศาสตร์ชาติตามท่ีบัญญัติในพระราชบัญญัติการจัดทา ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๑ ซึ่งกาหนดให้มีการพิจารณาทบทวนยุทธศาสตร์ชาติทุกห้าปีน้ัน เป็นระยะเวลาท่ีไม่เหมาะสม เนื่องจากสถานการณ์ของโลกในปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา การกาหนดให้มีการทบทวนยุทธศาสตร์ชาติทุกห้าปีน้ัน อาจทาให้ยุทธศาสตร์ชาติของประเทศไทยไม่ทันต่อ การเปล่ียนแปลงของสถานการณ์โลก (๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติชุดปัจจุบนั ส่วนใหญ่เป็นผู้มีความ ใกล้ชิดกับรัฐบาลชุดท่ีผ่านมา จึงทาให้การกาหนดกรอบยุทธศาสตร์ชาติเกิดจากความคิดของบุคคล ที่มีความเห็นในลักษณะเดียวกัน ซึ่งเป็นเหตุปัจจัยหนึ่งท่ีทาให้คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติชุดปัจจุบัน

- ๒๗ - สามารถดาเนินการพิจารณากาหนดยุทธศาสตร์ชาติแล้วเสร็จได้ภายในระยะเวลาหน่ึงปี แต่กลับมีผลใช้บังคับ กับรัฐบาลและหนว่ ยงานของรฐั เปน็ เวลาถึงย่สี บิ ปี (๖) ในขั้นตอนการจัดทายุทธศาสตร์ชาติไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการ จัดทายุทธศาสตร์ชาติ และการกาหนดยุทธศาสตร์ชาติควรมีความยืดหยุ่นและสามารถปรับเปลี่ยนได้ ตามสภาพการณ์ทางสังคมที่เกิดข้ึน ณ เวลาน้ัน รวมท้ังจะต้องสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน สามารถนามาแก้ปญั หาใหก้ ับประชาชนได้ (๗) ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ไม่มีความชัดเจนเก่ียวกับสถานะของยุทธศาสตร์ชาติ กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตวิ ่ามคี วามซ้าซ้อนกนั หรือไม่ ข้อสงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาเหน็ วา่ ควรแกไ้ ขเพิม่ เตมิ พระราชบัญญัติการจัดทายทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยปรับลดระยะเวลาการพิจารณาทบทวนยุทธศาสตร์ชาติให้เรว็ ขน้ึ เช่น ทุกหนง่ึ ปี หรือทกุ สองปี เป็นต้น ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ โดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามี ส่วนร่วมในการกาหนดยุทธศาสตร์ชาติได้อย่างแท้จริง เพ่ือให้การพิจารณากาหนดยุทธศาสตร์ชาติมีมุมมอง ท่หี ลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และบัญญัติเพิ่มเงื่อนไขการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ จะตอ้ งมกี ารรับฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน ๔) แนวนโยบายดา้ นทีด่ ิน ทรัพยากรน้า และพลงั งาน มาตรา ๗๒ เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพื่อกาหนดหลักการให้รัฐดาเนินการในส่วนท่ี เกี่ยวกับการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้า และพลังงาน ได้แก่ การวางแผนการใช้ท่ีดินของประเทศให้เหมาะสมกับ สภาพของพื้นท่แี ละศักยภาพของท่ีดินตามหลักการพัฒนาอย่างยง่ั ยืน (มาตรา ๗๒ (๑)) การจัดให้มีการวางผงั เมือง ทุกระดับและบังคับการให้เป็นไปตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ รวมตลอดท้ังพัฒนาเมืองให้มีความเจริญ โดยสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ (มาตรา ๗๒ (๒)) การจัดให้มีมาตรการกระจาย การถือครองที่ดินเพ่ือให้ประชาชนสามารถมีท่ีทากินได้อย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม (มาตรา ๗๒ (๓)) การจัดให้มี ทรัพยากรน้าที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน รวมท้ังการประกอบเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอ่ืน (มาตรา ๗๒ (๔)) และการส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานและการใช้พลังงานอยา่ งคมุ้ ค่า รวมท้ังพัฒนาและสนับสนุนให้มีการผลิตและการใช้พลังงานทางเลือกเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงด้านพลังงาน อย่างยั่งยืน (มาตรา ๗๒ (๕)) ผลการพจิ ารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า บทบัญญัติมาตรา ๗๒ กาหนดให้รัฐพึงดาเนินการเก่ียวกับ ท่ดี ิน ทรัพยากรน้า และพลังงาน แตไ่ ม่ได้บัญญตั ใิ ห้รฐั พึงดาเนนิ การเก่ยี วกับทรพั ยากรธรรมชาติอย่างอนื่ ไวด้ ว้ ย นอกจากนั้น ในมาตรา ๗๒ บัญญัติแต่เพียงวิธีการเข้าถึง และวิธีการใช้ประโยชน์เกี่ยวกับที่ดิน ทรัพยากรน้า และพลังงาน เท่านั้น โดยไม่ไดบ้ ัญญตั ิเก่ียวกับวธิ ีการดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยนื ซึง่ อาจกระทบ กับประชาชนในการบริหารจัดการเร่ืองทรัพยากรธรรมชาติได้ ดังนั้น แนวนโยบายแห่งรัฐด้านที่ดิน ทรัพยากรน้า และพลังงาน หน่วยงานภาครัฐจะต้องแก้ไขปัญหาเก่ียวกับการดูแลทรัพยากรธรรมชาติอย่างเร่งด่วน เพื่อให้ ประชาชนสามารถเข้าถงึ และใช้ประโยชน์ในทรพั ยากรธรรมชาติอย่างทั่วถงึ

- ๒๘ - ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๗๒ โดยเพ่ิมหลักการ เกี่ยวกบั วิธกี ารดูแล รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยนื ๕) แนวนโยบายดา้ นเศรษฐกิจ มาตรา ๗๕ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อกาหนดเป็นนโยบายสาคัญท่ีพึงนาไปใช้ในการ พฒั นาระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยกาหนดหลักการสาคญั ของกรอบการกาหนดนโยบายทางด้านเศรษฐกิจ โดยยึดหลักระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ที่มุ่งหมายให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจอย่างท่ัวถึง เป็นธรรม และย่ังยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกาหนดให้รัฐ พึงคานึงถึงความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุและการพัฒนาด้านจิตใจและความอยู่เย็นเป็นสุขของ ประชาชนประกอบกัน ไม่ใช่มุ่งพัฒนาความเจริญทางวัตถุเป็นหลกั อย่างเช่นที่ผา่ นมา อันจะเป็นกลไกการแก้ไข ปัญหาความเหล่อื มล้าทางเศรษฐกิจและการเลอื กปฏิบัติอยา่ งไม่เปน็ ธรรม ผลการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า ประเด็นแนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ การกาหนดให้รัฐต้อง ไม่ประกอบกิจการท่ีมีลักษณะไม่เป็นการแข่งขันกับเอกชน กรณีที่หน่วยงานของรัฐนาทรัพย์สินหรือ งบประมาณของรัฐไปลงทุนเพ่ือให้ประชาชนมาใช้บริการโดยมีค่าตอบแทนน้ัน ถือว่ารัฐประกอบกิจการท่ีมี ลกั ษณะเป็นการแข่งขันกับเอกชนหรอื ไม่ นอกจากนัน้ ในปัจจุบันมีการผูกขาดทางการค้าโดยกลุ่มทุนขนาดใหญ่ ซ่ึงถือเป็นการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรม รวมทั้งการนาทรัพยากรทางธรรมชาติและการนากิจการบางประเภท ไปใหส้ มั ปทานแก่เอกชนเพื่อแสวงหาประโยชนท์ ่ไี ม่ชอบ ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า บทบัญญัติในมาตรา ๗๕ ควรแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติ ให้ชัดเจนว่ากิจการลักษณะใดที่ห้ามมิให้รัฐประกอบกิจการท่ีเป็นการแข่งขันกับเอกชน และควรกาหนดให้ ชดั เจนว่าการผูกขาดทางการค้า การให้สัมปทาน การอนุญาตให้ใช้ทรัพยากรของแผ่นดินจะต้องระบุให้ชัดเจน ว่าสามารถดาเนนิ การในลกั ษณะใดบ้าง เพ่อื ป้องกนั การครอบงาโดยกลมุ่ ทุนขนาดใหญใ่ นภาคเอกชน ๖) แนวนโยบายด้านกฎหมาย มาตรา ๗๗ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อกาหนดกรอบและหลักการสาคัญในการตรา กฎหมาย ตามแนวคิดที่ว่าไม่ควรมีกฎหมายเกินความจาเป็น และสร้างหลักประกันให้ประชาชนมีส่วนร่วม และรบั รดู้ ้วยตง้ั แต่ตน้ โดยได้วางหลักการสาคญั ไว้ ๘ ประการ ดังนี้ (๑) หลักการประการแรกที่สาคัญที่สุด คือ การกาหนดให้รัฐพึงมีกฎหมายเพียงเท่าที่จาเป็น สิ่งใดทีส่ ามารถดาเนนิ การได้โดยไม่จาเปน็ ตอ้ งมีกฎหมาย ก็ควรเลอื กใช้วธิ ีนัน้ ก่อน เพราะเม่ือตราเป็นกฎหมายแล้ว ย่อมจะต้องมีบทบังคับอย่างเข้มงวด และสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนขึ้นในทันทีที่มีการตรากฎหมายน้ัน อย่างไรจึงจะถือว่ามีความจาเป็น ต้องพิจารณาเป็นเร่ือง ๆ ไปตามแนวทางท่ีศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย และวางหลักอย่างคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป แตค่ วามใน (ข) ถงึ (ซ) อาจเป็นแนวทางใชป้ ระกอบการพิจารณาว่ากฎหมาย นั้นจาเปน็ หรอื ไม่

- ๒๙ - (๒) เมื่อกาหนดให้มีการตรากฎหมายใหม่เท่าท่ีจาเป็นแล้ว รัฐจะต้องย้อนกลับไปพิจารณา กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่แล้วว่าหมดความจาเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือเป็นอุปสรรคต่อการ ดารงชีวิตหรือการประกอบอาชพี ของประชาชนมากน้อยเพียงใด เพื่อจะได้ยกเลกิ หรือปรบั ปรุงแก้ไขกฎหมาย เหล่าน้ันเสียใหม่ให้สอดคล้องกับสภาวะที่เป็นจริงในปัจจุบัน เช่น ในปัจจุบันมีกฎหมายว่าด้วยการใช้ เครื่องกระจายเสียง ซ่ึงออกใช้บังคับเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยบังคับให้ทุกคนท่ีจะใช้เครื่องขยายเสียงจะต้อง ได้รับใบอนุญาตก่อน และจะใช้ภาษาอ่ืนใดนอกจากภาษาไทยมิได้ รัฐสมควรตรวจสอบว่ากฎหมายดังกล่าว ถ้าใช้บังคับอย่างจริงจังในปัจจุบันจะเป็นไปได้หรือไม่ การมีกฎหมายดังกล่าวอยู่แล้วไม่ใช้บังคับ จะเป็นผลให้ เจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องกระทาความผิดฐานละเว้นต่อการปฏิบัติหน้าท่ีหรือไม่ และถ้าบังคับจริงจะเกิดกลียุคข้ึน ในสงั คมหรอื ไม่ (๓) เมื่อมีกฎหมายแล้ว รัฐจะต้องดาเนินการให้ประชาชนเข้าถึงตัวบทกฎหมายได้โดยสะดวก ซ่ึงในยุคที่มีเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสะดวกและรวดเร็วเช่นปัจจุบัน ย่อมไม่เป็นการยากที่รัฐจะดาเนินการ ให้เกิดผลเช่นนั้น แต่ลาพังการจัดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงตัวบทกฎหมาย ไม่ได้ทาให้ประชาชนสามารถ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายน้ันได้อย่างถูกต้อง สิ่งท่รี ัฐจะตอ้ งดาเนนิ การ คือ ต้องดาเนนิ การให้ประชาชนสามารถเขา้ ใจ กฎหมายนั้นได้อย่างถูกต้อง ซึ่งอาจทาเป็นระบบที่นากฎหมายท่ีเกี่ยวข้องมารวมไว้ในท่ีเดียวกัน หรือจัดทา คาอธบิ ายสัน้ ๆ หรอื คู่มือพอทจ่ี ะทาใหป้ ระชาชนเขา้ ใจได้วา่ ตนจะต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายในเร่ืองใด อยา่ งไร (๔) เพ่ือให้ประชาชนได้รบั รู้ และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือผลกระทบที่จะมีต่อ ประชาชน หรือสามารถเสนอแนะแนวทางใหม่ ๆ ที่หน่วยงานของรัฐอาจนึกไม่ถึงได้ จึงกาหนดให้ต้องมีการ รับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เก่ียวข้อง แล้วนาความคิดเห็นนั้นไปใช้ประกอบการตรากฎหมายในทุกข้ันตอน ซ่ึงมิได้หมายความว่า ต้องมีการรับฟังความคิดเห็นในทุกขั้นตอน แต่หมายถึงการนาความคิดเห็นท่ีได้รับฟัง มาแต่ต้นนนั้ ไปใช้ประกอบการพิจารณาของหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้องทุกหน่วย (๕) เพ่ือแสดงให้เห็นว่ากฎหมายน้ันมีความจาเป็นต้องตราข้ึนอย่างแท้จริง มาตรา ๗๗ จึงกาหนดให้ต้องมีการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายในแง่มุมต่าง ๆ เช่น ประโยชน์ที่จะได้รับ จากการตรากฎหมายน้ัน และภาระท่ีจะเกิดกับประชาชน รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่ประชาชนจะต้องเสียไปในการ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย เพ่ือวเิ คราะหว์ า่ กฎหมายน้ันมีความคมุ้ ค่าและมีความจาเป็นอยา่ งแทจ้ รงิ (๖) เมื่อกฎหมายนั้นใช้บังคับแล้ว มาตรา ๗๗ ยังกาหนดให้มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ กฎหมายตามระยะเวลาท่ีจะมีกฎหมายกาหนด ในการวิเคราะห์ดังกล่าวต้องรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย การประเมินผลสัมฤทธิ์นี้จะเป็นเครื่องบ่งช้ีว่า ผลท่ีคาดหวังไว้ในการตรากฎหมายน้ัน ได้เกิดข้ึน จริงหรือไม่ มีการบังคับใช้อย่างเข้มงวดเพียงใด และท่ีสาคัญหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องมีความพร้อมในการ ปฏิบัติการตามกฎหมายจนเกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยหรือสร้างความสุขสงบให้แก่ประชาชนและสังคม มากน้อยเพียงใด (๗) เพื่อเป็นการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินและการปฏิรูปการป้องกันและปราบปราม การทุจริตไปพร้อมกัน มาตรา ๗๗ จึงกาหนดเงื่อนไขในการตรากฎหมายให้หลีกเลี่ยงการใช้ระบบอนุญาต ซ่ึงเป็นที่มาของการทุจริตประพฤติมิชอบ และระบบคณะกรรมการ ซึ่งทาให้เกิดข้ันตอน และหาตัวบุคคล ทีจ่ ะรับผิดชอบในผลแห่งการกระทามิได้ นอกจากนั้น ในกรณีที่ให้อานาจแก่เจ้าหนา้ ที่ของรัฐในการใช้ดุลพินิจ ในเรอ่ื งใด จะต้องกาหนดระยะเวลาและขัน้ ตอนไว้ใหช้ ัดเจน

- ๓๐ - (๘) โดยธรรมชาตขิ องกฎหมายซึง่ ตราขึน้ เพ่ือบังคับใช้กับประชาชน จงึ มักจะมีบทกาหนดโทษ สาหรับผู้ไม่ปฏิบัติตามด้วยเสมอ และโทษท่ีกาหนดไว้ก็ต้องเป็นโทษทางอาญา ซึ่งนับวันจะกาหนดให้สูงขึ้น ๆ จนอาจกลายเป็นเครื่องมือให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้ไปในทางท่ีไม่ชอบได้ จึงได้กาหนดเงื่อนไขเป็นประการสุดท้ายว่า การกาหนดโทษอาญาในกฎหมาย ให้กาหนดแต่เฉพาะเมอื่ เป็นความผิดร้ายแรงเท่านั้น ซ่ึงเปน็ เร่ืองท่ีจะต้องไป ศึกษาและวางแนวทางในการกาหนด \"ผลร้าย” แบบใหม่ขึ้นแทนที่โทษทางอาญา เช่น อาจกาหนดเป็นโทษ ทางปกครองแทน เปน็ ตน้ ผลการพจิ ารณาศึกษา (๑) บทบัญญัติมาตรา ๗๖ บัญญัติอยู่ในหมวดแนวนโยบายแห่งรัฐ ไม่ได้กาหนดมาตรการ บังคับไว้ กรณีท่ีประชาชนได้รับผลกระทบจากการบังคับใช้กฎหมายแต่ภาครัฐไม่มีหน่วยงานสนับสนุนหรือ ช่วยเหลือเพื่อเสนอให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ประชาชนจะมีวิธีดาเนินการเพ่ือให้รัฐปฏิบัติตามท่ีกาหนด ไวใ้ นรฐั ธรรมนญู อยา่ งไร (๒) กระบวนการตรากฎหมายถือเป็นเรือ่ งสาคัญ การที่คณะรัฐมนตรจี ะเสนอร่างกฎหมายต่อ สภาผู้แทนราษฎร ร่างกฎหมายทุกฉบับจะต้องผ่านการตรวจพิจารณาจากสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แม้ในชั้นการพิจารณายกร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐเจ้าของร่างกฎหมายจะมีเจ้าหน้าที่สานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาเข้าร่วมประชุมด้วยก็ตาม แต่เมื่อหน่วยงานของรัฐเจ้าของร่างกฎหมายเสนอ ร่างกฎหมายต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณา คณะรัฐมนตรีก็จะส่งร่างกฎหมายดังกล่าวให้สานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาก่อนท่ีจะเสนอต่อสภาผ้แู ทนราษฎร ซ่ึงในขัน้ ตอนนี้ไม่มีการกาหนดระยะเวลา การพิจารณาของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาว่าจะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในก่ีวัน ซ่ึงทาให้เง่ือน เวลาในขั้นตอนดังกล่าวขึ้นอยู่กับการดาเนินการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นอกจากนั้น กระบวนการยกร่างกฎหมายเหตุใดจะต้องผ่านการตรวจพิจารณาจากสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพียงหน่วยงานเดียว กรณีคณะรัฐมนตรีจะแก้ไขเพ่ิมเติมร่างกฎหมายมาตราใดจะต้องถามความเห็นของ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แต่ท้ายที่สุดร่างกฎหมา ยดังกล่าวก็ต้องถูกแก้ไขเพิ่มเติม โดยคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ หรือถูกแก้ไขในท่ีประชุมสภาผู้แทนราษฎร หรือท่ีประชุมวุฒิสภา แล้วแต่กรณี จากกรณีตัวอย่างข้างต้นถือเป็นกระบวนการร่างกฎหมายท่ีมีข้ันตอน มากเกินไป ส่งผลให้กระบวนการตรากฎหมายเกิดความล่าช้า และเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้การออกกฎหมาย ของฝา่ ยบรหิ ารเกิดความล่าชา้ เพราะระบบราชการดว้ ยกันเอง (๓) การออกกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงโดยอาศัยอานาจตามที่กฎหมายบัญญัติ หน่วยงานเจ้าของเรื่องจะต้องส่งให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเช่นเดียวกันการต รวจ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ เป็นเหตุให้ปัจจุบันมีร่างกฎกระทรวงและร่างประกาศกระทรวงอยู่ระหว่าง การตรวจพิจารณาของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเปน็ จานวนมาก (๔) การให้ความเห็นทางกฎหมายของเจ้าหน้าท่ีสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาในการพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติบางฉบับในช้ันคณะกรรมาธิการ ไม่มีความชัดเจนทาให้เกิดประเด็นข้อถกเถียงและใช้เวลา ในการพิจารณาเนื้อหาบทบัญญัติในแต่ละมาตราเป็นเวลานาน จึงเป็นอีกสาเหตุหน่ึงที่ทาให้กระบวนการ พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตขิ องฝ่ายนติ ิบัญญตั ิเกิดความลา่ ช้า

- ๓๑ - ขอ้ สังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๗๗ โดยเพิ่มบทบัญญัติ เกยี่ วกับเงอื่ นเวลาในการเสนอรา่ งกฎหมาย และหากไมด่ าเนินการตามระยะเวลาท่กี าหนดถือวา่ เป็นการกระทา ท่ีขัดต่อรัฐธรรมนูญ เพื่อให้กระบวนการตรากฎหมายเป็นไปอย่างรวดเร็ว ซ่ึงจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ประชาชนและประเทศ และกาหนดแนวทางการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจน รวมทั้งกาหนด มาตรการและช่องทางการรับฟังความคิดเห็นให้เป็นรูปธรรมมากขึ้นเพื่อให้การรับฟังความคิดเห็นเป็นไ ป อยา่ งรอบด้านและกวา้ งขวาง และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการตรากฎหมายมากขนึ้  ผลการศึกษาและความเห็นของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน และการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนของคณะอนกุ รรมาธกิ ารประชาสัมพันธ์และรับฟังความคดิ เหน็ ของประชาชน รายละเอียดผลการพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น และคณะอนุกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ในหมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ ปรากฏอยู่ในรายงานของ คณะอนุกรรมาธิการศึกษาวิเคราะห์บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น และคณะอนกุ รรมาธิการประชาสัมพันธ์และรบั ฟงั ความคดิ เห็นของประชาชน ในภาคผนวก ก และภาคผนวก ข หมวด ๗ รัฐสภา ๑) ส่วนท่ี ๑ บททัว่ ไป บทบัญญัตใิ นส่วนน้ีมี ๔ มาตรา คือ มาตรา ๗๙ ถึงมาตรา ๘๒ มวี ัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ เพ่ือกาหนดองค์ประกอบของรัฐสภาอันเป็นองค์กรที่ทาหน้าท่ีด้านนิติบัญญัติ หน้าท่ีและอานาจของประธาน และรองประธานฝ่ายนิติบัญญัติ อานาจในการพิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างกฎหมาย รวมทั้งหลักเกณฑ์ การพจิ ารณาเก่ียวกบั การสน้ิ สุดสมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒสิ ภา ผลการพจิ ารณาศึกษา คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาเก่ียวกับประเด็นระบบรัฐสภาเห็นว่า นับตง้ั แต่ประเทศไทย เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย ในช่วงต้นของการ เปล่ียนแปลงการปกครอง รัฐสภาของประเทศไทยใช้ระบบสภาเดียว คือ สภาผู้แทนราษฎร เพียงแต่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีที่มาจากสองประเภท คือ มาจากการแต่งต้ังกึ่งหนึ่ง และมาจากการเลือกตั้ง อีกก่ึงหนึ่ง สาหรับการมีระบบสองสภาเกิดขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ โดยสภาที่สองคือ พฤฒสภา ซึ่งมาจากการเลือกตั้งทางอ้อม โดยในบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ กาหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เลือกสมาชิกพฤฒสภา ตอ่ มาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๔๙๐ ก็ยังคงกาหนดให้มีระบบสองสภาเช่นเดยี วกับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ ดังน้ัน ประเทศไทยใช้ระบบสองสภามาเป็นระยะ เวลานาน โดยส่วนใหญ่สภาท่ีสองจะมาจากการแต่งตั้งโดยยังไม่เคยมีสภาท่ีเป็นสภาวิชาชีพแต่อย่างใด จนกระทั่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกท่ีกาหนดให้

- ๓๒ - สภาสูงมาจากการเลือกตั้งท้ังหมด ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ให้มาจากการเลอื กตัง้ ในแตล่ ะจังหวัด ทั้งนี้ มคี วามเหน็ เก่ยี วกับระบบรฐั สภาแบ่งเปน็ สองความเหน็ คือ ความเห็นที่ ๑ มีความเห็นว่าควรกาหนดให้รัฐสภาของประเทศไทยเป็นระบบสภาเดียว เนื่องจากประเทศไทยมีการปกครองในรูปแบบราชอาณาจักร ไม่ใช่การปกครองในรูปแบบสาธารณรัฐ หรือสหพันธรัฐซึ่งจะใช้ระบบสองสภา ประกอบกับการกาหนดรปู แบบรัฐสภาเป็นสองสภา คือสภาสงู และสภาล่าง จะทาให้ส้ินเปลืองงบประมาณและประชาชนเกิดความสับสน โดยเฉพาะการตั้งคณะกรรมาธิการสามัญ ทัง้ ในส่วนของสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒสิ ภาซึง่ มีชอ่ื อานาจและการทาหน้าที่ในลกั ษณะคลา้ ยกัน ความเห็นที่ ๒ มีความเห็นว่าระบบรัฐสภาของประเทศไทยควรใช้ระบบสองสภา โดยสภาที่สอง หรือสภาสูงอาจกาหนดให้มีท่ีมาจากการเลือกต้ังจานวนกึ่งหนึ่ง และมาจากการเลือกบุคคลในกลุ่มวิชาชีพต่าง ๆ จานวนก่ึงหน่ึงซึ่งจะต้องกาหนดกลไกหรอื หลักเกณฑ์การคัดสรรให้ไดบ้ ุคคลท่ีเป็นตัวแทนของกล่มุ วิชาชีพน้ัน ๆ อย่างแทจ้ ริงด้วย ข้อสังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นว่า ควรพิจารณาความเหมาะสมวา่ ประเทศไทยควรเป็น ระบบสภาเดียวหรือสภาคู่ ๒) ส่วนท่ี ๒ สภาผูแ้ ทนราษฎร บทบัญญัติในส่วนนี้มี ๒๔ มาตรา คือ มาตรา ๘๓ ถึงมาตรา ๑๐๖ มีวัตถุประสงค์และ เจตนารมณ์กาหนดโครงสร้างและองค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร รวมตลอดท้ังวิธีการได้มา คุณสมบัติ และลักษณะตอ้ งห้ามของผู้ท่จี ะสมัครเข้ารับเลือกต้งั เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ความสมั พนั ธ์ระหว่างผู้สมัคร รับเลือกตั้งและพรรคการเมือง กระบวนการในการจัดการเลือกตั้ง และการส้ินสมาชิกภาพของสมาชิก สภาผ้แู ทนราษฎร คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาบทบญั ญัตใิ นหมวดนแ้ี ลว้ มปี ระเด็นความเหน็ ดังนี้ ๒.๑) หลกั การของระบบเลือกตัง้ แบบจดั สรรปนั สว่ นผสม ผลการพจิ ารณาศกึ ษา (๑) หลักการของการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องทาให้ประชาชนเข้าใจ ระบบการเลือกตั้งได้ง่ายที่สุดและเป็นระบบที่สามารถตอบสนองต่อเจตนารมณ์ของประชาชนได้มากท่ีสุด ซ่ึงเมื่อพิจารณาการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พบว่าระบบเลือกต้ังแบบจัดสรรปันส่วนผสมเป็นระบบท่ีประชาชนเข้าใจได้ยาก และไม่สนองต่อ เจตนารมณ์ของประชาชน นอกจากนั้น ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมเป็นระบบเลือกตั้งที่มีความ คลุมเครือและไม่ชัดเจนก่อให้เกิดปัญหาการตีความ เช่น วิธีการคานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี รายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองจะพึงมีได้ หรือกรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของ พรรคการเมืองหนึ่งได้ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองแล้วไปสมัครเป็นสมาชิกพรรคการเมือง อีกพรรคการเมืองหนึ่งภายในหนึ่งปีนับแต่วันเลือกตั้ง ไม่มีความชัดเจนว่าคณะกรรมการการเลือกตั้งจะใช้ วิธีการใดในการคานวณเพ่ือให้ได้จานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองจะพึงมีได้ หรือวิธีการ คานวณจานวนสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือทีแ่ ตล่ ะพรรคการเมอื งจะพึงมีได้ใหมภ่ ายในระยะเวลา

- ๓๓ - หน่ึงปีนับแต่วันเลือกตั้ง หรือกรณีท่ีจะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ด้วยเหตุต่าง ๆ เช่น มีการเลือกต้ังใหม่เพราะเหตุ ท่ีการเลอื กต้ังมไิ ดเ้ ป็นไปโดยสุจริตและเท่ยี งธรรม เปน็ ตน้ ซ่งึ ยงั ไมม่ แี นวทางการดาเนินงานทช่ี ดั เจน (๒) ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปนั ส่วนผสม เป็นระบบที่ทาใหม้ ีสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร จากพรรคการเมืองขนาดเล็กจานวนมาก เป็นระบบเลือกต้ังที่ทาให้เกิดปัญหาการซื้อเสียงจานวนมาก และทาให้รัฐบาลเป็นรัฐบาลผสมจากพรรคการเมืองหลายพรรคทาให้รัฐบาลอ่อนแอ ขาดเสถยี รภาพในการบริหาร ประเทศ และเป็นระบบเลือกต้ังท่ีทาให้เกิดความยุ่งยากต่อผู้ปฏิบัติและไม่สนองต่อความต้องการของ ผู้มีสิทธิเลือกตงั้ ซ่งึ ถอื เปน็ เจตนารมณท์ ส่ี าคัญของการเลือกตั้ง (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ อาจมีความประสงค์ เพ่ือป้องกันไม่ให้มีการจัดตั้งรัฐบาลท่ีมีอานาจเบ็ดเสร็จเพียงพรรคเดียว จึงออกแบบระบบเลือกตั้งท่ีทาให้มี พรรคการเมืองหลายพรรคในสภาผู้แทนราษฎร รวมทั้งมีการกาหนดวินัยเพ่ือให้สมาชิกของพรรคการเมือง ต้องปฏิบัติตาม เพ่ือป้องกันปัญหาทางการเมืองท่ีเคยเกิดข้ึนในอดีต แต่วิธีการดังกล่าวไม่ใช่การแก้ปัญหา ที่ถูกต้อง เนื่องจากการแก้ปัญหาทางการเมืองอย่างย่ังยืนต้องมีการพัฒนาระบบเลือกต้ังและระบบ พรรคการเมืองระดับท่ีประชาชนสามารถเข้าใจบริบทของตนเองในระบอบประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง ซึ่งการออกแบบระบบเลือกต้ังท่ีดีจะต้องคานึงถึงหลักความเป็นอิสระทางความคิดของผู้ใช้สิทธิเลือกต้ัง และสะท้อนถึงความต้องการของผู้ใช้สิทธิเลือกต้ังอย่างแท้จริง รวมทั้งทาให้องค์กรหรือบุคคลที่ทาหน้าท่ี บรหิ ารจัดการระบบเลือกตั้งสามารถบริหารจดั การได้ง่ายด้วย ขอ้ สงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรกลับไปใช้ระบบเลือกต้ังสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กล่าวคือ ให้ประชาชนมีสิทธิเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้สองแบบ คือ แบบแบ่งเขตเลือกต้ังและแบบบัญชีรายช่ือ ซ่ึงระบบดังกล่าวจะทาให้เกิดดุลยภาพทางการเมือง และทาให้ ประชาชนเกิดความสับสนน้อยท่ีสุด ทั้งน้ี เม่ือกลับไปใช้ระบบเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกต้ังและแบบบัญชี รายช่ือแล้ว จะส่งผลให้มีการแก้ไขปัญหาเร่ืองบัตรเลือกต้ังใบเดียวและระบบการคิดคานวณคะแนน ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้สอดคล้องกันต่อไป นอกจากน้ัน ควรบัญญัติเง่ือนไขเพิ่มเติมด้วยว่าในระหว่าง ทพ่ี ระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกต้ังสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรเป็นการท่ัวไปมีผลใชบ้ ังคับ ผู้มอี านาจจะตอ้ งไมใ่ ช้ อานาจพิเศษใด ๆ ในช่วงการเลือกตั้ง ซึ่งถือเป็นการสร้างบรรยากาศให้เกิดความเป็นอิสระต่อการเลือกต้ัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องไม่มีการบังคับใช้กฎหมายพิเศษในช่วงการจั ดการเลือกต้ังอันจะส่งผลกระทบต่อ ความเป็นอิสระของคณะกรรมการการเลือกต้ัง ผู้สมัครรับเลือกต้ัง และประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ังในการ แสดงความคดิ เหน็ ทเ่ี ก่ยี วกับการเลือกต้ัง ๒.๒) องคป์ ระกอบของสภาผู้แทนราษฎร มาตรา ๘๓ เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพ่ือกาหนดองค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร และที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยกาหนดให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชกิ จานวนห้าร้อยคน แบง่ เปน็ สมาชกิ ซ่ึงมาจากการเลือกต้งั แบบแบง่ เขตเลือกตั้งจานวนสามรอ้ ยห้าสบิ คน และสมาชิกซง่ึ มาจากบัญชี รายชอื่ ของพรรคการเมืองจานวนหนึ่งรอ้ ยห้าสบิ คน

- ๓๔ - ผลการพจิ ารณาศกึ ษา (๑) ในอดีตประเทศไทยกาหนดท่ีมาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไว้หลายรูปแบบ เช่น การเลือกตั้งเขตละหนงึ่ คน หรือการรวมเขตจังหวัดและใหเ้ ลอื กได้ทั้งจงั หวัด หรือการกาหนดให้เขตเลอื กตัง้ หนึ่ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละสามคน เป็นต้น จนกระท่ังรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ได้แบ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนหน่ึงมาจากการเลอื กต้ังแบบแบ่งเขตเลือกต้ัง เขตละหน่ึงคน จานวน ๔๐๐ คน และอีกส่วนหนึง่ มาจากการเลือกตั้งแบบบญั ชีรายช่ือ จานวน ๑๐๐ คน ทั้งน้ี เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ ทีก่ าหนดให้มสี มาชกิ สภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายช่ือ เนื่องจากในอดีตประเทศไทยจะมีแต่เฉพาะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ซ่ึงเป็นผู้แทนของประชาชนเฉพาะในพื้นที่แต่ไม่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ทางานในระดับประเทศ จึงเพิ่มประเภทของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อข้ึนเพ่ือเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในระดับประเทศ (๒) สัดส่วนจานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งกับแบบบัญชีรายชื่อ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไม่เหมาะสม เม่ือเปรียบเทียบกับสัดส่วนจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ังกับแบบบัญชีรายช่ือตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ ที่กาหนดสัดส่วนจานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลอื กตง้ั กับแบบบัญชีรายช่ือ คือ ๔๐๐ ต่อ ๑๐๐ คน ส่วนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กาหนดสัดส่วนจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งกับแบบบัญชีรายชื่อ คือ ๓๗๕ ต่อ ๑๒๕ คน แต่ในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กาหนดสัดส่วนจานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต เลอื กตั้งกบั แบบบญั ชีรายช่ือ คอื ๓๕๐ คน ตอ่ ๑๕๐ คน ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๘๓ โดยกาหนดให้มี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จานวน ๔๐๐ คน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จานวน ๑๐๐ คน ตามทเี่ คยกาหนดในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ ๒.๓) บัตรเลือกตั้งและการกาหนดหมายเลขผูส้ มัคร มาตรา ๘๕ เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพ่ือกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข ของการได้มาซ่ึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง วิธีออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งกาหนด หลักเกณฑ์ และในการประกาศผลการเลือกตั้ง และในกรณีที่มีการประกาศผลการเลือกตั้งไปแล้วให้เป็นหน้าที่ และอานาจของคณะกรรมการการเลือกต้ังที่จะดาเนินการสืบสวน ไต่สวน หรือวินิจฉัยต่อไป หากมีการทุจริต ในการเลอื กตง้ั หรอื การเลือกตง้ั ไม่สุจรติ หรอื เทย่ี งธรรม ผลการพจิ ารณาศกึ ษา (๑) การกาหนดให้ใช้บัตรเลือกตั้งใบเดียวถือว่าเป็นการจากัดสิทธิในการใช้สิทธิเลือกต้ัง ของประชาชน และเป็นการบังคับประชาชนในการลงคะแนนเลือกต้ัง เน่ืองจากผู้มีสิทธิเลือกต้ังอาจไม่ช่ืนชอบ ในตัวผู้สมัครรับเลอื กตัง้ แบบแบ่งเขตเลอื กต้ังแต่มคี วามช่ืนชอบในพรรคการเมอื งท่ีผู้สมคั รรับเลือกตัง้ ผู้น้ันสังกัด แต่จาเป็นที่ต้องลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครรับเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้งน้ัน หรือในทางกลับกันผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ชนื่ ชอบในตัวผู้สมัครรับเลือกตั้งแต่ไม่ชอบพรรคการเมืองท่ีผู้สมัครรับเลือกต้ังผู้น้ันสังกัด ก็ต้องลงคะแนนเลือก

- ๓๕ - ผู้สมัครรับเลือกต้ังในเขตเลือกตั้งนนั้ และเป็นผลให้พรรคการเมืองไดร้ ับคะแนนจากการเลือกตงั้ นั้นด้วย ซ่ึงเป็น ระบบที่ไม่สะท้อนคะแนนเสียงของประชาชนอย่างแท้จริง นอกจากนั้น ยังกาหนดหมายเลขประจาตัวผู้สมัคร รับเลือกต้ังในแต่ละเขตเลือกต้ังแตกต่างกัน เป็นเหตุให้ประชาชนเกิดความสับสนในการใช้สิทธิเลือกต้ัง ซงึ่ แตกต่างจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ และรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ท่ีกาหนดให้การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใช้บัตรเลือกต้ังสองใบ โดยใบหนึ่ง เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ังและอีกใบหนึ่งเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี รายช่ือ ส่วนการกาหนดหมายเลขผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายช่ือใช้หมายเลข เดยี วกนั ทัง้ ประเทศ ทาให้ประชาชนไม่เกิดความสบั สนเกีย่ วกบั หมายเลขผ้สู มคั รรบั เลอื กตง้ั (๒) ระบบเลือกต้ังตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ใช้ระบบ ทุกคะแนนเสียงมีความหมายหรือคะแนนเสียงไม่ตกน้า หากมองในเรื่องสิทธิของผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งถือเป็น หลักการท่ีดี แต่หากมองในแง่ของการซื้อสิทธิขายเสียง ระบบนี้ถือเป็นปัจจัยสาคัญท่ีทาลายระบบพรรคการเมือง และเปน็ ระบบเลอื กตง้ั ท่มี ีเหตุจงู ใจใหเ้ กิดการซ้ือสิทธิขายเสยี งมากท่ีสดุ (๓) ปัญหาเร่ืองหลักเกณฑ์การเลือกต้ังสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ทาให้เกิดปญั หาการซื้อเสียง จานวนมากและทาให้พรรคการเมืองขนาดเล็กไม่สามารถดารงอยู่ได้ เน่ืองจากไม่มีสมาชิกพรรคการเมือง ได้รบั เลอื กต้งั เป็นสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรในการเลอื กตง้ั คร้ังท่ผี า่ นมา (๔) การแบ่งเขตเลือกต้ังของคณะกรรมการการเลือกต้ังต้องคานึงถึงความสะดวกของ ประชาชนในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งมากกว่าความสะดวกในการจัดการเลือกต้ังของคณะกรรมการการเลือกต้ัง นอกจากนั้น กระบวนการประกาศผลการเลือกต้ังใช้เวลายาวนานหลายเดือน และมีความคลุมเครือ ในผลคะแนนเลือกต้ัง ดังนั้น การประกาศผลการเลือกตั้งยิ่งใช้เวลานานเท่าใด จะย่ิงทาให้เกิดโอกาสในการ ทุจริตเลือกตั้งได้มากข้ึนเท่านั้น ซ่ึงส่งผลกระทบต่อความเช่ือมั่นในการจัดการเลือกต้ังของคณะกรรมการ การเลอื กตง้ั ได้ (๕) ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่กาหนดให้การส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจะต้องเป็นผู้ซ่ึงได้รับเลือก จากสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจาจังหวัดที่มีเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบในเ ขตเลือกตั้งนั้น หรือการจัดให้มีการคัดเลือกผู้สมัครข้ันต้น (Primary Vote) ซึ่งแม้จะเป็นระบบที่ดีแต่ก็ไม่ควรบัญญัติไว้ใน กฎหมายเพื่อบังคับให้พรรคการเมืองจะต้องดาเนินการ เนื่องจากการกาหนดให้มีการจัดการคัดเลือกผู้สมัคร ขัน้ ต้นบัญญัติไว้ในกฎหมายจะทาให้พรรคการเมืองมีกระบวนการเพิ่มข้ึนโดยไม่จาเป็น เนื่องจากในการจัดให้มี การเลือกตั้งขั้นต้นเพื่อคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งในแต่ละจังหวัดนั้น พรรคการเมืองแต่ละพรรคจะต้องใช้ งบประมาณจานวนมากในการดาเนินการ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินการของพรรคการเมืองขนาดเล็ก และพรรคการเมืองขนาดกลาง ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ (๑) ควรแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๘๕ โดยกาหนดให้ใช้บัตรเลือกตั้งสองใบ ตามที่เคยบัญญัติ ในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เนื่องจากเป็นระบบที่ผลการเลือกต้ังสะท้อนเจตนารมณ์ของประชาชนผู้ออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้ อย่างแท้จริง และเป็นระบบที่ทาให้คะแนนเสียงเลือกตั้งปรากฏผลตามคะแนนที่ถูกแยกออกระหว่างคะแนน ของผู้สมัครรับเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้งกับคะแนนของบัตรเลือกตั้งท่ีประชาชน เลือกพรรคการเมือง

- ๓๖ - ซึ่งจะเป็นคะแนนท่ีใช้ในการคานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือได้อย่างชัดเจน และควรกาหนด หมายเลขผสู้ มคั รรบั เลือกต้ังจากพรรคเดยี วกันเป็นหมายเลขเดยี วกันทั้งประเทศ (๒) ควรให้อิสระแก่พรรคการเมืองในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้ง ไม่ควรกาหนด ให้มีการจัดการคัดเลอื กผ้สู มัครขัน้ ต้นไว้ในกฎหมาย ๒.๔) การเสนอช่อื นายกรัฐมนตรีโดยพรรคการเมอื ง บทบัญญัติการเสนอชอ่ื นายกรฐั มนตรีโดยพรรคการเมืองน้ัน มี ๒ มาตรา คือ มาตรา ๘๘ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพ่ือให้ประชาชนมีสิทธิรับรู้ว่าพรรคการเมือง ที่ตนจะตัดสินใจสนับสนุนน้ันจะเสนอผู้ใดเป็นนายกรัฐมนตรี โดยกาหนดให้พรรคการเมืองท่ีส่งผู้สมัครรับ เลือกตั้งสามารถเสนอรายชื่อบุคคลเพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรพจิ ารณาแต่งต้ังเป็นนายกรัฐมนตรีได้ไม่เกินจานวน สามรายช่ือ และถือเป็นเอกสิทธ์ิของพรรคการเมืองนั้นท่ีจะตัดสินใจคัดเลือกหรือเสนอผู้ใดซึ่งมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘๙ (๒) โดยมิได้มีข้อกาหนดว่าจะต้องเป็นสมาชิกพรรค หรือเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพราะเป็นการเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนใช้ ประกอบการลงคะแนนเสียง และประชาชนทราบถึงตัวบุคคลล่วงหน้าก่อนที่จะมีการลงคะแนนเสียงแล้ว จึงเป็นสิทธิโดยชอบธรรมของ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งท่ีจะใช้เป็นเครื่องประกอบในการตัดสินใจลงคะแนนให้พรรคการเมืองใด นอกจากน้ัน เป็นการ เสนอช่ือก่อนที่จะมีการเลือกตั้ง จึงยังไม่มีทางทราบว่าผู้ที่ได้รับการเสนอช่ือจะเป็นหรือไม่ได้เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สาหรับจานวนที่กาหนดให้ไม่เกินสามรายช่ือ ก็เพ่ือให้พรรคการเมืองมีทางออก ในกรณีท่ีบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อในอันดับต้น ๆ หรืออันดับใดอันดับหนึ่งมีเหตุทาให้ไม่สามารถ ดารงตาแหน่งได้ อย่างไรก็ดี ความในวรรคสองของมาตราน้ีได้ให้สิทธิแก่พรรคการเมืองที่จะไม่เสนอรายชื่อ บุคคลท่ีจะเป็นนายกรัฐมนตรีได้ เพ่ือเป็นช่องทางสาหรับพรรคการเมืองที่ไม่สามารถหาบุคคลท่ีเหมาะสมได้ แต่ในกรณีท่ีพรรคการเมืองใดไม่เสนอรายชื่อดังกล่าว ก็ย่อมไม่มีสิทธิท่ีจะเสนอชื่อบุคคลจากพรรคการเมือง ของตนให้เข้ารับการพิจารณารับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรีได้ แต่ในชั้นการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร ไม่ห้ามที่จะเสนอชื่อของบุคคลที่พรรคการเมืองอื่นได้เสนอไว้แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา ๑๕๙ เพราะถือว่ารายช่อื เหล่าน้นั ไดร้ ับการกล่ันกรองหรือรับรู้มาจากประชาชนแลว้ มาตรา ๘๙ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อกาหนดเงื่อนไขของการเสนอชื่อบุคคลให้ดารง ตาแหนง่ นายกรัฐมนตรี เนอ่ื งจากท่ีผ่านมาการเลือกนายกรฐั มนตรเี ปน็ การเลือกในสภาผแู้ ทนราษฎร ประชาชน ไม่มีสิทธิท่ีจะรู้ล่วงหน้าได้ว่าใครบ้างท่ีจะได้รับการเสนอให้เป็นนายกรัฐมนตรี แม้ในทางปฏิบัติพรรคการเมือง มักจะเสนอช่ือหัวหน้าพรรคการเมืองของตนเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ก็มิได้มีกฎหมายบังคับให้ต้องดาเนินการ เช่นนั้น ดังนั้น เพ่ือประกันว่าประชาชนจะได้ทราบล่วงหน้าว่า พรรคการเมืองจะเสนอผู้ใดเป็นนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จึงกาหนดให้พรรคการเมืองต้องมีมติให้ชัดเจน และแจ้งต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งก่อนปิดสมัครรับเลือกต้ังว่า จะสนับสนุนผู้ใดเป็นนายกรัฐมนตรี และคณะกรรมการการเลือกต้ังจะต้องประกาศให้ประชาชนทราบเป็นการท่ัวไป เพื่อประชาชนจะได้ใช้เป็น ข้อมูลสาคัญในการตัดสินใจที่จะลงคะแนนให้ผู้สมัครคนใด ซึ่งโดยผลของระบบบัตรเลือกต้ังใบเดียวย่อมจะมี ผลเป็นการสนับสนนุ พรรคการเมอื ง และตัวบุคคลท่ีพรรคการเมืองนั้นเจตนาจะเสนอให้เป็นนายกรัฐมนตรดี ้วย ด้วยวิธีการเช่นน้ี เป็นการเปิดโอกาสให้พรรคการเมืองสามารถเลือกบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถท่ีดีท่ีสุด หรือเหมาะสมที่สุดเพ่ือให้ประชาชนเป็นผู้วินิจฉัย ซ่ึงอาจเป็นหรือไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองน้ัน หรือเป็น

- ๓๗ - หรือมิได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ นอกจากนั้น ยังเป็นการเปิดโอกาสให้สภาผู้แทนราษฎรเลือกได้จาก บุคคลท่ีพรรคและประชาชนได้กลั่นกรองมาก่อนแล้วอย่างกว้างขวางว่าเหมาะสมท่ีจะเป็นนายกรัฐมนตรี การกาหนดให้พรรคการเมืองเสนอรายชื่อผู้ที่จะดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีล่วงหน้า จึงเป็นการสร้างความ เช่ือมโยงกับประชาชนโดยตรง ยิ่งกว่าการไปจากัดให้ต้องเลือกจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพราะแม้ว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะได้รับเลือกต้ังมาจากประชาชน แต่ก็เป็นการเลือกมาเพื่อให้ดารงตาแหน่ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประชาชนอาจมไิ ด้ต้ังใจทจี่ ะใหม้ าดารงตาแหน่งนายกรฐั มนตรีก็ได้ ผลการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญจานวนข้างมากเห็นว่า การที่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกาหนดให้ พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง ท่ี ส่ ง ผู้ ส มั ค ร รั บ เ ลื อ ก ต้ั ง แ จ้ ง ร า ย ช่ื อ บุ ค ค ล ซ่ึ ง พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง นั้ น มี ม ติ ว่ า จ ะ เ ส น อ ใ ห้ สภาผู้แทนราษฎรเพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีไม่เกินสามรายชื่อต่อคณะกรรมการ การเลือกตั้งก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกต้ัง และให้คณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศรายช่ือบุคคลดังกล่าว ให้ประชาชนทราบนั้น ก็ไม่ถือว่าเป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ควรกาหนดให้ นายกรัฐมนตรีมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดังเช่นที่เคยบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งจะทาให้นายกรัฐมนตรี มีความใกล้ชดิ กับประชาชน ขอ้ สังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอและ คณะกรรมาธิการวิสามัญส่วนใหญ่พิจารณาเห็นว่า ควรกาหนดให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็น สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร และควรยกเลิกบทบัญญัตมิ าตรา ๘๘ และมาตรา ๘๙ ๒.๕) การคานวณหาสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายช่ือ มาตรา ๙๑ เป็นบทบัญญัติท่ีมีเจตนารมณ์เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคานวณหา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง และการคิดคานวณคะแนนในกรณีท่ี ผู้สมัครรับเลือกต้ังตายภายหลังวันปิดรับสมัครรับเลือกต้ัง โดยกาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนเลือกตั้งได้ หนึง่ คะแนน สาหรับการเลอื กต้งั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตงั้ และนาคะแนนจากการเลอื กต้ัง แบบแบ่งเขตเลือกต้ังที่พรรคการเมืองส่งผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งมาคานวณหา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองน้ันจะพึงมีได้ด้วย ซ่ึงมีผู้เรียกระบบการเลือกตั้งนี้ว่า “ระบบจัดสรรปันส่วนผสม” การเลือกต้ังระบบนี้มุ่งประสงค์ท่ีจะทาให้ทุกคะแนนมีความหมายไม่ถูกท้ิง เสียเปล่า โดยทุกคะแนนที่มีผู้มีสิทธิเลือกต้ังลงคะแนนให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขต (ไม่ว่าจะเป็นผู้ได้รับเลือกต้ังหรือไม่ได้รับเลือกต้ัง) จะนาไปรวมเป็นคะแนนของพรรคการเมือง ท่ีส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ เพื่อคานวณหาจานวนสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองน้ันจะพึงมีได้ ระบบการเลือกต้ังน้ีให้ความสาคัญ ท้ังคนท่ีพรรคการเมืองส่งสมัครแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และให้ความสาคัญกับพรรคการเมืองที่ส่งคนลงสมัคร และบัญชีรายช่ือผู้ท่ีถูกเสนอให้เป็นนายกรัฐมนตรีประกอบกัน อีกท้ังยังมุ่งหมายให้พรรคการเมืองกากับดูแล ผู้สมัครรับเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้งของตน มิให้กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย เก่ียวกับการเลือกตั้ง เพราะถ้าผู้สมัครรับเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้งทุจริตในการเลือกตั้ง พรรคการเมืองที่ส่ง สมัครกจ็ ะไม่ไดค้ ะแนนเพื่อคานวณหาสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายช่ือไปด้วย

- ๓๘ - นอกจากน้ี ระบบการเลือกตั้งดังกล่าวยังเป็นระบบท่ีเรียบง่ายโดยใช้บัตรเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งเพียงใบเดียว ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่สับสนในการลงคะแนนแบบบัตรเลือกตั้ง สองใบซ่ึงเป็นเหตุให้มีบัตรเสียเป็นจานวนมาก และเป็นระบบการเลือกตั้งท่ีบริหารจัดการ เลือกต้ัง ได้ง่ายกว่าเดิม สามารถลดจานวนกรรมการประจาหน่วยลงได้ จึงเป็นการประหยัดงบประมาณ อีกท้ังจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีพรรคการเมืองจะได้รับ จะสัมพันธ์กับจานวนคะแนนท่ีผู้มีสิทธิเลือกต้ังลงคะแนน ให้แก่ผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ังของพรรคการเมืองน้ัน เช่น พรรค ก ได้คะแนนทีผ่ ู้มีสิทธิเลือกตั้งลงให้ร้อยละ ๕๐ ของผู้มาใชส้ ิทธิเลือกต้ัง พรรค ก ก็จะได้สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร รอ้ ยละ ๕๐ ของจานวนสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรท้ังหมดคอื จานวน ๒๕๐ คน จากจานวนสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ท้งั หมด ๕๐๐ คน ตามสัดสว่ นท่สี ัมพนั ธ์กัน ผลการพจิ ารณาศึกษา (๑) บทบัญญัติมาตรา ๙๑ ท่ีกาหนดวิธีการคานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายช่ือ เป็นบทบัญญัติท่ีก่อให้เกิดปัญหาตีความเก่ียวกับวิธีการคานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อเป็นอย่างมาก เนื่องจากไม่มีความชัดเจนในวิธีการคานวณ รวมทั้งผลการเลือกต้ัง ไม่ตรงกับเจตนารมณ์ของประชาชนผู้ออกไปใช้สิทธิเลือกต้ัง ซึ่งปรากฏข้อเท็จจริงจากการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคร้ังท่ีผ่านมาว่ามีพรรคการเมืองบางพรรคที่ได้รับคะแนนเสียงจากการเลือกต้ัง ส ม า ชิ ก ส ภ า ผู้ แ ท น ร า ษ ฎ ร แ บ บ แ บ่ ง เ ข ต เ ลื อ ก ต้ั ง จ า น ว น ส า ม ห ม่ื น ค ะ แ น น ก ลั บ ไ ด้ รั บ จั ด ส ร ร ส ม า ชิ ก ส ภ า ผู้ แ ท น ร า ษ ฎ ร แ บ บ บั ญ ชี ร า ย ช่ื อ จ า น ว น ห น่ึ ง ค น เ ท่ า กั บ พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง อี ก พ ร ร ค ห นึ่ ง ท่ี ไ ด้ รั บ คะแนนเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจานวนแปดหมื่นคะแนน แต่กลับได้รับ การจัดสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือหน่ึงคนเท่ากัน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับ ความไม่ชัดเจนในสูตรการคานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ซ่ึงหากยังคงวิธีการ คานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามท่ีบัญญัติในมาตรา ๙๑ ก็จะส่งผลต่อการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในอนาคตท่ีจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือจากพรรคการเมืองต่าง ๆ จานวนเพ่ิมสูงข้ึน เพราะในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในอนาคต พรรคการเมืองใดได้รับคะแนน จากผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจานวนเพียงสามหม่ืนคะแนน ก็จะเป็นผลให้ผู้สมัครรับเลือกตั้ง แบบบญั ชีรายชอ่ื ในระดบั ตน้ เป็นผ้ไู ดร้ บั เลอื กต้ังเป็นสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรแบบบญั ชีรายชอื่ ได้ (๒) วิธีการคานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามที่บัญญัติในมาตรา ๙๑ ทาให้พรรคการเมืองอ่อนแอ และส่งกระทบต่อจัดต้ังรัฐบาล โดยจะได้รัฐบาลผสมประกอบด้วยพรรคการเมือง จากหลายพรรค ทาใหเ้ สถยี รภาพของรฐั บาลลดนอ้ ยลง (๓) กรณีทุจริตเลือกตั้ง แม้ผู้กระทาความผิดจะไม่ได้รบั เลอื กตง้ั เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ก็ตาม แต่คะแนนท่ีผู้สมัครผู้น้ันได้รับจะถูกนาไปรวมคานวณเป็นคะแนนของพรรคการเมืองที่ผู้นั้นสังกัด เพื่อคานวณหาสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบบัญชรี ายชื่อของพรรคการเมืองน้ันแล้ว ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า กรณีที่มีการแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๘๕ โดยใช้ บัตรเลือกตั้งสองใบ เห็นควรยกเลิกมาตรา ๙๑ แต่ถ้ายังคงใช้บัตรเลือกต้ังใบเดียว ควรมีการแก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา ๙๑ โดยกาหนดวธิ กี ารคานวณหาสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอื่ ให้มคี วามชัดเจน

- ๓๙ - ๒.๖) คณุ สมบตั ผิ ูม้ สี ทิ ธสิ มัครรับเลือกตั้ง มาตรา ๙๗ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพ่ือกาหนดคุณสมบัติของบุคคลผู้มีสิทธิสมัคร รับเลือกตงั้ เปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า การกาหนดคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งมีความเคร่งครัด มากเกินไป อาทิเช่น บทบัญญัติมาตรา ๙๗ (๓) ที่ได้กาหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไว้ว่า “เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่เพียงพรรคการเมืองเดียว เป็นเวลาตดิ ตอ่ กันไม่น้อยกว่าเก้าสิบวนั นับถึงวันเลือกต้ัง เว้นแต่ในกรณีท่มี ีการเลือกตัง้ ทั่วไปเพราะเหตุยุบสภา ระยะเวลาเก้าสิบวันดังกล่าวให้ลดลงเหลือสามสิบวัน” เป็นบทบัญญัติที่ทาให้มีการย้ายพรรคการเมืองได้ง่าย นอกจากนี้ การกาหนดให้สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรตอ้ งสงั กัดพรรคการเมือง เป็นบทบัญญัติทเี่ ปน็ การจากัดสทิ ธิ ของผสู้ มคั รรบั เลือกต้งั ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรพิจารณาความเหมาะสมว่าประเทศไทย ควรกาหนดให้สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรตอ้ งสังกดั พรรคการเมอื ง หรอื ไมต่ อ้ งสังกดั พรรคการเมอื ง ๒.๗) บคุ คลต้องหา้ มมใิ ห้ใช้สทิ ธสิ มัครรบั เลอื กต้งั มาตรา ๙๘ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อกาหนดลักษณะต้องห้ามของบุคคล ในการสมคั รรับเลอื กตัง้ เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผลการพิจารณาศกึ ษา (๑) การกาหนดคุณสมบัติของผู้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา ๙๘ เป็นการกาหนดเพ่ือให้เกดิ วาทกรรมทต่ี ้องการให้รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับปราบโกง โดยกาหนดห้ามมิให้บุคคลท่ีกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. ๒๕๖๐ หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ หรือกระทาความผิดคดีทางการเมืองใช้สิทธิสมัคร รับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองโดยการตัดสิทธิทางการเมือง ตลอดชีวิต ซึ่งไม่เป็นธรรมกับบุคคลที่กระทาผิดเพียงเล็กน้อย เช่น การไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนีส้ นิ เพราะเหตุหลงลมื เป็นต้น (๒) การกาหนดลักษณะการกระทาความผิดที่จะทาให้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองตลอดชีวิต หรือถูกตัดสิทธิโดยการกาหนดระยะเวลาไว้ตามลักษณะของความผิดที่กระทา ควรให้เป็นดุลพินิจของศาล ในการพิจารณากาหนด ไม่ควรกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเพราะการบัญญัติเร่ืองดังกล่าวไว้ในรัฐธรรมนูญ ย่อมส่งผลให้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งในระดับต่าง ๆ จะต้องกาหนดให้สอดคล้องกับบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะทาให้มีบุคคลท่ีถูกตัดสิทธิมิให้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จานวนมาก และหากจะกาหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ บัญญัติน้ัน การบังคับใช้บทบัญญัติดังกล่าว ไม่ควรบัญญัติให้มีผลบังคับย้อนหลังในลักษณะท่ีเป็นโทษเพราะการบังคับใช้กฎหมายย้อนหลังต้องบังคับใช้ ในเรื่องที่เป็นคุณ และอาจจะกาหนดระยะเวลาการบังคับใช้กฎหมายไว้ในบทเฉพาะกาลก็ได้ เช่น ให้กฎหมาย

- ๔๐ - มีผลบังคับใช้ในระยะเวลาตามท่ีกาหนดไว้ในบทเฉพาะกาล เป็นต้น ดังนั้น เพ่ือให้การบังคับใช้กฎหมาย เกิดความเป็นธรรม การกาหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง ควรบัญญัติ ลัก ษ ณ ะเ ดี ย วกั บ ก า รก า ห นด คุ ณ ส มบั ติ แ ละลั ก ษณ ะต้ องห้ า ม ของผู้ มี สิทธิ สมัครรั บเลื อกตั้งตามท่ี บั ญญั ติ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ (๓) คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามท่ีบัญญัติในมาตรา ๙๘ ในบางเร่ือง เช่น การเป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชน ใด ๆ เปน็ ตน้ จาเปน็ ต้องกาหนดเปน็ ลกั ษณะต้องหา้ มหรือไม่ ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติมาตรา ๙๘ ในการ กาหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครรับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ลักษณะเดียวกับ การกาหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ และรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ ๒.๘) เหตุแหง่ การสนิ้ สุดสมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร มาตรา ๑๐๑ เป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพ่ือกาหนดเหตุแห่งการส้ินสุดความเป็น สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เช่น ส้ินสุดสมาชิกภาพเพราะเหตุถึงคราวออกตามอายุของ สภาผู้แทนราษฎร หรือมกี ารยุบสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา ๑๐๑ (๑)) ส้ินสุดสมาชิกภาพเพราะเหตุลาออกจาก พรรคการเมืองท่ีตนเป็นสมาชิก (มาตรา ๑๐๑ (๘)) ส้ินสุดสมาชิกภาพเพราะเหตุพ้นจากการเป็นสมาชิก ของพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิกตามมติของพรรคการเมืองน้ันด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในส่ีของ ท่ปี ระชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรท่ีสังกัดพรรคการเมอื งน้ัน (มาตรา ๑๐๑ (๙)) ส้ินสุดสมาชิกภาพเพราะเหตุขาดประชุมเกินจานวนหน่ึงในสี่ของจานวนวันประชุม ในสมัยประชุมท่ีมีกาหนดเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยยี่สิบวันโดยไม่ได้รับอนุญาตจากประธานสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา ๑๐๑ (๑๒)) เปน็ ตน้ ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญเห็นว่า บทบญั ญัติมาตรา ๑๐๑ (๙) ท่ีบัญญัติว่า “พ้นจากการเป็น สมาชิกของพรรคการเมืองท่ีตนเป็นสมาชิกตามมติของพรรคการเมืองน้ันด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในส่ี ของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีสังกัด พรรคการเมืองน้ัน ในกรณีเช่นนี้ ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้น้ันมิได้เข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอ่ืน ภายในสามสิบวนั นับแตว่ ันท่ีพรรคการเมืองมีมติ ให้ถือว่าส้ินสุดสมาชิกภาพนับแต่วันท่พี ้นสามสิบวันดังกล่าว” เป็นบทบัญญัติที่ส่งเสริมให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เคารพต่อมติของพรรคการเมือง ซ่ึงเป็นการบัญญัติ หลักการท่ีแตกต่างจากท่ีเคยบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับก่อน ๆ ที่ได้กาหนดหลักการ ในเรอ่ื งการให้พรรคการเมืองลงมติให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพ้นจากการเปน็ สมาชิกพรรคการเมอื งโดยกาหนดให้ มีกระบวนการในการตรวจสอบเหตุผลของการที่พรรคการเมืองมีมติให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพน้ จากการเป็น สมาชิกพรรคการเมืองด้วย ซึ่งหากพรรคการเมืองใดมีมติให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพ้นจากการเป็นสมาชิกพรรค โดยไม่มีเหตุผล เช่น การบังคับให้ดาเนินการปฏิบัติอันเป็นการขัดต่อการปฏิบัติหน้าท่ีของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

- ๔๑ - ซ่ึงกรณีดังกล่าวศาลรัฐธรรมนูญได้เคยมีคาวินิจฉัยว่ากรณีท่ีพรรคการเมืองใดมีมติให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ้นจากการเป็นสมาชิกพรรคโดยไม่มีเหตุผล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นสามารถเข้าเป็นสมาชิกของ พรรคการเมืองอ่ืนได้ เป็นต้น แต่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไม่มีกระบวนการ ตรวจสอบเหตุผลของการท่ีพรรคการเมืองมีมติให้สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรพ้นจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมือง แต่ประการใด ขอ้ สังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาเหน็ วา่ ควรแกไ้ ขเพิ่มเตมิ มาตรา ๑๐๑ (๙) โดยกาหนดให้ มีกระบวนการตรวจสอบเหตุผลของพรรคการเมืองท่ีลงมติให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพ้นจากการเป็นสมาชิก พรรคการเมอื ง ๓) ส่วนที่ ๓ วุฒิสภา บทบญั ญตั ิในส่วนน้ีมี ๗ มาตรา คือ มาตรา ๑๐๗ ถงึ มาตรา ๑๑๓ มวี ัตถปุ ระสงคแ์ ละเจตนารมณ์ องค์ประกอบ ท่ีมา หน้าที่และอานาจของวุฒิสภา โดยวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้เปลี่ยนแปลงแนวคิดไปจากเดิมที่เคยถือว่าวุฒิสภาเป็นสภาพี่เล้ียง โดยมุ่งหมายให้ วุฒิสภาเป็นองคก์ รทจี่ ะประสานความคิดเห็นจากบคุ คลหลากหลายอาชีพ วิถีชีวิต และความสนใจ ท่ีนาความรู้ และประสบการณ์จากประชาชนโดยตรง โดยไม่อยู่ภายใต้อุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคการเมือง เพ่ือให้ การตรากฎหมายได้รับการพิจารณาจากแง่มุมต่าง ๆ ท้ังเป็นการทาให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมืองได้ โดยตรง และอย่างมีผลต่อการบริหารกิจการบ้านเมอื ง รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้มีการเปลี่ยนแปลงท่ีมาของสมาชิกวุฒิสภา โดยสมาชิกวุฒิสภาจะมิได้มาจากการเลือกตั้งโดยตรงดังเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ทั้งน้ี เพื่อมุ่งหวังไม่ให้สมาชิกวุฒิสภาตกอยู่ภายใต้ อาณัติของนักการเมืองหรือพรรคการเมืองและมิได้ใช้การสรรหาจากคณะกรรมการสรรหาดังเช่นท่ีผ่านมา ซึ่งเป็นการให้คณะบุคคลเพียงไม่ก่ีคนมาสรรหาสมาชิกวุฒิสภาแล้วให้ถือว่าเป็นผู้แทนของปวงชนชาวไทย โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กาหนดวิธีการได้มาซ่ึงสมาชิกวุฒิสภาขึ้นใหม่ โดยเน้นความสาคัญของประชาชนท่ัวไปท่ีจะเข้ามาสมัครได้โดยไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายเกินกาลังของบุคคลท่ัว ๆ ไป โดยแยกออกเป็นกลุ่มท่ีมีลักษณะต่าง ๆ กัน ให้มากที่สุดเพื่อที่จะทาให้ประชาชนท่ีมีคุณสมบัติทุกคนสามารถ เข้าสมัครในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ และเพ่ือให้ผู้สมัครมีส่วนร่วมในเบื้องต้นอย่างแท้จริง จึงกาหนดให้ประชาชน เลือกกันเองดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๗ ว่า “วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจานวนสองร้อยคน ซึ่งมาจากการ เลือกกันเองของบุคคลซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชน์ร่วมกัน หรือทางานหรือเคยทางานด้านต่าง ๆ ท่ีหลากหลายของสังคม โดยในการแบ่งกลุ่มต้องแบ่งในลักษณะท่ีทาให้ ประชาชนซ่ึงมีสิทธิสมัครรับเลือกทุกคนสามารถอยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้” การสร้าง “การมีส่วนร่วม ของประชาชน” ให้เกิดข้ึนอย่างแท้จริงและอย่างมีนัยสาคัญตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ เพราะสมาชิก วุฒิสภาจะใช้ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ มาสะท้อน ให้เห็นถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชนจากร่างกฎหมายโดยไม่อยู่ภายใต้อาณัติของนโยบายของ พรรคการเมือง ดงั น้ัน กระบวนการเลอื กสรรสมาชิกวุฒิสภาจึงมงุ่ ทีจ่ ะให้ประชาชนซึ่งมีความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ท่ีแตกต่างหลากหลายในทุกภาคส่วนและทุกสาขาอาชีพซ่ึงประสงค์จะเข้ามาทาหน้าท่ีนี้เข้ามา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook