Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.8

(2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.8

Published by agenda.ebook, 2020-06-19 00:29:34

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 7-8 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

04 อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต 040601 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การพัฒนาระบบนเิ วศอตุ สาหกรรมและ บรกิ ารแห่งอนาคต เปา้ หมาย แรงงานไทยมปี ระสทิ ธภิ าพเพิ่มขึน้ โดยการพัฒนาทักษะหรือเพิ่มศักยภาพความสามารถในการท�ำงานของแรงงานให้สูงขึ้น เช่น การฝึกอบรมแรงงาน ท้ังก่อนหรือขณะปฏิบัติงานเพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะที่เหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบ และส่งเสริมให้ แรงงานได้รับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น อันจะส่งผลให้ผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายต้องอาศัยปัจจัยส�ำคัญ คือ ยกระดับผลิตภาพสถานประกอบการและการพัฒนาแรงงาน ภาคอตุ สาหกรรม 2559 2560 2561 2562 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เม่ือพิจารณา จ า ก ก า ร จั ด อั น ดั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข ่ ง ขั น ทีม่ า: The World Economic Forum ด้านประสิทธิภาพแรงงานของ WEF พบว่าในปี 2560 ประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี 65 จากการจัดอันดับท้ังหมด 141 ประเทศ ซ่ึงดีขึ้นกว่าปี 2559 ท่ีอยู่ในอันดับท่ี 71 และในปี 2561 อยใู่ นอนั ดบั ที่ 44 ซง่ึ ขยบั ขน้ึ มา 21 อนั ดบั จากปี 2560 และในปี 2562 ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 46 ซึ่งลดลงจากปีก่อน 2 อันดับ โดยจะเห็นได้ว่า อันดับความสามารถด้านประสิทธิภาพแรงงานของ ประเทศไทยในปี 2562 บรรลุเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ โดยใหไ้ ทยอย่ใู นอนั ดบั ท่ี 60 ภายในปี 2565 การด�ำเนินการท่ีผ่านมา หน่วยงานภาครัฐได้มีการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ อาทิ การให้ความส�ำคัญกับการเพ่ิมผลิตภาพ แรงงานในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารโดยมุ่งเน้นการยกระดับฝีมือแรงงาน ในการปรบั ตวั เพอ่ื รองรบั กระบวนการผลติ และเทคโนโลยกี ารผลติ ในเศรษฐกจิ ยคุ ดจิ ทิ ลั ตลอดจนพฒั นาผปู้ ระกอบการ บุคลากร และแรงงานในอุตสาหกรรมให้มีความรู้และทักษะในการท�ำงานท่ีสอดคล้องกับการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม ด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม และยกระดับแรงงานให้มีทักษะที่หลากหลายรองรับการปรับเปล่ียนธุรกิจ สู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 นอกจากน้ี ในการตอบสนองต่อการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งกระทบต่อก�ำลังแรงงาน ในภาคอุตสาหกรรม ได้มีมาตรการภาษีในการสนับสนุนให้สถานประกอบการมีความสมัครใจจ้างและแรงงานสูงอายุ มีความสมัครใจท่ีจะท�ำงานในสถานประกอบการ ซ่ึงการด�ำเนินการข้างต้นมีความสอดคล้องกับปัจจัยสู่ความส�ำเร็จ ดา้ นการยกระดบั ผลติ ภาพสถานประกอบการและการพฒั นาแรงงานในภาคอตุ สาหกรรม 148

อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต 04 040601 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย สภาพปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยยังมีลักษณะท่ีใช้ แรงงานเข้มข้น มีกระบวนการผลิตที่ไม่ซับซ้อนและผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าเพ่ิมไม่สูงมากนัก โดยผลิตภาพของ อุตสาหกรรมการผลิตจ�ำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีและเพ่ิมทักษะแรงงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ และเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ซง่ึ จากขอ้ มลู กรมการจดั หางานพบวา่ มกี ำ� ลงั แรงงานในกลมุ่ ผสู้ งู อายุ ในอัตราที่สูงอันเป็นสาเหตุท�ำให้มีก�ำลังแรงงานไม่เพียงพอกับความต้องการ อีกท้ังยังเกิดความไม่สอดคล้องกัน ระหวา่ งความต้องการและการผลิตก�ำลงั คนท่ีมที ักษะความรู้ไมต่ รงกบั ความตอ้ งการการใช้แรงงาน ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย ควรมีมาตรการในการสร้างความร่วมมือจากภาครัฐในการฝึกอบรมทักษะ แรงงาน โดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาฝีมือแรงงานเพ่ือรองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีช้ันสูงอย่างต่อเน่ือง และผลักดันให้มีมาตรการสนับสนุนหรือดึงดูดการสร้างความร่วมมือจากผู้ประกอบการ ในการใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาทกั ษะแรงงานมอี ยเู่ ดมิ และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ แรงงานใหมใ่ หม้ ที กั ษะรอบดา้ น มีความสามารถท่ีหลากหลาย และพัฒนาหลักสูตรเฉพาะทางเพ่ือรองรับความต้องการของอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยเช่ือมโยงทักษะด้านเทคนิคในการท�ำงานที่เน้นการคิดในเชิงนวัตกรรม และความคิดในเชิงริเร่ิมสร้างสรรค์ เข้ากับ ระบบการศึกษาของประเทศ อีกทั้งควรก�ำหนดมาตรการสนับสนุนการพัฒนาทักษะแรงงาน ทั้งการพัฒนาทักษะเดิม ให้ทันองค์ความรู้ใหม่ ตลอดจนสามารถน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้กับทักษะท่ีมีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการสนับสนุนการเพ่ิมทักษะใหม่ ๆ เก่ียวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานในอุตสาหกรรม และบริการแห่งอนาคต หรือทักษะเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล เพื่อยกระดับทักษะแรงงานให้พร้อมรองรับ อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคตดว้ ย 149

04 อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต แผนแม่บทย่อย การพัฒนาระบบนิเวศอุตสาหกรรมและ บรกิ ารแห่งอนาคต เป้าหมาย 040602 ประเทศไทยมคี วามสามารถในการแข่งขนั ดา้ นดิจทิ ัลในดา้ นความพร้อมในอนาคตดขี น้ึ ความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลในด้านความพร้อมในอนาคตเป็นความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินค้า และบริการดิจิทัลเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพชีวิต และกระบวนการท�ำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึง สามารถตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต อันจะส่งผลต่อผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ท้ังน้ี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายต้องอาศัยปัจจัยส�ำคัญ คือ การพัฒนาฐานข้อมูล และองค์ความรู้ เพอื่ ใช้คาดการณส์ �ำหรับอตุ สาหกรรมอนาคต สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เม่ือพิจารณาจากดัชนี World Digital Competitiveness Ranking ของ IMD พบว่า ในปี 2562 ประเทศไทยมีอันดับความสามารถ ในการแขง่ ขันอยใู่ นอันดับที่ 40 จากท้ังหมด 63 ประเทศ ท่ัวโลก และเมื่อพิจารณาปัจจัยด้านความพร้อม ในอนาคต พบวา่ ในปี 2562 ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดบั ท่ี 50 ลดลง 1 อันดับจากปี 2561 ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับ ปี 2561 ปัจจัยย่อยด้านความคล่องตัวทางธุรกิจและ ด้านการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ ต่างมีอันดับ ขีดความสามารถดีข้ึน 4 อันดับ ท�ำให้ขยับข้ึนมาอยู่ ที่มา: International Institute for Management Development (IMD) ทีอ่ นั ดับ 30 และ 51 ตามลำ� ดบั ในขณะที่ปัจจัยยอ่ ยด้านทศั นคตติ อ่ การปรบั ตัวทางดจิ ทิ ลั มีอันดบั ลดลงถงึ 3 อนั ดับ มาอยู่ท่ีอันดับที่ 58 ในปี 2562 จากสถานการณ์ของประเทศไทยดังกล่าวยังเป็นความท้าทายอย่างมากในการ ท่ีจะบรรลุคา่ เปา้ หมายทกี่ �ำหนดไวท้ ี่อันดับท่ี 45 ในปี 2565 การด�ำเนินการที่ผ่านมา หน่วยงานภาครัฐได้มีการส่งเสริมระบบนิเวศด้านดิจิทัลให้แก่ผู้ประกอบการให้มี ขีดความสามารถในการแข่งขันรองรับกับสถานการณ์ในอนาคต อาทิ การพัฒนาฐานข้อมูลและองค์ความรู้ ในรูปแบบ ฐานข้อมูลเชิงลึกเฉพาะทางท่ีมีความส�ำคัญและเป็นประโยชน์ในการน�ำไปใช้ เพ่ือก�ำหนดมาตรการหรือนโยบาย ได้อย่างแม่นย�ำและถูกต้อง เช่น การจัดท�ำฐานข้อมูลดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม รายงานสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ มหภาคของภาคการผลติ การจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู อตุ สาหกรรมรายสาขา ขอ้ มลู นำ� เขา้ – สง่ ออก และจำ� นวนผปู้ ระกอบการ เป็นต้น รวมท้ังยังมีการให้บริการการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ จะเห็นได้ว่า การด�ำเนินการเป็นการพัฒนาฐานข้อมูลเพ่ือรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคตโดยน�ำระบบเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้เพื่อเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับปัจจัย สูค่ วามสำ� เรจ็ ดา้ นการพฒั นาฐานข้อมูล และองค์ความรู้ เพ่อื ใชค้ าดการณส์ �ำหรบั อุตสาหกรรมอนาคต 150

อตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 04 040602 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย แม้ว่ารัฐบาลได้ก�ำหนดให้ภาคอุตสาหกรรมเป็นกลไกขับเคล่ือน เศรษฐกจิ ของประเทศ แต่การพฒั นาในแตล่ ะอตุ สาหกรรมตอ้ งอาศยั ขอ้ มูลทีม่ ีความถกู ต้องและครบถ้วนอยา่ งรอบดา้ น ซึ่งพบว่ายังขาดฐานข้อมูลภาคอุตสาหกรรมท่ีมีประสิทธิภาพในการน�ำไปใช้ส�ำหรับการคาดการณ์ในอนาคต และมีหลายหน่วยงานท่ีจัดเก็บข้อมูลที่มีความซ้�ำซ้อนกัน อีกท้ังยังมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการ ไดเ้ ขา้ ถงึ ฐานขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การนำ� ไปใชใ้ นการวางแผนดำ� เนนิ การทางธรุ กจิ ไมม่ ากเทา่ ทคี่ วร และหลายภาคสว่ น ยังมีการสื่อสารไม่มากพอในการสร้างเสริมทัศนคติที่ดีต่อบุคลากรในการปรับตัวให้มีความพร้อมและยอมรับ การเปลยี่ นแปลงในการน�ำเทคโนโลยแี ละขอ้ มลู สารสนเทศมาใชใ้ นการท�ำงานเพือ่ ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ปัจจุบันประเทศอยู่ระหว่างการเปล่ียนผ่านจากระบบเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่ เศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งมีความจ�ำเป็นท่ีต้องเร่งผลักดันให้มีแพลตฟอร์มข้อมูลกลางท่ีใช้ในการติดตามและประเมินผล รวมทงั้ การวเิ คราะหส์ ภาวะเศรษฐกจิ การจดั ทำ� ดชั นชี ว้ี ดั ตา่ ง ๆ เพอื่ ใชใ้ นการกำ� หนดนโยบายและมาตรการในการนำ� ไป พัฒนาภาคอุตสาหกรรมได้อย่างบูรณาการต่อไปในอนาคต ลดการจัดเก็บข้อมูลที่ซ้�ำซ้อนกัน และเชื่อมโยงฐานข้อมูล ระหว่างหน่วยงาน อันจะส่งผลต่อการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลในด้านความพร้อมในอนาคต ของประเทศไทยให้ดีข้ึน ดังน้ัน หน่วยงานภาครัฐควรเร่งสร้างแพลตฟอร์มฐานข้อมูลกลาง และองค์ความรู้เชิงลึก ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายท่ีส�ำคัญ เพ่ือให้สามารถสะท้อนสภาวะอุตสาหกรรมของไทย ได้อย่างถูกต้อง แม่นย�ำ และทันต่อสถานการณ์ นอกจากนี้ ควรเร่งผลักดันให้มีการส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์กร ในการปรับทัศนคติของบุคลากรในทุกภาคส่วนให้เกิดความตระหนักต่อการปรับตัว และส่งเสริมการเรียนรู้เทคนิควิธี การท�ำงานใหม่ ๆ ให้สอดรบั กบั การเปล่ยี นแปลงอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ตลอดจนสามารถน�ำเทคโนโลยี มาประยุกต์ใชไ้ ด้อยา่ งบูรณาการ เพอ่ื ใหก้ ารทำ� งานในองค์กรเกิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลสูงสุด 151

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น 05 การทอ่ งเทยี่ ว ฿ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การในสกราางรคแวขามงสขามันารถ “ท่องเทย่ี วไทย ก้าวไกลระดบั โลก”

การทอ่ งเทีย่ ว 05 แผนแม่บทประเด็น (05) การท่องเท่ียว ให้ความส�ำคัญกับการรักษาการเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยว ระดับโลก จึงเป็นส่วนส�ำคัญที่จะต้องพัฒนาการท่องเที่ยวทั้งระบบ โดยมุ่งเน้นนักท่องเที่ยวกลุ่มคุณภาพ สร้างความ หลากหลายด้านการท่องเท่ียวให้สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว และมุ่งเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวใน สาขาท่ีมีศักยภาพ และยังคงรักษาจุดเด่นของประเทศด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อัตลักษณ์ ความเป็นไทย ตลอดจนใหค้ ณุ คา่ กบั ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม โดยมีเป้าหมายระดบั ประเด็น คือ ผลติ ภณั ฑ์ มวลรวมในประเทศด้านการท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น รายได้จากการท่องเท่ียวของ เมืองรองเพิม่ ขน้ึ และความสามารถทางการแข่งขนั ด้านการทอ่ งเทย่ี วของประเทศไทยดีข้ึน การประเมนิ ผลลพั ธก์ ารดำ� เนนิ การทส่ี ง่ ผลต่อการบรรลเุ ป้าหมาย 05001 ในการประเมินผลลัพธ์การด�ำเนินการตามแผนแม่บทประเด็นข้างต้น สามารถสะท้อนได้จากสัดส่วนผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศด้านการท่องเท่ียวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพ่ิมข้ึน โดยในช่วงปี 2560 – 2562 มีสัดส่วนอยู่ร้อยละ 17.99 18.13 และ 17.96 ตามล�ำดับ ซงึ่ มีแนวโนม้ คงที่ แมว้ า่ รายได้จากการท่องเท่ียวจะเพิ่มข้ึน อย่างต่อเน่ืองทุกปี แต่ในช่วงปี 2562 ประเทศไทยก็ได้รับผลกระทบท้ังจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ความตึงเครียดทางการเมืองระหว่างประเทศ และเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดท้ังภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งกระทบต่อ การตัดสินใจเดินทางท่องเท่ียวและส่งผลให้อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวในประเทศไทยไม่โตตามท่ีคาดการณ์ ดังน้ัน ในการบรรลุเป้าหมายสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเท่ียวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพ่ิมข้ึน เป็นร้อยละ 22 ในปี 2565 จึงเป็นประเด็นท้าทายส�ำหรับประเทศไทยที่ต้องรับมือจากความเสี่ยงท่ีจะเกิดข้ึน โดยเฉพาะการมีมาตรการรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อรา้ ยแรงหรอื โรคอบุ ัติใหม่ เปน็ ตน้ สัดส่วน GDP รวมของประเทศด้านการท่องเที่ยว ต่อ GDP รวมของประเทศ รายได้ (ล้านล้านบาท) สัดส่วน (%) 50.00% 3.5 2.82 3.01 3.06 45.00% 3 2.52 40.00% 2.5 2.26 35.00% 2 1.87 1.87 30.00% 1.56 25.00% 1.5 1.26 13.50% 15.00% 1 11.90% 16.32% 17.25% 17.99% 18.13% 17.96% 10.00% 0.5 13.81% 13.31% 5.00% 0 0.00% 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 รายได้จากการท่องเท่ียว (ล้านล้านบาท) สัดส่วนมูลค่า TSA ต่อ GDP ที่มา: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และ สศช. 153

05 การทอ่ งเทีย่ ว สัดส่วนรายได้จากการท่องเท่ียวเมืองรอง 050002 ต่อรายได้จากการท่องเท่ียวทั้งหมด สัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวในเมืองรองต่อรายได้ 100% จากการทอ่ งเทยี่ วทงั้ หมดเพมิ่ ขน้ึ โดยในปี 2562 มรี ายได้ ของเมืองรองอยู่ที่ร้อยละ 9.84 เพิ่มข้ึนจากร้อยละ 9.66 80% ในปี 2561 ซ่ึงเป็นความท้าทายอย่างสูงในการบรรลุ เปา้ หมายทก่ี ำ� หนดไวท้ ส่ี ดั สว่ นรอ้ ยละ 20 ภายในปี 2565 60% ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยยังคงต้องให้ความส�ำคัญ กับการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองรอง 40% อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทัง้ ในการเตรยี มความพร้อมด้านโครงสร้าง พ้ืนฐาน ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก และทรัพยากรมนุษย์ 20% ตลอดจนการตลาดท่ีจะดึงดูดนักท่องเที่ยวจากเมืองหลัก ใหท้ อ่ งเทยี่ วในเมอื งรอง ดงั นนั้ ในระยะตอ่ ไป ประเทศไทย 0% 9.66 9.84 ค ว ร ใ ห ้ ค ว า ม ส� ำ คั ญ ใ น ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร ท ่ อ ง เ ท่ี ย ว 2561 2562 เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย และการทอ่ งเทยี่ วเชอ่ื มโยง เมืองหลัก ภมู ภิ าคผา่ นการทอ่ งเทย่ี วเมอื งรอง เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย เมืองรอง ทกี่ ำ� หนดภายในกรอบระยะเวลา ที่มา: กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา 050003 ความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยดีขึ้น ในปี 2562 ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับ ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเท่ียว (Travel & Tourism Competitiveness Index: TTCI) โดย สภาเศรษฐกจิ โลก (World Economic Forum: WEF) เป็นอันดบั ที่ 31 จาก 140 ประเทศ ดีขึน้ 3 อันดับ จากปี 2560 คงที่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน รองจากประเทศสิงคโปร์ และประเทศมาเลเซีย แม้ว่าจะมีความใกล้เคียงกับ ค่าเป้าหมายทกี่ ำ� หนดใหป้ ระเทศไทยมีอันดบั ที่ 30 ภายในปี 2565 แตป่ ระเทศไทยยังมคี วามทา้ ทายในหลายด้านที่ต้อง เร่งพัฒนาเพื่อให้บรรลุค่าเป้าหมาย ได้แก่ ด้านความม่ันคงและปลอดภัย ดา้ นความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม และด้านโครงสร้างพืน้ ฐานดา้ นการคมนาคมทางบกและทางทะเล อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศในอาเซียน ปี 2562 อันดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ทางการท่องเทย่ี ว (TCCI) โดย WEF ประเทศ ปี 2562 ปี 2560 10 2558 2560 2562 20 สิงคโปร์ อนั ดับ คะแนน อนั ดับ คะแนน 30 มาเลเซยี 17 4.8 13 4.85 40 29 4.5 26 4.50 50 ไทย 31 4.5 34 4.38 60 อนิ โดนีเซยี 40 4.3 42 4.16 70 เวยี ดนาม 63 3.9 67 3.78 80 72 3.8 N/A N/A บรูไน 75 3.8 79 3.6 ด้านสภาพแวดลอ้ มท่สี นบั สนุน ดา้ นนโยบาย ฟิลปิ ปนิ ส์ 97 3.4 94 3.4 ด้านโครงสรา้ งพื้นฐาน ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรม สปป.ลาว 98 3.4 101 3.32 อันดบั รวม กัมพูชา ที่มา: TTCI 154

การทอ่ งเที่ยว 05 นอกจากน้ี ยังคงมีประเด็นท้าทายที่ต้องด�ำเนินการ (3) การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย อาทิ แผนไทย พัฒนาและยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยว (1) การเตรียมพร้อมต่อสถานการณ์ทั้งภายในและ เชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย ทั้งสินค้า ภายนอกประเทศที่กระทบต่อการตัดสินใจเดินทาง บริการ บุคลากร ผู้ประกอบการ และแหล่งท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (2) การสร้างความเช่ือมั่นด้านมาตรฐานด้าน ท่ีเก่ียวข้องตลอดห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยว เน้นสร้าง ความปลอดภัยของแหล่งท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยว ความแตกต่างและความเป็นเอกลักษณ์จากการให้บริการ (3) การส่งเสริมการตลาดเชิงรุกที่สอดคล้องกับศักยภาพ ตามแบบอย่างความเป็นไทยที่โดดเด่นในระดับสากล ทางการท่องเท่ียวของไทย (4) การยกระดับทักษะและ ร่วมกับการใช้องค์ความรู้และภูมิปัญญาไทยท่ีพัฒนา มาตรฐานบุคลากรดา้ นการทอ่ งเท่ียว และ (5) การจดั ทำ� ต่อยอดกับความคิดสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ฐานข้อมลู ด้านการท่องเท่ยี วทั้งระบบ และนวตั กรรม เพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ให้กับสินค้าและบริการ แผนแม่บทฯ ประเด็น (05) การท่องเที่ยว ประกอบด้วย ที่เกี่ยวข้อง (4) การท่องเท่ียวส�ำราญทางน�้ำ ส่งเสริม 6 แผนแมบ่ ทยอ่ ย สรปุ สาระสำ� คญั ไดด้ งั นี้ (1) การทอ่ งเทย่ี ว การท่องเที่ยวทางน้�ำให้เป็นอีกทางเลือกหน่ึงของการ เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม มุ่งเน้นการใช้องค์ความรู้ ท่องเที่ยวไทย เป็นแหล่งสร้างรายได้ใหม่ให้กับประเทศ และนวัตกรรม ผนวกกับจุดแข็งในด้านความหลากหลาย โดยค�ำนึงถึงความย่ังยืนของแหล่งท่องเที่ยวและการมี ทางทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม และวิถีชีวิต เพื่อ ส่วนร่วมของชุมชน ครอบคลุมการท่องเที่ยวทางทะเล สร้างคุณค่าให้กับสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวท่ี และชายฝั่ง และการท่องเที่ยวในลุ่มน้�ำส�ำคัญ โดยการ ตอบสนองความต้องการของนักท่องเท่ียว และสร้าง ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค ประสบการณ์ใหม่ให้กับนักท่องเที่ยว (2) การท่องเท่ียว และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการท่องเท่ียวทางน้�ำให้ได้ เชิงธุรกิจ ส่งเสริมให้ไทยเป็นจุดหมายปลายทางการ มาตรฐาน สร้างสรรค์กิจกรรมการท่องเท่ียวทหี่ ลากหลาย ท่องเท่ียวเชิงธุรกิจ ครอบคลุมการจัดประชุมและ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทยี่ ว รวมถงึ บรบิ ท นิทรรศการ การจัดงานแสดงสินค้า การจัดกิจกรรมการ ของพน้ื ทแ่ี ละชมุ ชนในพนื้ ท่ี (5) การทอ่ งเทย่ี วเชื่อมโยง ทอ่ งเทย่ี วเปน็ รางวลั การจดั การแขง่ ขนั กฬี าระดบั นานาชาติ ภมู ภิ าค ยกระดบั ใหป้ ระเทศไทยเปน็ ศนู ยก์ ลางการเชอ่ื มโยง การทอ่ งเทยี่ วเชิงกีฬา และการพักผ่อนระหว่างหรือหลัง เส้นทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาคอาเซียน โดยใช้ การประกอบธรุ กจิ หรอื การทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ อนั เป็นการ ประโยชน์จากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ แผนการลงทุนพัฒนา ดึงดูดกลุ่มนักเดินทางเพื่อธุรกิจและนักท่องเที่ยวท่ีมี โครงขา่ ยคมนาคมทง้ั ทางถนน ทางราง ทางน�้ำ และอากาศ คุณภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้การจัดงานธุรกิจและกิจกรรม และกรอบความร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้าน เพื่อการ ต่าง ๆ เป็นการสนับสนุนการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรม เ ช่ื อ ม โ ย ง เ ส ้ น ท า ง ก า ร ท ่ อ ง เ ท่ี ย ว ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ เป้าหมายของประเทศ และเป็นเวทีแลกเปล่ียน อนุภูมิภาค และอาเซียน บนฐานอัตลักษณ์เดียวกัน เพื่อ องค์ความรู้และเทคโนโลยีท่ีน�ำไปสู่การสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้เป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวร่วมกัน นวัตกรรม และการสร้างเวทีเจรจาการค้าและการลงทุน และ (6) พฒั นาระบบนเิ วศการทอ่ งเทยี่ ว พัฒนาปัจจัย ข อ ง ธุ ร กิ จ ท่ี เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั บ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ป ้ า ห ม า ย แวดล้อมให้เอื้อต่อการยกระดับขีดความสามารถในการ แข่งขันด้านการท่องเที่ยวและการจัดการท่องเท่ียวอย่าง ย่ังยนื เพ่ือสรา้ งมูลค่าเพมิ่ ให้กับการทอ่ งเท่ยี วไทย 050101 050102 050103 050201 050202 050301 050302 050303 050401 050402 050501 050601 050602 050603 155

05 การทอ่ งเทีย่ ว แผนแมบ่ ทยอ่ ย การทอ่ งเทย่ี วเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม เปา้ หมาย 050101 รายได้จากการท่องเท่ยี วเชงิ สรา้ งสรรค์ และวัฒนธรรมเพิ่ มขึน้ การท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมในประเทศเป็นการท่องเท่ียวท่ีสามารถพัฒนาขึ้นโดยเร่ิมจากชุมชน ในแต่ละท้องถิ่นที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติและวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย สามารถเป็นทางเลือกใหม่ทางการท่องเที่ยว ให้แก่นักท่องเท่ียวกลุ่มที่สนใจวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ซึ่งจะเป็นโอกาสส�ำคัญในการสร้างรายได้ เพ่ือน�ำไปสู่การ สนับสนุนเป้าหมายการเพิ่มรายได้จากการท่องเท่ียวให้กับพื้นที่เมืองรอง ทั้งน้ี ควรให้ความส�ำคัญในการพัฒนาสินค้า แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว และบริการเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว การต่อยอดพัฒนาเพ่ิมมูลค่าสินค้าและ บริการด้านการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม การบริหารจัดการฐานข้อมูลของการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ และวัฒนธรรมที่มีประสิทธิภาพ และการตลาดที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพด�ำเนินงานของภาครัฐเพื่อ รองรบั การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี และการสร้างสภาพแวดลอ้ มการท�ำงานร่วมกันบนแพลตฟอร์มดจิ ิทลั สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ปัจจุบันประเทศไทย หนว่ ย : บาท รราายยไดไจดาจ้ กากการกทาอ รงเทท่อยี วงโเดทยี่ยชวมุ ชโดนยชุมชน ยั ง ไ ม ่ มี ก า ร เ ก็ บ ข ้ อ มู ล ร า ย ไ ด ้ จ า ก ก า ร ท ่ อ ง เ ที่ ย ว 2500000 เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมโดยตรง แต่สามารถ พิจารณาจากรายงานรายได้จากการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2000000 2,189,906 ในพ้ืนที่รับผิดชอบขององค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนที่ 1500000 พเิ ศษเพ่อื การท่องเทีย่ วอยา่ งย่งั ยืน (อพท.) ใน 7 จังหวัด 1,822,893 ได้แก่ ตราด ชลบุรี สุโขทยั กำ� แพงเพชร เลย น่าน และ สุพรรณบุรี ที่มีรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงวิถีชุมชนที่ 1000000 สะท้อนถึงการผสมผสานวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และ วิถีชีวิตการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ การท่องเท่ียวเชิงเกษตร 500000 และการจ�ำหน่ายสินค้าพ้ืนเมือง เป็นต้น จากการศึกษา พบว่าต้ังแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงกันยายน ปี 2562 0 รายได้จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้ง 22 ชุมชน 2561 2562 นั้นมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 20.13 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2561 อย่างไรก็ตาม ทีม่ า: อพท. ข้อมูลรายได้ดังกล่าวแสดงถึงทิศทางการเติบโตของการ ท่องเที่ยวในชุมชนซึ่งจะเป็นส่วนสนับสนุนส�ำคัญส�ำหรับ การด�ำเนินการที่ผ่าน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการ การท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม แต่เมื่อ ด�ำเนินการด้านพัฒนาสินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์ พจิ ารณาคา่ เปา้ หมายทก่ี ำ� หนดใหร้ ายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว และวัฒนธรรม เช่น องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนท่ี เชงิ สรา้ งสรรคข์ ยายตวั รอ้ ยละ 5 ตอ่ ปี ยังคงเป็นประเด็น พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน (องค์การมหาชน) ท้าทายในระดับสูงของประเทศไทยท่ีจะบรรลุเป้าหมาย ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กระทรวง ทต่ี ้ังไว้ อุตสาหกรรม และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้ด�ำเนินการ เชิงพ้ืนท่ีเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการให้กับชุมชนที่มี ความพร้อมอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการพัฒนาสินค้า และบริการ OTOP เพื่อให้ได้มาตรฐานและได้รับการ ยอมรับในระดับสากล ในส่วนของการตลาด ในปี 2562 การทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทยมจี ดุ เนน้ การสง่ เสรมิ เมอื งรอง และชุมชนที่ต้องการท่องเที่ยวเป็นกลไกในการลด ความเหล่ือมล้�ำ และมีการสื่อสารตลาดในประเทศที่ 156

การทอ่ งเที่ยว 05 050101 กระตุ้นให้คนไทยสนใจเดินทางท่องเท่ียวในประเทศ ข้อเสนอแนะเพ่อื การบรรลุเป้าหมาย จากปัจจัยส�ำคญั ที่ สัมผัสวิถีชีวิตแบบลึกซ้ึงเข้าถึงผ่านโครงการ Amazing จะน�ำไปสู่การเพ่ิมรายได้จากการท่องเท่ียวให้กับพ้ืนท่ี ไทยเท่ ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อการท่องเท่ียว เมืองรอง พบว่า ประเด็นส�ำคัญที่ต้องเร่งพัฒนา คือ ในกลุ่มน้ี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ฐ า น ข ้ อ มู ล ข อ ง ก า ร ท ่ อ ง เ ท่ี ย ว ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ในระยะ เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็น ท่ีผ่านมา แม้จะมีการพัฒนาสินค้าและบริการ รวมถึง ข้อมูลส�ำคัญท่ีทุกภาคส่วนสามารถน�ำมาใช้ก�ำหนด ส่งเสริมการตลาดอย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากรูปแบบการ แนวทางในการพัฒนาตามอ�ำนาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมยังเป็นรูปแบบ นอกจากนี้ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรบูรณาการ ใหม่ที่ไม่มีความชัดเจน และการสนับสนุนส่งเสริมยังต้อง การท�ำงานร่วมกัน ต้ังแต่การสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้า มีการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และบริการ ตลอดจนเชื่อมโยงสู่การท่องเท่ียวอย่าง ท�ำให้การพัฒนาสินค้าและบริการของแต่ละหน่วยงานยัง ครบวงจร ซึ่งจะท�ำให้พื้นท่ีสามารถด�ำเนินกิจกรรมการ ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ในส่วนของการส่งเสริม ท่องเที่ยวได้แบบยั่งยืน ท้ังนี้ การด�ำเนินงานควรมีพื้นท่ี การตลาด แม้ว่าจะเป็นปัจจัยสนับสนุนส�ำคัญส�ำหรับการ เป้าหมายท่ีต้องการพัฒนาท่ีชัดเจน เพื่อให้เกิดความ ทอ่ งเทย่ี วในกลมุ่ น้ี แตท่ ผี่ า่ นมามงุ่ เนน้ การสง่ เสรมิ การตลาด ส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม สามารถเป็นต้นแบบให้กับพื้นท่ี ภายในประเทศเป็นหลัก และอีกประเด็นส�ำคัญ คือ ไม่มี อ่ืน ๆ โดยการระบุพ้ืนท่ีเป้าหมายในการพัฒนา จากการ การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลของการท่องเที่ยว พิจารณาร่วมกันระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม รวมถึงการไม่มีเจ้าภาพ โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมท่องเท่ียว หลักท่ีชัดเจน ซ่ึงส่งผลต่อการจัดท�ำมาตรการในการ ภายใต้อัตลักษณ์ของจังหวัด มีการก�ำหนดพ้ืนท่ีพัฒนา ส่งเสริมที่ชัดเจนและเหมาะสม ในขณะท่ีปัญหาด้าน จำ� นวน 20 จงั หวดั เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ในสว่ นของการท�ำ ศักยภาพในการบริหารจัดการการท่องเท่ียวของชุมชน ตลาด ควรให้ความส�ำคัญกับการท�ำตลาดในต่างประเทศ ยังคงเป็นความท้าทายของการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว ที่มีความสนใจวิถีชีวิตและวัฒนธรรม โดยควรด�ำเนิน เชิงสร้างสรรคแ์ ละวัฒนธรรมใหเ้ กิดความยงั่ ยืน โครงการ Amazing ไทยเท่ ซึง่ เป็นสว่ นสนบั สนนุ ส�ำคัญ ส�ำหรบั ตลาดในประเทศอย่างต่อเนือ่ ง 157

05 การท่องเที่ยว แผนแมบ่ ทย่อย การทอ่ งเท่ยี วเชิงสร้างสรรคแ์ ละวฒั นธรรม 050102 เปา้ หมาย เมืองและชุมชนท่มี ีศักยภาพ ดา้ นการทอ่ งเท่ยี วเชงิ สรา้ งสรรค์ และวัฒนธรรมเพิ่ มขึน้ เมืองและชุมชนท่ีมีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม จะสามารถดึงดูดนักท่องเท่ียวได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ซง่ึ นอกจากจะชว่ ยสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การกระจายรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วสเู่ มอื งรองไดม้ ากขน้ึ แลว้ ยงั เปน็ การ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเท่ียว โดยเฉพาะด้านทรัพยากรทางวัฒนธรรมและการท่องเท่ียว เชิงธุรกิจ ในการขับเคล่ือนเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายควรให้ความส�ำคัญต่อการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนที่มีศักยภาพ ด้านการทอ่ งเท่ียว พัฒนาเมอื งและชุมชนตามเกณฑ์รับรองมาตรฐานสากล และส่งเสรมิ การตลาดอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รายได้จากการทอ่ งเที่ยวรใานยจงัไดหจวดัาทกไ่ีกดาร้ รับทกอารงปเทระ่ียกวาใศนเปจ็นงั หเมวอื ัดงสร้างสรรคข์ องยูเนสโก 1,500,000.ห00นว่ ย : ลา้ นบาท ทไ่ี ดร บั การประกาศเปน เมอื งสรางสรรคข องยเู นสโก หนวย : ลานบาท 947,284.30 1,040,509.51 1,000,000.00 822,454.21 500,000.00 377,878.09 423,012.85 449,100.73 313,005.63 82,570.24 90,137.28 99,070.42 107,625.32 - 3,032.30 3,162.75 3,510.33 3,753.98 ป 2559 2560 2561 2558 ภเู ก็ต เชยี งใหม กรงุ เทพฯ สโุ ขทยั ทีม่ า: กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกฬี า ที่มา : กระทรวงการทองเทีย่ วและกฬี า สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ปัจจุบันจังหวัดใน เมืองสร้างสรรค์ด้านการออกแบบในปี 2562 และสโุ ขทยั ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ท่ี ไ ด ้ รั บ ก า ร ป ร ะ ก า ศ เ ป ็ น เ ค รื อ ข ่ า ย ในฐานะเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมพ้ืนบ้านในปี เมืองสร้างสรรค์ขององค์กรยูเนสโกมีจ�ำนวน 4 แห่ง 2562 การเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโกน้ัน ประกอบด้วย ภูเก็ตในฐานะเมืองสร้างสรรค์ด้านอาหาร จะได้รับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ในปี 2558 เชียงใหม่ในฐานะเมืองสร้างสรรค์ด้าน การแลกเปล่ียนถ่ายทอดประสบการณ์องค์ความรู้และ หัตถกรรมพ้ืนบ้านในปี 2560 กรุงเทพมหานครในฐานะ กจิ กรรม และสรา้ งรปู แบบใหมข่ องความรว่ มมอื ในระดบั โลก 158

การท่องเที่ยว 05 050102 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาจากสถิติรายได้จากการ ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ปัจจุบัน ทอ่ งเทยี่ วในจังหวัดท่ีได้รับประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ ประเทศไทยยังไม่มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเมืองท่ีจะ ของยูเนสโกน้ัน พบว่า ภูเก็ตและเชียงใหม่ที่ได้รับการ พัฒนาเป็นเมืองสร้างสรรค์และวัฒนธรรมท่ีใช้ร่วมกัน ประกาศเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ก่อนท่ีแผนแม่บทฯ ระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ท�ำให้แต่ละหน่วยงานมี บังคับใช้ มีรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น อีกทั้ง พ้ืนท่ีเป้าหมายที่แตกต่างกัน และด�ำเนินการโดยไม่มี ในห้วงเวลาของการเตรียมความพร้อมเมืองสุโขทัยและ การบูรณาการร่วมกัน ท�ำให้งบประมาณที่ลงไปเพ่ือ กรงุ เทพมหานคร รายได้จากการท่องเทยี่ วของทั้ง 2 เมอื ง พฒั นาไมม่ ที ศิ ทางทชี่ ดั เจน และไมไ่ ดก้ ำ� หนดพน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่าการเป็น และแนวทางการด�ำเนินงานเชิงรุกเพื่อคัดเลือกเมืองท่ีมี เมอื งสรา้ งสรรคส์ ง่ ผลกระทบเชงิ บวกใหก้ บั รายไดจ้ ากการ ศักยภาพเพิ่มจากเมืองน่านและสุพรรณบุรี นอกจากน้ี ทอ่ งเทย่ี ว ทง้ั น้ี หากนบั จากการผลกั ดนั ผ่านแผนแม่บทฯ เมื่อพิจารณาจ�ำนวนนักท่องเท่ียวและรายได้จากการ ประเทศไทยมีเมืองสร้างสรรค์เพิ่มขึ้นเพียง 2 แห่ง ท่องเท่ียวในจังหวัดท่ีได้รับการประกาศเป็นสมาชิกเมือง (สุโขทัยและกรุงเทพฯ) ซึ่งห่างจากเป้าหมายที่ก�ำหนดให้ สร้างสรรค์ของยูเนสโกแล้ว พบว่า แม้รายได้จากการ ประเทศไทยต้องมีเมืองและชุมชนที่มีศักยภาพด้านการ ท่องเที่ยวจะขยายตัว แต่ไม่ได้ขยายตัวอย่างเห็นได้ชัด ท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมจ�ำนวน 5 เมือง กลา่ วคอื ใกลเ้ คยี งกบั อตั ราการขยายตวั ในภาพรวมของการ ภายในปี 2565 ค่อนข้างมาก จึงยังคงเป็นประเด็นที่ ท่องเท่ียว แสดงให้เห็นว่าการใช้ประโยชน์ของการเป็น ท้าทายส�ำหรับประเทศไทยในการพัฒนาเมืองรอง และ เมืองสรา้ งสรรคย์ งั ไมเ่ ตม็ ท่ี อาจไมส่ ามารถทำ� ใหบ้ รรลเุ ปา้ ผลักดันให้ได้เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ตามเกณฑ์ของ หมายของแผนแม่บทฯ การทอ่ งเที่ยวด้านการสรา้ งรายได้ องค์การยูเนสโก จากการท่องเทยี่ วได้ การด�ำเนินการที่ผ่านมา หลายหน่วยงานเร่ิมตื่นตัวกับ ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย เพื่อเพ่ิมเมืองและ การค้นหาทุนทางวัฒนธรรมเพ่ือพัฒนาเมืองและดึงดูด ชุมชนที่มีศักยภาพด้านการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และ นักท่องเท่ียว ในส่วนของการพัฒนาที่จะน�ำไปสู่การเข้า วัฒนธรรม โดยเร่งบูรณาการกันระหว่างหน่วยงานท่ี เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก องค์การ เกี่ยวข้องในการก�ำหนดค้นหาทุนทางวัฒนธรรมให้มี บรหิ ารการพฒั นาพน้ื ทพี่ เิ ศษเพอื่ การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยงั่ ยนื กิจกรรมท่ีหลากหลายและมีความสร้างสรรค์ รวมท้ัง (อพท.) รว่ มกบั กระทรวงวฒั นธรรม และสำ� นกั งานสง่ เสรมิ พัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเกิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ได้ประสานกับยูเนสโกเพ่ือพัฒนา กิจกรรมทางวัฒนธรรมและสร้างสรรค์ นอกจากน้ี กิจกรรมการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม เมืองสร้างสรรค์ที่ได้รับการประกาศแล้ว ควรให้ความ นำ� ร่องในหลายพน้ื ที่ เชน่ ยา่ นเกา่ ใน กทม. เมอื งเก่าน่าน ส�ำคัญกับการจัดกิจกรรมระดับเมืองหรือจังหวัดที่ เมืองโบราณอู่ทอง และอทุ ยานประวัติศาสตรส์ ุโขทัย จาก หลากหลายเพ่ือสะท้อนเอกลักษณ์และภาพลักษณ์ การด�ำเนินการดังกล่าว ท�ำให้ สุโขทัย และ กทม. ได้รับ ของเมืองอย่างสร้างสรรค์ และส่งเสริมการตลาดเชิงรุก การประกาศเข้าเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ด้าน ในพื้นท่ีเมืองสร้างสรรค์ เช่น โครงการ Thailand หัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) creative city branding ของส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ และเมืองสร้างสรรคด์ ้านการออกแบบ (City of Design) สร้างสรรค์ เป็นตน้ ตามล�ำดับ ส่วนเมืองน่าน และสุพรรณบุรี (เมืองโบราณ อู่ทอง) อยู่ในระหว่างการพัฒนาและเสนอเข้าเป็นเมือง สรา้ งสรรคข์ ององค์กรยูเนสโกในรอบต่อไป 159

05 การท่องเทีย่ ว แผนแม่บทยอ่ ย การท่องเท่ยี วเชิงสร้างสรรคแ์ ละวัฒนธรรม 050103 เป้าหมาย สินค้าท่องเทีย่ วเชงิ สร้างสรรค์ และวัฒนธรรมไดร้ บั การขึน้ ทะเบยี น ทรัพย์สินทางปญั ญาเพิ่มขึ้น สินค้าและบริการเป็นปัจจัยหน่ึงในการจับจ่ายใช้สอยของนักท่องเท่ียว สินค้าและบริการท่ีมีเอกลักษณ์เชิงสร้างสรรค์ และวฒั นธรรมทแี่ ปลกใหมจ่ ะดงึ ดดู ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วใชจ้ า่ ยมากขน้ึ ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ การขยายตวั ของรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว ของเมืองรองเพิ่มขึ้น ทั้งน้ี ควรให้ความส�ำคัญในประเด็น ด้านการตระหนักรู้ถึงประโยชน์และความส�ำคัญ ของการข้ึนทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา สินค้าที่มีอัตลักษณ์และมีคุณภาพขั้นต่�ำตามมาตรฐานที่ก�ำหนด สินค้า แหลง่ ท่องเทย่ี ว บริการเชงิ สรา้ งสรรค์และวัฒนธรรมได้รบั การพัฒนาต่อยอดเพิ่มมลู คา่ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ท่ีผ่านมาประเทศไทย การด�ำเนินการท่ีผ่านมา พบว่าหน่วยงานหลักด้านการ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาสินค้าและบริการจาก ท่องเท่ียว ด้านการวิจัย และสถาบันการศึกษาหลายแห่ง อัตลักษณ์ท้องถิ่น เพื่อให้ได้รับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สิน ด�ำเนินโครงการพัฒนาสินค้าและบริการให้กับชุมชนที่มี ทางปัญญา แม้ว่าปัจจุบันจะยังไม่มีการจดทะเบียน ทรัพยากรท่ีสามารถต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ ท รั พ ย ์ สิ น ท า ง ป ั ญ ญ า ใ น ห ม ว ด สิ น ค ้ า ท ่ อ ง เ ท่ี ย ว และสร้างสรรค์ได้ ซ่ึงกรมทรัพย์สินทางปัญญาจะ เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมโดยตรง ซึ่งสามารถสะท้อน ด�ำเนินการประสานกับหน่วยงานที่ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ ได้จากรายงานการเพิ่มข้ึนของสินค้าท่ีเป็นส่ิงบ่งชี้ทาง เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับชุมชนถึงแนวทางใน ภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทยที่ได้รับการข้ึนทะเบียน การย่ืนขอจดสิทธิบัตรท่ีถูกต้องตามหลักการ โดย ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (เฉลย่ี อยทู่ รี่ อ้ ยละ ส่วนใหญ่จะเป็นการให้ความรู้ด้านการขอจดทะเบียน GI 17 ตอ่ ปี) โดยเฉพาะในปี 2561 จำ� นวนสินค้า GI ทีไ่ ด้รับ อี ก ทั้ ง พั ฒ น า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น ใ น การขึ้นทะเบียนขยายตัวอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 20 การตรวจสอบและจดสิทธิบัตรด้วยการเพิ่มและพัฒนา จากปี 2560 ซ่งึ สะท้อนใหเ้ หน็ ทศิ ทางท่เี พ่ิมขนึ้ ของสินคา้ บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบสินค้าและ ท่เี ปน็ สงิ่ บง่ ชที้ างภมู ศิ าสตร์ (GI) บริการได้รวดเร็วย่งิ ขึ้น จ�ำจนําวนนวสนินสคนิ ้าคสาิ่งสบ่งิ ่งบชงี้ทชาีท้งภามูงภศิ ามู สิศตารส์ ต(GรI)(GI) 200 150 67 74 83 96 115 100 50 11 30 35 35 46 59 14 23 0 จํานวน 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ป ที่มา: กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา ทม่ี า : กรมทรัพยส ินทางปญ ญา 160

การท่องเที่ยว 05 050103 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย แม้ ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย ประการส�ำคัญคือ ปัจจุบันจะมีการพัฒนาสินค้าที่มีอัตลักษณ์และบริการ การเรง่ จดั ทำ� คำ� จำ� กดั ความกลางทใี่ ชร้ ว่ มกบั ทกุ หนว่ ยงาน จากทุนทางวัฒนธรรมของแต่ละพ้ืนที่ ตลอดจนมี และสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสินค้าเชิงสร้างสรรค์และ มาตรการส่งเสริมให้มีการจดทะเบียนส่ิงบ่งช้ีทาง วัฒนธรรม กับการทอ่ งเทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละวฒั นธรรม ภูมิศาสตร์อย่างต่อเน่ือง แต่ยังไม่มีช่องทางในการรับ ให้ไปในทิศทางเดียวกันในแต่ละพ้ืนที่ เพ่ือให้เกิดการ จดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาส�ำหรับสินค้าท่องเท่ียว ส่งเสริมซ่ึงกันและกัน มีการพัฒนาสินค้าและบริการจาก เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมโดยตรง ท้ังนี้ เน่ืองจาก ทุนทางวัฒนธรรม รวมท้ังเร่งรัดกระบวนการจดทะเบียน ค�ำจ�ำกัดความของสินค้าท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และ ทรัพย์สินทางปัญญา โดยให้ความส�ำคัญกับโครงการ วัฒนธรรมยังไม่มีความชัดเจน ซ่ึงอาจท�ำให้ไม่ได้ส่งเสริม สร้างสรรค์ผลงานจากทรัพย์สินทางวัฒนธรรมเพ่ือ การท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์โดยตรง นอกจากนี้ การย่ืน อุตสาหกรรมท่องเท่ียว และโครงการพัฒนาความรู้ ขอจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญามีระยะเวลาในการ ทรัพย์สินทางปัญญาสู่การต่อยอดเทคโนโลยีและ ด�ำเนนิ งานคอ่ นข้างนาน เฉลี่ยประมาณ 3-5 ปี นวัตกรรม เพ่ือให้มีสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียว เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมได้รับการขึ้นทะเบียน ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา และสามารถตอบโจทยก์ ารทอ่ งเทยี่ ว เชิงสร้างสรรคไ์ ด้โดยตรง 161

05 การทอ่ งเที่ยว แผนแม่บทย่อย การทอ่ งเท่ยี วเชงิ ธุรกิจ เป้าหมาย 050201 รายได้จากการท่องเท่ยี วเชงิ ธุรกิจเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพที่มีการใช้จ่ายสูง สามารถสร้างรายได้ทางตรงในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว และรายได้ ทางอ้อมให้แก่ธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องอ่ืน ๆ ซ่ึงจะเป็นส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนการเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ด้านการท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ในการขับเคลื่อนเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายควรด�ำเนินการในประเด็น ท่ีส�ำคัญ ได้แก่ ความพร้อมด้านปัจจัยสนับสนุน ความพร้อมด้านโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ และ การส่งเสริมการตลาดทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ในส่วนของรายได้จาก การด�ำเนินการที่ผ่านมา พบวา่ ในช่วงปี 2560 – 2562 การทอ่ งเทย่ี วเชิงธรุ กิจพบวา่ มกี ารขยายตัวจาก 176,068 การท่องเท่ียวเชิงธุรกิจมีการเติบโตโดยมีปัจจัยสนับสนุน ลา้ นบาท ในปี 2560 เป็น 212,924 ลา้ นบาท ในปี 2561 ส�ำคัญมาจากการท�ำตลาดท่ีมีศักยภาพท้ังในและ หรือขยายตัวร้อยละ 20.9 และในปี 2562 ลดลงเป็น ต่างประเทศ ที่สามารถดึงดูดการประชุมนานาชาติ และ 202,362 ล้านบาท หรือหดตัวร้อยละ 5.0 ซ่ึงลดลงทั้ง งานแสดงสินค้าขนาดใหญ่มายังประเทศไทย โดยมี ในส่วนของรายได้จากต่างประเทศและภายในประเทศ หน่วยงานขับเคลื่อนหลักคือส�ำนักงานส่งเสริมการ โดยส่วนหน่ึงเป็นผลจากการสิ้นสุดของมาตรการส่งเสริม จัดประชุมและนิทรรศการ ท่ีมีบทบาทในการพัฒนาและ การจัดประชุมสัมมนาในจังหวัดรองในปี 2561 อย่างไร เพ่ิมศักยภาพของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางของ ก็ตาม เม่ือพิจารณาการขยายตัวโดยรวมในช่วงปี การท่องเท่ียวเชงิ ธุรกิจ นอกจากน้ี มาตรการระยะส้นั ของ 2560 – 2562 ท่ีร้อยละ 15.9 พบว่าการจะบรรลุ ภาครัฐในช่วงปีงบประมาณ 2561 ท่ีก�ำหนดให้นิติบุคคล คา่ เป้าหมายทีต่ ั้งไว้ท่ีการขยายตัวเฉลยี่ ร้อยละ 5 ในช่วงปี สามารถนำ� คา่ ใชจ้ า่ ยจากการจดั อบรมสมั มนาในจงั หวดั รอง 2561-2565 น้ัน ยังคงมีแนวโน้มท่ีจะเป็นไปได้สูง สามารถน�ำมาหักลดหย่อนภาษีได้ร้อยละ 100 แต่ยังคงมีความท้าทายที่จะต้องรักษาอัตราการขยายตัว ซ่ึงเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเติบโตของการท่องเท่ียว ไวภ้ ายใต้สภาวะทางเศรษฐกจิ ในปจั จบุ นั เชิงธุรกิจ แต่ในช่วงปี 2562 ท่ีเป็นช่วงการเลือกตั้งและ ยังไม่มีการต้ังรัฐบาลจึงท�ำให้ไม่มีการออกมาตรการที่ MICE Revenue สนับสนุนการท่องเท่ียวเชิงธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งอาจท�ำให้ส่งผลต่อการลดลงของรายได้จากการ หนว่ ย : ลา้ นบาท ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ ในขณะที่ความพร้อมด้านโครงสร้าง 250,000 พื้นฐานด้านการท่องเท่ียวเชิงธุรกิจส่วนใหญ่อยู่ใน MICE City หลกั ของประเทศไทย ได้แก่ กรุงเทพมหานคร 200,000 176,068 212,924 202,362 เชียงใหม่ ขอนแก่น และภเู ก็ต 150,000 91,142 117,301 108,432 100,000 84,926 95,623 93,930 50,000 2562 - 2560 2561 Total International Domestic ทมี่ า: TCEB 162

การท่องเทีย่ ว 05 050201 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย แม้ว่าโดยรวมการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจมีการเติบโตข้ึนอย่างต่อเน่ือง แต่ยังคงเป็นการกระจุกตัวอยู่ในเมืองหลักท่ีมีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในขณะที่มาตรการส่งเสริมของภาครัฐที่ผ่านมายังคงเป็นมาตรการระยะส้ันและกระตุ้นการประชุมสัมมนาภายใน ประเทศเท่าน้ัน อีกทั้งในสภาวะทางเศรษฐกิจปัจจุบันและผลกระทบจากโรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคอุบัติใหม่ ซ่ึงอาจ สง่ ผลต่อการเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเท่ยี วตา่ งชาติอีกด้วย ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การบรรลเุ ปา้ หมาย เพอ่ื สนบั สนนุ การบรรลเุ ปา้ หมายดา้ นการสรา้ งรายไดข้ องการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ธรุ กจิ รวมถึงการกระจายตัวไปยังภูมิภาคอ่ืน ควรให้ความส�ำคัญกับการท�ำตลาดเชิงรุกเพ่ือเข้าถึงตลาดกลุ่มเป้าหมาย สร้างโอกาสทางการขยายพ้ืนที่ในการจัดงาน รวมท้ังสนับสนุนการกระจายพ้ืนท่ีการจัดงานไปยังส่วนภูมิภาคอื่น ให้ครอบคลุมทุกประเภทของกิจกรรมในการท่องเท่ียวเชิงธุรกิจ โดยเร่งการด�ำเนินโครงการการส่งเสริมการจัดประชุม และการทอ่ งเทีย่ วเป็นรางวลั และการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการนานาชาตใิ นประเทศไทย นอกจากน้ี ภาครฐั ควรมี การออกมาตรการเพื่อสนับสนุนการท่องเท่ียวภายในประเทศในส่วนของการท่องเท่ียวเชิงธุรกิจเพื่อเป็นการ ลดความเสี่ยงจากนักท่องเท่ียวต่างชาติท่ีอาจลดลง อีกทั้งในส่วนของปัจจัยด้านความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกที่จ�ำเป็นในการรองรับการท่องเท่ียวในกลุ่มนี้ เช่น สถานท่ีจัดประชุม ศูนย์แสดงสินค้า และบริการขนส่งเพื่อการเข้าถึงพ้ืนที่งาน ควรเร่งรัดให้เกิดการลงทุนในภูมิภาคต่าง ๆ เช่น เขตพื้นท่ีพัฒนาโครงการ เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) เป็นตน้ 163

05 การท่องเทีย่ ว แผนแมบ่ ทย่อย การทอ่ งเท่ยี วเชิงธรุ กิจ เปา้ หมาย 050202 การเป็นจดุ หมายปลายทางในการจัดการ ประชมุ นานาชาตขิ องไทย ท�ำให้มีนักท่องเท่ียวคุณภาพจ�ำนวนมากเดินทางมายังประเทศไทย เป็นโอกาสในการสร้างรายได้ทางตรงให้แก่การ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ และสามารถกระจายรายได้ไปยังภาคธุรกิจอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวเน่ือง นับเป็นส่วนสนับสนุนส�ำคัญในการ เพ่ิมผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ในการขับเคลื่อนเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายด้านรายได้มีประเด็นการพัฒนาท่ีต้องให้ความส�ำคัญ ได้แก่ การก�ำหนดนโยบายด้านการประชุมนานาชาติ เป็นวาระแห่งชาติ ความพร้อมของข้อมูลเชิงลึกท่ีเก่ียวกับการประชุมนานาชาติของไทย การมีแผนบูรณาการ เพ่ือก�ำหนดเป้าหมายในภาพรวมของประเทศที่ชัดเจนร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาตรการจูงใจและ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกในการรองรับการจัดประชุมนานาชาติ และการจัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ/ระดับโลก ความเข้มแข็งและความพร้อมของสมาคมเจา้ ภาพในประเทศไทยและธุรกิจท่เี กี่ยวเนื่อง สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย จากการจัดอันดับของสมาคมศนู ยป์ ระชมุ นานาชาติ (International Congress and Convention Association หรือ ICCA) พบวา่ ในปี 2560 ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดับที่ 25 ของโลก และอันดับที่ 6 ของ เอเชีย ในการเป็นจดุ หมายในการจดั ประชมุ นานาชาติ และขยบั ขนึ้ เป็นอนั ดับท่ี 21 ของโลก และอันดบั ท่ี 5 ในปี 2561 ซ่ึงสะท้อนถึงความพร้อมของไทยในการถูกคัดเลือกเป็นสถานท่ีจัดงานประชุมนานาชาติ เมอื่ พจิ ารณาจากคา่ เปา้ หมาย ในปี 2565 พบวา่ ณ ปี 2561 ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายการเป็นจุดหมายในการจดั ประชุมนานาชาติได้แลว้ นอกจากนี้ ผลการจัดอันดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขันด้านการทอ่ งเทยี่ ว (Travel & Tourism Competitiveness Index: TTCI) โดยสภาเศรษฐกจิ โลก (World Economic Forum: WEF) ปี 2562 อันดบั ขีดความสามารถในการแข่งขนั ด้านทรัพยากรทางวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเพื่อธุรกิจของประเทศไทยมีอันดับดีขึ้น จากอันดับท่ี 37 ในปี 2560 เป็นอันดับท่ี 34 ในปี 2562 โดยพิจารณาจากจ�ำนวนการจัดประชุมนานาชาติ พบว่าประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี 24 ของโลก และอนั ดบั ท่ี 3 ของภมู ภิ าคเอเชีย เปน็ รองประเทศญี่ปุ่น และประเทศจีน การด�ำเนินการท่ีผ่านมา ในช่วงปี 2560 – 2562 ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับเป็นจุดหมายในการจัดประชุม นานาชาติจากองค์กรระหว่างประเทศด้านการท่องเท่ียวในล�ำดับที่สูงขึ้น เน่ืองจากประเทศไทยมีความพร้อม ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรุ กจิ ใน 4 เมอื งหลัก (MICE CITY) คอื กรุงเทพมหานคร ขอนแก่น เชยี งใหม่ และภเู กต็ ทง้ั ดา้ นศนู ยป์ ระชมุ ทพี่ กั ความสะดวกในการเดินทาง และความหลากหลายของกิจกรรมด้านการท่องเที่ยว รวมท้ังการท�ำตลาดท่ีมีศักยภาพในต่างประเทศสามารถดึงดูดการประชุมนานาชาติ และงานแสดงสินค้าขนาดใหญ่ มายงั ประเทศไทย อกี ท้งั การด�ำเนนิ นโยบายของรัฐบาลในการสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม S-Curve และ New S-Curve ซ่งึ ประกอบด้วย 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต ท�ำให้ประเทศไทยเป็นที่สนใจ ส�ำหรับการจัดงานประชุม งานแสดงสินค้าในอุตสาหกรรมดังกล่าว เช่น ในปี 2561 มีการจัดงานในอุตสาหกรรม 5 กลุ่มหลกั ของไทย คือ กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโยโลยชี ีวภาพ กลุม่ สาธารณสขุ กลุ่มเคร่อื งมอื อุปกรณอ์ ัจฉริยะ และหุ่นยนต์ กลุ่มดิจิทัล และกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กว่า 200 งาน นอกจากน้ี ความพร้อมของข้อมูลเชิงลึก 164

การทอ่ งเทีย่ ว 05 050202 ได้มีการด�ำเนินโครงการจัดเก็บข้อมูลด้านไมซ์ของภาค อนั ดับขีดความสามารถในการแขงขันดานทรัพยากรทางวฒั นธรรม (MICE Intelligence) เพ่ือจัดเก็บข้อมูลสถิติและการ ประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจของการท่องเที่ยว 8 คะแนน และการทองเทีย่ วเชงิ ธุรกจิ ป 2562 อนั ดบั 1 เชิงธุรกิจในแต่ละพ้ืนที่ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลส�ำคัญส�ำหรับ การวางแผนหรอื เสนอแนะนโยบายในการพัฒนาธุรกจิ น้ี 78 อันดบั 5 อนั ดบั 1 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย แม้ว่า ประเทศไทยจะสามารถบรรลุเป้าหมายการเป็นจุดหมาย 67 อนั ดบั 5 ของการประชุมนานาชาติในปี 2561 แล้ว แต่การรักษา และเพ่ิมอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการ 5 6 ท่องเท่ียวเชิงธุรกิจยังคงเป็นประเด็นท้าทายท่ีส�ำคัญ 5 เน่ืองจากการเดินทางมายังประเทศไทยของนักท่องเที่ยว คะแนน 44 คุณภาพเหล่านี้ส่งผลต่อการสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ และยังส่งผลต่อการจัดอันดับขีดความสามารถในการ 33 อนั ดบั 37 อนั ดบั 34 อนั ดบั 38 แข่งขันด้านการท่องเท่ียวในภาพรวมของประเทศไทย อนั ดับ 34 ที่จัดโดยสภาการท่องเที่ยวโลกด้วย อย่างไรก็ดี เมื่อ 22 อันดับ 37 อนั ดบั 38 พิจารณาประเด็นท่ีต้องให้ความส�ำคัญ ในการบรรลุ เป้าหมายนั้น ประเทศไทยยังสามารถยกระดับขีด 10 1 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ โดยให้ ความส�ำคัญกับการบูรณาการท�ำงานร่วมกันของหน่วย 0 มาเลเซยี ไทย สิงคโปร์ ญ่ีปุ่น จีน งานท่ีเก่ียวข้องในทุกมิติของการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ ไทย สงิ คโปร เพื่อให้สามารถดึงดูดนักท่องเท่ียวทั้งในด้านการอ�ำนวย ทม่ี า: TTCIมาเลเซีย ญี่ปนุ จีน ความสะดวก กฎระเบยี บ และมาตรการจงู ใจ นอกจากน้ี ในการสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการแข่งขัน ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย สนับสนุนให้ กีฬาระดับโลก ยังคงต้องให้ความส�ำคัญกับความพร้อม ประเทศไทยเป็นจุดหมายของการประชุมนานาชาติ โดย ด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อ การบรู ณาการรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รวมทงั้ รองรับกิจกรรมทจ่ี ะเกิดขึน้ ให้ความส�ำคัญกับการท�ำตลาดเชิงรุกอย่างต่อเนื่องเพื่อ เข้าถึงตลาดกลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และน�ำเสนอจุดขายด้าน นโยบายของรฐั บาลในการสนบั สนนุ อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย เพื่อดึงดูดความสนใจในการจัดงานประชุมและแสดง สินค้านานาชาติในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง รวมท้ัง ส นั บ ส นุ น ก า ร ก ร ะ จ า ย พ้ื น ที่ ก า ร จั ด ง า น ไ ป ยั ง ส ่ ว น ภูมิภาคอ่ืนให้ครอบคลุมทุกประเภทของกิจกรรมในการ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ โดยเร่งการด�ำเนินโครงการ การส่งเสริมการจัดประชุมและการท่องเท่ียวเป็นรางวัล และการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการนานาชาติ ในประเทศไทย นอกจากนี้ ควรสนับสนุนโครงการ การเปน็ เจา้ ภาพจัดการประชุมสัมมนาด้านกีฬาระดับโลก เพื่อเป็นการสร้างโอกาสให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักและ ได้รับความไว้วางใจในวงการกฬี านานาชาตดิ ว้ ย   165

05 การท่องเที่ยว 050301 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การทอ่ งเทย่ี วเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย เปา้ หมาย รายได้จากการท่องเท่ยี วเชงิ สุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น ประเทศไทยมีศักยภาพในการให้บริการด้านสุขภาพ ทั้งการแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย รวมถึงความงาม ประกอบกับปจั จบุ นั กระแสการใส่ใจในสุขภาพและความงาม และการเขา้ สู่สงั คมสูงวัย ทำ� ให้มนี กั ทอ่ งเทีย่ วซึ่งมอี ำ� นาจ ในการซื้อสงู เพ่ิมขึ้น ดังน้ัน จงึ เป็นโอกาสส�ำหรบั ประเทศไทยในการท่ีจะพัฒนาการทอ่ งเท่ียวเชงิ สุขภาพเพือ่ ตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาด และสร้างรายได้จากการท่องเท่ียว ซึ่งเป็นการสนับสนุนเป้าหมายการเพ่ิมผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศด้านการท่องเท่ียวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ทั้งนี้ เพ่ือบรรลุเป้าหมายรายได้การท่องเท่ียว เชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทยเพ่ิมข้ึน จึงต้องอาศัยความเชื่อม่ันของผู้บริโภคต่อสุขภาพ ความงาม และ การแพทย์แผนไทย การพฒั นาสถานประกอบการใหม้ ีศกั ยภาพและมาตรฐาน และการตลาดที่ดึงดูดกล่มุ เป้าหมาย สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย 1ห4นว่ ย : พนั ล้านบาท รายไดจากการทอ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพของไทย 12 จากการจัดอันดับโดย Global 12 Wellness Institute ประจ�ำปี 10 8.8 9.4 2561 ซ่ึงเป็นสถาบันท่ีจัดท�ำ 8 รายงานข้อมูลและจัดอันดับรายได้ จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 6 5.6 (Wellness tourism) เป็นประจ�ำ 4 ทุก 2 ปี พบว่า ประเทศไทยมี 2 รายได้จากการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ 0 ในปี 2560 จำ� นวน 12,000 ลา้ นบาท 2554 2556 2558 2560 ซ่ึงเติบโตเฉล่ียจากปี 2554 ร้อยละ ท่ีมา: Global Wellness Institทuี่มteา : Global Wellness Institute 13 ตอ่ ปี ท้งั นี้ หากประเทศไทยสามารถรักษาอตั ราการเติบโตในระดบั น้อี ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จะมคี วามเป็นไปได้ในการบรรลุ เป้าหมายรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย ขยายตัวร้อยละ 5 ต่อปี ในช่วงปี 2561 – 2565 การด�ำเนินการที่ผ่านมา ในการสร้างความเชื่อม่ันในบริการทางการแพทย์ ความงาม และแพทย์แผนไทย โดยเฉพาะ แพทย์แผนไทย ประเทศไทยได้ผลักดันการนวดไทยจนได้ข้ึนทะเบียนเป็นมรดกทางวัฒนธรรมโลกจากองค์การยูเนสโก ในปี 2562 ในขณะเดียวกันกรมพัฒนาบริการสุขภาพได้สนับสนุนผู้ประกอบการในเรื่องมาตรฐานและการขึ้นทะเบียน สถานประกอบการท้ังในส่วนของการนวดเพ่ือสุขภาพ และนวดเพ่ือเสริมความงาม ซึ่งสามารถสร้างความม่ันใจให้แก่ ผู้ใช้บริการท้ังคนไทยและนักท่องเที่ยว รวมท้ังการส่งเสริมการตลาดที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายการท่องเท่ียว เชิงสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการด�ำเนินโครงการด้านการตลาดที่ส�ำคัญ เช่น โครงการ Amazing Health and Wellness in Thailand ของการท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย เป็นต้น 166

การทอ่ งเที่ยว 05 050301 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ปัจจุบัน ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย แม้ว่ารายได้จาก แม้ว่าทุกหน่วยงานให้ความสนใจและต่ืนตัวกับการ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของไทยจะมีแนวโน้มขยาย ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพิ่มขึ้น แต่การพัฒนาและควบคุม ตัวอย่างต่อเน่ือง และมีแนวโน้มที่จะบรรลุเป้าหมายที่ สถานประกอบการด้านสุขภาพให้ได้มาตรฐานน้ัน ยังมี กำ� หนดไว้ แตจ่ ากภาวะเศรษฐกจิ โลกและสถานการณอ์ น่ื ๆ ความทา้ ทายจากประเภทและพน้ื ทข่ี องสถานประกอบการ ทกี่ ระทบตอ่ การตดั สนิ ใจเดนิ ทางของนกั ทอ่ งเทยี่ ว รวมทง้ั ที่มีหน่วยงานรับผิดชอบแตกต่างกัน จึงท�ำให้การ การพัฒนาอุตสาหกรรมสุขภาพอย่างรวดเร็วของประเทศ บูรณาการระหว่างหน่วยงานในการพัฒนาและส่งเสริม เพ่ือนบ้าน ท�ำให้ประเทศไทยยังต้องเร่งพัฒนาขีดความ ผู้ประกอบการไม่ไปในทิศทางเดียวกัน ในปัจจุบันจึงมี สามารถในการแขง่ ขนั โดยพฒั นาสถานประกอบการดา้ น สถานประกอบการด้านสุขภาพจ�ำนวนมากท่ีไม่ได้รับการ สุขภาพให้มีคุณภาพและมาตรฐานด้วยการแบ่งขอบเขต ตรวจสอบมาตรฐาน ซึ่งส่งผลให้ขีดความสามารถในการ การด�ำเนินงานของแต่ละหน่วยงานให้ชัดเจนและควบคุม แข่งขันด้านการท่องเท่ียวด้านสุขภาพและอนามัย มาตรฐานอย่างเคร่งครัด เพ่ือสร้างความเช่ือมั่นต่อ ของไทยยังอยู่ในระดับต่�ำ นอกจากนี้ ประเด็นส�ำคัญท่ี ผบู้ รโิ ภค นอกจากนี้ ตอ้ งทำ� การตลาดทตี่ รงกลมุ่ เปา้ หมาย ส่งผลต่อความเชื่อม่ันและการตัดสินใจเดินทางของ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื รกั ษาและขยายสว่ นแบง่ การตลาด ท้ังนี้ นักท่องเที่ยวในเชิงสุขภาพคือ ปัญหาด้านสุขอนามัยและ ต้องเร่งผลักดันโครงการพัฒนาเมืองสุขภาพต้นแบบให้ โรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคอุบัติใหม่ ซ่ึงถือว่าเป็นประเด็น สัมฤทธิ์ผลในเชิงประจักษ์เพ่ือเป็นตัวอย่างให้กับพื้นท่ีอ่ืน ทา้ ทายตอ่ การท่องเท่ยี วเชงิ สขุ ภาพดว้ ย ต่อไป อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยต้องให้ความส�ำคัญกับ มาตรการสาธารณสุขที่สามารถตอบสนองต่อปัญหา สุขอนามัย และโรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคอุบัติใหม่ ได้อย่างมีศักยภาพ เพ่ือสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ นกั ทอ่ งเทย่ี วในการตดั สนิ ใจเดนิ ทางมายงั ประเทศไทยดว้ ย   167

05 การท่องเทีย่ ว แผนแมบ่ ทย่อย การทอ่ งเทย่ี วเชิงสขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย เปา้ หมาย 050302 อนั ดบั รายได้การทอ่ งเท่ยี วเชงิ สุขภาพ ของประเทศไทย ประเทศไทยมีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางในภูมิภาคด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพซ่ึงมีจุดแข็งในการบริการทาง การแพทย์ อย่างไรก็ดี จากกระแสการใส่ใจในสุขภาพและความงาม และการเข้าสู่สังคมสูงวัยท่ีจะท�ำให้มีนักท่องเท่ียว ซ่ึงมีอ�ำนาจในการซื้อสูงเพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงเป็นโอกาสส�ำหรับประเทศไทยในการที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ รวมถึงการส่งเสริมการท่องเท่ียวในเมืองรองที่มีศักยภาพด้านการท่องเท่ียวสุขภาพ ซึ่งจะเป็นส่วนสนับสนุนเป้าหมาย การเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเท่ียวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ โดยมีปัจจัยส�ำคัญท่ีจะท�ำให้ บรรลุเป้าหมาย ได้แก่ ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่อสุขภาพ ความงาม และการแพทย์แผนไทย การพัฒนา สถานประกอบการให้มศี กั ยภาพและมีมาตรฐาน และการตลาดทด่ี งึ ดดู กลมุ่ เปา้ หมายธุรกจิ สขุ ภาพ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย จากการจัดอันดับโดย Global Wellness Institute ประจ�ำปี 2561 ประเทศไทย มีอันดับรายได้จากการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพอยู่ในอันดับท่ี 13 ของโลก ซ่ึงส่วนใหญ่นักท่องเที่ยวมักเดินทางมาเพื่อ รักษาโรคเฉพาะทาง และบริการด้านศัลยกรรมความงาม เน่ืองจากเทคโนโลยีด้านการแพทย์ของไทยค่อนข้างทันสมัย และค่าใช้จ่ายต�่ำกว่าประเทศอ่ืน แต่เม่ือพิจารณาอันดับรายได้ของประเทศไทยในช่วงปี 2557-2561 ยังอยู่ในระดับ คงท่ีในอันดับท่ี 13 มาโดยตลอด ดังนั้น เป้าหมายท่ีอันดับ 12 ของโลก จึงมีแนวโน้มท่ีประเทศไทยจะบรรลุ เป้าหมายได้ไม่ยากนัก โดยยังต้องพยายามรักษาและพัฒนาคุณภาพของการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพเพ่ือดึงดูด นกั ท่องเทย่ี วต่อไป การด�ำเนินการท่ีผ่านมา พบว่า มีการเตรียมความพร้อมด้านบริการทางการแพทย์ และส่งเสริมการตลาดท่ีสามารถ เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการด�ำเนินโครงการด้านการตลาดที่ ส�ำคัญ เช่น โครงการ Amazing Health and Wellness in Thailand ของการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย และ โครงการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นอกจากนี้ ยังมีการให้ความส�ำคัญกับ การเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรที่เก่ียวข้องโดยการด�ำเนินโครงการวิจัยเพ่ือสร้างองค์ความรู้ด้านการดูแลรักษา สขุ ภาพ และโครงการพัฒนาบุคลากรท้ังด้านสุขภาพ และภาษาต่างประเทศเพื่อรองรับการท่องเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ 0 0 2555 อันดบั รายไดจ ากการทองเทยี่ วเชิงสขุ ภาพ 2557 2559 2561 55 1010 14 13 13 13 1515 17 17 18 2020 17 2525 3030 3535 4040 4545 41 Thailand Indonesia Malaysia ที่มา: Global Wellness Institute 168

การท่องเทีย่ ว 05 050302 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย แม้ว่า ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย เพื่อเพิ่มรายได้จาก ประเทศไทยจะมีชื่อเสียงด้านการบริการทางการแพทย์ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเทศไทยต้องเร่งรัดการ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ก ลุ ่ ม ลู ก ค ้ า ต ่ า ง ช า ติ ที่ มี ก� ำ ลั ง ซ้ื อ สู ง ด�ำเนินงานเพ่ือสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่องเท่ียว อย่างไรก็ดี ผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการ ต่อระบบการแพทย์และสาธารณสุขของไทย โดยเร่ง แข่งขันทางการท่องเที่ยวของประเทศไทยด้านสุขภาพ พัฒนาบริการทางการแพทย์และอนามัยส�ำหรับคนใน และสุขอนามยั พบวา่ ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดับที่ 88 ในปี ประเทศ มุ่งเน้นการเพิ่มผลิตภาพของแรงงานใน 2562 ซึ่งดีข้ึนจากอันดับที่ 90 ในปี 2560 สะท้อนถึง อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ผ่านการส่งเสริม ระบบสาธารณสุขในประเทศไทยยังไม่ดีพอ อาจกระทบ และสร้างบุคลากรการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพที่มีศักยภาพ ต่อความเชอ่ื ม่นั ของนกั ทอ่ งเทย่ี วเชงิ สุขภาพได้ มากข้ึน เช่น โครงการ Travel Medicine Excellent Center และการสร้างรูปแบบการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ แบบใหม่ ที่กระตุ้นให้เกิดการจับจา่ ยใช้สอยเพ่มิ เติม เพ่ือ เพิม่ รายได้จากการทอ่ งเท่ยี วเชงิ สุขภาพ 169

05 การท่องเที่ยว แผนแมบ่ ทย่อย การทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย 050303 เป้าหมาย สถานประกอบการด้านการท่องเทีย่ ว เชิงสุขภาพและบริการทางการแพทย์ ได้รบั มาตรฐานเพิ่มขึน้ คุณภาพและมาตรฐานของสถานประกอบการ เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการตัดสินใจเดินทางของนักท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย โดยการเพ่ิมจ�ำนวนสถานประกอบการท่ีมีคุณภาพ จะท�ำให้มีโอกาสในการรองรับ นักท่องเท่ียวที่มากข้ึน สามารถสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวให้กับชุมชน โดยเฉพาะในพื้นท่ีเมืองรองที่มีทรัพยากร บุคคลและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพจ�ำนวนมาก อย่างไรก็ตาม ควรให้ความส�ำคัญในประเด็นการพัฒนาการยกระดับ สถานประกอบการด้านการท่องเทีย่ วเชงิ สขุ ภาพใหไ้ ด้มาตรฐาน และการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการแพทย์ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ปัจจุบันยังไม่มีการเก็บ การด�ำเนินการที่ผ่านมา ได้มีการบังคับใช้กฎหมายท่ี ข้อมูลสถานประกอบการด้านการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ เก่ียวข้องกับสถานประกอบการด้านสุขภาพ เช่น พ.ร.บ. และบริการทางการแพทย์ที่สมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ พ.ศ. 2559 และ พ.ร.บ. สามารถเทียบเคียงจากข้อมูลของกรมส่งเสริมบริการ การสาธารณสุข พ.ศ. 2560 อย่างเคร่งครัด อีกท้ัง สขุ ภาพ ทไี่ ดเ้ กบ็ ขอ้ มลู จำ� สถานประกอบการสปา นวดเพอ่ื กรมสนับสนุนบริการสุขภาพซ่ึงเป็นหน่วยงานหลัก สขุ ภาพ และความงาม ที่ได้รบั การรบั รองมาตรฐาน ซ่งึ ใน ด้านการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ปีงบประมาณ 2562 มีจ�ำนวนสถานประกอบการที่ได้รับ ได้ด�ำเนินการสร้างความรู้ให้กับผู้ประกอบการเพื่อ มาตรฐานจ�ำนวน 3,312 แห่ง ขยายตัวร้อยละ 37 ต่อปี สุขภาพ และเพิ่มความสามารถในการตรวจสอบและ ท้ังน้ี หากมีการเช่ือมโยงสถานประกอบการเหล่านี้กับ รับรองมาตรฐานให้กับสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ กจิ กรรมทางการทอ่ งเทย่ี วได้ จะเปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะสง่ ผล โดยบูรณาการและให้อ�ำนาจกับท้องถิ่นในการตรวจสอบ ให้ประเทศไทยสามารถบรรลุค่าเป้าหมายท่ีก�ำหนดให้มี และรับรองมาตรฐานอยา่ งต่อเนอ่ื ง การขยายตวั ของจำ� นวนสถานประกอบการดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว เชงิ สขุ ภาพและบรกิ ารทางการแพทยร์ อ้ ยละ 5 ตอ่ ปี จำ� นวนสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพและผใู้ หบ้ ริการด้านสุขภาพ ท่ีไดร้ ับมาตรฐานจากกรมส่งเสริมบรกิ ารด้านสุขภาพ 5,000 60,000 4,500 50,000 4,000 51,998 40,000 30,000 3,500 3,312 20,000 3,000 2,793 10,000 2,500 - 2,000 1,777 1,500 16,619 19,807 1,000 500 2560 2561 2562 สถานประกอบการ (กทม.) สถานประกอบการ (ภูมิภาค) ผูใ้ หบ้ ริการ (รวม) ท่ีมา: กรมส่งเสริมบริการสุขภาพ 170

การท่องเทีย่ ว 05 050303 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ขอ้ เสนอแนะในการบรรลุเปา้ หมาย แมก้ ารดำ� เนินงานท่ี การบังคับใช้กฎหมายเก่ียวกับสถานประกอบการ ผ่านมา จะมีจ�ำนวนสถานประกอบการและผู้ให้บริการท่ี ด้านสุขภาพ ได้ก�ำหนดให้หน่วยงานหลักมีอ�ำนาจในการ ได้รับมาตรฐานเพ่ิมขึ้นค่อนข้างมาก แต่ยังมีสถาน ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้าน ประกอบการและผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่ยังไม่ได้รับ สุขภาพ และสามารถเอาผิดกับสถานประกอบได้ ซ่ึงเป็น มาตรฐานด้วยเช่นกัน จึงควรมีการเพิ่มประสิทธิภาพของ ไปตามท่ีระบไุ วใ้ นกฎหมาย อยา่ งไรกต็ าม ในสว่ นของการ การตรวจสอบมาตรฐานให้รวดเร็วขึ้น และบูรณาการกัน ดำ� เนนิ คดตี อ้ งใชเ้ วลาถงึ 120 วนั สง่ ผลใหส้ ถานประกอบการ ระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการบังคับใช้กฎหมาย ส่วนใหญ่ไม่เห็นความจ�ำเป็นของการขอรับมาตรฐาน อย่างเคร่งครัด พร้อมท้ังกระตุ้นให้ผู้บริโภคเห็นความ นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้ให้บริการส่วนใหญ่ไม่มีใบรับรอง สำ� คญั ของการใชบ้ รกิ ารกบั ผใู้ หบ้ รกิ ารและสถานประกอบการ ท่ีถูกต้องตามกฎหมายโดยเฉพาะผู้ให้บริการด้านสปา ท่ไี ด้รบั มาตรฐาน เพอื่ จูงใจและสร้างความตระหนกั ใหก้ บั การนวด และความงาม ผู้ประกอบการเห็นถึงความจ�ำเป็นในการได้รับมาตรฐาน นอกจากน้ี ควรมีการให้ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพ ของบุคลากรและสถานประกอบการแก่ผู้ประกอบการ ที่ต้องการรับรองมาตรฐานเพ่ือให้สามารถรักษาระดับ มาตรฐาน และควรมีการก�ำกับตดิ ตามสถานประกอบการ ท่ไี ดร้ บั มาตรฐานแลว้ อยา่ งต่อเนอื่ ง 171

05 การทอ่ งเทีย่ ว แผนแมบ่ ทย่อย การท่องเทย่ี วส�ำราญทางนำ้� เปา้ หมาย 050401 รายไดจ้ ากการท่องเท่ยี วส�ำราญ ทางน�้ำเพิ่ มขึน้ เนอ่ื งจากประเทศไทยมที รพั ยากรเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี วทางนำ�้ และมที า่ เรอื เพอื่ การทอ่ งเทยี่ วทงั้ แมน่ ำ�้ และทะเลจำ� นวนมาก จึงควรใช้โอกาสจากกระแสการท่องเท่ียวส�ำราญทางน้�ำที่ก�ำลังเติบโต ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวส�ำราญทางน้�ำ เพื่อเป็นทางเลือกในการสร้างรายได้จากการท่องเท่ียวให้กับประเทศไทย ถือว่าเป็นส่วนส�ำคัญในการสนับสนุน เป้าหมายการเพ่ิมสัดส่วนรายได้จากการท่องเท่ียวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ นอกจากนี้ การท่องเท่ียวส�ำราญ ทางน�้ำมีมูลค่าการจับจ่ายใช้สอยสูง แต่ความนิยมยังอยู่ในวงจ�ำกัด ซ่ึงเป็นรูปแบบการท่องเท่ียวที่ส่งผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อมค่อนข้างน้อย การสนับสนุนเป้าหมายการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเท่ียวของไทยน้ัน ควรให้ความส�ำคัญในประเด็นด้านความปลอดภัย พัฒนาความพร้อมของโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการท่องเที่ยวทางน้�ำ การพัฒนาธุรกจิ ท่ีเกยี่ วเน่ือง การพฒั นาปัจจัยสนบั สนนุ ด้านการทอ่ งเท่ียวทางน�ำ้ และการตลาดท่ีเข้ากบั กลมุ่ เปา้ หมาย อย่างมีประสิทธภิ าพ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ปัจจุบันประเทศไทย ต่อการท่องเที่ยวส�ำราญทางน้�ำของไทย อย่างไรก็ดี ยังไม่ได้มีการเก็บข้อมูลรายได้จากการท่องเท่ียวส�ำราญ ข้อมูลดังกล่าวแม้ว่าจะสะท้อนให้เห็นโอกาสในการ ทางน้�ำโดยตรง แต่สถานการณ์การเติบโตของการ พัฒนาการท่องเท่ียวทางน�้ำของไทยเพื่อตอบสนองความ ทอ่ งเทยี่ วสำ� ราญทางนำ้� ในภาพรวมมกี ารเตบิ โตในทางบวก ต้องการของตลาดในกลุ่มนี้ต่อไป แต่ปัจจัยที่น�ำมา แม้ในปี 2562 จะหดตัวเล็กน้อย ซ่ึงเป็นผลกระทบด้าน วิเคราะห์ยังเป็นเพียงปัจจัยในส่วนน้อย ซ่ึงหากจะพัฒนา ความเชื่อม่ันจากสถานการณ์เรือล่มท่ีภูเก็ต ท้ังน้ี ด้านการท่องเที่ยวทางน�้ำของไทยในภาพรวม ยังคงมี เมื่อพิจารณาจากข้อมูลจ�ำนวนวันของการท่องเที่ยว ปัจจัยส�ำคัญด้านความปลอดภัยโครงสร้างพื้นฐาน ส�ำราญทางน้�ำที่เติบโตเฉล่ียร้อยละ 12 ต่อปี อีกท้ัง ส่ิงอำ� นวยความสะดวก รวมถงึ การตลาดอีกมากทีต่ ้องเร่ง มีจ�ำนวนเรือส�ำราญท่ีเข้าจอดในท่าเรือของประเทศไทย ดำ� เนนิ การ เพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 4 ต่อปี ซ่ึงเป็นสัญญาณในทางบวก จจาํ ํานนววนนเรเรือือแแลละะววนั นั ททอ องงเทเทยี่ ี่ยววขขอองงนนักักททอองงเทเทยี่ ยี่ววสสาํ าํรราาญญททาางงเรเรอื อืในในไทไทยย จจาํ นํานวนวนเรเอืรือ(ล(ลาํ )าํ ) จจาํ นํานวนวนวนัวนั ททอ อ1งเง5ทเ0ทย่ี 01่ียว51ว5(0K(0K)0) 50500 500 454500 450 13001313000 40400 400 44222 443438388 424742277 1100111000 353500 350 422 900 90900 886611 861 778788888 700 70700 30300 300 500 50500 252500 250 114143433 123112233 20200 200 662244 300 30300 151500 150 624 100 10100 10100 100 8877 87 5050 50 00 จจาํ นาํ0นวนวนเรเอืรือ2T52Tr65ar06an0ns2ist5it60 จจํานํานวนวนเรเือรือTTuur2nr522na655ar16o6r1ou1unnddแแลละะoovevernrnigihghtt 25622526526จ2จํานาํ นวนวนวนัวันขขอ-อ1งกง0กา0รา-ทร1-ท01อ 0อง0เงทเทย่ี ยี่วว ท่ีมา: Cruise Lines Interทnท่ีมa่ีมาtาi:o:CnCraurulisiAesesLsLioninceeisastIniIontetnernr(nCaatLitIoiAon)naallAAssosocciaiatitoionn(C(CLLIAIA)) 172

การทอ่ งเทีย่ ว 05 050401 การด�ำเนินการท่ีผ่านมา พบว่า กระทรวงการท่องเที่ยว ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย เพื่อส่งเสริมให้เกิด และกีฬา ได้จัดท�ำแผนที่น�ำทางการพัฒนาการท่องเที่ยว การลงทุนในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวส�ำราญทางน�้ำ เรือส�ำราญระยะ 10 ปี ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริม ประเทศไทยต้องสร้างความเช่ือมั่นต่อการเติบโตของ การท่องเทย่ี วเรอื สำ� ราญ พ.ศ. 2561-2570 ซ่ึงในระยะท่ี อุตสาหกรรมท่องเท่ียวส�ำราญทางน�้ำให้กับนักลงทุน ผ่านมา ได้ให้ความส�ำคัญกับการปรับปรุงท่าเรือ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเตรียมความพร้อมในการ ท่องเที่ยว การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้มี รองรับนักท่องเที่ยวท้ังด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความ ประสิทธิภาพ การขยายตลาดด้วยการสร้างความร่วมมือ ปลอดภัย สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และธุรกิจเก่ียวเนื่องท่ี ระหว่างรัฐบาลไทยและสายการเดินเรือส�ำราญให้เข้ามา จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับนักท่องเที่ยว ควบคู่ไปกับการ ในประเทศไทยเพ่ิมเติม การพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ท�ำการตลาดเชิงรุกท่ีเหมาะสม ซึ่งการท่องเท่ียวแห่ง เช่ือมโยง และปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย เช่น พิธีการตรวจ ประเทศไทย มีโครงการขยายฐานตลาดนักท่องเที่ยว คนเขา้ เมืองของผ้โู ดยสารและลูกเรือ เปน็ ต้น กลุ่มนยิ มความหรหู รา สำ� หรบั ความพรอ้ มดา้ นโครงสรา้ ง ประเดน็ ทา้ ทายทสี่ ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมาย นกั ทอ่ งเทยี่ ว พนื้ ฐาน โดยเฉพาะทา่ เรอื ขนาดใหญ่ ซงึ่ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ส�ำราญทางน้�ำส่วนใหญ่ ให้ความส�ำคัญกับความพร้อม ต้องเร่งศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและเพ่ิมจ�ำนวนท่าเรือ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ได้ ขนาดใหญ่ เพื่อรองรับการขยายตัวของนักท่องเท่ียว มาตรฐานและปลอดภัย อีกทั้งความหลากหลายของ ขณะเดียวกัน ต้องเร่งพัฒนาปัจจัยสนับสนุนเพื่ออ�ำนวย ทรัพยากรการท่องเท่ียวท่ีดึงดูดความสนใจ แต่ในการ ความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยว เช่น โครงการการตรวจ พัฒนาการท่องเท่ียวส�ำราญทางน�้ำของประเทศไทยยังถูก คนเข้าเมืองที่รวดเร็ว และส่งเสริมการลงทุนในการขนส่ง จ�ำกัดด้วยคุณภาพและจ�ำนวนท่าเรือท่องเท่ียวที่มี เช่ือมโยงการท่องเที่ยว เป็นต้น นอกจากนี้ ประเทศไทย ความพร้อมและส่ิงอ�ำนวยความสะดวกต่อการรองรับเรือ ต้องให้ความส�ำคัญกับมาตรการสาธารณสุขที่สามารถ ส�ำราญขนาดใหญ่ไม่เพียงพอ ท�ำให้จ�ำนวนนักท่องเท่ียว ตอบสนองต่อปัญหาสุขอนามัย และโรคติดต่อร้ายแรง สำ� ราญทางนำ้� ทเี่ ดนิ ทางมายงั ประเทศไทยยงั มจี ำ� นวนนอ้ ย หรือโรคอุบัติใหม่ได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อสร้างความ ซึ่งมีผลต่อความเช่ือมั่นของภาคเอกชนที่จะลงทุน เช่ือมั่นให้แก่นักท่องเท่ียวในการตัดสินใจเดินทางมายัง พัฒนาส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีเกี่ยวข้อง ให้มีศักยภาพ ประเทศไทยด้วย ดึงดูดนักท่องเที่ยวมูลค่าสูง รวมไปถึงการลงทุนระบบ ขนส่งสาธารณะเชอื่ มโยงตามแผนที่นำ� ทางไว้ 173

05 การทอ่ งเทีย่ ว แผนแมบ่ ทยอ่ ย การทอ่ งเท่ยี วส�ำราญทางนำ้� เปา้ หมาย 050402 การขยายตวั ของท่าเรือท่องเทีย่ ว ในประเทศไทยเพิ่ มขึน้ การท่องเที่ยวส�ำราญทางน้�ำ เป็นการท่องเท่ียวทางเลือกหนึ่งที่สามารถเป็นแหล่งสร้างรายได้ส�ำคัญให้กับประเทศไทย ปัจจุบันแม้ว่าประเทศไทยจะมีท่าเรือจ�ำนวนมากท้ังทางทะเลและแม่น้�ำ เพ่ือการขนส่งผู้โดยสาร สินค้า และบริการ แต่รูปแบบการท่องเที่ยวทางน�้ำที่หลากหลายในปัจจุบัน ท�ำให้ประเทศไทยยังคงต้องพัฒนาและเตรียมพร้อมในด้าน โครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้ได้มาตรฐาน ดังน้ัน การเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนท่าเรือท่องเที่ยว ในประเทศไทยเพ่ือรองรับการท่องเท่ียวทางน้�ำท่ีจะขยายตัว เป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายด้านความ สามารถในการแข่งขันด้านการท่องเท่ียวของประเทศ โดยควรให้ความส�ำคัญในประเด็นด้านการส�ำรวจและการตลาด การสรา้ งทา่ เรอื ที่มีศกั ยภาพ การพัฒนาปรับปรงุ ท่าเรอื และการตลาดที่ดึงดูดกลุ่มเป้าหมาย สถานการณก์ ารบรรลเุ ปา้ หมาย ปัจจุบนั ประเทศไทยมีท่าเรอื ที่ใช้สำ� หรับการท่องเท่ียวทั้งหมด 34 แหง่ ซ่งึ อยูร่ ะหวา่ ง การพัฒนาปรับปรุงให้มีศักยภาพในการรองรับนักท่องเท่ียวเพิ่มข้ึน จ�ำนวน 5 แห่ง แบ่งเป็นท่าเรือบริเวณชายฝั่ง อันดามัน 2 แห่ง และชายฝง่ั ทะเลตะวนั ออก 3 แห่ง ทง้ั น้ี ในระยะที่ผ่านมาไม่ไดม้ ีการสรา้ งท่าเรอื แห่งใหม่ แต่เป็นการ ศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างท่าเรือขนาดใหญ่ในแหล่งใหม่ ๆ ซึ่งต้องใช้ระยะเวลานานเพื่อศึกษาและได้รับการ รับรองจากทุกหน่วยงานเก่ียวข้องก่อน เพื่อสร้างเป็นท่าเรือขนาดใหญ่แห่งใหม่ จึงเป็นไปได้ยากที่จะด�ำเนินการ แลว้ เสรจ็ ภายในระยะเวลาของแผนแมบ่ ทฯ (พ.ศ. 2561 – 2565) และบรรลคุ ่าเปา้ หมายทกี่ ำ� หนดไว้ บริเวณ จําแนลวะนอทเานเกรปือรทะอสงงเทคีย่ ว ทา เรือที่อยรู ะหวางการพัฒนาปรบั ปรงุ ชายฝง ทะเลอา วไทย 5 - ชายฝง ทะเลอันดามนั 23 2 แหง ไดแแลกะ 21)) ททาาเเรทือียนบาํ้เรลอืึกปภาูเกก็ตคลองจหิ ลาด ชายฝง ทะเลตะวนั ออก 6 3 แหง ไดแ ก 21)) ททาาเเททียยี บบเเรรืออื ทเฟอ องรศราี่ลเากาเะกสามะพยุ ะงัน และ 3) ทา เทยี บเรอื หาดรน้ิ เกาะพะงัน ทีม่ า: กรมเจา้ ทา่ การด�ำเนินการที่ผ่านมา พบว่ากระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้จัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาท่าเรือส�ำราญ (ท่าเรือ หลัก ท่าแวะพัก ท่าเรือเล็กรองรับจุดทอดสมอ และท่าเรือเชื่อมโยงไปยังแหล่งท่องเท่ียว) และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก หลังทา่ ภายใตย้ ุทธศาสตร์การส่งเสริมการทอ่ งเทยี่ วเรอื สำ� ราญ พ.ศ. 2561-2570 ท่ใี ห้ความสำ� คญั กบั การศึกษาความ เหมาะสมและส�ำรวจออกแบบท่าเทียบเรือเฟอร์ร่ี และท่าเรือยอช์ท เพ่ือเช่ือมโยงระหว่างท่าเรือส�ำราญ และท่าเรือ บริเวณแหลง่ ท่องเท่ียวตา่ ง ๆ ของจงั หวัดภูเกต็ พังงา กระบ่ี สรุ าษฎรธ์ านี และบรเิ วณอา่ วไทยตอนบน โดยทผ่ี า่ นมาได้ ร่วมกับกรมเจ้าท่า ศกึ ษาความเปน็ ไปได้ในการสรา้ งทา่ เรอื ขนาดใหญ่เพอื่ การทอ่ งเทย่ี วในแหลง่ ใหม่ ๆ ตามยทุ ธศาสตร์ อย่างต่อเน่ือง เช่น โครงการก่อสร้างปรับปรุงที่เมื่อด�ำเนินการปรับปรุงแล้วเสร็จจะสามารถให้บริการนักท่องเที่ยว เพม่ิ ขึ้นได้ 2 เท่า เปน็ ต้น 174

การทอ่ งเที่ยว 05 050402 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย การ ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย เน่ืองจากการสร้าง ขยายตัวของท่าเรือการท่องเที่ยวส�ำราญทางน้�ำแห่งใหม่ ท่าเรือใหม่ต้องใช้ระยะเวลานาน อาจท�ำให้ไม่สามารถ เป็นประเด็นท่ีค่อนข้างท้าทายส�ำหรับประเทศไทย ด�ำเนินการให้แล้วเสร็จในช่วงแผนแม่บทฯ (พ.ศ. 2561- เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวทางน�้ำที่ส�ำคัญของไทย 2565) อกี ทงั้ ปจั จบุ นั ประเทศไทยมที า่ เรอื เปน็ จำ� นวนมาก ส่วนใหญ่ อยู่ในพื้นที่ที่น้�ำไม่ลึกจึงไม่เพียงพอท่ีจะสร้าง จึงควรให้ความส�ำคัญในการพัฒนา ปรับปรุง และ ท่าเทียบเรอื ขนาดใหญ่ หรอื Cruise ทำ� ใหก้ ารศกึ ษาและ ขยายท่าเรือท่ีมีอยู่เพ่ือให้สามารถรองรับเรือส�ำราญได้ ประเมินความเป็นไปได้ของการก่อสร้าง และผลกระทบ ในขณะเดียวกันอาจพิจารณาสร้างจุดเชื่อมต่อระหว่าง ทางสิ่งแวดล้อม (EIA) ค่อนข้างยากและใช้เวลานาน เรือส�ำราญกับท่าเรือขนาดเล็ก โดยควรเร่งรัดการด�ำเนิน นอกจากนี้ ท่าเรือเดิมที่มีอยู่ไม่สามารถบริหารจัดการ โครงการปรับปรุงท่าเทียบเรือเพื่อการท่องเท่ียว และ เชื่อมโยงกับแหล่งซ้ือสินค้าและการท่องเท่ียว ส่งผลให้ โครงการส�ำรวจออกแบบเพ่ือก่อสร้างจุดทอดสมอเรือ ไม่ได้รับประโยชน์จากการท่องเท่ียวรูปแบบน้ีอย่างเต็ม ส�ำราญ (Cruise) และท่าเทียบเรือเล็ก (Landing Pier) ประสทิ ธิภาพ บริเวณอ่าวไทยและชายฝั่งอันดามันของกรมเจ้าท่า เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการท่องเท่ียวส�ำราญทางน�้ำ ใหแ้ กป่ ระเทศไทยดว้ ย  175

05 การทอ่ งเทีย่ ว แผนแม่บทย่อย การท่องเท่ยี วเชือ่ มโยงภูมิภาค เปา้ หมาย 050501 ประเทศไทยเป็นจดุ เช่อื มต่อการเดินทาง ของนกั ท่องเทีย่ วในภมู ิภาคเอเชยี ประเทศไทยมีความได้เปรียบในดา้ นที่ต้ังที่อยู่กลางของภูมิภาคอาเซียน ถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ส�ำคัญต่อการคา้ ขายและ การเดินทางท่องเท่ียว อีกท้ังความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่งที่ครบถ้วนทั้งทางบก น�้ำ และอากาศ ในการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวในภูมิภาคจึงถือได้ว่าประเทศไทยมีความพร้อมโดยเฉพาะการเป็นจุดเชื่อมต่อไปยัง ประเทศอน่ื ๆ นอกจากนี้ การสรา้ งเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี วเชอื่ มโยงกบั ประเทศเพอื่ นบา้ นและในภมู ภิ าค ซงึ่ เปน็ ทางเลอื ก ใหม่ของการท่องเท่ียว และยังเป็นการดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเขา้ มาจับจ่ายใช้สอยในพื้นท่ีเมืองรองที่อยู่ติดกับประเทศ เพ่ือนบ้าน ซึ่งจะสนับสนุนให้เกิดการขยายตัวของรายได้จากการท่องเท่ียวในเมืองรอง ทั้งน้ี ควรให้ความส�ำคัญในการ พัฒนาความพร้อมด้านโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการคมนาคมขนส่งเช่ือมโยงภูมิภาค ความพร้อมด้านสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกผ่านแดน ความร่วมมือด้านการตลาด การส่งเสริมเส้นทางท่องเที่ยวเช่ือมโยง และการผ่อนปรน กฎระเบียบในภูมิภาคอาเซียน สถานการณก์ ารบรรลเุ ปา้ หมาย การเดนิ ทางผา่ นแดนของนกั ทอ่ งเทย่ี ว เข้าประเทศไทยผ่านจุดผ่านแดนท้ังทางบก ทางน�้ำ และทางอากาศ ในช่วงปี 2561 -2562 พบวา่ นักทอ่ งเทย่ี วอาเซยี น และนอกอาเซียน เดินทางมายงั ประเทศไทยเพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 9.3 และ 6.6 ตามลำ� ดบั และ หากพิจารณาจ�ำนวนนักท่องเท่ียวท่ีเข้ามายังประเทศไทยทางด่าน ชายแดนทางบก และทางน�้ำ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้าน พบว่ามีอัตราการขยายตัวของจ�ำนวนนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่างมี นัยส�ำคญั คือ ร้อยละ 10 และ รอ้ ยละ 60 ตามลำ� ดบั สะทอ้ นให้เหน็ ถึง ความนิยมในการเดินทางท่องเท่ียวภายในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งเป็นผล จากการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานที่มีศักยภาพ และการอ�ำนวย ความสะดวกในการเดินทางข้ามแดน รวมถึงการยกเว้นการขอวีซา่ ใน การเข้าออกประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ดังน้ัน จากปัจจัยดังกล่าว จึงมีความเป็นได้สูงท่ีประเทศไทยจะสามารถบรรลุค่าเป้าหมายที่ กำ� หนดใหอ้ ตั ราการขยายตวั ของนกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตทิ เ่ี ดนิ ทางผา่ นแดน ระหวา่ งประเทศไทยและประเทศสมาชกิ อาเซยี นเพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 5 ตอ่ ปี การด�ำเนินการท่ีผ่านมา พบว่า ประเทศไทยใช้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศในการขับเคล่ือนการท่องเที่ยว เชื่อมโยงภูมิภาค เช่น คณะท�ำงานด้านการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง ที่ประกอบไปด้วยประเทศไทย กมั พชู า สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม และจีน และคณะท�ำงานโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย ซ่ึงประกอบไปด้วย ประเทศไทย มาเลเซยี และอินโดนเี ซยี ท่ไี ด้ดำ� เนินการเตรยี มความพร้อมด้านโครงสรา้ งพน้ื ฐานทีเ่ ชอ่ื มโยงและสอดรบั กับการส่งเสริมการตลาดและเส้นทางท่องเท่ียวแบบเช่ือมโยง อีกท้ังปรับปรุงระเบียบการเดินทางระหว่างประเทศ ใหส้ ะดวก และการพฒั นาสิง่ อำ� นวยความสะดวกในการผา่ นแดน เปน็ ต้น 176

การทอ่ งเที่ยว 05 050501 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ความท้าทายส�ำคัญของการท่องเท่ียวเชื่อมโยงภูมิภาค คือ ข้อมูลทาง สถิตินักทอ่ งเที่ยวเชื่อมโยงทีส่ มบรู ณ์ครบถ้วน อันจะนำ� ไปสู่การวางแผนการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน รวมทัง้ มกี จิ กรรม เช่ือมโยง และการตลาดร่วมกันระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ี การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือเชื่อมโยง การทอ่ งเทีย่ วกับภมู ภิ าคในสว่ นของประเทศไทยใชเ้ วลานานในการด�ำเนินการเมือ่ เทียบกับประเทศเพอ่ื นบา้ น เนอื่ งจาก การลงทนุ ในโครงสรา้ งพน้ื ฐานของประเทศเพ่ือนบ้านเป็นการลงทุนจากต่างประเทศ อาทิ ประเทศจีน ท่ีมีการพัฒนา โครงสร้างพ้ืนฐานอย่างรวดเร็ว ซ่ึงการด�ำเนินการล่าช้าดังกล่าวอาจส่งผลให้ประเทศไทยเสียโอกาสท่ีจะดึงดูด นักท่องเท่ียวได้ ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย ประเทศไทยควรให้ความส�ำคัญกับการจัดท�ำฐานข้อมูลท่ีจ�ำเป็นเพื่อสนับสนุน การท่องเท่ียวเช่ือมโยงในภูมิภาค โดยเร่งบูรณาการกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง หาวิธีเก็บข้อมูลนักท่องเท่ียวที่เดินทาง ท่องเทย่ี วเช่อื มโยงระหว่างประเทศไทยและประเทศในภูมภิ าคอาเซียน โดยอาจขอความรว่ มมอื จากส�ำนกั งานตรวจคน เข้าเมอื ง ให้เก็บขอ้ มลู การเข้าออกประเทศในอาเซียนก่อนจะมาประเทศไทยและหลงั จากออกจากประเทศไทย เปน็ ตน้ เพ่ือเป็นข้อมูลในการออกแบบเส้นทางท่องเท่ียว และการตลาดท่องเท่ียวเช่ือมโยง นอกจากนี้ ควรเร่งให้ความส�ำคัญ กับโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือการท่องเที่ยว และเช่ือมโยงโครงข่ายถนนสายหลัก และอ�ำนวยความสะดวก ด้านการคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน อีกท้ังเพ่ือให้นักท่องเท่ียวทราบถึงโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอ�ำนวย ความสะดวกต่าง ๆ และเส้นทางการท่องเท่ียวเช่ือมโยงที่ประเทศไทยด�ำเนินการแล้ว ควรมีโครงการด้านการตลาด เชิงรกุ ทเี่ หมาะสม เช่น โครงการปั่นข้ามโขง 2 สะพาน เช่ือมโยงประเทศเพือ่ นบา้ น (ไทย - ลาว) เพื่อใหส้ ะพานดงั กล่าว และเส้นทางท่องเที่ยวเช่ือมโยงกับ สปป.ลาว เป็นที่รู้จักมากข้ึน ซึ่งจะเป็นโอกาสส�ำคัญในการดึงดูดนักท่องเท่ียวที่มา โดยทางรถไฟ จีน-สปป.ลาว ใหเ้ ข้ามาเทีย่ วในเส้นทางท่องเทย่ี วลุม่ แม่น�้ำโขงของไทย เป็นตน้ 30,000,000 คน จ�ำนวนนักทอ่ งเท่ียวเดินทางเขา้ ประเทศไทยผ่านจุดผา่ นแดน ปี 2561-2562 27,000,000 422 438 427 27,394,957 9,322,508 10,191,391 24,000,000 26,339,858 28,075,304 25,720,391 21,000,000 18,000,000 15,000,000 87 143 123 12,000,000 4,851,795 5,350,575 4,828,627 9,000,000 611,774 667,412 4,462,693 6,000,000 12,189 12,935 3,000,000 8,020 7,693 0 2560 ทางทะเล 2561 2560 ทางบก 2561 2560 ทางอากาศ 2561 2560 รวม 2561 4,462,693 4,828,627 9,322,508 10,191,391 Asean tounrists 8,020 12,189 4,851,795 5,350,575 25,720,391 27,394,957 26,339,858 28,075,304 Non Asean tounrists 7,693 12,935 611,774 667,412 ท่มี า: กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกฬี า 177

05 การทอ่ งเทีย่ ว แผนแม่บทยอ่ ย การพัฒนาระบบนิเวศการท่องเที่ยว เปา้ หมาย 050601 นักท่องเทย่ี วมคี วามปลอดภยั ในชีวติ และ ทรัพย์สินมากขน้ึ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเป็นประเด็นส�ำคัญที่ส่งผลต่อความเชื่อม่ันและการตัดสินใจเดินทางมาท่องเที่ยวยัง ประเทศไทย ซึ่งเป็นส่ิงที่ส�ำคัญในการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวท่ีทุกประเทศให้ความ ส�ำคญั ท้ังในแงข่ องคณุ ภาพของสนิ ค้าและบริการทมี่ มี าตรฐานและปลอดภัย ตลอดจนการมกี ฎหมายและการบงั คบั ใช้ ที่มีประสิทธิภาพ ทั้งน้ี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายควรให้ความส�ำคัญในด้านมาตรการด้านความปลอดภัย การบังคับใช้ กฎหมายอย่างเครง่ ครัด และความนา่ เชอื่ ถือของการบริการ 2558 2560 2562 คอนัวาดมบั ปคลวอาดมภมยััน่ คงและ 0 ตอาน้ ชทญนุ าทการงรธมุรกจิ ส�ำหรบั 20 คใหว้บามริกนาา่ รเชขอ่ือถงตือำ�ขรอวงจการ ตกาน้ รทกนุ อ่ ทกาางรธรุรา้ กยิจสำ� หรับ 40 ดก่อชั นกาีกรารรา้เกยิดการ ฆอตัาตรารกการรรเมกดิ 60 80 100 111 120 132 118 140 ที่มา : TTCI 160 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย จากอันดับขีดความ การด�ำเนินการท่ีผ่านมา พบว่า กระทรวงการท่องเท่ียว สามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว (TTCI) ในปี และกีฬา ได้ดำ� เนินการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย 2562 ด้านความมั่นคงปลอดภัย ประเทศไทยได้อันดับท่ี ของแหล่งท่องเท่ียว ตลอดจนการให้บริการของต�ำรวจ 111 ปรับตัวดีข้ึน 7 อันดับ จากปี 2560 ซึ่งยังห่างจาก ท่องเท่ียว โดยการเพิ่มประสิทธิภาพของศูนย์บริการ ค่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ในอันดับท่ี 70 ค่อนข้างมาก รับแจ้งเหตุนักท่องเท่ียว และก�ำหนดให้แต่ละแหล่ง แม้จะปรับตัวดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง แต่ปรับตัวค่อนข้างช้า ท่องเที่ยวหลักมีต�ำรวจท่องเที่ยวที่มีสัญชาติเดียวกับ เนื่องจากตัวชี้วัดภายในส่วนใหญ่นั้นเป็นจุดอ่อนและ นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่ในพ้ืนที่น้ัน เพื่อให้การบริการ ไมไ่ ด้มีการปรับตัวอยา่ งก้าวกระโดด สะดวกยิ่งข้ึน อย่างไรก็ตาม อาจยังไม่เพียงพอต่อการ ยกอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านนี้ เนื่องจากอันดับดังกล่าวรวมถึงความปลอดภัยในชีวิต และทรพั ย์สนิ ในภาพรวมของทงั้ ประเทศดว้ ย ซึ่งทผ่ี ่านมา หน่วยงานด้านความมั่นคงของประเทศได้ให้ความส�ำคัญ ด้านความปลอดภัยของแหล่งท่องเท่ียว รวมถึงการสร้าง ส�ำนึกด้านความปลอดภัย โดยมุ่งเน้นการสร้างความ ร่วมมือระหว่างภาคประชาสังคม ชุมชน องค์กรภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพ้นื ท่ี 178

การท่องเที่ยว 05 050601 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย แม้ว่า ข้อเสนอแนะในการบรรลเุ ป้าหมาย จากความทา้ ทายใน กรมการท่องเท่ียวจะก�ำหนดและควบคุมมาตรฐาน ประเด็นด้านมาตรฐานและคุณภาพของธุรกิจท่องเท่ียว ความปลอดภัยของธุรกิจการท่องเท่ียวมาอย่างต่อเน่ือง ประเทศไทยควรเร่งสร้างความน่าเชื่อถือในธุรกิจ แต่รูปแบบธุรกิจท่ีเกิดขึ้นใหม่ก็มีจ�ำนวนเพิ่มข้ึนอย่าง ท่องเท่ียว ผ่านการเร่งรัดด�ำเนินโครงการส่งเสริมการ ต่อเนื่องเช่นเดียวกัน ท�ำให้ไม่สามารถก�ำหนดและ ประเมนิ และรบั รองมาตรฐานธรุ กจิ ทอ่ งเทยี่ วประเภทตา่ ง ๆ ควบคุมมาตรฐานส�ำหรับธุรกิจใหม่ได้อย่างครบถ้วน ในส่วนของมาตรฐานด้านความปลอดภัย ควรมีการ อกี ทง้ั ทผ่ี า่ นมาการบงั คบั ใชก้ ฎหมายยงั ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพพอ บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการ รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานยังไม่ แก้ปัญหาด้านการท่องเท่ียวและการให้ความช่วยเหลือ ครอบคลุมธุรกิจท่ีเก่ียวข้องกับการท่องเที่ยวอย่างท่ัวถึง แก่นักท่องเท่ียวในกรณีเกิดเหตุร้าย โดยเร่งผลักดัน ขณะเดียวกันยังคงมีธุรกิจที่ผิดกฎหมาย เช่น บริษัท โ ค ร ง ก า ร อ� ำ น ว ย ก า ร แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า นั ก ท ่ อ ง เ ที่ ย ว น�ำเท่ียวท่ีหลอกลวงนักท่องเที่ยว และที่พักท่ีไม่ได้ ถู ก ห ล อ ก ล ว ง แ ล ะ ช ่ ว ย เ ห ลื อ นั ก ท ่ อ ง เ ท่ี ย ว เ พ่ื อ ใ ห ้ จดทะเบยี น เป็นตน้ นักท่องเท่ียวรู้สึกเชื่อมั่นกับการช่วยเหลือของภาครัฐ รวมทั้งการประชาสมั พนั ธ์และเตือนภัยดา้ นการท่องเทย่ี ว อย่างไรก็ดี หน่วยงานด้านความม่ันคงที่เกี่ยวข้องต้องให้ ความสำ� คญั กบั การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซ่งึ จะเปน็ อกี หน่งึ ปัจจยั ส�ำคญั ในการบรรลุเป้าหมาย 179

05 การท่องเทีย่ ว แผนแมบ่ ทย่อย การพัฒนาระบบนเิ วศการท่องเที่ยว เปา้ หมาย 050602 โครงสรา้ งพื้นฐานเพื่อสนบั สนุน การทอ่ งเทีย่ วมคี ณุ ภาพและมาตรฐานดขี น้ึ การเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นกลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของหลายประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดการแข่งขัน ทั้งในระดับประเทศ และภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันการแข่งขันทางด้านราคาไม่สามารถเป็นจุดดึงดูดนักท่องเท่ียว ที่ย่ังยืนได้อีกต่อไป การพัฒนาคุณภาพของการท่องเที่ยวและบริการ ตลอดจนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทั้งระบบ จึงมีความส�ำคัญต่อการตัดสินใจในการเดินทางมายังจุดหมายปลายทางของนักท่องเท่ียว ขณะเดียวกันความพร้อม ด้านโครงสร้างพื้นฐานยังเป็นส่วนช่วยสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเท่ียว ท้ังนี้ ควรให้ความส�ำคัญในการพัฒนาความพร้อมของโครงสร้างพ้ืนฐาน การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวอย่างไร้รอยต่อ และ การสง่ เสริมการลงทนุ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย จากอันดับขีดความ การด�ำเนินการที่ผ่านมา พบว่า กระทรวงการท่องเที่ยว สามารถในการแข่งขันด้านการท่องเท่ียว (TTCI) ในปี และกีฬาร่วมกับกระทรวงคมนาคม เตรียมความพร้อม 2562 ด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมทางบก ดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐานเพอื่ รองรับการท่องเที่ยว โดยมีการ และทางทะเลของประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี 72 ซ่ึง พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการคมนาคมที่เช่ือมโยงกับ เป็นการคงอยู่ในอันดับเดิมนับตั้งแต่ปี 2560 และในส่วน แหล่งท่องเที่ยวทั้งภายในและระหว่างประเทศ ในส่วน ของโครงสร้างพ้ืนฐานทางอากาศ ประเทศไทยอยู่ใน ของโครงสร้างพื้นฐานทางอากาศได้มีการเพิ่มเท่ียวบิน อันดับที่ 17 ซง่ึ ปรับตวั ดีข้นึ 3 อนั ดบั จากปี 2560 ซึง่ เมอ่ื ภายในและระหว่างประเทศ รวมท้ังขยายขีดความ เทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียนไทยยังคงอยู่ต�่ำกว่า สามารถในการรองรับนักท่องเท่ียวของสนามบินหลัก ประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย เมื่อพิจารณาค่าเป้าหมาย และรองอย่างต่อเน่ือง เพ่ือรองรับจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการคมนาคมทางบกและทาง เมืองรองที่ก�ำลังขยายตัว ในส่วนของโครงสร้างพ้ืนฐาน ทะเลท่กี �ำหนดไว้ท่อี นั ดบั 50 ในปี 2565 ยังคงเปน็ ความ ทางน�้ำ ประเทศไทยมีท่าเรือท่องเที่ยวทั้งบริเวณแม่น้�ำ ท้าทายอยา่ งมากของประเทศไทยทจ่ี ะบรรลเุ ป้าหมาย และทะเลจ�ำนวนมากที่สามารถสนับสนุนการท่องเท่ียว ทางน�ำ้ และในส่วนโครงสร้างพ้ืนฐานทางบก ประเทศไทย มีโครงข่ายถนนที่ครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศ รวมถึงมีจุดเชื่อมโยงกับเครือข่ายถนนของประเทศ เพ่ือนบ้าน โดยที่ผ่านมากระทรวงคมนาคมได้ ด�ำเนินการตามภารกิจเพื่อพัฒนาโครงข่ายถนน ราง และน�้ำอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการบรรลุ เปา้ หมาย 180

การทอ่ งเทีย่ ว 05 050602 อันดับขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการท่องเท่ียว (TTCI) ด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคม โดย WEF ป� 2558 โครงสร�างพื้นฐาน ป� 2560 ป� 2562 ไทย สงิ คโปร� มาเลเซีย ไทย สงิ คโปร� มาเลเซยี ไทย สงิ คโปร� มาเลเซยี โครงสร�างพนื้ ฐานดา� นคมนาคมทางอากาศ 17 6 21 20 6 21 22 7 25 โครงสร้างพืน� ฐานด้านการคมนาคมทางบก 71 2 35 72 2 34 72 2 27 และทางทะเล ทีม่ า: TTCI ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย การคมนาคมทางบกและทางทะเล โดยเฉพาะประเด็น ประเทศไทยมีโครงสร้างพ้ืนฐานและการคมนาคม ด้านคุณภาพที่ยังไม่เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บริการ คอ่ นขา้ งดใี นเมอื งทอ่ งเทย่ี วสำ� คญั มสี นามบนิ ทกี่ ระจายตวั หน่วยงานที่เก่ียวข้องจึงควรให้ความส�ำคัญกับคุณภาพ อยู่ทั่วประเทศ มีถนนท่ีสามารถเช่ือมโยงการเดินทาง ของโครงการต่าง ๆ เช่น กรมทางหลวงชนบทควรให้ ระหว่างจังหวัดต่าง ๆ แต่คุณภาพของโครงสร้างพ้ืนฐาน ค ว า ม ส� ำ คั ญ กั บ คุ ณ ภ า พ ข อ ง ถ น น แ ล ะ ส่ิ ง อ� ำ น ว ย เหล่าน้ียังไม่เป็นที่พึงพอใจของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะ ความสะดวกภายในโครงการพัฒนาเส้นทางท่องเท่ียว ประเด็นความสะอาด และความปลอดภัย รวมถึงการ เลียบชายฝั่งทะเลภาคใต้ และกรมเจ้าท่าควรยกระดับ คมนาคมทส่ี ามารถเขา้ ถงึ และเชอ่ื มโยงกบั แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว คุณภาพของท่าและส่ิงอ�ำนวยความสะดวกภายใน แบบไร้รอยต่อ นอกจากน้ี โครงสร้างพื้นฐานทางน้�ำ ท่าเทียบเรือเฟอร์ร่ีเกาะสมุยที่อยู่ระหว่างปรับปรุง ในส่วนของท่าเรือขนาดใหญ่ท่ีได้มาตรฐานยังคงเป็น เปน็ ต้น นอกจากน้ี จากแนวโนม้ การทอ่ งเทยี่ วแบบอิสระ ข้อจ�ำกัดของประเทศไทยในการส่งเสริมการท่องเที่ยว ที่เดินทางท่องเท่ียวด้วยตัวเองพึ่งพาการขนส่งสาธารณะ ทางนำ�้ ซง่ึ เปน็ ทางเลอื กใหมท่ ป่ี ระเทศไทยใหก้ ารสนบั สนนุ ก�ำลังขยายตัว จึงควรเร่งส่งเสริมการลงทุนในโครงสร้าง ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย จากอันดับขีดความ พ้ืนฐานด้านการขนส่งท้ังทางบกและทางทะเล โดยค�ำนึง สามารถในการแขง่ ขันด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานและคณุ ภาพ ถึงความครอบคลุมทั้งเส้นทางหลักและเส้นทางรองที่จะ ประเด็นท่ียังเป็นจุดอ่อน คือ โครงสร้างพื้นฐานด้าน เข้าสู่แหล่งท่องเที่ยวได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และ ปลอดภยั ย่ิงขึน้   181

05 การทอ่ งเทีย่ ว แผนแม่บทยอ่ ย การพัฒนาระบบนิเวศการท่องเที่ยว เป้าหมาย 050603 การท่องเทีย่ วอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ ต่อสงั คมและสิ่งแวดล้อมดีขึน้ การท่องเทย่ี วอยา่ งมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและสิ่งแวดล้อม คือ การท่องเที่ยวท่ีเปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม ไม่ก่อให้เกิด ความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและชุมชน ซึ่งนอกจากจะเป็นการตอบสนองต่อแนวโน้มการท่องเท่ียวใหม่ แนวอนุรกั ษท์ ่ีกำ� ลังเตบิ โต ยังเปน็ การรักษาทรัพยากรการทอ่ งเทีย่ วของไทยให้สามารถแขง่ ขันกับประเทศคแู่ ข่งไดอ้ ย่าง ย่ังยืน ส่งผลต่ออันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว ท้ังนี้ ในการขับเคล่ือนให้บรรลุเป้าหมาย ควรด�ำเนินการสร้างความตระหนักต่อความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และพัฒนาระบบการจัดการ สงิ่ แวดล้อมที่มีประสทิ ธภิ าพ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ในการจัดอันดับ ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ปัญหา ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาหลักส�ำหรับ ด้านความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การท่องเท่ียวของไทย ที่ไม่สามารถจัดการระบบจัดการ โดย WEF ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดบั ที่ 130 ลดลง 8 อนั ดับ สิ่งแวดล้อมทม่ี ปี ระสิทธิภาพได้ แม้จะมีกฎหมายเพือ่ ดแู ล จากปี 2560 และเปน็ อันดับท่ี 7 ของอาเซียน ซ่ึงหา่ งจาก รักษาส่ิงแวดล้อม แต่ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการ ค่าเปา้ หมายท่ตี ัง้ ไว้ในอันดับท่ี 110 ถึง 20 อันดบั อีกท้งั บังคับใช้กฎหมาย โดยเฉพาะในพ้ืนที่ท่องเท่ียวหลักที่มี ยังมีปัจจัยที่ส่งผลในเชิงลบ และมีตัวชี้วัดที่ควบคุมยาก จ�ำนวนนักท่องเที่ยวเกินความสามารถในการรองรับ เชน่ คา่ ความเขม้ ขน้ ของ PM 2.5 ซึ่งถือเปน็ ความทา้ ทาย นอกจากน้ียังมีการรณรงค์ให้เกิดการท่องเที่ยวในแหล่ง ในการบรรลุคา่ เปา้ หมายทก่ี �ำหนดไว้ ท่องเท่ียวรอง เพื่อลดการกระจุกตัวของนักท่องเท่ียว การด�ำเนินการที่ผ่านมา พบว่า ประเด็นความยั่งยืนเป็น แต่แหล่งท่องเที่ยวท่ีมีการพัฒนาใหม่ยังไม่เป็นที่รู้จักต่อ ประเด็นท่ีทุกหน่วยงานด้านการท่องเที่ยวให้ความส�ำคัญ นักท่องเท่ียวมากนัก และความพร้อมท้ังในด้านของ โดยเฉพาะการรักษาส่ิงแวดล้อมของแหล่งท่องเท่ียว โครงสร้างพื้นฐาน และบุคลากรการท่องเท่ียว ท�ำให้ ต่าง ๆ โดยเพ่ิมสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับแหล่งท่องเท่ียวหลัก ไมส่ ามารถถา่ ยเทนกั ทอ่ งเทยี่ วออกจากแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วหลกั และน�ำเสนอแหล่งท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ให้เป็นท่ีรู้จัก ไดเ้ ทา่ ทค่ี วร ส่งเสริมการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน รวมถึงเส้นทาง การท่องเที่ยวท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพื่อลดการ กระจุกตัวของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวหลัก อีกทั้ง รณรงค์สร้างวัฒนธรรมทางการท่องเท่ียวแบบใหม่สู่การ ท่องเท่ียวที่ย่ังยืน โดยจะเน้นน�ำเสนอเน้ือหาท่ีสอดคล้อง กับพฤติกรรมและความสนใจของกลุ่มเป้าหมายแต่ละ กลุ่ม เพื่อสร้างการมีจิตส�ำนึกที่ดีต่อการท่องเท่ียวให้ ตรงกบั ความตอ้ งการมากขึ้น 182

การทอ่ งเทีย่ ว 05 050603 อันดบั อนั ดับขีดความสามารถดานความยัง่ ยนื ของสิ่งแวดลอมและทรพั ยากรธรรมชาติ 2558 2560 2562 40 ความยัง่ ยนื ดา นสิ่งแวดลอ ม 50 ความเขม งวดของกฎระเบยี บดา นสิง่ แวดลอม 60 การบงั คับใชก ฎระเบียบดา นสง่ิ แวดลอ ม 70 ความยัง่ ยืนของการพฒั นาอุตสาหกรรมการ ทองเท่ียวและการทองเทย่ี ว 80 คา PM 2.5 90 การทาํ สนธสิ ัญญาดานสง่ิ แวดลอม 100 แรงดนั น้าํ 110 111616 12122 สงิ่ มชี วี ิตท่มี คี วามเส่ยี งตอ การสญู พันธุ 120 การเปลย่ี นแปลงของสภาพปา 130 113300 การบําบัดนํ้าเสีย 140 ท่มี า: TTCI ข้อเสนอแนะในการบรรลุเป้าหมาย มุ่งเน้นการสร้างความตระหนักต่อความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม อาทิ โครงการสื่อสารสร้างกระแสท่องเที่ยวและความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม โดยการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย (ททท.) ท่ียังไม่มีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม ทไ่ี ม่มีประสทิ ธิภาพ ซ่ึงเปน็ แนวทางสำ� คัญทีก่ ่อใหเ้ กิดความย่ังยืนอย่างแท้จรงิ หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องจงึ ควรพัฒนาระบบ การจัดการที่ยั่งยืน และเพิ่มมาตรการการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมมากข้ึน นอกจากน้ี เพื่อให้โครงการกระจาย พื้นท่ีและช่วงเวลาท่องเที่ยวของ ททท. ประสบผลส�ำเร็จอันจะน�ำไปสู่การลดลงของการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวหลัก หน่วยงานที่เก่ียวข้องควรเร่งพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวและบุคลากรด้านการท่องเที่ยวบนพ้ืนฐาน ของอัตลักษณ์ท้องถิ่นเพื่อเตรียมความพร้อมให้แหล่งท่องเที่ยวรองมีความดึงดูดและมีความพร้อมที่จะรองรับ นักทอ่ งเทีย่ ว 183

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น 06 พื้นทแ่ี ละ เมอื งนา่ อยอู่ จั ฉรยิ ะ ฿ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยทุ .ธ..ศ..า.ส..ต..ร..ช..า.ต...ิด.า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การสรางโอกาส การสรา งการเติบโต การในสกราางรคแวขามงสขามันารถ และความเสมอภาค บนคุณภาพชีวิตที่เปน มิตรตอ สงิ่ แวดลอ ม ทางสังคม “พัฒนาเมอื งนา่ อยอู่ จั ฉรยิ ะ ศนู ยก์ ลางความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม ดว้ ยผงั ภมู นิ เิ วศอยา่ งยง่ั ยนื พรอ้ มระบบการจดั การเมอื งทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือลดความเหลอ่ื มลำ�้ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในทกุ พื้นท”่ี

พื้นทีแ่ ละเมอื งนา่ อยอู่ ัจฉรยิ ะ 06 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (6) พ้ืนท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเมืองน่าอยู่ ในทุกภาคของประเทศ เพ่ือเป็นศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นแหล่งจ้างงานและท่ีอยู่อาศัย เพอ่ื กระจายความเจรญิ ในทกุ ภมู ภิ าคของประเทศอยา่ งมรี ะบบการบรหิ ารจดั การเมอื งทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมี 3 เปา้ หมาย ระดบั ประเดน็ ไดแ้ ก่ (1) ประเทศไทยมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั สงู ขน้ึ เกดิ ศนู ยก์ ลางความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และสังคมในทุกภูมิภาคของประเทศเพื่อกระจายความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม (2) ประเทศไทยมีพ้ืนท่ี มีแผนผังภูมินิเวศเพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ชนบทมั่นคง เกษตรย่ังยืน และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทง้ั ผงั พนื้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ แหลง่ โบราณคดี และ (3) ชอ่ งวา่ งความเหลอื่ มลำ�้ ระหวา่ งพนื้ ทล่ี ดลง ท้ังนี้ แผนแม่บทประเด็นดังกล่าวสนับสนุนการบรรลุผลสัมฤทธ์ิการพัฒนาตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขัน ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม และดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั การประเมินผลลัพธก์ ารดำ� เนนิ การทส่ี ง่ ผลต่อการบรรลเุ ป้าหมาย 060001 (1) ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น เกิดศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม ในทุกภูมิภาคของประเทศ เพ่ือกระจายความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม พิจารณาจากมูลค่า การลงทุนในเมืองในพื้นท่ีเป้าหมาย เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 25 ในช่วง 5 ปี (2561 – 2565) หรือเฉล่ียเพ่ิมข้ึนร้อยละ 5.8 ต่อปี โดยพิจารณาเทียบเคียงจากมูลค่าทุนจดทะเบียนนิติบุคคลในพื้นที่เป้าหมาย พบว่ามีมูลค่าทุนจดทะเบียน นิติบุคคลปี 2562 เพ่ิมข้ึนจากปี 2561 ทุกจังหวัดพ้ืนที่ เป้าหมาย โดยมี 7 จังหวัดพ้ืนท่ีเป้าหมายท่ีมีมูลค่า สูงกว่าค่าเฉล่ียที่ก�ำหนดไว้ (ร้อยละ 5.8 ต่อปี) ได้แก่ นครปฐม สมุทรสาคร ระยอง ภูเก็ต สงขลา เชียงใหม่ และขอนแก่น ขณะท่ี 6 จังหวัดพื้นท่ีเป้าหมายท่ีมูลค่า ทุนจดทะเบียนนิติบุคคลขยายตัวน้อยกว่าค่าเฉล่ียต่อปี ไดแ้ ก่ กรงุ เทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมทุ รปราการ ฉะเชงิ เทรา และชลบรุ ี 060002 (2) ประเทศไทยมีพื้นท่ีมีแผนผังภูมินิเวศเพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ชนบทม่ันคง เกษตรยั่งยืน และ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งผังพ้ืนที่อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งโบราณคดี พิจารณาจากแผนผังภูมินิเวศ ระดับภาคจ�ำนวน 1 ภาค ภายในปี 2565 พบวา่ ปจั จบุ ันส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (สผ.) อยู่ระหว่างการด�ำเนินโครงการจัดท�ำแผนผังภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเชิงนิเวศ ตามเกณฑ์และ มาตรฐานการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน การจัดการส่ิงแวดล้อม การก�ำหนดเขตพ้ืนท่ีแนวกันชน การก�ำหนดสัดส่วน ของพ้ืนที่ป่า พื้นท่ีเกษตร พื้นท่ีชนบท พื้นท่ีเมือง ที่เหมาะสมกับพ้ืนท่ีตามการใช้พื้นที่ทางภูมินิเวศและการพัฒนา โดยในปี 2563 อยรู่ ะหวา่ งจัดท�ำแผนผังภูมนิ เิ วศของพ้ืนที่ภาคเหนอื 185

06 พื้นที่และเมอื งน่าอยูอ่ ัจฉริยะ 060003 (3) ช่องว่างความเหล่ือมล�้ำระหว่างพ้ืนที่ลดลง พิจารณาจากสัดส่วน GPP per capita ของจังหวัดร้อยละ 20 ที่รวยที่สุด ต่อ GPP per capita ของจังหวัดร้อยละ 20 ที่จนท่ีสุด พบว่า ในปี 2560 สัดส่วน GPP per capita ของจงั หวดั ร้อยละ 20 ทร่ี วยทส่ี ุด (จำ� นวน 15 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี กรุงเทพฯ ปราจนี บุรี พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา สมทุ รสาคร ภเู กต็ สมุทรปราการ สระบุรี นครปฐม พงั งา ปทมุ ธานี จันทบรุ ี และกระบ่ี) กับสัดส่วน GPP per capita ของจงั หวัดรอ้ ยละ 20 ท่ีจนท่ีสุด (จ�ำนวน 15 จังหวดั ได้แก่ อุบลราชธานี สกลนคร ร้อยเอด็ มหาสารคาม บุรีรมั ย์ ศรสี ะเกษ แพร่ สรุ ินทร์ แม่ฮอ่ งสอน อ�ำนาจเจรญิ ชัยภมู ิ นราธวิ าส กาฬสินธุ์ ยโสธร หนองบวั ลำ� ภู) อย่ทู ่ี 6.65 เท่าซ่ึงเพิ่มมากขึ้นจากเม่ือปี 2559 ที่ 6.40 เท่า แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มช่องว่างความเหล่ือมล�้ำระหว่างพื้นที่ ท่ีเพ่ิมมากขึ้น ดงั น้นั จากข้อมลู สถานการณเ์ ป้าหมายระดับประเดน็ ทั้ง 3 เปา้ หมายดังกลา่ ว แสดงให้เหน็ วา่ มคี วามทา้ ทายอยา่ งมาก ในการดำ� เนนิ การเพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของแผนแมบ่ ท ประเด็นท้าทายที่ต้องด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของแผนแม่บท คือ การประสานโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบการ บริหารจัดการเมืองระหว่างหน่วยงานของภาครัฐท่ีเก่ียวข้องอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับบริบทของเมืองในพื้นที่ เป้าหมาย การจัดท�ำแผนผังภูมินิเวศ และการสร้างการตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร จัดการพืน้ ที่เมือง แผนแม่บทฯ ประเด็น พื้นท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ประกอบด้วย 2 แผนแม่บทย่อย สรุปสาระส�ำคัญได้ ดังน้ี (1) การพัฒนาเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ มุ่งพัฒนาและผลักดันการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ สามารถรองรับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ท่ีอยู่อาศัย ลดความเหลื่อมล้�ำ และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในทุกกลุ่มพื้นท่ี โดยการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการเมืองในทุกมิติให้เกิดประโยชน์สูงสุด พร้อมท้ัง มีแนวทางในการพัฒนาที่เน้นการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและแหล่งท่ีอยู่อาศัยตามธรรมชาติท่ีมีความหลากหลาย ทางชีวภาพสูง การรักษาและเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ตลอดจนส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ย่ังยืน (2) การพัฒนาพื้นท่ีเมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ที่มีการบริหารจัดการตามแผนภูมินิเวศอย่างย่ังยืน มีแนวทางในการพัฒนาที่เน้นการจัดท�ำฐานข้อมูลท่ีใช้ได้ ทุกหน่วยงานร่วมกนั ดา้ นการพัฒนาพืน้ ทีเ่ มอื ง ชนบท เกษตรกรรม อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ และพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ การจัดทำ� แผนผงั ภมู นิ ิเวศของพื้นที่ การใหค้ วามรู้ ประสาน และบูรณาการทกุ ภาคสว่ นในการเพมิ่ และรกั ษาพืน้ ทส่ี ีเขียว รวมท้งั การปรับปรุงกฎหมายและบังคับใช้เรื่องการใช้ประโยชน์ของชุมชนในพ้ืนท่ีป่าอย่างสมดุล ตลอดจนพัฒนาและส่งเสริม กลไกการให้บรกิ ารของระบบนเิ วศ และการสงวนรักษาอนุรักษแ์ ละฟน้ื ฟูแหล่งโบราณคดี มรดกทางสถาปัตยกรรมและ ศลิ ปวัฒนธรรม อัตลกั ษณ์ และวถิ ีชวี ติ พนื้ ถ่นิ อยา่ งยง่ั ยืน 060101 060201 060202 186

พื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉรยิ ะ 06 แผนแม่บทย่อย การพัฒนาเมอื งน่าอยูอ่ ัจฉรยิ ะ เปา้ หมาย 060101 เมอื งในพื้นที่เปา้ หมายท่ไี ด้รับการพัฒนา เพื่ อกระจายความเจริญและ ลดความเหล่อื มล้�ำในทุกมิติ ประชากรไทยมีแนวโน้มอาศัยในพื้นท่ีเมืองมากขึ้น โดยปี 2563 ประชากรไทยร้อยละ 57.2 อาศัยอยู่ในเมือง และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดการณ์ว่า จะเพิม่ เป็นร้อยละ 74.3 ในปี 2583 (สถาบนั วิจยั ประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล) แนวโน้มดังกล่าว ส่งผลให้มีความจ�ำเป็นในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การสร้างงาน การจัดการส่ิงแวดล้อมของเมืองให้สามารถ รองรับการเพิ่มข้ึนของประชากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เป็นเมืองน่าอยู่ส�ำหรับคนทุกกลุ่มในสังคม โ ด ย มี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ส ภ า พ แ ว ด ล ้ อ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ภู มิ สั ง ค ม แผนแม่บทย่อยการพัฒนาเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ จึงมุ่ง การพัฒนาเมืองน่าอยู่ท่ีสอดคล้องกับอัตลักษณ์ลักษณ์ท้องถิ่นและศักยภาพของเมืองในทุกภาค ของประเทศ ซึ่งก�ำหนดเมืองในพ้ืนท่ีเป้าหมายเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ภายในปี 2565 จ�ำนวน 6 เมือง ได้แก่ กรุงเทพและปริมณฑล เชียงใหม่ ขอนแก่น เมืองในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก ( ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี และระยอง ) สงขลา และภเู ก็ต ทัง้ นี้ การจะพัฒนาเมืองน่าอยู่ อัจฉริยะในจังหวัดพื้นท่ีเป้าหมาย ซ่ึงจะได้รับการพัฒนาเพื่อกระจายความเจริญและ ลดความเหล่ือมล�้ำในทุกมิตินั้น ควรพิจารณาท่ีจะให้ความส�ำคัญกับประเด็นการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและระบบการบริหารจัดการเมืองให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพและการสนับสนุน กิจกรรมสร้างรายได้ให้กับประชาชนท่ีเหมาะสมกับเมืองในพื้นที่เป้าหมายเพ่ือให้เกิดการบรรลุผล อย่างเปน็ รปู ธรรม สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย จ�ำนวนเมืองที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นเมืองอัจฉริยะ พิจารณา จากเมืองทีไ่ ด้รบั การสง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ “เมืองอัจฉรยิ ะ” ตามนิยามในประกาศคณะกรรมการขบั เคล่ือน การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ครั้งที่ 1/2561 หมายความว่า เมืองท่ีใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ทันสมัยและชาญฉลาด เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของการให้บริการและการบริหาร จัดการเมือง ลดค่าใช้จ่ายและการใช้ทรัพยากรของเมืองและประชากรเป้าหมาย โดยเน้น การออกแบบที่ดี และการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจและภาคประชาชนในการพัฒนาเมือง 187

06 พื้นที่และเมืองนา่ อยู่อจั ฉริยะ 060101 ภายใต้แนวคิดการพัฒนา เมืองน่าอยู่ เมืองทันสมัย ใ ห ้ ป ร ะ ช า ช น ใ น เ มื อ ง มี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ท่ี ดี มี ค ว า ม สุ ข อย่างยั่งยืนในกรุงเทพและภูเก็ต เป็น 2 ใน 26 เมืองอัจฉริยะน�ำร่องของ ASEAN Smart City Network รวมถึงพ้ืนที่เป้าหมายมีการยื่นข้อเสนอโครงการท่ีขอรับ การประกาศเขตเมืองอัจฉริยะในปี 2562 ได้แก่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (โครงการพัฒนา เมืองอัจฉริยะจังหวัดนนทบุรี) เชียงใหม่ (โครงการเมือง อัจฉริยะ Chiangmai Life เทศบาลนครเชียงใหม่) ขอนแก่น (โครงการขอนแก่นสมาร์ทซิต้ี) ภูเก็ต (โครงการ ภูเก็ตเมืองอัจฉรยิ ะในพื้นทจี่ ังหวดั ภเู กต็ ) สงขลา (โครงการ หาดใหญเ่ มืองอัจฉริยะสีเขยี ว 2567) การด�ำเนินการที่ผ่านมา หน่วยงานภาครัฐได้มี การด�ำเนินงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาเมืองในมิติต่าง ๆ ส่วนใหญ่เป็นโครงการด้านผังเมืองและการใช้ประโยชน์ ที่ดิน อาทิ โครงการด้านผังเมือง โครงการพัฒนาพ้ืนท่ี ตามผงั เมอื งดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และดา้ นทอี่ ยอู่ าศยั อาทิ โครงการพฒั นาทอ่ี ยอู่ าศยั โครงการปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ ม ที่อยู่อาศัยส�ำหรับคนพิการ รวมถึงการขับเคลื่อนโครงการ เมืองอัจฉริยะประเทศไทย อาทิ โครงการสนับสนุน การประชุมเครือข่ายเมอื งอัจฉริยะอาเซยี น ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย เพื่อให้เมืองในพื้นที่เป้าหมายได้รับการพัฒนาและลดความเหลื่อมล�้ำ ในทุกมิติ มีความท้าทายท่ีส�ำคัญ อาทิ การมีส่วนร่วมในการวางแผนของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน ในพื้นท่ี การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยเพ่ือพัฒนาและขับเคล่ือนการบริหารจัดการเมือง รวมทั้งการก�ำหนดมาตรการส่งเสริมกิจกรรมสร้างรายได้ให้กับประชาชนที่เหมาะสมกับพื้นที่เป้าหมาย นอกจากน้ี หน่วยงานภาครัฐควรพัฒนาด้านข้อมูล เน่ืองจากปัจจุบันข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับพ้ืนท่ีเมืองส่วนใหญ่เป็นข้อมูล ระดับจังหวดั จงึ ควรส่งเสรมิ ใหม้ กี ารเก็บข้อมลู ระดบั พื้นทีเ่ พ่ือใชใ้ นการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย หน่วยงานภาครัฐควรร่วมกับภาคเอกชนและภาคประชาชนในพ้ืนท่ีเป้าหมาย เพื่อขับเคล่ือนนโยบายเมืองอัจฉริยะประเทศไทยและโครงการที่เก่ียวข้อง อาทิ โครงการพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจ ท่ีสอดคล้องกับเมืองในพ้ืนท่ีเป้าหมายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกมิติ (เศรษฐกิจ ขนส่ง พลังงาน ประชาชน การใช้ชีวิต ระบบบริหารจัดการ และสิ่งแวดล้อม) และลดความเหล่ือมล้�ำระหว่างพื้นที่ นอกจากนี้ หน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้องควรด�ำเนินการโครงการเตรียมความพร้อมการขับเคล่ือนการพัฒนาพื้นที่เป้าหมาย เปน็ เมืองระดับกลาง ระยะ 2566 – 2570 จำ� นวน 7 เมือง ได้แก่ เชียงราย กาญจนบุรี พระนครศรีอยุธยา พิษณโุ ลก นครราชสีมา หนองคาย และมุกดาหาร ต่อไป เพื่อให้เมืองในพ้ืนท่ีเป้าหมายได้รับการพัฒนาเพื่อกระจายความเจริญ และลดความเหลื่อมล้�ำในทุกมติ ิ 188

พื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉรยิ ะ 06 แผนแมบ่ ทย่อย การพัฒนาพื้นทีเ่ มอื ง ชนบท เกษตรกรรม 060201 และอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการบรหิ ารจดั การตามผัง ภูมินเิ วศอย่างยัง่ ยืน เป้าหมาย เมืองมรี ะบบจดั การสิ่งแวดล้อมและมลพิษ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ครอบคลมุ และได้มาตรฐาน การเพ่ิมข้ึนของประชากร การขยายตัวของชุมชน และความหนาแน่นของเมือง ส่งผลให้มีปริมาณ ขยะ นำ้� เสยี และมลพษิ ในพ้ืนทเี่ มืองเพ่ิมขนึ้ จึงมีความจำ� เป็นต้องพัฒนาการจัดการสง่ิ แวดล้อมและ มลพิษอย่างมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมและได้มาตรฐานเพ่ือสนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศให้สูงข้ึน สร้างศูนย์กลางและกระจายความเจริญด้านเศรษฐกิจและสังคม สร้างแผนผัง ภูมินิเวศเพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ชนบทม่ันคง เกษตรย่ังยืน และอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ รวมทั้งผังพื้นท่ีอนุรักษ์ ทรัพยากร ธรรมชาติ แหล่งโบราณคดี และลดความเหลื่อมล�้ำ ในพ้ืนท่ี ทั้งนี้ การบรรลุเป้าหมายเมืองมีระบบจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษท่ีมีประสิทธิภาพ ครอบคลมุ และได้มาตรฐานน้นั จะต้องอาศัยศักยภาพในการจัดการของเสียและมลพิษในเมอื ง และ การมสี ว่ นร่วมของประชาชนและผู้ประกอบการในพน้ื ที่เมอื ง 189

06 พื้นทีแ่ ละเมืองน่าอยอู่ ัจฉรยิ ะ 060201 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย พิจารณาเทียบเคียงจาก ข้อมูลท่ีเกี่ยวเนื่อง ได้แก่ (1) จ�ำนวนเมืองคุณภาพ สิ่งแวดล้อมยั่งยืน โดยในปี 2562 มีเทศบาลที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินเมืองส่ิงแวดล้อมย่ังยืนระดับประเทศ จ�ำนวน 55 แห่ง แบ่งออกเป็น เทศบาลนคร 5 แห่ง เทศบาลเมือง 16 แห่ง และเทศบาลต�ำบล 86 แห่ง และมีเทศบาลที่ ผ่านเกณฑ์การประเมินเมืองส่ิงแวดล้อมย่ังยืนระดับพ้ืนท่ี จ�ำนวน 107 แห่ง แบ่งออกเป็นเทศบาลนคร 6 แห่ง เทศบาลเมือง 12 แห่ง และเทศบาลต�ำบล 37 แห่ง โดยมี เทศบาลทีผ่ ่านเกณฑด์ เี ย่ียม 52 แห่ง ดีมาก 40 แห่ง และดี 15 แห่ง (2) ปริมาณขยะในเขตเทศบาลในพื้นที่เป้าหมาย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในบางพื้นที่ ปี 2561 เชียงใหม่ มีปริมาณขยะ 1,252 ตัน (เพ่ิมขึ้นร้อยละ 12) ขอนแก่น มีปริมาณขยะ 992 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 2) และสงขลา มีปริมาณขยะ 1,133 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 2) ขณะที่ เมื่อเทียบกับปริมาณขยะในเขตเทศบาลทั่วประเทศปี 2561 ซึ่งมีปริมาณทั้งสิ้น 44,030 ตัน เพ่ิมข้ึนจากปี 2560 ร้อยละ 12 อย่างไรก็ดี พบว่าพ้ืนที่เป้าหมายส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพ การจัดการขยะสูงกว่าค่าเฉลี่ยท่ัวประเทศ (3) ปริมาณ น�้ำเสียต่อน้�ำเสียท่ีบ�ำบัดได้ในพื้นท่ีเป้าหมาย จังหวัด สมทุ รปราการ นนทบุรี ปทมุ ธานี และสงขลา สามารถบำ� บัด น้�ำเสียในพ้ืนที่ อปท. ของตนเองได้ทั้งหมด ส่วนใหญ่ มี ป ริ ม า ณ น�้ ำ เ สี ย ท่ี ส า ม า ร ถ บ� ำ บั ด ไ ด ้ สู ง ก ว ่ า ป ริ ม า ณ น้�ำเสียจริง ในทางกลับกัน เชียงใหม่ ภูเก็ต มีปริมาณน�้ำเสีย มากกว่าปริมาณน้�ำเสียท่ีสามารถบ�ำบัดได้เล็กน้อยแต่ขอนแก่น นครปฐม และสมุทรสาคร มีปริมาณน�้ำเสีย มากกว่าปริมาณน้�ำเสียที่สามารถบ�ำบัดได้อย่างมากและ (4) ร้อยละของจ�ำนวนวันที่พบสารมลพิษอากาศ เกินค่ามาตรฐานปี 2561 พบว่า พื้นท่ีเป้าหมายส่วนใหญ่มีจ�ำนวนวันท่ีพบสารมลพิษในอากาศเกินค่ามาตรฐาน ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (มากกวา่ รอ้ ยละ 20) นนทบรุ ี (ร้อยละ 6 – 10) สมุทรปราการ (รอ้ ยละ 11 – 20) สมุทรสาคร (ร้อยละ 11 – 20) ปทุมธานี (รอ้ ยละ 1 – 5) เชียงใหม่ (รอ้ ยละ 11 – 20) - ขอนแก่น (รอ้ ยละ 11 – 20) และสงขลา (มากกว่าร้อยละ 20) ขณะท่ีมีเพียงจังหวัดภูเก็ตท่ีสารมลพิษในอากาศไม่เกินค่ามาตรฐาน จากข้อมูลสถานการณ์ เทยี บเคยี งขา้ งต้น แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความทา้ ทายอย่างมากในการบรรลเุ ป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ 190

พื้นทีแ่ ละเมอื งน่าอย่อู ัจฉรยิ ะ 06 060201 การด�ำเนินการท่ีผ่านมา หน่วยงานของรัฐขับเคลื่อน ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย หน่วยงานภาครัฐ เป้าหมาย โดยมีการด�ำเนินงานเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม ในระดับนโยบายควรให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนด เชิงนิเวศ อาทิ โครงการพัฒนาและยกระดับเมือง มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการของเสีย อุตสาหกรรมตามตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรม ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ใ ช ้ ป ร ะ โ ย ช น ์ ท่ี ดิ น แ ล ะ เชิงนิเวศระดับที่ 2 – 3 โครงการยกระดับเมือง การอนุรักษ์พ้ืนท่ีสีเขียว และการสนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมถึงมุ่งเป้าในการส่งเสริม โครงสร้างพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็นและสอดคล้องกับศักยภาพ การจัดการสิ่งแวดล้อมและเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียว อาทิ ในการบริหารจัดการของท้องถิ่น เพื่อให้หน่วยงาน โครงการสิ่งแวดล้อมชุมชนและเพ่ิมพื้นท่ีสีเขียว และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ด�ำเนินการได้ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาตามแนวคิดต้นแบบเมือง อย่างมีประสิทธิภาพและย่ังยืน นอกจากนี้ อปท. นิเวศ (เพ่ือการจัดการส่ิงแวดล้อมเมืองและชุมชน ควรสร้างการตระหนักรู้ของประชาชนและผู้ประกอบการ ที่ยั่งยืนในด้านข้อมูล มีการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบ ในพื้นที่ เพ่ือการมีส่วนร่วมในการลด คัดแยกและ ฐานข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียและมลพิษ จัดการขยะและของเสียต้ังแต่ต้นทาง โดยด�ำเนิน ในพื้นที่อุตสาหกรรม อาทิ โครงการจัดท�ำฐานข้อมูล โครงการท่ีส�ำคัญ อาทิ โครงการเสริมสร้างจิตส�ำนึก เพ่ือการแลกเปล่ียนทรัพยากรร่วมกัน และโครงการ แ ล ะ ค ว า ม รู ้ ใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ บ ริ โ ภ ค ที่ เ ป ็ น มิ ต ร ยกระดับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรม กับส่ิงแวดล้อม โครงการส่งเสริมให้เทศบาลเข้าร่วม เชงิ นเิ วศ โครงการเมืองส่ิงแวดล้อมยั่งยืนเพ่ือให้การติดตาม ประเด็นท้าทายทีส่ ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ป้าหมาย การสรา้ ง ประเมินผลศักยภาพในการจัดการของเสียและมลพิษ และพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อให้เมืองมีระบบ ในพ้นื ท่เี มืองสามารถทำ� ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น จั ด ก า ร สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม แ ล ะ ม ล พิ ษ ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ครอบคลุม และได้มาตรฐาน การให้ภาคีการพัฒนา ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม รับรู้ และตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการจัดการและการบริหารพื้นท่ีเมือง เพ่ือจัดการของเสียและมลพิษในพ้ืนท่ีเมือง ล้วนเป็น ประเด็นท้าทายท่ีส�ำคัญ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การมีระบบจัดการมลพิษและส่ิงแวดล้อมที่ครอบคลุม และมปี ระสิทธิภาพ 191

06 พื้นทีแ่ ละเมอื งน่าอยู่อัจฉริยะ 060202 แผนแม่บทยอ่ ย การพัฒนาพื้นทีเ่ มอื ง ชนบท เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มกี ารบริหารจัดการตามผัง ภมู ินเิ วศอย่างยัง่ ยนื เปา้ หมาย ความยง่ั ยนื ทางภมู นิ เิ วศ ภมู สิ งั คม และภมู วิ ฒั นธรรม การใช้ประโยชน์ท่ีดินของประเทศไทย มีแนวโน้มในการใช้พ้ืนที่ป่ามาพัฒนาเป็นพื้นที่ชุมชนและ ส่ิงปลูกสร้าง รวมถึงพ้ืนที่เพื่อเกษตรกรรมมากขึ้น พ้ืนท่ีชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพ่ิมขึ้นจาก รอ้ ยละ 4.8 ในปี 2551 เปน็ รอ้ ยละ 6 ต่อพ้ืนท่ีทั้งหมดของประเทศ ในปี 2561 หรือมีอัตราเพิ่มข้ึน สงู ถึงรอ้ ยละ 27 พน้ื ท่เี กษตรกรรมเพิ่มข้นึ จากรอ้ ยละ 55.2 ในปี 2551 เป็นร้อยละ 57.4 ในปี 2561 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 แทนที่พ้ืนที่ป่าไม้ท่ีลดลงจากร้อยละ 37.4 ในปี 2551 เหลือร้อยละ 33.6 ในปี 2561 หรือลดลงร้อยละ 9 (ขอ้ มูลของกรมพฒั นาท่ีดนิ วเิ คราะหโ์ ดยสำ� นกั งานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) โดยปัจจัยหลักท่ีต้องด�ำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายนั้น คือ การมี ส่วนร่วมของประชาชน และการพัฒนาทค่ี ำ� นงึ ถงึ พน้ื ฐานของพน้ื ทใ่ี นมิติตา่ ง ๆ อยา่ งรอบด้าน อาทิ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ต้นทุนทางธรรมชาติ เง่ือนไขทางสังคม อาชีพ และการด�ำเนิน ชีวิตของชุมชน และวัฒนธรรม เพ่ือให้แผนผังภูมินิเวศเป็นเคร่ืองมือหนึ่งท่ีช่วยในการก�ำหนดการ ใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ โดยค�ำนงึ ถึงศกั ยภาพและข้อจำ� กัดของพนื้ ท่ี 70.0 การเปลีย่ นแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ิน 2551-2561 (ทัว่ ประเทศ) 60.0 ัอตราส่วน ้ืพนท่ี (ร้อยละ) 50.0 40.0 30.0 20.0 10.0 0.0 2551 2561 4.8 6.0 พื้นท่ีชมุ ชนและสิ่งปลกู สรา้ ง 55.2 57.4 พืน้ ที่เกษตรกรรม 37.4 33.6 พนื้ ที่ป่าไม้ 2.6 3.0 พ้นื ที่น้า 192

พื้นที่และเมืองน่าอยู่อจั ฉริยะ 06 060202 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เม่ือพิจารณาจากการด�ำเนินการจัดท�ำแผนผังภูมินิเวศอย่างน้อย 3 จังหวัด ของ 1 ภาค ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) อยู่ระหว่างการเร่ิมด�ำเนินงาน โครงการจัดท�ำแผนผังภูมินิเวศเพ่ือจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเชิงนิเวศ โดยจัดท�ำแผนผังภูมินิเวศของพ้ืนท่ี ตามเกณฑ์ และมาตรฐานการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม การก�ำหนดเขตพื้นท่ีแนวกันชน โดยมีสัดส่วน ของพื้นท่ีป่า พื้นที่เกษตร พ้ืนที่ชนบท พ้ืนที่เมือง ท่ีเหมาะสมกับพ้ืนที่ โดยปี 2563 จัดท�ำแผนผังภูมินิเวศของพ้ืนที่ ภาคเหนือ จำ� นวน 1 ผงั ตามความเหมาะสมของการใช้พ้ืนทท่ี างภูมนิ เิ วศ การด�ำเนินการท่ีผ่านมา นอกจากโครงการจัดท�ำแผนผังภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเชิงนิเวศ ด�ำเนินงานโดย สผ.แล้ว สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย (ส.ท.ท.) ได้มีการด�ำเนินงานโครงการแผนผัง ภูมินิเวศช่วยเมืองเปลี่ยนเพ่ือเมืองน่าอยู่สู่โลกยั่งยืนมีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของเทศบาล ในการ รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ และพฒั นาผงั ภมู ินิเวศระยะแรก (2562 - 2563) เน้นอบรมวธิ ีการจดั ท�ำแผนผงั ภูมินเิ วศให้กับ เทศบาลจ�ำนวน 40 แหง่ และจะมกี ารจดั ท�ำแผนผังภูมินิเวศในระดบั เทศบาลในระยะตอ่ ไป (2563 - 2565) ประเด็นท้าทายทส่ี ง่ ผลตอ่ การบรรลุเปา้ หมาย เนื่องจาก ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย เพื่อให้เกิด แ ผ น ผั ง ภู มิ นิ เ ว ศ เ ป ็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการด�ำเนินการ ท่ีมีการจัดท�ำเป็นครั้งแรก ความท้าทายที่ส�ำคัญ ตามผังภูมินิเวศอย่างย่ังยืน หน่วยงานภาครัฐ อาทิ สผ. คือ การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจของภาคีการพัฒนา ส.ท.ท. ควรสร้างการรับรู้ และความเข้าใจกับหน่วยงาน ต่าง ๆ ในพ้ืนที่ต่อ กระบวนการวางแผนการสร้างความ ที่เก่ียวข้อง รวมท้ังสนับสนุนโครงการจัดท�ำแผนผัง สมดุลการบูรณาการร่วมกันระหว่างการอนุรักษ์และ ภูมินิเวศเพื่อการจัดการส่ิงแวดล้อมชุมชนเชิงนิเวศ การพัฒนาสู่ความย่ังยืนในทุกมิติ ได้แก่ มิติเศรษฐกิจ เพ่ือจัดท�ำแผนผังภูมินิเวศให้ได้อย่างน้อย 1 ภาค มิติสังคม-วัฒนธรรม และมิติส่ิงแวดล้อม บนรากฐาน ตามเป้าหมายภายในปี 2565 รวมถงึ โครงการท่สี นับสนนุ ของระบบนิเวศและการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคี เกิดความยงั่ ยืนทางภมู นิ ิเวศ ภมู ิสงั คม และภูมิวัฒนธรรม อาทิ โครงการผลักดันการจัดท�ำผังชุมชนเพ่ือรักษาพ้ืนที่ สีเขียวในเมือง โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า : เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ การอนรุ กั ษ์และพัฒนาเมืองเก่า 193

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ 07 โครงสรา้ งพื้นฐาน ระบบโลจสิ ตกิ ส์ และดจิ ทิ ลั ฿ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การในสกราางรคแวขามงสขามันารถ “โครงสรา้ งพื้นฐานทพ่ี ัฒนา ตอ่ ยอดกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ การสรา้ งมลู คา่ เพิ่ม ยกระดบั ผลติ ภาพของภาคการผลติ และบรกิ าร ทลี่ ดตน้ ทนุ การผลติ และบรกิ ารทแี่ ขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั สากล”

โครงสรา้ งพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดจิ ิทัล 07 แผนแมบ่ ทฯ ประเดน็ (07) โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ระบบโลจสิ ตกิ ส์ และดจิ ทิ ลั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ท่ีถือเป็นรากฐานที่ส�ำคัญของการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซ่ึงที่ผ่านมาประเทศไทย ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ พลงั งาน ดจิ ทิ ลั เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนท�ำให้มีโครงสร้างพื้นฐานท่ีส�ำคัญของประเทศที่ครอบคลุมพื้นท่ี รวมถึงสามารถรองรับความต้องการของประชาชน ในระดบั ครวั เรอื น โดยมเี ปา้ หมายประเดน็ คอื ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานของประเทศทด่ี ขี นึ้ ทง้ั นี้ แผนแม่บทประเด็นดังกล่าวสนับสนุนการบรรลุผลสัมฤทธิ์การพัฒนาตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือเสริมสร้าง ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศในระยะ 20 ปขี า้ งหนา้ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการเปน็ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ เศรษฐกจิ เตบิ โตอยา่ งมเี สถยี รภาพและยง่ั ยนื เพอื่ รองรบั และสนบั สนนุ การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ การประเมินผลลพั ธก์ ารดำ� เนนิ การทส่ี ง่ ผลตอ่ การบรรลุเป้าหมาย 070001 ในการประเมินผลลัพธ์การด�ำเนินการตามแผนแม่บท ประเด็นข้างต้น ได้ก�ำหนดตัวช้ีวัด คือ อันดับความ สามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐาน เปน็ อนั ดบั ท่ี 45 ในปี 2565 ปจั จบุ นั ปี 2562 มผี ลเปน็ อนั ดบั ที่ 45 แมว้ า่ เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทจะบรรลแุ ลว้ แตย่ งั คงมี องคป์ ระกอบหลายดา้ นทเ่ี ปน็ ความทา้ ทาย ทต่ี อ้ งไดร้ บั การพัฒนาเพื่อยกระดับให้สามารถบรรลุเป้าหมาย ในระดบั แผนยอ่ ย ทง้ั ดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ ดา้ นพลงั งาน และดา้ นดจิ ทิ ลั ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ ความสามารถ การแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานในภาพรวม 195

07 โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดจิ ิทัล การด�ำเนินการเพื่อการบรรลุเป้าหมายข้างต้น ยังมีประเด็นท้าทายซึ่งในระยะต่อไปยังมีความจ�ำเป็นที่จะต้องรักษา อับดับความสามารถในการแข่งขัน เกิดการพัฒนาต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นท่ี ซึ่งจะกระตุ้นให้เกิดการสร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจในส่วนภูมิภาค ยกระดับผลิตภาพของภาคการผลิต และบริการ ลดต้นทุนการผลิตและบริการท่ีแข่งขันได้ในระดับสากล สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงกับอนุภูมิภาคและภูมิภาค อยา่ งเปน็ ระบบ รวมถงึ ชว่ ยสรา้ งบรรยากาศทางเศรษฐกจิ ของประเทศทเี่ หมาะแกก่ ารคา้ การลงทนุ ตลอดจนสามารถ รองรับการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติและปรับตัวได้ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในอนาคต แผนแมบ่ ทฯ ประเดน็ โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ระบบโลจสิ ตกิ ส์ ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ เกษตรกรรม ท่องเที่ยวและ และดจิ ทิ ลั ประกอบดว้ ย 3 แผนแมบ่ ทยอ่ ย สรปุ สาระสำ� คญั ได้ อตุ สาหกรรมของประเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และมตี น้ ทนุ ดังนี้ (1) โครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมและระบบ โลจสิ ตกิ สข์ องประเทศในระดบั ทแ่ี ขง่ ขนั ได้ พฒั นาใหเ้ กดิ การใช้ โลจสิ ตกิ ส์ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาระบบขนสง่ ทางราง พลงั งานในภาคขนสง่ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ใหเ้ ปน็ โครงขา่ ยหลกั ในการขนสง่ ของประเทศและรองรบั การ พฒั นาระบบขนสง่ สาธารณะในเขตกรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล เชื่อมโยงกับการขนส่งรูปแบบอ่ืนๆ รวมถึงสิ่งอ�ำนวย รวมทง้ั เมอื งหลกั ในภมู ภิ าค เพอื่ สนบั สนนุ การกระจายความ ความสะดวกและศูนย์บริการโลจิสติกส์ในรูปแบบต่าง ๆ เจรญิ และการสรา้ งศนู ยเ์ ศรษฐกจิ ใหม่ พรอ้ มทงั้ พฒั นาการ พร้อมทงั้ พัฒนากระบวนการและการบริหารจัดการระบบ เชอ่ื มโยงระบบการคมนาคมเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของ โลจสิ ตสิ ท์ ม่ี กี ารใชร้ ะบบเทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ พมิ่ ขน้ึ ตลอดจน ประชาชน รวมถงึ การพฒั นาและบรู ณาการระบบฐานขอ้ มลู การพัฒนายกระดับศักยภาพของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ การเดนิ ทางและขนสง่ ทกุ รปู แบบ เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารควบคมุ ของประเทศ เพอื่ ใหส้ ามารถสนบั สนนุ การขนสง่ สนิ คา้ ตอ่ เนอ่ื ง สั่งการและบริหารจัดการจราจรอัจฉริยะทั้งในระดับพื้นท่ี หลายรปู แบบอยา่ งไรร้ อยตอ่ และสอดรบั กบั การพฒั นาพนื้ ที่ และระดบั ประเทศ ตลอดจนการปฏริ ปู องคก์ รปรบั โครงสรา้ ง 196

โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจสิ ติกส์ และดจิ ิทัล 07 การกำ� กบั ดแู ล และปรบั ปรงุ กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งใหม้ คี วามทนั สมยั และสามารถตอบสนองตอ่ การพฒั นาคมนาคมและระบบ โลจิสติกส์ของประเทศให้มีมาตรฐานในระดับสากล (2) โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน โดยจัดหาพลังงาน และระบบโครงสร้างพ้ืนฐานด้านพลังงานให้มีความมั่นคง ทันสมัย รองรับความต้องการใช้พลังงานของประเทศ และมกี ารกระจายชนดิ ของเชอื้ เพลงิ ในการผลติ ไฟฟา้ เพอ่ื ใหส้ ามารถพง่ึ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การพฒั นา เทคโนโลยีปัจจัยแวดล้อม และสร้างแรงจูงใจ เพื่อสนับสนุนการจัดหาแหล่งพลังงานใหม่ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และระบบการบริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะ เพื่อน�ำไปสู่การผลิตและการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพ และทนั กบั แนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยดี า้ นพลงั งานในอนาคต รวมทงั้ เพอื่ รองรบั การผลติ และการใชพ้ ลงั งานทดแทน ในสัดส่วนท่ีสูงข้ึนตามศักยภาพของแหล่งเชื้อเพลิงในพ้ืนที่ ตลอดจนพัฒนาระบบก�ำกับดูแลด้านพลังงาน ใหม้ กี ารแขง่ ขนั อยา่ งเสรแี ละเปน็ ธรรม รวมทง้ั เปน็ กลไกในการสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การนำ� เทคโนโลยแี ละการพฒั นาธรุ กจิ พลงั งาน รปู แบบใหม่ พรอ้ มทง้ั ปรบั โครงสรา้ งราคาพลงั งานใหส้ ะทอ้ นตน้ ทนุ ทแ่ี ทจ้ รงิ และสามารถจงู ใจใหม้ กี ารใชพ้ ลงั งานในชว่ งเวลา ท่ีเหมาะสม เพ่ือลดผลกระทบต่อการบริหารจัดการพลังงานของประเทศ และสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ (3) โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นดจิ ทิ ลั พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นดจิ ทิ ลั ทง้ั ในสว่ นของโครงขา่ ยสอื่ สารหลกั ภายใน ประเทศและระหว่างประเทศให้สามารถบริการได้อย่างต่อเน่ืองและมีเสถียรภาพ สอดรับกับแนวโน้ม การเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยดี า้ นดจิ ทิ ลั สนบั สนนุ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศ นำ� ไปสกู่ ารยกระดบั เศรษฐกจิ ของประเทศและการเปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นดจิ ทิ ลั ของภมู ภิ าคอาเซยี นในอนาคต สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการการใชง้ านโครงสรา้ ง พนื้ ฐานและสงิ่ อำ� นวยความสะดวกดา้ นดจิ ทิ ลั รว่ มกนั รวมทง้ั สนบั สนนุ ใหม้ กี ารพฒั นาระบบนเิ วศ ปรบั ปรงุ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมีศักยภาพและเป็นอุตสาหกรรมแห่งอนาคตส�ำหรับกิจการ ทใี่ ชเ้ ทคโนโลยขี น้ั สงู ตลอดจนกำ� หนดมาตรการแนวปฏบิ ตั ใิ นการคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละขอ้ มลู สว่ นบคุ คล จดั ใหม้ มี าตรการเฝา้ ระวงั และรบั มอื ภยั คกุ คามไซเบอรท์ เ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งตามมาตรฐานสากล เพอื่ รองรบั การเตบิ โตของการใชง้ านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในอนาคต 070101 070102 070103 070104 070105 070201 070202 070203 070204 070301 197


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook