13 การเสริมสร้างให้คนไทยมสี ุขภาวะทด่ี ี 130201 ทง้ั พยาบาลวิชาชพี ทันตแพทย์ กายภาพบำ� บดั ทันตาภิบาล เภสัชกร และสหวชิ าชีพ รวมท้ังสิ้น 1,533 คน เพ่อื ใหม้ ี ความเช่ียวชาญด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิท่ีมีคุณภาพ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ด้านสุขภาพระหว่างบุคลากรทางการแพทย์และคนในชุมชน รวมท้ังการเก็บข้อมูล เพื่อประเมินผลส�ำเร็จของการด�ำเนินโครงการ ซึ่งท่ีผ่านมาการด�ำเนินโครงการดังกล่าวได้มีการเก็บประวัติผู้เข้าร่วม โครงการ ประเมินอาการ และวางแผนการรักษาให้กับผู้ป่วยเป็นรายบุคคล เพ่ือให้ผู้ป่วยท่ีอยู่ในชุมชนสามารถดูแล ตัวเองได้ในเบื้องต้นและลดการพึ่งพิงการใช้บริการจากสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน รวมท้ังยังเป็นการจัดท�ำ ฐานข้อมูลสาธารณสุขชุมชนส�ำหรับติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานเพื่อสร้างชุมชนสุขภาพดีให้เกิดผลส�ำเร็จในการ บรรลุเปา้ หมายอยา่ งเป็นรปู ธรรมตอ่ ไป ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย การใช้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการมี สุขภาวะท่ีดีในระยะที่ผ่านมานั้นพบว่า บุคลากรการแพทย์ยังไม่เพียงพอต่อการให้บริการกับผู้ท่ีเข้ามารับบริการ ทางสาธารณสุขด้วยภาวะท่ีควรควบคุมบริการผู้ป่วยนอกและในระดับชุมชน รวมท้ังยังไม่มีระบบฐานข้อมูลที่จัดเก็บ แฟ้มประวัติของผู้ที่เข้ามารับบริการทางสาธารณสุขโดยเฉพาะในโรคเบาหวานและความดันเพื่อที่จะน�ำมาใช้ส�ำหรับ ติดตามและประเมินอาการ รวมทั้งวางแผนการรักษาและการดูแลสุขภาพส่วนบุคคลได้ด้วยตนเอง นอกจากน้ี ความเหล่ือมล�้ำในสังคมโดยเฉพาะในกลุ่มคนท่ีมีรายได้แตกต่างกันยังเป็นส่วนส�ำคัญท่ีอาจท�ำให้เกิดความแตกต่าง ในการเขา้ ถงึ การให้บริการทางสาธารณสุข ซ่งึ นับเป็นขอ้ จำ� กัดที่อาจท�ำใหก้ ารจดั เกบ็ ข้อมลู สำ� หรับประเมินเพอื่ ช้ีให้เหน็ วา่ มีการเพมิ่ ข้นึ ของจ�ำนวนชมุ ชนสขุ ภาพดีเกดิ ความคลาดเคล่ือนได้ ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย ในระยะต่อไปภาครัฐควรให้ความส�ำคัญจัดท�ำระบบ Personal Health Records และ Health Information Exchange ท่ีเปน็ มาตรฐาน เพื่อใหส้ ามารถจดั เก็บขอ้ มลู สำ� หรบั เป็นฐานข้อมลู ในการติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานได้อย่างเป็นระบบ และให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการให้บริการทางสาธารณสุข รวมทั้งสามารถแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบ้ืองต้นกับบุคลากรทางการแพทย์ได้โดยตรง ซ่ึงจะท�ำให้ ด�ำเนินงานสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีในระดับชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นแหล่งบ่มเพาะจิตส�ำนึกการมีสุขภาพดีของประชาชนผ่านการจัดการ ความรู้ด้านสุขภาพท่ีเป็นประโยชน์และสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างสุขภาวะท่ีดีร่วมกัน และเข้ามาเป็น แนวรว่ มในการเฝ้าระวงั ป้องกัน และแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพรว่ มกัน ซ่งึ จะนำ� ไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายตามทก่ี �ำหนดไว้ 298
การเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะท่ดี ี 13 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ 130301 ที่ทันสมัยสนับสนุนการสรา้ งสุขภาวะทด่ี ี เป้าหมาย มรี ะบบสาธารณสขุ ทไี่ ดม้ าตรฐาน ทปี่ ระชาชนทกุ ระดบั เขา้ ถงึ ไดด้ ขี นึ้ น�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข เพ่ือเพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพ ในการให้บริการ โดยประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ซึ่งระบบบริการสุขภาพท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพ และย่ังยืน บุคลากรทางการแพทย์เพียงพอต่อความต้องการในแต่ละพ้ืนท่ี และสถานบริการทาง การแพทย์ทุกพื้นที่ได้รับการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล จะเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีจะส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าวไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม ดัชนีประสิทธิภาพระบบบรกิ ารสุขภาพ ทีม่ า: ส�ำนกั ข่าวบลูมเบริ ก์ 299
13 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสขุ ภาวะท่ดี ี 130301 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย พิจารณาจากการ ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ผลการ จัดอันดับประสิทธิภาพระบบบริการสุขภาพ ซ่ึงเป็นการ ด�ำเนินงานท่ีผ่านมาแม้จะมีการพัฒนาระบบสาธารณสุข จัดอันดับประเทศท่ีมีความคุ้มค่าด้านระบบดูแลสุขภาพ ให้ไดม้ าตรฐานอยา่ งต่อเน่ือง แต่ทงั้ น้ี ยังมขี อ้ จ�ำกัดในการ โดยค�ำนวณเปรียบเทียบระหว่างค่าใช้จ่ายกับอายุขัย ด�ำเนินการ อาทิ การบูรณาการระบบฐานข้อมูลระหว่าง โดยเฉล่ียของคนในประเทศ ซ่ึงในปี 2561 พบว่า หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เคร่ืองมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 27 จาก 56 ประเทศ และสาธารณสุขท่ีทันสมัยมีจ�ำนวนไม่เพียงพอ และการ ปรับอันดับดีขึ้นอย่างก้าวกระโดด จากอันดับที่ 41 ในปี ขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ ซ่ึงส่งผลให้ประชาชน 2560 โดยอันดับดีข้ึนมากถึง 14 อันดับ เนื่องจาก บางกลุ่มไม่สามารถเข้าถึงระบบสาธารณสุขที่มีคุณภาพ มีคา่ ใชจ้ ่ายด้านการดแู ลสุขภาพต่อประชากร 1 คน ลดลง และได้มาตรฐาน อยู่ที่ประมาณ 7,086 บาท ขณะท่ีอายุคาดเฉล่ียยังคง ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาระบบ อยู่ที่ 75 ปี เท่าเดิม ท้ังน้ี หากจัดอันดับภายในภูมิภาค สาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนทุกระดับ เอเชียแปซิฟิก ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 9 ตามหลัง สามารถเข้าถงึ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพและปลอดภยั หนว่ ยงาน ฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ญ่ีปุ่น ออสเตรเลีย ไต้หวัน ภาครัฐและหน่วยงานที่เก่ียวข้องจ�ำเป็นต้องเร่งรัด นิวซีแลนด์ และจีน ซึ่งมีแนวโน้มที่จะสามารถบรรลุ และด�ำเนินการให้เกิดการบูรณาการฐานข้อมูลระหว่าง เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ในปี 2565 (อันดับที่ 1 ใน 25) หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม การกระจาย ไดส้ �ำเรจ็ อยา่ งเป็นรปู ธรรม เคร่ืองมืออุปกรณ์ และบุคลากรทางการแพทย์และ การด�ำเนินการท่ีผ่านมา ช่วงปี 2561-2562 ภาครัฐ สาธารณสุขให้ครอบคลุม และพัฒนาระบบดูแลสุขภาพ มีการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ได้แก่ โครงการพัฒนาระบบ ทางไกล รวมทั้งผลักดันให้สถานพยาบาลได้รับการ บริการสาธารณสุข อาทิ การพัฒนาคุณภาพและเพ่ิม รับรองระบบคุณภาพของสถานพยาบาล โดยมีโครงการ ศักยภาพการบริการโดยการน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรม ส�ำคัญ อาทิ โครงการเสริมสร้างมาตรฐานระบบบริการ ที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ เช่น ระบบคิวออนไลน์ สุขภาพอย่างย่ังยืน โครงการส่งเสริมการประเมิน ระบบเวชระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ โครงการ Smart Health และระบบส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต เป็นต้น และ Smart Care และโครงการระบบสุขภาพทางไกล การบริหารจัดการทรัพยากรด้านการบริการสาธารณสุข เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนแพทย์ที่มีความเช่ียวชาญ เช่น การผลิตบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข อย่างไรก็ตาม ในการด�ำเนินการระยะต่อไปควรให้ความ แ ล ะ ก า ร จั ด ห า แ ล ะ จั ด ส ร ร เ ค ร่ื อ ง มื อ อุ ป ก ร ณ ์ ท า ง ส�ำคัญกับการยกระดับระบบสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน การแพทย์ เปน็ ต้น ซง่ึ เปน็ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบการ ท่ีประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก บรกิ ารสาธารณสขุ ใหท้ นั สมยั มีคณุ ภาพ และไดม้ าตรฐาน รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซ่ึงจะสามารถบรรลุ โดยการด�ำเนินงานดังกล่าวสอดคล้องกับปัจจัยระบบ เป้าหมายทีก่ �ำหนดไว้ บรกิ ารสขุ ภาพทท่ี นั สมยั มปี ระสทิ ธภิ าพและยงั่ ยนื เปน็ หลกั 300
การเสรมิ สร้างใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะท่ดี ี 13 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การกระจายบรกิ ารสาธารณสขุ 130401 อยา่ งทั่วถึงและมีคณุ ภาพ เปา้ หมาย การเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ มคี วามเหลอ่ื มลำ�้ ลดลง การบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพให้เพียงพอและสามารถให้บริการท่ีมี คุณภาพและเป็นมาตรฐานเดียวกันส่งผลให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน รวมทั้งการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นารปู แบบและคณุ ภาพ เพอื่ เพมิ่ ขดี ความสามารถของระบบการบรกิ ารปฐมภมู ใิ หส้ ามารถเขา้ ถงึ บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจ�ำเป็นต้องมีกลไกการส่งเสริมการเข้าถึงบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ท่ีเหมาะสมและได้มาตรฐานในแต่ละพืน้ ทีต่ ามที่กฎหมายกำ� หนด และผลติ พฒั นา บรหิ ารจัดการบคุ ลากรด้านสขุ ภาพ ระดับปฐมภมู ิและศักยภาพของเครือขา่ ยที่เขม้ แข็ง เพอ่ื สนับสนนุ การดำ� เนนิ การให้บรรลุตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ ดชั นคี วามก้าวหนา้ ของการพฒั นาคนด้านสุขภาพ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ดัชนีความ ก ้ า ว ห น ้ า ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ค น ด ้ า น สุ ข ภ า พ ค0.า่ 8ดัชนี ณ ปี 2562 มีค่าดัชนีอยู่ท่ี 0.5843 ซ่ึงปรับลดลง เล็กน้อยจากปี 2560 ที่มีค่าดัชนีอยู่ที่ 0.5906 0.7 0.5906 0.5843 โดยเม่ือพิจารณาจะเห็นว่าอาจมีแนวโน้มเสี่ยงต่อ 0.6095 การบรรลเุ ปา้ หมายท่ีก�ำหนดไวท้ ี่ 0.67 ในปี 2565 จึงจ�ำเป็นท่ีภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ ต้องเร่ง 0.6 ด�ำเนินการท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาการบริการ สาธารณสุขให้ประชาชนทุกคนเข้าถึงการบริการ 0.5 ที่มีคุณภาพ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน อาทิ ปี การเพิ่มบุคลากรทางการแพทย์ให้เพียงต่อความ 0.4 2558 2560 2562 ต้องการในพื้นท่ี ทั้งนี้ จากข้อมูลของส�ำนักงาน เลขาธิการแพทยสภา ณ เดือนธันวาคม 2562 ที่มา: สำ� นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ พบว่า แพทย์ทั้งหมดมีจ�ำนวน 58,555 คน แบ่งตามพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด จำ� นวน 28,678 คน และ 29,877 คน ตามลำ� ดบั โดยจะเห็นได้ว่าแพทย์ส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ใน พื้นทกี่ รุงเทพมหานคร 301
13 การเสริมสรา้ งใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะท่ดี ี 130401 การด�ำเนินการที่ผ่านมา ช่วงปี 2561-2562 ภาครัฐ ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาการ มีการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ได้แก่ โครงการการพัฒนา เข้าถึงบริการสาธารณสุข เพื่อลดความเหลื่อมล�้ำ ทักษะและสมรรถนะของบุคลากรภาครัฐด้านสุขภาพ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ อาทิ ด้านเทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่ ทักษะวิชาชีพ หน่วยงานของรัฐและภาคส่วนต่าง ๆ ควรเร่งรัดและ เฉพาะทาง และการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ ด�ำเนินการท่ีเก่ียวข้องกับการเตรียมผลิตและความพร้อม ซ่ึงเป็นการเตรียมความพร้อมบุคลากรภาครัฐให้สามารถ ด้านบุคลากรทางการแพทย์ทั้งในเร่ืองปริมาณและ ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการด�ำเนินงาน การกระจายบุคลากรไปยังพ้ืนที่ห่างไกล รวมท้ังการเพ่ิม ดังกล่าวสอดคล้องกับปัจจัยการผลิต พัฒนา และบริหาร แนวทางการบริหารจัดการท่ีช่วยดึงดูดให้บุคลากร จัดการบุคลากรด้านสุขภาพระดับปฐมภูมิและศักยภาพ ทางการแพทย์คงอยู่ในระบบมากยิ่งข้ึน ตลอดจนการ ของเครือข่ายที่เข้มแข็ง เป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ในการ พัฒนาคุณภาพบริการ และการสร้างความเท่าเทียม ด�ำเนินการระยะต่อไปควรให้ความส�ำคัญกับการเข้าถึง และเป็นธรรมในการเข้ารับบริการคุณภาพ โดยมีการ บริการสาธารณสุขเพื่อลดความเหล่ือมล�้ำและสร้างความ ด�ำเนินการท่ีส�ำคัญ อาทิ การพัฒนาบุคลากรระดับ เปน็ ธรรมในสงั คมโดยไมท่ ิ้งใครไวข้ า้ งหลัง ปฐมภูมิสู่ความเป็นมืออาชีพ การก�ำหนดสัดส่วนบรรจุ ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ผลการ เป็นข้าราชการตามบริบทของพ้ืนที่ โดยให้สิทธิบรรจุ ดำ� เนนิ งานทผ่ี า่ นมาแมจ้ ะมกี ารแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลน เป็นข้าราชการในพื้นที่ทุรกันดาร การปรับเพิ่มสวัสดิการ บุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะการผลิตเพิ่มแพทย์ รักษาพยาบาลของครอบครัว การใหส้ ิทธิการลาศึกษาต่อ พยาบาล และสาขาวิชาชีพที่ขาดแคลนอย่างต่อเนื่อง และการย้ายกลับภูมิล�ำเนาส�ำหรับการจ้างงานในรูปแบบ แตป่ จั จบุ นั ปญั หาการขาดแคลนบคุ ลากรยงั คงอยู่ โดยเฉพาะ อ่ืนที่สามารถเทียบเคียงกับข้าราชการ รวมท้ังการพัฒนา ในพนื้ ทต่ี า่ งจงั หวดั และพน้ื ทหี่ า่ งไกล สง่ ผลใหก้ ารรับบริการ รูปแบบการท�ำงานใหม่เพ่ือลดขั้นตอนการท�ำงาน สาธารณสุขเกิดความเหลื่อมล�้ำ จึงท�ำให้การด�ำเนินงาน และลดการสูญเสีย และการใช้เทคโนโลยีที่เพ่ิม ไม่บรรลเุ ปา้ หมายตามทกี่ ำ� หนดไว้ ประสิทธิภาพการท�ำงาน ตลอดจนการออกหน่วย สาธารณสุขเคล่ือนที่เพ่ือประชาชนในพื้นท่ีห่างไกล การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสาธารณสุขเพื่อสังคม และการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ อันจะน�ำไปสู่ การบรรลุเป้าหมายตามทก่ี �ำหนดไวอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม 302
การเสรมิ สรา้ งให้คนไทยมีสุขภาวะทด่ี ี 13 แผนแม่บทยอ่ ย การพัฒนาและสรา้ งระบบรับมอื 130501 และปรับตัวต่อโรคอุบัตใิ หมแ่ ละโรคอุบัติซำ้� ทีเ่ กิดจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เป้าหมาย ประชาชนมคี วามรอบรสู้ ขุ ภาพ เรอื่ งโรค อบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคอบุ ตั ซิ ำ�้ ทเี่ กดิ จากการ เปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศมากขนึ้ การส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้ด้านสุขภาพ และความตระหนักรู้ในประชากรทุกกลุ่ม เพ่ือเตรียมความพร้อม ในการป้องกันโรค และสามารถรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพน�ำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี ซ่ึงต้องเริ่มจากการสร้างการตระหนักรู้ให้ประชาชนเข้าใจและพร้อม รับมือ โรงพยาบาล/หน่วยงานของรัฐท่ีมีการยกระดับและเตรียมพร้อมเชิงรุก เพื่อรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้อย่าง มีประสิทธภิ าพ และยกระดับสมรรถนะระบบการป้องกนั ควบคุมการระบาดของโรคและภยั สขุ ภาพ สถานการณโ์ รคอบุ ัติใหม่และโรคอบุ ตั ิซ�้ำ ทม่ี า: กระทรวงสาธารณสุข 303
13 การเสรมิ สร้างให้คนไทยมีสุขภาวะทด่ี ี 130501 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณา หลายปีท่ีผ่านมาทั่วโลกเกิดโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำ จากสัดส่วนประชาชนที่มีความรู้สุขภาพ เร่ืองโรค ที่รุนแรงหลายโรค ซ่ึงเป็นผลมาจากสิ่งแวดล้อม อุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลง ท่ีเปล่ียนแปลงไปอันเกิดจากพฤติกรรมของมนุษย์ ภูมิอากาศ พบว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพ เป็นหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในวาระแห่งชาติในยุคไทยแลนด์ 4.0 ในการมุ่งสู่สังคม อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยต้องเผชิญกับความเส่ียง รอบรู้ด้านสุขภาพ ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงท้ังสภาพ ของการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ�้ำ แวดล้อมและโรคภัยไข้เจ็บที่ก�ำลังเกิดขึ้นได้อย่างรู้เท่าทัน ทเ่ี กดิ จากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศอยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ จึงจ�ำเป็นท่ีประชาชนต้องรู้เร่ืองโรค เข้าถึงข้อมูลสุขภาพ อันเน่ืองมาจากการเคล่ือนย้ายของประชากร ประชาชน ที่ถูกต้องและทันสมัย รู้จักปัจจัยเส่ียง ป้องกันและแก้ไข ขาดความรู้ ความเขา้ ใจ และความตระหนกั ในการเฝา้ ระวงั ปัญหาโรคท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบันทั้งโรคติดต่อและไม่ติดต่อ ป้องกัน และควบคุมโรคอบุ ัติใหมแ่ ละโรคอบุ ัติซ้�ำ รวมทง้ั เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการเกิดและแพร่กระจายของโรค ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ไ ม ่ ถู ก ต ้ อ ง ต า ม ห ลั ก สุ ข อ น า มั ย ห รื อ ตลอดจนการป้องกันและดูแลตนเองก่อนการตรวจรักษา สุขลักษณะที่ดี ซ่ึงส่งผลกระทบและเป็นภัยคุกคาม ทั้งนี้ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำเป็นหน่ึงในประเด็น ในหลายมิติ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในมติ สิ ุขภาพ ส�ำคัญท่ีต้องสร้างความรอบรู้แก่ประชาชน เน่ืองจาก 304
การเสริมสรา้ งให้คนไทยมสี ุขภาวะทด่ี ี 13 130501 การด�ำเนินการที่ผ่านมา ช่วงปี 2561-2562 ภาครัฐ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การสร้าง มีการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ได้แก่ โครงการการเตรียม ความรอบรู้เร่ืองโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำท่ีเกิดจาก ความพรอ้ มของหนว่ ยงานภาครฐั เชน่ การพฒั นาเครอื ขา่ ย การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ หน่วยภาครัฐและหน่วยงาน เตือนภัยและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ และการพัฒนา ท่ีเก่ียวข้องจ�ำเป็นต้องเร่งรัดและด�ำเนินการสร้างความรู้ สมรรถนะระบบการบริหารจัดการให้สามารถเฝ้าระวัง ความเข้าใจ และความตระหนักรู้เก่ียวกับการเกิดโรค และรับมือได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และมี อุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ประสิทธิภาพ โดยการด�ำเนินงานดังกล่าวสอดคล้อง ภูมิอากาศที่ส่งผลกระทบต่อการด�ำรงชีวิตของประชาชน กับปัจจัยโรงพยาบาล/หน่วยงานของรัฐท่ีมีการยกระดับ ทุกเพศทุกวัย เพื่อให้ประชาชนเตรียมความพร้อม และเตรียมพร้อมเชิงรุก เพื่อรับมือกับโรคอุบัติใหม่ ในการรับมือ ป้องกันและดูแลตนเองได้อย่างเท่าทัน ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ เป็นต้น นอกจากนี้ ในสว่ นของหน่วยงานภาครฐั เองจะต้องเตรียม ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ผลการ ค ว า ม พ ร ้ อ ม ใ น ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ดำ� เนินงานทีผ่ า่ นมาภาครัฐมีการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ ระบบบริหารจัดการ เคร่ืองมือ และกลไกในการเฝ้าระวัง และความตระหนักรู้เก่ียวกับโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำ ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศยังไม่ครอบคลุม รวมทงั้ พฒั นาการตอบโตก้ ารแพรร่ ะบาดของโรคอบุ ตั ใิ หม่ และเข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงส่งผลให้ประชาชน และโรคอุบัติซ้�ำในภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนหนึ่งมีความรอบรู้เรื่องโรคดังกล่าวไม่เพียงพอ เพ่ิมขึ้น ตลอดจนมีมาตรการการยกระดับสมรรถนะ และไม่สามารถป้องกันและดูแลสุขภาพของตนเองได้ ระบบการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคและภัย อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สุขภาพท่ีมีประสิทธิภาพและทันถ่วงที โดยมีโครงการ สำ� คญั อาทิ โครงการรเู้ ทา่ ทนั โรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคอบุ ตั ซิ ำ�้ เพื่อสร้างสังคมรอบรู้ด้านสุขภาพ และโครงการพัฒนา นวัตกรรมป้องกันโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้�ำ ซึ่งเป็น หน่ึงในปจั จัยที่จะสามารถนำ� ไปสูก่ ารบรรลเุ ป้าหมายได้ 305
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ 14 ศกั ยภาพการกฬี า ยุทธศาสตรชาติดาน การพัฒนา และเสริมสรา งศกั ยภาพ ทรัพยากรมนษุ ย “ม่งุ สง่ เสรมิ การใช้กจิ กรรมกฬี าและนันทนาการในการเสริมสร้างสขุ ภาวะ ของประชาชนอยา่ งครบวงจรและมีคณุ ภาพ รวมทง้ั การใชก้ ฬี า และนนั ทนาการในการสรา้ งความสามคั คขี องคนในชาติ หล่อหลอมการเปน็ พลเมืองดี ตลอดจนการพัฒนาทกั ษะดา้ นกฬี า สคู่ วามเปน็ เลศิ และกฬี าเพื่อการอาชพี ”
ศักยภาพการกีฬา 14 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (14) ศักยภาพการกีฬา มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้กิจกรรมกีฬา และนันทนาการบนฐานของวิทยาศาสตร์การกีฬา เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนอย่าง ครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสร้างนิสัยรักกีฬาและมีน้�ำใจเป็นนักกีฬา และการใช้กีฬาและนันทนาการ ในการพัฒนาจิตใจ สร้างความสามัคคี โดยมีเป้าหมายระดับประเด็น คือ คนไทยมีสุขภาพดีขึ้น มีน้�ำใจนักกีฬา และมวี ินยั เคารพกฎกตกิ ามากขึ้น ด้วยกีฬา การประเมนิ ผลลพั ธก์ ารด�ำเนินการทส่ี ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ป้าหมาย 140001 อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีของประชากรประเทศไทย อายุ (ป)ี 70 68 66 66.6 66.8 64 65.5 62 63.8 อายุเฉลี่ย 60 58 56 54 52 50 2548 2553 2558 2559 ปี (พ.ศ.) ที่มา: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) คนไทยมีสุขภาพดีขึ้น มีน้�ำใจนักกีฬา และมีวินัย เคารพกฎกติกามากข้ึน ด้วยกีฬา เม่ือพิจารณาจากอายุคาดเฉลี่ย ของการมสี ขุ ภาพดีทเี่ พิม่ ขึน้ ตอ่ เนือ่ ง จากฐานขอ้ มลู Healthy life expectancy (HALE) จัดท�ำโดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization (WHO)) พบวา่ อายคุ าดเฉลีย่ ของการมสี ุขภาพดขี องประชากรประเทศไทยมีค่าเพิ่มขน้ึ ต่อเนอ่ื ง โดยในปี 2558 ท่ี 66.6 ปี เพม่ิ เปน็ 66.8 ปี ในปี 2559 ซ่ึงแสดงให้เหน็ ถึงอายคุ าดเฉล่ียของการมสี ขุ ภาพดี ของประชากรประเทศไทยทม่ี ีการเพิม่ ขนึ้ อย่างต่อเนอ่ื ง และมแี นวโน้มทจี่ ะบรรลุคา่ เป้าหมายทีอ่ ายุคาดเฉลยี่ ของการมี สขุ ภาพดที ่ี 68 ปี ภายในปี 2565 ได้สำ� เรจ็ 307
14 ศักยภาพการกีฬา ท้ังน้ี ยังคงมีประเด็นท้าทายท่ีต้องด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทฯ ได้แก่ (1) การสร้างแรงจูงใจ ในการปรับพฤติกรรมการใช้เวลาของประชาชนเพ่ือการออกก�ำลังกาย กีฬาและนันทนาการ (2) การคัดเลือก พัฒนา สร้างโอกาสการเข้าร่วมแข่งขัน และการสร้างเส้นทางอาชีพให้กับนักกีฬาไทย และ (3) การสร้างความยอมรับ ในมาตรฐานคุณภาพ ความยุตธิ รรม และความเปน็ มอื อาชีพของบุคลากรทางดา้ นการกีฬาและนันทนาการ แผนแม่บทฯ ประเดน็ (14) ศักยภาพการกฬี า ประกอบด้วย 3 แผนแมบ่ ทย่อย สรปุ สาระสำ� คญั ได้ ดังนี้ (1) การสง่ เสรมิ การออกก�ำลังกาย และกีฬาขั้นพ้ืนฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิตและการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ออกก�ำลังกาย กีฬาและนันทนาการ ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการออกก�ำลังกาย การเล่นกีฬา และการนันทนาการตามความถนัดหรือความสนใจ ตลอดจนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์ สถานท่ี และส่ิงอ�ำนวยความสะดวก และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมออกก�ำลังกายอย่างต่อเน่ืองจนกลายเป็นวิถีชีวิต เพอื่ พฒั นาจติ ใจ ปลกู ฝงั คณุ ธรรมของความเปน็ นกั กฬี า มรี ะเบยี บวนิ ยั และสรา้ งสขุ ภาวะทดี่ แี กป่ ระชาชน (2) การสง่ เสรมิ การกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ มุ่งเฟ้นหา สร้างและพัฒนานักกีฬาของชาติ เพื่อความเป็นเลิศทางกีฬาและต่อยอด ความส�ำเร็จสู่การประกอบอาชีพกีฬาที่ม่ันคงและนันทนาการเชิงพาณิชย์ในระดับสากล (3) การพัฒนาบุคลากร ด้านการกีฬาและนันทนาการ มุ่งสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการ อาทิ ครูผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และอาสาสมัครกีฬา อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน สามารถถา่ ยทอดความร้แู ก่ประชาชนทุกกลุม่ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง รวมถึงมีความสามารถในการพฒั นานวัตกรรมทีส่ นับสนุน การพัฒนากีฬาและนนั ทนาการ โดยมีผลการดำ� เนินงานตามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ทยอ่ ย ดังนี้ 140101 140201 140301 308
ศกั ยภาพการกีฬา 14 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การสง่ เสรมิ การออกกำ� ลังกาย และกฬี า 140101 ขั้นพ้ืนฐานใหก้ ลายเปน็ วิถชี ีวิตและการส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชน มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมออกกำ� ลังกาย กีฬาและนันทนาการ เปา้ หมาย คนไทยออกกำ� ลงั กาย เลน่ กฬี า และนนั ทนาการอยา่ งสมำ�่ เสมอเพ่ิมขนึ้ มุ่งเน้นการส่งเสริมความรู้ท่ีถูกต้อง และการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ในการออกก�ำลังกาย เล่นกีฬาและนันทนาการ รวมถึงการจัดกิจกรรมออกก�ำลังกาย กิจกรรมกีฬา และกิจกรรม นันทนาการท่ีต่อเนื่อง ทั้งน้ีเพ่ือพัฒนาจิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมความเป็นนักกีฬา ความมีวินัย และท�ำให้ ประชาชนมีสุขภาวะที่ดี โดยการจะบรรลุเป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อยได้น้ัน ต้องให้ความส�ำคัญกับค่านิยม ในการรักการออกก�ำลงั กาย เลน่ กฬี าและนันทนาการ และกิจกรรมสง่ เสริมการออกกำ� ลังกาย เล่นกีฬาและนนั ทนาการ ท่ีมา: กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา 309
14 ศักยภาพการกฬี า 140101 ประชาชนทกุ ภาคสว่ นของประชากรทง้ั หมด สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยได้ก�ำหนด ออกกำ� ลงั กายอยา่ งสมำ�่ เสมอ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ก า ร ณ ์ จ า ก จ� ำ น ว น ป ร ะ ช า ช น ทุ ก ภ า ค ส ่ ว น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ท้ั ง ห ม ด อ อ ก ก� ำ ลั ง ก า ย เฉลยี่ รอ้ ยละ 34.5 อย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งจากข้อมูลด้านการออกก�ำลังกายกีฬา 40 35 และนันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา จัดท�ำโดย 27.7 กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา พบว่า 30 อัตราส่วนประชาชนท่ีออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอมีค่าลดลง 25 จากร้อยละ 34.5 ในปี 2560 เป็นร้อยละ 27.7 ในปี 2561 ประกอบกับรายงานพฤติกรรมผู้ใช้งาน 20 อินเทอร์เน็ตประเทศไทยปี 2561 (ส�ำนักงานพัฒนา 15 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)) พบว่า คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเฉล่ีย 10 ชั่วโมง 5 นาทีต่อวัน 10 โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าถึง 3 ช่ัวโมง 30 นาทีต่อวัน 5 จึงอาจส่งผลให้มีข้อจ�ำกัดในการใช้เวลาว่างเพ่ือ การออกก�ำลังกาย และแสดงให้เห็นถึงความท้าทาย 0 ปี (พ.ศ.) อย่างมากในการบรรลุเป้าหมายที่ร้อยละ 40 ท่มี า: กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า ของประชากรท้ังหมดภายในปี 2565 ได้ การดำ� เนนิ การทีผ่ ่านมา หนว่ ยงานภาครัฐ อาทิ กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และสถาบันการศึกษา ได้ด�ำเนินการโครงการในลักษณะต่าง ๆ ประกอบด้วย (1) ลักษณะการให้ความรู้ในการเล่นกีฬาที่ถูกต้องแก่ประชาชน อาทิ โครงการ Exercise Class (2) ลักษณะการสนับสนุนการจัดกิจกรรมทางกีฬา อาทิ โครงการพัฒนาการกีฬาและนันทนาการมวลชน โครงการส่งเสริมวิถีชีวิตตามแนวคิดวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อการพัฒนาสุขภาวะท่ีย่ังยืน และ (3) ลักษณะการพัฒนาความรู้ความสามารถในการเลน่ กฬี าในกลมุ่ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา อาทิ การฝกึ อบรม และการ ทดสอบสมรรถนะทางกีฬา ซึ่งจะน�ำไปสู่การออกก�ำลังกายและการเล่นกีฬาอย่างถูกต้อง ปลอดภัยและการใช้เวลา ของประชาชนในการออกก�ำลงั กายอย่างสม่�ำเสมอผา่ นการจดั กิจกรรมกีฬาต่าง ๆ 310
ศกั ยภาพการกีฬา 14 140101 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ท่ี ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ควรร่วมกันส่งเสริม ความท้าทายที่ส�ำคัญในการท�ำให้คนไทยออกก�ำลังกาย ให้ประชาชนมีความต้องการเล่นกีฬา ออกก�ำลังกาย เล่นกีฬาและนันทนาการอย่างสม�่ำเสมอ คือ การสร้าง และนันทนาการอย่างสม�่ำเสมอ โดยให้ความส�ำคัญ แรงจูงใจในการปรับพฤติกรรมการใช้เวลาของประชาชน กับการส่งเสริมการเล่นกีฬาในทุกระดับไม่ว่าจะเป็น เพอ่ื การออกกำ� ลงั กาย เลน่ กฬี า และนนั ทนาการ ตลอดจน กีฬาในระดับท้องถิ่น กีฬานักเรียนนักศึกษา ตลอดจน การสร้างค่านิยมและการสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ กฬี าพน้ื บา้ น โดยดำ� เนนิ โครงการสำ� คญั เชน่ การนำ� บคุ คล ที่มีความหลากหลาย เพื่อส่งเสริมการออกก�ำลังกาย ท่ีมีช่ือเสียงในสังคมเป็นแบบอย่างในการออกก�ำลังกาย กีฬา และนันทนาการท่ีเหมาะสมกับประชาชนใน การน�ำนักกีฬาที่ประสบความส�ำเร็จเพ่ือเป็นต้นแบบ ทุกระดับและทกุ ชว่ งวัย และแรงจูงใจในการเล่นกีฬาในพ้ืนท่ีบ้านเกิด การใช้ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย หน่วยงานภาครัฐ อุปกรณ์ดิจิทัลวัดผลการออกก�ำลังกายเพื่อแลกสิทธิ อาทิ กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา กระทรวง ประโยชน์ต่าง ๆ เป็นต้น เพื่อส่งเสริมค่านิยม สาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย ใ น ก า ร รั ก ก า ร อ อ ก ก� ำ ลั ง ก า ย แ ล ะ กี ฬ า ข้ั น พ้ื น ฐ า น ให้กลายเปน็ กิจกรรมในวิถีชวี ิตตามเป้าหมายตอ่ ไป 311
14 ศกั ยภาพการกีฬา 140201 แผนแมบ่ ทย่อย การสง่ เสรมิ การกฬี า เพื่อพัฒนาสู่ระดบั อาชพี เปา้ หมาย นกั กฬี าไทยประสบความสำ� เรจ็ ในการแขง่ ขนั ระดบั นานาชาติ มุ่งเน้นการพัฒนานักกีฬาไทยให้เป็นท่ียอมรับในการแข่งขันระดับสากล เพื่อพัฒนานักกีฬาไทยสู่กีฬาอาชีพ ในระดับสากล ซ่ึงนอกจากจะช่วยสร้างรายได้ให้กับนักกีฬาและผู้เก่ียวข้องแล้ว การพัฒนาดังกล่าวจะมีส่วนช่วย สร้างแรงบันดาลใจ เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเยาวชนในการมีน�้ำใจนักกีฬา สร้างความนิยมในการเล่นกีฬา และช่วยสร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ รวมทั้งช่วยสร้างช่ือเสียง ประชาสัมพันธ์และส่งเสริม ภาพลักษณ์ท่ีดีของประเทศไทยในระดับนานาชาติ ท้ังนี้ การจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้ จ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญ กับการคดั เลือก พัฒนา สร้างโอกาสการเข้าร่วมแขง่ ขัน และการสรา้ งเส้นทางอาชีพใหก้ ับนกั กีฬาไทย ผลการแขง่ ขนั ในมหกรรมกฬี า ASIAN GAME ปี 2561 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณา จากอันดับการแข่งขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติ อันดับ ประเทศ เหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ เหรียญทองแดง รวม 1 China (CHN) 132 92 65 289 74 205 (ระดับเอเชีย) ของนักกีฬาไทย ซ่ึงผลอันดับการแข่งขัน 2 Japan (JPN) 75 56 3 South Korea (KOR) 49 58 70 177 ในมหกรรมกีฬา Asian Game ปี 2557 (ค.ศ. 2014) 4 Indonesia (INA)* 31 24 43 98 ไทยอยู่ที่อันดับ 6 ทั้งน้ี ในปี 2561 (ค.ศ. 2018) 5 Uzbekistan (UZB) 20 24 25 69 ผลการแข่งขันของไทยลดต�่ำลงโดยอยู่ในอันดับที่ 11 6 Iran (IRI) 20 20 22 62 7 Chinese Taipei (TPE) 17 19 31 67 แสดงให้เห็นถึงความท้าทายอย่างมากในการบรรลุ 8 India (IND) 16 23 31 70 เปา้ หมายในปี 2565 ซงึ่ กำ� หนดไวท้ อ่ี นั ดบั 7 ของการแขง่ ขนั 9 Kazakhstan (KAZ) 15 17 44 76 10 North Korea (PRK) 12 12 13 37 11 Thailand (THA) 11 16 46 73 12 Bahrain (BRN) 10 7 7 24 กา13รดH�ำoเnนg ินKoกngา(HรKทG)ี่ผ่านมา 8หน่วยงาน18ภาครัฐ อ2า0ทิ กระท46รวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ด�ำเนิน โค14รงกMาalรayทsia่ีส(M�ำAคSัญ) เช่น โค7รงการบร13ิหารจัดกา1ร6วิทยาศ3า6สตร์การกีฬาในการเตรียมนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา โอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 32 โครงการเตรียมและส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ โครงการการพัฒนา ขอ้ มลู จาก https://web.archive.org/web/20180827190940/https://en.asiangames2018.id/medals/ ส่งเสริมการบริการด้านกีฬาเวชศาสตร์ รวมถึงโครงการนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางกีฬา (ช้างเผือก)https://www.espn.com.au/olympics/trackandfield/story/_/id/27220824/adekoya-latest-bahrain-runner-get-doping-ban ของสถาบันการศึกษา นอกจากนั้น สมาคมกีฬาอาชีพต่าง ๆ ได้ด�ำเนินการส่งเสริมและพัฒนากีฬาอาชีพ เพื่อมุ่งสู่ ความเป็นเลิศและก้าวสู่การเป็นนักกีฬาอาชีพเพ่ือเป็นตัวแทนในการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ ตลอดจนการกีฬา แห่งประเทศไทยและภาคส่วนต่าง ๆ ได้ผลักดันให้ประเทศไทยประสบความส�ำเร็จในการเป็นเจ้าภาพการแขง่ ขัน โมโต จีพี ในปี 2561-2562 ซ่ึงเป็นการส่งเสริมให้เกิดเป็นการกีฬาเพ่ือการท่องเท่ียว และน�ำประเทศไทยไปสู่การเป็น ประเทศท่มี ีศกั ยภาพในการจัดการแข่งขนั กีฬาระดับโลก 312
ศักยภาพการกีฬา 14 140201 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย พ่ึงพาตนเองได้ ทั้งนี้การพัฒนานักกีฬาให้ประสบ ความท้าทายส�ำคัญ คือ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ทาง ความส�ำเร็จในระดับนานาชาติน้ัน นอกจากการสรรหา การกีฬาของประเทศไทยให้มีความก้าวหน้าเพ่ือประยุกต์ นักกีฬาที่มีความสามารถเฉพาะตัว และการสนับสนุน ใช้เปน็ ฐานการพฒั นานกั กฬี า และพฒั นาการแข่งขนั กฬี า การเข้าแข่งขันในระดับต่าง ๆ แล้ว กระทรวง อาชีพประเภทต่าง ๆ ในระดับประเทศ เพื่อสร้าง การท่องเท่ียวและกีฬา ในฐานะหน่วยงานหลัก เส้นทางอาชีพนักกีฬาที่สามารถพ่ึงพาตนเองและเล้ียงชีพ ด้านการกีฬา ควรร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ได้จริง รวมทัง้ การใช้สอ่ื รูปแบบตา่ ง ๆ เพ่ือเพิ่มการดึงดูด และสมาคมการกีฬาที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินโครงการ ผู้ที่มีความสามารถทางด้านกีฬาเข้าสู่ระบบการคัดเลือก เช่น การจัดตั้งการแข่งขันกีฬาอาชีพในประเภท และพัฒนา และการส่งเข้าร่วมแข่งขันเป็นตัวแทน ท่ีประชาชนสนใจในระดับประเทศ การจัดกิจกรรมกีฬา ประเทศในระดบั นานาชาติ หรือการแข่งขันระดับนานาชาติควบคู่กับการส่งเสริม ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ควรยกระดับ กิจกรรมการท่องเท่ียว การขยายผลการพัฒนาเมือง การพัฒนาและการน�ำวิทยาศาสตร์ทางการกีฬามาใช้ ดา้ นการกฬี า และการอาศยั ส่ือบันเทงิ ตา่ ง ๆ อาทิ การต์ ูน เพอ่ื พฒั นาการกฬี าในทกุ ระดบั และทกุ ภาคสว่ นนอกจากนน้ั ภาพยนตร์ ในการกระตุ้นเยาวชนให้พัฒนาตนเองสกู่ าร ควรรว่ มมอื กบั สมาคมกฬี าตา่ ง ๆ และหนว่ ยงานทกุ ภาคสว่ น เปน็ นกั กฬี าอาชพี เชน่ กปั ตนั ฟตุ บอลซบึ าซะ บาสเกต็ บอล ในการพัฒนานักกีฬาและส่งเสริมให้กีฬาเป็นอาชีพท่ี แสลมดังก์ ภาพยนตร์ “สตรีเหล็ก” “โปรเมย์ อัจฉริยะ ต้องสร้าง” เปน็ ต้น 313
14 ศกั ยภาพการกีฬา 140301 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การพัฒนาบคุ ลากรด้านการกีฬา และนันทนาการ เป้าหมาย บคุ ลากรดา้ นการกฬี าและนนั ทนาการ มคี ณุ ภาพและมาตรฐานเพิ่มขนึ้ มงุ่ สรา้ งและพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการกฬี าและนนั ทนาการ อาทิ ครผู ู้ฝึกสอน ผูต้ ดั สนิ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า ผูบ้ รหิ าร การกฬี า และอาสาสมคั รกฬี า อยา่ งเป็นระบบและมมี าตรฐาน สามารถถา่ ยทอดความรูแ้ กป่ ระชาชนทกุ กลมุ่ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมคี วามสามารถในการพฒั นานวตั กรรมทสี่ นบั สนนุ การพฒั นากฬี าและนนั ทนาการ นำ� ไปสกู่ ารเลน่ กฬี าอยา่ งถกู ตอ้ ง และปลอดภยั ในหมปู่ ระชาชน รวมถงึ สนบั สนนุ การพฒั นาของวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าซง่ึ จะนำ� ไปสคู่ วามรู้ในการออกกำ� ลงั กาย และการสรา้ งสุขภาพที่ดี โดยการจัดมาตรฐานและก�ำกับคุณภาพบุคลากร ตลอดจนการพัฒนาระบบขอ้ มูลบุคลากร ดา้ นการกฬี าและนนั ทนาการ ซง่ึ จะเป็นปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะสง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมายดงั กลา่ วไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม ผูลผงูลทงะทเะบเยีบนยี บนุคบลุคาลการกดราดนา กนฬีกฬีาราะรดะบัดนับานนาานชาาชตาิติ ส ถ า น ก า ร ณ ์ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย บุคบลคุ าลกำารกดรา ดนา้ำกนฬี กาีฬระำารดะบั ดนับานนาำานชาำชตาำิ ติ โดยได้ก�ำหนดการประเมินสถานการณ์จาก จาํ จนาำํ� วนนวน(ค(นค)น) คาคดาำกดากรณาำรจ ณํา์จนา�ํำวนนวบนุคบลุคาลกาำรกในรใอนนอานคำาตคต การมีบุคลากรด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬาทั่วประเทศท่ีได้รับ 505000 การรับรองมาตรฐานเพิ่มข้ึน ซ่ึงสะท้อนได้ จากข้อมูลประกอบที่เก่ียวเนื่อง คือ ข้อมูล 404000 363396699 323322222 ทะเบียนบุคลากรทางการกีฬาของชาติ 303000 ซึ่งจัดท�ำโดยกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา โดยพบว่ามีจ�ำนวนบุคลากรเพ่ิมขึ้น 202000 191129922 202270077 101000 121102200 25255858 25255959 25265060 25265161 25265262 25265363 25265464 25265565ป ปพ.พศ.ศ. ที่มา: กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า อย่างต่อเนื่องจาก 120 คน ในปี 2558 เปน็ 322 คน ในปี 2562 และคาดการณ์ว่า จะมีจ�ำนวนเพิ่มข้ึนเป็นประมาณ 400 คนภายในปี 2565 ซึ่งแสดงให้เห็นแนวโน้มการสามารถบรรลุเป้าหมายภายใน ปี 2565 ที่กำ� หนดให้มีบุคลากรดังกลา่ วเพ่ิมขน้ึ เฉลี่ยทรี่ ้อยละ 5 ได้ ประกอบกบั ท่ผี ่านมาบคุ ลากรด้านการกฬี าของไทย ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬาระดับชาติอยู่บ่อยครั้ง เช่น ในปี 2562 ที่ผ่านมาผู้ตัดสินฟุตบอลชาวไทยได้รับ โอกาสทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ผู้ตดั สินในการแข่งขันฟตุ บอลในระดบั ทวีปเอเชยี ในรายการ AFC Champions League ซ่ึงแสดง ให้เหน็ ถึงบุคลากรดา้ นการกฬี าของไทยทม่ี ีความเปน็ มาตรฐานสากลมากขนึ้ การดำ� เนินการทผ่ี า่ นมา หนว่ ยงานภาครัฐ ได้แก่ กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า กระทรวงศกึ ษาธิการ และการกฬี า แห่งประเทศไทย ได้ด�ำเนินโครงการเพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาความสามารถและเพิ่มจ�ำนวนของบุคลากรการกีฬา ที่มคี ณุ ภาพในลักษณะต่าง ๆ ประกอบดว้ ย (1) การก�ำหนดมาตรฐานและเสรมิ สร้างคณุ ภาพของบคุ ลากรด้านการกฬี า และนันทนาการ อาทิ โครงการบริหารจัดการระบบมาตรฐานผู้ฝึกสอนกีฬาและผู้ตัดสินกีฬา โครงการส่งเสริม มาตรฐานผู้ฝึกสอนกีฬาและผู้ตัดสินกีฬา และโครงการส่งเสริมอาสาสมัครกีฬาและผู้น�ำการออกก�ำลังกาย ซึ่งมุ่งเน้น การจัดท�ำมาตรฐานกลางผู้ฝึกสอนกีฬาและผู้ตัดสินกีฬา และ (2) การจัดท�ำสื่อสาระองค์ความรู้และหลักสูตรอบรม ในการพัฒนาบคุ ลากร และอาสาสมคั รกีฬาใหม้ คี วามสามารถสอดคล้องกบั มาตรฐานดงั กล่าว 314
ศักยภาพการกฬี า 14 140301 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย กำ� กับคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ใหม้ กี ารบงั คบั ใช้ คือ การยกระดับมาตรฐานและก�ำกับคุณภาพบุคลากร อย่างเคร่งครัด ตลอดจนการอบรมทักษะที่จ�ำเป็นต่าง ๆ ด้านการกีฬาและนันทนาการให้ครอบคลุมทุกประเภท ข อ ง บุ ค ล า ก ร กี ฬ า แ ล ะ นั น ท น า ก า ร ใ ห ้ ต อ บ ส น อ ง กีฬาและนันทนาการ เพื่อให้ผู้เล่นกีฬาและนันทนาการ ต่อมาตรฐานดังกล่าว และมีความครอบคลุมบุคลากร ป ระเภ ท ต่ า ง ๆ ยอมรับใ นม า ตร ฐา นคุ ณ ภา พ การกีฬาในทุกพ้ืนที่ โดยด�ำเนินโครงการ อาทิ ความยุติธรรม และความเป็นมืออาชีพของบุคลากร การประกวดหรือจัดอันดับบุคลากรทางด้านการกีฬา ทางดา้ นการกีฬาและนันทนาการของประเทศไทย และนันทนาการของประเทศ การลงโทษบุคลากร ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย กระทรวง ทางด้านการกีฬาและนันทนาการที่ประพฤติตนหรือ การท่องเท่ียวและกีฬาควรร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิบัติหน้าท่ีไม่เหมาะสม ท้ังนี้ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย และกระทรวงมหาดไทย ในการก�ำหนดมาตรฐานและ การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการ ใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานเพ่ิมข้ึน 315
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ 15 พลงั ทางสงั คม ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การสรางโอกาส ฿ และความเสมอภาค ทางสังคม “การดงึ พลังจากภาคสว่ นต่าง ๆ ในทุกระดับของสังคม ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม ชุมชนทอ้ งถ่นิ และกลุ่มทางเศรษฐกิจสงั คม มาเป็นพลงั สังคม รว่ มขับเคล่อื นการพัฒนาสงั คม และประเทศใหเ้ กดิ ความแขง็ แกรง่ และยง่ั ยนื ”
พลงั ทางสงั คม 15 แใหผม้นีคแวมาบ่ มทเขภม้ าแยขใต็ง้ยโุทดยธ11ศมางุ่ สเนตแ้นแรผผก์ชนนาาแแรมตมด่บิ่บปทึงทศฯรฯกัะปปเยรรดะภะเน็เดาดน็ ็นพ(1(แ(151ล55))ะ)พพพพลลลลงัังงั ังทททจาาางางสงสกังสังภคคงั มามคคมสม่วนีวตัตถ่างปุ รๆะใสนงทคุก์เพระื่อดพเเหับหัฒลลขอื อืนงองางแสลังะค1เ1มสรท22มิ ง้ั สภ3ร3า้าคงรพัฐ44ลภงั ทาคา55เงอสก6งั 6ชคนม ภาคประชาสังคม ชุมช22นท้อแแงผผถนนน่ิแแมมแ่บ่บลททะภภากายยลใใต่มุต้ย้ยทุทุทาธธงศศเาาศสสรตตษรร์ช์ชฐาากตติิจิปปสรรังะะเคเดดม็น็น เ((1ข155้า))มพพาลลเังังปทท็นาางงแสสรังังคงคมขมบั มมีวเีวคัตัตถลถุปุปือ่ รรนะะสสแงงคลค์เ์เะพพส่ือื่อพนพัฒัับฒนสนาานแแุนลละะใเหเสสรเ้รกิมิมสิดสรรก้า้างางพรพลรลังวังททมาาตงงัว ของประชาชนทุกกลุ่ม33 ทุกสสเังพังคคศมมใใหหท้ม้มุกีคีควววาาัยมมใเเขนข้ม้มทแแุขกข็ง็รง โะโดดดยยับมมุ่งุ่งอเเนนย้น้น่ากกงาาเรรขดด้มึงึงศศแักักขยย็งภภาาเพพพแแ่ืลอละะรพพ่วลลมังังจกจาาันกกภพภาาัฒคคสนส่ว่วานนแตต่าล่างงะๆๆแใกในน้ไททขุกุกปรระัญะดดับหับขาขออใงหงสส้สังังคคอมมดททค้ังั้งลภภา้อาคคงรรกัฐัฐับ ความต้องการในระดับ44พื้นทภภา่ีบาคคนเเออฐกกาชชนนนคภภาวาคคาปปมรรระะชู้แชาาลสสะังังคคคมมวชาชมุ มุมชชเนนขทท้า้อ้อใงงจถถใ่ิน่ินนแแบลละระกิบกลลทมุ่ ุม่ ทแทาาลงงเะเศศสรรษภษฐฐากกพจิ จิ สสปังังคัญคมมหเเขาข้าเ้ามชมาาิงเเปลป็นึ็กนแแทรรง่ีแงขขทับับเ้จเคครลลือ่ิง่อื นนซแแ่ึงลลจะะสะสนกนบั บั่อสสในนหุนุน้เใใหกห้ิด้ พลังทางสังคมที่เข้มแ55ข็งเพเเกกิ่มิดิดกมกาาารรกรรววขมม้ึนตตัวัแวขขลอองะงปปสรระาะชมชาาาชชรนนถททุกรุกก่วกลลมุ่มุ่มขททับุกุกเเเพคพศศลทื่อทุกุกนววัยกัยใใานนรททพุกุกรัรฒะะดดนับับาออสยย่าัง่างงคเเขขม้ม้มไแแดขข็ง้อ็งเยเพพ่ือา่ือรงร่ว่วตมม่อกกันเันนพพัฒื่อัฒนงนาแาแแลลละะแยแกก่ัง้ไ้ไขยขปืปนัญัญหหโาดาใใหยห้ ม้ ี เป้าหมายระดับประเด67น็76 ท่กี สจสจำ� ะอะอหกดกดอ่นคอ่คใลใดลหห้อ้อเ้ใ้เงกงกหกิดกิดับ้ทพับพคลคกุลวังวงัภาทาทมมาาาตงตงคส้อส้อสงังังงคกคก่วมามานรทรทใใี่เมนี่เนขขรม้ีสร้มะะแแว่ดดขขับนับง็ ็งพเพเรพพืน้ นื้ว่ิ่ม่ิมททมมมี่บี่บาาในกนกนขฐขฐาน้ึกานึ้ นแนาแคลคลรวะวะพาสาสมมาฒัารมรมู้แู้าแนาลรลรถะาถะรคสรคว่ว่ววงัมามาขคมขมบัเบัมเขขเเ้าคเ้าคใพลใลจจื่อื่อใ่ิมในนนนขกบกบาร้ึนารรบิริบพพททฒั ฒัแแนลนละาะาสสสสังภังภคคาามพมพไไปดปดญั้อัญ้อยหยห่าา่าางงเเตชตช่อิงอ่ิงลเลเนนึกึก่อื ทอ่ื ทงง่แี แี่แแทลทล้จะ้จะรยรยิง่งัิงั่งยซยซืนึ่ืงนึ่ง 88 โโดดยยมมีเีเปป้าา้ หหมมาายยรระะดดับับปปรระะเเดดน็ น็ ทท่กี ีก่ าาหหนนดดใใหห้ท้ทกุ ุกภภาาคคสส่ว่วนนมมีสีส่ว่วนนรรว่ ่วมมใในนกกาารรพพฒั ัฒนนาาสสงั งั คคมมเเพพ่ิมม่ิ ขขน้ึ ึน้ Sกอแหแเ4ค(สคซสขกเมพาอ7่งิว่ึงิทสoลาาลารผหื่างก.มรอิ่ะธcด6เะรมดลภามขขิสปiพ9วกaชักตกปา้นึ้าีก่วีิ่า้นถจlเ่อาพรนาาต2รวรงึอชกี้จารแ่งบPหา5รกยว้ีเะาพระลมุา6ปคนrเดัรลเณoัะฒรสลข2คาม้ลบะคศกท�gำาล่ียนร้วา1กาึนิาดrมารมนาา0จษeรถงับียลมคใผแ)ามสาาsึนัเุงกง่ไาปขรปีงทัsกดมปโลา้กคคนั้ลถด11221212121112112า้อา้ว22122211221111111ีคมระมI901643542305789261สงหาลง932126704136058495ยยหบmะ่าิใแตเงูา่มรปนเคลนซัพรงิดนpดาศกรา้ืะองึ่ทเร็นยกปนปทับeกาึ้แกธากิศลารปวSทเลทปบเสกตสก(ไดานร็ทกเตเสวSปบรสล(ปกทอรามrเรเนขูปดัมดoนรเข่ทุวาาะี่ิศาุีาูปัดคพเก์oรษ่เพวังาปาะaศิี่าีุาะงรคพือ่้รก2ปารยปอ่ืค้cนมธรรมน2าทร้ะคcนมปธคริ่รมกทสาปรพะูม้โคก5ิ่ถ3tiิ่รรพมเวม้เ5าลูถ3บiอaด่ราาิาเเวทาเะลลบอaทปาาปเง6ิระจลึงiัอ.ลาดขปธปงอ6ิ้lรจงึา.รราดขุ8งเคาขlงvราร1มุ8เเคริมาขิคย่ีดมเก้ึด็ร1มริี่มานด่ินานถยดมเอกึ้ด็Pบเ7ดดนดคนกถบรอัP้ึ7นหดคกeรินรปั้รรัมา้กแบวิอทินrบกรสดณลรีัรยานแบลิ้ทrบอกสดีณยลีรย้าัoลบัผบหารม้าัลoเบั้ผบั้หงวรดราอมลิรด้วย้ังวราอาคgรโฉยววล้ะวศายคนgะากโสคคภละพรศสรยคหนะำ�าดกคจยrภาร้รหทรดจลยrลยึาวักงกปeัน้ีกวกลเลลึวักงาปeูานั้ีวกนาเยลนวลอาขเาัพงันบมยขบลsาอขางมพัีั้มอุกาะพ4ยษัsนเี่าวมยีอุปด้ากาพ4ษเง้sน2ะาีป้าคปสธโมนมง้s2ีะยมา5ีมคปกธคมทคอีวยมแ5มก่าา5รทอถอรก์คใแว่าา้5รIถ.่า์กแทาิิต่แาแ้าI้ี.่าm์ปแาาัิลบต164ขวแาึจนิา่9m์ปคงอาัน้ลบา1ง6ขอ่ากึงยหา9คงติดรงงตหต2ตธรดิั้รระง1ตก0ตรเาน2ะร้ัร5ัpะ1ตก0จงเนสเะ้าาพยpมกด่ดาดะสเกา้ปพสมกกิ่อปดกกะา)ม้แกอคeกอ่มสปนังา)แ.ปะสeกมาสนตั่ิงงาแมลัตเกาารติ่าแมวคน่9rชลตตเูีไทารคโปนคเแนง์ยrีลอูียไ่คตโสaนาเปงขรศ่อนย่อาาดaาีมี่นะขรศ่นยลนอ่าดาา1่มอื่ี่บนtยลง่ใตา�มนลรึ้่ือนึบtงกาินง่กจใอ้ม2ำึ้ดนรiึอคงกรนินกจ้ง2นทงดiบvอคนขนทีะงะทvัาเขกมะกีแษด้ีาะคทะัาะเเแกย3eชแษด้ี่าแฉนคโ5ปะอแส5ยeแี่แฉนกคปทุนอนาาสลแาแทนต่าาาเาลลาลาแป้งท.อี่้ีาขดลรลาป้งงดวอีพด6ขโอ6ลรค4นะ85งขดพลโด่ือร2่ีง4นยะะาข่ทออายด2เล่ีงยะส่ีาวทออยัเ7ลั้สบนวล็นนับชดยเล715ะถ075ะโรั้กสงลกนนกับงชส่ีงเ5่างโรกงก.กปสี่า่งิืด.ทดปนอ้อ6อิสืจดาว6ทดใา่งนอว้อ6อ่งสจาว6ใาง่ว็ันชนีผ็กสชยย่5ยูะ่ธ9ารัางนชนีผกสชยย่5ยูะ่ธ9ารางนลิีู้่นลิีู้่ผตีชตีชอ่้วี อ่ว้ี ลอ44445ัดกอ54444ดักิส04826คสิาก08264คากรกตรรวากรภวาาภบราาบราารเารมเรขพ่อเมรขพเปรกา้ปแรกา้แอดิถลอดิา้ลถลกา้ลรงึงมุเวระึงงมุเวกบัปะคกับปสติคหกสติหกาคาป์้าาทิคาดิป์า้ทิรนาิดวรนห4รรธวหศ้าร4รรธาศ้าา้ม2ิสาะ5า้มมกึน2สิะม5มกึทนมีทก่ว5ท.ีทษบากว่ท5แโ.9ษานแโาา9อ6อนยาาาตอ6อ1ยม่ีางตบง11บงขกบงกเ1บขกรกสเคุาลัน้สามคุตล้ันามตังค:อืสสังคา่ือิตรสสา่คติลกงูงคSลขกงูงดิขมดิoมลอา้อท้าทcงนซงนซาดiาเุโดงึ่aงโงึ่อัชงปอปัชสlปสกนกรนงัPรังาชีะคาท้าชีะคสrทสกว้ีมoกวี้มีม่ขห่มีขัดอัดgอาอปาคอปบrคบ4ง2มีe4:ง2วีด:ว2ด75ด2ด7าs5Sาว้5Sัช.6้ว5sมัช.า6o6มย6o6น2ย6444กน29c444กI29ยc23ชีm40้าสi3ีช40า้สia...aีว้ว.9.2ิท.5ว้ีว9l2ิท5plัดห694ัดห6ธ94PธeคPนสิค6นสิr6rวr้า1oวว่้าa1oว่าท.นาgท.9tนgม9ามri8าr8veกงeกงeสsา้ สsา้ sวงัsวังคหIคหImมm1นม1น15า้p5า้pสค0สค50e้คมeะ0้คมะ0rะแr00ะaแ0aแ1แนt1นนt0iนivนนvนนe0e 1 2277 รร้อ้อยยลละะ 5500 ซซ่ึ ง่ึ งหหาากกเเรร่ง่งพพั ฒั ฒนนาาใในน 00 2200 4400 6600 8800 2288 ปปรระะเเดด็น็นดดังังกกลล่า่าวว คคาาดดวว่า่าจจะะสสาามมาารรถถ 2299 สส่ง่งผผลลตต่อ่อกกาารรกกาารรบบรรรรลลเุ ุเปป้า้าหหมมาายยไไดด้ ้ ทม่ี า: Sociทaทlม่ี มี่ Pาาr:o:SSgoroeccisiaasllIPmPrroopggerrereassstsivIImmeppปeeี r2raa5tti6ivv2eeปปี ี22556622 3300 3311 22 317
15 พลังทางสงั คม ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร เ พื่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ข ้ า ง ต ้ น แผนแม่บทฯ ประเดน็ (15) พลังทางสงั คม ประกอบดว้ ย ยงั มปี ระเดน็ ทา้ ทายทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งเรง่ แกไ้ ข อาทิ การสง่ เสรมิ 2 แผนแมบ่ ทยอ่ ย สรปุ สาระสำ� คญั ได้ ดงั นี้ (1) การเสรมิ สรา้ ง ใ ห ้ ชุ ม ช น ท ้ อ ง ถิ่ น มี ก ล ไ ก ใ น ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ทุนทางสังคม มีแนวทางในการพัฒนาที่เน้นการเปิด และการสื่อสารส�ำหรับการสร้างความรู้ และความเข้าใจ โอกาสให้เกิดการรวมตัวของประชากรทุกกลุ่ม ทุกเพศ เกย่ี วกบั นวตั กรรม และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทกุ วยั ในทกุ ระดบั และภาคเี ครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ในการรว่ มคดิ ใหก้ บั คนในชมุ ชนและกลมุ่ เปา้ หมาย รวมทงั้ การขยายผล ร่วมท�ำ และร่วมเป็นพลังส�ำคัญในการจัดการกับปัญหา การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากระบบบริหารจัดการข้อมูล และการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการเพิ่ม การพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (Thai People Map and ขีดความสามารถของชุมชนท้องถ่ินในการพัฒนา Analytics Platform: TPMAP) มาใช้ในการช้ีเป้าระบุ การพึ่งพาตนเอง และการจัดการตนเองท่ีครอบคลุม ป ั ญ ห า ร ะ ดั บ บุ ค ค ล แ ล ะ ค รั ว เ รื อ น ที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ทุกมิติต้ังแต่ เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในระดับพื้นท่ีได้อย่าง และสิ่งแวดล้อม รวมท้ัง การน�ำรากฐานทุนทางสังคม แท้จริง เพ่ือน�ำไปสู่การบูรณาการความร่วมมือระหว่าง และวฒั นธรรมไทยทมี่ อี ยใู่ นเรอื่ งการมนี ำ้� ใจเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่ ภาครัฐและภาคีการพัฒนาที่เก่ียวข้องในการแก้ไขปัญหา การให้ การแบ่งปันที่ได้รับการยกย่องและยอมรับ ภาวะตกหล่นในระดับพ้ืนที่ และพัฒนาศักยภาพ จากทั่วโลกมาต่อยอดการเสริมสร้างสังคมให้เป็นสังคม และดึงพลังของประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แห่งการให้และการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน ซ่ึงจะน�ำไปสู่ ในการจัดการปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การสร้างและพัฒนาให้เกิดมูลค่าเพิ่มและคุณค่าใหม่ บนฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ของชุมชนได้ด้วยตนเอง ร่วมกันอย่างมั่นคงและย่ังยืน และ (2) การรองรบั สงั คม รวมท้ังปรับปรุงข้ันตอนการด�ำเนินงาน กฎระเบียบ สูงวัยเชิงรุก มีแนวทางการพัฒนาที่เน้นการเตรียม และข้อบังคับของภาครัฐให้เอ้ือต่อการขยายการ ความพรอ้ มของประชากรกอ่ นยามสงู อายุในทุกมติ ิ ต้งั แต่ จั ด ส วั ส ดิ ก า ร ท า ง สั ง ค ม ท่ี ค ร อ บ ค ลุ ม ค ว า ม จ� ำ เ ป ็ น สุขภาพ เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม เพ่ือให้ประชากร ขั้นพื้นฐานและเหมาะสมกับทุกกลุ่มเป้าหมาย อาทิ เมอื่ กา้ วเขา้ สวู่ ยั ผสู้ งู อายสุ ามารถพงึ่ พาตนเองและดำ� เนนิ ชวี ติ วัยแรงงาน ผู้สูงอายุ เพื่อให้สามารถเตรียมความพร้อม ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ รวมทั้ง สามารถช่วยเหลือ ในการสร้างภูมิคุ้มกันก่อนยามสูงอายุ และมีมาตรการ ชุมชนและสังคมได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ตลอดจนส่งเสรมิ ในการรองรบั ผู้สูงอายุท่ีครอบคลุมและมีคุณภาพ ให้ภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมปรับเปลี่ยนมุมมอง และทัศนคติของสังคมท่ีมีต่อการปฏิบัติกับผู้สูงอายุ เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้ามามีบทบาททางสังคมเพิ่ม มากย่ิงขึ้น 150101 150201 150202 318
พลังทางสังคม 15 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การเสริมสรา้ งทุนทางสังคม เป้าหมาย ภาคกี ารพัฒนามบี ทบาทในการพัฒนา 150101 สงั คมมากขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ภาคีการพัฒนาต่าง ๆ นอกเหนือจากภาครัฐจะเป็นพลังส�ำคัญในการร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมและประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทการพัฒนาปัจจุบันและอนาคตท่ีคาดว่าจะมีความซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งภาคีการพัฒนาต่าง ๆ อาจมีข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีที่สอดคล้องกับความต้องการและบริบทการพัฒนาเชิงลึกมากกว่าภาครัฐ รวมท้ังมีการน�ำทุน ทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถ่ินมาสร้างให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจที่สร้างสรรค์ การเพิ่มโอกาสให้ภาคีการพัฒนา มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและ ประเทศเพิม่ ขึน้ โดยตอ้ งมกี ลไกการขับเคล่อื นผ่านผ้นู �ำการเปลี่ยนแปลง 3 วัยทีเ่ ข้มแขง็ และเขา้ ใจบรบิ ทการพฒั นาของ พื้นที่ และการมีกลไกท่ีส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมการพัฒนาสังคม เพื่อเป็นปัจจัยสนับสนุน การดำ� เนนิ งานใหส้ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายทีก่ �ำหนดไวไ้ ด้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เม่ือพิจารณาด้วยดัชนี ดัชนีความก้าวหนา้ ของคนในมติ ิการส่วนรว่ มทางสังคม ชว้ี ดั ทนุ ทางสงั คม เทยี บเคยี งจากดชั นคี วามกา้ วหนา้ ของคน ในมิติการมีส่วนร่วมทางสังคม พบว่า การเข้าร่วมเป็น 150 สมาชิกของกลุ่ม/องค์กรต่าง ๆ ในชุมชน การมีจิตอาสา ร่วมท�ำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม 124.86 การช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชนและสร้างความ เข้มแข็งของชุมชนเพื่อน�ำไปสู่การพ่ึงพาตนเองของ 117.48 ครอบครัวและชุมชนมีจ�ำนวนเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2561 มีจ�ำนวนองค์กรชมุ ชนเพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 6.3 99.04 101.01 103.21 จากปี 2560 ขณะที่หากสะท้อนจากการส่งเสริมจัดต้ัง 100 สภาองค์กรชุมชนต�ำบลท่ีเป็นกลไกหลักในการสนับสนุน ก า ร ร ว ม ก ลุ ่ ม ข อ ง ค น ใ น ชุ ม ช น / ต� ำ บ ล เ พ่ื อ ห า รื อ 98.61 98.73 98.67 99.33 99.54 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการแก้ไขปัญหาและวางแผน การพัฒนาท้องถ่ินอย่างมีส่วนร่วมกับภาคีพัฒนาต่าง ๆ 50 พบวา่ ปจั จบุ นั มจี ำ� นวนมากถงึ 7,666 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 98 ของจำ� นวนตำ� บล/เทศบาล/เขตทวั่ ประเทศ (7,825 แหง่ ) 0 2558 2559 2560 2561 ในขณะที่ภาคเอกชนมีบริษัทจดทะเบียนในตลาด 2557 หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยท่ีมีการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม จำนวนองคก์ รชุมชน (ตอ่ ประชำกรแสนคน) เปน็ ธรุ กจิ ทมี่ คี วามยงั่ ยนื ไดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ สมาชกิ ของ ดชั นคี วามยงั่ ยนื (Dow Jones Sustainability Indexes - DJSI) ครวั เรือนทม่ี สี ว่ นร่วมทำกิจกรรมสำธำรณะของหมูบ่ ำ้ น (%) ในปี 2562 จ�ำนวน 20 บรษิ ัท สงู ทสี่ ดุ ในอาเซียนตอ่ เน่อื ง ที่มา: สำ� นกั งานสภาพฒั นากทามี่ ราเ:ศสารนษักงฐากนสิจภแาพลัฒะนสากังาครเมศรแษหฐกง่ ิจชแลาะตสงัิ คมแหง่ ชาติ ที่มา: ตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย เปน็ ปที ี่ 6 สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ภาคกี ารพฒั นาตา่ ง ๆ มสี ว่ นรว่ ม ในกระบวนการพัฒนาสังคมของตนเองเพิ่มมากข้ึนตาม เปา้ หมายที่ก�ำหนด 319
15 พลงั ทางสงั คม 150101 การดำ� เนนิ การทผ่ี า่ นมา ชว่ งปี 2561-2562 ภาครฐั ไดม้ กี ารพฒั นาและเพม่ิ ขดี ความสามารถของชมุ ชนในการพงึ่ ตนเอง และการจัดการตนเองผ่านโครงการพัฒนาต�ำบลเข้มแข็งท่ีส่งเสริมให้ภาคประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดท�ำแผนพัฒนาต�ำบลครบทุกมิติ โดยมีสภาองค์กรชุมชนต�ำบลเป็นเวทีกลางในการแก้ไขปัญหาสาธารณะ มีการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพเพิ่มรายได้ พัฒนาที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมเพ่ิมมากขึ้น ประชาชนมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชนท้องถ่ินตนเอง อาทิ การท�ำกิจกรรมสาธารณะของหมู่บ้าน การจัดการขยะและดูแลรักษา สภาพแวดล้อมให้ชุมชนน่าอยู่ รวมทั้งได้มีการส่งเสริมการสร้างผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงเพ่ือพัฒนาสัมมาชีพชุมชนตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน�ำไปสู่การสร้างรายได้ที่ม่ันคงแก่ครัวเรือน การส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชน ในการพัฒนาชุมชนและสังคม อาทิ หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยผลักดันโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ทีใ่ ชค้ วามรู้/เทคโนโลย/ี นวตั กรรมในการพฒั นาศักยภาพการท�ำการเกษตร และโครงการ 1 หอการค้าฯ ดแู ลอย่างนอ้ ย 1 สหกรณก์ ารเกษตร มีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 157 แห่ง ครอบคลมุ พนื้ ที่ 76 จังหวัด ซึ่งชว่ ยยกระดบั ความสามารถ ในการบริหารจัดการให้กับสหกรณ์การเกษตรมีความทันสมัย ลดต้นทุนค่าใช้จ่าย สร้างรายได้ท่ีย่ังยืนให้กับสหกรณ์ และเกษตรกรมรี ายได้ทมี่ น่ั คง รวมทั้ง ภาควชิ าการได้ดำ� เนนิ การสนับสนุนใหส้ ถาบันการศกึ ษามีส่วนร่วมในการเพ่มิ ขีด ความสามารถของชุมชนท้องถ่ินในการพัฒนาตนเอง ส่งผลให้ชุมชนมีนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา สามารถพัฒนา ต่อยอดทุนทางวัฒนธรรมเพื่อสร้างรายได้เข้าสู่ชุมชนเพ่ิมมากข้ึนได้ และท�ำให้มีการรวมกลุ่มเพื่อด�ำเนินการต่าง ๆ ได้มากข้นึ 320
พลังทางสงั คม 15 150101 ประเด็นทา้ ทายทส่ี ่งผลต่อการบรรลเุ ป้าหมาย พบวา่ ชุมชนท้องถ่นิ ยงั ขาดกลไกการเชอื่ มประสานเชิงกระบวนการทม่ี ี ประสิทธิภาพ (Community Facilitator) ในการพัฒนาทักษะและสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจกับคนในชุมชนและ กลุ่มเป้าหมายในการใช้ข้อมูล/ความรู้/นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่งผลให้การพัฒนา ศักยภาพในการจัดการปัญหาด้วยตนเองบนฐานความต้องการของชุมชนไม่สามารถลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง และต่อเน่ืองได้ อีกทั้งข้ันตอนกระบวนการท�ำงานและกฎระเบียบของภาครัฐอาจยังมีข้อจ�ำกัดในการเปิดโอกาสให้ ประชาชนในพน้ื ทห่ี รอื งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินเขา้ มามีสว่ นร่วมในการพัฒนาพืน้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย การด�ำเนินการระยะต่อไป ภาครัฐควรกระตุ้นและส่งเสริมบทบาทของ ภาคเอกชนในการพัฒนาศักยภาพชุมชนและสังคมให้สามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่างยั่งยืนด้วยการน�ำนวัตกรรม และเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการพัฒนา โดยให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินโครงการการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัคร ดิจิทัล (อสด.) เป็นล�ำดับแรก เพ่ือพัฒนา อสด. ให้เป็นตัวกลางในการพัฒนาทักษะเชิงลึกให้กับคนในชุมชนได้ใช้ เทคโนโลยีดจิ ิทัลอยา่ งถูกต้องเหมาะสมและสรา้ งสรรค์ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ความร้แู ละบรกิ ารของภาครฐั ในการพัฒนา อาชีพและคุณภาพชีวิตได้ อาทิ การพัฒนาเกษตรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การเสริมศักยภาพเชิงพาณิชย์ในการน�ำสินค้า และบริการของชุมชนมาท�ำการซ้ือขายบนร้านค้าออนไลน์หรือพัฒนาระบบการช�ำระเงินออนไลน์ โดยการเปิดโอกาส ให้หน่วยงานในระดับท้องถ่ินและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ น�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ/ มาตรฐานสินค้าและการให้บรกิ าร เพ่อื สรา้ งโอกาสในการเพ่ิมรายไดแ้ ละพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตใหด้ ีขึน้ นอกจากนี้ ควรให้ ความส�ำคัญกับโครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ซึ่งเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริการด้านสวัสดิการทางสังคมให้สามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายได้อย่างท่ัวถึง โดยพัฒนาศักยภาพ อพม. และบูรณาการความร่วมมือกับเครือข่ายภาคประชาสังคมใน การพัฒนาและจัดสวัสดิการสังคมให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีประสบปัญหาความเดือดร้อนให้มีคุณภาพชีวิต ท่ีดีขนึ้ รวมทัง้ การสง่ เสรมิ การพฒั นาผนู้ �ำการเปล่ยี นแปลง 3 วัย ทีม่ ีความเขา้ ใจบริบทการพฒั นาของพ้ืนที่ ใหเ้ ปน็ ผูน้ ำ� ท้ังความคิดและปัญญา สามารถน�ำความรู้และนวัตกรรมมาพัฒนาแก้ไขปัญหาของพื้นท่ี นอกจากน้ี ควรพิจารณา ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานและกฎระเบียบของภาครัฐท่ีเป็นอุปสรรค เพื่อเพ่ิมโอกาสให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคกี ารพฒั นาทเ่ี กย่ี วขอ้ งเขา้ มามบี ทบาทในการพฒั นาชมุ ชนและสงั คมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 321
15 พลงั ทางสังคม แผนแม่บทย่อย การรองรบั สังคมสูงวยั เชิงรุก เปา้ หมาย 150201 ประชากรไทยมกี ารเตรยี มการกอ่ นยามสงู อายุ เพ่ือใหส้ งู วยั อยา่ งมคี ณุ ภาพเพิ่มขน้ึ การเตรียมความพร้อมของประชากรไทยโดยเฉพาะวัยแรงงานให้มีสุขภาวะที่ดี มีความพร้อมทางการเงิน มีส่วนร่วม ในการท�ำกิจกรรมในสังคม เพ่ือให้ประชากรกลุ่มดังกล่าวสามารถพึ่งตนเอง และเป็นผู้สูงอายุท่ีสามารถด�ำเนินชีวิต ได้อยา่ งมคี ณุ ค่าและมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี รวมท้ังเป็นพลังในการพฒั นาและยกระดบั คณุ ภาพตนเอง ครอบครัว และสงั คม ใหน้ านทส่ี ดุ ซงึ่ จะเปน็ การเปดิ โอกาสใหป้ ระชากรไทยสามารถมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาสงั คมไดม้ ากเพม่ิ ขน้ึ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ ง มปี จั จยั การดำ� เนนิ งานเกยี่ วกบั การสรา้ งการตระหนกั รถู้ งึ ความสำ� คญั ของการเตรยี มความพรอ้ มของการเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั และการสร้างภูมิคุ้มกันทุกมิติให้กับประชากรไทยก่อนอายุ 60 ปี ประกอบด้วยด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อม เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพ่ือให้ประชากรไทยเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพเพ่ิมขึ้น ซึ่งจะน�ำไปสู่ การบรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจาก สัดส่วนประชากรอายุ 25-59 ปีที่มีการเตรียมการ ก่อนยามสูงอายุท้ังมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ การเตรียมการก่อนยามสูงอายุ และสภาพแวดล้อม เทียบกับจ�ำนวนประชากรท้ังหมด โดยเฉลยี่ ทกุ ดา้ น (ทงั้ 10 ขอ้ ) 51.9 ในช่วงอายุ 25-59 ปี พบว่า ปี 2559 ประชากรอายุ การเตรยี มเรอื่ ง การทาศพสาหรับตนเอง 39.5 25 – 59 ปี เพยี งครึง่ หนึ่ง หรือ รอ้ ยละ 51.9 มกี ารเตรยี ม การศกึ ษาเกย่ี วกบั สทิ ธทิ ผี่ สู ้ งู อายพุ งึ ไดร้ ับตามกฎหมาย 35.5 ความพร้อมก่อนยามสูงอายุ ซึ่งยังต�่ำกว่าค่าเป้าหมาย การทางานใหช้ มุ ชนหรอื เป็ นอาสาสมัคร เมอื่ อยใู่ นวยั สงู อายุ 35.9 การใชช้ วี ติ เมอ่ื อยใู่ นวยั สงู อายุ 55 การออมหรอื การสะสมเงนิ ทองทรัพยส์ นิ ใหเ้ พยี งพอ เพอื่ ใชใ้ นวยั สงู อายุ 71 ท่ีก�ำหนดไว้ในปี 2565 (ร้อยละ 60) ท้ังนี้ การเตรียม การศกึ ษาธรรมะหรอื เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทบี่ อ่ ยขนึ้ เมอ่ื อยใู่ นวัยสูงอายุ 46.4 การทาตนเองใหม้ สี ภาพทางจติ ใจทด่ี หี รอื ปลอ่ ยวางกอ่ นวยั สงู อายุ 64.3 ความพร้อมด้านการศึกษาเกี่ยวกับสิทธิท่ีผู้สูงอายุ การทาตวั เองใหม้ สี ขุ ภาพกายทแี่ ข็งแรงกอ่ นวัยสงู อายุ 66.7 พึงได้รับตามกฎหมาย การเตรียมความพร้อมด้านการ การจะใหใ้ ครเป็ นผดู ้ แู ลในชว่ งวยั สงู อายุ การจะอยกู่ บั ใครเมอ่ื อยใู่ นวยั สงู อายุ 51.5 53.7 ท�ำงานใหช้ มุ ชนหรอื เปน็ อาสาสมคั ร และการเตรยี มเรอื่ ง 0 10 20 30 40 50 60 70 80 การทำ� ศพสำ� หรบั ตนเอง ยังมสี ัดส่วนที่น้อยกวา่ ร้อยละ 40 ที่มา: วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ซึ่งหากเร่งด�ำเนินการพัฒนาในประเด็นดังกล่าว คาดว่า จะสามารถสง่ ผลตอ่ การบรรลุเปา้ หมายไดส้ ำ� เรจ็ การด�ำเนินการที่ผ่านมา หน่วยงานภาครัฐมีการด�ำเนินการเตรียมความพร้อมของประชากรก่อนวัยสูงอายุในช่วงปี 2561 – 2562 ส่วนใหญ่คือการจัดท�ำแนวทางและคู่มือการเตรียมความพร้อมก่อนยามสูงอายุเพื่อสร้างความรอบรู้ ให้คนรุ่นใหม่เตรียมความพร้อมในทุกมิติ มีความรู้ความเข้าใจมีแนวทางปฏิบัติท่ีถูกต้อง อาทิ การเตรียมสุขภาพกาย และจิตใจ การวางแผนทางการเงนิ ลว่ งหนา้ ซึง่ จะท�ำให้ประชาชนมีความพร้อมส�ำหรับการใช้ชีวิตในสังคมสูงวัย รวมท้งั การจัดฝึกอบรมเพ่ือสร้างความเข้าใจให้กับวัยแรงงานเพื่อให้ตระหนักถึงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ 322
พลังทางสังคม 15 150201 โดยเป็นการด�ำเนินงานที่สอดคล้องกับปัจจัยการสร้างการตระหนักรู้ในการเข้าสู่สังคมสูงวัย และการสร้างภูมิคุ้มกัน ใหก้ ับประชากรไทยก่อนอายุ 60 ปี ประเด็นท้าทายเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การด�ำเนินการข้างต้นยังขาดความครอบคลุมประชากรวัยแรงงานท้ังหมด โดยแรงงานที่เข้าอบรมส่วนใหญ่เป็นวัยแรงงานที่ท�ำงานอยู่ในระบบ ขณะท่ีแรงงานนอกระบบ หรือกลุ่มวัยแรงงาน ทย่ี ากจนอาจไมส่ ามารถเขา้ รว่ มโครงการดงั กลา่ วได้ เนอ่ื งจากมขี อ้ จำ� กดั ในดา้ นตา่ ง ๆ อาทิ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู การดำ� เนนิ การ ของภาครฐั ดา้ นรายได้ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทาง และความเสย่ี งทจี่ ะตกงาน ซงึ่ อาจเปน็ อปุ สรรคในการเตรยี มความพรอ้ ม กอ่ นยามสูงอายุ และความสามารถในการสร้างภูมิค้มุ กันโดยเฉพาะดา้ นเศรษฐกจิ ไดอ้ ย่างเตม็ ประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ควรให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับการด�ำเนินโครงการเตรียมความพร้อมประชากร ก่อนวยั สูงอายุ และโครงการเตรยี มความพรอ้ มด้านสุขภาพของประชากร อายุ 25 – 59 ปี เพ่อื ใหส้ ูงวัยอย่างมีคณุ ภาพ โดยเฉพาะเร่งผลักดันมาตรการส่งเสริมให้เกิดการเตรียมความพร้อมของวัยแรงงานในกลุ่มเปราะบาง โดยอาศัยกลไก ในระดับพื้นที่เพื่อสร้างการรับรู้และตระหนักรู้ในการเข้าสู่สังคมสูงวัยให้กับวัยแรงงานในพื้นที่ของตน ส่งเสริมให้เกิด เปน็ กลไกเครอื ขา่ ยสรา้ งความมน่ั คงทางสงั คม ตลอดจนพฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอื่ เตรยี มความพรอ้ มสสู่ งั คมสงู วยั นอกจากนี้ ควรให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันในระดับชุมชน โดยการสร้างความรอบรู้ ด้านสุขภาวะในระดับปฐมภูมิเพ่ือคนทุกวัย และสนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่มในระดับชุมชน หรือธนาคารประชาชน ในระดบั ชมุ ชน เปน็ หลักประกนั ทางสงั คมให้กับประชาชนรองรบั การเขา้ สู่สงั คมสงู วัย 323
15 พลงั ทางสงั คม แผนแมบ่ ทย่อย การรองรับสงั คมสงู วัยเชิงรุก เป้าหมาย 150202 ผสู้ งู อายมุ คี วามเปน็ อยทู่ ดี่ อี ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ด้วยแนวโน้มของการมีอายุยืนขึ้นของประชากรไทย การยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในทุกด้าน ให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาวะท่ีดี สามารถช่วยเหลือและพ่ึงพาตนเองได้ จะท�ำให้ผู้สูงอายุยังคงด�ำรงชีวิตได้ในสังคมอย่างมีคุณค่า และเป็นพลังร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาสังคมประเทศได้ต่อเน่ืองอย่างเป็นนัยส�ำคัญ จึงต้องมีการสร้างสภาพแวดล้อม ทเี่ อ้ือตอ่ การดำ� เนนิ ชวี ติ ของผสู้ ูงอายุ การจ้างงานท่ีเหมาะสม และการพฒั นาระบบการดูแลและคมุ้ ครองทางสงั คมของ ผู้สูงอายุ เพ่ือรองรับผู้สูงอายุให้สามารถจดำ�ำนเวนนผินู้สชูงอีวำิตยุทใย่ีนำกสจังนคหลมำไยดมิต้อิ ย่างมีคุณภาพ ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนการด�ำเนินงาน ใหส้ ามารถบรรลเุ ป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม 2560 1,825,216 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เม่ือพ25ิจ61ารณาจาก 876,193 สัดส่วนผู้สูงอายุท่ีประสบปัญหาความยา2ก5จ62นหลายมิติ 691,213 ประกอบดว้ ย 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ จ�ำนวนผู้สูงอายุท่ียากจนหลายมติ ิ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการ 2,000,000 1,825,216 ภาครัฐ ซ่ึงจากข้อมูลในระบบบริหารจัดการข้อมูล การพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and 1,500,000 Analytics Platform: TPMAP) พบว่า ในปี 2562 1,000,000 876,193 ผู้สูงอายุท่ียากจนหลายมิติมีจ�ำนวนท้ังส้ิน 6.9 แสนคน 691,213 (ร้อยละ 9.5 ของผู้สูงอายุยากจนท้ังหมดในระบบ) 500,000 ปรบั ลดลงจากปี 2561 ท่ี 8.8 แสนคน (รอ้ ยละ 12 ของ 0 ผู้สูงอายุยากจนทั้งหมดในระบบ) หรือลดลงเทียบเท่า 2560 2561 2562 ร้อยละ 21.1 ซ่ึงส่งผลให้เป้าหมายดังกล่าวบรรลุผลลัพธ์ ที่มา: ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ตามท่ีกำ� หนด (รอ้ ยละ 10) สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความเปน็ อยู่ ท่ีดขี ้ึนของผ้สู งู อายอุ ยา่ งตอ่ เน่อื ง การด�ำเนินการท่ีผ่านมา หน่วยงานภาครัฐมีการด�ำเนินการพัฒนาเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเป็นอยู่ที่ดีอย่างต่อเน่ือง ในช่วงปี 2561 – 2562 มีการด�ำเนินการส่งเสริมการประกอบอาชีพให้กับผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพ สร้างและขยายโอกาสการมีงานท�ำให้ผู้สูงอายุ รวมท้ังการอบรมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจด้านการดูแลสุขภาวะ ของตนเอง ส�ำหรับการสร้างเครือข่ายในการช่วยเหลือ เฝ้าระวัง และการพัฒนาระบบการดูแลและคุ้มครองทางสังคม ของผู้สูงอายุ มีการด�ำเนินการเกี่ยวกับการให้บริการสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากล�ำบาก รวมท้ังพัฒนานวัตกรรม ในการดูแลผู้สูงอายุ โดยจัดให้มีโครงการ “ธนาคารเวลา” ซึ่งเป็นพ้ืนที่ท่ีให้ทุกคนได้เข้ามาแบ่งปันเวลาให้กับการดูแล ผู้สูงอายุ ด้านการด�ำเนินงานเก่ียวกับการสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ มีการด�ำเนินงานเกี่ยวกับ การปรบั ปรุงอารยสถาปัตย์ตามนโยบายการพัฒนาทอี่ ยู่อาศัยเพอ่ื คนทัง้ มวล 324
พลงั ทางสงั คม 15 150202 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย การด�ำเนินการในด้านโครงการที่สร้างสภาพแวดล้อม และระบบ การดูแลและคุ้มครองทางสังคมของผู้สูงอายุยังคงมีความท้าทายเรื่องความครอบคลุมของพ้ืนท่ีด�ำเนินงาน โดยโครงการในปัจจุบันมีการด�ำเนินการอยู่ในบางพื้นที่ อาทิ อาคารสถานท่ีและพ้ืนท่ีสาธารณะของราชการ ส�ำหรับด้านการจ้างงานที่เหมาะสม พบว่า ยังมีความท้าทายในส่วนของการก�ำหนดต�ำแหน่งงานและค่าตอบแทน ของผู้สูงอายุที่เหมาะสม โดยเฉพาะในกลุ่มแรงงานทักษะต�่ำ ท�ำให้ผู้สูงอายุจ�ำนวนมากยังต้องท�ำงานอยู่นอกระบบ ท�ำให้ไม่มีหลักประกันรองรับและไม่มีรายได้ท่ีแน่นอน ขณะที่การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุและคนในชุมชน ในการจดั ระบบการดแู ลและค้มุ ครองทางสงั คมยังมีคอ่ นข้างน้อย ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การด�ำเนินการระยะต่อไปจึงควรเร่งขยายขอบเขตการด�ำเนินการ สร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุและอ�ำนวยความสะดวกในการด�ำรงชีวิตของคนทุกเพศทุกวัยท่ีอยู่ร่วมกัน ในสงั คมอย่างครอบคลมุ และครบวงจร ควรผลักดันให้เกดิ การจ้างงานผสู้ ูงอายุในสถานประกอบการตา่ ง ๆ เพ่ิมมากข้ึน รวมท้ังการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างอาชีพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ท�ำให้ผู้สูงอายุมีรายได้เล้ียงตนเอง ได้อย่างมีศักด์ิศรี นอกจากน้ี ควรน�ำข้อมูลในระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (Thai People Map and Analytics Platform: TPMAP) มาใช้ในการชี้เป้าระดับบุคคลและครัวเรือน เพื่อน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาภาวะ ตกหล่นในระดับพื้นท่ี โดยการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคีการพัฒนาท่ีเก่ียวข้องในระดับพื้นที่ อย่างแท้จริงในการเข้ามามีส่วนร่วมด�ำเนินการจัดสวัสดิการทางสังคมและมาตรการทางสังคมต่าง ๆ บนฐานข้อมูล เชิงประจักษ์ของชุมชนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการในระดับบุคคลและครัวเรือนได้ อาทิ การส่งเสริม การประกอบอาชีพ การจัดระบบดูแลและคุ้มครองทางสังคม ที่เหมาะสมและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น 325
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น 16 เศรษฐกจิ ฐานราก ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การสรางโอกาส ฿ และความเสมอภาค ทางสังคม “เศรษฐกจิ ชุมชนท้องถิ่นเขม้ แข็ง มศี กั ยภาพในการแข่งขัน สามารถพึ่งพาตนเอง ไดร้ ับประโยชน์จากการพัฒนาอยา่ งท่วั ถงึ และเป็นธรรม ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ และความเปน็ อยขู่ องประชาชนในชุมชนให้ดีขึ้น”
เศรษฐกิจฐานราก 16 สสี ม้ 2 3 4 แผนแม่บ1ทฯ ปแผรนะแเดม็่บนทฯ(1ป6ร)ะเเดศน็ รษ(1ฐ6ก)ิจเศฐราษนฐรกาิจกฐานมรีวาัตกถุประสงค์เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานรากและเสริมสร้าง ขเศอรงษรฐะกบิจบ32ฐาเศนรรแแษาลผกฐะนใกเหแสิจ้มมรร่ิีคมบะวสทหารฯวม้า่งาเปขเงศร้มกระแันษเขเดฐ็งป็นก็นิสจ(ฐาร1มาะ6นาบ) รรบเถาศกพรแใ่ึงษหลพ้ฐมะาีกคเติปจวนาฐ็นเมาอรเนงะขร้มบชาแบ่วกขยเ็งศมเหีรวสลัษตาือมถฐเุาปกอริรจ้ือถะทเพฟส่ีเึ่ งื้อองพคซื้อา์่ึงเใตพกหนื่ันอ้เเปกแอลิดรงัะบกชกโา่วคันรยรพเมงหัฒสีคลรืนุณอ้าเาธงอดรเ้ือศร้าเมรฟนษ้ืออมฐซ่ืนีกึ่กงาิกจๆรันฐไแาหในลนละรเพวกา้ืนียันกนที่ เกิดการส4ร้างอมาีคชุณีพธแรลระมกมาีรกการรไะหจลาเยวรียานยขไอดง้ รสะาบมบาเรศถรลษดฐกปิจัญรหะหาคว่าวงากมันเหเปล็น่ือรมะลบ้�ำบแลแะลคะเวปา็นมรไะมบ่เสบมเศอรภษาฐคกใิจนทร่ีเะอดื้อับใหช้เุมกชิดน โดยมีเปา้ ห5มายกราะรดพับัฒปนารดะ้าเนดอน็ ่ืนคๆือในรพาื้นยทได่ี เ้ขกิดอกงาปรรสระ้าชงาอกาชรีพกแลลมุ่ ะรกาารยกไรดะน้ จอ้ายยรเาพยไม่ิ ดข้ สน้ึ าอมยารา่ ถงลกดรปะัญจหาายคแวลามะเอหยล่ืา่อมงตล้า่อแเลนะื่อคงวามไม่ 6 เสมอภาคในระดับชุมชน โดยมีเป้าหมายระดับประเด็น คือ รายได้ของประชากรกลุ่มรายได้น้อยเพิ่มขึ้นอย่างกระจาย 7 และอยา่ งตอ่ เน่อื ง การปร8ะเมกนิ ารผปรละเลมินพั ผลลธัพ์กธ์กาารรดดา้ เน�ำนิ เกนารินที่สก่งผาลรตอ่ทกส่ีารบ่งรรผลุเลปา้ ตหมอ่ ายการบรรลเุ ป้าหมาย 160001 กเ1ใสเศมศน7าักภอ่ืรรมยาษจพพิตภเาฐจิศฒัิตกาการ่พานร1111111ิจษ7งาณ90261435ทแ4ฐอาๆบากยงปจบิา่จเรามศตใพเอจดปงกโมกะชทาัดันัชะรรลัฒร่ือเ้ดวกวะทนษดวท่ัะกพันดันชชักี้าับกถจฐศิศจาาโอนาทงึวกดา(เากักรอศWกี(ี่่ารยยพิจรยปก1ปรณากใสคฒัขภ7เoษนรรรฉภาาวอาะนะมพrฐียจารพาlงเากจจิตงเาฒัdอทมศอทปิาใจิตำก� ต้ารยศกมนาแป่าดรษ้E่างงงกบ่ัังชะาเี7งอเฐปcค2ำอน�บๆเศท4กิoง็ทนล5ีก่ังยกรั่วิจเมรงnัาศษ6ถา่รพโปอาพนรลึงะง1ฐoตกรีพงยทกจ�ำฒกัป่ะปากmัฒงพาไิจว่ัเงวร(รนรปยทWถขนบ่ะาiะาcคาศสกอๆจางึเoวยท)วอา้างู่กา่r((าFรไศปปยlแปIทาdnมดอoม่าีรลปรร่ีใ2้cามง้ตาะะErะหแรงท5lั่งเuเเc่อuออละ6ททกค้ค่ัวomิงเ1sหเยถั่ศงศ้ปวซnทเiึงอพู่vกัวตีพายoัญนศe้านีัย่าม(mบ:้าIโไลหงง(nดดสไวทDGiรังWccป่าาบยัๆ�ำาพยelDคสปuยคFทEปัฒมvทู่กPsไoวรัญรFe่ีดกีiน่ีใาะrvาะ2)หu้lตาราเeกpมเoทm่้อแทร)คขับโเepDศหพกวศแหดอคrไem้าัปว:ไลฒัยทลงทvมุณWัะญcภ(ยeข่ืeอนยสอGaหไEภlมูnมม้้อายาoDดFpาีกภคิtาู่ออลpม้Pค)คiาัพญันาIยmt�้ำะูลโnวรpaคดดแาใ่ชกพาedจeน)ับงยนตับมีวัnฒeาrทขททนะิเตคเtกxหน้อcปว่ั่ีกวุณี่สขI:2aมาลรnถานั็นุดอIpอภ่ืูลอdารDงึอยiกงพจามeยอtขIอจ่าaป)พาxาัฒลอยงง)กก:ัดรช้รางาอทู่นซเรIเภทพีใะวDปน่ัวนัฉาาง่ึนิูตมชI็ถน�ำยอัฒใยดี)ดทิภขชึงโางยกงับชัี่สอดนอาาว้ซก่าาในุยคดนทงงรดยัต่ึงารู่ ี่ี้ 17 Thailand 1สีเ6หล0ือ0ง 01 4.24 1.93 เป็นรอง1ป7ระเททศัว่ มถึงาเเลท่าเซกบัีย 4โ.ด24ยป(จราะกคเทะแศนไนทเยตม็ได7้คคะะแแนนนน)กปารรบั พลัฒงมนาาจาอกยข่าอ้ งมทลู ั่วทถปี่ ึงรากเทฏใ่านกรับายง4า.น2ฯ4 ท่ีมา: World Economic Forum (จากคะ18แนนฉเบตับ็มก่อน7หนค้าะ(แ4.น42น) )ท้าให้มีความท้าทายในการบรรลุเป้าหมายในปี 2565 (4.30) ปรับลง1ม9าจาอกยขา่ ง้อไรมก็ดูลี ทค่า่ีปคะรแานกนฏของประเทศไทยยังสูงกดวัช่านคกี ่าาเรฉพลัฒี่ยนาอยา่ งทั่วถงึ (Inclusive Development Index) ในรายงา2น0ฯ ฉขบอบั งกปอ่ รนะหเทนศ้าก้(า4ล.ั4งพ2ั)ฒนา (3.76) ซ่ึงตอวั ยชู่้วีใดันเกณฑ์ดี ตวั ช้วี ัดผลรวมหลกั ปี 2560 ปี 2561 ท�ำให้มีค2ว1ามทส้าะท้อานยใใหน้เหก็นาวร่าบภรารพลรวุ มก1า.รกพารัฒเตนิบโาตทแล่ีกะรกะารจพาัฒยนคา วามม่ัง รายไดป้ ระชากรต่อหวั (ดอลลารส์ หรฐั ) เป้าหม2า2ยในคปั่งขี อ2งป5ร6ะ5เทศ(ไ4ท.ย3อย0ู่ใ)นระดับ(Gดroี แwตth่เมan่ือdพDิจeาveรlณopาmจeาnกt)ตัว ผลิตภาพแรงงาน (ดอลลารส์ หรฐั ) 5,755.00 5,901.00 อ ย ่ า ง ไ2ร3ก็ ดี วัดคผ่ลารควมะหแลนัก นซ่ึงขWอEงF ได้ใช้รหัสสีในการจ้าแนกกลุ่ม อายุคาดเฉล่ียทมี่ ีวามสุขภาพดี (ปี) 23,853.00 27,101.00 66.80 66.80 การจ้างงาน (รอ้ ยละ) 71.50 70.80 ประเทศ2ไ4ทยยังเปส็นูงก5วก่าลคุ่ม่าสเฉะทล้อ่ียนขใอหง้เห็นว2่า.ปดา้รนะคเวทามศทไั่วทถยงึ ค(Inวcรluตsi้อonง)เร่งให้ การกระจายรายได้ 0.37 0.44 0.90 1.10 ประเทศ2ก5ำ� ลังพคฒัวานมาส้า(ค3ัญ.7ก6ับ) (1ซ)ึ่งกอายรู่ กระจายความม่ังค่ัง ที่ยังคงมีค่า อตั ราความยากจน (รอ้ ยละ) (ดอลลารส์ หรฐั ) 0.86 0.85 ในเกณ2ฑ6์ดี สคะวาทม้เอหนลื่อใมหล้้เาหสูง็นมาวก่าท้ังสองปี (กลุ่ม Bottom 20%) การกระจายความม่ังคง่ั 11.20 11.20 วม22มั่ ง87กคั่างรขแ(2พรอ)งัฒกงงาาปนนรเรากทะดิท่ีถคเ่ีกึงาทแรรบ์มศะอ้มไจนูลทคา(่ากยยผลลุ่มิตBภ3o.า(ดItพnา้ttนoแeคrmรgวeงาnมง4eเาส0rนaม%tอioภ)จnาค(ะE3ขqเอ)พuงiผ่ิมคtyนลข)แิตึ้นตภล่จะาารพกนุ่ ค่ากลางของรายได้ครัวเรอื น ภ า พร การออมสุทธิ (ร้อยละ) ต่อดอลลาร์สหรัฐ ของ GDP) 12.90 15.10 ค ว าม ดัชนกี ารเกดิ คารบ์ อน (กิโลกรัม 163.10 163.10 อยู่ในระ2ด9ับดี แฉบตับ่เมก่ืออ่ นพหิจนา้ารแณตาย่ จงั ถาูกกจดั อยใู่ นกลุ่ม กลุ่ม Bottom 40% (กลมุ่ Bottom 40%) หอแัตนลรี้สาะากธาา(รร4พณ)่ึงะพหงิ(นร้อส้ี ยาละธ)ารณะ ในข3493ณ..12ะ00ท่ปี ระ44เ20ด..21็น00 ตัววัดผล3ร0วมหทล่ีจัก้าเปซ็น่ึงต้WองเEรF่งใหไ้คดว้ใาชม้ ส้าคRัญanคkือ การกระจายรายได้ท่ีเป็นธรรม ที่สะท้อนจากคะแนนความเหล่ือมล้าของการกระจาย ร5หกัสลมุ่สีสใ33นะ21ทก้อานร4รใจหา0�ย%ำเ้ ไหแดซ็น้ขนงึ่ อวมกงา่ ีทปกิศรลทะาุเ่มทงสศเอปไทด็คนยลท้อี่เพงก่ิม2Bัน0oข%tกtึ้นoับmจขาอ้กมราูลยทงีจ่ าดั นทฯา้ ขฉ้นึบโับดปยีกห่อนน่วหยง2Tน0oา%้pานทขอ้างใหป้เรปะลเที่ยศนจากกลุ่ทม่มี Tาo: pWo2rl0d%Ecลoงnมoาmสู่กicลุ่มFoBruomttom 2 327
16 เศรษฐกจิ ฐานราก ประเทศไทยควรต้องเร่งใหค้ วามสำ� คญั กับ (1) การกระจายความม่งั คง่ั ทย่ี งั คงมีค่าความเหลอื่ มล�ำ้ สูงมาก ทง้ั สองปี (กลมุ่ Bottom 20%) (2) การเกิดคารบ์ อน (กล่มุ Bottom 40%) (3) ผลิตภาพแรงงาน ถึงแม้ มูลค่าผลิตภาพแรงงาน จะเพ่ิมข้ึนจากฉบับก่อนหน้า แต่ยังถูกจัดอยู่ในกลุ่ม Bottom 40% และ (4) หน้ีสาธารณะ (กลุ่ม Bottom 40%) ในขณะที่ประเด็นท่ีจ�ำเป็นต้องเร่งให้ความส�ำคัญคือ การกระจายรายได้ท่ีเป็นธรรม ที่สะท้อนจากคะแนนความเหล่ือมล�้ำของการกระจายรายได้ ของประเทศไทยที่เพ่ิมข้ึนจากรายงานฯ ฉบับปีก่อนหน้าท�ำให้เปล่ียนจากกลุ่ม Top 20% ลงมาสู่กลุ่ม Bottom 40% ซงึ่ มที ิศทางสอดคลอ้ งกันกบั ขอ้ มูลทจี่ ดั ทำ� ขึ้นโดยหนว่ ยงานของประเทศ การด�ำเนนิ การเพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายข้างต้นยงั มีประเดน็ จำ� เป็นต้องเรง่ แก้ไข อาทิ การส่งเสริมให้มีการสรา้ ง องค์ความรู้และทักษะในการบริหารจัดการรายได้และหน้ีสินของตนเองให้กับประชากรกลุ่มรายได้น้อย การส่งเสริมการสร้างคุณค่า ความหลากหลาย และอัตลักษณ์ให้กับสินค้าและผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตจาก เศรษฐกิจฐานราก ยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพและเป็นท่ียอมรับ การส่งเสริมช่องทางแหล่งทุนในระบบ ให้มคี วามครอบคลมุ รวมถึงการพฒั นารปู แบบการประชาสัมพันธ์ เพ่อื ให้ประชากรกลุ่มเศรษฐกจิ ฐานราก สามารถเข้าถึงแหล่งทุนที่มีประสิทธิภาพได้ ทั้งน้ี เพ่ือยกระดับศักยภาพการพัฒนาประเทศท่ีสามารถ กระจายประโยชน์จากการพัฒนาได้อย่างทว่ั ถึงและเปน็ ธรรม แผนแมบ่ ทฯ ประเดน็ (16) เศรษฐกิจฐานราก ประกอบด้วย 2 แผนแมบ่ ทยอ่ ย สรุปสาระส�ำคัญได้ ดงั น้ี (1) การยกระดบั ศกั ยภาพการเปน็ ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ มแี นวทางในการพฒั นาทเ่ี นน้ การเพม่ิ พนู องคค์ วามรู้ และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ ความรู้และวินัยทางการเงิน และการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน ของเกษตรกร แรงงานทั่วไป และกลุ่มประชากรที่มีรายได้น้อยและไม่มั่นคง เพ่ือยกระดับสู่การเป็น ผู้ประกอบการธุรกิจ และมีความสามารถในการบริหารจัดการหน้ีสินอย่างยั่งยืน จนน�ำไปสู่การออม เพ่ือเป็นทุนและหลักประกันในการลงทุนได้ต่อไป และ (2) การสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกที่ส่งเสริม การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก มีแนวทางการพัฒนาที่เน้นการรวมกลุ่มในรูปแบบท่ีมีโครงสร้างการกระจาย รายได้ ทง้ั วิสาหกจิ ชมุ ชน สหกรณ์ และวสิ าหกิจเพอ่ื สังคม พฒั นาชอ่ งทางตลาดและเครอื ข่าย เพ่อื ใหเ้ กดิ การจดั การกลไกการตลาดครบวงจร สง่ เสรมิ และพฒั นากลไกการดดู ซบั มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ และการกระจาย รายไดก้ ลบั สชู่ มุ ชน การสง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ แหลง่ ทนุ และทรพั ยากรตา่ ง ๆ ทจี่ ำ� เปน็ อาทิ สง่ เสรมิ ใหม้ นี วัตกรรม ทางการเงิน เพื่อสนับสนุนแหล่งทุนให้กับเศรษฐกิจชุมชน และการพัฒนากลไกการใช้ประโยชน์ท่ีดิน สาธารณะให้สามารถน�ำมาหมุนเวียนสร้างประโยชน์ให้ผู้มีรายได้น้อย ทั้งน้ี เพ่ือน�ำไปสู่การปรับโครงสร้าง และเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง สามารถพ่ึงพาตนเองได้ย่ังยืน โดยมีผลการด�ำเนินงาน ตามเป้าหมายของแผนแมบ่ ทย่อย ดงั นี้ 160101 160201 160202 328
เศรษฐกิจฐานราก 16 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การยกระดบั ศกั ยภาพการเปน็ ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ เปา้ หมาย ศักยภาพและขีดความสามารถ 160101 ของเศรษฐกจิ ฐานรากเพิ่มขึน้ ประชาชนในระดับฐานรากส่วนมากเป็นคนท่ีมีรายได้น้อย และเป็นกลุ่มท่ีมีความเส่ียงที่จะเผชิญกับดักความยากจน และความเหล่ือมล�้ำ การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากจะเป็นการช่วยเพ่ิมโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับประชากรรายได้น้อย มีอาชีพ และมีรายได้ เพ่ิมศักยภาพให้สามารถพ่ึงตนเองเองได้ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซ่ึงการพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการท้ังรายใหม่และรายเดิม การเข้าถึงทรัพยากรท่ีเหมาะสม และการสร้างความรู้พื้นฐานในการจัดการ หนส้ี นิ และการเงินจะเปน็ ปัจจัยสำ� คัญในการบรรลเุ ป้าหมายดงั กลา่ วไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม สถานการณก์ ารบรรลุเปา้ หมาย โดยพิจารณาจากรายได้ รายไดมากที่สุด เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ท่ีมี รายได้ต�่ำสุด (Bottom 40) ซึ่งข้อมูลล่าสุดในปี 2560 19090%% 0.68 ลานคน 52,322 บาทตอคนตอเดือน รายไดเฉลี่ย GDP per capita 90% 18,724 บาทตอคนตอเดอื น = 19,031 บาทตอ คนตอเดือน พบว่า รายได้ของประชากร bottom 40 เพ่ิมขึ้นจาก 39.9 ลานคน เปา หมายแผนฯ 12 รายไดเ ฉลี่ย 3,353 บาท/คน/เดอื น ในปี 2558 เปน็ 3,408 บาท/คน/เดอื น median 50% 23,917 บาทตอ คนตอเดอื น ในปี 2560 เทียบเท่าการเพ่ิมขึ้นเพียงร้อยละ 0.8 ต่อปี 40% 6,531 บาทตอคนตอเดือน 5,346 บาทตอ คนตอเดือน ทำ� ใหม้ คี วามทา้ ทายในการเพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถ 16.3 ลานคน ของเศรษฐกิจฐานรากให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีก�ำหนด ในปี 2565 (เพิ่มข้ึนไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 15 ต่อปี) ท้ังนี้ เกือบจน 5.4 ลา นคน 3,173 บาทตอ คนตอเดือน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะร้อยละ 48.6 ของประชากร ยากจน 5.3 ลา นคน 2,686 บาทตอ คนตอเดือน ในกลุ่ม bottom 40 เป็นผู้ไม่มีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ รายไดนอ ยท่ีสดุ ท่มี า: สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (Economically Inactive) ขณะที่อีกกว่าร้อยละ 34.8 เป็นผู้ประกอบอาชีพอิสระโดยไม่มีลูกจ้างและช่วยธุรกิจ ในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นแรงงาน ทักษะต�่ำ มีระดับการศึกษาขั้นประถมศึกษาหรือต�่ำกว่า ทำ� ใหม้ คี วามทา้ ทายในการมรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จากสถานการณ์ ดังกล่าวท�ำให้มีแนวโน้มที่เส่ียงต่อการบรรลุเป้าหมาย ทก่ี ำ� หนดไว้ 329
16 เศรษฐกจิ ฐานราก 160101 การด�ำเนินงานท่ีผ่านมา หน่วยงานรัฐได้ด�ำเนินการเพื่อขับเคล่ือนเป้าหมายในช่วงปี 2561 – 2562 ส่วนใหญ่ เ ป ็ น โ ค ร ง ก า ร ท่ี เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ พ่ื อ ย ก ร ะ ดั บ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ในการแขง่ ขันและก่อให้เกิดการสร้างรายได้ได้ดว้ ยตนเอง อาทิ การอบรมเชงิ ปฏิบัติการพฒั นาผปู้ ระกอบการผลติ ภณั ฑ์ ชุมชน เสริมสร้างความรู้เพ่ือพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer การอบรมถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ การอบรมการจัดท�ำการท�ำแผนธุรกิจ เป็นต้น โดยเป็นการสร้างเสริมองค์ความรู้และทักษะที่ส�ำคัญ ขณะเดียวกัน ยังมีโครงการที่เก่ียวข้องกับการให้ความรู้ทางการเงินของครัวเรือน ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวสอดคล้องกับปัจจัย การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการทั้งรายใหม่และรายเดิม และการสร้างความรู้พ้ืนฐานในการจัดการหน้ีสิน และการเงนิ เปน็ หลกั ประเด็นท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ประชากรท่ีมีรายได้น้อยส่วนใหญ่มีข้อจ�ำกัดในการมีส่วนร่วม ทางเศรษฐกิจเป็นปัจจัยเร่ิมต้น ประกอบกับการขาดองค์ความรู้ที่จ�ำเป็นในการบริหารจัดการรายได้และหนี้สิน ทั้งของตนเองและครอบครัว นอกจากน้ี ยังอาจมีความซ้�ำซ้อนและกระจุกตัวของหน่วยงานที่ด�ำเนินการจัดอบรม พัฒนาทักษะให้กับผู้ประกอบการในบางพ้ืนท่ี เนื้อหาหลักสูตรการอบรมในภาพรวมอาจยังไม่สอดคล้องกับ ความต้องการหรือบริบทการพัฒนาเฉพาะของพ้ืนท่ี รวมถึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อช่วยเหลือให้ ผ้คู า้ รายยอ่ ย/ค้าปลกี ให้ไม่เสียเปรยี บผู้คา้ รายใหญ่ และก่อให้เกดิ การแขง่ ขนั ทเี่ ป็นธรรมมากข้นึ 330
เศรษฐกจิ ฐานราก 16 160101 ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานรากในระยะต่อไป ควรสนับสนุนให้มีมาตรการในการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ไม่มีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจเข้ามามีบทบาทในการท�ำงานให้ มากขึ้น ครอบคลุมกิจกรรมตั้งแต่ต้นน้�ำ กลางน้�ำ และปลายน้�ำ ทั้งนี้ ในระยะแรกควรมุ่งเน้นโครงการด้านการพัฒนา ผ้ปู ระกอบการ อาทิ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาผปู้ ระกอบการสินค้าหนึ่งต�ำบล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ (OTOP) และโครงการ ฝกึ อบรมการประกอบอาชพี นอกจากนี้ ควรเร่งด�ำเนินการตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั การให้ความรพู้ ้นื ฐานเร่ืองการบรหิ าร จัดการรายไดแ้ ละหน้ี และการด�ำเนินงานตา่ ง ๆ ทีส่ อดคล้องกบั การเขา้ ถึงทรัพยากรท่เี หมาะสม ซ่ึงเปน็ อีกปจั จยั ส�ำคัญ แห่งความส�ำเร็จท่ีจะส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย พร้อมท้ังด�ำเนินการพัฒนาทักษะท่ีสอดรับกับอุปสงค์ของสินค้า และบริการ ศักยภาพ และทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตของแต่ละพ้ืนท่ี เพ่ือให้สินค้าท่ีผลิตออกมาได้รับการยอมรับ และสามารถสร้างรายได้ได้อย่างยั่งยืน รวมถึงการทบทวนการบังคับใช้กฎหมายให้มีความรัดกุม โดยเฉพาะกฎหมาย/ กฎระเบยี บท่เี อือ้ ใหเ้ กดิ การแข่งขันที่เป็นธรรม และเปิดโอกาสใหผ้ ูค้ า้ รายย่อยมีโอกาสในการแขง่ ขันในตลาดมากย่งิ ขน้ึ 331
16 เศรษฐกจิ ฐานราก 160201 แผนแม่บทยอ่ ย การสร้างสภาพแวดล้อม และกลไกทส่ี ง่ เสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เป้าหมาย ผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก มีรายได้เพิ่มขึน้ อยา่ งตอ่ เนื่อง ผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานรากเป็นกลุ่มประชากรในสังคมท่ีส�ำคัญท่ีสามารถช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาในลักษณะ รปู แบบระบบเศรษฐกิจแนวราบที่ส่งผลและสรา้ งความสัมพนั ธท์ ง้ั ทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างผูค้ นในชุมชนท้องถ่ิน ซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีรายได้เพ่ิมขึ้น จะช่วยให้เกิดการกระจายรายได้ในสู่ชุมชน เพ่ิมมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนซึ่งรวมถึงผู้มีรายได้น้อยสามารถก่อร่างสร้างตัวและพ่ึงตนเอง และมีรายได้ เพิ่มข้ึนด้วย ท้ังน้ี การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและมูลค่าเพิ่ม ช่องทางการตลาดที่สอดคล้องกับ พฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภค และทรัพยากรท่ีสามารถเข้าถึงได้อย่างเหมาะสมและทั่วถึง โดยเฉพาะ แหล่งเงินทุนและที่ดนิ จะเปน็ ปจั จัยสำ� คญั ที่สนับสนุนการบรรลุเปา้ หมายขา้ งต้นได้อย่างเปน็ รูปธรรม สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจากอัตรา อตั ราการเตบิ โตของมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ฐานรากของมลู คา่ สนิ คา้ OTOP การเติบโตของมูลค่าทางเศรษฐกิจฐานรากของมูลค่า สินค้า OTOP ในปี 2561 พบว่า ยังมีมูลค่าเติบโต 250,000 25.00 น้อยกวา่ ที่เป้าหมายกำ� หนดในปี 2565 (ร้อยละ 30 ต่อปี) โดยในปี 2561 การจ�ำหน่ายสินค้า OTOP มีมูลค่า 200,000 24.39 24.50 202,146 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตที่ร้อยละ 150,000 24.00 24.4 อย่างไรก็ตาม คาดว่าจะสามารถบรรลุผลลัพธ์ 23.50 ตามเปา้ หมายทก่ี �ำหนดไวไ้ ด้ 100,000 22.52 23.00 50,000 22.50 22.00 - 21.50 2560 2561 มลู ค่าสนิ คา้ OTOP อัตราการเตบิ โต (รอ้ ยละ) (แกนขวา) ทีม่ า: กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย การด�ำเนินงานที่ผ่านมา หน่วยงานภาครัฐได้ด�ำเนินการเพ่ือขับเคล่ือนเป้าหมาย โดยที่ผ่านมาเน้นการด�ำเนินการ ที่ยกระดับศักยภาพการผลิตสินค้าชุมชน รวมทั้งการน�ำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า สินค้า การสนับสนุนแหล่งทุนให้กับเศรษฐกิจชุมชน โดยเฉพาะในภาคเกษตร รวมทั้งการพัฒนากลไกการใช้ท่ีดิน สาธารณะ เช่น การชว่ ยเหลอื ด้านหน้ีสนิ และสินเชือ่ การช่วยเหลอื ด้านท่ีดินทำ� กิน การพฒั นาสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน การพัฒนาตลาดสินคา้ เกษตรและผลิตภัณฑช์ มุ ชน เปน็ ตน้ 332
เศรษฐกิจฐานราก 16 160201 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย สินค้าท่ีผลิตจากเศรษฐกิจระดับฐานรากยังมีความท้าทายในส่วนของ การสร้างความหลากหลาย คุณค่า และอัตลักษณ์ของสินค้าและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งช่องทางการค้าท่ีต้องได้รับ การพัฒนาให้สามารถดึงดูดกลุ่มผู้บริโภคท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะการขยายผลไปยังกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีนิยมช่องทาง รูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ และกลุ่มผ้บู รโิ ภคตา่ งประเทศ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การยกระดับเศรษฐกิจระดับฐานรากในระยะต่อไป จ�ำเป็นต้องมีการส่งเสริม การอบรมเพ่ือเพ่ิมองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการและผู้เก่ียวข้องกับการผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทาน เพื่อปรับแนวคิด ให้เกิดการสร้างนวัตกรรมในการเพิ่มมูลค่า คุณค่า และอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ได้เพิ่มมากขึ้น ปรับผลิตภัณฑ์ ให้ทันสมัย เน้นการแปรรูปสินค้าให้มากกว่าการจ�ำหน่ายสินค้าข้ันปฐม โดยสร้างลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์ในแต่ละ พ้ืนท่ีให้เกิดความแตกต่าง รวมถึงการส่งเสริมช่องทางการจัดจ�ำหน่ายสินค้าในรูปแบบอื่นท่ีสอดคล้องกับพฤติกรรม ผู้บริโภคในอนาคต อาทิ ช่องทางการขายออนไลน์ 333
16 เศรษฐกิจฐานราก แผนแม่บทย่อย การสร้างสภาพแวดล้อม และกลไกทส่ี ่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรา1ก60202 เป้าหมาย สแี ดง ทฯ ประเด1็น60162เ0ศร2ษฐกิจกฐาลนรมาุ่ กประชากรรายไดต้ ำ่� สดุ รอ้ ยละ 40 ทย่อย การสร้างสภาพแวดมลอ้ คี มแวละากมลไกสท่สีา่งมเสรามิ รกาถรพใัฒนนกาเศารษรฐบกจิ รฐาหินราากรจดั การหนสี้ นิ ภราะพดเบั พแ่ิมผขนึ้นแมป่บรทะชยาอ่ กยรกร้อลยมุ่ไลปดะระ4ม้ ช0าปีกทร่ีมรรีราายะยไสไดด้ต้ตทิ า่ ้่าสสธดุุดรภิ (้อBยoาลtะtพo4m0เพ4ม0คี )่ิวมขามอขงสปานึ้ รมะาเรทถศใไนทกยาเรปบ็นรกิหลาุ่มรปจรัดะกชาารกหรนที้สี่มินีคไวดา้มมี ผชิญกับดปักรคะชวาากมรยราอ้ กยลจะนแ40ละทคม่ี วรี าายมไเดหต้ ล่�ำ่ือสดุมล(B้าoหttาoกmไม4่ไ0ด)้รขับอกงปารระชเ่วทยศเไหทลยเือปกน็ ากรลพุ่มัฒปรนะาชทากี่จรรทิงมี่ จคี ังวาซม่ึงเกสาี่ยรงทท่ีจ่ีปะรเผะชชญิ ากกับรดัก ล่าวสามารคถวบามรยิหาากรจจนัดแลกะาครวหานมเ้ีทห้ังลใอ่ื นมแลลำ้� หะานกอไมกไ่ รดะร้ บั กบาไรดช้ดว่ ยีขเึ้นหลจอื ะกสาร่งพผัฒลนใหาท้ปีจ่ รระิงชจงัากซรึ่งกกาลรุ่มทดปี่ ังระกชลา่ากวรสกาลมุ่ ดาังรกถลบา่ รวสิหาามรารถ ยได้และรบารยิหจา่ารยจไัดดก้อายร่าหงนมี้ทีปั้งรในะแสลิทะธนิภอากพรมะบากบขไดึ้น้ดีขแึ้นละจนะ้าสไ่งปผสลู่กใหา้ปรมระีรชาายกไรดก้เพลุ่มิ ดขัง้ึนกไลด่า้ วซสึ่งากมาารรมถีปบัจริหจาัยรกจาัดรกผาลริตราทยี่ ได้ ไาแะดนลปอ้ บะัจยปจรา่ ิหยัรงะกเาปชารแแไดแ็นราจดลลล้าผรชัด้อนะะะปูลนยปกปบรติธ่ากจาัารรงรทยจะลิหรเรยปัจชี่เหุ่มามปก่าาน็รดนายช็นจรังรี้สนไัดปูทผกดิกกนธลา้ลอราลแงติ ย่รารุ่มกทลมห่วาดาเี่งะสนปังรมกกาี้สน็ ีปเมลินาทชร่ารแาา่นะวงเรลสสงกถะทิินทาากเมร่ดีขธทาาิภ้าินรเ่ีเรชเถาขถงน่พแึง้ินาเขไลมถททด้าะาดึ่ีง่ีเถ้ขกแนไิซึง้าขดหไึ่งถแ้ึนด้ลคึงลแ้ ่งไระซแดลเอแึ่งลง้ะหคบินะแรลนลคทกอง่ะ�ำลุนลเบกไงุมปไขนิคลกถทลอสไึกงกุมู่นกุงแกสาถาขหารึรงอถรแมสงลาสหสีร่นงรรถาลท้า้าบยา่งงงุนนไทันออดบขุนกาา้เนัอชขพาชกีพงอริ่มีพารงเขรงรัฐจ้ึเนินัฐจะงแไนิเะภดแปลภเา้ล็นปาะยซะยปแ็นึ่งใแใัจตหกตปหจา้กก้ลลัจัยราา่ง่งสจมรทรทก�ำัียปกุนุคนำ� ัสจ้าทกัญทจ้ากบัี่จใัี่ยจคับัดขนกัดัญอตขกาตง้ังาอรใรโ้ังรนผงดฐั โบรลยกดครัฐิตอยารวทงลราอคคี่มเุเบงวหป์กรคารรม้พาู้ ์มกรชหาน้ื ลุมรระมฐู้ชุสาานนมย รบงณควน่์กาไาใทรนยบปอรีภสสยร2ดัาถลู่ท5พสาุเี่ร6ว่รปนน้อว0ก้ามภยหา(สาลขรรดัมะ้อะณสาหว่ม`์ยกนน6ูลาตี้ภ1ลโรอ่า.ด่า4บรรยะาส5รยหพุดรไแนิจลด)ลตีุ้้าเภพอ่ปะรรบาณ้าาขพวหยาา่ณรไมจดใวะานาข้ มทยปกอส่ีีสงส2ัโคดัดัด5ดนสส6สยไ่ว0่ทว่วพนนยน(ิจขอภภภาอ้ ยาราามทู่ ณรรรลู ี่ระะะลา้อหา่หหจยสนาลนนดุ กะ้ีต้ี้ีตต) ่่่อออ 90.00% 84.48% 85.15% 80.00% งกลมุ่ ประช6า1ก.4ร5ร้อขยณละะท4ี่ส0ัดทสี่ม่วีรนาภยาไรดะ้ตห่้านส้ีตุด่อหรราือยกไดลุ้่มขผอู้มงกีรลายุ่มได้ 70.00% บร้อยละ ป8ร5ะ.ช1า5กรร้อแยลละะส4ัด0ส่วทน่ีมีรหานย้ีสไดินต้ ต่�ำส่อุดราหยรไือดก้ขลอุ่มงผคมู้ นีราจยนไดค้ ือ 60.00% 61.45% 4าทรก.จกี่4ลดั8้าุ่มกหขปานอ้รรดหมะไูลนใกขนเวชนปลข้้ออีท้ากุ้่มาา้ยงก่ีมาปงหเครีปทรตรนมรบ่าระน้ าาจกระชสยิยหันบสางูไทากรคิทกดร้อร่ีืกอธจว้นรย�ำริัภด่าาล้อห้ยอเกาะปยไนยาพดา้ยร8ลดท้นหหั5งะไ้อ่ีดม.นมว1ยีีี้ขทา้85ทยมย้ี่อม4ี่ังรีแทีปมจ.้แอ4นีขร้ี่กาลย8วะ้อก้าะลโสจหัดสนขะิท�ำัดดน้ก้มอธส้าดั5ดิภมท่วนดไ5ูาลน่ีเว้าคสพหข้ทนซี่ยวท้นาคี่ึ่รงางี่ดง้ีสว้อสตมีตินายมะ่อสม้ตนลีแทกาส่อสนะม้าาอรูงวมราานก5โยาบรนวว5รไถร้มดถ่่าารใซ้ นลึ่งุ 50.00% นงานที่ผท่าเ่ี นส่ยีมงาต่อหกนาร่วบยรงรลาเุนปร้าหัฐมไดาย้ดทากี่ เ�ำนหินนกดไาวร้ เพ่ือขับเคล่ือน 40.00% 30.00% 20.00% 10.00% 0.00% คนจน bottom 40 ภาพรวม ทีม่ า: สำ� นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ กใบั นกชา่วรงทปา้ ใี เกห2ปา5้ป็นร6ดรก1�ะำาเชรน–ดาิน�ำกงเ2รานก5นินล6ทงุ่ม2า่ีผนท่าโนที่มดี่มเีรยกาาสี่ยย่ววหนขนน้อ้อใ่วยหงยมกงญาับีค่เนกวปราา็นัฐรมไกทดสา�ำ้ดารใ�ำมหดเาน้้ปารินเรถนกะใินาชนรงากเากพานรื่อรกทขบลับ่ี รุ่มเิหคทาล่ีมรื่อีรจนาัดเยปกน้าา้อหรยมหมานยีคี้ทใวน่ีมาชมีป่วสรงาปะมสี า2ิทร5ธถ6ิภใ1นาก–พาท2ร5ี่ดบ6ีขร2ิหึ้นาโเดรปจย็นัดส่วกกนาารใรหหญน้ี่ นใน 2 ส่วนทหี่มีลปักระคสอืิทธกิภาารพแทก่ีดไ้ ีขึ้นปัญเปห็นากหานร้ีสดนิ�ำเขนอินงงคารนวั ในเรอื 2นสโ่วดนยหเฉลักพาคะือในกคารรวัแเกร้ไือขนปทัญ่มี หหี านห้ีนอี้สินกขระอบงคบรัวแเรลือะนกาโรดสยรเฉ้าพง าะ รวั เรอื นสาใมนาครรถัวเเขรา้ือถนงึ ทแ่ีมหีหลนง่ ้ีนทอนุ กในระรบะบบบแไลดะ้ กโดายรสกรา้ารงเพกล่มิ ไชกอ่ ใหงท้คารงัวกเราือรนเขสา้ าถมึงาแรหถเลข่ง้าเงถินึงแทหุนลใ่งนทรุนะใบนบระเบชบ่นไดส้ ินโเดชยื่อกราารยเพ่ิม ชภเจ้ปาา่ ็นพยกกฉาุการรเสฉหนโชง่ินดาอ่เอสยรกงกรตารทามิ้ัยงะารคบใไงไหดนบกก้ป้กใาลคหลรร่เล้ะกลเาินขงชลูกิก้เาา่ียหจแถชปรนกึงนารห้แี้นจใะหนนาอน้ีลปชกแอ่งรลมุรเมะะะชงนหโินบนคอนทมรบม้ีโุงนีวดกหคใินายนนลยัรต้ีรรบินทะ้ังะริกาคหบหิ งแนวบาก่การกาจง้หเลรลชัดานเูกก่นงงี้าหินเแรจสนกลสรินี้แาะาาลเรจชโมเะงคื่าอาเินจปรรรช้งาาถรุมกหยะบชยานนรนร่้ีอนิหอบ(ยอมกาเรกรรหพิหมรหนื่อะพาน้ีรใบรฒั ช้ีขะจบน้อจหัดา่งาวฟกชตย่าืุ้มนาฉนงชรฟุลกเนกอูศูกเ)ฉางักหิซนรไยนดง่ึเภงเี้้แกปิานเลาปน็พชระก็นกไุมเากตาจรชรล้น้าสนห่หเง่ กาเซนส(รลก่ึงร้ีนาี่ยสิมรยอปอมใไกหรดดพร้ปะ้ใคัฒะนหรละบ้อลน้อชบูมกาางหหชนนน้ีี้ แหง่ ความส้าเรจ็ ดา้ นการเขา้ ถึงปจั จยั การผลิต และการให้ความร้พู ืน้ ฐานด้านการบริหารจดั การหน้ีสนิ และการเงนิ 334
เศรษฐกจิ ฐานราก 16 160202 ในชุมชนมีวินัยทางการเงิน สามารถบริหารหนี้ของตนเองได้ เป็นต้น ซ่ึงสอดคล้องกับปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ ดา้ นการเขา้ ถงึ ปัจจยั การผลิต และการใหค้ วามรพู้ ื้นฐานดา้ นการบริหารจัดการหนส้ี นิ และการเงนิ ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ผู้มีหน้ีนอกระบบอาจมีข้อจ�ำกัดในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับ การด�ำเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานของรัฐในการแก้ปัญหาหน้ี เนื่องจากการประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงานในรูปแบบ ท่ีเหมาะสมกับการเข้าถึงของกลุ่มประชากรดังกล่าวยังไม่ครอบคลุมเท่าท่ีควร ประกอบกับการกระจายของแหล่งเงินกู้ ในระบบยังไม่ครอบคลุม นอกจากนี้ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมของประชาชนในการจัดการปัญหาหนี้สินต้องใช้ เวลานาน และตอ้ งมกี ารตดิ ตามผลอยา่ งใกลช้ ดิ เพอื่ ใหผ้ มู้ รี ายไดน้ อ้ ยมกี ารปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมอยา่ งยงั่ ยนื อยา่ งไรกด็ ี ในด้านการส่งเสริมกลไกการสร้างอาชีพ เพื่อให้ครัวเรือนมีการสร้างรายได้เพิ่มข้ึนนั้น การด�ำเนินการจะสอดคล้องกับ การด�ำเนินงานตามเป้าหมายของแผนแม่บทย่อยการยกระดับศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ ภายใต้แผนแม่บท เศรษฐกจิ ฐานราก ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย มาตรการในการกระจายแหล่งเงินกู้ในระบบให้ท่ัวถึง อาทิ ส่งเสริมโครงการ pico-finance เพ่ือให้ผู้มีรายได้น้อยเข้าถึงแหล่งเงินกู้ในระบบที่มีดอกเบ้ียต�่ำ การให้ความรู้และสร้างทักษะ ในการจัดการการเงินครัวเรือน อาทิ การส่งเสริมการท�ำบัญชีครัวเรือน การจัดประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลข่าวสารแหล่ง เงินให้กู้ยืมในระบบส�ำหรับผู้เป็นหนี้นอกระบบ การด�ำเนินการมาตรการที่เน้นการยกระดับรายได้ให้กับผู้มีรายได้น้อย อาทิ การพัฒนาทักษะด้านการเงิน ทักษะองค์ความรู้การประกอบอาชีพและการตลาด รวมทั้งควรขยายผลโครงการ บรหิ ารจัดการการเงนิ ชุมชน (กรมพัฒนาชมุ ชน) ซงึ่ เปน็ โครงการทีช่ ว่ ยให้ชุมชนมกี ารจดั การดา้ นการเงิน และแหล่งทนุ ในชมุ ชนของตนเองอีกดว้ ย 335
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ 17 ความเสมอภาค และหลกั ประกนั ทางสงั คม ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การสรางโอกาส ฿ และความเสมอภาค ทางสังคม “สรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหล่อื มลำ้� ในทกุ มิตขิ องประชากร ทกุ ช่วงวยั ทกุ เพศสภาพ และทกุ กลุ่ม โดยไมท่ ้งิ ใครไว้ข้างหลงั ”
ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม 17 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ (17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม ให้ความสำ� คญั กบั การสร้าง หลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ทุกเพศสภาพ และทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่ม ด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบาง การปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมอื่น ๆ เพ่ือสร้างความเป็นธรรมและลดความ เหลอ่ื มลำ้� ในทกุ มติ ิ รวมทงั้ การปอ้ งกนั ปญั หาความเหลอื่ มลำ�้ และความไมเ่ สมอภาคทคี่ าดวา่ จะทวคี วามรนุ แรงเพม่ิ มากขน้ึ จากกระแสโลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างต่าง ๆ ท้ังจากในและต่างประเทศ ซ่ึงจะเป็นกลไกส�ำคัญ ในการก�ำจัดวงจรความเหล่ือมล�้ำและความยากจนท่ีจะถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างย่ังยืน โดยไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง โดยมีเป้าหมายระดบั ประเด็น คอื คนไทยทุกคนได้รับการคุ้มครองและมีหลักประกันทางสังคมเพิ่มข้ึน การประเมนิ ผลลพั ธก์ ารดำ� เนนิ การท่ีสง่ ผลต่อการบรรลเุ ปา้ หมาย คนไทยทุกคนได้รับการคุ้มครองและมีหลัก 170001 ประกันทางสังคมเพ่ิมขึ้น พิจารณาจากสัดส่วน ประชากรไทยท้ังหมดที่ได้รับความคุ้มครอง สดั ส่วนของประชากรจาแนกตามการมหี ลกั ประกนั ตามมาตรการคมุ้ ครองทางสังคมอย่างนอ้ ย 9 กรณี ได้แก่ (1) เจ็บป่วย (2) คลอดบุตร (3) ตาย มีหลักประกนั ไมม่ ีหลักประกัน (4) ทพุ พลภาพ/พิการ (5) เงินชว่ ยเหลือครอบครัว หรือบุตร (6) ชราภาพ (7) ว่างงาน (8) ผู้อยู่ใน 100 0.06 15.5 24.4 18.3 อุปการะ และ (9) การบาดเจ็บจากการท�ำงาน 80 54.3 คา่ เป้าหมาย ซึ่งเทยี บเคียงจากขอ้ มูลหลักประกันสขุ ภาพ พบว่า ในปี 2561 มีจ�ำนวนประชากรไทยได้รับหลัก ้รอยละ60 ประกนั สุขภาพคดิ เปน็ สดั ส่วนสูงถึง รอ้ ยละ 99.94 ของประชากรท้ังหมดของประเทศ ซึ่งสูงกว่า 99.94 84.5 75.6 81.7 คา่ เปา้ หมายในปี 2565 (รอ้ ยละ 70) และเมอื่ เทยี บเคยี ง 40 20 45.7 0 เดก็ ผพู้ กิ าร ผู้สงู อายุ แรงงาน หลกั ประกันสขุ ภาพ ข้อมลู หลักประกนั สงั คม เด็ก และผพู้ ิการ ปี 2561 และ ข้อมลู ผสู้ งู อายแุ ละแรงงานนอกระบบ ปี 2562 ทีม่ า: ส�ำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต,ิ กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน, กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน, กรมสง่ เสรมิ และ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ และสำ� นักงานสถติ แิ ห่งชาติ ข้อมูลการคมุ้ ครองอน่ื ๆ ประกอบ พบวา่ กลมุ่ เดก็ กลมุ่ ผพู้ กิ าร กลมุ่ ผสู้ งู อายุ มสี ดั สว่ นการไดร้ บั การคมุ้ ครองมากกวา่ คา่ เปา้ หมาย ในขณะที่กลุ่มแรงงานยังคงอยู่ในระดับต�่ำเม่ือเทียบกับค่าเป้าหมาย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ในปี 2561 มีจ�ำนวนเด็กยากจนท่ีได้รับเงินอุดหนุนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 84.5 ของจ�ำนวนเด็กยากจนท้ังหมด และมีสัดส่วน ผู้พิการที่ได้รับเบ้ียผู้พิการร้อยละ 75.6 ของผู้พิการทั้งหมด ในปี 2562 มีผู้สูงอายุท่ีได้รับสวัสดิการเบี้ยยังชีพคิดเป็น สดั สว่ นรอ้ ยละ 81.7 ของจำ� นวนผสู้ งู อายทุ งั้ หมด สำ� หรบั กลมุ่ แรงงานนน้ั ระหวา่ งปี 2561 – 2562 พบวา่ แรงงานไทย ยังเป็นแรงงานนอกระบบท่ีไม่ได้รับความคุ้มครองทางสังคมค่อนข้างมาก ซ่ึงมีจ�ำนวนมากกว่าแรงงานในระบบ นอกจากนี้ หากพิจารณาเปรียบเทียบสัดส่วนแรงงานนอกระบบที่เข้าถึงระบบประกันสังคม พบว่า แม้ว่าการเข้าถึง ประกนั สงั คมของแรงงานนอกระบบจะเพม่ิ ขน้ึ แตแ่ รงงานนอกระบบทเี่ ขา้ ถงึ ระบบประกนั สงั คมยงั มจี ำ� นวนคอ่ นขา้ งนอ้ ย เม่ือเทียบกับแรงงานนอกระบบท้ังหมด สะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญในการเร่งพัฒนาระบบและรูปแบบการคุ้มครอง ทางสังคมที่สามารถขยายการคุ้มครองไปยงั แรงงานนอกระบบไดอ้ ย่างครอบคลุมอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 337
17 ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสงั คม การด�ำเนินการเพื่อการบรรลุเป้าหมายประเด็นข้างต้นยังมีประเด็นท้าทายที่จ�ำเป็นต้องเร่งแก้ไข อาทิ การสร้าง การตระหนักรู้ถึงความจ�ำเป็นและความส�ำคัญของการมีหลักประกันทางสังคมในการเป็นเคร่ืองมือบริหารการจัดการ ความเส่ียงที่จะสามารถช่วยคุ้มครองให้สามารถรับมือกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดประเภทต่าง ๆ ได้ และช่วยบรรเทา ความเดือดร้อนทางการเงิน การบูรณาการฐานข้อมูลท่ีเก่ียวข้องให้สามารถระบุตัวบุคคลท่ียังไม่มีหลักประกัน ทางสังคมได้อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือให้การช่วยเหลือต่าง ๆ กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เป็นไปอย่างเสมอภาค โดยอาจ พิจารณาเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่าง ๆ เข้ากับระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (TPMAP) ที่เป็นระบบ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของประเทศในปัจจุบันที่สามารถระบุปัญหาการพัฒนาได้ลึกถึงระดับบุคคลและครัวเรือน ซึ่งจะท�ำให้การแก้ปัญหาเป็นการด�ำเนินการบนฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความสอดคล้องกับความต้องการ ของประชากรแต่ละกลุ่มเป้าหมายมากข้ึน บรรเทาปัญหา “ภาวะตกหล่น” ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้ง การพัฒนาระบบและรูปแบบการคุ้มครองทางสังคมที่สามารถขยายการคุ้มครองไปยังแรงงานนอกระบบได้อย่าง ครอบคลมุ อย่างมีประสิทธภิ าพและเหมาะสมตามบรบิ ทการพฒั นาของประเทศ แผนแม่บทฯ ประเด็น (17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม ประกอบด้วย 2 แผนแม่บทย่อย สรุปสาระ ส�ำคัญได้ ดังนี้ (1) การคมุ้ ครองทางสังคมข้นั พ้นื ฐานและหลักประกันทางเศรษฐกิจ สังคม และสขุ ภาพ มแี นวทางในการ พัฒนาท่ีเน้นการขยายความคุ้มครองทางสังคมขั้นต�่ำให้คนไทยทุกคนให้สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม สร้างระบบคุ้มครองและป้องกันแบบถ้วนหน้า และพัฒนาระบบหลักประกันทางสังคมด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ ให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งการคุ้มครองแรงงานไทยให้มีสวัสดิภาพในการท�ำงาน โดยยกระดับกลไกการดูแลคุ้มครองสวัสดิภาพของผู้ใช้แรงงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมการท�ำงาน ท่ีมีคุณค่า และคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับสินค้าและบริการท่ีปลอดภัยและได้มาตรฐาน เพ่ือให้เกิดความเป็นธรรมและ ลดความเสียเปรียบของผู้บริโภค และ (2) มาตรการแบบเจาะจงกลุ่มเป้าหมายเพ่ือแก้ปัญหาเฉพาะกลุ่ม มีแนวทาง ในการพัฒนาที่เน้นการพัฒนามาตรการและพัฒนากลไกสนับสนุนช่วยเหลือประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ ความชว่ ยเหลอื เปน็ พเิ ศษ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในการใชท้ รพั ยากรของรฐั ในการแก้ปญั หาให้ตรงจุดและตรงกับกลมุ่ ท่ีต้องการความช่วยเหลืออย่างแท้จริงและเหมาะสม ส่งเสริมและจัดหาโครงสร้างพ้ืนฐานที่เหมาะสมให้ประชากร กลุ่มต่าง ๆ ให้สามารถเข้าถึงบริการของรัฐและโอกาสทางสังคมได้อย่างเท่าเทียม รวมทั้งส่งเสริมการจัดสวัสดิการ ที่ทุกภาคส่วนร่วมกันรับผิดชอบ ตลอดจนการสนับสนุนให้มีการพัฒนาและน�ำระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการจัดสวัสดิการและสร้างหลักประกันทางสังคม เพื่อน�ำไปสู่การยกระดับการคุ้มครองทางสังคมและ หลกั ประกนั ทางสังคมใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 170101 170201 338
ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสงั คม 17 แผนแมบ่ ทย่อย การคมุ้ ครองทางสงั คมขัน้ พ้ืนฐาน 170101 และหลกั ประกนั ทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ เป้าหมาย คนไทยทกุ คน โดยเฉพาะกลมุ่ ดอ้ ยโอกาส และกลมุ่ เปราะบางไดร้ บั การคมุ้ ครอง และมหี ลกั ประกนั ทางสงั คมเพิ่มขนึ้ กลุ่มคนด้อยโอกาสและกลุ่มคนเปราะบางเป็นกลุ่มเสี่ยงท่ีจะเผชิญกับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ และ อาจเปน็ กลมุ่ ทมี่ ขี อ้ จำ� กดั ในการเขา้ ถงึ โอกาสในมติ ติ า่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ ซง่ึ การทำ� ใหค้ นกลมุ่ ดงั กลา่ ว ได้รับการคุ้มครองและมีหลักประกันทางสังคมเพิ่มข้ึนจึงเป็นกลไกส�ำคัญที่จะส่งผลให้คนไทยทุกคนได้รับการคุ้มครอง และมีหลักประกันทางสังคมเพิ่มข้ึน โดยการเข้าถึงหลักประกันทางสังคมท่ีเหมาะสม และการมีหลักประกัน ที่ครอบคลุม หลากหลาย และมีคุณภาพ เป็นปัจจัยท่ีจะน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ได้อย่างเป็นรูปธรรม สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย พิจารณาจากสัดส่วน สดั สว่ นของประชากรกลุม่ ด้อยโอกาสและกลุม่ เปราะบาง ประชากรกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบางท่ีได้รับ จาแนกตามการมหี ลกั ประกนั ความคุ้มครองตามมาตรการคุ้มครองทางสังคม อย่างน้อย 9 กรณี ได้แก่ (1) เจ็บป่วย (2) คลอดบุตร 100 มีหลกั ประกัน ไม่มหี ลักประกนั (3) ตาย (4) ทุพพลภาพ/พิการ (5) เงินช่วยเหลือ 80 ครอบครวั หรือบตุ ร (6) ชราภาพ (7) วา่ งงาน (8) ผู้อยู่ใน 15.5 18.3 24.4 ค่าเป้าหมาย อปุ การะ และ (9) การบาดเจบ็ จากการทำ� งาน ซง่ึ เทยี บเคยี ง จากข้อมูลการคุ้มครองต่าง ๆ พบว่า กลุ่มเด็กและ ร้อยละ 60 79.3 ผสู้ งู อายมุ สี ดั สว่ นผทู้ ไี่ ดร้ บั การคมุ้ ครองมากกวา่ คา่ เปา้ หมาย 40 84.5 81.7 75.6 (ร้อยละ 80) โดยในปี 2561 จ�ำนวนเด็กยากจนท่ีได้รับ 20 0 20.7 เดก็ ผ้สู ูงอายุ ผูพ้ ิการ แรงงานนอกระบบ ข้อมลู เด็ก ผพู้ กิ าร และแรงงานนอกระบบ ปี 2561 ข้อมูลผู้สูงอายุ ปี 2562 เงินอุดหนุนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 84.5 ของจ�ำนวน ทีม่ า: กรมกิจการเด็กและเยาวชน, กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ , กรมสง่ เสรมิ และ เดก็ ยากจนทัง้ หมด ในปี 2562 ผู้สงู อายทุ ่ีไดร้ บั สวัสดิการ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ, ส�ำนักงานประกนั สงั คม และสำ� นักงานสถิตแิ ห่งชาติ เบ้ียยังชีพคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 81.7 ของจ�ำนวนผู้สูงอายุท้ังหมด ขณะที่กลุ่มผู้พิการมีความเป็นไปได้สูงที่จะบรรลุ ค่าเปา้ หมาย โดยในปี 2561 มีสดั สว่ นผู้พกิ ารทีไ่ ด้รบั เบ้ียร้อยละ 75.6 และสำ� หรบั กลมุ่ แรงงานนอกระบบ พบวา่ ยงั คง อยใู่ นระดบั ตำ�่ เมอ่ื เทยี บกบั คา่ เปา้ หมาย แมว้ า่ ผปู้ ระกนั ตนตามมาตรา 39 และ 40 จะมสี ดั สว่ นทเี่ พมิ่ สงู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยในปี 2561 มีสดั ส่วนเพียงร้อยละ 20.7 จากจ�ำนวนแรงงานนอกระบบท้งั หมด 339
17 ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม 170101 การด�ำเนินการที่ผ่านมา การด�ำเนินการของหน่วยงาน ประเดน็ ทา้ ทายทส่ี ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมาย หนว่ ยงาน ของรัฐในช่วงปี 2561-2562 ส่วนใหญ่เป็นการด�ำเนิน ของรัฐที่เก่ียวข้องได้มีความพยายามในการพัฒนาระบบ โครงการต่อเนื่องตามภารกิจประจ�ำ โดยมุ่งเน้นการเพ่ิม การรับจ่ายเงินเพ่ือเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึง ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการของโครงการ เช่น การใช้ บริการ พร้อมทั้งน�ำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการให้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บริการ อย่างไรก็ตาม แรงงานนอกระบบจ�ำนวนมาก มาใช้ในการให้บริการ การแต่งตั้งคณะกรรมการ เป็นแรงงานในภาคเกษตรท่ีมีอายุเฉลี่ยสูง การใช้ระบบ เพื่อกำ� กบั ดแู ลการดำ� เนนิ โครงการ รวมถงึ การดำ� เนนิ งาน อเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นการใหบ้ รกิ ารอาจไมใ่ ชร่ ปู แบบทเี่ หมาะสม ใหม่ ๆ เพ่ือขยายความครอบคลุมของหลักประกัน ใ น ก า ร ผ ลั ก ดั น แ ร ง ง า น น อ ก ร ะ บ บ ใ ห ้ เ ข ้ า สู ่ ร ะ บ บ เชน่ กองทนุ บำ� เหนจ็ บำ� นาญแหง่ ชาติ ซง่ึ การดำ� เนนิ งานตา่ ง ๆ หลักประกันสังคม นอกจากน้ี แรงงานนอกระบบยังขาด ดังกล่าวสอดคล้องกับปัจจัยการเข้าถึงหลักประกัน ความตระหนักรู้ในความส�ำคัญของการมีหลักประกัน ทางสังคม อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินการที่ผ่านมายังไม่ ทางสังคมเพื่อความม่ันคงในการด�ำรงชีวิต ในขณะที่สิทธิ ครอบคลุมแรงงานนอกระบบเท่าที่ควร โดยสัดส่วนของ ประโยชน์ของแรงงานนอกระบบภายใต้ระบบประกัน แรงงานนอกระบบที่ได้รับหลักประกันทางสังคมยังคงอยู่ สงั คมเองยงั มขี อ้ จำ� กดั รวมทงั้ ระบบประกนั สงั คมยงั อาจมี ในระดับต�่ำ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความสำ� คญั ในการเร่งทำ� ให้ รปู แบบทไี่ มส่ อดคลอ้ งกบั ความทา้ ทายดา้ นภาวะเศรษฐกจิ แรงงานนอกระบบมหี ลกั ประกนั สงั คมผา่ นการดำ� เนนิ งาน ถดถอยของโลก ที่สามารถส่งผลกระทบต่อภาค เ ชิ ง รุ ก ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก ลุ ่ ม เ ป ้ า ห ม า ย ม า ก ยิ่ ง ข้ึ น อุตสาหกรรมและน�ำไปสู่การลดการจ้างงาน จึงจ�ำเป็น ต้องพัฒนาระบบและรูปแบบการคุ้มครองทางสังคม ท่ีสามารถขยายการคุ้มครองไปยังแรงงานนอกระบบ ไดอ้ ย่างครอบคลมุ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 340
ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม 17 170101 ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การด�ำเนินงานเพ่ือให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบางมีความคุ้มครองและ หลักประกันทางสังคมนั้น ในล�ำดับแรกควรมุ่งเน้นท่ีกลุ่มแรงงงานนอกระบบโดยให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินโครงการ ออกหน่วยเคลื่อนที่เพื่อให้บริการงานประกันสังคมแบบเบ็ดเสร็จแก่ประชาชนในพื้นที่ และการสร้างความตระหนักรู้ ถึงความจ�ำเป็นและความส�ำคัญของการมีหลักประกันทางสังคม และในล�ำดับต่อไปควรพิจารณาปรับเปล่ียนวิธีการ จ่ายเงินสมทบให้เหมาะสมกับรูปแบบรายได้ของแรงงงานนอกระบบซึ่งมีความไม่แน่นอนในแต่ละเดือน รวมถึง น�ำข้อมูลจากระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (TPMAP) ไปใช้ประกอบการประเมินผลจากการ ดำ� เนนิ โครงการ เชน่ การใหเ้ งนิ อดุ หนนุ กบั เดก็ แรกเกดิ สง่ ผลตอ่ พฒั นาการของเดก็ หรอื ไม่ และการใหเ้ บยี้ ยงั ชพี ผสู้ งู อายุ สามารถลดความยากจนในผู้สูงอายุอย่างไร เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนา/ปรับปรุงหลักประกันทางสังคมบนฐานข้อมูล เชิงประจักษ์ให้มีความครอบคลุม หลากหลาย และมีคุณภาพ ซึ่งเป็นอีกปัจจัยส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย การสร้างความคุ้มครองทางสังคมและความมั่นคงในการด�ำรงชีวิตให้แก่ผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบางได้อย่างเป็น รปู ธรรม 341
17 ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสังคม 170201 แผนแมบ่ ทย่อย มาตรการแบบเจาะจงกลุ่มเปา้ หมาย เพื่ อแก้ปัญหาเฉพาะกลุ่ม เป้าหมาย มรี ะบบและกลไกในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปา้ หมายทตี่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื เปน็ พิเศษไดค้ รอบคลมุ มากยง่ิ ขนึ้ กลุ่มประชากรท่ีต้องการความช่วยเหลือพิเศษส่วนมากเป็นผู้ที่มีความเส่ียงสูงและมีความท้าทายในการปรับตัวให้ทัน กบั การเปลยี่ นแปลง การมกี ารดำ� เนนิ การตา่ ง ๆ ทส่ี ามารถชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปา้ หมายทส่ี อดคลอ้ งตามความตอ้ งการไดอ้ ยา่ ง แทจ้ รงิ จะชว่ ยเพม่ิ ความครอบคลมุ ของการคมุ้ ครองและการมหี ลกั ประกนั ทางสงั คมของคนไทยมากยง่ิ ขนึ้ ซงึ่ การสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย และระบบฐานข้อมูลที่สามารถชี้ตัวเป้าหมายท่ีต้องการ ความชว่ ยเหลอื เปน็ พเิ ศษไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพจะชว่ ยสง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมายดงั กลา่ วไดอ้ ยา่ งเปน็ นยั สำ� คญั ดชั นีความยากจนแบบหลายมิตขิ องกลุมเปา หมายท่ีตองการความชว ยเหลือ สถานการณก์ ารบรรลเุ ปา้ หมาย พจิ ารณาจากดชั นี ความยากจนแบบหลากหลายมติ ขิ องกลมุ่ เปา้ หมาย เด็ก สตรี ผสู งู อายุ ผูพิการ ผูปว ยเรอื้ รัง ท่ีต้องการความช่วยเหลือ ประกอบด้วย เด็ก สตรี 0.030 ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเรื้อรัง โดยเทียบเคียง 0.025 จากระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มลู การพฒั นาคนแบบชเ้ี ปา้ 0.020 (Thai People Map and Analytics Platform: 0.015 TPMAP) พบวา่ ดชั นคี วามยากจนหลายมติ ใิ นกลมุ่ 0.010 เป้าหมายดังกล่าวมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง 0.005 โดยในปี 2562 ค่าดัชนีความยากจนหลายมิติของ 0.000 เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเรื้อรัง มีค่า เทา่ กบั 0.008 / 0.006 / 0.007 / 0.012 และ 0.010 2560 2561 2562 ตามลำ� ดบั ซง่ึ ในภาพรวมคาดวา่ จะเปน็ ไปในทศิ ทาง ทสี่ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายทกี่ ำ� หนดใหล้ ดลงรอ้ ยละ 10 ที่มา: Thai People Map and Analytics Platform (TPMAP) ในปี 2565 342
ความเสมอภาคและหลักประกันทางสงั คม 17 170201 การด�ำเนินการท่ีผ่านมา การด�ำเนินการของหน่วยงานของรัฐในช่วงปี 2561-2562 มีตัวอย่างการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ คอื การนำ� ขอ้ มลู ทส่ี ามารถชเ้ี ปา้ กลมุ่ ประชากรเปา้ หมายทตี่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื จากระบบ TPMAP ไปเปน็ ขอ้ มลู ตงั้ ตน้ ในการแกไ้ ขปญั หาในระดบั พนื้ ท่ี สง่ ผลใหก้ ารชว่ ยเหลอื เปน็ การดำ� เนนิ การบนฐานขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษท์ แี่ ทจ้ รงิ โดยเปน็ การ ผ่านกลไกระดับจังหวัดเป็นหลัก เช่น จังหวัดสมุทรสงคราม ท่ีมีการแต่งต้ังคณะกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจน แบบบรู ณาการ โดยมผี วู้ า่ ราชการจงั หวดั ฯ เปน็ ประธานดำ� เนนิ งานรว่ มกบั ภาคราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ลงสำ� รวจพน้ื ทคี่ รวั เรอื นเปา้ หมาย และนำ� ไปสกู่ ารบรู ณาการการใหก้ ารชว่ ยเหลอื ครวั เรอื นเปา้ หมายจากภาคี การพฒั นาตา่ ง ๆ ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย กลไกในการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เป็นการด�ำเนินการในมิติ ท่ีสอดคล้องกับภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน ส่งผลให้เกิดความซ้�ำซ้อนในการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย ประกอบกับยังมี ความท้าทายในการระบุตัวตนและแหล่งท่ีอยู่ของประชากรกลุ่มเป้าหมายบางส่วนเนื่องจากไม่มีข้อมูลการส�ำรวจอ่ืน ๆ นอกเหนือจากของระบบราชการ ท�ำให้ยังมีข้อจ�ำกัดในส่วนของ “ภาวะตกหล่น” ที่ยังไม่ครอบคลุมประชากร กลมุ่ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารบรู ณาการดำ� เนนิ งานในระดบั พนื้ ทม่ี ากขนึ้ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย จ�ำเป็นต้องมีการก�ำหนดกลไกในการสร้างการบูรณาการกันท้ังในเร่ืองของ การด�ำเนินงานช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย และการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ ท่ีจ�ำเป็นจากภาคีการพัฒนา ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอื่ ใหม้ กี ลไกการชว่ ยเหลอื และพฒั นาแบบมงุ่ เปา้ ทสี่ ามารถระบคุ วามตอ้ งการทส่ี อดคลอ้ งกบั กลมุ่ เปา้ หมาย ในแตล่ ะพนื้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ นำ� ไปสกู่ ารดำ� เนนิ งานการพฒั นาบนฐานขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ และครอบคลมุ กลมุ่ เปา้ หมาย ได้เพ่ิมข้ึน บรรเทาปัญหา “ภาวะตกหล่น” ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมทั้งควรมีมาตรการในการผลักดันให้ หนว่ ยงานของรฐั ทง้ั ในสว่ นกลาง และสว่ นทอ้ งถนิ่ นำ� ขอ้ มลู ดงั กลา่ วไปใชแ้ กไ้ ขปญั หาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพความเปน็ จรงิ และตรงตามความตอ้ งการของคนในพน้ื ที่ 343
แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ 18 การเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื ยทุ .ธ..ศ..า.ส..ต..ร..ช..า.ต...ิด.าน การสรา งการเติบโต ฿ บนคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน มิตรตอ ส่ิงแวดลอ ม “อนุรักษ์ ฟ้ นื ฟู คุม้ ครอง อย่างมีส่วนร่วม เพื่อความหลากหลายทางชวี ภาพ และการเติบโตอย่างยง่ั ยืน”
การเติบโตอยา่ งย่งั ยTaนืble 3 | The 2019 SDG Inde1x8 Rank Country Score 1 Denmark 85.2 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น (18) การเติบโตอย่างยงั่ ยนื มีวัตถปุ ร2ะสงคS์เwพeอ่ืdeกnารอนรุ กั ษ์ คุ้มครอ85ง.0ฟ้ืนฟู ทแล่ีสะมสดรุล้างสฐนาับนสทนรุนัพกยาารกเรพธิ่มรพร้ืนมชทาี่สตีเขิแียลวะทส้ัง่ิงใแนวเดขลต้อเมมือองยแ่าลงะยช่ังุมยชืนนสร่งวเสมรทิม้ังคส่วงเาสมรหิมลก345าากรหลงFFAลirทunาaslnุนยatcrnทแieadลางะชเปีวลภี่ยานพแใหป้มลีรงพะบฤ888211บต...851ิกนริเวรศม การผลิตและการบริโภคไปสู่ความยั่งยืน โดยให้ความส�ำคัญกับประเด็นต่าง ๆ6ท้ังกGาeรrดmูแanลyฐานทรัพยากรท8า1ง.1ทะเล และชายฝั่ง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบริหารจัดการมลพิษท้ังระบบ7 ตลอCzดeจchนRกepาuรbพliัฒc นาและด�ำ8เ0น.7ินการ แโคลระงวกัฒารนทธ่ียรรกมรอะดยับ่างกมรีคะุณบวภนาทพัศนตา์ มเพแ่ือนกว�ำทหานงกดาอรนเาตคิบตโปตอระยเ่าทงศยใั่งหย้พืนัฒที่เนปา็นดม้า189ิต0นรทตร่อNENัพsoeสtยtro่ิhงwnาeแaiกraylวaรnดธdลรs ้รอมมชาโดตยิ สม่ิงีเปแ888ว้า000ดห...724ลม้อายม ระดบั ประเด็น คอื สภาพแวดล้อมของประเทศไทยมคี ุณภาพดขี ึ้นอยา่ งยัง่ ยืน 11 New Zealand 79.5 12 Slovenia 79.4 13 United Kingdom 79.4 การETaปsHt aรAndะISเLoมAuthินNAsผDia ลลพั ธก์ ารดำ� เนินการทส่ี ่งผลตอ่ การบรร111ล654 ุเปBJI้าcaeeหpllgaainnมudmาย 79.2 17 Switzerland 78.9 180780.901 78.8 OVERALL PERFORMANCE SDG SDG 18 Korea, Rep. 78.3 19 Ireland 78.2 SDG 17 100 1 SDG 16 75 2 Index score Regional average score SDG 50 SDG 15 3 25 20 Canada 77.9 21 Spain 77.8 SDG SDG 77.8 Country Profile22 Croatia77.4 14 4 77.1 23 Belarus 73.0 65.7 SDG Thailand SDG 13 5 THAILAND24 Latvia Thailand 73 SDG 6SDG SDG Global rank 40 (OF 162) 12 SPILLOVER INDEX SDG SDG 100 (best) to 0 (worst) 11 7 SDG SDG 25 Hungary 76.9 10 SDG 8 9 AVERAGE PERFORMANCE BY SDG 26 Portugal 76.4 100 27 Slovak Republic 76.2 80 60 28 Malta 76.1 40 29 Poland 75.9 20 30 Italy 75.8 0 31 Chile 75.6 ทCUีม่ RาR:ENSTuAsStSaESinSMaEbNlTe– SDDeGvDeAlSoHBpOmAReDnt Solutions Network (SDSN) 32 Lithuania 75.1 ตามแผนแม่บทประเด็นข้างต้น ภายใต้เป้าหมาย สภาพแวดล้อมของ 33 Costa Rica 75.0 ประเทศไทยมีคุณภาพดีข้ึนอย่างย่ังยืน เม่ือพิจารณาจากการจัดอันดับ 34 Luxembourg 74.8 ของ Sustainable Development Report ในปี 2562 พบว่าMajorchallenges 35 United States 74.5 Significant challenges Challenges remain SDG achieved Information unavailable 36 Bulgaria 74.5 ประเทศไSDทGยTRอENยDู่ใSนอันดับที่ 40 จาก 162 ประเทศท่ัวโลก ซ่ึงบรรลุผล 37 Moldova 74.4 ตภาามยคใา่ นเปปL้าี ห2ม5า6ย5ท5่ีกแ�ำหลDน้วดไสวะ้อ•ทย•ู่ใ้อนนระใDดหับ้เตห�่ำ็นLกถวึ่างก5า0DรพปัรฒะLนเทาศตแารมDกมขอิตงิ โ5ลPก 38 Australia 73.9 39 China 73.2 40 Thailand 73.0 ของสหป•ร•ะชาชDาติ ได•้แ•ก่ ค5ุณภาพ5ชีวิตขอ5งผู้คน D(Peop•l•e) ความเจริญ 41 Ukraine 72.8 ทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน (Prosperity) ทรัพยากรธรรมชาติp 5 D L ••Decreasing Stagnating Moderately improving On track or maintaining SDG achievement Information unavailable Notes: The full title of Goal 2“Zero Hunger”is“End hunger, achieve food security and improved nutrition and promote sustainable agriculture”. และสิ่งแวดล้อม (Planet) สันติภาพ (Peace) และหุ้นส่วนการพัฒนาThefulltitleofeachSDGisavailablehere:https://sustainabledevelopment.un.org/topics/sustainabledevelopmentgoals (Partnership) ของประเทศไทยให้มีคุณภาพดีข้ึนอย่างยั่งยืน422 Sustainable Development Report 2019 20Transformations to achieve the SDGs Sustainable Development Report 2019 Transformations to achieve the SDGs และเปน็ รากฐานในการพฒั นาประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ในระยะยาวตอ่ ไป 345
18 การเตบิ โตอย่างยง่ั ยืน อย่างไรก็ตาม ยังคงมีประเด็นท้าทายที่ต้องด�ำเนินการ ก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งการปรบั ตวั เพอ่ื ลดความสญู เสยี เพ่ือรักษาระดับของค่าเป้าหมายไว้ไม่ให้ตกลงจากเดิม แ ล ะ เ สี ย ห า ย จ า ก ภั ย ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ได้แก่ การน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยี กลไกเครื่องมือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนมุ่งเป้าสู่ ที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้เพ่ือบริหารจัดการปัญหา การลงทุนท่ีเป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศในการพัฒนา ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื และการยกระดบั กระบวนทศั น์ โ ค ร ง ส ร ้ า ง พ้ื น ฐ า น ข อ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ ภ า ค เ อ ก ช น โดยการสรา้ งความตระหนกั รถู้ งึ ความสำ� คญั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม (4) การจัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและ ท่ีมีผลกระทบต่อสังคม รวมทั้งการบูรณาการร่วมกัน จัดการสารเคมีในภาคการเกษตรทั้งระบบ ให้เป็นไปตาม ระหวา่ งภาคส่วนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง มาตรฐานสากล มีแนวทางการพัฒนาท่ีเน้นการก�ำหนด แผนแมบ่ ทฯ ประเดน็ การเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื ประกอบดว้ ย แนวทางเพื่อจัดการคุณภาพน�้ำในแหล่งน้�ำผิวดิน 5 แผนแมบ่ ทย่อย สรุปสาระส�ำคญั ได้ ดังนี้ (1) การสรา้ ง แหลง่ นำ�้ ใตด้ นิ และแหลง่ นำ�้ ทะเลใหม้ คี ณุ ภาพทเ่ี หมาะสม ก า ร เ ติ บ โ ต อ ย ่ า ง ยั่ ง ยื น บ น สั ง ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สี เ ขี ย ว กับประเภทการใช้ประโยชน์ และการจัดการคุณภาพ มีแนวทางในการพัฒนาท่ีเน้นการอนุรักษ์และฟื้นฟู อากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน รวมทั้งการจัดการ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ แ ล ะ แ ห ล ่ ง ที่ อ ยู ่ อ า ศั ย ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ขยะมูลฝอย มูลฝอยติดเช้ือ ของเสียอันตรายและ ท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง การรักษาและเพ่ิม กากอตุ สาหกรรมให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ตลอดจน พ้ืนท่ีสีเขียวท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการบริหาร การจัดการสารเคมีในภาคเกษตรท้ังระบบให้เป็นไปตาม จัดการป่าไมอ้ ยา่ งยงั่ ยืน ตลอดจนส่งเสริมการบรโิ ภคและ มาตรฐานสากล และ (5) การยกระดับกระบวนทัศน์ การผลิตที่ยั่งยืน (2) การสร้างการเติบโตอย่างย่ังยืน เพ่ือก�ำหนดอนาคตประเทศ มีแนวทางการพัฒนาท่ีเน้น บนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล มีแนวทางในการพัฒนา การส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ท่ี เ น ้ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟ ื ้ น ฟู แ ล ะ ส ร ้ า ง ใ ห ม ่ ท รั พ ย า ก ร ด้านสิ่งแวดลอ้ มและคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี องคนไทย พรอ้ มทง้ั ทางทะเลและชายฝั่งท้ังระบบ ตลอดจนการพัฒนา พฒั นาเครอ่ื งมอื กลไกและระบบยตุ ธิ รรมระบบประชาธปิ ไตย แ ล ะ เ พ่ิ ม สั ด ส ่ ว น กิ จ ก ร ร ม ท า ง ท ะ เ ล ท่ี เ ป ็ น มิ ต ร ต ่ อ ส่ิงแวดล้อม และการจัดโครงสร้างเชิงสถาบันเพื่อจัดการ ส่ิงแวดล้อม เพ่ือน�ำไปสู่ความสมดุลของฐานทรัพยากร ประเด็นร่วมด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ร อ ง รั บ ข อ ง ร ะ บ บ นิ เ ว ศ และสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญ ตลอดจนพัฒนาและด�ำเนิน (3) การสร้างการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยนื บนสงั คมทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ โครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อก�ำหนดอนาคต สภาพภมู อิ ากาศ มแี นวทางการพฒั นาทเ่ี นน้ การลดการปลอ่ ย ประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และวฒั นธรรม บนหลกั ของการมสี ว่ นรว่ ม และธรรมาภบิ าล 180101 180102 180201 180301 180401 180402 180403 180501 346
การเตบิ โตอยา่ งย่งั ยนื 18 แผนแม่บทย่อย การสรา้ งการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยืน 180101 บนสงั คมเศรษฐกิจสีเขียว เปา้ หมาย การบรโิ ภคและการผลติ ของประเทศ มคี วามยงั่ ยนื สงู ขนึ้ การเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว เป็นการให้ความส�ำคัญในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และเสริมสร้าง ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม โดยค�ำนึงถึงการลดความขัดแย้งระหว่างสัตว์ป่ากับชุมชน ประกอบกับการพัฒนาและ ส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม และเมืองอุตสาหกรรม ตามแนวทางอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่ช่วย พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนขับเคลื่อนเกษตรกรรมอย่างย่ังยืน และส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี การผลิตให้เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม เพ่ือกระตุ้นให้เกิดการผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืน ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุ เปา้ หมายในการบรโิ ภคและการผลติ ของประเทศมคี วามยง่ั ยนื สงู ขน้ึ จึงต้องอาศัยการส่งเสริม การพัฒนาระบบการผลิต และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และการสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ รวมทั้งมาตรการ ทางเศรษฐศาสตร์ สังคม และการบังคบั ใชก้ ฎหมาย เพอ่ื กระตุ้นให้เกดิ การผลติ และการบริโภคอยา่ งยง่ั ยืน Country Profile สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจาก ดัชนีสมรรถนะสิ่งแวดล้อม (คะแนน) จัดท�ำข้ึนโดย THAILAND Yale Center for Environmental Law and Policy ซ่ึงเป็นการประเมินสมรรถนะของส่ิงแวดล้อมผ่านดัชนีย่อย 2018 EPI Country Rank (out of 180) Population (millions) 68.9 10 ค่า ครอบคลุมประเด็นคุณภาพสิ่งแวดล้อม และประเด็น Land Area (sq. km) 510,890 คณุ ภาพระบบนิเวศ โดยปี 2561 ประเทศไทยมคี ะแนนเฉลี่ย 121 GDP (PPP 2011$ billions) 1,080.0 49.88 คะแนน อยูใ่ นล�ำดับท่ี 121 จากทัง้ หมด 180 ประเทศ GDP per capita โดยจำ� แนกเปน็ คะแนนดา้ นคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม 46.21 คะแนน EPI Score [0=worst, 100=best] SDG Index* 15,683 เพิ่มขึ้นจากคะแนนฐาน 40.73 คะแนน และมีคะแนน 69.5 คุณภาพระบบนิเวศ 52.33 คะแนน ลดลงจากคะแนนฐาน 49.88 52.36 คะแนนเพยี งเลก็ นอ้ ย ทง้ั นี้ จะเหน็ ไดว้ า่ มคี วามเปน็ ไปได้ ThailandCopyright©FreeVectorMaps.com ค่อนข้างสูงในการบรรลุเป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย Country Scorecard ที่ 50 คะแนน ภายในปี 2565 นอกจากน้ี เม่ือพิจารณา จากข้อมูล Sustainable Development Report 2019 Issue Categories Rank เป้าหมายที่ 12 ความรับผิดชอบต่อการผลิตและการบริโภค พบว่าประเทศไทยมคี ะแนนอยูท่ ี่ 79.5 จากเต็ม 100 คะแนน Environmental Health 133 46.21 ซ่ึงเม่ือเทียบเคียงกับประเทศใน ASEAN แล้ว ประเทศไทย Air Quality 167 37.9 อยู่ในช่วงค่าคะแนนใกล้เคียงกับกลุ่มประเทศอาเซียน Water & Sanitation 71 โดยมีค่าคะแนนสูงกว่า มาเลเซีย (77.1) และสิงคโปร์ (35) Heavy Metals 33 59.37 แตต่ ่ำ� กว่าเวยี ดนาม (87.1) และกมั พูชา (97.1) Ecosystem Vitality 94 Biodiversity & Habitat 92 52.33 75.36 Forests 102 74.91 Fisheries 101 Climate & Energy 115 11.07 Air Pollution 92 Water Resources 72 48.25 Agriculture 105 45.75 48.79 77.05 27.17 0 25 50 75 100 Environmental Performance Index Score Peer Comparisons Botswana Montenegro 51.7 61.33 Turkmenistan 66.1 Costa Rica 67.85 W [GDP per capita] Ghana ทมี่ า: Yale Center for Environmental Law and Policy49.66 Poland 64.11 South Africa 44.73 Malaysia 59.22 S ** Cabo Verde Czechia 56.94 67.68 Cyprus Denmark 72.6 81.6 D [P . D ] 0 100 * Sustainable Development Goals Index. ** Based on k-nearest neighbors algorithm 347
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 460
Pages: