สว่ นท่ี 1 บทน�ำ 6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “ภาครัฐโปร่งใส ทันสมัย ใส่ใจให้บริการ ปฏิบัติงานเทียบเท่ามาตรฐานสากล เพ่ือประโยชน์ของ ประชาชนและส่วนรวม” ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภาครัฐให้มีมาตรฐาน ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีความทันสมัย ผ่านการมีหน่วยงานภาครัฐที่มีโครงสร้างและภารกิจท่ีเหมาะสม บุคลากรมีวัฒนธรรม การท�ำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และเป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เปิดโอกาสให้ภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทปี 2561ป(Pี 2er5c6en1ti(lPeeRracennkt(il0etRoa1n0k0()0) to 100)) และรว่คมวาดมำ� มเปีนครนิ ะวสากทมิ ามธรผปิีบรลระขสกิ อทิางธรภผิสาลคาขรธฐอัางรภณาคะรฐรั ะบบงานภลาาวครฐั มลาคี ววามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ปราศจากการทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบ ตลอด(Gจoนveกrาn(mรGบoevnังetคrEnับfmfใeeชcnt้กitvฎEefหnfeมscsาti)ยveแnลesะsก) ารอม�ำานเลวเซยยี คมาวเาลมเซยยี ุติธรรมเป็นไปตามหลักนิติธรรม ประชาชนสามารถเข้าถึง ได้อย่างเท่าเทียม65.แ38ละท65ั่ว.3ถ8 ึง66โ.8ด3 ยจะ66ส.8่3งผลใฟเหมิลย้เี ปิกนปิดมินากสรฟเลม์์ิลยไี ปิกนปมทินาี่สสรน์์ ับสนุนการขับเคล่ือนประเด็นยุทธศาสตร์ชาติในด้านอื่น ๆ ใ62ห.68้สามา62ร.68ถด�ำเนิน201ก4 ารจ2น01บ4 ร2ร01ล8ุเป้าห201ม8 ายกเาวยรี ดพนัฒามเนวยาี ดปนราะมเทศตามท่ีก�ำหนด บรไู น บรไู น 2ย00ุท9 ธศา20ส09ตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพกัฒมั พนชู าารกะมั บพบชู าบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนา 4 เป้าหมาย อนิ โดนเี ซอยนีิ โดนเี ซยี ประกอบด้วย (1) ภาครัฐมีวัฒนธรรมการท�ำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการแนวโนม้ อนั ดแบนั ขวโอนงม้ปอรนะั เดทบัศขไอทงยปใรนะชเทว่ งศรไะทยยะใ1น0ชปว่ ีงทรผ่ีะยา่ นะม1า0 ปีทผ่ี า่ นมา สงิ คโปร์สงิ คโปร์ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใสไท(ย2) ภไทายครัฐมีขนาดท่ีเล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง (3) ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ (4) กระบวนการยุติธรรม เป็นไปเพ่ือประโยชน์ ต่อส่วนรวมของประเทศ ผลการพัฒนIาnตdาicมatเoIปnr d้าiหcaมtoาrยของยุทธCศoาuสntตryรC์ชouาnตtrิดy้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัYear 20Y1e8arPe2r0ce1n8tilPeeRracennkt(il0etRoa1n0k0()0 toดกา100) รภาครัฐ การควบคกมาุ รปคญั วบหคาทมุ จุปรญั ติ หปารทะพจุ รฤติ ตปมิ รชิ ะอพบฤตมิ ชิ อบ Laos Laos Governance พิจารณาจากมิติด้านต่าง ๆ ของดัชนีช้ีวัดธรรมาภิบาลโลก(Contro(lCoofnCtororrluopftCioonr)ruption) (Worldwide Index : WGI) โดยในส่วน MalaysiMa alaysia ของระดับค46.41 46.41 วพาิจมา2308พร1.49ณึง4 พาจอ32า08ใ1ก.4จ94มข40ิตอ.280ิดง718้าปนร4คะ0.ว2ช8071าา8มชPมนhMีปiVตlyiรipae่อะpntnกสimPnaิทาheaMmรisVrธlyiiใิผpaeหpntลnim้บnขaeamอรsrิกงภาารคสราัฐธ ารณะข องภาครัฐ และประสิทธิ ภาพการ บริการ ข20อ09งภาค20ร09ัฐ พบว่า ค่าดัชนีของไทยระหว่างปี 2560 - 2561 มคี า่ คงที่ที่ 66.83 คะแนน ทบง้ั นรูี้ไเนมอ่ื แเปลระICียมnaบdmาBoเเทbnrลuoeยี เndsICบซeiinaaiกีdยmBoับbnrใปuoeนndsรeiiสะaaiเ่วทนศขในอองารเะซดียันบพคบวาวา่ม ประเทศไทยมีคา่ คะแนนเปน็ ลำ� ดบั ท่ี 4 รองจากป ระเทศ สิงคโปร์ โปร่งใส การทุจริต ประพฤติมิชอ บ Trend of 1T0ryeenadrsofp1e0rcyeenatirlse pRearnckentile Rank พิจารณาจาก มิติด้านการควบคุมปัญหาทุจริตประพฤติมิชอบ พบว่า ในปี 2561 ประเทศไทยมีค่าคะแนนอยู่ท่ีOf ThailanOdf Thailand SingapoSriengapore ThailanTdhailand 40.87 ลดลดจากปี 2561 ท่ีมีค่าคะแนน 42.79 โดยเม่ือเปรียบเทียบในระดับภูมิภาค ประเทศอยู่เป็น อันดับท่ี 5 รองลงมาจากสิงคโปร์ (99.04) บรูไน (79.81) มาเลเซีย (63.94) และอินโดนีเซีย (46.15) ตามล�ำดับ IndicatoInr dicator CountryCountry Year 20Y1e8arPe2r0ce1n8tilPeeRracennkt(il0etRoa1n0k0()0 to 100) ประสทิ ธผิ ปลรขะสอทงิ ภธาผิ คลรขฐั องภาครฐั Laos Laos MalaysiMa alaysia PhilippiPnheislippines MyanmaMryanmar VietnamVietnam Brunei Brunei CambodCiambodia IndonesIinadonesia SingapoSriengapore GovernmentGEofvfeercntimvenetsEsf,fTehcativlaennde,s2s0,T1h6a-2ila0n1d8,2016-2018 ThailanTdhailand ท่ีมา: The Worldwide Governance Indicators (WGI), 2019 Update :World Bank Policy Research IndicatoInr dicator CountryCountry Year 20Y1e8arPe2r0ce1n8tilPeeRracennkt(il0etRoa1n0k0()0 to 100) 48 การควบคกมุ าปรญัควหบาคทมุ จุ ปรญัติ ปหราะทพุจฤรตติ มิปชิระอพบฤตมิ ชิ อบ Laos Laos MalaysiMa alaysia
VietnamVietnam ส่วนท่ี 1 บทน�ำ Brunei Brunei CambodCiambodia IndonesIinadonesia SingapoSriengapore GovernmentGEofvfeercntimvenetsEsf,fTehcativlaennde,s2s0,T1h6a-2il0an1d8,2016-2018 ThailanTdhailand IndicatoInr dicator CountryCountry Year 20Y1e8arPe2r0ce1n8tilPeeRracennkt(il0etRoa1n0k0()0 to 100) การควบคกมุ าปรญัควหบาคทมุ จุ ปรญัติ ปหราะทพุจฤรตติ มิปชิระอพบฤตมิ ชิ อบ Laos Laos MalaysiMa alaysia PhilippiPnheislippines MyanmaMryanmar VietnamVietnam Brunei Brunei CambodCiambodia IndonesIinadonesia SingapoSriengapore Control of CCoonrrturopltioofnC,oTrrhuapiltaionnd , T2h0a1i6la-n2d01,82016-2018 ThailanTdhailand ที่มา: The Worldwide Governance Indicators (WGI), 2019 Update :World Bank Policy Research ซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถของภาครัฐในการควบคุมไม่ให้ใช้อ�ำนาจเพื่อสร้างผลประโยชน์ให้แก่ภาคเอกชน ท้ังทางตรงและทางอ้อม ทั้งในรูปแบบของการทุจริตประพฤติชอบเพียงเล็กน้อยหรือขนาดใหญ่ รวมถึงการเข้า ครอบครองรัฐโดยกลุ่มผู้มีอ�ำนาจท่ีมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ส่งผลให้ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันยังไม่มีแนวโน้ม ท่ีจะลดลง และในส่วนของความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม พิจารณาจากมิติของคุณภาพของกฎระเบียบ พบวา่ ปี 2561 มคี า่ คะแนนทคี่ งทจ่ี ากปกี อ่ น โดยมคี า่ คะแนนอยทู่ ่ี 59.62 และหากประเมนิ จากมติ ดิ า้ นหลกั นติ ธิ รรม พบว่า มีค่าคะแนนคงที่เช่นกันระหว่างปี 2560 - 2561 เท่ากับ 54.81 คะแนน ท้ังนี้ เมื่อเปรียบเทียบค่าดัชนี มิตินิติธรรม และมิติคุณภาพของมาตรการควบคุมกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน จะเห็นว่าประเทศ 3 ล�ำดับแรก มีคะแนนท้ัง 2 มิติค่อนข้างสูง อันได้แก่ สิงคโปร์ได้ 97.12 และ 99.52 คะแนน บรูไนได้ 75 และ 74.52 คะแนน มาเลเซียได้ 74.52 และ 74.04 คะแนน Year 2018 Percentile Rank (0 to 100) Country Rule of Law Regulatory Indicator , Thailand , 2016-2018 Quality ① Singapore 97.12 99.52 ② Brunei 75.00 74.52 ③ Malaysia 74.52 74.04 ❹ Thailand 54.81 59.62 54.33 36.54 Vietnam 42.79 50.96 Indonesia 34.13 56.73 Philippines 18.75 20.67 Laos 15.38 22.60 Myanmar 11.06 32.69 Cambodia ที่มา: The Worldwide Governance Indicators (WGI), 2019 Update :World Bank Policy Research ท้ังน้ี ในส่วนของด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ พบว่า ประสิทธิภาพ ภาครัฐในการตอบสนองความต้องการของประชาชนมีการพัฒนาคงท่ี จึงจ�ำเป็นต้องเร่งให้ความส�ำคัญกับ การปรับกระบวนงานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวมในระยะต่อไป รวมทั้งการพัฒนาภาครัฐให้มี ความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ สร้างความน่าเชื่อถือให้กับประชาชาชน 49
ส่วนท่ี 2 ผลการดำ� เนินการตามแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ การประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ นอกจากจะประเมินผลสถานการณ์การบรรลุผลสัมฤทธิ์ (Achievement) การพัฒนาตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติในระดับเป้าหมายภาพรวมของยุทธศาสตร์ชาติและ ระดับเป้าหมายรายยุทธศาสตร์ชาติท้ัง 6 ด้านแล้ว ยังจ�ำเป็นต้องประเมินผลผ่านแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีมีการก�ำหนดค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุตามท่ีชัดเจน ซึ่งจะเป็นการแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์การแปลงเป้าหมาย และแนวทางการพัฒนาของยุทธศาสตร์ชาติในมิติต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นแผนระดับที่ 2 ตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 โดยจะเป็นกลไกส�ำคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติลงสู่การปฏิบัติ ในแผนระดับท่ี 3 ต่อไป โดยการจัดท�ำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นการด�ำเนินการตามที่บัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ท่ีก�ำหนดให้คณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ แต่ละด้านจัดท�ำแผนแม่บทฯ เพ่ือบรรลุเป้าหมายตามท่ีก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติและคณะรัฐมนตรีด้วยแล้ว แผนแม่บทฯ ที่ได้รับการประกาศใช้ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2562 มีจ�ำนวนรวม 23 ฉบับ ประกอบด้วย (1) ความม่ันคง (2) การต่างประเทศ (3) การเกษตร (4) อุตสาหกรรรมและบริการแห่งอนาคต (5) การท่องเท่ียว (6) พื้นท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ (7) โครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล (8) ผ้ปู ระกอบการและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มยคุ ใหม่ (9) เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ (10) การปรบั เปลย่ี นค่านิยม และวฒั นธรรม (11) ศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต (12) การพฒั นาการเรียนรู้ (13) การเสรมิ สรา้ งให้คนไทยมสี ขุ ภาวะที่ดี (14) ศักยภาพการกีฬา (15) พลังทางสังคม (16) เศรษฐกิจฐานราก (17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม (18) การเติบโตอย่างยั่งยืน (19) การบริหารจัดการน�้ำทั้งระบบ (20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (22) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม และ (23) การวิจัยและ พัฒนานวัตกรรม 50
ส่วนท่ี 2 ผลการดำ� เนินการตามแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติท้ัง 23 ฉบับ มีองค์ประกอบ 3 ส่วนหลัก ได้แก่ (1) บทสรุปผู้บริหาร (2) ความเช่ือมโยงระหว่างแผนแม่บทฯ กับยุทธศาสตร์ชาติด้านที่เก่ียวข้อง (3) สาระส�ำคัญของแผนแม่บทฯ ประกอบด้วย เป้าหมายและตัวช้ีวัดในระดับประเด็น เป้าหมายและตัวชี้วัดในระดับแผนแม่บทย่อย และแนวทาง การพัฒนา ท้ังนี้ เป้าหมายทั้งระดับประเด็นแผนแม่บทและระดับแผนแม่บทย่อยมีการก�ำหนดค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ ตามที่ก�ำหนดแบ่งเป็น 4 ห้วงการพัฒนา ห้วงละ 5 ปี โดยแผนแม่บทฯ มีแผนแม่บทย่อยรวมทั้งหมด 85 แผน เป้าหมายระดับประเด็นรวม 37 เปา้ หมาย และเปา้ หมายแผนยอ่ ยรวม 140 เปา้ หมาย ตวั อย่างเป้าหมายหรอื หมดุ หลกั กโิ ลเมตรท่เี ราจะตอ้ งเดนิ ทางไปให้ถงึ ในแตล่ ะช่วง 5 ปี 51
ส่วนท่ี 2 ผลการดำ� เนินการตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ หลักการการประเมนิ ผลการดำ� เนินการตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ผ่านแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ การประเมินผลการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติผ่านแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นการด�ำเนินการ โดยประยกุ ตห์ ลกั การของความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ล (Causal Relationship : XYZ) ระหวา่ งโครงการ/การดำ� เนนิ งาน (X) ของหนว่ ยงานของรฐั ในการมสี ว่ นสนบั สนนุ การบรรลผุ ลลพั ธข์ น้ั ตน้ (เปา้ หมายระดบั ประเดน็ : Y2) ผลลพั ธข์ นั้ กลาง (เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : Y1) และผลลัพธ์ระยะยาว (เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ : Z) และน�ำไปสู่ ขอ้ เสนอแนะทางนโยบายบนฐานขอ้ มลู เชิงประจักษท์ เ่ี หมาะสมตอ่ ไป ยทุ ธศาสตรชาติ เปาหมาย* Z คอื ผลสมั ฤทธท์ิ ่ีตองการจะบรรลุ แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ *เปาหมาย (Y2) แผนระดับท่ี 2 แผนการปฏริ ปู แผนพฒั นาเศรษฐกิจ แผน คา เปาหมาย* ตวั ชี้วดั (Y2)* ประเทศดา น... Y2 แผนแมบ ทฯ คา เปา หมาย ระยะ 5 ป* ตวั ชวี้ ัด (Y1)* และสังคมแหงชาติ ความมนั่ คงฯ คคอือื คคา า่ ใขขนออใแงนงผตผแลล่ ลตใสะนสล มัชเะัมฤช่วชฤปทงิงว ทรธรปงะทิ์มิธรรยะ่ีตา์ิทมิ ยณะอีต่ าะเงอ้วณเกวงลาลกราาาจ5ระ5บจปประีรบลรใุ รนลเชุ งิ ประเด็น .... | ป 2561-2565 | ป 2566-2570 | ป 2571-2575 | ป 2576-2580 แผนระดบั ท่ี 3 ตวั ชี้วัด* แผนยอ ย... *เปา หมาย (Y1) ป* หมายเหตุ ทกุ แผนระดับ 3 และทกุ โครงการ (X) จะตองตอบ คอื ส่ิงที่กําหนดขึน้ เพื่อ เปา หมายอยางนอ ย 1 แผนแมบ ทฯ (Y) และ/หรือแผนระดบั 2 อื่น วดั ผลสมั ฤทธข์ิ องคา เปา หมาย Y1 แนวทางการพัฒนา AAA n คา เปาหมาย ระยะ 5 ๆ ท่ีเกี่ยวขอ ง(ถามี) | ป 2561-2565 | ป 2566-2570 หมายเหตุ*ถกู กําหนดไวแลว | ป 2571-2575 | ป 2576-2580 แผนปฏิบัตริ าชการ...ระยะ 5 ป (ชวงแรก 3 ป) แผนปฏบิ ตั ิการดา น... (ถามี) แผนปฏิบตั ิราชการ...รายป X กาโรคดรํางเกนานิ รง/าน X1 X2 X3 X4 X5 X6 X7 X8 … Xn การประเมินผลการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ข้อมูลโครงการ/การด�ำเนินงานต่าง ๆ ของหน่วยงาน ผ่านแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ใช้ข้อมูล ของรัฐท่ีน�ำเข้าระบบโดยผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหาร การด�ำเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานของรัฐจากระบบ หน่วยงานทุก 3 เดือน โดยเป็นข้อมูลความก้าวหน้า ติดตามและประเมินผลแหง่ ชาติ (Electronic Monitoring การดำ� เนนิ งานเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายแผนแมบ่ ทฯ and Evaluation System of National Strategy and และยุทธศาสตร์ชาติ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ Country Reform : eMENSCR) และระบบรายงาน ขณะท่ีระบบ eMENSCR Dashboard จะมีข้อมูล ผลการด�ำเนินการตามเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ ส ถ า น ก า ร ณ ์ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ที่ มี ก า ร แ ส ด ง สี ยทุ ธศาสตร์ชาติ (eMENSCR Dashboard) ซง่ึ เป็นระบบ สถานการณ์ความเสี่ยงการบรรลุเป้าหมายอยา่ งเปน็ ระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศทส่ี ำ� นกั งานฯ ไดพ้ ฒั นาข้ึน เพ่ือเป็น รวมทงั้ ขอ้ มลู โครงการ/การดำ� เนนิ งานตา่ ง ๆ ที่สนับสนุน กลไกหลักส�ำหรับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การบรรลุผลลัพธ์ตามเป้าหมายของแผนแม่บทฯ ท้ังใน การด�ำเนินงานของหน่วยงานของรัฐที่มีประสิทธิภาพและ ระดบั ประเด็น และแผนแม่บทย่อย ไม่เป็นภาระมากเกินสมควร โดยระบบ eMENSCR จะมี 52
ส่วนท่ี 2 ผลการดำ� เนินการตามแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ การประเมินผลการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติผ่านแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติท้ัง 23 ฉบับ มีกระบวนการ และขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. ระดบั ประเด็นแผนแม่บทฯ 1.1 การประเมินผลลัพธ์การด�ำเนินการที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย เพ่ือวิเคราะห์และประมวลผลสถานะ ของการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายประเด็นแผนแม่บทฯ รวมท้ังความเส่ียง/ความเป็นไปได้ ในการบรรลุเป้าหมายตามที่ก�ำหนดในห้วง 5 ปีแรกของการพัฒนาในปี 2565 โดยจะมีการแสดงสีสถานะ การพัฒนาเพื่อการบรรลุเป้าหมายก�ำกับ ซึ่งในการประเมินสถานการณ์จะพิจารณาจากข้อมูลตัวชี้วัด ทก่ี ำ� หนดในแผนแมบ่ ทฯ หรอื ขอ้ มลู ตวั ชวี้ ดั เทยี บเคยี ง ขน้ึ อยกู่ บั ความพรอ้ มของขอ้ มลู โดยมหี ลกั เกณฑ์ ดงั น้ี กรณีตวั ชี้วดั เป็นสัดสว่ น/รอ้ ยละ/ค่าตวั เลขเชงิ เดย่ี ว อาทิ วงเงนิ จ�ำนวน วเิ คราะหห์ าการเปลีย่ นแปลง ระหว่างข้อมูลปี 2562 (หรือปีล่าสุดที่มีข้อมูล) กับปี 2561 (หรือปีก่อนหน้าปีล่าสุด) เพื่อน�ำไปสู่ การประมวลสถานการณ์การพัฒนา กรณีที่ตัวช้ีวัดเป็นดัชนีรวม นอกจากจะพิจารณาการเปลี่ยนแปลงค่าคะแนนและอันดับของดัชนีรวม ระหวา่ งปี 2562 (หรอื ปลี า่ สุดท่ีมขี ้อมูล) กบั ปี 2561 (หรือปกี ่อนหน้าปลี ่าสุด) จ�ำเป็นตอ้ งวิเคราะหแ์ ละ ประเมนิ องคป์ ระกอบ/ปจั จยั ยอ่ ยของดชั นเี พมิ่ เตมิ เพอื่ ประมวลหาประเดน็ การพฒั นาและ/หรอื ปจั จยั ตา่ ง ๆ ในรายละเอยี ดทสี่ ง่ ผลตอ่ การปรบั ลด/เพม่ิ ของอนั ดบั และคา่ คะแนนของดชั นรี วม และน�ำไปสู่ข้อสังเกตของ ประเด็นท่ีจ�ำเป็นต้องเร่งให้ความส�ำคัญในระยะต่อไป เพ่ือท่ีจะสามารถน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายระดับ ประเด็นแผนแม่บทฯ ตามท่ีกำ� หนดในปี 2565 53
ส่วนท่ี 2 ผลการดำ� เนินการตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ กรณีที่ตัวชี้วัดเป็นตัวช้ีวัดระดับสากล วิเคราะห์เปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงกับต่างประเทศเพิ่มเติม ท้ังในส่วนของการจัดอันดับและค่าคะแนนของตัวชี้วัด โดยในส่วนของอันดับจะเป็นการสะท้อน ใหเ้ หน็ สถานะการพัฒนาของประเทศไทยในการตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ขณะทใี่ นสว่ นของ คะแนนจะเป็นการสะท้อนความก้าวหน้าการพัฒนาของประเทศไทย เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความพร้อม ในการรองรับการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ และมาตรฐานการพัฒนาของประเทศไทยเทียบเคียงกับ นานาประเทศ น�ำไปสู่ข้อเสนอการด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องในการยกระดับการพัฒนาของประเทศให้ได้ ตามมาตรฐานสากล กรณีที่ตัวชี้วัดท่ีก�ำหนดไม่มีข้อมูล ให้ด�ำเนินการวิเคราะห์หาตัวชี้วัดหรือข้อมูลเชิงสถิติอ่ืน ๆ ท่ีสามารถสะท้อนสถานการณ์ของเป้าหมายได้ใกล้เคียงท่ีสุด ซึ่งจะเป็นตัวช้ีวัดเทียบเคียง (Proxy) ส�ำหรับเป้าหมายน้ัน ๆ โดยต้องด�ำเนินการหาค่าฐาน (Baseline) ในปี 2560 หรือปีล่าสุดท่ีมีข้อมูล ก่อนท่ีจะมียุทธศาสตร์ชาติ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการก�ำหนดค่าเป้าหมาย ที่เหมาะสมในห้วง 5 ปีแรก 1.2 ประเด็นท้าทายในการด�ำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายประเด็นแผนแม่บทฯ ประมวลผลประเด็นท้าทาย ท่ีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องด�ำเนินการเพ่ือให้สามารถน�ำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์ตามเป้าหมาย ท่ีก�ำหนดได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยสังเคราะห์จากข้อมูลการวิเคราะห์การประเมินสถานการณ์ การบรรลุเป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ ร่วมกับประเด็นท้าทายของการด�ำเนินงานในระดับ เป้าหมายแผนแม่บทยอ่ ย 2. ระดบั แผนแมบ่ ทยอ่ ย 2.1 ความสอดคล้องของเป้าหมายแผนแม่บทย่อยและเป้าหมายประเด็นแผนแม่บทฯ แสดงความเชื่อมโยง ระหว่างเป้าหมายแผนแม่บทย่อยในการสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายประเด็นแผนแม่บทฯ รวมท้ังปัจจัย แหง่ ความส�ำเรจ็ ท่ีส�ำคญั ทีจ่ ะน�ำไปส่กู ารบรรลุเป้าหมายแผนแม่บทย่อยได้อย่างเป็นรูปธรรม 2.2 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ประเมินผลโดยใช้หลักการเดียวกันกับประเมินสถานการณ์การบรรลุ เป้าหมายระดับประเดน็ แผนแมบ่ ทฯ 2.3 การด�ำเนินการท่ีผ่านมา วิเคราะห์และประมวลผลการด�ำเนินงานต่าง ๆ ของหน่วยงานของรัฐ ที่คาดว่ามีส่วนในการขับเคลื่อนเป้าหมายแผนแม่บทย่อยได้อย่างเป็นนัยส�ำคัญ โดยต้องเป็น การด�ำเนินงานท่ีมีความสอดคล้องกับปัจจัยแห่งความส�ำเร็จที่ส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย แผนแม่บทยอ่ ยได้อย่างเปน็ รูปธรรม 2.4 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีส่งผลกระทบต่อการบรรลุ เป้าหมายได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยอาจเป็นปัญหาอุปสรรคเชิงกระบวนการ กฎระเบียบ ศักยภาพและ ความพร้อมบุคลากร และ/หรือความไม่ครอบคลุมของการด�ำเนินงานตามปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ ที่ส�ำคัญท่ีจะน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายแผนแม่บทย่อยได้อย่างเป็นรูปธรรม 2.5 ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย ข้อเสนอการด�ำเนินการในเชิงปฏิบัติท่ีหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องสามารถน�ำไปแปลงสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือน�ำไปสู่แก้ไขปัญหาและ อปุ สรรคตา่ ง ๆ ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ การบรรลุเป้าหมาย 54
ส่วนท่ี 2 ผลการดำ� เนนิ การตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ สรุปผลการประเมินผลการด�ำเนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ผ่านแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ จากการประเมินสถานการณ์การบรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 23 ประเด็น ประจ�ำปี งบประมาณ 2562 ผา่ นข้อมลู การด�ำเนนิ งาน/โครงการทห่ี นว่ ยงานของรัฐท่ีเปน็ การดำ� เนินการของปงี บประมาณ 2562 ท่ีถูกน�ำเข้าในระบบ eMENSCR ส้ินสุด ณ เดือนธันวาคม 2562 ตามมติคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ คราวประชุมคร้ังท่ี 2/2562 วันที่ 28 ตุลาคม 2562 รวมทั้งสิ้น 24,872 โครงการ พบว่า ส่วนมากมีสถานการณ์ การบรรลุเป้าหมายท่ีต่�ำกว่าเป้าหมายท่ีก�ำหนดในปี 2565 แต่คาดว่าจะสามารถด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายได้ (สีส้ม และ สีเหลือง) โดยมีแผนแม่บทฯ ที่มีสีแสดงสถานะการบรรลุเป้าหมาย สีส้มจ�ำนวน 14 ประเด็น (ร้อยละ 33.3) และสเี หลอื ง จำ� นวน 7 ประเดน็ (รอ้ ยละ 41.7) และเป็นแผนแม่บทฯ ที่มีการพฒั นาตำ่� กวา่ เปา้ หมาย ในระดับวกิ ฤตโดยมสี ีแสดงสถานะการบรรลุเป้าหมายเป็นสีแดง รวม 2 ประเดน็ (รอ้ ยละ 16.7) ไดแ้ ก่ แผนแมบ่ ทฯ ประเด็น (12) การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนแม่บทฯ ประเด็น (21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ซง่ึ จ�ำเป็นตอ้ งเร่งดำ� เนินการตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพือ่ ให้สามารถบรรลเุ ป้าหมายได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม 55
สว่ นท่ี 2 ผลการดำ� เนินการตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ หากพิจารณาในส่วนของการบรรลุเป้าหมายระดับ เปา้ 4(ห1เม0ปา.้า8ยห1ปม%ราะ)ยเดน็ เป้า6(ห1เม6ปา.้า2ยห2ปม%ราะ)ยเด็น ประเด็น รวม 37 เป้าหมาย พบว่า มีเป้าหมายระดับ ประเดน็ ทบ่ี รรลตุ ามคา่ เปา้ หมายทก่ี ำ� หนดในปี 2565 แลว้ (สีแสดงสถานะ สีเขียว) จ�ำนวน 4 เป้าหมาย โดยเปน็ เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทฯ ประเดน็ (3) การเกษตร เป1า้ (5ห4ม0เปา.5ยา้ 4หป%มระา)เยดน็ เป1า้ (2ห3ม2เปา.4ยา้ 3หป%มระา)เยดน็ เป้าหมายผลิตภาพการผลิตของภาคเกษตรเพิ่มข้ึน แผนแม่บทฯ ประเด็น (7) โครงสร้างพื้นฐาน ระบบ โลจสิ ตกิ ส์ และดจิ ทิ ลั เปา้ หมายความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานของประเทศดขี น้ึ แผนแมบ่ ทฯ ประเดน็ (9) เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ เป้าหมายการลงทุนในพื้นท่ี เขตเศรษฐกิจพิเศษท้ังหมดได้รับการยกระดับ และ แผนแม่บทฯ ประเด็น (18) การเติบโตอย่างยั่งยืน เป้าหมายสภาพแวดลอ้ มของประเทศไทยมคี ณุ ภาพดีขึ้นอย่างย่ังยืน ขณะที่อีก 27 เป้าหมายระดับประเด็นเป็นเป้าหมายท่ีต�่ำกว่าค่าเป้าหมาย แต่คาดว่าจะสามารถด�ำเนินการให้บรรลุ เป้าหมายได้อย่างเป็นรูปธรรม จ�ำแนกเป็นเป้าหมายท่ีมีสีแสดงสถานะสีเหลือง จ�ำนวน 15 เป้าหมาย และ สีส้ม จ�ำนวน 12 เป้าหมาย และเป็นเป้าประเด็นท่ีมีสถานการณ์การบรรลุเป้าหมายในระดับวิกฤต โดยมีสีแสดงสถานะ เป็นสีแดง จ�ำนวน 6 เป้าหมาย โดยเป็นเป้าประเด็นของแผนแม่บทฯ ประเด็น (1) ความมั่นคง ประเด็น (3) การเกษตร ประเด็น (5) การท่องเที่ยว ประเด็น (6) พื้นท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ประเด็น (12) การพัฒนา การเรยี นรู้ และประเดน็ (21) การตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ ประเดน็ ที่ สถานะเปาหมายประเดน็ ของแผนแมบท 1. สีสม 010001 010002 2. สเี หลือง 020001 3. สีสม 030001 4. สสี ม 050002 040001 040002 030002 5. สีสม 060003 050001 050003 070001 6. สีสม 060002 060001 090002 7. สีสม 08 0001 8. สสี ม 100001 18 0001 9. สสี ม 090001 110001 10. สีเหลือง 120002 4 11. สีเหลือง 130001 12. สแี ดง 120001 140001 13. สีเหลือง 160001 14. สเี หลอื ง 170001 15. สีเหลอื ง 150001 190002 16. สสี ม 200001 17. สีเหลือง 18. สเี หลอื ง 230001 230002 19. 20. สสี ม 210001 190003 190001 15 21. สีสม 220001 200002 22. สแี ดง 6 220002 สสี ม 23. สเี หลือง รวม 12 56
ส่วนท่ี 2 ผลการดำ� เนนิ การตามแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ และหากพิจารณาเป็นรายเป้าหมายของแผนแมบ่ ทยอ่ ย เปา้1ห9(ม1เา3ปย.า้6แห%ผมน)ายยอ่ ย เป้า3ห1(ม2เา2ปย.้า1แห%ผมน)ายยอ่ ย รวม 140 เปา้ หมาย พบวา่ มเี ปา้ หมายทบ่ี รรลตุ ามทกี่ ำ� หนด ในปี 2565 แลว้ (สเี ขยี ว) จำ� นวน 19 เปา้ หมาย (รอ้ ยละ เป้า4ห9ม(เ3าป5ย้า%แหผม)นายยอ่ ย เป้า4ห1(ม2เา9ปย.า้3แห%ผมน)ายย่อย 13.6 ของเปา้ หมายทง้ั หมด) โดยสว่ นมากยงั เปน็ เปา้ หมาย ทตี่ ำ่� กวา่ คา่ เปา้ หมาย แตค่ าดวา่ จะสามารถบรรลเุ ปา้ หมาย ตามท่ีก�ำหนดไว้ได้ในปี 2565 จ�ำนวน 90 เป้าหมาย ประกอบด้วย เปา้ หมายทม่ี สี ถานการณบ์ รรลเุ ปา้ หมาย เปน็ สเี หลอื ง จำ� นวน 49 เปา้ หมาย (รอ้ ยละ 35) และ สีส้ม จ�ำนวน 41 เปา้ หมาย (รอ้ ยละ 29.3) และยงั เปน็ เปา้ หมายทม่ี คี วามเสย่ี งในการบรรลุเป้าตามท่ีก�ำหนด รวม 31 เป้าหมายเทียบเท่าร้อยละ 22.1 ของจ�ำนวน เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อยท้ังหมด ซึ่งจ�ำเป็นต้อง เร่งด�ำเนินการในระยะต่อไปเพ่ือให้สามารถบรรลุ เป้าหมายได้อย่างเปน็ รปู ธรรม สถานะเปาหมายแผนแมบทยอยฯ ประเดน็ ที่ 010101 0100013 010201 010202 010102 010301 010302 010401 010402 010501 1. สสี ม 020202 020401 030401 2. สีเห ลอื ง 040101 040201 040501 040502 040602 020201 020301 020501 050101 050102 050103 050201 050401 030101 030202 030602 3. สีสม 030201 030301 030501 030502 030601 060101 060201 060202 040302 030302 4. สสี ม 070102 050202 040402 040601 5. สีสม 050402 050601 080102 080401 050602 050603 050301 040301 040401 050303 090203 090201 090301 090302 050302 050501 6. สสี ม 070101 070103 070104 070105 7. สีสม 080101 080201 080301 070203 070301 070201 070202 070204 8. สีสม 090202 08 0202 08 0302 08 0303 090303 9. 090101 090102 110401 10. สสี ม 100101 100301 100201 110201 สีเห ลอื ง 11. สีเห ลอื ง 110501 110101 110301 110402 12. สีแดง 120101 10201 13. สเี ห ลอื ง 130201 130501 130101 130401 130301 14. สีเห ลือง 160101 160202 140101 140201 140301 15. สีเห ลือง 150101 150201 150202 16. สสี ม 160201 17. สเี ห ลอื ง 170101 170201 18 0301 180101 180102 180201 180401 200302 18 . สเี ห ลอื ง 180402 180403 180501 190101 190103 190201 190202 190203 19. สสี ม 190102 190301 20. 200101 200201 200401 200501 200301 220101 220103 230502 21. สสี ม 210101 210201 210102 230102 230201 230301 230501 22. สีแด ง 220102 220201 19 23. สสี ม 230401 230101 49 สีเห ลือง 31 รวม 41 โดยมผี ลการประเมนิ ผลสถานการณก์ ารพัฒนาของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ท้ัง 23 ประเด็น ในรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปน้ี 57
แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ 01 ความมนั่ คง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ฿ ความม่ันคง “ประเทศชาตมิ ีความมัน่ คงปลอดภัย มคี วามสงบเรียบรอ้ ย มีความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันตภิ ายใต้ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข บนพ้ืนฐานของสงั คมพหุวฒั นธรรม การเคารพความหลากหลาย และหลักธรรมาภิบาล มีความพร้อมเผชญิ เหตุ และรับมือกับภยั คกุ คาม ด้านความมน่ั คงในทกุ มิติ ทกุ รูปแบบ และทกุ ระดบั ความรนุ แรง เป็นภมู ิคุม้ กนั ใหป้ ระชาชนอยดู่ ี กินดี และมีความสุข ส่งเสรมิ การบริหารและการพัฒนาประเทศในทุกดา้ นต่อไป”
ความมัน่ คง 01 1 23456 (ส้ม) มบ่ ทฯ ประเด็นแผ(น1แ)มค่บทวภาามยมใตน่ั ้ยคุทงธศาสตร์ชาติ ประเด็น (1) ความมั่นคง มีเป้าหมายส�ำคัญในการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อม ม่บทภายใต้ยุทธดขศ้าอนงาคปสวรตาะรมเ์ชทม่ันาศคตใหงิ สป้ม่งีครผะวลาเกดมร็มนะ่ัทน(บค1ตง)่อคปกลวารอาบมดรภมิหัย่ันารคแแงลละะมมกีเาีคปรว้าพาหัฒมมสนงาาบปยรเสระาียเทคบศัญร้อแใยนลอะกยเาอ่ารื้องบตแ่อทรกิห้จาราริงรดจ�ำเเพัดนื่อกินไกามาร่ใรสหขภอ้ปางัญยวุทหะธาแศภวาัยดสคตลุกร้อค์ชมาาตมิ สะ่งเผทลศกใรหะ้มทีคบวตาม่อดรแะกม้าลดนะาั่นับอมรคป่ืนคีบงรวรๆะาปิหเมดใลสาห็นุขรอข้ แดบัดไขีลเดภค้นึ้แะลัยกกอ่ื ่ แนา(1ไรลป)พะตปัมฒารมีคะนทเวทาิศาศปทมชารสงาะแตงเลบิมทะีคเศเรวปียาา้แมหบลมมระั่นา้อยเคอยทง้ือใ่กีอน�ำตยทห่่าอนุกงกมดแาไิตดทริ ้แ้ดจภลราาะิงยเทนใุกตเินพร้หะกลื่อดาักไับครมเวขพ่ใาหอิ่มมง้ปขมย้ึนน่ััญุทคแหงธลแาศะบภาบ(ัยสอ2คต)งคุกรปร์ ์ชครวะมาาชตมโาิดดดชย้า้านมนนอีเยปอค่ดูา้ื่นวหี ากมมๆนิ าดยี คลื่อนไปตามทิศทางและเป้าหมายที่กาหนดได้ ภายใต้หลักความม่ันคงแบบองค์รวม โดยมีเป้าหมายระดับ น ไดแ้ ก่ (1) ประเทศชาติมีความม่ันคงในทุกมิติ และทุกระดับเพิ่มข้ึน และ (2) ประชาชนอยู่ดี ก0ิน10ด0ี0แ1ละมี สีแด0ง10001 สขุ ดีข้นึ การประเมินผลลพั ธ์การด�ำเนินการทส่ี ่งผลตอ่ การบรรลุเป้าหมาย ะเมนิ ผลลัพธ์การดาเนินการทีส่ ่งผลต่อการบรรลุเปา้ หมาย นะเพทิจศาชรณาตาิจมาีคกทโ(ว1ลดกุ )กาัรชปมะจนดรัดมีะบสั ทเ่ันเันทพ�ำศโคตมิ่ดชขิภงยานึ้สใตานถมพิ พาคีทบโิจวลาันุการกเมณมพม่ือจิาตนั่ จเัดศิคาแรทงกษใดลานฐัชโทะศนดกุาทสี ยสมนัุกตสติ ตริรถภิแ์แะาาลลดพบะะัับน รษฐศาสตร์แลสปะันรสะตันเิทภตศาิภไพทายพใอนยใปนู่ใีนป2อี5ัน26ด5ั1บ6ท1-ี่ 12-153265แ26ล2ะพบพ1ว1บ่6าว่า 2562 ดชั นีสันติภาพโลก (อนั ดบั ) ศไทยอยู่ในอันตดาับมลท�ำี่ ด1ับ13ห่าแงลจาะก1เป1้า6หมตาายมทล่ีตา้อดงบับรรหล่าุ ง 2561 าหมายท่ีต้องกภบับารยปรใรนละปุภเีท2าศ5ย6ใน5ใภน(1ูมปิภใี นา2ค75เ5อ6เข5ชอีย(งแ1โลปกใซน)ิฟเชิก7น่ท5เ่ีมดีทยีขวั้งอง 2560 116 ชม่นทเี่ดดีีขย้ึวนกแับลปะลรแปจะดันดจั เลจเวทปยังโนศ็บนโ้มง่ใกดชนทลเี้ยี่ดุช่มภพีขงิปูมป้ึนิัจจริภแจมิาลัายาระณคบณล่งเแดอชาลลี้หจะเงชเลาชีัโยกกงิดคแปย3ณุ ปพัจภกิจซจาลาิฟพัยรุ่มณิบก2ไา่ท3งดจช่ี้มแขาี้เกกอ้ีทช่ ั้ิงง 2559 113 105 120 125 110 115 120 125 130 ณจาแนลวะนเชริงะคยุณะภเวาค(คลอพววาาาาท2มมแิ ป3ขจลัลด�ำขะอแน้อผดยวภ้งู้เนจสทัยัดี่ียแเรกเละชิปดะยีวขน็คะิตึ้นวเกใวใานลนลมุ่ามแมคล่ันปวแะคาัจลนงมจะใอขนผัยกู้สเัดบปสังแี่รงยคะยชชมเี้ี้งวหทิภต(ลอศใาาักนยทคิ3ใวจนา�ำกปมนลขรวุม่ัดนะแอเไทยาด้ชงศ้แภญกาคาย่ กวคใรานวรมปามสมรแะัมลขเะพัดทเหแศันตยธคุค้ง์กววทับาาี่เมมปกสริรดุนัมะขแพเึน้รันทงใธศน์จกเแ�ำับพนลปื่อวะรนนะนผบเอทู้อ้ากพศนปเยพ)พร่ือคโะนยวเกบทาย้ามศ้านย) ภัยและความม่ันถกิ่ลนคุ่มฐงปาในัจนจสเยั สังบถคง่ียชมร้หี ภล(าอักพาท2ทากงิ ลจก่มุ าาแรนเรมกวือนปงอ)ระาแเชลทะญศกไทาากรยขมรยคีราะมยแแอนิทลนธะอิพยเหลูใ่ นทตกาุคลงทุม่วหา5มา3รรปุน(รอแะาเรททงิศกสจาดุ ราทเนข้า้ยาวถนจึงาผอกาู้อว1พุธ6เย3ลพ็กปแโรยละะเกทอยศา้าทวยุธ่วั เโถบลิ่นกา)ฐจโางึ ดคนยวทรี่ ภาพทางการเมเือนง้น)กแารลดะ�ำกเนาินรกขายราในยทอิศิททธาิพงทลี่กท่อาใงหท้เกหิดาสรันต(อิภาพทเิชกิงาบรวเกข้าจถากึงรอาากวฐุธานเลข็กองแกลาะรมอีทาัศวนุธคเบตาิ ส)ถโาดบยันทแ่ีกลละุ่มโคปรัจงสจรัย้าง ลัก 2 กลุ่มแรก ทป่สี รง่ ะเสเรทิมศสไังทคมยสมนั ีคตะิสแขุ ไนดน้อยอ่ายงยู่ในั่งยกืนลุ่ม 53 ประเทศสุดท้าย จาก 163 ประเทศท่ัวโลก จึงควรเน้นการ การในทิศทางท่ีก่อให้เกิดสันติภาพเชิงบวก จากรากฐานของการมีทัศนคติ สถาบัน และโครงสร้างที่ส่งเสริม นติสขุ ได้อยา่ งยัง่ ยืน ะชาชนอยู่ดี กินดี และมคี วามสุขดขี ้นึ 010002 59 สีสม้
พทางการเมือง) และการขยายอิทธิพลทางทหาร (อาทิ การเข้าถึงอาวุธเล็กและอาวุธเบา) โดยที่กลุ่มปัจจัย 2 กลุ่มแ0รก1 ประเทศไทยมีคะแนนอยู่ในกลุ่ม 53 ปคระวเทาศมสุดมทั่น้ายคจางก 163 ประเทศทั่วโลก จึงควรเน้นการ รในทิศทางที่ก่อให้เกิดสันติภาพเชิงบวก จากรากฐานของการมีทัศนคติ สถาบัน และโครงสร้างท่ีส่งเสริม ติสุขได้อย่างย่ังยนื าชนอยู่ดี กนิ ดี และมคี วามสุขดขี ึ้น 01ส0สี 0ม้ 002 10002 จากดัชนพ(ี2ชิ จ)้ีวาปัดรรคะณชวาาาชจมนาสอกุยขดดู่ ขัีชอกนนิงีดชป้ีีวรแั ดะละคชมวาคี กาวมารมไสสทุ ขขุ ยขดขีอจน้ึงาก ความสุขโปลรกะชจาัดกทรไาทโยดยจโาคกรางยกงาารนเคควราือมขสุ่ขายโลกการ 2562 ดชั นชี ้ีวัดความสุขของประชากรไทย (อันดับ) เพื่อการพจเัพฒัด่ือทนก�ำาาโทดรี่ยพยโ่ัังฒคยนรืนงากขทาอ่ียรงั่งเสคยืนรหือขปขอร่างะยสชกหาาปรชรแาะกตช้ปิ าซัญชึ่งหาใตานิ ปี 2561 52 บว่าประเซท่ึงใศนไปที 2ย56อ1ยพู่ใบนวอา่ ปันรดะเับทศทไี่ท5ยอ2ยจู่ในาอกนั ด1บั 56 2560 46 ท่ี 52 จาก 156 ประเทศท่ัวโลกท่ีมี การส�ำรวจ ห่างจากเป้าหมายท่ีต้องบรรลุ 2559 ภายในปี 2565 (1 ใน 35 ของโลก) ขณะท่ี 0 10 20 32 50 2 สงิ คโปร์อย่ใู นอนั ดบั ที่ 34 และมาเลเซยี อยใู่ น 30 40 60 อันดับท่ี 80 ทั้งน้ี จากปัจจัยหลักท้ัง 6 ด้านส�ำคัญ ซึ่งได้แก่ การส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้ ได้รับสวัสดิการและ การสนับสนุนจากภาครัฐที่ดี มีการบริการด้านสาธารณสุขและการส่งเสริมให้ประชาชนมีอายุคาดเฉลี่ยของการมี สุขภาวะท่ีดี ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพ มีความเอื้ออาทรต่อกัน และอยู่ในสังคมที่ไม่มีการทุจริต พบว่าในปี 2562 ประเทศไทยมีค่าคะแนนที่ค่อนข้างต่�ำใน 3 ด้านสุดท้าย และเป็นค่าคะแนนที่ลดลงโดยเปรียบเทียบจากปี 2561 สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยควรเร่งด�ำเนินการในด้านสิทธิและเสรีภาพของประชาชน มีความเอ้ืออาทรต่อกัน และ อยูใ่ นสังคมทีไ่ ม่มีการทุจรติ ซง่ึ จะส่งผลให้สามารถบรรลุเป้าหมายระดบั ประเดน็ ตามที่ก�ำหนดไว้ไดส้ �ำเร็จ นอกจากนี้ ยังคงมีประเด็นท้าทายท่ีต้องด�ำเนินการเพื่อ ความทันสมัยและสอดคล้องกับมาตรฐานสากลด้วย ให้บรรลุเป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ โดยสรุป (2) ความสมดุลของการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ภาพรวม ได้แก่ (1) สถานการณ์ด้านความม่ันคงของโลก สาธารณะกับความมั่นคงปลอดภัยหรือความเป็นส่วนตัว ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยเฉพาะภัยคุกคาม ของบุคคล บทบาทของทุกภาคส่วนในการเป็นภาคี รูปแบบใหม่ท่ีมีหลากหลายมิติ รูปแบบ เกิดขึ้น การพฒั นารว่ มกบั หนว่ ยงานความม่นั คง เพือ่ แก้ไขปัญหา อย่างรวดเร็ว รุนแรง ฉับพลัน และเป็นลักษณะเฉพาะ ด้านความม่ันคงได้ในระยะยาว โดยมีพื้นฐานจาก ในแตล่ ะบรบิ ทของพนื้ ที่ เปน็ ความทา้ ทายตอ่ การบรู ณาการ ความเช่ือม่ันของประชาชนต่อการด�ำเนินงานของ การท�ำงานอย่างประสานสอดคล้องของหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานด้านความม่ันคงภายในประเทศบนหลัก จากระดับนโยบายสู่การด�ำเนินการในระดับพื้นที่ นิติธรรมและธรรมาภิบาล และ (3) ความสามัคคี ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น ปรองดองของคนในชาติ อยู่ร่วมกันอย่างสันติบนฐาน ด้านความม่ันคงภายในประเทศทั้งระบบ รวมถึงการหา ความหลากหลาย และความเข้าใจธรรมชาติของ จุดรว่ มของผลประโยชน์ มมุ มอง และความเข้าใจบนฐาน ความขัดแย้งจากพ้ืนฐานความแตกตา่ งนัน้ โดยไมใ่ ช้วาจา ความสัมพันธ์อันดีระหว่างไทยกับประเทศในภูมิภาค ท่ีสร้างความเกลียดชัง ที่อาจน�ำไปสู่การก่ออาชญากรรม และประเทศท่ีมีความส�ำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อแก้ไข ทเี่ กดิ จากความเกลยี ดชังได้ ปัญหาความม่ันคงร่วมกัน รวมถึงการพิจารณา การด�ำเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศและ ก า ร อ นุ วั ติ ก ฎ ห ม า ย ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ท่ี จ� ำ เ ป ็ น ใ ห ้ มี 60
ความมัน่ คง 01 แผนแม่บทฯ ประเด็น ความม่ันคง ประกอบด้วย 5 กระทบตอ่ ความมน่ั คงของชาติ ยกระดบั ขดี ความสามารถ แผนแม่บทย่อยที่สนับสนุนการด�ำเนินการระหว่างกัน ของหน่วยงานด้านความมั่นคงท้ังระบบของประเทศ โดย สรุปสาระส�ำคัญได้ ดังนี้ (1) การรักษาความสงบภายใน เน้นระบบข่าวกรอง ระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและ ประเทศ โดยมีแนวคิดการเสริมสร้างความปลอดภัย การบริหารวิกฤติการณ์ การผนึกก�ำลังทรัพยากรและ ใ น ชี วิ ต แ ล ะ ท รั พ ย ์ สิ น แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย ์ ความพร้อมของกองทัพ พร้อมรับมือกับภัยคุกคาม การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ ในทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง การสร้างความสามัคคีของคนในชาติ และการพัฒนา (4) การบูรณาการความร่วมมือด้านความม่ันคงกับ การเมอื งใหม้ เี สถยี รภาพและธรรมาภบิ าล (2) การปอ้ งกนั อาเซียนและนานาชาติ รวมท้ังองค์กรภาครัฐและมิใช่ และแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง เพื่อไม่ให้ ภาครัฐ โดยการรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่าง ส่งผลกระทบต่อการบริหารและการพัฒนาประเทศ ประเทศ การเสริมสร้างและธ�ำรงไว้ซึ่งสันติภาพและ โดยมีแนวทางการพัฒนาในส่วนการรักษาความมั่นคง ความม่ันคงของภูมิภาค และการร่วมมือทางการพัฒนา ภ า ย ใ น ร า ช อา ณ า จั ก ร แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ กบั ประเทศเพ่อื นบา้ น ภูมภิ าค โลก รวมทั้งองคก์ รภาครัฐ ตามประเด็นปัญหาความมั่นคง 15 ประเด็น อาทิ และมิใช่ภาครัฐ และ (5) การพัฒนากลไกการบริหาร ยาเสพตดิ การคา้ มนษุ ย์ ผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื ง การกอ่ การรา้ ย จัดการความมั่นคงแบบองค์รวม โดยการบูรณาการกลไก สาธารณภัย ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ และ การบริหารจัดการความมั่นคง การบูรณาการข้อมูล ส่วนการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ 5 ด้านความมั่นคง ตลอดจนการบูรณาการการขับเคลื่อน แนวทาง อาทิ การปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ แผนแม่บทฯ ประเด็น ความมั่นคง ไปพร้อมกับนโยบาย ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ (3) การพัฒนา และแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ ศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่ 010101 010102 010103 010201 010202 010301 010302 010401 010402 010501 61
01 ความมัน่ คง แผนแม่บทย่อย การรักษาความสงบภายในประเทศ เปา้ หมาย 010101 ประชาชนมคี วามมนั่ คง ปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ เพิ่มขนึ้ โดยท่ีการบังคับใช้กฎหมาย การมีระบบการรักษาความปลอดภัยท่ีมีประสิทธิภาพ ความเป็นพลเมืองที่ดีและการมี ส่วนร่วมของประชาชน ตลอดจนการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเป็นภาคีการพัฒนาในการแก้ไขปัญหาความมั่นคง แบบบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นปัจจัยพ้ืนฐานที่ส่งเสริมให้ประเทศชาติมีความม่ันคงในทุกมิติ และทุกระดับ เพ่ิมข้ึน รวมถึงเอื้ออ�ำนวยบรรยากาศความมั่นคงปลอดภัย เสริมสร้างสังคมท่ีเข้มแข็ง ให้ประชาชนอยู่ดี กินดี และมคี วามสุขดขี ้ึน ระดับความมั่นคงปลอดภัยภายในประเทศและศักยภาพ ส0ถ1า0น1ก0า1รณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจากระดับ ความมั่นคงปลอดภัยภายในประเทศและศักยภาพต�ำรวจ ตารวจระดับสากล (WISPI) ระดับสากล (WISPI) ดขี ้นึ ซ่ึงจากการประเมินล่าสดุ ณ ปี 2559 (อันดับที่ 69 จาก 127 ประเทศ) ประเทศไทยได้ 0.9 0.795 คะแนนรวม ทั้งหมด 0.564 คะแนน ห่างจากประเทศ 0.8 สงิ คโปร์ซึง่ มีคะแนนรวมอยูใ่ นอันดบั ท่ี 1 (0.898 คะแนน) 0.7 โดยปจั จัย 4 ดา้ นหลกั ทปี่ ระเทศไทยมีคะแนนสงู สดุ คือ 0.6 0.578 0.531 ด้านบุคลากร (0.795) รองลงมา คอื ผลสมั ฤทธ์ิ (0.578) 0.5 0.412 การบังคับใช้กฎหมายและปฏิบัติหลักสิทธิมนุษยชน 0.4 (0.531) และกระบวนการ (0.412) ตามล�ำดับ สะทอ้ นว่า 0.3 0.2 0.1 0 บุคลากร ผลสมั ฤทธ์ิ บั ง คั บ ใ ช้ ก ฎ ห ม า ย กระบวนการ และปฏิบัติหลักสิทธิ มนษุ ยชน ท่มี า : สมาคมตารวจศทกึ ษ่มี าสาา:กสล ม(IPาSคA)มต�ำรวจศกึ ษาสากล (IPSA) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรด�ำเนินการที่สอดคล้องกับทุกด้านอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการเร่งด�ำเนินการในประเด็น ความโปร่งใส/การทุจริตในการให้บริการรักษาความปลอดภัยและกระบวนการยุติธรรม ซ่ึงล้วนเป็นองค์ประกอบ ส�ำคญั ภายใต้ตัวชวี้ ัดหลกั ดา้ นกระบวนการ เพ่ือให้สามารถบรรลเุ ปา้ หมายที่กำ� หนดไวใ้ นปี 2565 (1 ใน 55 ของโลก) ได้ การด�ำเนินการที่ผ่านมา การด�ำเนินงานของหน่วยงานด้านความม่ันคงและภาคีการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมาย ในช่วงปี 2562 ได้ให้ความส�ำคัญกับการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม และการลดจ�ำนวนคดีอาญา ซึ่งได้มี การด�ำเนินการตามภารกิจปกติโดยส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ควบคู่กับการพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยและ การป้องกันอาชญากรรม อาทิ การก�ำหนดมาตรการควบคุมแหล่งซ่องสุมของผู้กระท�ำความผิดหรือคนร้าย แหล่งอบายมุขหรือสถานบริการท่ีจะเป็นแหล่งเพาะอาชญากรรม โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังอาชญากรรม ภาคประชาชน ซ่ึงเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีการพัฒนาในการแก้ไขปัญหาความมั่นคง รวมทั้งได้มีการเตรียมการด�ำเนินงานในระยะต่อไป อาทิ การมุ่งจัดท�ำฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพิกัดและรายละเอียด ของอาชญากรรมในแต่ละพ้ืนท่ี ขณะเดียวกัน ได้มีการแก้ไขปัญหาการจราจรและลดอุบัติเหตุบนท้องถนน อาทิ แผนอ�ำนวยความสะดวกและความปลอดภัยรองรับการเดินทางของประชาชนช่วงเทศกาลส�ำคัญ นอกจากนี้ ได้มี การส่งเสริมความมีระเบียบวินัยและวัฒนธรรมการเคารพกฎหมาย ผ่านโครงการสร้างจิตส�ำนึกความเป็นพลเมืองและ การรณรงคค์ วามเปน็ พลเมอื งรว่ มด้วย 62
ความมั่นคง 01 010101 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ เช่น การติดต้ังกล้อง แม้ว่าการด�ำเนินการท่ีผ่านมาได้เน้นความส�ำคัญกับ วงจรปิดให้ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีมากขึ้น เป็นต้น และ การสร้างส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคมของพลเมือง และ การปิดช่องโหว่ท่ีจะเป็นการเอื้อต่อการประพฤติมิชอบ การทหี่ นว่ ยงานภาครฐั มมี าตรการการปอ้ งกนั อาชญากรรม ต่าง ๆ ในกระบวนการรักษาความปลอดภัย ส่งเสริม ความปลอดภยั ในทส่ี าธารณะและบนทอ้ งถนน อยา่ งไรกด็ ี ความเสมอภาคและความโปร่งใสในกระบวนการยุติธรรม อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ ส� ำ คั ญ ข อ ง ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ต า ม โดยควรค�ำนึงถึงประเด็นความสมดุลระหว่างความม่ันคง การประเมินของสมาคมต�ำรวจศึกษาสากล ซึ่งได้แก่ สาธารณะกบั ความมนั่ คงสว่ นบคุ คลหรอื ความเปน็ สว่ นตวั การรักษาความปลอดภัยและการส่งเสริมความมั่นคง ทั้งน้ี ควรให้ความส�ำคัญกับการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย ของมนุษย์ ยังคงมีข้อท้าทายด้านความสมดุลของท้ังสอง อ�ำนวยความสะดวกในการด�ำเนินการ อาทิ การตรวจ องค์ประกอบ โดยเฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับสิทธิ เสรีภาพ สถานที่เกิดเหตุ รวมถึงการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก และความเป็นส่วนตัวของประชาชน รวมถึงประเด็น อาทิ การป้องกันปัญหาความรุนแรงในสังคมด้วย ความเช่ือมั่นของประชาชนท่ีมีต่อหน่วยงานรักษา การสร้างการตระหนักรู้แก่สื่อมวลชนและประชาชน ความม่นั คงภายในประเทศ ถึงผลกระทบของการน�ำเสนอภาพเหตุการณค์ วามรนุ แรง ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย เพื่อให้สามารถ ที่อาจส่งผลต่อการลอกเลียนแบบในอนาคต ควบคู่กับ บรรลุเป้าหมายประชาชนมีความม่ันคง ปลอดภัยในชีวิต การสง่ เสริมความเป็นพลเมือง ใหป้ ระชาชนรู้สิทธิของตน และทรัพย์สินเพ่ิมข้ึนที่ก�ำหนดไว้ในปี 2565 หน่วยงาน และข้อกฎหมายที่ส�ำคัญ ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพ ด้านความมั่นคงมีความจ�ำเป็นต้องเสริมสร้างกลไกที่จะ ชวี ติ ทดี่ บี นฐานคิดความมน่ั คง ม่งั ค่ัง ยั่งยนื ตลอดจนควร สามารถป้องกันสาเหตุและแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่อาจ พัฒนาแนวทางประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีของ เกิดขึ้นได้ อาทิ การบังคับใช้กฎหมายที่เก่ียวข้อง ประชาชนต่อหน่วยงานด้านความม่ันคง โดยส่งเสริมให้ อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม การพัฒนาระบบรักษา เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการทำ� งานรว่ มกนั มากขนึ้ ซง่ึ เปน็ พนื้ ฐาน สำ� คญั ในการแกไ้ ขปญั หาดา้ นความมนั่ คงในระยะยาว 63
01 ความมั่นคง แผนแมบ่ ทยอ่ ย การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 010102 เปา้ หมาย คนไทยจงรกั ภกั ดี ซอื่ สตั ย์ พรอ้ มธำ� รงรกั ษาไวซ้ ง่ึ สถาบนั หลกั ของชาติ สถาบนั ศาสนา เปน็ ทเี่ คารพยดึ เหนยี่ วจติ ใจ ของคนไทยสงู ขนึ้ มุ่งเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข โดยการสร้างการตระหนักรู้ถึงความส�ำคัญของสถาบันหลักของชาติ การเสริมสร้างความภาคภูมิใจ ในความเปน็ ไทย รวมถงึ การปฏบิ ตั ติ ามหลกั คำ� สอนของศาสนาผา่ นกลไกตา่ ง ๆ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะสง่ ผลตอ่ การบรรลุ เปา้ หมายดงั กลา่ ว และเปน็ การเสรมิ สรา้ งใหป้ ระเทศชาตมิ คี วามมนั่ คงปลอดภยั ในทกุ มติ แิ ละทกุ ระดบั ประชาชนอยใู่ น สงั คมทเ่ี ขม้ แขง็ อยดู่ ี กนิ ดี และมคี วามสขุ ดขี นึ้ รอยละของผนู ับถือศาสนาในประเทศไทย ป 2561 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย มีการประเมิน ระดับความเข้าใจของทุกภาคส่วนเกี่ยวกับสถาบัน 100 93.5 พระมหากษัตริย์ และการประเมินการด�ำเนินการ 90 ตามแผนการอปุ ถมั ภค์ มุ้ ครองศาสนาตา่ ง ๆ ภายใต้ ค�ำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 80 ท่ี 49/2559 ที่เน้นประเด็นการเผยแพร่ และ การปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาอย่างถูกต้อง 70 รวมถึงการอุปถัมภ์ทุกศาสนาไปพร้อมกัน โดย หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดม้ กี ารสรา้ งการตระหนกั รถู้ งึ 60 ความสำ� คญั ของสถาบนั หลกั ของชาตแิ ละการปฏบิ ตั ิ ต า ม ห ลั ก ค� ำ ส อ น ข อ ง ศ า ส น า อ ย ่ า ง ถู ก ต ้ อ ง รอยละ 50 มาอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับปัจจัยส�ำคัญ ในการบรรลุเป้าหมายให้สถาบันหลักเป็นศูนย์รวม 40 จติ ใจของประชาชนในชาติ 30 20 10 5.4 1.1 0.1 0 อสิ ลาม คริสต อืน่ ๆ รวมท้งั ผูท่ีไมมี ศาสนา พทุ ธ ศาสนา ที่มา: สำ� นกั งานสถติ แิ ห่งชาติ 64
ความมั่นคง 01 010102 การดำ� เนนิ การทผี่ า่ นมา ในชว่ งปี จานวนวดั ท่ัวประเทศ 2561 - 2562 หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ได้ด�ำเนินโครงการ/กิจกรรม เพ่ือ ขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมายของ แผนแม่บทย่อยท่ีส�ำคัญ เช่น การจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ แ ล ะ พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ข อ ง พระมหากษัตริย์ไทย ประจ�ำปี 2562 การขยายผลโครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม เ พ่ื อ ถ ว า ย พระเกียรติและเทิดทูนสถาบัน ทม่ี า : สานกั งานสถติ แิ ห่งชาติ ท่ีมา: สำ� นกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ พระมหากษตั รยิ ์ การดำ� เนินการตามแผนการอุปถมั ภค์ ุ้มครองศาสนาต่าง ๆ อาทิ การส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนพิธีและ วันส�ำคัญทางศาสนา การสนับสนุนการปฏิบัติศาสนกิจตามหลักการทางศาสนาอิสลาม การเสริมสร้างความรู้เก่ียวกับ หลกั การของศาสนาและความเขา้ ใจระหวา่ งศาสนา รวมถงึ การสง่ เสรมิ ใหศ้ าสนกิ ชนมบี ทบาทในการพฒั นาประเทศ ประเดน็ ทา้ ทายทส่ี ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมาย ปจั จบุ นั ยงั มกี ารนำ� สถาบนั หลกั และการบดิ เบอื นหลกั คำ� สอนทางศาสนา มากอ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ในสงั คม ดงั นน้ั การดำ� เนนิ การทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สถาบนั หลกั ของชาตดิ งั กลา่ ว ซง่ึ เปน็ ประเดน็ ทม่ี ี ความอ่อนไหว และส่งผลกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง จึงมีความจ�ำเป็นต้องสร้างการตระหนักรู้ถึงความส�ำคัญและ หลกั คำ� สอนทถี่ กู ตอ้ ง โดยตอ้ งดำ� เนนิ การดว้ ยความระมดั ระวงั รอบคอบ สมำ่� เสมอ และตอ่ เนอ่ื ง ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การบรรลเุ ปา้ หมาย หนว่ ยงานภาครฐั ควรใหค้ วามสำ� คญั กบั การดำ� เนนิ โครงการเพอ่ื สรา้ งการตระหนกั รู้ เกี่ยวกับความส�ำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันศาสนาอย่างต่อเน่ือง เช่น การขยายผลโครงการอันเน่ือง มาจากพระราชด�ำริ และการด�ำเนินงานตามศาสตร์พระราชา เป็นต้น รวมถึงควรปฏิรูปและแก้ไขปัญหาด้านกลไก/ ระเบียบ/ข้อปฏิบัติ/ศาสนพิธีของสถาบันศาสนาให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในโลกยุคดิจิทัล ควบคู่กับการส่งเสริม ความรู้ในหลักค�ำสอนของแต่ละศาสนาท่ีถูกต้อง ให้ศาสนิกชนทุกศาสนามีความเข้าใจระหว่างกัน มีความเข้มแข็งและ ภมู คิ มุ้ กนั ดา้ นวฒั นธรรม และสามารถอยรู่ ว่ มกนั ภายใตส้ งั คมพหวุ ฒั นธรรมได้ 65
01 ความมัน่ คง แผนแม่บทยอ่ ย การรักษาความสงบภายในประเทศ เปา้ หมาย 010103 การเมอื งมเี สถยี รภาพและธรรมาธบิ าลสงู ขนึ้ โดยการมีสถาบัน/วัฒนธรรมประชาธิปไตย ที่เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ท้ังระบบรัฐสภา ร ะ บ บ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ถ ่ ว ง ดุ ล อ� ำ น า จ อธิปไตย ระบบราชการ กระบวนการก�ำหนด นโยบายและการมีส่วนรวมของพรรคการเมือง และภาคประชาสังคม การยับยั้งการทุจริต ประพฤติมิชอบ การมีสิทธิเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจน การมีค่านิยมเคารพความแตกต่างหลากหลาย ทางความคิด ชาติพันธุ์ ศาสนา ฯลฯ เป็น องค์ประกอบส�ำคัญในการขับเคลื่อนเพื่อ เสริมสร้างให้การเมืองมีเสถียรภาพและ มีธรรมาภิบาลสูงขึ้นได้ ส่งเสริมให้ประเทศชาติมีความม่ันคงในทุกมิติและทุกระดับ ประชาชนอยู่ในสังคมที่เข้มแข็ง อยู่ดี กนิ ดี และมีความสขุ ดขี น้ึ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย ประสทิ ธผิ ลของรัฐบาล (Government Effectiveness) โดยประสิทธิผลของรัฐบาลจาก การประเมนิ ของธนาคารโลก ณ ปี 67 2561 (รอ้ ยละ 66.83) สะท้อนว่า 66.9 66.87 66.83 66.83 66.8 ประเทศไทยอยู่ในระดับปานกลาง 66.7 และมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้นต่อเนื่อง 66.6 จากปี 2559 (ร้อยละ 66.35) 66.5 แต่เพ่ิมขึ้นในอัตราท่ีต�่ำ และมี 66.4 ความผันผวน จึงมีความเส่ียงที่จะ 66.3 66.38 66.35 ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ 66.2 ก�ำหนดไว้ในปี 2565 (ไม่ต�่ำกว่า 66.1 ร้อยละ 70) โดยประสิทธิผล 66 ของรัฐบาลเป็นการประเมินจาก 2557 2558 2559 2560 2561 ทมี่ า: ธนาคารโลก องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ อาทิ คุณภาพของการให้บริการสาธารณะ คุณภาพของการก�ำหนดนโยบายและ การนำ� ไปส่กู ารปฏิบตั ิ รวมถึงความเปน็ อิสระจากการเมอื ง 66
ความมัน่ คง 01 010103 การด�ำเนินการที่ผ่านมา การด�ำเนินงานของหน่วยงาน ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย เพ่ือให้สามารถ ด้านความม่ันคงและภาคีการพัฒนา เพ่ือขับเคล่ือน บรรลุเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ในปี 2565 หน่วยงานภาครัฐ เป้าหมายในช่วงปี 2562 ได้ให้ความส�ำคัญกับ ร่วมกับภาคเอกชน และภาคประชาสังคม (สถาบัน การพัฒนาการเมืองที่มีเสถียรภาพและมีธรรมาภิบาล การศกึ ษา ส่ือมวลชน ประชาชน องคก์ รไมแ่ สวงผลกำ� ไร) การส่งเสริมประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมของ ควรให้ความส�ำคัญกับกิจกรรมท่ีเสริมสร้างหลักคิด ประชาชน อาทิ การจัดท�ำบทเรียนจากการพัฒนา การเมอื งและประชาธปิ ไตยในชวี ติ ประจำ� วนั หรอื ผลกั ดนั ข้อเสนอเชิงนโยบายผ่านกระบวนการนโยบายแบบมี และผนวกเปน็ สว่ นหนงึ่ ของกจิ กรรมทม่ี อี ยเู่ ดมิ เปน็ การสรา้ ง ส่วนร่วม และการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจแก่ วัฒนธรรมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน วัฒนธรรม ประชาชนเกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีและอ�ำนาจของรัฐสภา การยอมรับความหลากหลายทางความคิด ชาติพันธุ์ พร้อมกับการด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสร้างความสามัคคี ศาสนา ฯลฯ และความเข้าใจธรรมชาติของความขัดแย้ง ปรองดองของคนในชาติ โดยสร้างความเช่ือมั่นของ บนพื้นฐานความแตกต่างน้ัน เป็นการสร้างความเข้าใจ ประชาชนต่อกระบวนการยุติธรรมของภาครัฐ และ ประเด็นการเมืองและการปกครอง รวมถึงการมี ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม อาทิ จิตสาธารณะเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมมากขึ้น ควรเปิด การสัมมนาเชิงวิชาการเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้าง โอกาสให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ ความเช่ือมั่นในกระบวนการยุติธรรมระหว่างภาครัฐและ เลือกตั้งอย่างโปร่งใสทุกขั้นตอน และก�ำหนดบทลงโทษ ภาคประชาสังคม ซึ่งเป็นการด�ำเนินการที่สอดคล้อง ที่เกี่ยวข้องกับงานทางการเมืองอย่างจริงจัง ท้ังน้ี กับองค์ประกอบส�ำคัญในการสร้างเสถียรภาพและ ควรด�ำเนินการควบคู่กับการพัฒนากลไกการตรวจสอบ ธรรมาภบิ าลทางการเมอื งใหส้ ูงขนึ้ ถ่วงดุลอ�ำนาจอธิปไตย การยับยั้งการฉ้อราษฎร์บังหลวง ประเด็นทา้ ทายทสี่ ่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย การสรา้ ง การจัดการความขัดแย้งอย่างบูรณาการ การด�ำเนินงาน ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติให้อยู่ร่วมกันได้โดย ตามหลกั นติ ธิ รรมและธรรมาภบิ าล เชน่ การรบั ฟงั ความเหน็ สันติบนความเห็นต่างทางความคิดและความหลากหลาย ของประชาชน เพอ่ื นำ� ไปสู่การพัฒนา/การปฏิรูปประเทศ ทางชาตพิ นั ธ์ุ ศาสนา ฯลฯ ซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานของการสง่ เสรมิ ในด้านต่าง ๆ เป็นต้น ตลอดจนควรให้ความส�ำคัญกับ วัฒนธรรมประชาธิปไตยในระดับปัจเจกบุคคล ร่วมกับ การส่งเสริมศักยภาพและความสามารถของบุคลากร การส่งเสริมให้สถาบันทางการเมืองและการเลือกต้ัง/ ภาครัฐ คุณภาพการก�ำหนดนโยบายและการให้บริการ พรรคการเมือง มีธรรมาภิบาล โปร่งใส นักการเมืองมี ภาครัฐ รวมถึงการขับเคลื่อนและถ่ายทอดนโยบายสู่ ความรู้ความสามารถ พร้อมเป็นผู้แทนเพื่อประชาชน การปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยปราศจาก ลว้ นเปน็ ประเดน็ ทมี่ คี วามสำ� คญั ยง่ิ ตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมาย การแทรกแซงทางการเมือง การมีสถาบัน/วัฒนธรรมทางการเมืองท่ีมีเสถียรภาพ ธรรมาภิบาล และน�ำมาซึ่งความสงบเรียบร้อยภายใน ประเทศ 67
01 ความมั่นคง แผนแมบ่ ทย่อย การป้องกันและแกไ้ ขปัญหา ทีม่ ผี ลกระทบต่อความมัน่ คง of these migrants who are smuggled is unknown,20 Many Cambo เป้าหมาย previous UNODC data indicates that more than 80 services to t ปญั หาความมน่ั คงทมี่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั (เชน่per cent of irregular Myanmar migrants to Thailand around US$ 010201 used the services of smugglers to facilitate their Thailand is ปญั หายาเสพตดิ คjouวrnาeyม.21 มนั่ คงทางไซเบอร์ cost of a pass The average cost of smuggling services for government 151,000 Cam การคา้ มนษุ ย์ ฯลฯ) ไดร้ บั การแกไ้ ขจนไมส่ ง่Myanmar migrants coming to Thailand is roughly year attemp US$ 400,22 amounting to several month’s wages in which rough ผลกระทบตอ่ การบรหิ ารและพัฒนาประเทศThailand and substantially more than relative to used smuggl their incomes in Myanmar.23 Between 18 detected ea ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ ห ้ ค ว า ม ส� ำ คั ญ กั บ ก า ร แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า nMeaigphb2oเ:จuสาน้rKกiทnปeาgyรงะcหเoทลmuักศinขรgอtอrraบงiกneบาstา้ รนtลoเsกัขmTลา้ hอมuบaาgยiขglงัalนiปnnครdgนะเเขทr้าศoเไมuทือtยeงs from Thailand irre ความม่ันคงที่ส�ำคัญ อาทิ การป้องกันและปราบปราม to exploitat ยาเสพติด ความมั่นคงทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์ garment fac ผู้หลบหนเี ขา้ เมือง อาชญากรรมข้ามชาติ การกอ่ การร้าย and constru การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมท้ังการเฝ้าระวัง CHINA seafood sect important tr แ ล ะ ป ้ อ ง กั น ป ร ะ เ ด็ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ มี ผ ล ก ร ะ ท บ from neighb ต่อความม่ันคง โดยมีปัจจัยร่วมที่ส�ำคัญในการแก้ไข Thailand. Th ปัญหาความมั่นคง ประกอบด้วย ระบบฐานข้อมูลท่ีมี Keng Tung VIET NAM smuggling m ประสิทธิภาพ การบังคับใช้กฎหมายภายในที่เก่ียวข้อง migrants fro อย่างเข้มข้น การปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศ MYANMAR Hanoi to pay rough และการบูรณาการความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ some 15 per เพ่ือให้ปัญหาความม่ันคงในปัจจุบันที่มีความซับซ้อนและ Tachileik LAO PDR have paid up เชื่อมโยง ได้รับการป้องกันและแก้ไขจนไม่ส่งผลกระทบ Mae Hong Son Figure 2: Ille Chiang Mai Vientiane selected nat Nong Khai Savannakhet 200,000 Yangon Mawlamyine 150,000 THAILAND 100,000 Three Pagoda Pass 50,000 Aranyaprathet O’Smach Champasak 0 201 Bangkok PoipetBanteay Meanchey Cam Battambang Sources: UNODC Current Trends a CAMBODIA for Southeast As Koh Kong Prey Veng Government of relating to smugg ต่อการบริหารและพัฒนาประเทศ ท�ำให้ประเทศชาติ Kawthaung Kampot 24 Governmen มีความม่ันคงในทุกมิติ และทุกระดับเพ่ิมข้ึน รวมถึง Ranong relating to smugg Sea 25 Benjamin H เอื้ออ�ำนวยบรรยากาศความม่ันคงปลอดภัย เสริมสร้าง Land “Risks and reward International Lab สังคมที่เข้มแข็ง ให้ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข Number of personsMigration and Ra ดขี ึ้น nNทooีม่ tteาc::oFiรnloาcยwidงeaาrนwroอiwtงhคspr์กerรepอcrieาssชeeญnsotาutกhrรceรegsมe,ขnaา้ erมeraชnlาodตtirใิeaนcctเtiอuoaเnชl oยีrofตutะrtaeวfsนัf,icอakอnindกgเaฉarnยีedงnใdoตot:้ 26 UNODC, “M Trends and Cha Nuw(พsสaeeัฒtำ�idgiนoนhndักtาseoงก.dาาnนรfooวtrก่าimาsดiรgว้pเnยlตyiยfบิ ioาcโafเตfสnicพcแieaตล/lsิดะecผแnaลdลleoกะ.rอรBsะeาoทmชuญบnednาปatกrรoรieะrรsจมa,�ำcแnปcaหeีmpง่2สte5aหs6nปa2cneรdะbชydาetชshiาegตnUa)ิ ntiiotends Southeast Asia an Sources: UNODC, “Migrant Smuggling in Asia and the Pacific: Current 27 UN-ACT, Lao สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจากระดับSTคroeวuntาdhมseaสast�ำnAdเsรiaC็จhaขanldอletงnhกgeeาPsa,รcแiVfioกcl,u้ไBmขaneปgkัญIIo”k,ห, JUาuNlคyOว2D0าC1ม8;RมUe่ันgNiOoคnDงaCใl นeOlaปfbfiัoจcreจatุบifooัnนr ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ได้ด�ำเนินการตoาfมdแatผa นprบovูรidณedาbกyาnรatปio้อnaงlกgoันverปnmราenบtsป. ราม และบ�ำบัดรักษา ผู้ติดยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นแผนท่ีมีการก�ำหนดเปo2้า0fห UมnSdาienยrcsแeta2ลn0ะd0iต2n-gัว2s0ช0(Mี้ว3,ัดOthUไeวs)R้อowยyiat่าhlงTthชhaeัดi Ggเจoovvนeerrnnแmmมeenn้วtt่าssiกogfnาeCรdaดmM�ำbeเomนdoiินar,aกnLาadoaร ดหใน้ามปนู่บีก้า2าน5ร6ปช1ุ้อมงชยกนังันไทแม่ีมล่สีปะาแมัญกาหร้ไขาถปยบาัญรเรหสลาพุเกปตา้าิดรหลคม้าดามลยนงทุษรี่ก้อย�ำย์แหลลนะะดผไู1้หว6ล้ได.บ2้บห1านงจีเสtcoPtขohoาDf่ว้eาmกTRนmเMhpมเaialgปOniiือแcrldaUaa้างตnntsMeหdt่สwdsไ.yมา,ดaaHesnมาo้ดlnemdwtายn�ำeeaeรgทrเlravtนถhyeTี่tกeoyดินrh,�dำae�ำeกaiหfsslเonaาttนaranนdรbbdmินแดlleiiasกstกxไhhnhpาว้ไyirencoขร้yhnguไeกaรsgtดainhvhล้อrne้eใsไeย,กtbกhlapsลลienlrafod้เะoเtMคcสerteorียOรrda2delิมUuงag0prกyuสerploosับaรเrncroป้าเeilclnyปงase็นvsbaคs้าoostตslวหouvmd้eานriมmaudมmleา.lpรiขpยglUte่วoroณmnarมเttitetiiชะมooehnnd่nนeทือt ี่ Nations Thematic Working Group on Migration in Thailand, “Thailand Migration Report 2019”, Benjamin Harkins (ed.), Bangkok, 2019. 21 UNODC, “Transnational Organized Crime in East Asia and the Pacific: A Threat Assessment”, UNODC Regional Office for Southeast 68 Asia and the Pacific, Bangkok, April 2013. 22 Benjamin Harkins, Daniel Lindgren and Tarinee Suravoranon,
ความมั่นคง 01 MONGOLIA 010201 CHINA NORTH KOREA SOUTH KOREA JAPAN Macau Taiwan Hong Kong BURMA PHILIPPINES LAOS REA THAILAND VIETNAM DJIBOUTI CAMBODIA SOMALIA PALAU FEDERATED STATES MARSHALL ISLANDS THIOPIA OF MICRONESIA BRUNEI YA MALAYSIA SINGAPORE INDONESIA PAPUA NEW GUINEA SOLOMON TIMOR-LESTE ISLANDS MALAWI &easptacaifsiica AUSTRALIA FIJI MBIQUE TONGA Boundary representation is not authoritative. MADAGASCAR NEW ZEALAND LAND TIER PLACEMENTS TIER 1 TIER 2 TIER 2 WATCH LIST TIER 3 YEAR PROทSีม่ EาC:UรTาIOยงNาSนสถานCกOารNณVIก์ CาTรIOคNา้ มSนุษย์ ประจ�ำIปDVี E2INC5TT6II2MFISE(Dกระทรวงการต่างปNรEะLWเEทGOศIRSสLAหAMรTEัฐION) NDED ของเครือข่า2ย012และบรหิ 1,า6ร8จ2ดั(1ก15า)รแรงงานก1ล,2มุ่ 5เ1ป(1ร0า3ะ)บาง วิก8ฤ,5ต21ก(า1,ร80ณ4)์ระดับชาติ และกา4รฝึกการป้องกันและ สอยถ่าางนมกีปารระณส์ิ222กท000าธ111345ริภคา้พามสน่งุษ23ผ1ย,,4,4ล961์ข3ใ048หอ(((11้ใง8898นส83)))หปรี ัฐ2อ5เม6ร121,ิก9,7263า790ร1ไ((าด1(1363ย้9จ)0)ั)งดาใหน้ บเตร1ร76ร3,,ีย83,เ984ทม9690พา(((11ส3ร,,00,า้5อ783ธ74ม3า)))รรับณมภือัยภแัยบคบุกบคูราณมทากี่อ133าา0รจอเกยิด่าขงต้ึน่อกเับนปื่อรงะเเพท่ืศอ ไทยอยใู่ นระด2ับ0162 (Tier 22),1ต3่อ7เ(น51อื่ ) งจากปี 251,69513จ(3า1ก) เดิม ได้อ9ย,9่า8ง9ม(3ีป10ร)ะสิทธิภาพ สอดคล้อง7กับปัจจัยร่วมที่ส�ำคัญ ที่ถูกจัดอยู่ใน2ร0ะ17ดับ 3 (T2i,e94r93(7)7)ซ่ึงเป็นระ3ด,2ับ2ท7 (่ีต72่�ำ)ท่ีสุด ในก4,า91ร5แ(6ก6้9ไ)ขปัญหาความม่ันคง0 โดยเฉพาะประเด็น 2018 2,351 (63) 1,275 (16) 5,466 (291) 1 มาต้ังแต่ปี 2557 โดยระดับของ Tier สะท้อนถึงระดับ การบังคับใช้กฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มข้นThe above statistics are estimates derived from data provided by foreign governments and other sources and reviewed by the Department of State. Pคทวrี่ ส5o5า0อ0มteดแcคขt็งลiavAoขign้cอgdันtnirmaงeข’glsaกsaอicdtัkeบeงAnodรtfaมiucfัtฐianeาtบidfflo.ตurา(cmtรTลuitaฐVใytนeiาnPsnกfนAraoาt)mioรnToสขanlre�จำrayeหัดepfaoปรrfrtitัiบoัญnctghกkหsetาirnาuneรc2xกtgtป0uาdr1eu้อร9seV.คงtTToihกR้าtcehAมันnetFuhนFแimiImdุCษbลdeKeยrะnsIsNn์inGaptuIaNrreeกกปnoPftาาE้hอtrReรรasSงfบefปOsiกcูรaNkฏัriนณnSeิgบtแRhcาoัErตลiกsmPeิตOาะeosfRรา,แladTคมbyกnoวพar้ไmาtrัขนaiมcffgปธรiclok่วกัbญinaมรglหepมณvroeือาnsีรetคกscะ,uับวstหhioiาภfntวssมา,i่ncาคมogงnสo่ันvvปi่ceวคtrรinนomงnะตse,เn่aาtดทneงdัfงศfoนๆrtsั้นร, ใวนมจกึทงาม้ัรงี บรรเทาสาธารณภัย การก่อการร้าย และอาชญากรรม ความเป็นไปได้ท่ีจะบรรลุเป้าหมายระดับความส�ำเร็จ ข้ามชาติ ได้มีการบูรณาการการปฏิบัติร่วมกันระหว่าง ของการแก้ไขปัญหาความมั่นคงในปัจจุบันท่ีก�ำหนดไว้ใน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ก�ำหนดการฝึกการบริหาร ปี 2565 (ดขี ึ้นอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 50) 69
01 ความมัน่ คง 010201 การด�ำเนนิ การที่ผ่านมา ในปี 2561 - 2562 หนว่ ยงานท่ี ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การบูรณาการ เกี่ยวข้องมีการด�ำเนินการที่ส�ำคัญในประเด็นความมั่นคง ประสานการปฏิบัติในระดับนโยบายและการด�ำเนินการ เฉพาะด้านอย่างหลากหลาย เช่น แผนงานบูรณาการ ในพื้นท่ี เพื่อแก้ไขปัญหาความมั่นคง ยังคงเป็นปัจจัย ป้องกัน ปราบปราม และบ�ำบดั รกั ษาผู้ตดิ ยาเสพติด โดย ส�ำคัญต่อการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยควรมีกลไก มุ่งสร้างภูมิคุ้มกัน เฝ้าระวัง และสร้างการมีส่วนร่วมของ การส่งต่อระหว่างหน่วยงานภาครัฐในแต่ละประเด็น ชุมชนในการป้องกันยาเสพติด ปราบปราม และส่งเสริม ปญั หาความมัน่ คง การทบทวนกฎหมายใหค้ รอบคลมุ กับ ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือกดดันและยุติบทบาท ปัญหาความม่ันคงในปัจจุบันและสอดคล้องกับพันธกรณี แหล่งผลิตภายนอกประเทศ รวมทั้งบ�ำบัดรักษาผู้ใช้ ระหว่างประเทศด้านความมั่นคง การพัฒนาระบบ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด โครงการสนับสนุนการด�ำเนิน ฐานข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ นโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างมั่นคงปลอดภัย โครงการ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการความมั่นคงปลอดภัย แรงงานต่างด้าวและผู้หลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมาย ทางไซเบอร์ โครงการสรา้ งเครอื ขา่ ยบรณู าการความรว่ มมอื การจัดท�ำทะเบียนคนต่างด้าวที่ย่ืนขอใบอนุญาตที่ท�ำงาน ภาครัฐ เอกชน และประชาชนต่อการสร้างสรรค์ อย่างถูกกฎหมาย การป้องกันและแก้ไขปัญหา สร้างประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมในโลกดิจิทัล การค้ามนุษย์ด้านแรงงาน การจัดการความเสี่ยงจาก การปรบั ปรงุ พ.ร.บ. ปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ สาธารณภัย รวมถึงการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา พ.ศ. 2551 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม โครงการเพ่ิม เศรษฐกิจและสังคมในประเทศรอบบ้านให้ดีข้ึนผ่าน ประสิทธิภาพด้านการป้องกันและปราบปรามแรงงาน กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ นอกจากน้ี ควรให้ ต่างด้าวผิดกฎหมายและการค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ีชายแดน ความส�ำคัญกับความมั่นคงของโครงสร้างพื้นฐาน โดย การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการการยกระดับมาตรการ การก�ำหนดกลยุทธ์ในการปกป้องโครงสร้างพื้นฐานท่ี รับมือภัยก่อการร้ายต่อพ้ืนท่ีเสี่ยงในเขตเมือง โครงการ ส�ำคัญย่ิงจากภัยคุกคามต่าง ๆ เช่น การโจมตีต่อระบบ เตรียมความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติด้านการฝึก สาธารณูปโภค ภัยคุกคามทางไซเบอร์ และการเผยแพร่ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และการน�ำ ข้อมูลอันเป็นเท็จ/ความรุนแรง ท่ีอาจส่งผลกระทบต่อ เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายมาใช้เป็นโครงสร้างพื้นฐาน ความมนั่ คง เป็นต้น เพอื่ ให้การแกไ้ ขปัญหาความมัน่ คงท่ี ด้านการส่ือสารและโทรคมนาคมเพ่ือภารกิจป้องกันและ มีอยู่อย่างหลากหลายในปัจจุบันได้รับการแก้ไขอย่างมี บรรเทาสาธารณภัยและในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินหรือ ประสิทธิภาพ และไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหารและ ภัยพบิ ตั ิ เป็นต้น พัฒนาประเทศ ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ปัญหา ค ว า ม ม่ั น ค ง รู ป แ บ บ ใ ห ม ่ มี ส ภ า พ ป ั ญ ห า ที่ มี ร ะ ดั บ ความซับซ้อนและความรุนแรง เป็นลักษณะเฉพาะ ในแต่ละบริบทพ้ืนท่ี จึงมีความจ�ำเป็นต้องส่งเสริม การบูรณาการนโยบายและการด�ำเนินการในภาพรวม ของทุกหน่วยงาน ทุกพ้ืนท่ี และทุกมิติท่ีเกี่ยวข้อง ให้สามารถท�ำงานได้อย่างประสานสอดคล้องและ เหมาะสมกับประเด็น/พ้ืนที่อย่างสมบูรณ์ย่ิงขึ้น 70
ความมั่นคง 01 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา 010202 ทีม่ ีผลกระทบตอ่ ความมัน่ คง เปา้ หมาย ภาคใตม้ คี วามสงบสขุ รม่ เยน็ มุ่งจัดการกับเง่ือนไขปัญหาท่ีมีอยู่เดิมให้หมดไปและเฝ้าระวังมิให้เกิดเง่ือนไขใหม่ข้ึน โดยน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและศาสตร์พระราชามาเป็นกรอบแนวทางในการด�ำเนินงาน ผลักดันยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นท่ี ซึ่งการด�ำเนินการให้ประชาชนพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรมท่ีเข้มแข็ง พร้อมกับ การพัฒนาให้หน่วยงานภาครัฐมีข่าวกรองและฐานข้อมูลท่ีสนับสนุนการตัดสินใจและการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการบูรณาการการท�ำงานระหว่างภาครัฐกับภาคีเครือข่าย ล้วนเป็นปัจจัยส�ำคัญในการขับเคลื่อนเพ่ือท�ำให้ ภาคใต้มีความสงบสุข ร่มเย็น และเป็นส่วนส�ำคัญที่จะส่งเสริมให้ประเทศชาติมีความม่ันคงในทุกมิติ และทุกระดับ เพ่มิ ข้ึน ประชาชนอยูใ่ นสังคมทีเ่ ขม้ แขง็ อยดู่ ี กินดี และมคี วามสขุ ดขี นึ้ สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยมีปัจจัย 4 ด้าน ได้แก่ จ�ำนวนงบประมาณด้านความมั่นคงในการแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ลดลง โดยปี 2562 (ลดลงร้อยละ 9.6) ยังต�่ำกว่าเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ (ลดลง รอ้ ยละ 10 ตอ่ ปี) สถิตจิ ำ� นวนเหตรุ ุนแรง/สญู เสีย ณ ปี 2562 (ลดลงรอ้ ยละ 8.09 จากปี 2561) ยังคงหา่ งจากเป้าหมาย 0102 ท่ีก�ำหนดไว้ค่อนข้างมาก (ลดลงร้อยละ 20 งบประมาณเพ่อื แกไ้ ขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต่อปี) ปริมาณการเข้า-ออกของนักท่องเที่ยว 35000 ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ณ ปี 2561 30000 (982,170 คน) เพม่ิ ขน้ึ จากปี 2560 (825,481 คน) 25000 คิดเป็นร้อยละ 19 ซ่ึงเกินกว่าเป้าหมายท่ี 20000 งบประมาณ ( ้ลานบาท) ก�ำหนดไว้ค่อนข้างมาก (เพ่ิมข้ึนร้อยละ 10 15000 ต่อปี) ในขณะที่มูลค่าการลงทุนในพ้ืนที่ 10000 จงั หวดั ชายแดนใต้ ณ ปี 2561 (205.2 ลา้ นบาท) 5000 เพิม่ ขน้ึ จากปี 2560 (187.2 ลา้ นบาท) คดิ เป็น 0 ร้อยละ 9.6 ถึงแม้ยังต�่ำกว่าเป้าหมายท่ี 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ปีงบประมาณ พ.ศ. ก�ำหนดไว้ (เพิ่มข้ึนร้อยละ 10 ต่อปี) แต่ ที่มา : สานักงบประมาณ ทม่ี า: ส�ำนักงบประมาณ มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุเป้าหมายในปีต่อไป หากมีการบูรณาการการท�ำงานจากหลายภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงหากปจั จัยแวดล้อมต่าง ๆ เอ้อื อ�ำนวยตอ่ การลงทนุ ในพื้นที่มากข้นึ การดำ� เนนิ การทผ่ี ่านมา หนว่ ยงานดา้ นความม่ันคงที่เกีย่ วข้อง ไดบ้ รู ณาการการท�ำงานรว่ มกนั ตามแผนงานบรู ณาการ ขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พร้อมทั้งก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินการท่ีส�ำคัญ เช่น ด้านความม่นั คง ม่งุ เตรยี มความพร้อมและดแู ลรักษาความปลอดภัยในพนื้ ที่ 8 เมืองหลัก (เมอื งปัตตานี ยะลา นราธิวาส สุไหงโก-ลก ตากใบ เบตง หนองจิก หาดใหญ่) ด้านการพัฒนา ที่มุ่งให้ประชาชนในพ้ืนท่ีพ่ึงพาตนเองได้ด้วยหลัก ประชารัฐ และด้านการสร้างความเข้าใจ ท่ีมุ่งให้ทุกภาคส่วนท้ังในและนอกพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้ง ต่างประเทศสนับสนุนแนวทางของภาครัฐ เสริมสร้างสังคมพหุวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ควบคู่กับ การเดนิ หนา้ กระบวนการพดู คยุ เพอื่ สนั ตสิ ขุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และอำ� นวยความยตุ ธิ รรมและเยยี วยาผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ เปน็ ตน้ 71
01 ความมั่นคง 010202 ประเด็นข้อท้าทายท่สี ่งผลตอ่ การบรรลุเปา้ หมาย แมว้ า่ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย เพื่อให้สามารถ จะมีการดำ� เนินการด้านความม่นั คง ดา้ นการพฒั นา และ บรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ในปี 2565 หน่วยงาน ดา้ นการสร้างความเขา้ ใจมาอย่างตอ่ เนื่อง เพ่อื เสรมิ สรา้ ง ดา้ นความม่ันคงและด้านการพัฒนาท่ีเกี่ยวข้อง ยงั คงต้อง ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ และคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี ให้ความส�ำคัญกับการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น สั ง ค ม พ หุ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ เ ข ้ ม แ ข็ ง ทรัพยส์ ิน การพัฒนาเศรษฐกจิ และสง่ เสริมศักยภาพพ้นื ที่ อย่างไรก็ตาม กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขท่ีผ่านมา จังหวัดชายแดนใต้ การเพ่ิมประสิทธิภาพการข่าวกรอง ยังคงประสบข้อท้าทาย ได้แก่ การเจรจาประสานให้ และการด�ำเนินการบนหลักธรรมาภิบาล ความยุติธรรม ผู้แทนกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐท่ีมีอ�ำนาจในการตัดสินใจ รวมถึงการเสริมสร้างสังคมพหุวัฒนธรรมที่เข้มแข็งต่อไป อย่างแท้จริง เข้ามาร่วมกระบวนการพูดคุยเพ่ือสันติสุข เพ่ือเป็นรากฐานส�ำคัญในการสร้างบรรยากาศท่ีเกื้อกูล โ ด ย ท่ี ก ลุ ่ ม ดั ง ก ล ่ า ว เ ป ็ น เ งื่ อ น ไ ข ส� ำ คั ญ ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ต่อการแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธี ความส�ำเร็จของกระบวนการพูดคุยเพ่ือสันติสุข และ เอ้ือต่อการพัฒนากลไก/ช่องทางพูดคุยเจรจาของทุกฝ่าย ส่งเสริมให้ภาคใต้มีความสงบสุขและร่มเย็นอย่างมี ท่ีมีอ�ำนาจในการตัดสินใจอย่างแท้จริง พร้อมกับการรับ นยั สำ� คญั การสนบั สนุนจากทกุ ภาคีท่ีเกีย่ วข้องดว้ ย 72
ความมัน่ คง 01 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การพัฒนาศกั ยภาพของประเทศ 010301 ให้พรอ้ มเผชิญภัยคุกคามทก่ี ระทบตอ่ ความมน่ั คงของชาติ เป้าหมาย หนว่ ยงานดา้ นการขา่ วและประชาคมขา่ วกรอง ทำ� งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพิ่มขน้ึ และแผนเตรยี มพรอ้ มแหง่ ชาติ มคี วามทนั สมยั และปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ มุ่งยกระดับขีดความสามารถให้ผลผลิตการประมวลการขา่ วเป็นรากฐาน ส�ำคัญน�ำไปใช้ประโยชน์ในระดับยุทธศาสตร์และระดับปฏิบัติการ การกาหนด สามารถติดตาม แจ้งเตือน ป้องกัน แก้ไขปัญหา และรับมือกับ ความต้องการ ภยั คกุ คามทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ความมน่ั คงของชาตใิ นทกุ มติ ิ ทกุ รปู แบบ และ ของขา่ วสาร ทุกระดับความรุนแรง ด�ำเนินการพร้อมกับการพัฒนาแผนเตรียมพร้อม (Requirements) การวเิ คราะห์ วงรอบข่าวกรอง การรวบรวม แห่งชาติ ในการเผชิญเหตุการณ์ความเสี่ยงและในภาวะที่ไม่ปกติ (Analysis) (Intelligence Cycle) (Collection) มีการบูรณาการการด�ำเนินงานของทุกภาคส่วนในทุกระดับ ผ่านกลไก การบริหารวิกฤติการณ์ และเช่ือมโยงกับการแจ้งเตือน และกระจาย ข่าวสารส�ำคัญแก่ประชาชน โดยที่ความพร้อมรับมือภัยคุกคามจาก การดาเนิน การทข่ี า่ วกรองมีความถูกต้อง ทนั เวลา ประชาคมข่าวกรองทีบ่ รู ณาการ กรรมวิธี และความพร้อมรับมือภัยคุกคามจากการมีระบบการเตรียมพร้อม (Processing) แห่งชาติ เป็นองค์ประกอบสองส่วนส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าว ซ่ึงจะส่งเสริมให้ประเทศชาติมีความม่ันคงในทุกมิติ และ ทมี่ า: “ขา่ วกรองจากแหลง่ เปดิ ” จลุ สารความมนั่ คงศกึ ษา ทุกระดับเพ่ิมขึ้น รวมถึงเอ้ืออ�ำนวยบรรยากาศความม่ันคงปลอดภัย ฉบบั ที่ 64 โครงการความมนั่ คงศกึ ษา สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั เสริมสร้างสังคมท่ีเข้มแข็ง ให้ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุขดีข้ึน แผนเตรยี มพรอ้ มแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 – 2564) สถานการณ์ภยั คกุ คาม สาธารณภยั ภัยจากการสรู้ บ วกิ ฤตการณค์ วามม่ันคง 1 กรอบแนวคิด 5 ความเป็นหุ้นส่วน กลไกท่ีประสาน ยุทธศาสตร์ สอดคล้อง และบรู ณาการ 2 4 3 การจัดการความเสีย่ ง การผนึกกาลงั ต้งั แต่ในภาวะปกติ ในลักษณะประชารฐั การเสริมสรา้ งความร่วมมือกับ ตา่ งประเทศ เน้นกรอบอาเซียน ทมี่ า: แผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2564 สำ� นักงานสภาความมน่ั คงแห่งชาติ๘๓ 73
01 ความมัน่ คง 010301 010301 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจาก ท่ีมา: กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ประสิทธิภาพของหน่วยงานด้านการข่าวและประชาคม ขา่ วกรอง ในปี 2561 – 2562 ประเทศไทยมกี ารปรับปรงุ ประชาคมขา่ วกรองกบั ภาคสว่ นต่าง ๆ ทัง้ ภายในประเทศ และออกกฎหมาย รวมถึงการจัดท�ำแผนปฏิบัติการ และต่างประเทศ พร้อมกับการด�ำเนินการตามภารกิจ ท่ีเก่ียวข้อง เป็นกรอบแนวทางการด�ำเนินงานที่มี ปกติ เช่น การประมวลข่าวกรองตามวงรอบ รายงาน แบบแผนรองรับ มีการศึกษาระดับความส�ำเร็จของ เฉพาะกรณีในประเด็นเร่งด่วน และการรายงาน การใช้งานข่าวกรอง การใช้ประโยชน์จากเครือข่าย ส ถ า น ก า ร ณ ์ ต ่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ร า ย วั น บ น ห น ้ า เ ว็ บ ไ ซ ต ์ ข่าวกรอง และการน�ำผลประเมินสถานการณ์ เป็นข้อมูลเปิดท่ีมีความน่าเช่ือถือและสามารถน�ำไปใช้ ทด้าานงตครวงทาแมาลมไะด่ันทอคาะงงไแอปก้อใรมชม้ปเจรอะะงนโยเ�ำนชมือนา้ สห์ โู่กาดาตยรากพมาัฒนรปนีค้ าระ่ กะเลมยินุทผธล์ ลแัพละธ์ ประโยชนต์ ่อไป ขณะเดยี วกนั ประเทศไทยได้ดำ� เนนิ การ วิธีการด�ำเนินงานในรายละเอียดท่ีเหมาะสมต่อไป ตามแผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2564 ซึ่งหน่วยงานด้านการข่าวและประชาคมข่าวกรองได้ แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และแผนป้องกัน ด�ำเนินงานอย่างครอบคลุม และเป็นไปตามเป้าหมายท่ี ประเทศ ที่ผนึกก�ำลังและทรัพยากรเพื่อการป้องกัน ก�ำหนดไว้ ส�ำหรับการด�ำเนินงานตามแผนเตรียมพร้อม ประเทศ โดยหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้บูรณาการ แห่งชาติ หน่วยงานที่เก่ียวข้องได้บูรณาการท�ำงาน การปฏิบัติ และร่วมการฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ ร่วมกับทุกภาคส่วนในการจัดการฝึกร่วมกัน เพ่ือรับมือ ระดบั ชาตปิ ระจำ� ปี 2561 และประจำ� ปี 2562 ประกอบดว้ ย กับภัยคุกคามด้านความม่ันคง รวมท้ังภัยพิบัติและ การซ้อมแผนบนโต๊ะและการฝึกซ้อมเฉพาะหน้าท่ี สาธารณภัยอย่างต่อเน่ือง โดยมีการประเมินระดับ ตามโจทยภ์ ยั คกุ คามทส่ี ำ� คญั ในขณะนนั้ อาทิ การผนวกรวม ความส�ำเร็จในการพัฒนาระบบการเตรียมพร้อม และ ประเด็นภัยคุกคามจากนิวเคลียร์และรังสีและภัยคุกคาม การบริหารวิกฤตการณ์ จึงคาดว่าจะสามารถบรรลุ จากการก่อการร้าย รวมถึงการฝึกการป้องกันและ เปา้ หมายท่กี ำ� หนดไวใ้ นปี 2565 ได้ส�ำเรจ็ บรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือ การดำ� เนนิ การทีผ่ ่านมา ในปี 2561 – 2562 หน่วยงาน เตรียมพร้อมรับมือภัยคุกคามที่อาจเกิดข้ึนกับประเทศ ท่ีเก่ียวข้องด้านความมั่นคงได้ด�ำเนินการท่ีส�ำคัญ เช่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ได้มีการส่งเสริม การตราพระราชบัญญัติข่าวกรองแห่งชาติ พ.ศ. 2562 การพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทมี่ ีความเช่ือมโยง เพ่ือเสริมสร้างสภาวะแวดล้อมให้เอื้อต่อการปฏิบัติการ ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ เพอื่ การแจ้งเตอื นและ ข่าวกรองของเจ้าหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง เฝ้าระวังภัยความมั่นคง ประกอบการตัดสินใจในการ กบั สถานการณภ์ ยั คกุ คามดา้ นความมน่ั คงทเี่ ปลย่ี นแปลงไป บริหารจัดการสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉินด้วย ซึ่งเป็น รวมทั้งเอ้ือให้มีการด�ำเนินการท่ีส�ำคัญและเป็นไปตาม การด�ำเนินการท่ีสอดคล้องกับการเสริมสร้างความพร้อม ข้อบัญญัติทางกฎหมาย อาทิ การเพ่ิมขีดความสามารถ รบั มอื กบั ภยั คกุ คาม โดยการพฒั นางานดา้ นการขา่ วกรอง ของบุคลากรการข่าวกรอง การต่อต้านข่าวกรอง และการเตรียมพรอ้ มแห่งชาติ การพัฒนาเคร่ืองมือและการใช้เทคนิค/เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการด�ำเนินงานท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงการบูรณาการ ข้อมูลด้านการข่าว ผ่านการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของ การข่าวกรอง การจัดตั้งศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติ ในส่วนกลางและภูมิภาค การจัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการ ความมน่ั คงปลอดภยั ทางไซเบอร์ และการสรา้ งเครอื ขา่ ย/ 74
ความมัน่ คง 01 010301 ประเด็นท้าทายท่ีส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ได้แก่ ด้านความมั่นคงในปัจจุบัน โดยจะต้องเป็นข่าวกรองท่ี การส่งเสริมให้ทุกองคาพยพด้านการข่าว กองทัพ สามารถประมาณการณ์/คาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ และหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติ การประเมินความเสี่ยง การจัดล�ำดับความส�ำคัญ ซ่ึงเป็นทรัพยากรหลักของประเทศในการขับเคล่ือน ข อ ง แ ต ่ ล ะ ก ลุ ่ ม เ ป ้ า ห ม า ย แ ล ะ ป ร ะ เ ด็ น ที่ ค ว ร เ ร ่ ง การด�ำเนินการตามแผนแม่บทย่อยดังกล่าว มีบุคลากร ให้ความส�ำคัญ โดยอาจพัฒนาเป็นโครงการท่ีเก่ียวข้อง ท่ีมีความเชี่ยวชาญอย่างรอบด้านในการซ้อมและ กับการข่าวกรองเชิงรุก การข่าวกรองที่มีเป้าหมาย ปฏิบัติการร่วม มีผลผลิตจากการประมวลข่าวกรองที่ เชิงยุทธศาสตร์/อนาคตเชิงยุทธศาสตร์ และอนาคต ถูกต้องและทันเวลา มาพัฒนาเป็นโจทย์ฝึกซ้อมร่วมท่ี ศึกษา ควบคู่กับกิจกรรมพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือ ทันสมัย และสอดคล้องกับภัยคุกคามด้านความมั่นคง ท่ีทันสมัย การมีกลไก/ช่องทางเพื่อส่งต่อ/บูรณาการ ในปัจจุบัน พร้อมเผชิญและรับมือกับเหตุการณ์ ผลผลิตการประมวลข่าวกรอง ใชป้ ระกอบการด�ำเนนิ งาน ความเสี่ยง โดยเฉพาะการมีระบบการกระจายข่าวสาร ของหน่วยงานภาครัฐในระดับนโยบายและระดับ แก่ประชาชนท่ีใช้งานได้จริงในภาวะที่ไม่ปกติ รวมถึง ปฏิบัติการ เช่น การมีมาตรการ/กรอบความร่วมมือ การมีเทคโนโลยีที่มีความพร้อมในการปฏิบัติงานและ ในสาขาด้านความมั่นคงต่าง ๆ การน�ำข้อมูลมาพัฒนา มีประสิทธิภาพสูง เพ่ือสนับสนุนการมีระบบเตรียมพร้อม โจทย์ฝึกซ้อมร่วมระหว่างหน่วยงาน เป็นต้น รวมถึง แห่งชาติที่เข้มแข็งด้วย การส่งเสริมให้มีกลไก/ช่องทางแจ้งเตือนเหตุส�ำคัญและ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย การมุ่งเน้น การรับมือแก่ประชาชน ตลอดจนกิจกรรมการสร้าง ประสิทธิภาพของหน่วยงานด้านการข่าวและมีระบบ ความเข้าใจและการตระหนักรู้แก่ประชาชนให้เข้ามา เตรียมพร้อมแห่งชาติที่ปฏิบัติได้จริง ควรมีโครงการ มีส่วนร่วม และมีบทบาทเป็นส่วนหน่ึงของประชาคม พั ฒ น า ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ต า ม ห ลั ก ก า ร ข่าวกรอง ซ่ึงจะช่วยส่งเสริมให้ปฏิบัติการด้านการข่าว การข่าวกรอง ครอบคลุมทุกพ้ืนที่/มิติ และวิธีการที่ แ ล ะ แ ผ น เ ต รี ย ม พ ร ้ อ ม แ ห ่ ง ช า ติ มี ค ว า ม เ ข ้ ม แ ข็ ง หลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ความซบั ซอ้ นของขอ้ มลู ขา่ วสาร พร้อมรับมือกับภัยคุกคามได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 75
01 ความมัน่ คง 010302 แผนแม่บทย่อย การพัฒนาศกั ยภาพของประเทศ ใหพ้ ร้อมเผชญิ ภัยคุกคามทก่ี ระทบต่อความม่นั คงของชาติ เป้าหมาย กองทพั และหนว่ ยงานดา้ นความมนั่ คง มคี วามพรอ้ มสงู ขน้ึ ทจ่ี ะเผชญิ ภยั คกุ คาม ทกุ มติ ิ ทกุ รปู แบบ และทกุ ระดบั ความรนุ แรง มุ่งจัดท�ำแผนพัฒนาและผนึกก�ำลังทรัพยากรและขีดความสามารถของกองทัพท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรม ชัดเจน สามารถรับมือกับภัยคุกคามได้ทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง โดยการเตรียมก�ำลังและใช้ก�ำลัง เพ่ือการป้องปราม แก้ไข และยุติความขัดแย้งด้วยการปฏิบัติการร่วมเป็นหลัก การพัฒนาปฏิบัติการไซเบอร์ เพ่ือความมั่นคง การส่งเสริมการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ และมาตรฐานทางทหาร การพฒั นาระบบระดมสรรพก�ำลัง ระบบกำ� ลงั สำ� รอง และระบบทหารกองประจ�ำการอาสาสมัครอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เป็นตน้ ซึ่งการเตรียมความพร้อมด้านความสามารถและความเชี่ยวชาญของบุคลากรในกองทัพให้มีความพร้อมป้องกัน และรักษาอธิปไตยและบูรณภาพแห่งอาณาเขตไทย เป็นส่วนส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ท�ำให้ประเทศชาติ มีความมั่นคงในทุกมิติ และทุกระดับเพิ่มข้ึน รวมถึงเอ้ืออ�ำนวยบรรยากาศความม่ันคงปลอดภัย เสริมสร้างสังคม ที่เขม้ แข็ง ใหป้ ระชาชนอยดู่ ี กนิ ดี และมีความสขุ ดีขนึ้ การจัดอนั ดบั ความแข็งแกร่งดา้ นการทหาร ปี 2563 (Military Strength Ranking 2020) ที่มา: Global Firepower สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจากระดับความพร้อมของกองทัพและหน่วยงานด้านความม่ันคง โดยเฉพาะระดับความส�ำเร็จในการเตรียมระบบก�ำลังส�ำรองและระบบระดมสรรพก�ำลังรองรับภัยคุกคามทางทหาร ซ่ึงในปี 2561 - 2562 กองทัพและหน่วยงานด้านความม่ันคง มีการด�ำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมในการเผชิญ ภัยคุกคามทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง โดยอันดับความแข็งแกร่งด้านการทหาร จาก 138 ประเทศ ที่มกี ารส�ำรวจของ Global Firepower ซ่ึงวิเคราะห์จากปัจจัย 50 ปัจจัย และจดั กลุ่มส�ำคัญ อาทิ ทตี่ ้งั ทางภูมิศาสตร์ กองก�ำลังทางบก ทางทะเล และทางอากาศ (ความพร้อมและความสามารถในการรบเมื่อต้องท�ำสงครามตามแบบ ทง้ั ภาคพ้ืนดนิ ทางทะเล และทางอากาศ) ความสามารถการส่งก�ำลังบ�ำรงุ และงบประมาณกลาโหม ปี 2561 – 2563 ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับท่ี 27 อันดับที่ 26 และอันดับท่ี 23 ตามล�ำดับ แสดงถึงระดับความพร้อมของกองทัพ 76
ความมัน่ คง 01 010302 ที่เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง นอกจากนี้ ยังสะท้อนว่า ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย การเตรียมความพร้อมของกองทัพได้ด�ำเนินมาในทิศทาง สถานการณ์ด้านความมั่นคงของโลกมีการเปลี่ยนแปลง ท่ีสอดคล้องกับนานาประเทศด้วย จึงมีความเป็นไปได้ ตลอดเวลา โดยเฉพาะภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่มี ท่ีจะบรรลุเป้าหมายระดับความพร้อมของกองทัพ หลากหลายมิติ รูปแบบ และเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว รุนแรง และหน่วยงานด้านความมั่นคงที่ก�ำหนดไว้ในปี 2565 และฉับพลัน เป็นความท้าทายต่อการพัฒนาประเทศ ได้สำ� เร็จ ในภาพรวมหลายด้าน และส่งผลให้กองทัพมีภารกิจ การด�ำเนินการท่ีผ่านมา ในปี 2561 - 2562 มี การด�ำเนินการท่ีหลากหลาย ท้ังด้านการทหาร การด�ำเนินการของกองทัพ อาทิ การจัดท�ำแผนพัฒนา การเตรียมพร้อมร่วมกับหน่วยงานด้านความม่ันคง และผนึกก�ำลังทรัพยากรและขีดความสามารถของ ท่ีเกี่ยวข้อง และการสนับสนุนงานด้านการพัฒนา กองทัพ ร่วมกับหน่วยงานด้านความม่ันคง ภาคเอกชน ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ด้วยสถานการณ์ และภาคประชาชน การจัดการฝึกร่วมกองทัพไทยเพ่ือ ด้านความม่ันคงของโลกดังกล่าว กองทัพควรให้ ทดสอบแผนป้องกันประเทศตามนโยบาย ภารกิจส�ำคัญ ความส�ำคัญกับการยกระดับ/เพ่ิมขีดความสามารถ และภัยคุกคาม แล้วน�ำปัญหาหรือข้อขัดข้องที่พบจาก โ ด ย เ ฉ พ า ะ บุ ค ล า ก ร ท่ี มี ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ ร อ บ ด ้ า น การฝึกมาปรับปรุงแผนป้องกันประเทศ และแผนอ่ืน ๆ แผนปฏิบัติการท่ีตอบโจทย์สถานการณ์ได้อย่างรวดเร็ว ท่ีเก่ียวข้อง การจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงานต่าง ๆ ทันการณ์ โดยให้มีความร่วมมือทางทหารกับประเทศ ระเบียบปฏิบัติประจ�ำ รวมถึงการปรับปรุงแผนพัฒนาขีด เพื่อนบ้านและประเทศที่มีความส�ำคัญเชิงยุทธศาสตร์ ความสามารถของกองทัพไทยเพื่อให้ตอบสนองต่อ มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละการฝกึ รว่ มกนั อยา่ งสมำ�่ เสมอ ภยั คกุ คามทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ในอนาคต ขณะทมี่ กี ารดำ� เนนิ การ ตลอดจนอาจมีการประเมนิ ประสิทธิภาพของยทุ โธปกรณ์ ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น ด ้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง ที่ เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง แ ล ะ มี ต่อสถานการณ์ดังกล่าว และความจ�ำเป็นในการจัดหา ความส�ำคัญต่อการส่งเสริมความพร้อมตามเป้าหมาย อาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ เพื่อทดแทนยุทโธปกรณ์ที่มี ดังกล่าว อาทิ การก่อต้ังศูนย์ปฏิบัติการความมั่นคง อายุการใช้งานยาวนานหรือไม่สามารถตอบสนองต่อ ปลอดภยั ทางไซเบอรส์ ำ� นกั ขา่ วกรองแหง่ ชาติ การเชอ่ื มโยง ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ได้ ซึ่งมีความจ�ำเป็นต้องสร้าง ประชาคมขา่ วกรอง และโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูล ความเข้าใจถึงความจ�ำเป็นและรับฟังความเห็นจาก ด้านความมน่ั คง ทุกภาคส่วนด้วย 77
01 ความมั่นคง 010401 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การบรู ณาการความรว่ มมอื ดา้ นความมน่ั คง กบั อาเซยี นและนานาชาติ รวมทง้ั องคก์ รภาครฐั และมใิ ชภ่ าครฐั เปา้ หมาย ประเทศไทยมคี วามมนั่ คงและสามารถรบั มอื กบั ความทา้ ทายจากภายนอกไดท้ กุ รปู แบบ สงู ขน้ึ mate Biodiversity TFihguere GIV:lTohebGalolbRal RisiskkssIntIenrctoennrecctoionnsnMeapc2t0i2o0ns Map 2020 เสริมสร้างขีดความสามารถของไทยผ่าน lure loss การบูรณาการประสานความร่วมมือใน Extreme รายงานการประเมนิ ความเส่ียงภัยคกุ คามโลก ปี 2563(The Global Risks Report 2020) สาขาความมั่นคงเฉพาะด้าน โดยเฉพาะ weather ภัยความม่ันคงรูปแบบใหม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ Natural disasters Natural disasters ประเด็นชายแดนและที่มีลักษณะข้ามชาติ อาทิ อาชญากรรมข้ามชาติ การก่อการร้าย 4.0 4.0 Extreme weather Human-made และการแพร่ขยายของแนวคิดสุดโต่งท่ีนิยม Water crises environmental disaster ความรุนแรง ภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดย Infectious diseases disasters ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข ้ อ มู ล แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า untary แนวปฏิบัติท่ีดีจากต่างประเทศผ่านกรอบ ation Food crises Biodiversity loss ความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี อนุภูมิภาค nstability และภมู ิภาค กบั ประเทศเพ่อื นบ้าน นานาชาติ Failure of และองค์การระหว่างประเทศบนฐานของ 4.0 urban planning ความสัมพันธ์อันดี เพ่ือให้สามารถป้องกัน และรับมือกับภัยความมั่นคงได้ทุกรูปแบบ World Global Weapons of mass และธ�ำรงไว้ซ่ึงสันติภาพและความม่ันคง people governance destruction ของภูมิภาค โดยที่พ้ืนฐานความพร้อม ของต่างประเทศที่จะร่วมมือกับไทยและ from the failure Interstate ความไว้วางใจระหว่างกัน เป็นหน่ึงปัจจัย obal Risks conflict ส�ำคัญของการด�ำเนินการเพ่ือบรรลุเป้าหมาย Part 2 Water crises Climate action ท�ำให้ประเทศชาติมีความมั่นคงในทุกมิติ nections” failure Illicit trade และทกุ ระดบั เพมิ่ ขน้ึ รวมทง้ั การทป่ี ระเทศไทย Critical infrastructure มคี วามมน่ั คงและสามารถรบั มอื กบั ความทา้ ทาย 3.5 Average failure จากภายนอกไดท้ กุ รปู แบบสงู ขนึ้ จะเออ้ื อำ� นวย บรรยากาศของความมั่นคงปลอดภัย ให้ 3.47 Involuntary migration National ประชาชนอยู่ในสังคมที่เข้มแข็ง อยู่ดี กินดี Information Cyberattacks governance และมีความสุขดีขึ้น infrastructure breakdown failure Social instability Terrorist attacks State collapse Data fraud Adverse technological Energy price shock or theft advances Unemployment Fiscal crises Financial failure Unmanageable inflation 3.0 AAsssseettbbuubbbbleles Deflation 2.5 ที่มา: สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) 3.0 3.5 4.0 Likelihood Average 3.32 Economic Geopolitical Technological Risks Risks Risks Number and strength Environmental Societal of connections Risks Risks (“weighted degree”) Source: World Economic Forum Global Risks NSfueollgNientnelotAoa:empbtSrepcaeu:esorlvnSrnaedisnunyixdkrervesBcdesetafpyeosrordcernerm.idpasSoetbpinroeebotnesrdnsewe.Advteeapiraineplstte.easTdsnokw;deesiedxnersteBeourasAeoespfllkeeptgecheitdbenuiltipdftouyi,txlolsthreAseeilxepfnocpoaratmritruteshfpsoeoorftfofgmutlholsloebinxragealplmordiasbeekiarstlsaartiinhoslskedf.sygTdablooreeeblsieeacavnbrlesbirputrioestrivkeobiasneltee.tmhgdo;eibssyitelibeitnyetA,elpirtecphvoeeennnndteioaxcmtAbedeefo.smr oof stht e SPeorucercpteio:nWSourrvldeyE2c0o1n9o–2m0i2c0F. orum Global Risks Perception Survey 2019–2020. PSI endorsers develop legal, diplomatic, economic, law-enforcement, and other tools to enhance interdiction capabilities ท่ีมา: กรอบความรเิ ร่ิมเพอ่ื ความมัน่ คงจากการแพรข่ ยายอาวธุ ที่มอี านภุ าพ ทำ� ลายลา้ งสงู ในการป้องกันและสกดั กน้ั การแพร่ขยายอาวธุ ที่มอี านุภาพ ท�ำลายสงู (PSI) กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ (U.S. Department of State) 78
ความมัน่ คง 01 010401 สถานการณ์การบรรลเุ ป้าหมาย โดยพจิ ารณาจากระดบั หน่วยงานรัฐในทิศทางการด�ำเนินความสัมพันธ์กับ ความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นคงในทุกมิติ ประเทศมหาอ�ำนาจ การประชุมคณะท�ำงานร่วมว่าด้วย กับประเทศมหาอ�ำนาจและประเทศที่มีความส�ำคัญทาง การหารือด้านความมั่นคงระหว่างไทยกับรัสเซีย คร้ังท่ี 4 ยุทธศาสตรด์ ขี ึ้นจากเดมิ ในปี 2561 – 2562 ประเทศไทย การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานด้านความมั่นคง ได้ให้ความส�ำคัญและมีการด�ำเนินงานผ่านกรอบ และวิชาการในพื้นที่ฮาวาย การประสานความร่วมมือ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ใ น ส า ข า ค ว า ม มั่ น ค ง ท่ี มี รู ป แ บ บ ข อ ง ดา้ นการบรหิ ารจดั การชายแดนกบั จนี และการเตรยี มการ ความร่วมมือ วัตถุประสงค์ สารัตถะ คู่เจรจา และภาคี เพื่อหารือข้อราชการด้านความม่ันคงกับสหภาพยุโรป ที่เกี่ยวข้องท่ีหลากหลาย ท่ามกลางสถานการณ์ โ ด ย ไ ท ย ยั ง ไ ด ้ รั บ ก า ร เ ข ้ า เ ย่ี ย ม ค า ร ว ะ ข อ ง ผู ้ แ ท น ภัยความม่ันคงปัจจุบันที่ซับซ้อน เชื่อมโยง และจ�ำเป็น ส่วนราชการและการเยือนของผู้น�ำระดับสูงจาก ต้องพึ่งพากรอบความร่วมมือระหว่างประเทศมากข้ึน ต่างประเทศอย่างสม่�ำเสมอ รวมถึงการเยือนของผู้น�ำ โดยมีความต่อเน่ืองของจ�ำนวนการเข้าเยี่ยมคารวะเพ่ือ จากต่างประเทศเพื่อกระชับความสัมพันธ์ความเป็น กระชับความสัมพันธ์และความรว่ มมือจากประเทศตา่ ง ๆ หุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์ เช่น การเยือนของผู้น�ำ การประชุมที่มีความส�ำคัญท่ีไทยเป็นเจ้าภาพ โดยเฉพาะ จากสาธารณรัฐเกาหลี เป็นต้น ทั้งยังมีการกระชับ ที่สอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศ และที่ไทย ความร่วมมือกับชายแดนและประเทศเพื่อนบ้าน เข้าร่วมการประชุมตามกรอบความร่วมมือในทุกระดับ อย่างต่อเนื่องด้วย อาทิ การประชุมคณะกรรมการเพ่ือ สะท้อนว่ามีแนวโน้มความร่วมมือด้านความมั่นคง ติดตามสถานการณ์ด้านความม่ันคงบริเวณพ้ืนท่ีชายแดน ในระดับภูมิภาคและนานาชาติ และการรักษาดุลยภาพ และประเทศเพ่ือนบ้าน การเปิดจุดผ่านแดนถาวรใน ของความสัมพันธ์ไปในทิศทางที่ดี จึงคาดการณ์ได้ว่าจะ จังหวัดชายแดน การกระชับความสัมพันธ์กับประเทศ สามารถบรรลุเปา้ หมายทกี่ �ำหนดไว้ในปี 2565 ไดส้ �ำเรจ็ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง รวมถึงการใช้แนวทาง การด�ำเนินการท่ีผ่านมา หน่วยงานด้านความม่ันคง ทางการทูตสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความมั่นคงภายใน ท่ีเกี่ยวข้องได้ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมความสัมพันธ์ ประเทศ โดยเฉพาะการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความไวว้ างใจระหวา่ งกนั และความรว่ มมอื ดา้ นความมนั่ คง การก่อเหตุรุนแรงในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ กบั อาเซียนและนานาชาติ ทัง้ ในระดับนโยบายและระดบั นอกจากน้ี ไทยได้เน้นความส�ำคัญของการด�ำเนินการ ปฏิบัติการ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของไทยให้สามารถ ตามกรอบความร่วมมือ/พันธกรณีระหว่างประเทศ รับมือกับความท้าทายและภัยคุกคามจากภายนอกได้ ด้านความม่ันคงที่จะต้องมีการทบทวนกฎหมายและ ทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง โดยมี การจัดท�ำมาตรการ/การประสานแนวทางการด�ำเนินการ การด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างหน่วยงานภายในที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องกับ การขา่ วกรอง และหารอื ขอ้ ราชการผา่ นกรอบความรว่ มมอื มาตรฐานสากล โดยที่มีการด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง ด้านความมั่นคงเฉพาะด้านกับประเทศมหาอ�ำนาจและ อาทิ การจัดประชุมเพื่อเตรียมการและก�ำหนดท่าทีต่อ ประเทศทม่ี คี วามสำ� คญั ทางยทุ ธศาสตร์ ในชนั้ ผนู้ ำ� ระดบั สงู ประเด็นสนธิสัญญาว่าด้วยการค้าอาวุธ การจัดประชุม และระดับคณะท�ำงาน อย่างเป็นทางการและไม่เป็น กรอบความริเริ่มเพื่อความมั่นคงจากการแพร่ขยายอาวุธ ทางการ ทั้งที่เป็นการประสานความร่วมมือท่ีต่อเน่ือง ท่ีมีอานุภาพท�ำลายล้างสูงในการป้องกันและสกัดก้ัน และที่ริเริ่มใหม่ เช่น การสร้างความเข้าใจระหว่าง การแพร่ขยายอาวธุ ที่มอี านภุ าพทำ� ลายสงู 79
01 ความมัน่ คง 010401 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ท่ี ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย เพ่ือให้ไทยมี ค ว า ม ท ้ า ท า ย ส� ำ คั ญ ใ น ก า ร บู ร ณ า ก า ร ป ร ะ ส า น ขีดความสามารถพร้อมรับมือภัยคุกคามจากภายนอก ความร่วมมือด้านความม่ันคงกับอาเซียนและนานาชาติ ควรให้ความส�ำคัญกับการแลกเปลี่ยนการข่าวกับ คือการตัดสินใจที่จะด�ำเนินงาน ปรับปรุง หรือทบทวน ต่างประเทศ และช่องทาง/กลไกการน�ำประมวล กรอบความร่วมมือระหว่างกัน รวมท้ังความพร้อม ข่าวกรองไปสู่การปฏิบัติ เพื่อช่วยให้หน่วยงาน ของฝ่ายไทยและหุ้นส่วน คู่เจรจา หรือภาคีภายใต้ ด้านความม่ันคงและการต่างประเทศมีข้อมูลและ สนธิสัญญาและพันธกรณีระหว่างประเทศ ซึ่งนอกจาก เครื่องมือในการวางแผนก�ำหนดท่าที/ยุทธศาสตร์/ จะค�ำนึงถึงผลประโยชน์ร่วมกันของทั้งสองฝ่ายแล้ว รูปแบบของความร่วมมือท่ีสอดคล้อง ทันท่วงที ยังต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติเป็นส�ำคัญ จึงจะ ต่อสถานการณ์ทางการเมือง ความมั่นคง และ สามารถก�ำหนดกรอบความร่วมมือด้านความม่ันคง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในปัจจุบันมากที่สุด โดย ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทสถานการณ์ภายใน ควรมีการเร่งรัดการด�ำเนินการ เพื่อสนับสนุนการจัดเก็บ ประเทศและระหว่างประเทศในขณะนั้นได้ ซ่ึงปัจจุบัน ข ้ อ มู ล เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ แ ล ะ เ ชิ ง ป ริ ม า ณ ข อ ง ร ะ ดั บ ยังไม่มีการประเมินความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานผ่าน ความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความม่ันคงในระยะ ช่องทางการทูต (อาทิ การเจรจาทางการทูต การทูต ท่ี 1 (พ.ศ. 2561 - 2565) ซง่ึ จะมสี ่วนชว่ ยในการวิเคราะห์ เชงิ มนษุ ยธรรม การทตู เชิงพฒั นา) ท่ชี ดั เจน และพัฒนาการด�ำเนินงานส�ำคัญที่จะส่งผลต่อการบรรลุ เปา้ หมายทก่ี ำ� หนดไวไ้ ด้ตอ่ ไป 80
ความมัน่ คง 01 แผนแมบ่ ทยอ่ ย การบรู ณาการความรว่ มมอื ดา้ นความมน่ั คง 010402 กบั อาเซยี นและนานาชาติ รวมทง้ั องคก์ รภาครฐั และมใิ ชภ่ าครฐั เป้าหมาย ประเทศไทยมบี ทบาทเพิ่มขน้ึ ในการกำ� หนดทศิ ทางและสง่ เสรมิ เสถยี รภาพ ของภมู ภิ าคเอเชยี รวมทงั้ เปน็ ประเทศแนวหนา้ ในภมู ภิ าคอาเซยี น มงุ่ ดำ� เนนิ การเชงิ รกุ ในการเสรมิ สรา้ งความมน่ั คง และความปลอดภยั ในภมู ภิ าค พรอ้ มกบั การลด ความเสี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจส่งผล กระทบต่อประเทศไทยในอนาคตได้ โดย การรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่าง ประเทศ การรักษาความสัมพันธ์ท่ีดีกับ ประเทศตา่ ง ๆ ความสมดลุ ของการด�ำเนินการ ท า ง ก า ร ทู ต แ ล ะ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ใ น ส า ข า ด้านความมั่นคง ภายใต้กรอบความร่วมมือ พหุภาคีและในภูมิภาค ตลอดจนการปฏิบัติ ตามกฎหมายและพันธกรณีระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญในการต่อยอด/พัฒนา ให้ไทยมีบทบาทแนวหน้าในภูมิภาค ในการ ก�ำหนดทิศทางด้านความม่ันคงต่อไป ท�ำให้ ไทยบรรลุเป้าหมายตามที่ก�ำหนด พร้อม ส่งเสริมให้ประเทศชาติมีความมั่นคงในทุกมิติ และทุกระดับเพ่ิมขึ้น รวมทั้งเสริมสร้างสังคม ที่ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุขดีข้ึน ทีม่ า: สมาคมอาเซยี น ประเทศไทย 81
01 ความมั่นคง 010402 ทม่ี า: องค์การการบนิ พลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO’s Universal Safety Oversight Audit Programme 2019) สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจากระดับ การด�ำเนินการท่ีผ่านมา หน่วยงานด้านความมั่นคงและ ความส�ำเร็จของบทบาทไทยในการก�ำหนดทิศทางและ การตา่ งประเทศ ไดใ้ ห้ความสำ� คัญกับการกำ� หนดท่าทตี อ่ สง่ เสริมเสถยี รภาพของภูมภิ าคเอเชีย ในปี 2561 - 2562 ประเทศมหาอ�ำนาจ การผลักดันขอ้ เสนอด้านความม่ันคง ประเทศไทยได้ให้ความส�ำคัญกับการยึดหลักความเป็น เฉพาะด้าน และการเสนอให้มีความช่วยเหลือทาง แกนกลางของอาเซียนอย่างจริงจัง โดยการจัดท�ำ มนุษยธรรม เพ่ือแก้ไขปัญหาท่ีส�ำคัญและเร่งด่วน ข้อเสนอแนะเพ่ือผลักดันมาตรการที่ส่งผลต่อความม่ันคง ในภมู ิภาค ผา่ นกรอบความร่วมมืออาเซยี นเปน็ หลกั ซ่งึ มี และเสถียรภาพในภูมิภาค ทั้งทางตรงและทางอ้อม ความสอดคล้องกับปัจจัยสำ� คัญดา้ นสถานการณก์ ารเมอื ง ในรูปแบบความต่อเน่ืองของจ�ำนวนการเป็นประธาน มีเสถียรภาพและความสัมพันธ์เชิงบวกกับต่างประเทศ จัดการประชุม และการเข้าร่วมการประชุมที่ส�ำคัญกับ เพ่ือเพิ่มบทบาทของไทยในภูมิภาค โดยมีการด�ำเนินงาน หุ้นส่วนและคู่เจรจาท่ีมีความส�ำคัญทางยุทธศาสตร์ ท่ีส�ำคัญ เช่น การยกระดับเป็นประธานการประชุม จ�ำนวนเอกสารผลลัพธ์ของความตกลง/ข้อริเร่ิมท่ีไทย อาเซียนในปี 2562 เป็นผลให้มีการเสนอให้มีการรับรอง ผลกั ดนั ในทปี่ ระชมุ รวมถงึ จำ� นวนการลงนาม/การเขา้ รว่ ม เอกสารมุมมองของอาเซียนต่ออินโด-แปซิฟิก ท่ีก�ำหนด เป็นภาคีสนธิสัญญา/พันธกรณีระหว่างประเทศ พร้อม ท่าทีต่อประเทศมหาอ�ำนาจอย่างสมดุลในช่วงที่มี การด�ำเนินการตามแนวปฏิบัติที่เป็นบรรทัดฐานระหว่าง การแข่งขันระหว่างประเทศมหาอ�ำนาจภายในภูมิภาค ประเทศและมาตรฐานสากล แสดงถึงความเป็นประเทศ อย่างเข้มข้น และการจัดตั้งศูนย์อาเซียนจ�ำนวน 7 ศูนย์ แนวหน้าของไทยในการร่วมด�ำเนินการแก้ไขปัญหา ในประเทศไทย นอกจากนี้ ได้มีการเร่งด�ำเนินการเพื่อ เชิงสร้างสรรค์กับนานาชาติ และการให้ความช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงให้เป็นไปตามมาตรฐาน กับประเทศรอบบ้านผ่านกรอบความร่วมมือในภูมิภาค สากลของประชาคมโลก อาทิ ความก้าวหนา้ ในการแก้ไข เป็นความส�ำเร็จทางการทูตในการแก้ไขปัญหาเชิงรุก ประเดน็ การคา้ มนษุ ย์ และการปรบั ปรงุ มาตรฐานการบรหิ าร สะท้อนถึงความพร้อมที่จะแสดงบทบาทน�ำ เพื่อส่งเสริม ความปลอดภัยด้านการบินให้สอดคล้องกับองค์การ เสถียรภาพและการก�ำหนดทิศทางในภูมิภาคในทิศทาง การบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมถึงความพยายาม ที่ดี จึงคาดว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ในปี ในการตอ่ ตา้ นการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ย 2565 ได้สำ� เรจ็ และการแพรข่ ยายอาวุธทีม่ อี านภุ าพท�ำลายลา้ งสูง 82
ความมัน่ คง 01 010402 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ป ร ะ เ ด็ น ค ว า ม ม่ั น ค ง ที่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ความทา้ ทายส�ำคัญ คอื จดุ รว่ มของผลประโยชน์ มมุ มอง ในภูมิภาคเห็นว่ามีความส�ำคัญ หรือเป็นภัยคุกคาม และความเข้าใจของประเทศในภูมิภาคท่ีมีต่อปัญหา ร่วมกันในเชิงพ้ืนที่ (ชายแดนทางบก ทางทะเล และ ความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่มีความซับซ้อนและเชื่อมโยง ทางอากาศ) และในเชงิ สารตั ถะ (อาทิ การอพยพโยกย้าย ตลอดจนความสัมพันธ์และกรอบความร่วมมือท่ีเกี่ยวข้อง ถิ่นฐานแบบไม่ปกติ ความม่ันคงปลอดภัยทางทะเล กับประเทศเพ่ือนบ้านและในภูมิภาคที่มีอยู่เดิม ที่อาจ การป้องกันการแพร่ขยายของแนวคิดสุดโต่งท่ีนิยมใช้ ส่งผลต่อการผลักดันข้อริเร่ิมหรือกรอบความร่วมมือ ความรนุ แรง) ท่ีควรมีการชปี้ ระเดน็ ปญั หา เรง่ ดำ� เนนิ การ ในการแก้ไขปัญหาร่วมกันในภูมิภาคต่อไป รวมถึง เสนอแนะ โดยใช้โอกาสผ่านกรอบความร่วมมือต่าง ๆ ประเด็นด้านการสืบสวนและแนวทางการด�ำเนินคดี ท่ีมีอยู่เดิม การพัฒนาสู่กรอบความร่วมมือใหม่ หรือ ทางอาญาตามกฎหมายไทยที่เก่ียวข้องกับพันธกรณี มาตรการระหว่างประเทศสมาชิกภายในภูมิภาคร่วมกัน ระหว่างประเทศด้านความม่ันคง ยังเป็นข้อห่วงกังวล ต่อไป โดยเฉพาะเป็นการก�ำหนดท่าทีให้ไทยแสดง ในการบริหารจัดการปัญหา/เหตุการณ์ให้เหมาะสม บทบาทน�ำในการช้ีประเด็นปัญหาพร้อมข้อเสนอแนะได้ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย เมื่อประเมิน ขณะเดียวกัน ควรศึกษาแนวปฏิบัติท่ีดีจากต่างประเทศ ความท้าทายแล้ว พบว่า ควรก�ำหนดกลไก/ช่องทาง และพนั ธกรณรี ะหวา่ งประเทศ เพอื่ พจิ ารณาความเหมาะสม การบูรณาการการท�ำงานอย่างเป็นทางการระหว่าง ที่ไทยจะใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติ หรืออนุวัติกฎหมาย หน่วยงานของรัฐด้านความมั่นคง ด้านการระหว่าง ภายในให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยค�ำนึงถึง ประเทศ และด้านการพัฒนา เพื่อร่วมกันพิจารณา บ ริ บ ท ค ว า ม มั่ น ค ง แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ยุ ติ ธ ร ร ม ข อ ง ประเด็นปัญหาอย่างรอบด้านข้ามสาขา และจัดล�ำดับ ประเทศไทยด้วย 83
01 ความมัน่ คง แผนแม่บทยอ่ ย การพัฒนากลไกการบรหิ ารจัดการ ความมัน่ คงแบบองคร์ วม เปา้ หมาย 010501 กลไกการบรหิ ารจดั การความมนั่ คง มปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ ความมน่ั คงแบบองค์รวม เป็นการพัฒนากลไกการบริหาร 01050 การเมอื ง เศรษฐกจิ จัดการความม่ันคงแบบองค์รวม มุ ่ ง ส ่ ง เ ส ริ ม ใ ห ้ ห น ่ ว ย ง า น ห ลั ก ด้านความม่ันคง (ส�ำนักงานสภา ความม่ันคงแห่งชาติ กองอ�ำนวย สงั คม ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม มั่ น ค ง ภ า ย ใ น การทหาร รรัาผกชลษองาาณาผนาลจปักBผรรIOะลแMลโงะยEาศชูนTนนยR์อ์ ขIB�ำCอนSIวงOยชขกMาอาตรงิEสTานRกัICงาSนขตรอ วิทยาศาสตร์ สงิ่ แวดล้อม ทสแทhcกกุอาร9้งไtดปูขทt6คแpปะdบลัsญเบ8ล้:อ/หb)แ/งาลdwchมกคะีัbคบ9วtทwาวctสกุ6มาwรp1ภมมะd6.าดsั่พนi78mบัพ:คร/ค3bแ้งอmว/1ไวมาdดwมดใi้ทgรนbfลนุwุrก6กa้แcอม9ารtwิมต1ร7งioิ 6.ni7m.g3om1.tdhig/fr6ea9a และเทคโนโลยี ในปัจจุบัน โดยการปรับโครงสร้าง เบา กลาง หนกั บทบาท อำ� นาจหนา้ ที่ ระบบการบรหิ าร การเมือง เศรษฐกิจ สงั คม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สง่ิ แวดล้อม พลังงาน อาหาร นา้ และการทหาร จัดการ กฎหมายและศักยภาพของ ชาติ สงั คม ชุมชน ครัวเรอื น ปัจเจกบุคคล เจ้าหน้าท่ี ให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น การก�ำหนดกลไกและการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงให้มี เบา กลาง หนกั เอกภาพ ทันสมัย และทันต่อ การมสี ถานะ/สภาวะ/สภาพตามที่เรา/กลุม่ /ประเทศ ต้องการ สถานการณ์ รวมถึงการบูรณาการ ภายใต้แรงกดดัน/ภัย/ปัญหาตา่ ง ๆ ทุกทศิ ทุกทาง ทุกระดับ การบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ดา้ นความมน่ั คง ที่มา: คณะกรรมการจัดทำ� ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านความม่นั คง โดยเฉพาะการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ด้านความมั่นคงอย่างเช่ือมโยง ซ่ึงเป็นการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญให้ กลไกการบริหารจัดการความม่ันคงมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ส่งผลให้ประเทศชาติมีความมั่นคงในทุกมิติ และทุกระดับ เอ้อื อำ� นวยบรรยากาศความมั่นคงปลอดภัย ให้ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุขดีขึ้น 84
ความมัน่ คง 01 010501 ทม่ี า: สำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ (กรกฎาคม 2562) สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย โดยพิจารณาจากระดับประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของหน่วยงานด้านการจัดการ ความมั่นคง ส่วนการบริหารจัดการข้อมูลด้านความม่ันคงระหว่างหน่วยงาน มีการประเมินระดับความส�ำเร็จของ การแลกเปล่ียนเชื่อมโยงข้อมูลและการพัฒนาระบบข้อมูล โดยในปี 2561 – 2562 หน่วยงานด้านความมั่นคงได้ให้ ความส�ำคัญและอยู่ระหว่างการเร่งด�ำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลด้านความม่ันคงทเ่ี ชอ่ื มโยงและมีเอกภาพ เพ่ือประโยชน์ ในการบริหารจัดการความม่ันคงให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การวิเคราะห์แบบแผน แนวโน้มของพฤติการณ์ และสกดั ก้ันบคุ คลท่ีมพี ฤติกรรมท่อี าจเปน็ ภัยตอ่ ความมั่นคงของชาติ เปน็ ต้น ส�ำหรับการพัฒนาการบริหารจัดการและ การขับเคล่ือนความมั่นคง มีความพยายามผลักดันและประเมินระดับความส�ำเร็จในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน การอ�ำนวยการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการท่ีเก่ียวข้องให้สอดคล้องกับตัวช้ีวัดและเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ในแผนแม่บทฯ ประเด็น ความม่ันคง และนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ พร้อมกับการก�ำกับ ติดตาม รายงานผล และการประเมินผลการด�ำเนินงานด้วย ซ่ึงมีแนวโน้มการด�ำเนินงานในทิศทางที่ดีและมีประสิทธิภาพ จงึ คาดวา่ จะสามารถบรรลุเป้าหมายท่ีก�ำหนดไวใ้ นปี 2565 ได้ส�ำเร็จ 85
01 ความมั่นคง 010501 การด�ำเนินการที่ผ่านมา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกองบังคับการปราบปรามการกระท�ำความผิด ด ้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง ไ ด ้ ด� ำ เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น แ ม ่ บ ท ฯ เก่ียวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี สามารถตรวจสอบ ในการบูรณาการข้อมูลด้านความม่ันคง ซ่ึงสอดคล้องกับ คดตี ามกระบวนการทางกฎหมายไดร้ วดเร็วยิง่ ขึ้น สำ� หรบั ปัจจัยด้านความพร้อมและความเชื่อมโยงของระบบ การบูรณาการกลไกการบริหารจัดการและการยกระดับ ฐานข้อมูลด้านความม่ันคง โดยมีการด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญ กลไกหน่วยงานด้านความมั่นคง ได้มีการเตรียมการ ไดแ้ ก่ การผลกั ดนั การเชอ่ื มโยงฐานขอ้ มลู ดา้ นความมนั่ คง จัดโครงสร้าง อ�ำนาจหน้าท่ี และอัตราก�ำลังของ ร ะ ห ว ่ า ง ห น ่ ว ย ง า น ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ก า ร กองอ�ำนวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร ความก้าวหน้าของการบูรณาการข้อมูลการตรวจลงตรา การเตรียมการจัดโครงสร้างของศูนย์อ�ำนวยการรักษา แ บ บ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ กั บ ข ้ อ มู ล ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ตาม พ.ร.บ. การรักษา ตรวจคนเข้าเมือง สู่การพัฒนาการใช้ระบบ Biometrics ผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล พ.ศ. 2562 การเตรยี มการ ท่ีสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลเฝ้าระวัง สกัดก้ันบุคคล ประกาศค�ำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบูรณาการขับเคล่ือน ต้องหา้ มและบุคคลเฝา้ ระวงั ตามจดุ ตรวจดา่ นบก ดา่ นน�้ำ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง และคณะกรรมการ และด่านอากาศยานได้ นอกจากน้ี ประเทศไทยได้ให้ ขับเคล่ือนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น ความส�ำคัญกับการพัฒนาเคร่ืองมือและเทคโนโลยี ความม่ันคง และนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย เพ่ือช่วยในการปฏิบัติงาน อาทิ การพัฒนาโปรแกรม ความม่ันคงแห่งชาติ รวมถึงการเตรียมการปรับปรุง การตรวจรูปภาพส�ำหรับพิสูจน์หลักฐานทางเทคโนโลยี โครงสร้างของส�ำนักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติ สารสนเทศ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กองพิสูจน์ ตาม (รา่ ง) กฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการ พ.ศ. 2563 ตอ่ ไป หลกั ฐานสำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ 86
ความมั่นคง 01 010501 ประเด็นความท้าทายที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ชายแดนใต้ ที่สอดรับและเชื่อมโยงกับชุดข้อมูล ส ่ ว น ง า น ก า ร พั ฒ น า ฐ า น ข ้ อ มู ล ด ้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง ท่ีส�ำคัญขององค์การต�ำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ มีขอ้ ห่วงกังวลในดา้ นการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู โดยเฉพาะ และสหประชาชาติ โดยค�ำนึงถึงข้อห่วงกังวลเก่ียวกับ ความละเอียดอ่อนของประเด็น และการเปิดเผยข้อมูล การบริหารจัดการข้อมูลด้านความม่ันคง คู่ขนานกับ ท่ีมีช้ันความลับ หรือข้อมูลเชิงเทคนิคที่ส่งผลกระทบต่อ การแลกเปล่ียนและขอรับการสนับสนุนข้อมูลผ่าน ความม่ันคง ซ่ึงต้องใช้ระยะเวลาในการหารือ พิจารณา ช่องทางความร่วมมือกับต่างประเทศ ตลอดจนควร และก�ำหนดส่วนงานท่ีสามารถเข้าถึงข้อมูลในแต่ละ ส่งเสริมให้มีการส�ำรวจส่วนงานความมั่นคงที่ต้องบริหาร ระดับช้ันความลับให้เป็นไปอย่างเหมาะสม นอกจากน้ี จัดการกับข้อมูลจ�ำนวนมาก และมีความจ�ำเป็นต้องใช้ ยังขาดแนวทางการพัฒนาเคร่ืองมือและเทคโนโลยีเพื่อ เครื่องมือเพ่ือให้สามารถด�ำเนินการตามกลไกท่ีเกี่ยวข้อง อ�ำนวยการด�ำเนินงานด้านความมั่นคงเฉพาะด้าน ได้อย่างทันท่วงที เพื่อพัฒนาเป็นโครงการท่ีส�ำคัญในปี ที่มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพอีกด้วย ต่อไป เช่น โครงการท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาระบบ ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ควรส่งเสริม สารสนเทศในการบริหารจัดการด้านความม่ันคง โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านความม่ันคงท่ีอยู่ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใ ห ้ เ ช่ื อ ม โ ย ง กั บ ร ะ บ บ ระหว่างการด�ำเนินการให้มีความต่อเน่ืองและสมบูรณ์ eMENSCR และพัฒนาเคร่ืองมือการค�ำนวณ/ ย่ิงขึ้น และควรให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาฐานข้อมูล การประเมินระดับความเส่ียงของภัยคุกคาม เป็นต้น ดา้ นความมน่ั คงเฉพาะด้าน อาทิ ฐานข้อมูลอาชญากรรม โดยยังคงมีความจ�ำเป็นในการพัฒนากลไกการบริหาร ฐานข้อมูลด้านการข่าว ฐานข้อมูลเพื่อรักษาผลประโยชน์ จัดการด้านความมั่นคง ให้เอื้อต่อการขับเคล่ือน แห่งชาติทางทะเล ฐานข้อมูลความมั่นคงจังหวัด การด�ำเนนิ การทเี่ ก่ียวขอ้ งต่อไป 87
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ 02 การตา่ งประเทศ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ฿ ยุ ทธ ศา ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยทุ .ธ..ศ..า.ส..ต..ร..ช..า.ต...ดิ .าน ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ความม่ันคง การพัฒนา การสรางโอกาส การสรางการเตบิ โต การปรับสมดุลและ การในสกราางรคแวขามงสขามันารถ และเสริมสรางศักยภาพ และความเสมอภาค บนคุณภาพชวี ิตท่เี ปน พัฒนา มิตรตอ ส่ิงแวดลอม ทรพั ยากรมนุษย ทางสังคม ระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ “พัฒนาตอ่ ยอดการต่างประเทศเพื่อใหไ้ ทยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยง่ั ยืน”
การต่างประเทศ 02 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (02) การต่างประเทศ มุ่งเน้นให้ไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและ มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยการด�ำเนินงานด้านการต่างประเทศให้ไทยมีความพร้อมและบทบาทเชิงรุก อย่างสร้างสรรค์เพื่อเป็นผู้เล่นส�ำคัญในเวทีโลก และมีความร่วมมือกับนานาชาติในลักษณะที่จะเกื้อหนุนต่อ ความก้าวหน้าในทุก ๆ ด้านของไทย อาทิ ความม่ันคง เศรษฐกิจ และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประชาคมโลก โดยมีเป้าหมายระดับประเด็นคือ การต่างประเทศไทย มีเอกภาพ ท�ำให้ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน มีมาตรฐานสากล และมเี กียรติภมู ิในประชาคมโลก การประเมนิ ผลลัพธ์การด�ำเนินการทส่ี ่งผลต่อการบรรลเุ ป้าหมาย 020001 การต่างประเทศไทย มีเอกภาพ ท�ำให้ จำ� นวนเงนิ ลงทนุ โดยตรงจากตา่ งประเทศของประเทศไทยรายปี (หน่วย: บาท) ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน มีมาตรฐานสากล และมีเกียรติภูมิใน 450,000.00 400,000.00 ประชาคมโลก เม่ือพิจารณาเทียบเคียงจาก 350,000.00 ระดับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ 300,000.00 (Foreign Direct Investment: FDI) ในปี 250,000.00 2561 มีจ�ำนวนเงินลงทุนโดยตรงจาก 200,000.00 ต่างประเทศของประเทศไทย 426,749.64 150,000.00 100,000.00 ลา้ นบาท หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 52.77 จาก 50,000.00 279,335.13 ล้านบาท ในปี 2560 สะทอ้ นให้ 0.00 2559 เห็นว่าประเทศไทยมีองค์ประกอบหลายมิติที่ 2560 2561 จ�ำนวนเงินลงทุนโดยตรงจากตา่ งประเทศของประเทศไทย สรา้ งความเชอื่ มนั่ ใหต้ า่ งประเทศเขา้ มาลงทนุ ที่มา: ธนาคารแหง่ ประเทศไทย อันเป็นผลมาจากการต่างประเทศไทยมีเอกภาพ จากการท�ำงานของทีมประเทศไทย ซึ่งเกิดจากการท�ำงานอย่าง บูรณาการร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ในการด�ำเนินการในหลายมิติเพื่อสร้างความเชื่อม่ันและยืนหยัดของไทยใน เวทีโลก ประกอบด้วย มิติด้านความม่ันคง ซ่ึงมีรายละเอียดปรากฏในแผนแม่บทประเด็นความม่ันคง แผนย่อย ที่ 4 ดา้ นการบูรณาการความร่วมมือดา้ นความม่ันคงกบั อาเซยี น และนานาชาติ รวมทัง้ องค์กรภาครัฐและมใิ ชภ่ าครฐั มิติด้านความมั่งค่ัง ประเทศไทยได้ด�ำเนิน ภาพรวมความรว่ มมือในอนุภูมิภาคและภมู ภิ าค นโยบายการทูตระดับภูมิภาคเชิงรุกและ ทั่วถึง เป็นผู้ริเร่ิมในการจัดตั้งกลุ่มภูมิภาค ท่ีเป็นความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ อาทิ ยทุ ธศาสตร์ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ อริ วดี – เจ้าพระยา – แม่โขง สมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความริเริ่มแห่ง อ่าวเบงกอลส�ำหรับความร่วมมือหลากหลาย สาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ กรอบความร่วมมือเอเชีย กรอบความร่วมมือแม่โขง - ล้านช้าง เพื่อมุ่งผลประโยชน์ แห่งชาติด้านเศรษฐกิจในทุกมิติ นอกจากน้ีประเทศไทยยังมีนโยบายท่ีมีความสอดคล้องและและสนับสนุนข้อริเร่ิม เส้นทางสายไหมและเส้นทางสายไหมทางทะเลศตวรรษท่ี 21 ในระดับประเทศ ได้แก่ การส่งเสริมระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออกและระเบียงเศรษฐกิจอ่ืน ๆ ในอนุภูมิภาค ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายระเบียงเศรษฐกิจจีน-คาบสมุทร อินโดจนี 89
02 การตา่ งประเทศ 020001 ทมี่ า: Sustainable Development Solutions Network: SDSN มิติด้านความย่ังยืน รายงาน Sustainable Development Report 2019 ซึ่งจัดท�ำโดยเครือข่ายการแก้ปัญหาเพ่ือ การพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Solutions Network: SDSN) และมูลนิธิแบร์เทลส์มันน์ ได้รายงานผลความก้าวหน้าการด�ำเนินงานเพ่ือบรรลุ SDGs ของแตล่ ะประเทศ ในปี 2562 ประเทศไทยถูกจดั อยู่ในอันดบั ที่ 40 จาก 162 ประเทศทั่วโลก ปรับตวั ดขี ้ึน 19 อนั ดบั จาก อนั ดบั ที่ 59 ในปี 2561 จาก 156 ประเทศ มิติการมีมาตรฐานสากล ประเทศไทยได้ด�ำเนินการผ่านกระบวนการต่างประเทศและการบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องในการส่งเสริมการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ซึ่งท�ำให้ประเทศไทยมีมาตรฐานสากล หรือผ่านมาตรฐาน สากลในปีที่ผ่านมา อาทิ การต่อตา้ นการคา้ มนุษย์ไทยไดร้ ับการปรบั อันดบั ดขี นึ้ จาก Tier 3 เป็น Tier 2 Watch List ใน ปี 2559 และเปน็ Tier 2 ในปี 2561 ต่อเน่ืองถงึ ปี 2562 องค์การการบนิ พลเรือนระหวา่ งประเทศปลดสถานะธงแดง ให้ไทยผ่านมาตรฐานการบินเต็มรูปแบบ สหภาพยุโรปปลดสถานะใบเหลืองของภาคประมงไทยต่อความก้าวหน้าของ การแก้ไขปัญหาการท�ำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) ของไทย สะท้อนให้เห็นถึง การไม่ละทิ้งและความพยายามในการปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อประเทศไทย ให้กับนานาประเทศ สถานะการคา้ มนุษย์ของไทยตามรายงาน TIP Report 1 THAILAND TIER RANKING BYY YEAR 2 2WL 3 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 ทม่ี า: TIP Report และมิติการมีเกียรติภูมิในประชาคมโลก ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งจากประเทศ สมาชกิ องคก์ ารสหประชาชาติ ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ สมาชิกคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม แห่งสหประชาชาติ วาระปี 2563 – 2565 ซึ่งเป็น 1 ใน 6 คณะมนตรีหลักของ สหประชาชาติที่มีภารกิจหลักในการเสนอ แ ล ะ ท บ ท ว น น โ ย บ า ย ที่ เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง กั บ การพัฒนาในทุกมิติ ได้รับเลือกตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่งสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลก ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห ่ ง ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ วาระปี 2562 – 2566 รวมถึงได้รับเลือกต้ังซ�้ำให้ด�ำรงต�ำแหน่งสมาชิกคณะมนตรีองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ วาระปี 2563 - 2564 เปน็ สมยั ท่ี 8 สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงความเชือ่ ม่ันจากนานาประเทศทมี่ ีตอ่ ประเทศไทย 90
การตา่ งประเทศ 02 นอกจากน้ี ยังคงมีประเด็นท้าทายท่ีต้องด�ำเนินการ ธ�ำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความม่ันคงของภูมิภาค รวมทั้ง เพื่อบรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทฯ ใน 6 มิติ ได้แก่ การรว่ มมอื ทางการพฒั นากบั ประเทศเพอื่ นบา้ น ภมู ภิ าค โลก ระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีความเช่ือมโยงข้อมูล รวมถงึ องค์กรภาครฐั และทีม่ ใิ ช่ภาครัฐ (2) ความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานรัฐและความซ้�ำซ้อนกันของภารกิจ เศรษฐกจิ และความรว่ มมอื เพอื่ การพฒั นาระหวา่ งประเทศ เป็นความท้าทายในมิติความมีเอกภาพ ระดับการแข่งขัน มีแนวทางในการพัฒนาที่เน้นเสริมสร้างความร่วมมือ ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศทเ่ี ขม้ ขน้ ขน้ึ ภาวะการชะลอตวั กับต่างประเทศในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพ้ืนฐาน ของเศรษฐกิจโลก สถานการณ์ความไม่สงบในภูมิภาค ของนวัตกรรม มุ่งกระจายความเจริญ เพิ่มโอกาส ต่าง ๆ รวมถึงโรคอุบัติใหม่เป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อ และลดอุปสรรคทางเศรษฐกิจ ให้ความส�ำคัญกับ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข ่ ง ขั น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น มิ ติ การขยายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาท่ีเป็นมิตรต่อ ความม่ังค่ัง สังคมยังขาดตระหนักถึงความส�ำคัญของ ส่ิงแวดล้อม รวมถึงเน้นการเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วน การพัฒนาที่ยั่งยืน มองเป็นเร่ืองไกลตัว ยังขาด เพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืนกับนานาประเทศ (3) การพัฒนา ก า ร บู ร ณ า ก า ร ร ่ ว ม กั น ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น ที่ เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและพันธกรณีระหว่าง ในเรื่องดังกล่าว และนิยามตัวชี้วัดการพัฒนาท่ีย่ังยืนที่ไม่ ประเทศ มีแนวทางในการพัฒนาที่เน้นการเสริมสร้าง ตรงกันระหว่างระดับชาติและระดับสากล ล้วนส่งผลต่อ ความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อแลกเปล่ียนองค์ความรู้ การด�ำเนินการในมิติความยั่งยืน ระดับความแตกต่าง และแนวปฏิบัติ เน้นผลักดันให้มีการจัดท�ำ ปรับปรุง ของมาตรฐานสากลและมาตรฐานภายในประเทศ และบังคับใช้กฎหมายและกฎระเบียบภายในประเทศให้ ท่ียังไม่สอดคล้องกัน การขาดการบูรณาการและ สอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศ และมีความเป็น ความเช่ือมโยงข้อมูลของหน่วยงานรัฐ ตลอดจนการขาด มาตรฐานสากลในทุกภาคส่วน (4) การส่งเสริมสถานะ การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง ยังเป็นความท้าทาย และบทบาทของประเทศไทยในประชาคมโลก มีแนวทาง ในมิติการมีมาตรฐานสากล การส่งเสริมให้คนไทยมี ในการพัฒนาท่ีเน้นสร้างเกียรติภูมิและอ�ำนาจต่อรอง ความสามารถและศักยภาพเป็นที่ยอมรับในต่างประเทศ เสริมสร้างการใช้อ�ำนาจแบบนุ่มนวลอย่างเป็นระบบ และองค์กรความรู้ของไทยเป็นที่ชื่นชมในเวทีโลก ยังคง ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี ยกระดับ เป็นความท้าทายในมิติการมีเกียรติภูมิในประชาคมโลก การส่งเสริมเอกลักษณ์ของไทย รักษาสถานะหนึ่งใน และมิตคิ วามมั่นคง ซง่ึ มรี ายละเอยี ดปรากฎในแผนแมบ่ ท ศูนย์กลางการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพของโลก และส่งเสริม ประเด็นความม่ันคง แผนย่อยท่ี 4 ด้านการบูรณาการ การเป็นจุดหมายของการจัดประชุม/กิจกรรมระหว่าง ความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียน และนานาชาติ ประเทศในภูมิภาค รวมถึงเน้นส่งเสริมศักยภาพและ รวมทั้งองค์กรภาครัฐและมใิ ชภ่ าครฐั เสริมสร้างขีดความสามารถให้แก่คนไทยท้ังในประเทศ แผนแมบ่ ทฯ ประเดน็ (02) การตา่ งประเทศ ประกอบดว้ ย และต่างประเทศ และ (5) การตา่ งประเทศมีเอกภาพและ 5 แผนแมบ่ ทยอ่ ย สรปุ สาระสำ� คญั ได้ ดงั น้ี (1) ความรว่ มมอื บูรณาการ มีแนวทางในการพัฒนาท่ีเน้นส่งเสริม ดา้ นความม่นั คงระหว่างประเทศ มแี นวทางในการพัฒนา การบริหารจัดการและด�ำเนินงานด้านการต่างประเทศ ท่ีเน้นการเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อม ของส่วนราชการไทยอย่างมีประสิทธิภาพ บูรณาการ ระหว่างประเทศ ให้ความส�ำคัญกับการเสริมสร้างและ และมีธรรมาภิบาล ให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของ ภาคีพฒั นาท้งั ในประเทศและในต่างประเทศ 020201 020202 020301 020401 020501 91
02 การต่างประเทศ แผนแมบ่ ทย่อย ความรว่ มมือดา้ นเศรษฐกจิ และความรว่ มมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ เปา้ หมาย 020201 ประเทศไทยเปน็ ห02น020งึ่ 1 ในศนู ยก์ ลางการคา้ การลงทนุ และควเหลาอื มง เชอ่ื มโยงทสี่ ำ� คญั ใน รดต้า่านงเปศรรษะเฐทกศิจและความรว่ มมอื ภเพ่อืมู กาภิรพฒัานคาปเรอะเทเศชยี โดยมรี ะบบเศรษฐกจิ อย ประเทศไทยเป็นหนึ่งในศทูนย์กเี่ ลนางน้ทางนกาวรค้ตาั กากรลรงทรุน มและดกาขีรบนรึ้ ิการใน จทเี่ นน้ การใช้ประโยชนจ์ ากนวัตกรรม มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการให้บรกิ ารสุขภาพ นภายกรมบุนางวาิใรพกกในมริกหาาทปตทา้บรรา่รารั้งมครงใะงเีคิษ้ากนปปชรวาัทภ็นาระารอเขมปสคโ/มูคคะมหเดปอ�ุตุอำมว่งริภมเลสวยง้ทนาสาะืสองโาัสั่มาคมมลหตู่เศงัากคกงเพก์ ทรี กหตพ่ปเาไมางแระันอทศไองรการรราลบดเธปไเนรยะะ้รชอยะ์กป้ทบ์ดเรหรยีใทมกปัทบมเ็ย้นมาหะวา้ังศขปีรศมเนมอ่าศเรนญอรอะทีรรงกเีคาูน้ีษคกปงะะ่ปรเเศหาวพวยตทภฐบเ็นะรรททาาาก์่ื่กอาะาบดศเรรมมศ่ีกมงจิพใเะลัเบไทมหเคษปศีตทบทแาชภศู่คั่้บนรทตร่งเ่ีอบล่ือยนษูจา้มะรคกราะมมเเทัดรน้ศฐิภเใางปเ่ันาอทหลี่ดตกศรนราต็ขุตนุเษี้้ัจิงศมปรใควปครอสสหทษหฐ่ัทงตัรใ้าวฐางากคี่เ้บะนฐ่ีกจนหาตนนาหิจั่งกเมระรไึ่มน่าง้ันทกกนทิจริพกรงใางสยกศรวมชปน่วยยาราิ่ัรางนัตไดีวอ้มรนรปศรมทยกคภีขสะมซใมใรู ืนนอยรหช้เาึ้นุขาขึ่งะือทารมยป้แญพกอเภกมหมทศีค์ กรลงตาท่ราัทบาีมทศตะวระละอ้ พ่ีสรี่มไโาไ่ีา่ามดดบงาย�ทำทคีงตมแีตอับ�ำงครชกปยยวรมล่อาเกภิกันญาราเนฐั่ศะนมปาูมะมาร์จกาขินเัยาค็รนเริทภาพศานอทตปกงคกขหารร่รอสงศรจัานคอษ้ล้อนามภงฐาทจรใวมงดฐเึ่ง่ัางกูมนจี่เยัทตั ไกใกดครนหลิภนะทสไก่ียิะ้จาา่ังสทลราศำ�รยนวรดชินแ่วยค่คยราูนลแีวับมลคมนั่ญังคแยรภซงมกแ้ะายี้จ์กงวลึ่ทงาือแลืามปนงตลกาะะพุกนลราะีเร้อมาาสกกนทักบมะสะรงงม่งาียี่ีีดแนกผีรเรกอลับสศลตันบะถสึกใิภทดีคหนยษูมว้ ราุวน้กาิใยงภาใานกหมารรกปา้บพวตเารรชมรร่ทาคะ่ื อมิษทงา้ชาีคปมัทั้งงราวเกโร/ะคปายอะาหมม็นงงรเวทโสคทเคล่ามัม์กศี่ สลงกือพรไ�ัำสปไทรงันคดเระตยธั้ะญแหอก์ ทเลวใมทบัรั้งนะ่าีเ์ดศปนงอกภ้ารี้ปกาูคมนะเรรพภวิเภกะเทื่าอาปเาาศทพมใร็คนหคเศเเชรกคู่้ทบจอะื่อษ้าัด�รำเบมทชตรใตบ่ัหนียด่ีลร้ังีุ้ เศรษฐกิจนวตั กรรมทม่ี ีความพรอ้ มดา้ นแรงงานฝมี ือและการวจิ ยั และพัฒนา หมาย เมื่อ จานวนเงินลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศของประเทศไทย นธ์และความ จำ� นวนเงินลงทุนโดยตรงจากตรา่ างปยประี เ(ทหศนขว่ อยง:ปลรา้ะนเทบศาไททย) รายปี (หน่วย: ล้านบาท) ามเชื่อมโยง 500,000.00 สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เมื่อ าคี ภูมิภาค พิ จ า ร ณ า จ า ก ร ะ ดั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ ์ แ ล ะ นวโน้มที่จะ 400,000.00 ความร่วมมอื ระหว่างประเทศ ความเชื่อมโยง และนวัตกรรมในกรอบทวิภาคี ภูมิภาค และ ย์กลางทาง 300,000.00 พหุภาคี พบว่าไทยมีแนวโน้มที่จะบรรลุ คเอเชีย ซ่ึง 200,000.00 เป้าหมายการเป็นศูนย์กลางทางการค้า ทเี่ กี่ยวเน่ือง 100,000.00 การลงทุนของภูมิภาคเอเชีย ซึ่งสามารถ ยตรงจาก สะท้อนผลจากรายงานที่เกี่ยวเนื่อง ได้แก่ 279,335.13 0.00 ระดับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ เพ่ิมขึ้นจาก 279,335.13 ล้านบาท ในปี ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 2560 เป็น 426,749.64 ล้านบาท ในปี 2561 ม4ท2ขย6้ึน,,7ร2้4อ59ย6.3ล6)ะ4โดยทใ่มีนาป: ธี น2าค5า6รแ1หจง่มาปนีโรวคะนเเทรงศนิงไลกทงยาททรนุ ี่มโตดา่ยา: ตธงนรชงาจคาาาตกรติแท่าหงี่ยง่ปป่ืนรระขะเทเอทศศขรไอับทงยปกราะเรทสศไ่งทเยส(รลา้ิมนกบาาทร)ลงทุนใน หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 52.77 (ธนาคารแห่ง จร 14 โครปงกราะรเทมศูลไคท่ายเง,ิน2ล5ง6ท3ุน) 3โด,5ย8ใ7นลป้าี น2บ5า6ท1 เมพีโิ่มคจรางกกปาีร2ต5่า6ง0ชาทต่ีมิที 7ี่ย่ืนโคขรองรกับารการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมการแพทย์ ท หรือเพิ่มขคน้ึรบร้อวงยจลระ1643.โ0ค5รงใกนาขรณมะลูทคี่มา่ ีโเคงนริ งลกงาทรนุ ต่า3ง,ช58าต7ิยล่ืนา้ ขนอบราบั ทกาเพรสมิ่ นจับากสปนี ุน2ก5า6ร0 ทมี่ ี 7 โครงการ มลู คา่ เงนิ ลงทนุ 2,200 ลา้ นบาท ท่ียวในปี 2ห56ร1ือจเพานิ่มวขนึ้น1ร0้อโยคลรงะกา6ร3ม.0ลู 5ค่าเใงนินขลณงทะุนท1ี่ม4ีโ,0ค8ร1งกล้านรบตา่าทงชลาดตลิงยจ่ืนาขกปอีรับการสนับสนุนการลงทุนในอุตสาหกรรม าร มูลค่าเกงาินรลทง่อทงุเนท่ีย1ว7ใ,9น8ป3ี 2ล5้า6น1บาจท�ำนหวนรือ1ล0ดลโคงรง้อกยาลระม2ูล1ค.7่า0เงิน(สลางนทักุนงา1น4,081 ล้านบาท ลดลงจากปี 2560 ที่มีจ�ำนวน ทุน, 2562) นอกจากนั้น ดัชนีนวัตกรรมโลก หรือ Global Innovation Index (GII) ฒนานวัตกรรมของไทยที่ดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง จากเดิมท่ีอยู่ในอันดับท่ี 51 ในปี 2560 25691 2และ 2562 ตามลาดับ (Cornell University, INSEAD, and WIPO, 2019)
การตา่ งประเทศ 02 020201 15 โครงการ มลู คา่ เงนิ ลงทนุ 17,983 ลา้ นบาท หรอื ลดลง ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ อริ วดี - เจ้าพระยา – แม่โขง ร้อยละ 21.70 (ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลส�ำหรับความร่วมมือ การลงทุน, 2562) นอกจากนั้น ดัชนีนวัตกรรมโลก หรือ หลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ การพัฒนา Global Innovation Index (GII) สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ระดับ เขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย และ การพัฒนานวัตกรรมของไทยท่ีดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง จากเดิมที่อยู่ในอันดับท่ี 51 ในปี 2560 เป็นอันดับที่ 44 โดยรัฐบาลได้ส่งเสริมความพร้อมของต่างประเทศให้เข้า และ 43 ในปี 2561 และ 2562 ตามล�ำดับ (Cornell มาร่วมมือกับประเทศไทย อาทิ การขยายเครือข่ายกับ University, INSEAD, and WIPO, 2019) โดย ภาคเอกชนต่างประเทศเพ่ือเชิญชวนนักลงทุนต่างชาติ ตัวช้ีวัดย่อยด้านศักยภาพทางธุรกิจปรับตัวดีขึ้นจาก มาลงทุนในสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve อันดับที่ 62 ในปี 2561 เป็นอันดับที่ 60 ในปี 2562 Industries) ของไทย โดยเฉพาะในเขตเศรษฐกิจ สะท้อนถึงความพร้อมในการประกอบกิจการของ ภาคตะวันออก ซ่ึงมีการส่งเสริมระบบเศรษฐกิจ ภาคเอกชน อย่างไรก็ตาม ตัวชี้วัดย่อยด้านศักยภาพ นวัตกรรม ด้วยการพัฒนาพ้ืนท่ีเขตนวัตกรรมระเบียง การตลาดปรับตัวแย่ลงจากอันดับที่ 28 ในปี 2561 เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic เป็นอันดับที่ 32 ในปี 2562 เน่ืองจากการแข่งขัน Corridor of Innovation: EECi) และเขตส่งเสริม ทางการค้าของประเทศอน่ื ๆ โดยเฉพาะในภมู ิภาคเอเชีย อุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล เพื่อดึงดูดผู้ประกอบ เพ่ิมสูงขึ้น ซึ่งเป็นความท้าทายท่ีส�ำคัญของไทยท่ีจะต้อง การท่ีใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเข้ามาลงทุนในไทย รวมทั้งมี เร่งด�ำเนินมาตรการเพ่ือดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติใน มาตรการส่งเสริมการลงทุนต่าง ๆ ด้วยการให้แรงจูงใจ สภาวะการแขง่ ขันทเ่ี ขม้ ขน้ ในปัจจุบนั ทางภาษี อาทิ การน�ำรายจ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาไป การดำ� เนินงานท่ีผ่านมา ในช่วงปี 2561 – 2562 รัฐบาล ลดหย่อนภาษีนิติบุคคลหรือภาษีเงินได้ และที่ไม่ใช่ภาษี ได้ด�ำเนินการเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจระหว่างประเทศทั้งใน อาทิ การผลิตแรงงานทักษะสูงเพื่อตอบสนองต่อ ระดับทวิภาคีและพหุภาคี ผ่านแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ความต้องการของตลาดที่เน้นอุตสาหกรรมเป้าหมาย อาทิ การส่งเสริมตลาดเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสด้านการค้า นอกจากนี้ รัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ไทยเป็นประเทศ การลงทุน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และ แห่งนวัตกรรม ที่ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการโดยเฉพาะ ก า ร ข ย า ย เ ว ล า เ ป ิ ด ท� ำ ก า ร ด ่ า น ศุ ล ก า ก ร ส ะ เ ด า - ชาวต่างชาติ เข้ามาลงทุนในไทยเพ่ือพัฒนานวัตกรรม บูกิตกายูฮิตัม เป็น 24 ช่ัวโมง ซ่ึงท�ำให้ปริมาณการค้า และยกระดับสินค้าตามมาตรฐานสากล ซ่ึงจะเป็น การลงทุนบริเวณชายแดนของท้ังไทยและมาเลเซีย การขับเคล่ือนประเทศไปสู่ระบบเศรษฐกิจนวัตกรรม เพ่ิมสูงขึ้น นอกจากนี้ ได้มีการส่งเสริมความร่วมมือ ในอีกทางหน่ึง สอดคล้องรับกับการให้ความส�ำคัญกับ ในกรอบภมู ิภาคและอนภุ ูมภิ าค เชน่ ระดบั ภมู ิภาค ไดแ้ ก่ ความสัมพันธ์กับประเทศคู่ค้าที่ดี ความเชื่อมั่นของ กรอบความรว่ มมอื อาเซยี น ทไี่ ทยเปน็ ประธานในปี 2562 ต่างประเทศที่มีต่อมาตรฐานสินค้าและบริการของไทย แ ล ะ ก ร อ บ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ภู มิ ภ า ค ความมีเสถียรภาพทางการเมือง และไทยมีระบบ เอเชีย-แปซิฟิก และระดับอนุภูมิภาค ได้แก่ ยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจนวัตกรรมท่ีมีความพร้อมด้านแรงงานฝีมือ และการวิจัยและพัฒนา 93
02 การตา่ งประเทศ 020201 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ที่ ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย ข้อเสนอแนะเพื่อการบรรลุเป้าหมาย การท่ีจะสร้างให้ การด�ำเนินการเพ่ือส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางทาง ไทยเป็นศูนย์กลางทางการค้าการลงทุนในด้านการให้ การค้าการลงทุนของภูมิภาคนั้น มีปัญหาและอุปสรรคที่ บริการสุขภาพ การท่องเท่ียว และการศึกษาของภูมิภาค ส�ำคญั คอื ระดับการแข่งขนั ทางการค้าระหวา่ งประเทศที่ เอเชีย รวมทั้งการเป็นที่ตั้งของส�ำนักงานใหญ่ระดับ เข้มข้นขึ้น โดยเฉพาะประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียนท่ีได้ ภูมิภาคของบริษัท/องค์กรระหว่างประเทศน้ัน นอกจาก ยกระดับโครงสร้างพ้ืนฐานและพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ จะขึ้นกับระดับศักยภาพภายในประเทศแล้ว ยังข้ึนกับ พิเศษเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ ท�ำให้ระดับ สถานการณ์และศักยภาพทางการแข่งขันของประเทศ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของไทยอาจเติบโตใน คู่แข่งอื่น ๆ ด้วย ทั้งน้ี หากต้องการให้บรรลุตาม อัตราท่ีลดลง นอกจากน้ัน ภาวะการชะลอตัวของ เป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ หน่วยงานรัฐและภาคส่วนอื่น ๆ เศรษฐกิจโลก อันเป็นผลมาจากสงครามการค้าระหว่าง จะต้องด�ำเนินการเชิงรุกเพ่ือสร้างเศรษฐกิจนวัตกรรมให้ สาธารณรัฐประชาชนจีนและสหรัฐอเมริกา สถานการณ์ เกิดขึ้นอย่างแท้จริง เน่ืองจากนวัตกรรมจะเป็นปัจจัย ความไมส่ งบในอหิ รา่ นและรฐั ปาเลสไตน์ และโรคอบุ ตั ใิ หม่ ส�ำคัญที่จะดึงดูดผู้ประกอบการท่ีใช้เทคโนโลยีข้ันสูง ยังส่งผลโดยตรงต่อความสามารถในการแข่งขันของ เข้ามาลงทุนในไทย อันจะก่อให้เกิดการถ่ายทอดและ ประเทศ โดยเฉพาะในภาคการท่องเท่ียวและบริการที่ ต่อยอดการใช้เทคโนโลยี ในการพัฒนาประเทศและ หดตัวลงอย่างเห็นได้ชัด นับเป็นอุปสรรคส�ำคัญที่จะ สร้างรายได้ให้กับประชาชนไทยอย่างทั่วถึง รวมทั้ง ท�ำให้การด�ำเนินงานของหน่วยงานรัฐตามกรอบ จะต้องยกระดับศักยภาพและมาตรฐานสากลของธุรกิจ ความร่วมมือระหว่างประเทศต่าง ๆ ไม่บรรลุเป้าหมาย บริการท่ีไทยต้องการเป็นศูนย์กลางอย่างเร่งด่วน ตามท่กี ำ� หนดไวไ้ ด้ ทั้งธุรกิจบริการทางการแพทย์/สาธารณสุข โรงแรมท่ีพัก ร้านอาหาร สปา โรงเรยี น สถานศึกษา และมหาวิทยาลัย 94
การต่างประเทศ 02 แผนแม่บทย่อย ความรว่ มมอื ด้านเศรษฐกิจและ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหวา่ งประเทศ เปา้ หมาย ประเทศไทยเปน็ หนุ้ สว่ นการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื 020202 กบั ตา่ งประเทศ เพื่อรว่ มกนั บรรลเุ ปา้ หมาย การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) มุ่งเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืนกับนานาประเทศท้ังในระดับทวิภาคีและพหุภาคี สร้างความสมดุลระหว่างการเติบโตและความเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และมีคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาท่ีมี ภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวจะส่งผลให้การต่างประเทศไทย มีเอกภาพ ท�ำให้ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน มีมาตรฐานสากล และมีเกียรติภูมิในประชาคมโลกได้ ทั้งนี้ ความพร้อมของต่างประเทศท่ีจะร่วมมือกันด�ำเนินการ ความตระหนักของทุกภาคส่วน และการบูรณาการ ขับเคลื่อนการด�ำเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จะเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีจะส่งผลต่อการบรรลุ เป้าหมายดังกล่าวไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เมื่อพิจารณาระดับ สถานะการพัฒนาทยี่ ่งั ยนื ของประเทศไทย พ.ศ. 2562 ความส�ำเร็จของบทบาทไทยในการเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาท่ี ยงั่ ยนื กบั ตา่ งประเทศ รายงาน Sustainable Development Report 2019 ซ่ึงจัดท�ำโดยเครือข่ายการแก้ปัญหา เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน และมูลนิธิแบร์เทลส์มันน์ ได้รายงาน ผลความก้าวหน้าการด�ำเนินงานเพื่อบรรลุ SDGs ของแต่ละ ประเทศ โดยใช้ตัวช้ีวัดท่ีครอบคลุมท้ัง 17 เป้าหมายหลัก ซ่ึงในปี 2562 ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับท่ี 40 จาก 162 ประเทศทัว่ โลก ปรบั ตัวดขี ้นึ จากอนั ดับท่ี 59 ในปี 2561 หรือดีข้ึน 19 อันดับ นอกจากนั้น ยังได้วัดความก้าวหน้า การด�ำเนินงานของแต่ละประเทศด้วยดัชนีคะแนนการพัฒนา ทีม่ า: Sustainable Development Solutions Network: SDSN ที่ยั่งยืน ซึ่งในปี 2562 ประเทศไทยมี 73.0 คะแนน ปรับตัวดีขึ้นจากปีก่อนหน้าที่มี 69.2 คะแนน สะท้อนให้เห็นถึง ความก้าวหน้าในการขับเคลื่อน SDGs อย่างมีนัยส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีประเด็นท่ีมีความท้าทาย ที่ควรให้ความส�ำคัญและด�ำเนินการเร่งด่วน ได้แก่ เป้าหมายหลักท่ี 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี เป้าหมาย หลักที่ 10 การลดความเหลือ่ มลำ�้ ทั้งภายในและระหวา่ งประเทศ เปา้ หมายหลักที่ 13 การรับมอื การเปลย่ี นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ และเป้าหมายหลกั ที่ 14 การใชป้ ระโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล 95
02 การต่างประเทศ 020202 การด�ำเนินงานท่ีผ่านมา ในช่วงปี 2561 – 2562 ป ร ะ เ ด็ น ท ้ า ท า ย ท่ี ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป ้ า ห ม า ย คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ซึ่งมี การด�ำเนินการเพ่ือส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นหุ้นส่วน นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ได้ขับเคล่ือนการด�ำเนินการ การพัฒนาที่ยั่งยืนกับต่างประเทศ เพื่อร่วมกันบรรลุ เพือ่ ใหบ้ รรลุ SDGs ภายในปี 2573 โดยการประชุม กพย. SDGs มีปัญหาและอุปสรรคท่ีส�ำคัญ ได้แก่ การที่ ครงั้ ที่ 1/2562 เมอ่ื วนั ที่ 19 ธนั วาคม 2562 คณะกรรมการฯ คนกลมุ่ ใหญ่ในสงั คมยังขาดความตระหนักถงึ ความสำ� คญั ได้ให้ความเห็นชอบแผนการขับเคลื่อนเป้าหมาย จ�ำเป็นของ SDGs โดยมองว่าการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น การพัฒนาท่ีย่ังยืนส�ำหรับประเทศไทย ประกอบด้วย เป็นเร่ืองไกลตัว หรือเป็นเร่ืองของหน่วยงานรัฐ 6 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การสร้างความตระหนักรู้ แต่เพียงเท่านั้น การขาดการบูรณาการร่วมกันของ (2) การบูรณาการเชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน หน่วยงานรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมองว่า กับยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดับท่ี 2 และแผนระดับท่ี 3 เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานเจ้าภาพในแต่ละ (3) กลไกการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนโดย เป้าหมายหลักเท่านั้น ไม่สนับสนุนการขับเคล่ือนตาม คณะอนุกรรมการ 4 คณะ (4) การจัดท�ำโครงการด้วย บทบาทหน้าท่ีที่ควรจะเป็น ท�ำให้ขาดความเป็นเอกภาพ หลักการความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (5) การสร้าง ในการด�ำเนินงาน รวมถึงนิยามตัวช้ีวัด SDGs ท่ียังไม่ เครือข่ายกับภาคีการพัฒนา และ (6) การติดตามผ่าน ตรงกันระหว่างระดับชาติและระดับสากล ท�ำให้เกิด ระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลแห่งชาติ (eMENSCR) ทงั้ น้ี ค ว า ม เ ข ้ า ใ จ ท่ี ค ล า ด เ ค ล่ื อ น ใ น ก า ร เ ก็ บ ข ้ อ มู ล แ ล ะ เพอื่ สรา้ งหนุ้ สว่ นการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื รว่ มกบั ภาคตี า่ งประเทศ การรายงานสถิติ ไทยได้บริจาคให้กับกองทุนพัฒนาเอเชีย จ�ำนวน ข้อเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย หน่วยงานรัฐและ 33,972,000 บาท และบริจาคเงินให้สมาคมพัฒนาการ ภาคีเครือข่ายควรด�ำเนินการตามแผนการขับเคล่ือน ระหวา่ งประเทศ ภายใต้ธนาคารโลก จ�ำนวน 33,000,000 เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนส�ำหรับประเทศไทยท้ัง บาท ในปี 2562 นอกจากน้ัน ไทยในฐานะประธาน 6 ข้ันตอน โดยควรเร่งสร้างความตระหนักรู้ให้เกิดขึ้นกับ อาเซียนในปี 2562 ได้ด�ำเนินการภายใต้ธีม ร่วมมือ คนท้ังประเทศ พิจารณาจัดท�ำส่ือสาธารณะเพื่อเผยแพร่ ร่วมใจ ก้าวไกล ย่ังยืน โดยได้จัดต้ังศูนย์อาเซียนเพื่อ ประชาสมั พนั ธท์ เ่ี ขา้ ถงึ ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ทงั้ สอ่ื รปู แบบเดมิ การศึกษาและการหารือด้านการพัฒนาที่ย่ังยืน เพ่ือเพ่ิม และส่ือรูปแบบใหม่ที่สร้างสรรค์และเข้าใจได้ รวมทั้งยัง ขีดความสามารถของบุคลากร และเป็นเวทีเกี่ยวกับ ควรเช่ือมโยงโครงการท่ีด�ำเนินการเพื่อตอบโจทย์ SDGs การพัฒนาที่ยั่งยืนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน และ และตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ชาติเข้าด้วยกัน ใช้ระบบ ระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา ซึ่งสามารถ การติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) สนับสนุนความร่วมมือใต้-ใต้ และการประสานงาน เป็นหลักในการติดตามความก้าวหน้าการบรรลุ SDGs ระหว่างประเทศอาเซยี นในอนาคต รวมทัง้ จัดการประชมุ ซ่ึงจะช่วยท�ำให้เกิดความเป็นเอกภาพในการด�ำเนินการ คณะท�ำงานร่วมระหว่างภาคประชาสังคมและภาครัฐ ของหน่วยงานรัฐ นอกจากนี้ รัฐบาลควรพิจารณาการจัด เพ่ือขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน พร้อมทั้ง ตั้งรางวลั Thailand SDGs Award เพอ่ื มอบรางวลั ใหก้ บั สนับสนุนการปฏิรูประบบงานด้านการพัฒนาของ บคุ คล/กลุ่มบุคคล องค์การต่าง ๆ จากทุกภาคส่วนที่มี สหประชาชาติ ซึ่งจะเป็นส่วนส�ำคัญในการสร้าง ผลงานโดดเด่นด้านการส่งเสริมการบรรลุ SDGs หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน ท่ีสอดคล้องและ เชน่ เดียวกบั ท่ีญปี่ ุน่ มีรางวัล Japan SDGs Award ตั้งแต่ เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้เกิดความร่วมมือ ปี 2560 ระหว่างไทยกบั ตา่ งประเทศ 96
การต่างประเทศ 02 แผนแม่บทยอ่ ย การพัฒนาที่สอดคลอ้ ง 020301 กบั มาตรฐานสากลและพันธกรณีระหวา่ งประเทศ เป้าหมาย ประเทศไทยมกี ารพัฒนาทสี่ อดคลอ้ ง กบั มาตรฐานสากลในทกุ มติ แิ ละสามารถ มบี ทบาทเชงิ รกุ ในการรว่ มกำ� หนด มาตรฐานสากลเพ่ิมขนึ้ เนื่องจากสังคมโลกในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีความเชื่อมโยงใกล้ชิดและการแข่งขันที่สูงมากขึ้น เรื่อย ๆ ส่งผลให้การพัฒนาอย่างเป็นเอกเทศจากกฎเกณฑ์และมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับอย่างสากลเป็นเร่ืองท่ี เป็นไปได้ยาก ซ่ึงประเทศไทยจะต้องปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบในประเทศให้เป็นไปตามมาตรฐานและ พันธกรณีระหว่างประเทศ ซึ่งการด�ำเนินการเหล่านี้จะส่งผลให้การต่างประเทศไทย มีเอกภาพ ท�ำให้ประเทศไทยมี ความมน่ั คง มัง่ คงั่ ย่งั ยนื มมี าตรฐานสากล และมเี กยี รติภูมิในประชาคมโลกได้ ท้งั นี้ การบรรลเุ ป้าหมายประเทศไทยมี การพัฒนาที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลในทุกมิติและสามารถมีบทบาทเชิงรุกในการร่วมก�ำหนดมาตรฐานสากล เพ่ิมข้ึน จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการบูรณาการระหว่างส่วนราชการในการอนุวัติพันธกรณีระหว่างประเทศของไทย/ มาตรฐานสากลที่ส�ำคัญต่อผลประโยชน์ของประเทศ ความตระหนักและศักยภาพของส่วนราชการไทย และกฎระเบียบภายในทชี่ ดั เจนสอดคลอ้ งกบั พนั ธกรณรี ะหว่างประเทศ/มาตรฐานสากล สถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย เมื่อพิจารณา สถานะการค้ามนุษยข์ องไทยตามรายงาน TIP Report ระดับความร่วมมือกับต่างประเทศในการปรับปรุง/ พัฒนามาตรฐานภายในประเทศ และอันดับ/ 1 THAILAND TIER RANKING BYY YEAR 2 2WL ค ะ แ น น ข อ ง ไ ท ย ใ น ดั ช นี ส า ก ล ใ น ป ร ะ เ ด็ น ที่ มี 3 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 นัยส�ำคัญต่อผลประโยชน์ของชาติ ในช่วงที่ผ่านมา ประเทศไทยได้ด�ำเนินการตามพันธกรณีระหว่าง ทมี่ า: TIP Report ประเทศและมาตรฐานสากลท่สี �ำคญั ในหลายดา้ น อาทิ ในด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์ ไทยได้รับการปรบั อนั ดับดขี น้ึ จาก Tier 3 เป็น Tier 2 Watch List ในปี 2559 และเปน็ Tier 2 ในปี 2561 ต่อเนอื่ งถงึ ปี 2562 ซงึ่ เปน็ อันดับทีด่ ีที่สดุ ในรอบ 9 ปที ผี่ า่ นมา ตามรายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ยข์ องสหรฐั อเมรกิ า ในดา้ นการบนิ ระหวา่ งประเทศ ไทยไดร้ บั การปลดธงแดงจากองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ เม่ือเดือนตุลาคม 2560 ท�ำให้ลดผลกระทบที่จะเกิดข้ึน กับธุรกิจการบินระหว่างประเทศ และในด้านการประมง ไทยได้รับการปลดสถานะใบเหลืองของภาคการประมงไทย จากสหภาพยุโรป ซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงความก้าวหน้าของการแก้ไขปัญหาการท�ำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม ซ่ึงได้มีการพัฒนาผ่านกลไกการแก้ไขปัญหามาอย่างต่อเน่ืองนับตั้งแต่ได้รับสถานะใบเหลืองเม่ือปี 2558 ซึ่งการปลดสถานะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาภาคการประมงของไทยอย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตาม ยังมีบางประเด็นท่ีไทยต้องเร่งด�ำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศ อาทิ การทบทวนนโยบายและ มาตรการในการก�ำกับตรวจสอบเก่ียวกับนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและเทคโนโลยีทางการเงิน เพื่อป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธ ท่ีมอี านุภาพทำ� ลายลา้ งสงู 97
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 460
Pages: