เอกสารประกอบการพิจารณา ตามระเบยี บวาระการประชุม เร่อื งทปี่ ระธาน จะแจ้งตอ่ ทีป่ ระชุม เล่มที่ 9 กลมุ่ งานระเบยี บวาระ สานักการประชมุ
คณะกรรมการกํากบั กจิ การพลังงาน และสาํ นกั งานคณะกรรมการกาํ กบั กิจการพลังงาน ISBN 978-616-92702-3-2 รายงานประจำปี งบประมาณ 2562
ทรงพระเจรญิ ดว้ ยเกล้าดว้ ยกระหม่อม ขอเดชะ ขา้ พระพุทธเจ้า คณะกรรมการกํากับกจิ การพลังงาน คณะผ้บู ริหาร พนักงาน และลูกจ้างสํานกั งานคณะกรรมการกํากบั กิจการพลังงาน
รายงานประจ�าปีงบประมาณ 2562 คณะกรรมการก�ากับกจิ การพลงั งาน และ ส�านักงานคณะกรรมการกา� กบั กิจการพลงั งาน Call Center: 1204, โทร: 0 2207 3599 แฟกซ:์ 0 2207 3502, 0 2207 3506 อเี มล: [email protected] www.erc.or.th ปีที่พิมพ์ 2563 คร้ังที่พิมพ์ 1 ISBN: 978-616-92702-3-2 จัดท�ำโดย ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (ส�ำนักงำน กกพ.) 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ช้ัน 19 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
สารบญั 6 สารจากประธานกรรมการ 28 ผลการด�าเนินงานการก�ากับ 100 กิจกรรมการด�าเนินงาน กกพ. สัญจร กิจกรรมเพื่อสังคม และ ก�ากับกิจการพลังงาน การประกอบกิจการพลังงาน กิจกรรมอาสาและพัฒนาองค์กร ประจ�าปีงบประมาณ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 8 สารจากเลขาธิการ พ.ศ. 2562 ส�านักงานคณะกรรมการ 30 1 ก�ากับกิจการพลังงาน 106 แผนการด�าเนินงาน ก�ากับกิจการพลังงาน เป็นเลิศ ส�านักงานคณะกรรมการ 10 วิสัยทัศน์ พันธกิจ 32 2 ส่งเสริมการแข่งขัน ก�ากับกิจการพลังงาน และค่านิยมองค์กร ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส�านักงานคณะกรรมการ ก�ากับกิจการพลังงาน และก้าวทันนวัตกรรม 118 แผนการด�าเนินงาน พลังงาน 12 แผนปฏิบัติการด้านการก�ากับ 45 3 พัฒนาการมีส่วนร่วม กองทุนพัฒนาไฟฟ้า กิจการพลังงาน ระยะท่ี 4 ประจ�าปีงบประมาณ (พ.ศ 2563-2565) และส่ือสารงานก�ากับ พ.ศ. 2563 14 โครงสร้างการบริหารงาน กิจการพลังงานให้เข้าถึง ส�านักงานคณะกรรมการ ก�ากับกิจการพลังงาน 48 4 องค์กรมีสมรรถนะสูง 120 ภาคผนวก 16 คณะกรรมการก�ากับกิจการ เป็นมืออาชีพ 122 ภาคผนวก 1 พลังงาน คณะผู้บริหาร สรุปรายงาน ส�านักงานคณะกรรมการ ก�ากับกิจการพลังงาน 50 ผลการด�าเนินงาน การประชุมคณะกรรมการ ก�ากับกิจการพลังงาน 22 สถานการณ์พลังงาน กองทุนพัฒนาไฟฟ้า ประจ�าปีงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562 ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 26 แนวทางการก�ากับกิจการ พ.ศ. 2562 124 ภาคผนวก 2 พลังงาน ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 66 งบการเงินและบัญชีท�าการ สรุปผลการประชุม ของส�านักงาน กกพ. และ คณะอนุกรรมการ กองทุนพัฒนาไฟฟ้า ตามมาตรา 24 ประจ�าปีงบประมาณ แห่งพระราชบัญญัติการ พ.ศ. 2562 ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550
ประธาน กรรมการกา� กบั กจิ การพลงั งาน
สารประธาน กรรมการกา� กบั กิจการพลงั งาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกำากบั กจิ การพลังงาน กกพ. จะสามารถบรรลวุ ตั ถุประสงค ์ บทบาท ภารกิจ (กกพ.) และ สาำ นกั งานคณะกรรมการกำากบั กิจการพลังงาน (สาำ นกั งาน ของ กกพ. ในการขับเคลือ่ นงานกำากบั ดแู ลภาคพลังงานของ กกพ.) ในฐานะองคก์ รกำากับกจิ การพลงั งาน ซง่ึ ดูแลขบั เคลือ่ นงาน ประเทศ ผ่านการดำาเนินงานภายใต้โครงการต่างๆ อาทิ กำากับกิจการไฟฟา้ และกจิ การก๊าซธรรมชาติของประเทศไทย มคี วาม กาำ กบั การจดั หาไฟฟา้ เพอ่ื ความมน่ั คงระบบไฟฟา้ ของประเทศ มุ่งมั่นและตั้งใจในการส่งเสริมการให้บริการพลังงานเพียงพอและ ตามแผนพัฒนากำาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ และแผน มคี วามม่ันคง ตลอดจนสง่ เสรมิ การแข่งขันเพอื่ การพัฒนาภาคพลังงาน พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ซึ่งท่ีผ่านมา ท่ีย่งั ยนื จึงไดม้ กี ารทบทวนแผนยทุ ธศาสตรก์ ารกำากบั กิจการพลงั งาน ได้มีการส่งเสริมให้มีการผลิตไฟฟ้าจากโครงการโซลาร์ ฉบบั ท่ ี 3 (พ.ศ. 2561 - 2564) เปน็ แผนปฏบิ ัติการด้านการกำากับ ภาคประชาชนและโครงการโซลาร์เสรีตามนโยบายรัฐบาล กิจการพลงั งาน ระยะที ่ 4 (พ.ศ. 2563 - 2565) ใหส้ อดคล้องกับแผน ปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อส่งเสริมให้มีการแข่งขันในกิจการ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป ี แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาต ิ แผนพฒั นา ไฟฟ้าและกิจการก๊าซธรรมชาติเพ่ิมขึ้นตามนโยบายของรัฐ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท ี่ 12 และ แผนปฏริ ูปประเทศ ปรับปรุงระบบการออกใบอนุญาตโรงไฟฟ้าแบบเบ็ดเสร็จ ดา้ นพลงั งาน ตลอดจนนโยบายของรฐั บาล เพอ่ื ใชเ้ ปน็ กรอบการกาำ กบั ในจดุ เดยี ว (One Stop Services) และการวางระบบการตดิ ตาม กิจการพลังงานของประเทศให้บรรลุวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติ ตรวจสอบการประกอบกิจการพลังงานเพื่อความปลอดภัย การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และ ในการประกอบกิจการ คุณภาพการให้บริการ และดูแล สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลยี่ นแปลงไป ภายใต ้ วสิ ัยทัศน์ “กำ�กับ สง่ิ แวดลอ้ ม ตลอดจนการพฒั นาระบบขอ้ มลู สาำ หรบั การกาำ กบั กิจก�รพลังง�นเพ่ือก�รพัฒน�ท่ีย่ังยืน และส่งเสริมก�รแข่งขัน กิจการพลังงาน (Data Sharing) และพัฒนามาตรฐาน ให้เหม�ะสมเป็นธรรม” พร้อมหนุนการปฏิรูปภาคพลังงานไทย การปฏิบัติงานด้านการกำากับกิจการพลังงานให้เป็นสากล ซึ่งมุ่งเน้นการส่งเสริมการแข่งขันในกิจการพลังงานซึ่งจะส่งผลดีต่อ และส่งเสริมให้นำาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่าย ภาคประชาชนในฐานะผู้ใชพ้ ลังงานส่วนใหญข่ องประเทศ โดยจะไดร้ ับ ดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการกับทุกภาค คุณภาพการบริการที่ดีภายใตต้ น้ ทุนที่เหมาะสม และในขณะเดียวกนั สว่ นตามนโยบาย Thailand 4.0 ผปู้ ระกอบการสามารถประกอบกจิ การพลังงานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ตลอดจนให้ความสำาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำากับ ทา้ ยทส่ี ดุ น ้ี กกพ. ชดุ ปจั จบุ นั ทกุ ทา่ นเชอ่ื มน่ั วา่ การบรู ณาการ กจิ การพลังงานของทุกภาคส่วน เพ่อื ความโปรง่ ใส เปน็ ธรรม และเกิด การทำางานและการสานพลังการทำางานร่วมกัน โดยอาศัย การยอมรับในการพัฒนาการกาำ กบั กิจการพลังงาน ซึง่ เป็นส่วนหน่งึ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของ กกพ. ทุกท่าน และ ในการนาำ ไปสกู่ ารสรา้ งความยง่ั ยนื มน่ั คง และมเี สถยี รภาพในการพฒั นา ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง จะเป็นหัวใจของ ภาคพลังงานของประเทศ การขับเคล่ือนงานกำากับดูแลภาคพลังงาน ซ่ึงจะก่อให้เกิด ความม่ันคงดา้ นพลงั งานของไทยในอนาคตต่อไป นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ประธาน กรรมการก�ากับกิจการพลังงาน
เลขาธิการ ส�านักงานคณะกรรมการกา� กบั กิจการพลังงาน
สารเลขาธกิ าร ส�านักงานคณะกรรมการก�ากบั กิจการพลงั งาน สำานกั งานคณะกรรมการกาำ กบั กิจการพลงั งาน (สาำ นักงาน จากพลังงานหมุนเวียนและมาตรการอนุรักษ์พลังงานได้สูง กกพ.) ในฐานะสำานักงานเลขานกุ ารของ กกพ. ไดส้ านตอ่ และ ถึงร้อยละ 35 ในป ี 2580 และจากนโยบายของรฐั บาลใน ขบั เคลือ่ นงานกำากบั กิจการพลังงานของ กกพ. มาอย่างต่อเนอื่ ง การสนับสนุนให้ประชาชนท่ีต้องการมีส่วนร่วมในการผลิต ตลอดปที ผ่ี า่ นมา โดยในป ี 2562 สาำ นกั งาน กกพ. มคี วามพยายาม ไฟฟา้ เพอ่ื ใช้เอง ให้สามารถเช่ือมเข้าเป็นส่วนหน่ึงของระบบ ในการปรับตัวด้านการกำากับกิจการพลังงานให้สามารถพร้อม ไฟฟ้าของประเทศ และขายผลผลติ ไฟฟา้ ส่วนท่เี หลอื ใชใ้ น รองรับการเปล่ียนแปลงแบบพลิกโฉมในภาคพลังงาน (Energy บางเวลา เขา้ สรู่ ะบบได ้ ซึ่งนอกจากจะประหยดั คา่ ไฟฟ้าแลว้ Disruptions) ซ่งึ การกำากบั ดแู ลภาคพลังงานจะตอ้ งวางแนวทาง ประชาชนยังมีรายได้เสริมจากการขายไฟฟ้าส่วนท่ีเหลือ การกาำ กบั ดูแลแบบมุง่ ไปข้างหนา้ เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์และ อกี ดว้ ย ไม่ล้าสมัย รวมไปถึงการกำากับดูแลเทคโนโลยีพลังงานใหม่ๆ สดุ ท้ายน้ ี สำานักงาน กกพ. ยงั คงมีความพยายามและ จากภาคสว่ นทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ได้แก ่ ยานยนตไ์ ฟฟา้ ระบบกกั เก็บ ตง้ั ใจจริงในการสานตอ่ ผลักดนั และส่งเสรมิ การแข่งขนั ใน ไฟฟา้ ฯลฯ เพอ่ื จะทำาใหก้ ารกำากับดแู ลกจิ การพลงั งานมคี วาม กิจการพลังงานไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติ ผ่านการกำากับ ทนั สมัยและทนั ตอ่ สถานการณท์ ีเ่ ปลย่ี นไป กจิ การพลงั งานเปน็ เลศิ ก้าวทันนวตั กรรมพลงั งาน คุ้มครอง นอกจากน ี้ สาำ นกั งาน กกพ. ยังมุง่ มัน่ ที่จะดำาเนินการเพื่อ ผู้ใช้พลังงานและผู้มีส่วนได้เสียในกิจการพลังงานเชิงรุก ตอบสนองต่อนโยบายของภาครัฐ และแผนพัฒนากำาลังผลิต ตลอดจนเป็นองค์กรมีสมรรถนะสูง บุคลากรให้มีความ ไฟฟ้าของประเทศ ในการเสริมสร้างระบบพลังงานไฟฟ้าของ เช่ียวชาญและมกี ารทาำ งานรว่ มกันเปน็ ทีม ทงั้ น ้ี เพ่อื ตอบ ประเทศทมี่ ัน่ คง ตอบสนองความต้องการของผ้บู รโิ ภคในราคา สนองต่อนโยบายของภาครัฐและเพื่อให้บรรลุเป้าหมายใน ทีส่ ่งเสริมให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศสามารถแข่งขันได ้ และ การประกอบคุณประโยชน์ให้แก่ทุกภาคส่วน ซึ่งรวมไปถึง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ด้วยการใช้วิวัฒนาการ ผู้ใช้พลงั งาน ชมุ ชนท้องถ่ิน ประชาชนผูร้ บั ใบอนุญาต และ ด้านเทคโนโลยีตามแนวพฒั นาประเทศส ู่ Thailand 4.0 ใหเ้ ปน็ ผู้ที่มีส่วนได้เสียท้ังหลาย โดยยึดมั่นต่อการปฏิบัติหน้าที่ ระบบไฟฟ้าทันสมัยและสามารถรองรับสัดส่วนการผลิตไฟฟ้า อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โปรง่ ใส และเปน็ ธรรม นางสาวนฤภัทร อมรโฆษิต เลขาธิการ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน
10 วิสัยทศั น์ พันธกิจ คา่ นิยมหลกั เพ่ือให้การด�าเนินงานของคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) และส�านักงานคณะกรรมการ ก�ากับกิจการพลังงาน (ส�านักงาน กกพ.) มีแนวทางการก�ากับดูแลในทิศทางเดียวกัน และบรรลุเป้าหมายท่ี กา� หนดไวร้ ่วมกนั จงึ ได้ก�าหนดวิสัยทัศน ์ พันธกจิ และค่านยิ มหลักไว ้ วสิ ัยทศั น์ กํากับกิจการพลงั งานเพื่อการพัฒนาทีย่ ่ังยนื และส่งเสริมการแขง่ ขันให้เหมาะสมเปน็ ธรรม ก�ำกบั ดแู ล สส่ง่งเเสสรรมิ ิม กํากบั ดแู ลการประกอบกจิ การ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การศึกษาวิจัย พลังงานให้เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ เกี่ยวกับการพัฒนาการกาํ กบั ของพระราชบัญญัติ การประกอบ กิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 และ กจิ การพลงั งาน และการประกอบ กรอบนโยบายรัฐ กจิ การพลังงาน พันธกิจจ ส่งเสริมสังคมและประชาชนให้มี พัฒนาองคก์ รด้วยหลัก ความรแู้ ละความตระหนักด้านการจดั การ ธรรมาภบิ าล และพัฒนาศักยภาพ และตรวจสอบการดําเนนิ งาน บุคลากร ในการกาํ กบั กจิ การพลงั งาน ด้านพลังงาน ให้สูงข้นึ กกำำรรจจดั ัดกกำำรร พพัฒัฒนนำำอองงคคก์ ์กรร
11 ค่านยิ มหลัก “TRUST” เปน็ คําย่อจากคําศัพทภ์ าษาอังกฤษทแี่ สดงให้เห็นถงึ ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงคใ์ นการกํากบั ดแู ลกิจการพลงั งาน ประกอบด้วย T=Trust | ความเชอื่ ม่นั T ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย สามารถเช่อื มั่นในส่ิงท่ี กกพ. ตัดสินใจและด�าเนินการ R=Reliability and Consistency | ความน่าเชอื่ ถือ และความแนว่ แน่ ม่นั คง R กกพ. จะกาํ กบั ด้วยความเปน็ ธรรม ไมย่ ดึ ตดิ กบั หน่วยงานหรือปัจจัยพิเศษอ่ืนๆ และการตดั สินใจของผกู้ าํ กับกจิ การจะตอ้ งมีความแน่วแน่ มั่นคง U=Unity | เอกภาพ U มเี อกภาพ สามัคคี มีความสุข และมจี ดุ หมายเดยี วกันภายในองค์กร S=Social Accountability | สังคมสามารถตรวจสอบได้ มีส�านึก S ในหน้าทรี่ บั ผิดชอบ การดําเนินการและการตัดสินใจ สามารถชีแ้ จง และ T เปดิ เผยตอ่ สาธารณชนได้ T=Transparency and Independence | โปรง่ ใสและเปน็ อสิ ระ การดําเนินการ การตดั สินใจ และกระบวนการอุทธรณ์ รบั เรอื่ งร้องเรยี น เปน็ ไปด้วยความโปรง่ ใส และภายใต้กฎหมายมีความสําคัญ ใกลช้ ดิ กับ ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย และมีอิสระทางการเงิน
12 แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการกา� กบั กิจการพลงั งาน ระยะท่ี 4 (พ.ศ 2563-2565) เพ่ือให้การด�าเนนิ งานสอดคล้องตามวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกจิ กกพ. จงึ ได้มกี ารจดั ทา� รายละเอียดแผนปฏบิ ัติ การดา้ นการก�ากบั กจิ การพลงั งาน ระยะที่ 4 (พ.ศ 2563-2565) ตามวัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั และ กลยุทธก์ ารก�ากบั กจิ การพลังงาน เพ่ือเปน็ กรอบการด�าเนินงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล แผนปฏิบตั ิการด้านการกา� กบั วัตถุประสงคท์ ี่ 3 กจิ การพลังงาน ระยะที่ 4 (พ.ศ 2563-2565) ส่งเสริมการแข่งขนั ในกจิ การพลังงาน และป้องกันการใชอ้ า� นาจในทางมชิ อบ ในการประกอบกจิ การพลงั งาน วตั ถปุ ระสงค์ 1 3 24 วตั ถปุ ระสงค์ท่ี 1 ส่งเสริมให้บริการด้านพลังงาน อยา่ งเพียงพอ มีความมั่นคง และมคี วามเปน็ ธรรมตอ่ ผใู้ ช้ พลงั งานและผู้รบั ใบอนญุ าต วตั ถุประสงคท์ ่ี 2 วัตถปุ ระสงค์ที่ 4 ปกป้องผลประโยชนข์ องผใู้ ชพ้ ลังงาน ส่งเสรมิ ใหก้ ารบรกิ ารของระบบโครงขา่ ย ท้งั ดา้ นอตั ราค่าบรกิ าร และคณุ ภาพ พลังงานเปน็ ไปดว้ ยความเปน็ ธรรม โปรง่ ใส การใหบ้ รกิ าร และไม่เลือกปฏบิ ตั อิ ย่างไมเ่ ปน็ ธรรม
13 วตั ถุประสงค์ที่ 7 วัตถปุ ระสงคท์ ี่ 5 ส่งเสริมการใช้พลงั งานและการใชท้ รพั ยากร วัตถปุ ระสงค์ที่ 9 ในการประกอบกิจการพลังงานอย่างประหยดั ส่งเสริมให้การประกอบกจิ การ และ มีประสิทธิภาพ และส่งเสรมิ ให้ประชาชน บริหารจดั การองค์กรทท่ี นั สมัย พลงั งานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ใชพ้ ลังงาน อย่างประหยัด รวมทง้ั การใช้ มปี ระสิทธิภาพ และพัฒนา และเปน็ ธรรมต่อผู้รับใบอนญุ าต พลังงานหมุนเวยี น โดยค�านงึ ถึง บุคลากรใหเ้ ปน็ มอื อาชีพ และผู้ใช้พลังงาน ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม และ ดา้ นการกา� กับกิจการพลังงาน ความสมดลุ ของทรัพยากร ธรรมชาติ 579 68 วัตถุประสงคท์ ่ี 6 วตั ถุประสงคท์ ี่ 8 ปกป้องสิทธเิ สรภี าพของผใู้ ชพ้ ลังงาน ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน ประชาชน และผู้รบั ใบอนญุ าตในการมสี ่วนร่วม ในการประกอบกจิ การไฟฟ้าทมี่ ี เข้าถึง ใช้ และจดั การด้านพลงั งานภายใต้หลักเกณฑ์ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมนอ้ ย ที่ให้ความเปน็ ธรรมแกท่ กุ ฝ่าย
14 โครงสร้าง การบริหารงานส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน พระราชบญั ญตั ิฯ พระราชบัญญตั กิ ารประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 (พระราชบัญญตั ิฯ) กา� หนดให้ VDO แนะนา� องคก์ ร จัดตง้ั ส�านกั งานคณะกรรมการก�ากบั กิจการพลังงาน หรอื ส�านักงาน กกพ. มีฐานะเป็นหน่วยงาน ของรัฐ และเป็นนติ ิบคุ คลภายใต้การก�ากับดแู ลของคณะกรรมการกา� กบั กิจการพลังงาน (กกพ.) ท�าหน้าท่ีเป็นฝ่ายเลขานุการของ กกพ. สนับสนุนการปฏิบัติงานของ กกพ. เพื่อให้บรรลุตาม เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติฯ เพื่อให้เกิดการพัฒนาท่ีสมดุลท้ังในมิติพลังงาน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้ระบบการบริการจัดการพลังงานของไทยเป็นไปอย่าง มปี ระสิทธิภาพ และสง่ เสรมิ ระบบเศรษฐกจิ ไทยใหส้ ามารถแขง่ ขนั ทง้ั ในระดบั ภมู ภิ าคและระดบั โลกได้ อยา่ งเขม้ แขง็ ท้งั นี ้ ส�านักงาน กกพ. ได้แบ่งโครงสรา้ ง ดงั นี้ รองเลขาธิการ สายก�ากับและตรวจสอบกิจการพลังงาน ผชู้ ว่ ยเลขาธิการ ผชู้ ว่ ยเลขาธิการ ฝ่ายแผนและจัดหาพลังงาน ฝ่ายอนุญาตกิจการพลังงาน • ส่วนแผนธุรกิจพลังงาน • ส่วนงานอนุญาต 1 • ส่วนจัดหาไฟฟา้ • ส่วนงานอนุญาต 2 ฝ่ายอัตราค่าบริการพลังงาน ฝ่ายตรวจสอบกิจการพลังงาน • ส่วนอัตราค่าบริการไฟฟา้ • ส่วนตรวจสอบกิจการ 1 • ส่วนอัตราค่าบริการก๊าซธรรมชาติ • ส่วนตรวจสอบกิจการ 2 ฝ่ายวิศวกรรมและส่งเสริมการแข่งขัน • ส่วนวิศวกรรมและมาตรฐาน • ส่วนพัฒนาการแข่งขัน
15 คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ ก�ากับกิจการพลังงาน เลขาธิการ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน ฝ่ายอา� นวยการคณะกรรมการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน • ส่วนการประชุม กกพ. • ส่วนตรวจสอบภายใน 1 • ส่วนอ�านวยการและเลขานุการ • ส่วนตรวจสอบภายใน 2 รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ สายบริหารกองทุนพัฒนาไฟฟา้ และภูมิภาค สายกฎหมายและบริหารงานองค์กร ผชู้ ่วยเลขาธกิ าร ผูช้ ่วยเลขาธิการ ฝ่ายยุทธศาสตร์และแผนงานกองทุนพั ฒนาไฟฟา้ ฝ่ายกฎหมายและอุทธรณ์ • ส่วนยุทธศาสตร์และแผนงานกองทุนพัฒนาไฟฟา้ 97(3) • ส่วนกฎหมายและนิติกรรมสัญญา • ส่วนยุทธศาสตร์และแผนงานกองทุนพัฒนาไฟฟา้ 97(4) • ส่วนอุทธรณ์และร้องเรียน และ 97(5) ฝ่ายบังคับใช้กฎหมายและคดี ฝ่ายบริหารจัดการและติดตามประเมินผล • ส่วนบังคับทางกฎหมาย กองทุนพั ฒนาไฟฟา้ • ส่วนคดี • ส่วนติดตามประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟา้ • ส่วนบริหารงานการเงินและบัญชี ฝ่ายจัดการท่ีดินและทรัพย์สิน • ส่วนก�าหนดเขตระบบโครงข่ายพลังงานและอุทธรณ ์ ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ • ส่วนก�าหนดค่าทดแทนและอุทธรณ์ • ส่วนส่งเสริมการมีส่วนร่วมและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ • ส่วนพิจารณาเรื่องร้องเรียน ฝ่ายยุทธศาสตร์และส่ือสารองค์กร • ส่วนยุทธศาสตร์องค์กร ส่วนอ�านวยการส�านักงานเขต • ส่วนส่ือสารองค์กร ฝ่ายส�านักงาน กกพ. ประจ�าเขต 1-13 ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ • ส่วนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • ส่วนบริหารระบบและเครือข่ายดิจิทัล ฝ่ายการเงินและบริหารงานท่ัวไป • ส่วนบริหารงานการเงินและบัญชี • ส่วนพัสดุและบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ • ส่วนบริหารงานบุคคล • ส่วนพัฒนาบุคคล
16 คณะกรรมการกํากบั กจิ การพลังงาน และสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลงั งาน คณะกรรมการกํากบั กจิ การพลังงาน Board of Commissioners นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ นาย า ย อม มา ุ า Mr. Samerjai Suksumek Mr. Chanvit Amatamatucharti ประธานกรรมการ กรรมการ Chairman, Energy Regulatory Commissioner Commission นายสุ ม อยใน ม Mr. Sudharma Yoonaidharma กรรมการ Commissioner
รา งาน ระจาํ งบ ระมาณ 17 คณะกรรมการกํากบั กิจการพลังงาน Board of Commissioners นาย อจ ย น นายส ส นุ Mr. Peerapong Acharlycheevin Mr. Sahust Pratuknukul กรรมการ กรรมการ Commissioner Commissioner นาย เศ ศ ม นา อ า ส ุ เ อ Mr. Buntoon Srethasirote Mrs. Atchaka Sibunruang กรรมการ กรรมการ Commissioner Commissioner
18 คณะกรรมการกํากบั กิจการพลังงาน และสํานักงานคณะกรรมการกํากบั กจิ การพลงั งาน คณะผบู้ ริหารสํานกั งาน Executive team of the OERC นา สา น อม ฆ นาย Miss Narupat Amornkosit Mr. Kittipong Pinyotrakool เลขาธิการ รองเลขาธกิ าร Secretary General Deputy Secretary General นายอ อา นาย ม น าย Mr. Atiluck Attapich Mr. Khomgrich Tantravanich รองเลขาธิการ รองเลขาธกิ าร Deputy Secretary Deputy Secretary General General
รา งาน ระจาํ งบ ระมาณ 19 คณะผบู้ รหิ ารสํานกั งาน Executive team of the OERC นาย เ ศ ศ ม นาย ศ มม Mr. Prated Srichomphu Mr. Werasak Werathammo ผ้ชู ว่ ยเลขาธกิ าร ผ้ชู ่วยเลขาธิการ Assistant Secretary Assistant Secretary General General นา า นาย ส ส ย ศม Mrs. Ruedee Paringkan Mr. Prasit Siritiprussamee ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ าร ผชู้ ่วยเลขาธิการ Assistant Secretary Assistant Secretary General General
20 คณะกรรมการกาํ กับกจิ การพลังงาน และสํานกั งานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ผู้อำ� นวยกำร และผู้อ�ำนวยกำรฝำ่ ยสำ� นักงำน กกพ. ประจ�ำเขต Directors / Directors of the OERC Regional Offices นาย อ า ย ศ นายนเ ศน จ ส า นาย เ นุ นา ย สุขใส นายมนยศ น ผูเ้ ช่ียวชาญพิเศษ ผู้อ�านวยการ ผอู้ า� นวยการฝ่ายส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ ม ผูอ้ �านวยการฝ่ายยุทธศาสตร์และแผน ผอู้ า� นวยการ Specialists ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ และคมุ้ ครองสิทธิประโยชน์ งานกองทนุ พัฒนาไฟฟ้า ฝ่ายอัตราคา่ บริการพลังงาน Director, Information Director, Participation Director, Power Development Director, Energy Tariff Technology Department Enhancement and Rights Fund Strategy and Planning Department Protection Department Department นา สา ศ ศ จน นา สุ า า ศจา า นายสุ ุ สา นาย ย ส เ อ นา จ ม สุ ผ้อู �านวยการ ผู้อา� นวยการ ผ้อู �านวยการ ผูอ้ า� นวยการ ผู้อ�านวยการ ฝ่ายอา� นวยการคณะกรรมการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ฝ่ายจัดการทีด่ ินและทรพั ยส์ ิน ฝ่ายอนุญาตกจิ การพลังงาน ฝ่ายยทุ ธศาสตรแ์ ละส่ือสารองค์กร Director, Commissioner Director, Internal Director, Land and Property Director, Energy Industry Director, Corporate Strategy and Affairs Department Audit Department Management Department Licensing Department Communications Department นา สา ย น ส สุ ย นายน ม ส า นา สา จ จนเจ ย นาย นา ุ า นายย ยุ ม าเ าศ ผู้อา� นวยการ ผอู้ า� นวยการฝ่ายบรหิ ารจดั การและ ผูอ้ า� นวยการ ผอู้ �านวยการฝ่ายวิศวกรรมและ ผอู้ า� นวยการ ฝ่ายกฎหมายและอทุ ธรณ์ ตดิ ตามประเมนิ ผลกองทนุ พัฒนาไฟฟ้า ฝ่ายแผนและจัดหาพลงั งาน ส่งเสรมิ การแข่งขัน ฝ่ายบังคบั ใช้กฎหมายและคดี Director, Legal and Appeal Director, Power Development Director, Energy Plan and Director, Engineering and Director, Legal Enforcement Department Fund Administration and Procurement Department Competition Enhancement and Lawsuit Department Evaluation Department Department นา น า า า าย นา สา า น สุ ยฆ นา นน มา าน ผอู้ �านวยการ ผูอ้ �านวยการ ผอู้ �านวยการ ฝ่ายการเงินและบรหิ ารงานท่ัวไป ฝ่ายตรวจสอบกจิ การพลังงาน ฝ่ายบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ Director, Finance and General Director, Energy Industry Director, Human Resource Administration Department Inspection Department Department
รา งาน ระจํา งบ ระมาณ 21 ผอู้ ำ� นวยกำร และผู้อ�ำนวยกำรฝ่ำยส�ำนกั งำน กกพ. ประจำ� เขต Directors / Directors of the OERC Regional Offices นาย อม ศม น นายเ อ ย ส สาเ า นาย า นข า นาย นจ ศ อุ ผอู้ �านวยการฝ่ายส�านักงาน กกพ. ผู้อา� นวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ผู้อา� นวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ผ้อู า� นวยการฝ่ายส�านักงาน กกพ. ประจา� เขต 1 (เชยี งใหม)่ ประจา� เขต 2 (พิษณุโลก) ประจา� เขต 3 (นครสวรรค์) ประจา� เขต 4 (ขอนแกน่ ) Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Regulatory Commission, Regulatory Commission, Regulatory Commission, Regulatory Commission, Regional Office 1 Regional Office 2 Regional Office 3 Regional Office 4 นายเอ นอ น นา สา า น สุน เ ุ นายเมฆา ยมาน า นาย มศ ส ผู้อ�านวยการฝ่ายส�านักงาน กกพ. ผู้อ�านวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ผอู้ า� นวยการฝ่ายส�านักงาน กกพ. ผู้อ�านวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ประจ�าเขต 5 (อุบลราชธาน)ี ประจ�าเขต 6 (นครราชสีมา) ประจ�าเขต 7 (สระบุร)ี ประจ�าเขต 7 (สระบรุ )ี Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Regulatory Director, Office of the Energy Regulatory Regulatory Commission, Regulatory Commission, Commission, Regional Office 7 Commission, Regional Office 7 Regional Office 5 Regional Office 6 (เกษียณอายงุ าน ณ 30 ก.ย. 62) (ค�าส่ังแตง่ ตัง้ ใหม้ ผี ลตง้ั แต่วันที่ 1 ต.ค. 62) นายส าน นายน ยเ นส า นาย ยุ ศ า ม นายมศ เ น ย ผอู้ า� นวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ผู้อ�านวยการฝ่ายส�านักงาน กกพ. ผูอ้ �านวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ผู้อ�านวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ประจ�าเขต 8 (ชลบรุ )ี ประจา� เขต 9 (กาญจนบุรี) ประจา� เขต 10 (ราชบุร)ี ประจา� เขต 11 (สุราษฎรธ์ าน)ี Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Director, Office of the Energy Regulatory Commission, Regulatory Commission, Regulatory Commission, Regulatory Commission, Regional Office 8 Regional Office 9 Regional Office 10 Regional Office 11 นา สา อ า ย นาย ย ส ุ า เสนา รกั ษาการในตา� แหน่งผ้อู �านวยการ ผูอ้ า� นวยการฝ่ายส�านกั งาน กกพ. ฝ่ายส�านักงาน กกพ. ประจ�าเขต 12 (สงขลา) ประจ�าเขต 13 (กรงุ เทพฯ) Acting Director, Office of the Director, Office of the Energy Energy Regulatory Commission, Regulatory Commission, Regional Office 12 Regional Office 13
22 สถานการณ์พลังงาน ปี 2562 | สถิติด้านการก�ากับกิจการพลังงาน | 1. การใช้ไฟฟา้ สูงสุด (Peak) ของประเทศเปรียบเทียบระหว่างปี 2562 Peak 8% Peak ประเทศ Peak ระบบ กฟผ. 37,311.80 ระบบ 3 การไฟฟา้ 30,853.20 เมกะวตั ต์ 32,272.80 เมกะวตั ต์ รวม Peak ของ VSPP และ ณ วันท่ี 2 พฤษภาคม 2562 เมกะวัตต์ Captive power รวม Peak ของ VSPP เวลา 22:27 น. 9% 10% 2. การใช้ไฟฟา้ รายภาคปี 2562 ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื รวมท้งั ประเทศ 16,698 22,171 176,403 กิกะวัตต-์ ชวั่ โมง กกิ ะวตั ต-์ ชัว่ โมง กกิ ะวตั ต์-ชวั่ โมง (9%) (13%) กรงุ เทพและปรมิ ณฑล ภาคกลาง 39,329 80,743 กิกะวัตต์-ชัว่ โมง กกิ ะวตั ต-์ ชั่วโมง (22%) (46%) ภาคใต้ 17,462 กกิ ะวัตต-์ ชัว่ โมง (10%) ท่มี าขอ้ มลู : เดือน ตลุ าคม 2561 - กนั ยายน 2562 หมายเหต:ุ ไมร่ วม IPS และ SPP Direct
23 3. สัดส่วนก�าลังผลิตของประเทศ 62.92 ผู้ผลติ ไฟฟา้ เอกชน นา� เขา้ กฟผ. 20.87 กิกะวัตต์ กิกะวัตต์ รายใหญ่ (IPP) 4.28 ผผู้ ลติ ไฟฟา้ เอกชนรายใหญ่ กฟผ. 15.82 กิกะวัตต์ (IPP) 15.82 กิกะวตั ต์ 20.87 กิกะวัตต์ ผู้ผลติ ไฟฟา้ ขนาดเล็ก กิกะวัตต์ SPP IPS (SPP) 13.51 กกิ ะวตั ต์ 3.12 ขายตอ่ ให้ กฟผ. กิกะวัตต์ 8.40 กกิ ะวตั ต์ 8.40 13.51 VSPP ขายตอ่ ใหล้ กู ค้ารายอ่นื กิกะวัตต์ 5.32 และผลติ ใชภ้ ายใน กิกะวัตต์ 5.11 กิกะวัตต์ 5.11 กกิ ะวัตต์ กิกะวัตต์ ผู้ผลิตไฟฟา้ ขนาดเลก็ มาก (VSPP) 5.32 กกิ ะวัตต์ นา� เขา้ 4.28 กกิ ะวัตต์ การผลิตไฟฟา้ แบบผลิตเองใช้เอง (IPS) 3.12 กิกะวตั ต์ สัดส่วนกา� ลังการผลติ ของประเทศ: ประเภทผู้ผลติ จ�ำนวนโครงกำร กำ� ลังผลิตตดิ ต้งั กำ� ลงั กำรผลติ ตำมสัญญำ กฟผ. 50 20,871.70 15,763.83 ผู้ผลิตไฟฟา้ เอกชนรายใหญ่ (IPP) 12 15,821.11 14,948.50 140 13,505.95 ผผู้ ลติ ไฟฟา้ ขนาดเล็ก (SPP) 8,395.22 8,395.22 ขายต่อให้ กฟผ. 7,093 5,110.73 5,110.73 6 5,320.84 ขายตอ่ ให้ลูกค้ารายอืน่ และผลติ ใชภ้ ายใน 4,282.60 3,937.17 ผู้ผลิตไฟฟา้ ขนาดเล็กมาก (VSPP) 844 3,117.31 3,877.60 น�าเขา้ การผลติ ไฟฟา้ แบบผลิตใช้เอง (IPS) 5.94 4. การก�ากับและปรับอัตราค่า Ft การก�ากบั และปรับอัตราคา่ Ft อัตราค่าไฟฟา้ ตามสตู รการปรับอัตราค่าไฟฟา้ โดยอตั โนมัติ (Ft) ขายปลีกเรยี กเกบ็ จากผู้ใชพ้ ลังงาน กกพ. ได้พจิ ารณาก�าหนดอัตราค่า Ft โดยมีการ ปรบั ทกุ 4 เดอื น เพอ่ื สะทอ้ นการเปลย่ี นแปลงของตน้ ทนุ Ft ขายปลีกไมร่ วมภาษีมูลค่าเพิ่ม ผนั แปร ซ่ึงขนึ้ กบั ราคาต้นทุนค่าเชอื้ เพลงิ ตน้ ทุนการ (สตางค์ต่อหนว่ ย) ซื้อไฟฟ้า ผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนผลกระทบ จากนโยบายของรัฐบาล เชน่ เงนิ นา� ส่งกองทุนพัฒนา -20 -11.60 -11.60 -11.60 ไฟฟ้าตามมาตรา 97 แห่งพระราชบญั ญตั ฯิ และส่วน เพ่ิมราคารับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เป็นต้น -15 -15.90 นอกจากน ี้ ยงั ไดม้ กี ารรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ จากผใู้ ชพ้ ลงั งานมาประกอบการพจิ ารณา ในป ี พ.ศ. 2562 -10 กกพ. ไดพ้ จิ ารณาค่า Ft แล้ว จา� นวน 4 ครัง้ ดังน้ี -5 0 ธนั กวาันคย-มาย2น561 เมษมากยรน-าค2ม562 สิงพหฤาษค-ภมา2ค5ม62 ธนั วกาันคย-มาย2น562 เดือน เรยี ก เกบ็
24 5. การปรับอัตราค่าบริการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อผ่านระบบส่งก๊าซธรรมชาติ ของ บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) (บมจ. ปตท.) กกพ. ได้มีการปรับอัตราค่าบริการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อ อัตรำค่ำบรกิ ำรส่งกำ๊ ซธรรมชำติ ผ่านระบบส่งก๊าซธรรมชาติของ บมจ. ปตท. ให้สะท้อนต้นทุนและ ตำมกำรใช้ระบบท่อส่งกำ๊ ซธรรมชำติ 5 พ้ืนท่ี ภาระค่าใช้จ่ายท่ีเหมาะสม โดยพิจารณาวิธีค�านวณตามคู่มือการ ค�านวณราคาก๊าซธรรมชาติและอัตราค่าบริการส่งก๊าซธรรมชาติของ ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน และประกาศ คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน เร่ืองหลักเกณฑ์การก�าหนดอัตรา 30 ค่าบริการก๊าซธรรมชาติส�าหรับผู้รับใบอนุญาตขนส่งก๊าซธรรมชาติ ทางท่อผ่านระบบสง่ ก๊าซธรรมชาต ิ พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ อัตราค่าบรกิ าร ่สวนต้น ุทนคงที่ (Td) 20 14.2177 12.0654 ขนสง่ กา๊ ซธรรมชาติดังกลา่ วประกอบด้วย 2 สว่ น คือ คา่ บรกิ ารสว่ น ของต้นทุนคงท่ี (Td) จะทบทวนทุก 5 ปี และค่าบริการสว่ นของตน้ ทนุ 10 8.5899 ผนั แปร (Tc) จะทบทวนทกุ ป ี ซ่งึ ค่าใช้จ่ายด�าเนินงานผนั แปรเกดิ จาก 2.4855 การด�าเนินงานจริงในปีที่ผ่านมาแปรผันตามอัตราการเปลี่ยนแปลงของ 0 1.1299 ราคาเนื้อก๊าซธรรมชาติเฉลี่ย และราคาไฟฟ้าเฉลี่ยที่เกิดข้ึนจริง และ 1. 2. 3. 4. 5. ระบบทอ่ ส่งกา๊ ซ ระบบทอ่ ส่ง ระบบทอ่ ส่ง ระบบท่อส่ง ระบบท่อส่ง อตั ราการเปลยี่ นแปลงของดชั นรี าคาผบู้ รโิ ภค (Consumer Price Index: พ้ืนท่ี ธรรมชาตินอก ก๊าซนอก กา๊ ซธรรมชาติ ก๊าซบนฝ่ั งท่ี กา๊ ซบนฝ่ังที่ CPI) ทป่ี ระกาศโดยกระทรวงพาณชิ ย ์ โดย กกพ. ไดม้ กี ารตดิ ตามและ ชายฝ่ังท่รี ะยอง ่สวนต้น ุทนผันแปร (Tc) ชายฝ่ังท่ขี นอม บนฝ่ั ง จะนะ น้�าพอง (พ้ืนท่ี 1) (พ้ืนท่ี 2) (พ้ืนท่ี 3) (พ้ืนท่ี 4) (พ้ืนท่ี 5) ตรวจสอบการดา� เนนิ งานของ บมจ.ปตท. ในการใหบ้ รกิ ารสง่ กา๊ ซธรรมชาติ 15 1.1668 1.1668 อย่างใกล้ชิด เพ่ือให้ทราบถึงข้อเท็จจริงที่เกิดข้ึนและผลต่างระหว่าง ขอ้ เทจ็ จรงิ กบั สมมตฐิ านทใี่ ชใ้ นการคา� นวณอตั ราคา่ บรกิ ารสง่ กา๊ ซธรรมชาติ 10 1.1668 0.1569 0 ท้งั ในดา้ นการลงทุนและค่าใช้จ่ายในสว่ นของตน้ ทนุ ผันแปร เพอ่ื ให้เกดิ ความเปน็ ธรรมกับผใู้ ชบ้ รกิ าร ซึ่งในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 มีอตั รา 5 0 ค่าบริการสง่ ก๊าซธรรมชาติฯ ดังน้ ี หนว่ ย: บาทต่อล้านบที ยี ู (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ. 2562) 6. ภาพรวมก�าลังการผลิตไฟฟา้ จากพลังงานหมุนเวียน และรายงานการรับซื้อไฟฟา้ จากพลังงานหมุนเวียน (ระหวา่ งวันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) การสง่ เสรมิ ภาคเอกชนเขา้ มามีบทบาทในการลงทุนผลติ ไฟฟ้าจากพลงั งานหมนุ เวียน ท้งั ในส่วนการสง่ เสรมิ ผ่านมาตรการจูงใจดา้ นราคา รับซื้อไฟฟ้าและการผลิตไฟฟา้ เพ่ือใช้เอง (IPS) การผลติ ไฟฟ้าจากพลังงานหมนุ เวยี น ณ เดอื นกนั ยายน 2562 มโี ครงการที่มพี ันธะผกู พันกับภาครฐั 7,673 ราย คดิ เป็นก�าลังการผลิตติดตง้ั 9,866 เมกะวัตต์ สถานภาพการรบั ซ้อื แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังน้ี 1 โครงการ 2 โครงการ 3 ที่จา่ ยไฟฟา้ เขา้ ระบบ ไฟฟา้ (COD) แล้ว ท่มี สี ญั ญาซื้อขายไฟฟา้ โครงการ (PPA) แล้ว และ ท่ีมีการตอบรบั จา� นวน 7,197 ราย ซือ้ ไฟฟา้ แล้ว ก�าลงั การผลิตตดิ ตง้ั อยู่ระหวา่ งรอ COD 8,913 301จ�านวน เมกะวัตต์ 175จา� นวน ราย ราย กา� ลังการผลติ ตดิ ตั้ง กา� ลังการผลติ ติดตัง้ 470 484 เมกะวัตต์ เมกะวัตต์
25 การผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานหมุนเวียน เดือนกนั ยายน 2562 COD แล้ว (1) มี PPA แลว้ แต่ยงั ไม่ ตอบรบั ซ้อื แลว้ ยงั ไม่เซน็ รวมท่พี ันธะผกู พันแลว้ IPS รวม COD (2) PPA (3) (1)+(2)+(3) เช้อื เพลงิ รำย Ins Cap รำย Ins Cap รำย Ins Cap รำย Ins Cap รำย Ins Cap Ins Cap พลังงานขยะ (MW) (MW) (MW) (MW) (MW) (MW) ขยะชุมชน ขยะอุตสาหกรรม 34 317 22 170 - - 56 487 - - 487 ชวี มวล กา๊ ซชีวมวล 33 310 16 140 - - 49 450 - - 450 พลังงานน้�า พลังงานลม 1 7 6 30 - - 7 37 - - 37 พลังงานแสงอาทติ ย ์ โครงการโซลาร์ประชาชน 208 3,382 22 274 15 355 245 4,011 36 867 4,879 อ่นื ๆ 178 400 8 20 - 12 186 433 28 77 509 รวม 41 105 - - 31 39 72 145 - - 145 34 1,497 2 18 2 2 38 1,517 - - 1,517 6,698 3,115 121 1 253 62 7,072 3,177 1,015 414 3,592 - - 121 1 251 1 372 2 2 4 97 - - - - 4 97 16 313 410 7,197 8,913 175 484 301 470 7,673 9,866 1,095 1,672 11,538 ที่มา: รวบรวมจากรายงานการรับซ้ือไฟฟา้ ของ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค หมายเหตุ: IPS เฉพาะการผลิตจากพลงั งานหมุนเวยี น และไม่รวมกรณีขอแจง้ ยกเว้นไม่ขอรบั ใบอนญุ าต การจัดหาไฟฟ้าจากพลงั งานหมนุ เวียนเพ่อื ใชเ้ อง (IPS) มจี า� นวน 1,095 ราย กา� ลังการผลิตติดตั้ง 1,672 เมกะวตั ต ์ การจัดหาไฟฟา้ จากพลงั งานหมนุ เวียน ณ เดอื นกนั ยายน 2562 (รับซอ้ื และ IPS) มที ้ังสนิ้ 11,128 เมกะวตั ต์ จา� นวน 8,748 ราย (ไม่รวม RE Others) หากเทยี บกับเป้าหมายการผลิตไฟฟา้ จากแผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP2015) ป ี 2579 จ�านวน 16,778 เมกะวตั ต์ ปรมิ าณไฟฟา้ ท่ผี ลิตจากพลังงานทดแทน ณ เดอื นกนั ยายน 2562 คดิ เปน็ สดั ส่วนร้อยละ 66 ของเปา้ หมาย AEDP2015 การผลิตไฟฟ้าจากแผนพัฒนาพลงั งานทดแทน ณ เดอื นกันยายน 2562 เข้าระบบแลว้ มีขอ้ ผกู พันแลว้ IPS 8,913 เมกะวตั ต์ 954 เมกะวตั ต์ (476 ราย) กำรผลติ ไฟฟำ้ (7,197 ราย) มี PPA ตอบรับซ้อื แบบผลิตเองใชเ้ อง 484 เมกะวตั ต์ 470 เมกะวัตต์ 1,672 เมกะวัตต์ (1,095 ราย) (175 ราย) (301 ราย) ประเภท กำรผลติ ไฟฟำ้ IPS* AEDP ส่วนเหลอื PDP 8 การผลติ ไฟฟา้ รวม AEDP (เมกะวัตต์) (เมกะวัตต์) ปี 2579 (เมกะวัตต)์ ที่ปลายแผน พลังงานขยะ ณ ก.ย. 62 11,128 เมกะวัตต์ ปี 2579** ขยะชมุ ชน - 550 63 ปี 2580 ขยะอตุ สาหกรรม 487 500 (8,748 ราย) 16,778 444 (ไมร่ วม RE Others) เมกะวัตต์ ชวี มวล 50 กา๊ ซชวี มวล 450 - 5,570 50 400 66% พลงั งานน�า้ 1,280 พลงั งานลม 37 - 13 44 ของเป้ำหมำย AEDP 376 พลงั งานแสงอาทติ ย์ 4,011 867 3,002 692 3,496 พลังงานแสงอาทติ ย์ ท่นุ ลอยนา�้ 6,000 ร่วมกบั โรงไฟฟา้ พลังนา�้ 433 77 770 546 - อ่นื ๆ 145 - - 231 - 16,778 รวม 1,517 - 1,485 1,485 3,177 414 2,409 10,000 -- - 2,725 ท่มี ำ: รวบรวมจากรายงานการรับซ้ือไฟฟ้าของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 97 313 -- หมำยเหต:ุ * 9,866 1,672 5,650 18,696 ** IPS เฉพาะการผลติ จากพลงั งานหมุนเวียน และไมร่ วมกรณแี จ้งยกเวน้ ไมข่ อรับใบอนญุ าต เป้าหมาย AEDP 2015 ในปี 2579 ไมร่ วมพลงั งานน้�าขนาดใหญ่
26 แนวทาง กำรก�ำกบั กิจกำรพลังงำน ประจ�ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ตามกรอบแผนยทุ ธศาสตร์ การก�ากบั กิจการพลังงาน ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2561 – 2564) ในปี 2562 เพ่ือให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ส�านกั งาน กกพ. ไดด้ า� เนนิ การตามแผนยุทธศาสตรก์ ารก�ากับกิจการพลังงาน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561 – 2564 ทั้ง 4 ยทุ ธศาสตร์ โดยมพี ันธกิจหลกั คือ กา� กบั กจิ การ พลังงานเปน็ เลศิ ส่งเสรมิ การแข่งขนั และกา้ วทันนวตั กรรมพลังงาน คมุ้ ครองผู้ใชพ้ ลงั งานและ ผู้มีส่วนได้เสียในกิจการพลงั งานเชงิ รุก ตลอดจนเปน็ องค์กรมสี มรรถนะสูง บุคลากรใหม้ คี วาม เช่ียวชาญและมกี ารท�างานรว่ มกนั เปน็ ทีม ดว้ ยกรอบแผนยุทธศาสตรก์ ารก�ากบั กิจการพลงั งาน ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2561 – 2564) ดังน้ี
27 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 กา� กับกจิ การพลังงานเป็นเลิศ (Reform ส่งเสรมิ การแข่งขัน และกา้ วทันนวัตกรรม & Enforce) ม่งุ เน้นกา� กับกิจการพลงั งาน พลงั งาน ม่งุ เนน้ การพัฒนากฎเกณฑใ์ หม่ๆ เปน็ เลศิ พัฒนางานกา� กบั ให้ทนั สมัย ทสี่ อดคลอ้ งกับนวตั กรรม และเทคโนโลยี เน้นการบังคบั ใชร้ ะเบียบหลักเกณฑ์ที่ออก และการประกอบธุรกจิ ทีเ่ ปลยี่ นแปลง โดย กกพ. และการตรวจติดตามมาตรฐาน คณุ ภาพทางวิศวกรรม ความปลอดภยั และ การศึกษาแนวทางการกา� กบั กจิ การพลงั งานท่ีจะ สิ่งแวดล้อม ปรับโครงสรา้ งและพัฒนา มีการแขง่ ขันมากข้นึ ด้วยกระบวนการโปรง่ ใส กลไกการก�ากบั ดแู ลอัตราค่าบริการในกจิ การ กฎเกณฑค์ ดั เลอื กทเี่ ปน็ ธรรม และทบทวนเงอ่ื นไข พลงั งานประเภทตา่ งๆ รวมทั้งพิจารณาอัตรา การอนญุ าตใหร้ องรบั สถานการณ์ปัจจบุ ัน คา่ บรกิ ารพลังงานที่สอดรับกับการส่งเสรมิ สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาพลงั งาน การแขง่ ขัน ให้สะท้อนต้นทุน โปรง่ ใส เปน็ ทดแทนและพลังงานทางเลือก เพ่ือความม่นั คง ธรรม และพัฒนาจัดการขอ้ มลู เพ่ือใชใ้ นการ ทางด้านพลงั งานของประเทศ รวมทง้ั ส่งเสริม วิเคราะหง์ านในเชงิ ก�ากบั ให้มีการเปดิ ใชร้ ะบบโครงข่ายพลงั งานเพ่ือสรา้ ง ความค้มุ ค่าการใช้โครงสรา้ งพ้ืนฐานของประเทศ รองรับการส่งเสริมการแข่งขันเสรีในอนาคต ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พัฒนาการมสี ่วนรว่ มและสื่อสารงานก�ากับกจิ การ องคก์ รมีสมรรถนะสูง มุ่งเน้นการเปน็ ส�านกั งานทมี่ สี มรรถนะสูง โดยเสรมิ สรา้ ง พลังงานใหเ้ ข้าถงึ มงุ่ เนน้ การคุ้มครองผู้ใชพ้ ลงั งาน และเพ่ิมศักยภาพบคุ ลากรให้มีความ และผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในกจิ การพลงั งานเชงิ รกุ พัฒนา เชี่ยวชาญ มกี ารทา� งานร่วมกันเปน็ ทมี มาตรฐานการให้บรกิ ารรายยอ่ ย รายใหญ่ รวมทง้ั สรา้ ง โดยมเี ป้าหมายร่วมกัน รวมทง้ั การพัฒนา ความตระหนกั รบั รสู้ ิทธขิ องผู้ใชพ้ ลงั งานและพัฒนา ปรบั ปรงุ ระบบฐานข้อมลู ของส�านักงานให้ กระบวนการมีส่วนรว่ มเพ่ือนา� ไปสู่การสนบั สนุนงาน สามารถเปน็ ศูนยข์ อ้ มูลการก�ากบั กจิ การ กา� กบั กจิ การพลงั งานใหผ้ ใู้ ชพ้ ลงั งานและผมู้ สี ่วนไดเ้ สีย ของประเทศ สามารถใช้ข้อมลู เพ่ือการ ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมและยอมรบั การก�ากับกิจการ วิเคราะหแ์ ละตดั สินใจในการทา� งาน และ พลงั งานเพิ่มข้ึน นอกจากน้ี จะเพ่ิมประสิทธิภาพการ มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่มี ั่นคง บริหารจดั การกองทนุ พัฒนาไฟฟ้าเพ่ือดา� เนนิ งานเปน็ ปลอดภยั รวมท้งั ปรบั ปรุงระบบการ ตามวัตถุประสงค์ของการจดั ต้งั กองทนุ และจดั สรร บรหิ ารงานให้เปน็ มืออาชพี เงินกองทนุ พัฒนาไฟฟ้าไปสู่พ้ืนทป่ี ระกาศอยา่ งมี ประสิทธิภาพ โปร่งใส และเปน็ ธรรมเพ่ือชมุ ชนรอบ แผนยุทธศาสตร์ การก�ากับ โรงไฟฟ้าไดร้ ับประโยชน์อยา่ งยง่ั ยืน ตลอดจนเสริม กิจการพลงั งาน ระยะที่ 3 สรา้ งความรว่ มมอื กับหน่วยงานกา� กับกจิ การพลังงาน (พ.ศ 2561-2564) จากตา่ งประเทศ โดยเฉพาะความร่วมมือด้านพลงั งาน ระหวา่ งอาเซยี น เพ่ือพัฒนาการก�ากับกิจการพลังงาน และสนบั สนุนวสิ ัยทัศน์ของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community: AEC)
1 2 กำ� กับ ส่งเสรมิ กจิ การพลังงาน การแข่งขันและกา้ วทนั เปน็ เลศิ นวัตกรรมพลงั งาน
สรุปผลกำรก�ำกับกิจกำรพลังงำน ประจ�ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ตามกรอบแผนยุทธศาสตร์การกา� กับกิจการพลังงาน ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2561 – 2564) 3 4 พัฒนำ องค์กร การมีส่วนร่วมและสื่อสาร มีสมรรถนะสูง งานก�ากับกิจการพลังงาน เปน็ มอื อาชีพ ใหเ้ ข้าถึง
ก�ำกับ กา� กบั กจิ การพลังงาน เปน็ เลิศ
รายงานประจา� ปงี บประมาณ 2562 31 ก�ำกบั กจิ การพลงั งานเปน็ เลศิ กจิ การพลงั งานไฟฟ้า และก๊าซธรรมชาติ สาระนา่ รู้ เกย่ี วกับคา่ ไฟฟ้า สำ� นกั งำน กกพ. มงุ่ เนน้ กำรกำ� กบั ดแู ลพลงั งำนของประเทศดว้ ยควำมเปน็ ธรรม และโปรง่ ใสทั้งดำ้ นอตั รำค่ำบรกิ ำรพลงั งำน คุณภำพกำรให้บริกำร และกำรตรวจ ตดิ ตำมมำตรฐำนคุณภำพทำงวิศวกรรม ควำมปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม รวมท้ัง ส่งเสริมกำรแข่งขันในกำรจัดหำไฟฟ้ำจำกพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือก เพ่อื สรำ้ งควำมมั่นคง ยัง่ ยนื และเปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม โดยกำรออกระเบียบและ หลกั เกณฑ์ใหมๆ่ ให้สอดคลอ้ งกบั นวตั กรรม เทคโนโลยี และกำรประกอบธรุ กิจที่ เปลี่ยนแปลง นอกจำกนี ้ ยงั เนน้ กำรคุม้ ครองและสรำ้ งควำมตระหนกั รสู้ ทิ ธิของผู้ใช้พลังงำน และผู้มสี ่วนไดเ้ สยี ในกิจกำรพลงั งำน เพือ่ สรำ้ งกำรยอมรับและกำรเข้ำถงึ กำรกำ� กับ กิจกำรพลังงำน ตลอดจนสร้ำงควำมร่วมมือกับหน่วยงำนก�ำกับกิจกำรพลังงำน ระหว่ำงประเทศเพื่อพัฒนำตัวเองด้ำนกำรก�ำกับกิจกำรพลังงำนอย่ำงต่อเนื่อง ซึ่ง ครอบคลุมถึงกำรพัฒนำบุคลำกรและระบบเทคโนโลยีภำยในองค์กรให้มีศักยภำพ เพื่อมุ่งสู่กำรเป็นองค์กรท่ีมีสมรรถนะสูงและเป็นมืออำชีพต่อไป โดยมีผลกำร ด�ำเนนิ งำนท่สี ำ� คญั ดงั นี้
32 ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน โครงการศึกษาหลกั เกณฑ์การกา� หนดอตั ราค่าบรกิ ารไฟฟา้ ทสี่ ะทอ้ นต้นทนุ โปรง่ ใส เป็นธรรม และมีประสิทธภิ าพ ส�าหรบั ปี 2560 – 2563 1 คณะกรรมกำรนโยบำยพลงั งำนแหง่ ชำติ (กพช.) ในกำรประชุม กำรก�ำกับกำรลงทุนในระดับท่ีเหมำะสมกับควำมต้องกำร ครง้ั ท่ี 2/2562 (ครัง้ ที ่ 149) เม่ือวนั ที ่ 16 ธนั วำคม 2562 มมี ติ ใชไ้ ฟฟำ้ ตำมแผน PDP และควบคมุ คำ่ ใชจ้ ำ่ ยตำมหลกั CPI-X เห็นชอบหลักเกณฑ์ตำมนโยบำยกำรก�ำหนดโครงสร้ำงอัตรำค่ำ (5) กำรไฟฟ้ำท้ังสำมแห่งมีฐำนะกำรเงินเพียงพอต่อกำร ไฟฟำ้ ป ี 2558 ส�ำหรบั กำรกำ� กับอัตรำค่ำไฟฟำ้ ปี 2561 - 2563 โดย ขยำยกจิ กำร โดยกำ� หนดควำมตอ้ งกำรรำยไดข้ องกำรไฟฟำ้ ในป ี 2563 กกพ. ยงั คงก�ำกับอัตรำค่ำไฟฟำ้ ให้เปน็ ไปตำมหลักกำร ให้อยู่ในระดับที่สำมำรถด�ำเนินกิจกำรและขยำยกำร ที่ผ่ำนมำ ดังนี้ (1) อัตรำค่ำไฟฟ้ำมีควำมเหมำะสมกับลักษณะ ดำ� เนนิ งำนในอนำคต ซง่ึ กำ� หนดอตั รำผลตอบแทนเงนิ ลงทนุ โครงสร้ำงเศรษฐกิจและสังคมสะท้อนต้นทุนและเป็นไปตำมสภำพ ไม่สูงกว่ำคำ่ เฉลยี่ ถว่ งนำ�้ หนกั ของตน้ ทนุ ทำงกำรเงนิ (WACC) ทำงเศรษฐกจิ โดยปรับอตั รำค่ำไฟฟำ้ ตำมสูตรกำรปรับอัตรำค่ำไฟฟ้ำ ตำมหลกั Rate of Return Regulation และ (6) มีกลไก ขโดอยงอปตั รโะนชมำตั ช ิ (Fนt ใ) นทกุทๆุก ภ4ู มเดิภอื ำนค ( 2)โ ดอยตั ผรำู้ใคชำ่้ไไฟฟฟฟ้ำำ้ สปง่ รเะสเรภมิ ทควเดำมียเวสกมันอตภ้อำคง กำรติดตำมกำรลงทุนของกำรไฟฟ้ำ โดยก�ำหนดบทปรับ เปน็ อัตรำเดยี วทั่วประเทศ (Uniform Tariff) ซง่ึ แบ่งประเภทผ้ใู ช้ไฟฟ้ำ กำรลงทุนท่ีไม่เป็นไปตำมแผนกำรลงทุน (Claw Back) ออกเป็น 8 ประเภท รวมทั้งมีกำรดูแลผู้ใช้ไฟฟ้ำบ้ำนอยู่อำศัยท่ีมี และประเมินบทปรับหลังจำกสนิ้ ปีบัญชขี องทกุ ปี รำยไดน้ อ้ ยใหไ้ ดใ้ ชไ้ ฟฟำ้ ฟร ี ผำ่ นกลไกกองทนุ พฒั นำไฟฟำ้ มำตรำ 97(1) (3) โครงสรำ้ งอตั รำคำ่ ไฟฟำ้ มกี ำรแยกตน้ ทนุ ของแตล่ ะกจิ กำร โดยกำร ไฟฟ้ำท้ังสำมมีกำรจัดท�ำรำยงำนข้อมูลทำงบัญชีเพ่ือกำรก�ำกับดูแล และกำรเปิดเผยข้อมลู (Regulatory Accounting and Information Disclosure) โดยแบง่ แยกตน้ ทนุ ของแตล่ ะกิจกำร ไดแ้ ก ่ กจิ กำรผลติ กจิ กำรระบบสง่ กิจกำรระบบจำ� หนำ่ ย และกิจกำรค้ำปลีก (4) อัตรำ ค่ำไฟฟ้ำและกำรพิจำรณำผลตอบแทนกำรลงทุนของกำรไฟฟ้ำมี 1 การดา� เนนิ งานตามมติ กพช. ในการประชมุ คร้ังที่ 3/2558 (คร้งั ที่ 3) เม่ือวนั ท่ี 13 สิงหาคม 2558 โครงการพัฒนาหลกั เกณฑ์การก�ากับผ้บู ริหารระบบส่งท่อกา๊ ซธรรมชาติ (Transmission System Operator Regulatory Framework : TSO) 2 กพช. ในกำรประชุม ครัง้ ท ี่ 3/2560 (คร้ังที ่ 13) วันท ี่ 31 กรกฎำคม 2560 ไดม้ ีมติเรือ่ งแนวทำง กำรส่งเสริมกำรแข่งขันในกิจกำรก๊ำซธรรมชำต ิ มอบหมำยให้ ปตท. แยกธุรกจิ ทอ่ ส่งกำ๊ ซฯ โดยให ้ TSO มกี ำรก�ำหนด Code of Conduct ภำยใตก้ ำรกำ� กับดูแลของ กกพ. ดังนั้น สำ� นักงำน กกพ. จงึ ไดจ้ ดั จำ้ ง ท่ีปรึกษำด�ำเนินโครงกำร (ร่ำง) หลักเกณฑ์กำรก�ำกับผู้บริหำรระบบส่งท่อก๊ำซธรรมชำติ (Transmission System Operator Regulatory Framework : TSO) เพื่อใหเ้ ป็นไปตำมนโยบำยของภำครฐั เม่อื วนั ท่ี 20 กุมภำพันธ์ 2562 ท่ีปรกึ ษำฯ ได้ด�ำเนนิ กำรโครงกำรส่งมอบ (รำ่ ง) หลกั เกณฑ์กำรก�ำกับ ผู้บรหิ ำรระบบสง่ ท่อก๊ำซธรรมชำติ (Transmission System Operator Regulatory Framework : TSO) และตอ่ มำได้จดั ท�ำ (ร่ำง) หลักเกณฑ์กำรกำ� กับผบู้ ริหำรระบบสง่ ท่อกำ๊ ซธรรมชำต ิ (Transmission System Operator Regulatory Framework) แยกออกเป็น 2 ส่วน คอื (รำ่ ง) หลกั เกณฑก์ ำรกำ� กับผู้รับใบอนุญำตขนสง่ กำ๊ ซธรรมชำติทำงทอ่ ผำ่ นระบบสง่ กำ๊ ซธรรมชำต ิ (TO Regulatory Framework) และ (ร่ำง) หลกั เกณฑ์กำร กำ� กบั ผรู้ บั ใบอนุญำตศนู ย์ควบคมุ กำรส่งกำ๊ ซธรรมชำต ิ (SO Regulatory Framework) ออกจำกกนั ตำมมต ิ คณะอนุกรรมกำรส่งเสริมกำรแข่งขันและก�ำกับระบบโครงข่ำยกิจกำรก๊ำซธรรมชำติ (คณะอนุกรรมกำรฯ) ในกำรประชมุ ครงั้ ที ่ 2/2562 (ครัง้ ท ่ี 4) วันที ่ 5 มีนำคม พ.ศ. 2562 2 การดา� เนนิ งานตามมติ กพช. ในการประชุมคร้งั ที่ 3/2560 (ครง้ั ที่ 13) เม่ือวันที่ 31 กรกฎาคม 2560
รายงานประจา� ปงี บประมาณ 2562 33 สำ� นักงำน กกพ. ได้เปิดรับฟังควำมคิดเหน็ ตอ่ (รำ่ ง) ในกำรประชมุ กกพ. ครง้ั ท ่ี 81/2562 (ครงั้ ท ่ี 643) เมอื่ หลกั เกณฑ์ท้ังสองฉบับ เมอ่ื วนั ท ี่ 16 - 30 กนั ยำยน 2562 บน วนั ท ี่ 25 ธนั วำคม 2562 สำ� นกั งำน กกพ. ไดร้ ำยงำนสรปุ ผล หนำ้ เวบ็ ไซตข์ องสำ� นกั งำน กกพ. และจดั ทำ� TSO workshop กำรเปดิ รบั ฟงั ควำมคดิ เหน็ และกำรทำ� Workshop ตอ่ (รำ่ ง) ณ ศนู ยว์ จิ ยั PURC ประเทศสหรฐั อเมรกิ ำ เมอ่ื วนั ท ี่ 24 - 26 หลักเกณฑ์กำรก�ำกับผู้รับใบอนุญำตขนส่งก๊ำซธรรมชำติ กนั ยำยน 2562 ทำงท่อผ่ำนระบบส่งก๊ำซธรรมชำติ (TO Regulatory Framework) และ (ร่ำง) หลักเกณฑ์กำรก�ำกับผู้รับใบ ทง้ั น ี้ ในกำรประชมุ หำรอื กำรบรหิ ำรกจิ กำรกำ๊ ซธรรมชำติ อนญุ ำตศนู ยค์ วบคมุ กำรสง่ กำ๊ ซธรรมชำต ิ (SO Regulatory รว่ มกบั ปลดั กระทรวงพลงั งำน (นำยกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ )ิ เมอื่ วนั ท่ี Framework) ของส�ำนักงำน กกพ. ต่อ กกพ. โดย กกพ. 22 ตุลำคม 2562 และกำรประชุมหำรือร่วมกับรัฐมนตรี ได้เห็นชอบใหส้ ำ� นกั งำน กกพ. จัดทำ� TSO Regulatory วำ่ กำรกระทรวงพลงั งำน (นำยสนธริ ตั น ์ สนธจิ ริ วงศ)์ ในวนั ท่ี Framework และมอบหมำยให้ ปตท. ด�ำเนินกำรจัดท�ำ 7 พฤศจกิ ำยน 2562 มคี วำมเหน็ สอดคลอ้ งกนั วำ่ กำรกำ� กบั TSO Code พรอ้ มระเบยี บปฏบิ ตั ขิ องผใู้ หบ้ รกิ ำรขนสง่ และ ผบู้ รหิ ำรระบบทอ่ สง่ กำ๊ ซธรรมชำต ิ หรอื Transmission System ควบคมุ กำรสง่ กำ๊ ซธรรมชำต ิ (Code of Conduct) โดยแยก Operator (TSO) ให้ ปตท. ด�ำเนินกำรแยกหน่วยธุรกิจ บทบำทหน้ำทขี่ อง TO และ SO เพ่อื ให้เกดิ ควำมชดั เจน ท่อส่งก๊ำซธรรมชำติของ ปตท. และท�ำหน้ำท่ีเป็นผู้บริหำร ในกำรก�ำกับดูแล โดยให้ส�ำนักงำน กกพ. ไปด�ำเนินกำร ระบบท่อส่งก๊ำซธรรมชำติ (TSO) ตำมมติ กพช. ก่อน ในสว่ นท่เี กีย่ วขอ้ งต่อไป โดยจดั ทำ� Code of Conduct ภำยใต้กำรกำ� กับดแู ลของ กกพ. ทง้ั น ี้ ในสว่ นของกำรแยกหลกั เกณฑ ์ TO และ SO ควรมีกำรหำรือกันอีกครั้ง โดยอำจก�ำหนดให้อยู่ในระยะ ของกำรส่งเสริมกำรแข่งขันในกิจกำรก๊ำซธรรมชำติในระยะ ตอ่ ไป แผนการดาํ เนนิ งาน TSO TO 1 2 3 4 5 Regulatory Regulatory 20 ก.พ. 2562 5 ม.ี ค. 2562 25 เม.ย. 2562 20 มิ.ย. 2562 2 ส.ค. 2562 Framework Framework ทป่ี รกึ ษาฯ ได้ส่งมอบ คณะอนกุ รรมการฯ มอบ คณะอนกุ รรมการฯ สํานักงาน กกพ. ได้ กกพ. ครง้ั ท่ี 49/2562 (รา่ ง) หลกั เกณฑ์การ หมายใหจ้ ัดทาํ (รา่ ง) รับทราบการรายงาน ประชุมหารอื รว่ มกบั (คร้งั ท่ี 611) ใหส้ นง. กาํ กบั ผบู้ รหิ ารระบบ หลกั เกณฑ์แยกเปน็ ผลการศึกษา ปตท. และทป่ี รกึ ษาฯ ดําเนนิ การ เสนอ กกพ. ส่งท่อก๊าซธรรมชาติ TO/SO Regulatory ได้ขอ้ สรุปเพื่อนํามา พิจารณาเรื่องการออก SO (Transmission System Framework ปรบั ร่าง TO-SO ใบอนญุ าตการกํากบั Operator Regulatory Framework ผู้บรหิ ารระบบส่งและ Regulatory Framework : TSO) ศูนยค์ วบคมุ การส่งก๊าซ Framework ธรรมชาติ 6 7 8 9 10 11 12 2 ก.ย. 2562 13 ก.ย. 2562 24-26 ก.ย. 2562 ต.ค. 2562 พ.ย. 2562 ธ.ค. 2562 ม.ค.2563 คณะอนกุ รรมการฯ ครัง้ กกพ. ครง้ั ที่ 57/2562 TSO Workshop ท่ี PURC นาํ เสนอ (รา่ ง) ต่อ นาํ เสนอ กกพ. ออกประกาศ ประกาศลง ที่ 6/2562 (คร้งั ที่ 8) (619) เหน็ ชอบร่าง ประเทศสหรฐั อเมรกิ า คณะอนุกรรมการ หลกั เกณฑ์ TO และ ราชกจิ จานุเบกษา เหน็ ชอบร่างหลักเกณฑ์ฯ หลักเกณฑ์ฯ และให้เปดิ ส่งเสรมิ การแข่งขันฯ SO Framework TO/SO Regulatory รับฟงั ความคดิ เห็น 15 วนั Framework (16 - 30 ก.ย.62)
34 ณะ รรม าร �า บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร �า บ จ าร งงาน โครงสร้างศูนย์พยากรณ์การผลิตไฟฟา้ จากพลงั งานหมนุ เวียน ตามแผนการขบั เคลอื่ นการด�าเนนิ งานด้านสมาร์ทกริดของประเทศไทย (ระยะส้ัน) พ.ศ. 2560 – 2564 ตำมท ี่ กกพ. ไดม้ ีมตเิ ห็นชอบรปู แบบโครงสรำ้ งศูนยว์ เิ ครำะห์ ในเบอ้ื งต้น SO จะทำ� หน้ำท่เี ปน็ ศนู ยพ์ ยำกรณฯ์ และพยำกรณข์ อ้ มลู ด้ำนไฟฟ้ำสำ� หรับประเทศไทย ทง้ั 2 ระยะ คอื โดยเรมิ่ พยำกรณพ์ ลงั งำนทดแทนในสว่ นของโรงไฟฟำ้ 1) โครงสรำ้ งตำมแผนระยะสน้ั (3-5 ป)ี โดยม ี System Operator (SO) 3 กฟผ. และ SPP บำงโรงเพอื่ เปน็ กำรน�ำรอ่ ง เนื่องจำก เป็นผู้ด�ำเนินกำรท�ำหน้ำท่ีพยำกรณ์กำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนลม กฟผ. สำมำรถเข้ำถึงข้อมูลโรงไฟฟ้ำทั้งสองชนิด และแสงอำทติ ยข์ องโรงไฟฟำ้ ของ กฟผ. และ SPP และ 2) โครงสรำ้ ง โดยหลังจำกน้ันในช่วงปลำยแผนระยะส้ัน SO จะ ตำมแผนระยะยำว (5–8 ปี) โดยมี SO เป็นผู้ด�ำเนินกำรพยำกรณ์ พยำกรณพ์ ลงั งำนทดแทนในสว่ นของโรงไฟฟำ้ กฟผ. กำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนลมและแสงอำทิตย์โรงไฟฟ้ำของ กฟผ. และ SPP ทกุ โรง โดย SO สำมำรถซือ้ ข้อมลู สภำพ SPP และ VSPP และอำจมกี ำรจัดตัง้ หน่วยพยำกรณย์ ่อย (Forecast อำกำศจำกศูนยพ์ ยำกรณ์อำกำศ (Weather Service Service Provider) เพื่อจัดกำรพยำกรณ์ในพ้ืนที่ควำมรับผิดชอบ Provider) เพื่อใช้ในกำรประกอบกำรพยำกรณ์ซ่ึง ของตนเอง แล้วส่งให ้ SO เพ่ือแบ่งเบำภำระกำรพยำกรณ์จำก SO ข้อมูลผลกำรพยำกรณ์กำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำน เน่ืองจำกปริมำณโรงไฟฟ้ำพลังงำนลมและแสงอำทิตย์ขนำดเล็กมี ทดแทนจะถกู ส่งตอ่ ให้ส�ำนักงำน กกพ. ต่อไป จำ� นวนเพิม่ มำกขึน้ อย่ำงไรก็ตำม ตำมโครงสรำ้ งกำรด�ำเนินกำรของ ปัจจุบันศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้ำ SO อยู่ภำยใต้กำรดูแลของ ศูนย์พยำกรณ์ฯ ยังจะไม่มีกำรพยำกรณ์ในส่วนของ กฟผ. ซ่ึงมีควำมเหมำะสมในกำรท�ำหน้ำท่ีพยำกรณ์กำรผลิตไฟฟ้ำ กำรผลิตไฟฟ้ำที่ได้จำกพลังงำนทดแทนในส่วนของ จำกพลังงำนทดแทน (RE Forecast) จำกลมและแสงแดด โดย กฟผ. IPS และ VSPP โดยข้อมลู ท่ไี ด้จำกกำรผลิตไฟฟ้ำ อยรู่ ะหวำ่ งกำรศกึ ษำควำมเหมำะสมและปรบั ใชเ้ ทคโนโลยกี ำรพยำกรณ์ จำก IPS และ VSPP รวมถึงหนว่ ยงำนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ไฟฟำ้ ทผี่ ลิตได้จำกพลงั งำนหมุนเวยี น และทดสอบน�ำร่องเทคโนโลย ี จะถกู ส่งต่อให้ส�ำนักงำน กกพ. ซ่ึงมีระบบฐำนข้อมูล โดยกำ� หนดเรมิ่ ใชง้ ำนเชงิ พำณชิ ยภ์ ำยในป ี 2564 ซงึ่ มคี วำมสอดคลอ้ ง และประมวลผลข้อมูลที่สำมำรถสรุปเป็นรำยงำน กับแผนปฏิรูปประเทศด้ำนพลังงำนและกำรส่งเสริมกิจกำรไฟฟ้ำเพื่อ เพ่ือน�ำไปใช้กับหน่วยงำนท่ีร้องขอและเป็นแนวทำง เพิ่มกำรแข่งขันและสอดคล้องตำมแผนกำรขับเคล่ือนกำรด�ำเนินงำน กำรวำงแผนกำรบริหำรจดั กำรข้อมลู ด้ำนไฟฟำ้ ตอ่ ไป ด้ำนสมำร์ทกริดของประเทศไทยในระยะสน้ั 3 System Operator (SO) = ศูนยค์ วบคุมระบบไฟฟ้าซ่งึ เปน็ หน่วยงานหน่ึงภายใต้ กฟผ. ทา� หนา้ ท่ีพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้า (Load Forecast) เพ่ือน�าข้อมูลดงั กลา่ วมาใช้ควบคมุ การส่ังผลติ ของแต่ละโรงไฟฟ้า (Dispatch)
ส่งเสรมิ การแข่งขนั และกา้ วทนั นวตั กรรมพลังงาน
36 ณะ รรม าร �า บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร �า บ จ าร งงาน ส่งเสริม การแข่งขันและกา้ วทันนวัตกรรมพลงั งาน กกพ. และ สำ� นักงำน กกพ. ม่งุ เนน้ กำรพัฒนำกำรออกกฎเกณฑใ์ หมๆ่ ที่ สอดคล้องกบั นวตั กรรมและเทคโนโลยีกำรประกอบธรุ กิจท่ีเปลยี่ นแปลง รวมทัง้ ศกึ ษำแนวทำงกำรก�ำกบั กจิ กำรพลงั งำนทส่ี ง่ เสริมกำรแข่งขันและมคี วำมโปรง่ ใส เป็นธรรม นอกจำกนี้ยังสนับสนุนกำรพัฒนำพลังงำนทดแทนและพลังงำน ทำงเลอื ก เพือ่ ควำมมั่นคงของประเทศ โดยสรุปผลกำรด�ำเนนิ งำนได้ดังนี้ โครงสร้างราคากา๊ ซธรรมชาตเิ พ่ือรองรบั การทดลองน�าเข้า LNG แบบ Spot ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โครงสรำ้ งรำคำก๊ำซธรรมชำตเิ พอ่ื รองรับกำรทดลองนำ� เข้ำ LNG 4. โครงสร้ำงรำคำ ดังนี้ แบบ Spot ของกำรไฟฟ้ำฝำ่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย (กฟผ.) 4.1 เกณฑร์ ำคำน�ำเข้ำ LNG กฟผ. ใหเ้ ป็นไป คณะกรรมกำรบรหิ ำรนโยบำยพลังงำน (กบง.) ในกำรประชมุ คร้ัง ที่ 5/2562 (ครง้ั ที ่ 12) เมอ่ื วนั ท่ ี 21 ตุลำคม 2562 ได้มีมตเิ ห็นชอบ ตำมมต ิ กพช. เมอ่ื วนั ท ่ี 28 มถิ นุ ำยน 2553 ซงึ่ เปน็ หลกั เกณฑ์ แนวทำงกำรทดลองน�ำเขำ้ LNG แบบ Spot ของ กฟผ. โดยให ้ กฟผ. เดียวกับที่ ปตท. ปฏบิ ตั อิ ย่ ู คอื กำ� หนดใหร้ ำคำ LNG Spot ทดลองนำ� เข้ำ LNG ที่น�ำเข้ำไม่เกินรำคำน้�ำมันเตำ 2% โดย กฟผ. สำมำรถ แบบ Spot จ�ำนวน 2 ล�ำเรือ (Cargoes) โดย Cargo ละประมำณ ด�ำเนินกำรน�ำเข้ำได ้ โดยไมต่ ้องผำ่ น กบง. อกี ครง้ั 65,000 ตนั ปริมำณรวมไมเ่ กนิ 200,000 ตนั ตำมมติ กบง. เมอื่ วัน ท ่ี 30 สงิ หำคม 2562 ตำมกำ� หนดเวลำ คือ ลำ� เรอื ท่ี 1 นำ� เข้ำในเดอื น 4.2 ให้ กฟผ. สง่ ผ่ำนค่ำไฟฟำ้ จำกโรงไฟฟ้ำท่ใี ช ้ ธันวำคม 2562 และล�ำเรือที ่ 2 นำ� เขำ้ ในเดอื นเมษำยน 2563 ภำยใต้ LNG ของ กฟผ. ไปเฉล่ยี ในโครงสร้ำงรำคำไฟฟ้ำได้ เงอื่ นไขดังนี้ 4.3 หลักเกณฑ์กำรสั่งเดินเครื่องโรงไฟฟ้ำท่ีใช้ 1. Slot Available : PTTLNG แจง้ Slot ลว่ งหน้ำ 3 - 5 Slots/ Spot LNG ในครัง้ นเี้ ป็น Must take Cargo แทนกำรจองใช้งำนแบบ Use-It-Or-Lose-It (UIOLI) เพ่ือให้ได้ รำคำท่ีเหมำะสมท่ีสุด เนื่องจำกผู้ค้ำต้องมีควำมยืดหยุ่นในกำรเลือก 5. โรงไฟฟำ้ ทก่ี ำ� หนดใหใ้ ช ้ Spot LNG : คอื โรงไฟฟำ้ เวลำสง่ มอบ (Slot Flexibility) วงั น้อยชุดท่ี 4 (WN4) โรงไฟฟ้ำบำงปะกง ชดุ ท่ี 5 (BPK5) และโรงไฟฟ้ำพระนครใตร้ ะยะท่ี 1 (SBRP1) 2. เงอื่ นไข UIOLI ของ Terminal : ก�ำหนดอัตรำ Send Out Rate ตำมแผนกำรใช้จรงิ ของโรงไฟฟำ้ ของ กฟผ. และให ้ กฟผ. ชำ� ระเงิน 6. คำ่ ใช้จ่ำยในกำรนำ� เขำ้ : คำ่ ใชจ้ ำ่ ยน�ำเข้ำ = รำคำ ตำมวนั และปรมิ ำณ Send Out Rate ตำมท่ี กฟผ. ใชจ้ รงิ เนื้อ LNG + Surveyor Fee + คำ่ สนิ คำ้ ผ่ำนท่ำเทยี บเรอื + คำ่ เดนิ พิธีศุลกำกร + คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรนำ� เข้ำอน่ื ๆ + คำ่ 3. กำรชำ� ระคำ่ บริกำรระบบทอ่ : ให้ กฟผ. ชำ� ระคำ่ ผ่ำนทอ่ ตำม ใช้จ่ำยทำงกำรเงนิ + คำ่ สถำน+ี ค่ำท่อ + คำ่ ประกัน + ค่ำ หลกั Daily Basis ตำมจำ� นวนวนั ที่ใช้จรงิ โดยไมใ่ หเ้ กดิ ควำมซำ้� ซ้อนกับ ธรรมเนียมใบอนญุ ำต + Margin โดยให้ กฟผ. เรียกเก็บค่ำ สญั ญำซอ้ื ขำยก๊ำซธรรมชำตริ ะหวำ่ ง กฟผ. กับ ปตท. ฉบับปัจจุบัน ใชจ้ ำ่ ยนำ� เขำ้ โดยไมค่ ิดคำ่ ใชจ้ ่ำยทำงกำรเงิน และ Margin เม่อื เงื่อนไขกำรใช ้ LNG Terminal และทอ่ ส่งกำ๊ ซ เปน็ ไป ตำมขอ้ 1.-3. ขำ้ งต้น
รายงานประจ�าปงี บประมาณ 2562 37 7. ให้ กฟผ. และ กกพ. รำยงำนผล โครงการ ERC Sandbox กำรน�ำเข้ำ LNG ล�ำเรอื แรกตอ่ กบง. เพ่ือ ตำมที่ กกพ. ต้องกำรผลักดันกลไกกำรก�ำกับนโยบำยและกำรก�ำกับกิจกำร ทรำบผลกระทบจำกกำรดำ� เนินกำร รวมถงึ พลงั งำนเชงิ รกุ ในรปู แบบนำ� หนำ้ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทเี่ ปลย่ี นแปลงอยำ่ งรวดเรว็ กำรเปรียบเทียบต้นทุนค่ำไฟฟ้ำ และผล แทนกำรกำ� กบั กจิ กำรพลงั งำนแบบตำมหลงั ซงึ่ ไมท่ นั ตอ่ เหตกุ ำรณแ์ ละสถำนกำรณท์ ่ี กระทบต่ออตั รำคำ่ ไฟฟ้ำ เปลย่ี นแปลงไป ตลอดจนควำมตอ้ งกำรในกำรเพม่ิ กำรแขง่ ขนั ทเี่ ปน็ ธรรม เพ่อื รองรบั โดย ส�ำนกั งำน กกพ. จะใชโ้ ครงสร้ำง ทิศทำงกำรส่งเสริมกำรแข่งขันของกิจกำรไฟฟ้ำของประเทศและเตรียมควำมพร้อม รำคำก๊ำซธรรมชำติตำมมติคณะกรรมกำร ในกำรเปดิ เสรกี ิจกำรไฟฟ้ำ กกพ. จงึ ไดร้ ิเร่ิมแนวนโยบำยในกำรเปิดพืน้ ที ่ Sandbox บริหำรนโยบำยพลังงำนในกำรประชุมคร้ัง ส�ำหรบั รองรับกำรทดสอบนวตั กรรมรปู แบบทำงธรุ กิจ และกำรบริหำรจัดกำรระบบ ท ่ี 5/2562 (คร้ังที่ 12) เมอ่ื วนั ท่ี 21 ตุลำคม ไฟฟ้ำรปู แบบใหมส่ อดคล้องกับแผนปฏริ ปู ประเทศด้ำนพลงั งำน 2562 ซ่ึงเปน็ โครงสร้ำงรำคำก๊ำซธรรมชำติ โดย กกพ. ได้ออกประกำศเชญิ ชวนผู้สนใจเขำ้ ร่วมโครงกำรทดสอบนวัตกรรม เพ่ือรองรับ ทน่ี ำ� เทคโนโลยสี นบั สนนุ กำรใหบ้ รกิ ำรดำ้ นพลงั งำน (Energy Regulatory Commission กำรทดลองนำ� เขำ้ LNG แบบ Spot Sandbox : ERC Sandbox) โดยกำ� หนดประเภทของกจิ กรรมและนวตั กรรมทผี่ ู้สมัคร ของ กฟผ. ตลอดจนสำ� นกั งำน กกพ. จะ สำมำรถน�ำมำทดสอบใน ERC Sandbox ตอ้ งเป็นธุรกรรมท่ีอยใู่ นขอบเขตกำรก�ำกับ ตรวจสอบปรมิ ำณกำรใช ้ LNG ของโรงไฟฟำ้ ดแู ลของ กกพ. จำ� นวน 5 ประเภท ได้แก ่ ศึกษำโครงสรำ้ งตลำดไฟฟำ้ รปู แบบใหม่ ท่ีกำ� หนดจำกกำรน�ำเขำ้ LNG แบบ Spot ศกึ ษำโครงสร้ำงอัตรำคำ่ บรกิ ำรรูปแบบใหม ่ ศึกษำเทคโนโลยใี หม่ ศึกษำกำรจดั กำร ของ กฟผ. ให้เกดิ ควำมชัดเจนต่อไป และกำรปฏิบัติกำรระบบไฟฟ้ำรปู แบบใหม ่ และศกึ ษำรปู แบบกิจกำรธุรกจิ ใหมด่ ้ำน ทง้ั น ้ี สำ� นกั งำน กกพ. ได้รำยงำนกำร พลงั งำน ซ่ึงกำรพจิ ำรณำคัดเลอื กโครงกำรฯ ไดม้ ีกำรเปิดให้ยน่ื ขอ้ เสนอโครงกำรฯ ทดลองนำ� เข้ำ LNG แบบ Spot ของ กฟผ. ระหว่ำงวนั ท่ี 3 พฤษภำคม – 28 มิถนุ ำยน 2562 โดยมีผูส้ นใจเข้ำยืน่ ข้อเสนอเข้ำรว่ ม ต่อ กพช. แลว้ เม่ือวนั ท่ ี 16 ธนั วำคม 2562 โครงกำรฯ รวมจ�ำนวนทงั้ สิน้ 183 โครงกำร ซ่งึ แบง่ ออกเปน็ 8 กิจกรรม ดงั น้ี และ กฟผ. ไดน้ ำ� เขำ้ LNG แบบ Spot (First Cargo) แล้ว เม่ือวนั ท่ ี 28 ธันวำคม 2562 ลำ� ดับ ประเภทกจิ กรรม จำ� นวนโครงกำร 1 Peer to Peer Energy Trading 138 2 Bilateral Energy Trading 3 Microgrid 17 4 Energy Storage 11 5 การศึกษาโครงสร้างอตั ราคา่ บรกิ ารรปู แบบใหม่ 7 6 รปู แบบทางธุรกจิ ใหม่ 7 7 ก๊าซธรรมชาติ 2 8 กจิ การและนวัตกรรมทที่ ดสอบอนื่ ๆ 1 183 รวม สำ� นักงำน กกพ. ได้จดั งำนเสวนำ “โครงกำร Energy Regulatory Commission Sandbox : ERC Sandbox” เมื่อวนั ท ่ี 13 กรกฎำคม 2562 โดยเป็นกำรน�ำเสนอควำมคืบหน้ำของโครงกำรต่อผู้ท่ีสนใจเข้ำร่วมโครงกำร ทงั้ จำกหน่วยงำนภำครัฐ มหำวทิ ยำลัย และภำคเอกชนจำ� นวนกวำ่ 60 คน โดยได้รับเกียรติจำก ดร.มณิศำ พิพัฒนสมพร จำกสถำบันวิจัยพลังงำน จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั คณุ นพิ นธ์ คนองชัยยศ จำก บริษทั ปตท. จ�ำกดั (มหำชน) และ ดร.ประสิทธ ์ิ สิรทิ พิ ยร์ ัศมี ผอู้ ำ� นวยกำรฝำ่ ยวศิ วกรรมและ วิชำกำร ส�ำนักงำน กกพ. ร่วมเป็นวิทยำกร พร้อมกับตอบข้อซักถำม ภำยในงำน ผูส้ นใจเข้ำรว่ มงำนเสวนำ “โครงกำร Energy Regulatory Commission Sandbox : ERC Sandbox”
38 ณะ รรม าร �า บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน ทงั้ นี้ ส�ำนักงำน กกพ. ได้มีกำรพิจำรณำคัดเลือกโครงกำร Trading สงู ถึง 138 รำย จำกทง้ั หมด 183 รำย รวมไปถงึ กำรย่ืน ทดสอบนวัตกรรมท่ีน�ำเทคโนโลยีมำสนับสนุนกำรให้บริกำร โครงกำรท่ีเกีย่ วเนื่อง ไดแ้ ก่ โครงกำร Microgrid โครงกำร Energy พลงั งำน (ERC Sandbox) เมอ่ื วนั ท ี่ 30 สงิ หำคม 2562 ผลปรำกฏ Storage ซ่ึงน่ำจะเปน็ ผลมำจำกแนวโน้มกำรพัฒนำเทคโนโลยี วำ่ มผี ผู้ ำ่ นกำรพจิ ำรณำและไดร้ บั สทิ ธเิ ขำ้ รว่ มในโครงกำรทดสอบ ทำงด้ำนพลังงำนทดแทนท่ีมีรำคำถูกลง รวมท้ังเทคโนโลยี นวัตกรรมที่น�ำเทคโนโลยีมำสนับสนุนกำรให้บริกำรพลังงำน บลอ็ กเชนกำ� ลังอยใู่ นกระแสและเป็นทต่ี อ้ งกำร ส่งผลใหม้ ีควำม (ERC Sandbox) จำ� นวน 34 โครงกำร จำกกำรยื่นข้อเสนอท้ัง ต้องกำรผลิตไฟฟ้ำที่ลดกำรพึ่งพำระบบท่เี พ่มิ มำกขนึ้ ตลอดจน สนิ้ 183 โครงกำร ซ่ึงโครงกำรที่ผ่ำนกำรพจิ ำรณำเปน็ โครงกำร ต้องกำรให้มีกำรแข่งขนั ทเี่ พิ่มมำกข้ึนด้วย ซ่ึงสำ� นกั งำน กกพ. ทดสอบนวัตกรรม 3 อันดบั แรก คือโครงกำรทดสอบเกย่ี วกับ ยงั คงต้องมกี ำรพิจำรณำสถำนกำรณท์ เ่ี หมำะสม ท้งั ในแงร่ ะยะ เก็บกักประจุไฟฟ้ำ (Energy Storage) สูงสุดจ�ำนวน 9 รำย เวลำและปริมำณกำรแข่งขันประกอบด้วย รองลงมำคอื โครงกำรทดสอบเกยี่ วกบั กำรซอื้ ขำยไฟฟำ้ ระหวำ่ งกนั ทง้ั น ้ี โครงกำร ERC Sandbox ที่ไดร้ ับควำมสนใจมำกจำก โดยไม่ผ่ำนระบบจำ� หน่ำย (Peer to Peer Energy Trading & ทกุ ภำคส่วน ทัง้ ผปู้ ระกอบกำรพลังงำนชน้ั น�ำภำครฐั และเอกชน Bilateral Energy Trading) จ�ำนวน 8 รำย และโครงกำรผลิต และสถำบันอุดมศึกษำ แสดงให้เห็นถึงควำมตื่นตัวในกำรท่ีจะ ไฟฟำ้ ขนำดเลก็ ไมผ่ ำ่ นระบบจ�ำหนำ่ ย (Microgrid) จ�ำนวน 6 รำย รบั มอื และใชป้ ระโยชนจ์ ำก Disruptive Technology ซง่ึ สำ� นกั งำน ตำมลำ� ดับ กกพ. เองมคี วำมมงุ่ ม่นั ในกำรใช้กระบวนกำรเรยี นรู้รว่ มกัน เพ่อื โดยในจ�ำนวนผู้ย่ืนโครงกำรทดสอบนวัตกรรมฯ มีผู้ย่ืน ทบทวนและยกระดับกระบวนกำรก�ำกับดูแลให้มีประสิทธิภำพ โครงกำร Peer to Peer Energy Trading & Bilateral Energy และมีเสถยี รภำพมำกยิง่ ๆ ข้นึ ไป ประเภทกิจกรรมและนวัตกรรมท่ีดําเนนิ การภายใต้ โครงการ ERC Sandbox ต้องเป็นธรุ กรรมทอี่ ยูใ่ นขอบเขตการกา� กบั ดแู ลของ กกพ. โดยแบง่ เป็นประเภทไดด้ ังนี้ 11.. ศกึ ษาโครงสร้างตลาดไฟฟ้า Import คุณสมบตั ิ ของผ้มู ีสิทธสิ มัครเข้าร่วมโครงการ รูปแบบใหม่ เช่น Peer-to-Peer Export Energy Trading ตอ้ งเปน็ หนว่ ยงานของรฐั หรอื นติ บิ คุ คล ทจ่ี ดทะเบยี นในประเทศไทย หรอื สถาบนั การศกึ ษา 22.. ศึกษาโครงสรา้ งอัตรา ท่ีประสงค์จะเสนอผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นนวัตกรรม ทางด้านพลังงานและมีความจําเป็นต้องใช้ ERC ค่าบรกิ ารรปู แบบใหม่ เชน่ Net Sandbox ในการทดสอบ Metering และ Net Billing 3. ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ เชน่ มหาวิทยาลยั บริษัท เอกชน ผรู้ ับใบอนุญาตประกอบ กิจการพลังงาน ยานยนตไ์ ฟฟา้ (EV) และ ระบบกักเกบ็ พลังงาน (Energy Storage) การเปดิ รับย่นื ข้อเสนอโครงการขัน้ ตน้ (Conceptual Proposal) ภายใต้โครงการ ERC Sandbox (3 พ.ค. - 28 มิ.ย. 2562) 44.. ศกึ ษาการจดั การและ ใบสมคั ร 1. 2. เข้ารว่ มโครงการ รายละเอยี ดหลกั การและ การปฏิบตั ิการระบบไฟฟ้ารูปแบบใหม่ แนวคิด วัตถปุ ระสงค์ โครงการ เชน่ ระบบไมโครกรดิ (Microgrid) ประโยชนแ์ ละผลกระทบที่อาจเกดิ ข้นึ จากการดําเนนิ โครงการ Energy 55.. ศึกษารูปแบบกจิ การธรุ กิจใหม่ 3. 4. Aggregator ด้านพลังงาน เชน่ การซือ้ ขายไฟฟ้า รายละเอียดความสอดคลอ้ ง รายละเอยี ดเก่ยี วกับพ้ืนทด่ี ําเนิน ผา่ นคนกลาง (Supply and Load ของโครงการต่อแผนปฏริ ปู โครงการ ผเู้ ขา้ รว่ มดําเนนิ โครงการ Aggregator) ประเทศ ด้านพลังงาน และ นโยบายของรฐั ผู้มีส่วนได้เสียในพื้นท่ี
รายงานประจา� ปงี บประมาณ 2562 39 การศึกษาโครงสร้างอตั ราค่าไฟฟา้ และการจัดการที่เหมาะสม ส�าหรับสถานีอดั ประจไุ ฟฟ้าของยานยนต์ไฟฟ้า คณะกรรมกำรนโยบำยพลังงำนแห่งชำติ (กพช.) ในกำรประชุมคร้งั ท่ ี 3/2560 (ครง้ั ที่ 13) เม่อื วันท ี่ 31 กรกฎำคม 2560 ไดพ้ จิ ำรณำเรอ่ื ง อัตรำคำ่ ไฟฟ้ำช่วั ครำวส�ำหรับยำนยนต์ไฟฟ้ำ โดยมมี ติเหน็ ชอบใหส้ ถำนอี ัดประจไุ ฟฟ้ำใชอ้ ตั รำ คำ่ ไฟฟำ้ ตำมประกำศ เรอ่ื ง อตั รำคำ่ บรกิ ำรสำ� หรบั ยำนยนตไ์ ฟฟำ้ ในระยะแรกเพอ่ื รองรบั กำรใชง้ ำนรถโดยสำรสำธำรณะไฟฟำ้ (โครงกำรนำ� ร่อง) ของกำรไฟฟำ้ ฝำ่ ยจำ� หนำ่ ยเปน็ กำรชวั่ ครำวไปก่อนจนกวำ่ จะมีอัตรำคำ่ ไฟฟำ้ ถำวรส�ำหรับยำนยนตไ์ ฟฟำ้ ท้งั นี ้ ใหก้ ำรไฟฟ้ำฝำ่ ยจำ� หนำ่ ยอ�ำนวยควำมสะดวกแกเ่ จ้ำของสถำนอี ดั ประจใุ นกำรขออนุญำตต่ำงๆ และหำกในกรณีที่ อำจเกดิ ปัญหำในทำงปฏบิ ตั ิ มอบหมำยให้คณะกรรมกำรบรหิ ำรนโยบำยพลงั งำน (กบง.) และ กกพ. มอี ำ� นำจตัดสนิ ใจแก้ไข ปัญหำในทำงปฏบิ ตั ิดงั กล่ำวได ้ ทง้ั น ้ี เม่อื วันท่ี 27 กันยำยน 2560 กำรไฟฟ้ำนครหลวง (กฟน.) ได้มปี ระกำศ เรื่อง อตั รำ ค่ำบริกำรส�ำหรับสถำนอี ดั ประจไุ ฟฟ้ำเป็นกำรช่วั ครำว ตำมมติ กพช. ในกำรประชุมครัง้ ท ่ี 3/2560 (คร้งั ท่ี 13) เมื่อวนั ท ่ี 31 กรกฎำคม 2560 และเม่ือวนั ท่ ี 2 ตลุ ำคม 2560 กำรไฟฟ้ำสว่ นภมู ิภำค (กฟภ.) ได้มีประกำศ เรอ่ื ง อัตรำค่ำไฟฟ้ำชั่วครำว สำ� หรับยำนยนตไ์ ฟฟ้ำ ตำมมติ กพช. ในกำรประชมุ ครัง้ ท่ ี 3/2560 (ครั้งท ่ี 13) เม่อื วันท ่ี 31 กรกฎำคม 2560 กกพ. ไดอ้ อกระเบียบ กกพ. ว่ำด้วยกำรขอรบั ใบอนญุ ำต สนบั สนนุ กำรใหบ้ รกิ ำรดำ้ นพลงั งำน (ERC Sandbox) ตัง้ แตว่ นั ท ่ี และกำรอนุญำตกำรประกอบกิจกำรพลังงำน (ฉบับที่ 3) 3 พฤษภำคม ถงึ วันท่ ี 28 มิถนุ ำยน 2562 ตอ่ มำได้ประกำศ พ.ศ. 2560 (ระเบียบฯ) เมอื่ วนั ที ่ 5 ตุลำคม 2560 เพื่อกำ� หนด รำยชื่อผ้มู ีสิทธิเข้ำรว่ มโครงกำร ERC Sandbox เม่ือวนั ท ี่ 30 หลักเกณฑ์และเง่ือนไขในกำรยื่นค�ำขอรับใบอนุญำตประกอบ สงิ หำคม 2562 ซ่งึ มีโครงกำรทผี่ ่ำนกำรพจิ ำรณำคดั เลอื ก จำ� นวน กจิ กำรไฟฟำ้ โดยกำ� หนดเกณฑก์ ำรอนญุ ำตตำมขนำดกำรจำ� หนำ่ ย 34 โครงกำร รวมถงึ โครงกำรทเี่ สนอขอศกึ ษำอตั รำคำ่ ไฟฟ้ำที่ ไฟฟำ้ ของสถำนอี ดั ประจไุ ฟฟำ้ ดงั น ี้ (1) กรณสี ถำนอี ดั ประจไุ ฟฟำ้ เหมำะสมส�ำหรับสถำนอี ดั ประจุไฟฟำ้ มขี นำดกำรจำ� หนำ่ ยไฟฟำ้ 1,000 กโิ ลโวลตแ์ อมแปร์ ขน้ึ ไป แนวทำงกำรศึกษำเพื่อส่งเสริมกำรใช้ยำนยนต์ไฟฟ้ำ (หรือขนำดตง้ั แต ่ 1.0 เมกะวตั ต ์ ที่ค่ำตวั ประกอบกำ� ลังไฟฟ้ำ ปจั จุบันภำครฐั มีนโยบำยสนับสนุนใหม้ กี ำรใชร้ ถยนต์ไฟฟ้ำ รถ เทำ่ กับ 1.0) ต้องไดร้ ับใบอนญุ ำตจำก กกพ. และ (2) กรณสี ถำนี จกั รยำนยนต์ไฟฟ้ำ (EV bike) และรถโดยสำรสำธำรณะไฟฟ้ำ อดั ประจไุ ฟฟ้ำ มีขนำดกำรจ�ำหนำ่ ยไฟฟำ้ ต่ำ� กว่ำ 1,000 กิโล เพมิ่ ขน้ึ ซง่ึ จำกขอ้ มลู สถติ จิ ำ� นวนรถ ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยรถยนต์ โวลตแ์ อมแปร ์ ยกเวน้ ไม่ต้องขอรบั ใบอนญุ ำต (ให้มำจดแจง้ จำ� แนกตำมชนิดเชอื้ เพลงิ รวมท่วั ประเทศ ณ วนั ท่ ี 31 ตุลำคม ต่อส�ำนักงำน กกพ. เพอ่ื ขอยกเวน้ ตำมพระรำชกฤษฎีกำกำ� หนด 2562 ของกรมกำรขนส่งทำงบก พบว่ำ มีพำหนะท่ีใช้ไฟฟ้ำ ประเภท ขนำด และลกั ษณะของกจิ กำรพลงั งำน ทไี่ ดร้ บั กำรยกเวน้ (ไม่มีเคร่ืองยนต์สันดำปภำยใน) ทั้งสิ้น 2,411 คัน แบ่งเป็น ไมต่ อ้ งขอรบั ใบอนุญำตกำรประกอบกิจกำรพลังงำน พ.ศ. 2552) ประเภทรถยนตไ์ ฟฟำ้ 678 คนั รถจกั รยำนยนตไ์ ฟฟำ้ 1,619 คนั ทงั้ น้ ี คำ� วำ่ “ยำนยนตไ์ ฟฟ้ำ” ในระเบียบฯ ก�ำหนดค�ำนยิ ำมไวว้ ำ่ และรถโดยสำรไฟฟ้ำ 114 คัน ทั้งน้ี เพ่ือเป็นกำรส่งเสริม หมำยถึง พำหนะที่มีกำรขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ หรือ สถำนีอัดประจุไฟฟ้ำให้สำมำรถให้บริกำรแก่ยำนยนต์ไฟฟ้ำ ท่ีอำศัยเครื่องยนต์เผำไหม้ภำยในมำใช้ร่วมกับมอเตอร์ไฟฟ้ำ ในระยะแรก (ระยะเวลำ 3 ป)ี ส�ำนกั งำน กกพ. ได้เสนออัตรำ ท้งั ในสว่ นของกำรขับเคลอ่ื นและผลิตพลังงำนไฟฟำ้ เกบ็ สะสม ค่ำไฟฟ้ำส�ำหรับสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำในปัจจุบันก�ำหนดให้ ในแบตเตอรี่ หรือเทคโนโลยีกำรใช้ก๊ำซไฮโดรเจนในกำรผลิต ผู้ประกอบกำรจะตอ้ งจ่ำยค่ำ Demand Charge และ Energy พลังงำนไฟฟ้ำจำกเซลล์เช้ือเพลิงเพื่อมำเป็นต้นก�ำลังในกำร Charge ในอัตรำคำ่ ไฟฟำ้ ประเภทที่ 3 อตั รำตำมช่วงเวลำของ ขับเคลื่อน กำรใช ้ (Time of Use Rate : TOU) สง่ ผลใหม้ ตี น้ ทนุ กำรประกอบกำร ส�ำนักงำน กกพ. ได้ออกประกำศเชญิ ชวนเข้ำร่วมโครงกำร ทสี่ งู ซง่ึ อำจจะไมส่ ะทอ้ นตน้ ทนุ ทแ่ี ทจ้ รงิ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ำรศกึ ษำ ทดสอบนวัตกรรมที่น�ำเทคโนโลยีมำสนับสนุนกำรให้บริกำร โครงสร้ำงอตั รำค่ำไฟฟ้ำส�ำหรับสถำนีอดั ประจไุ ฟฟำ้ เพอื่ ศกึ ษำ ด้ำนพลังงำน (Energy Regulatory Commission Sandbox: อัตรำและวิธีกำรจัดกำรระบบจ�ำหน่ำยไฟฟ้ำท่ีเหมำะสมส�ำหรับ ERC Sandbox) เม่ือวนั ท่ ี 2 พฤษภำคม 2562 โดยใหผ้ สู้ นใจยื่น สถำนอี ดั ประจุไฟฟ้ำในระยะยำว โดยสรุปข้อเสนอเพอื่ ใชใ้ นกำร ข้อเสนอเข้ำร่วมโครงกำรทดสอบนวัตกรรมที่น�ำเทคโนโลยีมำ ศกึ ษำดังน้ี
40 ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน (1) ศึกษำวิธีกำรจัดกำรสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำให้มีประสิทธิภำพ นอกจำกน ี้ กกพ. ในกำรประชุมคร้งั ที่ 75/2562 โดยก�ำหนดให้กำรใช้ไฟฟ้ำส�ำหรับสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำมีควำมส�ำคัญ (ครง้ั ท ี่ 637) เมอ่ื วนั ท ี่ 2 ธนั วำคม 2562 ไดพ้ จิ ำรณำเรอื่ ง ลำ� ดบั รอง (Low Priority) เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั กำรใชไ้ ฟฟำ้ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงค์ กำรศึกษำโครงสร้ำงอัตรำค่ำไฟฟ้ำและกำรจัดกำรท่ี ท่ัวไป และสำมำรถควบคุม ปรับลดหรือตัดกำรใช้ไฟฟ้ำของสถำนี เหมำะสมสำ� หรบั สถำนอี ดั ประจไุ ฟฟำ้ ของยำนยนตไ์ ฟฟำ้ ประจุไฟฟ้ำได้ เม่ือมีข้อจ�ำกัดด้ำนควำมจุไฟฟ้ำของระบบจ�ำหน่ำย และเห็นว่ำกำรส่งเสริมสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำส�ำหรับ ไฟฟ้ำ (Grid capacity) เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อผู้ใช้ไฟฟ้ำรำยอ่ืน ยำนยนต์ไฟฟ้ำในระยะแรกควรคำ� นงึ ถึงประเภทอัตรำค่ำ ซ่ึงจ�ำเป็นต้องมีกำรติดต้ังมิเตอร์ไฟฟ้ำเพ่ิมเติมเพ่ือตรวจวัดและ ไฟฟ้ำทีเ่ หมำะสมและเป็นธรรม ส�ำหรบั กิจกำรประเภท ควบคุมสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำในสำยป้อน (Feeder) ที่เก่ียวข้องและ สถำนีอัดประจุไฟฟ้ำเพื่อช่วยส่งเสริมยำนยนต์ไฟฟ้ำ ตดิ ตงั้ ระบบตรวจวดั และควบคมุ รวมทง้ั ระบบสอื่ สำร ซงึ่ ผปู้ ระกอบกำร ตำมนโยบำยของรัฐบำล ตลอดจนควรมกี ำรจดั กำรเพอื่ สถำนีอัดประจุไฟฟำ้ ตอ้ งรับผดิ ชอบค่ำใชจ้ ำ่ ยทงั้ หมดทเ่ี กดิ ขึ้น ใหม้ ีกำรใชไ้ ฟฟำ้ อยำ่ งคุ้มคำ่ และมปี ระสทิ ธภิ ำพ จึงมมี ติ เห็นควรเสนอ กบง. และ กพช. เพ่ือให ้ กกพ. ศึกษำ (2) ศกึ ษำพฤตกิ รรมของผใู้ ชย้ ำนยนตไ์ ฟฟำ้ เพอ่ื นำ� มำใชก้ ำ� หนด อัตรำค่ำไฟฟ้ำและกำรจัดกำรที่เหมำะสมส�ำหรับกิจกำร อตั รำคำ่ ไฟฟำ้ ทีเ่ หมำะสม ประเภทสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำของยำนยนต์ไฟฟ้ำ ใน โครงกำร ERC Sandbox ซง่ึ สำ� นักงำน กกพ. ได้น�ำเสนอ (3) ศึกษำอัตรำค่ำไฟฟ้ำส�ำหรับกิจกำรประเภทสถำนีอัดประจุ เรอ่ื งดงั กล่ำว ต่อคณะกรรมกำรบริหำรนโยบำยพลังงำน ไฟฟ้ำของยำนยนต์ไฟฟ้ำ โดยอัตรำค่ำไฟฟ้ำต้องไม่ต่�ำกว่ำอัตรำ (กบง.) เม่ือวันท่ี 4 ธันวำคม 2562 และกรรมกำร คำ่ ไฟฟ้ำช่วง Off-peak โดยมรี ะยะเวลำในกำรศกึ ษำไมเ่ กนิ 2 เดือน นโยบำยพลังงำนแห่งชำติ (กพช.) เม่ือวนั ที่ 16 ธนั วำคม ทง้ั น้ี เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั ควำมเร่งดว่ นของนโยบำยสง่ เสริมยำนยนต์ 2562 แล้ว ไฟฟ้ำ (4) น�ำเสนอผลกำรศกึ ษำให้ กพช. พิจำรณำใหค้ วำมเห็นชอบ ต่อไป การดา� เนนิ การโครงการรบั ซื้อไฟฟา้ จาก พลงั งานหมุนเวียน: โครงการ “โซลาร์ภาคประชาชน” ให้เจ้าของบา้ นและอาคารท่อี ยอู่ าศัย ทตี่ ้องการติดต้งั แผงเซลล์ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทติ ยเ์ พื่อใชเ้ องสามารถ เชือ่ มกบั ระบบไฟฟ้าของประเทศ และขายผลผลติ ไฟฟ้าส่วนทเี่ หลอื ใช้เข้าสู่ระบบได้ ในกำรประชมุ เม่อื วนั ท ่ี 24 มกรำคม 2562 กพช. ได้มีมติเห็นชอบแผนพัฒนำก�ำลงั ผลติ ไฟฟ้ำของประเทศไทย (ฉบับใหม่) (PDP2018) ในกำรเสริมสร้ำงระบบพลงั งำนไฟฟ้ำของประเทศที่ม่นั คง ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของผบู้ ริโภค ในรำคำท่สี ง่ เสริม ใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ของประเทศสำมำรถแขง่ ขันได ้ และเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมอย่ำงยั่งยนื ดว้ ยกำรใชว้ วิ ฒั นำกำรดำ้ นเทคโนโลยี ตำมแนวพฒั นำประเทศส่ ู Thailand 4.0 ใหเ้ ป็นระบบไฟฟำ้ ทันสมัย สำมำรถรองรับสดั สว่ นกำรผลติ ไฟฟ้ำจำกพลังงำนหมุนเวยี น และมำตรกำรอนุรักษ์พลังงำนได้สูงถึงร้อยละ 35 ภำยในปี 2580 ซ่ึงกำรใช้แผงเซลล์ผลิตไฟฟ้ำด้วยพลังงำนแสงอำทิตย ์ (Photo Voltaic Solar Cell) ถือเปน็ สว่ นสำ� คัญของแผนกำรผลิตไฟฟำ้ จำกพลังงำนหมุนเวยี นดงั กลำ่ ว ในสดั ส่วนมำกกว่ำ รอ้ ยละ 50 ด้วยก�ำลงั ผลิตตดิ ต้ังรวม 12,725 เมกะวัตต ์ ตลอดจนนโยบำยของรฐั บำลในกำรสนบั สนุนให้ประชำชนทตี่ อ้ งกำร มีส่วนร่วมในกำรผลิตไฟฟ้ำเพื่อใช้เอง โดยสำมำรถเช่ือมเข้ำเป็นส่วนหน่ึงของระบบไฟฟ้ำของประเทศและขำยผลผลิตไฟฟ้ำ สว่ นท่ีเหลอื ใช้ในบำงเวลำเขำ้ สรู่ ะบบได้ ดว้ ยก�ำลงั กำรผลติ ติดตั้งประมำณ 100 เมกะวัตต์/ปี เปน็ ระยะเวลำ 10 ป ี ประกอบด้วย พ้ืนท่ีกำรไฟฟ้ำนครหลวงรวม 30 เมกะวัตต์ และพ้ืนท่ีกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำครวม 70 เมกะวัตต์ รำคำรับซื้อไฟฟ้ำส่วนเกิน
รายงานประจ�าปงี บประมาณ 2562 41 ในอตั รำไม่เกนิ 1.68 บำท/หนว่ ย ระยะเวลำรับซอ้ื 10 ปี โดยคำดว่ำจะเร่ิมรับจดทะเบยี นไดต้ ัง้ แตเ่ ดอื นพฤษภำคม 2562 เป็นต้นไป โดยกำรพิจำรณำแบบเรียงล�ำดบั กอ่ นหลังตำมควำมพร้อม (First come, First served) โดยจะยดึ ถอื วนั และเวลำทไ่ี ด้รับแบบค�ำขอ ที่มีควำมครบถ้วนสมบูรณข์ องเอกสำรหลกั ฐำนท่ีก�ำหนดเปน็ ส�ำคัญ ท้ังนี ้ โครงกำรดงั กล่ำวจะมีส่วนสนับสนุนใหผ้ ูผ้ ลติ แผงโซล่ำเซลล ์ ผู้ประกอบกำรติดตัง้ ระบบในประเทศ และสถำบนั อำชีวศึกษำ สำมำรถมีส่วนร่วมในธรุ กจิ กำรตดิ ตั้งและบ�ำรุงรักษำระบบ โดยในแต่ละปคี ำดวำ่ จะมกี ำรติดตั้งประมำณ 10,000 - 20,000 ระบบ คดิ เป็น มลู ค่ำประมำณ 4,000 ลำ้ นบำท/ปี หรือประมำณ 40,000 ล้ำนบำท ตลอดระยะเวลำโครงกำร 10 ปี การดา� เนนิ การ: 1. สำ� นักงำน กกพ. ได้เริ่มกระบวนกำรเผยแพร่ประชำสัมพนั ธ์โครงกำรฯ เมอ่ื เดอื นมนี ำคม 2562 แลว้ เสร็จ 2. เปิดรับลงทะเบยี นส�ำหรบั ผ้สู นใจเขำ้ รว่ มโครงกำรผำ่ นเวบ็ ไซต์ของกำรไฟฟำ้ นครหลวงและเว็บไซต์ของ กำรไฟฟำ้ สว่ นภมู ภิ ำคท่วั ประเทศ ต้ังแตเ่ ดือนพฤษภำคม และหมดเขตรบั ลงทะเบยี นภำยในป ี 2562 3. ทยอยประกำศรำยชอ่ื ผ้ผู ำ่ นกำรพจิ ำรณำโดยกำรไฟฟำ้ ฝำ่ ยจ�ำหนำ่ ย ต้งั แตเ่ ดอื นมิถุนำยน 2562 4. ก�ำหนดจ่ำยไฟฟำ้ เข้ำระบบเชิงพำณชิ ย ์ ภำยในปี 2562 โครงกำรโซลำร์ ผลติ ไฟฟ้ำใชเ้ อง ภาคประชาชน ระยะท่ี 1 (Self Consumption) และ กลุ่มเป้าหมาย : ภาคครวั เรอื น ไฟฟ้ำท่เี หลอื สำมำรถขำยได้ • ผใู้ ช้ไฟฟา้ ประเภทบ้านท่อี ย่อู าศัย • กา� ลงั ผลติ ติดต้ังไม่เกิน 10 kWp รูปแบบ Net Transactions : • มิเตอรไ์ ฟฟา้ ประเภทท่ี 1 (บา้ นอย่อู าศัย) • เป็นเจ้าของมเิ ตอร์ มิ เ ต อ ร์ วั ด ไ ฟ ฟ้ า เ ป็ น แ บ บ จ า น ห มุ น จ ะ ต้ อ ง • ราคารับซ้ือไฟฟา้ ส่วนเกิน 1.68 บาท/kwh เปล่ียนมาเป็นแบบดิจิตอล โดยแสดงมูลค่า • ระยะเวลารบั ซ้อื 10 ปี การซ้อื ไฟฟา้ ตามปกติ และมูลค่าการขายไฟฟา้ • ปี 2562 จ�านวน 100 เมกะวตั ต์ ส่วนเกิน (พ้ืนท่ี กฟน. 30 เมกะวัตต์ และ กฟภ. 70 เมกะวตั ต์) SCOD ภำยในปี 2562 ข้ัน กำ� หนดระยะเวลำ กจิ กรรม ตอน จดั ประชาสัมพันธ์ชแี้ จง 1 ต้ังแต่ มีนาคม ถงึ การเขา้ ร่วมโครงการ เมษายน 2562 การไฟฟา้ ฝ่ายจ�าหนา่ ย เปดิ ลงทะเบยี นและรบั 2 ต้งั แต่ พฤษภาคม ข้อเสนอโครงการ 2562 การไฟฟา้ ฝ่ายจา� หน่าย ประกาศรายชอื่ ผทู้ ีผ่ ่าน 3 ต้งั แต่ มิถนุ ายน การพิจารณาและลงนาม 2562 สัญญาซอื้ ขายไฟฟา้
42 ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน เม่ือวันท ่ี 25 กรกฎำคม 2562 สำ� นกั งำน กกพ. ได้จดั งำนสัมมนำ “ไขขอ้ ข้องใจโซลาร์ ภาคประชาชน” เพอ่ื เป็นเวทสี ำ� หรบั กำรซักถำมตอบขอ้ สงสัยแกผ่ ู้ท่สี นใจเขำ้ รว่ มโครงกำร โซลำรภ์ ำคประชำชน โดยได้รับเกียรตจิ ำก ดร.บณั ฑรู เศรษฐศิโรตม ์ กรรมกำรกำ� กับกิจกำร พลงั งำน กล่ำวเปิดงำน และมตี ัวแทนจำกสำ� นักงำน กกพ. กำรไฟฟ้ำนครหลวง และ กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค รว่ มเปน็ วิทยำกรบรรยำยเก่ยี วกับแนวคดิ ของโครงกำร และรว่ มตอบ ขอ้ ซกั ถำม นอกจำกนี้ ภำยในงำนยังจัดให้มบี ธู ให้ควำมรู้ ข้นั ตอน รำยละเอียดตำ่ งๆ เกย่ี วกบั โครงกำรกำรติดต้ังแผงโซลำร์เซลล์ และกำรขอจดแจ้งยกเว้นผ่ำนระบบออนไลน์ของ สำ� นกั งำน กกพ. ซง่ึ งำนสมั มนำดงั กลำ่ วไดร้ บั ควำมสนใจจำกผใู้ ชไ้ ฟฟำ้ ทเ่ี ปน็ เจำ้ ของเครอ่ื งวดั หนว่ ยไฟฟ้ำประเภทที่ 1 และนติ บิ คุ คล เข้ำร่วมงำนกว่ำ 200 คน รายงานความก้าวหน้า โครงการผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทิตยท์ ่ตี ดิ ตง้ั บนหลังคาสําหรบั ภาคประชาชนประเภทบ้านอยู่อาศัย ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 สถานะ กฟน. (30 MWp) กฟภ. (70 MWp) รวม (100 MWp) ราย kWp ลงทะเบียน 569 2,853.788 ราย kWp ราย kWp • บุคคลธรรมดา • นิติบุคคล 516 2,657.913 1,615 2,753.060 2,184 4,291.449 53 195.875 1,526 2,528.170 2,042 ลงทะเบยี นและยืน่ เอกสาร 306 1,538.389 • บุคคลธรรมดา 89 224.890 142 • นิตบิ ุคคล 283 1,428.879 500 806 469 1,064.080 แจ้งลา� ดับคิว 246 1,321.434 1,037.990 470 2,492.959 • บุคคลธรรมดา 31 • นิติบคุ คล 103 580.959 187 26.090 372 1,977.324 265 1,327.799 182 655.890 ผา่ นการตรวจสอบด้านเทคนคิ 28 62.360 639.700 121 685.259 • บุคคลธรรมดา 5 576 3,007.329 • นติ ิบุคคล 126 16.190 122 104.300 73 375.550 ท�าสัญญาซ้อื ขายไฟฟา้ 1,679.530 ถกู ยกเลกิ การลงทะเบียน 4 313.190 Waiting list (เกนิ 15% หมอ้ แปลง) 18 311 45 หมำยเหตุ : จำ� นวนรำยท่ีถกู ยกเลกิ กำรลงทะเบียนเกดิ จำกผูล้ งทะเบยี นไม่อัพโหลดเอกสำรภำยใน 7 วัน หลงั จำกลงทะเบียนในระบบ จึงท�ำให้ระบบท�ำกำรยกเลกิ แบบค�ำขออัตโนมัติ
รายงานประจา� ปงี บประมาณ 2562 43 โครงการผลิตไฟฟา้ จากขยะชมุ ชน กกพ. รว่ มกบั กระทรวงมหำดไทย ไดอ้ นุมตั โิ ครงกำรรบั ซ้อื ไฟฟำ้ จำกโครงกำรผลิตไฟฟ้ำจำกขยะชุมชน จำกพน้ื ท่ที ่มี ี ศกั ยภำพในกำรเขำ้ รว่ มโครงกำร จ�ำนวน 9 จังหวดั ทัว่ ประเทศ รวม 11 โครงกำร ภำยใตโ้ ครงกำรทีม่ ีควำมพรอ้ มสำมำรถ ดำ� เนินกำรในระยะแรก หรือ โครงกำร Quick Win คิดเป็นปรมิ ำณท่ีรบั ซ้ือได้ รวม 68.90 เมกะวตั ต์ (จำกเป้ำหมำยกำรรับซ้ือ รวม 77.9 เมกะวัตต)์ ดว้ ยก�ำลงั กำรผลติ ตดิ ตั้ง 83.04 เมกะวัตต์ ซง่ึ มีมลู คำ่ กำรลงทนุ รวม 13,101 ล้ำนบำท โดยวำงเปำ้ หมำย ลดปริมำณขยะ 2,600 ตนั ต่อวนั และลดกำ๊ ซเรอื นกระจกได้ 383,796 ตนั คำรบ์ อนไดออกไซดต์ อ่ ป ี และมีก�ำหนดจ�ำหนำ่ ยไฟฟ้ำ เชงิ พำณิชย์เข้ำสู่ระบบ (SCOD) ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม 2562 ท้ังน้ี กกพ. ไดอ้ อกประกำศและหลกั เกณฑ์กำรจดั หำไฟฟำ้ จำกขยะชมุ ชนในรปู แบบ Feed-in Tariff (FiT) โดยไมต่ อ้ งผำ่ น กระบวนกำรแข่งขนั ดำ้ นรำคำ (Competitive Bidding) ซ่ึงสำมำรถสรปุ ยอดผ้ทู ี่ผ่ำนกำรพิจำรณำอนุมตั จิ ำก กกพ. หลังปิดรับย่ืน ค�ำรอ้ งฯ รำยละเอียดดงั นี้ ผู้ย่นื คา� ร้อง องค์กรปกครอง ท่ตี ้งั โรงไฟฟา้ ขนาดก�าลังการ ปริมาณพลงั และขอ้ เสนอขอขายไฟฟา้ ส่วนทอ้ งถ่นิ ผลติ ตดิ ต้งั ไฟฟา้ เสนอขาย (เมกะวตั ต)์ (เมกะวัตต์) บริษัท หนองคายน่าอยู่ จ�ากดั องค์การบริหารส่วนจังหวดั บริษัท อลั ไลแอนซ์ คลนี เพาเวอร์ หนองคาย ต.โพนสวา่ ง อ.เมือง 8.00 6.0 จา� กัด เทศบาลเมืองกระบ่ี หนองคาย จ.หนองคาย 5.00 4.4 บรษิ ัท โกลบอล เพาเวอร์ ซนิ เนอรย์ ี่ ต.ไสไทย/ต.ทบั ปริก อ.เมือง 9.80 8.0 จ�ากัด (มหาชน) องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดระยอง กระบ่ี จ.กระบี่ 9.50 บริษัท สยาม พาวเวอร์ จ�ากัด องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั ต.น้�าคอก อ.เมืองระยอง 6.24 5.0 นนทบุรี จ.ระยอง 3.00 3.0 บรษิ ัท บุญ เอเนอรซ์ ิส จา� กดั องค์การบริหารส่วนจังหวดั ม.2 ต.คลองขวาง อ.ไทรน้อย 9.90 8.0 นนทบรุ ี จ.นนทบรุ ี 6.50 5.0 บรษิ ัท กรงุ เทพธนาคม จ�ากดั ศูนย์ก�าจัดขยะมูลฝอยอ่อนนุช ม.8 ต.คลองขวาง อ.ไทรนอ้ ย 9.50 8.0 กรงุ เทพฯ จ.นนทบรุ ี 9.60 8.0 บริษัท พาโนวา่ จา� กดั เทศบาลต�าบลนครหลวง ซอยออ่ นนุช 86 ถนนออ่ นนชุ บรษิ ัท เอ็นคอม เวสท์ ทู เอ็นเนอรจ์ ี่ องคก์ ารบรหิ ารส่วน เขตประเวศ กรุงเทพฯ (พระนครศรีอยธุ ยา) จ�ากดั จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ต.บางระกา� อ.นครหลวง บรษิ ัท มทิ ท คอร์ปอเรช่ัน จ�ากดั เทศบาลเมืองพระพุทธบาท จ.พระนครศรีอยธุ ยา บริษัท ไทยโซรดิ รนี วิ เอเบิล ต.มหาพราหมณ์ อ.บางบาล เอน็ เนอร์ย่ี จา� กัด เทศบาลนครอดุ รธานี จ.พระนครศรีอยธุ ยา บริษัท คลีน แพลนน่งิ จ�ากดั ต.หนองไขน่ ้า� อ.หนองแค เทศบาลนครแม่สอด จ.สระบุรี ต.หนองนาคา� อ.เมอื งอดุ รธานี จ.อดุ รธานี ต.แมป่ ะ อ.แมส่ อด จ.ตาก 6.00 5.5 83.04 68.90 โครงกำรรับซื้อไฟฟ้ำฯ ดังกล่ำวเป็นผลส�ำเร็จของกำรด�ำเนินงำนเพ่ือสนับสนุนแนวทำงของรัฐบำลในกำรบริหำรจัดกำร ภำคพลังงำนให้มีควำมมั่นคง และมีเสถียรภำพด้วยควำมพยำยำมท่ีจะเพ่ิมควำมหลำกหลำยในกำรผลิตไฟฟ้ำ ควบคู่กับกำร กระจำยแหล่งและประเภทเช้ือเพลิงในกำรผลิตไฟฟ้ำ โดยท่ีไม่พึ่งพิงแหล่งเช้ือเพลิงฟอสซิลประเภทใดประเภทหน่ึงมำกเกินไป ท้ังยังสำมำรถท่ีจะส่งเสริมกำรลดปริมำณขยะมูลฝอยในชุมชนซึ่งเป็นปัญหำหลักของท้องถ่ิน ควบคู่กับกำรลดกำรปล่อยก๊ำซ เรอื นกระจก
44 ณะ รรม าร �า บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร �า บ จ าร งงาน โครงการส่งเสริมการติดต้งั โซลารร์ ฟู อย่างเสรี ตามแผนปฏริ ูปด้านพลงั งาน โครงการทตี่ อ้ งดา� เนนิ การโดยเร็ว (Quick Win) ส�ำนักงำน กกพ. ไดป้ รบั ปรุง (ร่ำง) ระเบียบ กกพ. ว่ำ ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับกำรเช่ือมต่อระบบโครงข่ำยพลังงำน ด้วยกำรสง่ เสริมกำรติดต้งั โซลำร์รฟู พ.ศ. ... (ร่ำงระเบยี บ ขอ้ กำ� หนดเกยี่ วกบั กำรใชบ้ รกิ ำรระบบโครงขำ่ ยพลงั งำน และ กกพ.ฯ) ตำมควำมเห็นของคณะอนุกรรมกำรกล่ันกรอง ข้อก�ำหนดเก่ียวกับกำรปฏิบัติกำรระบบโครงข่ำยพลังงำน ข้อกฎหมำยเก่ียวกับกำรประกอบกิจกำรพลังงำน (คณะ ให้สอดคล้องตำมหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในเน้ือหำของร่ำง อนกุ รรมกำรฯ) เมอื่ เดอื นมนี ำคม 2562 เปน็ ท่เี รียบร้อยแล้ว ระเบยี บ กกพ. ฯ ตอ่ ไป และได้น�ำเสนอตอ่ คณะอนกุ รรมกำรฯ พิจำรณำ ครั้งท ี่ 2 อยำ่ งไรกต็ ำม เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตำมวตั ถปุ ระสงคข์ องแผน เม่อื วนั ที่ 28 พฤษภำคม 2562 ซ่งึ คณะอนกุ รรมกำรฯ ได้ ปฏริ ปู ประเทศดำ้ นพลงั งำน ในประเดน็ ปฏริ ปู ท ี่ 11 กำรสง่ เสรมิ มีมติเห็นชอบในหลักกำรของหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี โซลำร์รูฟอย่ำงเสรี ตลอดจนส่งเสริมให้กำรติดตั้งโซลำร์รูฟ ก�ำหนดไวต้ ำมร่ำงระเบยี บ กกพ.ฯ แตเ่ นือ่ งจำก พ.ร.บ. กำร อยำ่ งเสรเี กดิ ควำมชดั เจนในกระบวนกำรและขน้ั ตอนกำรปฏบิ ตั ิ ประกอบกิจกำรพลงั งำนฯ มไิ ดใ้ ห้อำ� นำจ กกพ. ในกำรออก ในกำรตดิ ตง้ั ส�ำนักงำน กกพ. จึงอยรู่ ะหวำ่ งกำรจดั ทำ� วำระ ระเบียบในเรอ่ื งดงั กลำ่ ว จึงเหน็ ควรเสนอควำมเหน็ ให ้ กกพ. เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมกำรนโยบำยพลงั งำนแห่งชำต ิ (กพช.) ใช้อำ� นำจตำมควำมในมำตรำ 82 เพื่อให้กำรไฟฟ้ำซ่งึ เป็น เพ่ือให้มีกำรก�ำหนดนโยบำยที่ชัดเจนก่อนกำรด�ำเนินกำร ผู้ได้รับใบอนุญำตท่ีมีโครงข่ำยพลังงำนด�ำเนินกำรแก้ไข ตำมแผนปฏริ ูปประเทศดำ้ นพลังงำนดังกล่ำวตอ่ ไป
พัฒนำ การมีส่วนร่วมและสื่อสาร งานกา� กบั กิจการพลงั งานให้เขา้ ถึง
46 ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน ะ �าน งาน ณะ รรม าร า� บ จ าร งงาน พัฒนำ การมสี ่วนร่วมและส่ือสารงานกา� กบั กจิ การพลงั งานให้เข้าถงึ กกพ. ได้ยกระดับการคมุ้ ครองสิทธปิ ระโยชน์ ดว้ ยการบูรณาการกลไกทมี่ อี ยู่ โดยมสี าระส�าคญั ดงั นี้ การเปดิ รับข้อเสนอโครงการกองทนุ พัฒนาไฟฟา้ บทบาท คพข. กบั เพื่อกจิ การตามมาตรา 97(4) ประจ�าปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 การคมุ้ ครองผู้ใช้พลงั งาน ส�ำนักงำน กกพ. ได้จัดกำรประกวดกองทุนพัฒนำไฟฟ้ำ แผนงานท่ี 1: ส่งเสริม และสำธิต กำรใช้พลังงำน ประจ�ำปงี บประมำณ 2562 เปน็ ครงั้ ท่ี 2 เพอ่ื สำนต่อควำมมุ่งมนั่ หมนุ เวียนในกำรประกอบกิจกำรไฟฟ้ำ ในกำรบริหำรงำนกองทุนพัฒนำไฟฟำ้ ในพน้ื ทปี่ ระกำศ และสง่ เสรมิ กำรพัฒนำโครงกำรชุมชนที่ดี รวมท้ังเป็นกำรสร้ำงขวัญก�ำลังใจ แผนงานท่ี 2: พฒั นำและปรบั ปรงุ เทคโนโลยใี นกำร ให้แก่คณะกรรมกำรในระดับพื้นท่ีและผู้เกี่ยวข้องในกำรขับเคลื่อน ประกอบกิจกำรไฟฟ้ำให้มีประสิทธิภำพและเกิดผลกระทบ กำรพฒั นำชมุ ชนรอบโรงไฟฟ้ำส่กู ำรพฒั นำอย่ำงยง่ั ยืน โดยมีกรอบ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มนอ้ ย วงเงนิ สำ� หรบั กำรจัดสรรเงนิ กองทนุ พฒั นำไฟฟำ้ ไมเ่ กนิ 400 ล้ำน บำท (สี่รอ้ ยล้ำนบำทถว้ น) โดยแบง่ ประเภทแผนงำน ดงั นี้ แผนงานที่ 3: ศกึ ษำ และวจิ ยั ดำ้ นพลงั งำนหมนุ เวยี น และเทคโนโลยใี นกำรประกอบกจิ กำรไฟฟำ้ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ ำพ และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มน้อย ยานยนตไ์ ฟฟา้ ทเี่ กยี่ วข้องกบั กิจการไฟฟา้ โนโลยผี ลติ ไฟฟา้ นโยใบหาเ้ ยกกดิ ากราสร่ใงชเส้แริม การประกอบกจิ การไฟฟา้ รปู แบบใหม่ โรงไฟฟา้ ขยะ พลังงแลาะนลมะหกามตารนุรลาเงกวทียารุนนจูงใจ ทสี่ ่งผลกระทบต่ออัตราคา่ ไฟฟา้ ในอนาคต การบรหิ ารจัดการเพื่อลดผลกระทบ หลกั เกณฑ์ กฎระเบียบ จาก ความผันผวนจากการผลติ ไฟฟา้ น ัวตกรรมและเทค แผนงานที่ ๑ ผลกระทบตอ่ ระบบไฟฟา้ จากพลังงาน หมุนเวียนทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับ พลัละงองู่ยร ่ราบว ิรนมห ักหาบร ุม ุชัจนมดเชุล ีวมดชยผนนลอกย่รางะ ัยทงบยืน การประกอบกจิ การไฟฟา้ เทคโนโลยีเปลยี่ นพลกิ โฉม (Disrup- ส่งเสริมและสาธติ การใช้ ใหอ้ ยรู่ ่วมกบั ชุมชนอยา่ งย่ังยนื tive Technology) พลังงานหมุนเวยี น ในการ ประกอบกจิ การไฟฟา้ แผนงานที่ ๒ แผนงานที่ ๓ พัฒนาและปรบั ปรุง ศึกษาและวิจัยดา้ น พลังงานหมุนเวียน เทคโนโลยี ในการ และเทคโนโลยใี นการ ประกอบกจิ การไฟฟา้ ประกอบกจิ การไฟฟา้ ให้มีประสิทธภิ าพและ ที่มีประสิทธภิ าพ และมผี ลกระทบตอ่ เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ มน้อย สิ่นงแ้อมวยดาลต้อรมกเาพรื่อปใ้อหงเ้ ปกน็ นั ทแยี่ ลอะมกราับแ และกฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
รายงานประจ�าปงี บประมาณ 2562 47 ทง้ั น ้ี โครงกำรทยี่ นื่ ขอรบั กำรจดั สรรเงนิ กองทนุ กกพ. ชว่ ยชมุ ชนรอบโรงไฟฟา้ ต้องเป็นโครงกำรที่มีระยะเวลำด�ำเนินโครงกำร รศั มี 1 กโิ ลเมตร ให้ใช้ไฟฟรีหรือราคาถูก ไม่เกิน 5 ป ี โดยผมู้ ีสิทธิยนื่ ขอรบั กำรจัดสรรเงิน กว่าปกติ กองทุนจะต้องมีคุณสมบัติตำมที่ก�ำหนดโดยจะ ตอ้ งมสี ญั ชำตไิ ทย หรอื เปน็ นติ บิ คุ คลทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ ตำม กกพ. ไดข้ ำนรับนโยบำยรัฐมนตรีพลงั งำน ปรบั หลักเกณฑ์ กฎหมำยไทย ซง่ึ ผแู้ ทนนติ บิ คุ คลจะตอ้ งมสี ญั ชำตไิ ทย กองทุนพัฒนำไฟฟ้ำน�ำเงินมำช่วยอุดหนุนชำวบ้ำนรอบโรงไฟฟ้ำ รศั มี 1 กิโลเมตรใหไ้ ด้สทิ ธิ์ใช้ไฟฟำ้ ฟรี หรือไฟฟำ้ รำคำถูกกว่ำปกต ิ การดาํ เนนิ การในปีงบประมาณ 2562 โดยเบื้องต้นจะพิจำรณำปรับหลักเกณฑ์กองทุนพัฒนำไฟฟ้ำ มำตรำ 97(3) ท่มี วี ตั ถปุ ระสงคก์ ำรใช้เงนิ เพ่ือพฒั นำชุมชนเป็นหลกั 1. เปิดรับขอ้ เสนอโครงกำร ปี 2562 ต้งั แต่ ซึ่งจะปรับให้สำมำรถน�ำเงินดังกล่ำวมำช่วยให้ประชำชนที่อยู่ เดือนมนี ำคม 2562 เป็นตน้ ไป รอบโรงไฟฟ้ำในรศั ม ี 1 กิโลเมตร ให้สำมำรถใชไ้ ฟฟำ้ ฟรหี รือไฟฟ้ำ รำคำถกู ได ้ เนอ่ื งจำกประชำชนดงั กลำ่ วเปน็ ผเู้ สยี สละใหต้ งั้ โรงไฟฟำ้ 2. พจิ ำรณำกลน่ั กรองขอ้ เสนอโครงกำร เพอื่ ใกลบ้ ำ้ น โดยงบของกองทุนพฒั นำไฟฟำ้ ฯ มำตรำ 97(3) ประจ�ำ เสนอตอ่ กกพ. ในกำรพจิ ำรณำเหน็ ชอบขอ้ เสนอ ปงี บประมำณ พ.ศ. 2562 มวี งเงินอยู่ท ี่ 2,700 ลำ้ นบำท โครงกำร และแจ้งผลกำรพิจำรณำ จัดทำ� สญั ญำ/ ปัจจุบนั กำรใชเ้ งินกองทนุ พฒั นำไฟฟ้ำมำตรำ 97(3) จะต้อง บนั ทึกขอ้ ตกลง ทุกเดอื นตง้ั แตเ่ ดอื นเมษำยน 2562 นำ� เสนอโครงกำรเขำ้ มำให้ กกพ. พจิ ำรณำอนุมตั กิ ำรขอใช้เงนิ จนกว่ำจะจัดสรรครบตำมกรอบงบประมำณในปี แต่เพ่ือให้สำมำรถน�ำเงินไปช่วยค่ำไฟฟ้ำส�ำหรับประชำชนที่อยู่ นน้ั ๆ รอบโรงไฟฟ้ำรัศมี 1 กิโลเมตร จึงต้องปรับหลักเกณฑ์เพ่ือ ให้สำมำรถใช้เงินได้โดยตรงไม่ต้องท�ำเป็นโครงกำรเสนอเข้ำมำ อยำ่ งไรกต็ ำม กกพ. คำดวำ่ กำรปรบั หลกั เกณฑด์ งั กลำ่ วอำจตอ้ งใช้ เวลำหลำยเดอื น กอ่ นจะนำ� เสนอรฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวงพลงั งำน พจิ ำรณำตอ่ ไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315