Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2563

สรุปผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2563

Published by nfe_chanae, 2021-09-20 18:19:23

Description: สรุปผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2563

Search

Read the Text Version

1 ส่วนที่ 1 บทนำ

2 ขอ้ มูลท่ัวไปของอำเภอจะแนะ สภาพทวั่ ไป 1 ลักษณะท่ตี ้ัง คำวา่ “ จะแนะ” เป็นภาษาท้องถิน่ เปน็ ชอ่ื ของพชื ชนดิ หนง่ึ ท่ีมลี ักษณะคล้ายตน้ บอน เมอื่ ก่อนอยใู่ นพ้ืนท่ีน้มี าก ปัจจบุ ันมีอยบู่ ้างเล็กนอ้ ยชาวบา้ นจึงเรยี กช่ือบา้ นตามพชื ชนิดนวี้ า่ “ บ้านจะ แนะ” ซ่งึ เป็นชื่อของตำบลหนึ่งของอำเภอระแงะ จังหวัดนราธวิ าส ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นกิ่ง อำเภอตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เม่ือวนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2526 เรียกวา่ ก่งิ อำเภอจะแนะ ประกอบด้วย 2 ตำบล 18 หมบู่ า้ น คือ ตำบลจะแนะ และตำบลดซุ งญอ ต่อมาไดร้ บั การยกฐานะ เป็นอำเภอจะแนะ เมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม 2531 ประกอบด้วย 4 ตำบล คอื ตำบลจะแนะ ตำบล ดุซงญอ ตำบลผดุงมาตร และตำบลช้างเผือก ทั้งหมด 29 หมบู่ า้ น ปัจจุบนั อำเภอจะแนะได้เพิ่ม หมบู่ ้านอีก ๒ หม่บู า้ น เป็น 31 หมบู่ า้ น 2 เนอ้ื ท/ี่ พน้ื ที่ 550 ตารางกโิ ลเมตร 3 อาณาเขตติดตอ่ อำเภอระแงะ ทศิ เหนอื อำเภอสคุ ริ นิ ทศิ ใต้ อำเภอสุไหงปาดี ทศิ ตะวันตก ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันออก - รถยนต์ ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4055 - การคมนาคม ทางบก 4 ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ สภาพภมู อิ ากาศโดยทั่วไปภมู ิอากาศแบบมรสุมในเขตร้อน มี 2 ฤดู คือ 1. ฤดรู ้อน เดือนกุมภาพนั ธ์ - พฤษภาคม 2. ฤดูฝน เดอื นมถิ นุ ายน – มกราคม ของปี ถัดไป 5 การปกครอง ขอ้ มลู การปกครอง 1. ตำบล 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลดซุ งญอ ตำบลจะแนะ ตำบลผดงุ มาตร ตำบลชา้ งเผือก 2. หมู่บา้ น 31 หมบู่ า้ น 3. องค์การบริหารสว่ นตำบล 4 แหง่

3 6 จำนวนประชากรท้งั หมด ท่ี ตำบล จำนวนประชากร จำนวนครวั เรือน หมายเหตุ ชาย (คน ) หญิง (คน ) รวม (คน ) 1 ดซุ งญอ 5,011 4,889 9,900 2,341 2 จะแนะ 6,804 6,579 13,383 2,826 3 ผดงุ มาตร 3,158 3,194 6,352 1,254 4 ชา้ งเผอื ก 3,872 3,564 7,436 2,070 18,845 18,226 37,071 8,491 รวม - ความหนาแนน่ ของประชากร 55.8 ตารางกโิ ลเมตร 7 จำนวนประชากรวยั แรงงาน ตำบล จำนวนประชากรวยั แรงงาน รวม ตำบลจะแนะ ชาย(คน) หญงิ (คน) 6,714 ตำบลช้างเผอื ก 3,190 ตำบลดุซงญอ 3,306 3,408 5,175 ตำบลผดงุ มาตร 3,247 1,526 1,664 17,154 รวม 2,575 2,600 1,612 1,635 8,541 8,613  ข้อมลู ทางดา้ นเศรษฐกิจ ข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ 1. อาชพี หลัก ไดแ้ ก่ เกษตรกรรม 2. อาชีพเสริม ได้แก่ รับจา้ งท่วั ไป 3. รายได้โดยเฉล่ยี 20,00.-บาท/ปี 4. สถานทท่ี ่องเท่ียว จำนวน 3 แห่ง - นำ้ ตกนาแบง หมู่ที่ 5 ตำบลชช้างเผอื ก - น้ำตกวงั ทอง หมทู่ ี่ 4 ตำบลผดงุ มาตร - ล่องแกง่ บ้านบูยง หมู่ที่ 3 ตำบลชา้ งเผือก ขอ้ มูลด้านการเกษตร และอุตสาหกรรม 1. ผลผลติ ทางการเกษตรทส่ี ำคัญ ได้แก่ ยางพารา ลองกอง ทเุ รียน

4 2. ชอื่ แหลง่ น้ำที่สำคญั ( แม่น้ำ/บงึ /คลอง) ไดแ้ ก่ แม่นำ้ สาย บุรี คลองบองอ คลอง มะนังกาแยง คลองแกแร คลองไอรก์ มู ุง คลองไอร์กาเวาะ คลองไอร์กอื ซา คลองนาแบง คลองไอรบ์ ือแต 3. โรงงานอตุ สาหกรรมทีส่ ำคัญ ได้แก่ โรงงานแปรูปไมย้ างพารา หมทู่ ่ี 1 ตำบล ผดุงมาตร  ขอ้ มูลด้านสงั คม 1 โรงเรียนประถมศึกษา/โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา 1.1 โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 16 โรง -โรงเรียนบา้ นดุซงญอ โรงเรยี นบา้ นแมะแซ -โรงเรียนบ้านน้ำหอม โรงเรียนบา้ นรอื เปาะ -โรงเรียนบา้ นบเู กะ๊ บือแต โรงเรยี นบา้ นรแิ ง -โรงเรียนผดงุ มาตร -โรงเรยี นบา้ นนำ้ วน -โรงเรยี นรว่ มจิตตป์ ระชา -โรงเรยี น ตชด.บ้านไอรบ์ ือแต -โรงเรยี นบ้านยะออ โรงเรยี นบา้ นตือกอ โรงเรียนบ้านละหาร โรงเรยี นบ้านปารี โรงเรยี นบา้ นไอรก์ รอส 1.2 โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา โรงเรยี นสวนพระยาวทิ ยา โรงเรยี นพทิ ักษ์วิทยากูมงุ โรงเรียนบา้ นจะแนะ โรงเรียนบา้ นกาแย 2 จำนวนวดั /สำนกั สงฆ์/สำนักปฏิบตั ิธรรม จำนวน 2 แห่ง สำนกั สงฆ์ บ้านไอร์บาลอ หมู่ท่ี 3 ตำบลชา้ งเผอื ก สำนักปฏิบตั ธิ รรม บ้านไอรบ์ อื แต หมู่ท่ี 4 ตำบลชา้ งเผือก

5 3 จำนวนโรงพยาบาล/สาธารณสุข/สถานีอนามัย โรงพยาบาล จำนวน 1 แห่ง สาธารณสุขอำเภอ จำนวน 1 แห่ง สถานอี นามยั จำนวน 5 แห่ง 4 ขอ้ มูลดา้ นทรัพยากรธรรมชาตทิ ่สี ำคญั ปา่ สงวนแหง่ ชาตสิ ริ กิ ติ ์ิ ปา่ จะแนะ เขตอนรุ ักษ์สัตว์ป่าฮาลาบาลา นิคมสรา้ งตนเองสคุ ิริน จำนวนหมบู่ ้านในอำเภอจะแนะ ท่ี ช่ือบา้ น หมทู่ ่ี ตำบล อำเภอ ชอ่ื ผนู้ ำหมูบ่ ้าน ตำแหนง่ ผใู้ หญ่ 1 บ้านยะออ 1 จะแนะ จะแนะ นายฮาเซง็ แซบากา ผใู้ หญ่ ผใู้ หญ่ 2 บา้ นจะแนะ 2 จะแนะ จะแนะ นายอาลี หะยีอาลี ผใู้ หญ่ กำนนั 3 บา้ นมะนงั กาแยง 3 จะแนะ จะแนะ นายอาบีดี บาโด ผู้ใหญ่ ผ้ใู หญ่ 4 บา้ นปารี 4 จะแนะ จะแนะ นายอสุ มาน บาโด ผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ 5 บา้ นสะโก 5 จะแนะ จะแนะ นายสะอารี หะยีสาและ ผู้ใหญ่ ผใู้ หญ่ 6 บา้ นไอร์กรอส 6 จะแนะ จะแนะ นายมะกอรี มะมงิ ผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ 7 บ้านตอื กอ 7 จะแนะ จะแนะ นายมะยูกี ฮาละ ผใู้ หญ่ กำนนั 8 บา้ นบือแต 8 จะแนะ จะแนะ นายมะรอนงิ อาแว ผู้ใหญ่ ผใู้ หญ่ 9 บา้ นไอร์มอื เซ 9 จะแนะ จะแนะ นายรอนงิ สอื ยุ ผู้ใหญ่ ผูใ้ หญ่ 10 บา้ นยารอ 10 จะแนะ จะแนะ นายฮาซัน บากา กำนนั 11 บา้ นละหาร 11 จะแนะ จะแนะ นายตือพี บาโด 12 บา้ นดซุ งญอ 1 ดุซงญอ จะแนะ นายมะรอยาลี บาโด 13 บ้านแมะแซ 2 ดซุ งญอ จะแนะ นายกปั ตนั กาเรา๊ ะ 14 บ้านสุแฆ 3 ดุซงญอ จะแนะ นายดอเลาะ เจ๊ะแม 15 บ้านรอื เปาะ 4 ดซุ งญอ จะแนะ นายมะสกรี ดอเลา๊ ะ 16 บ้านกาแย 5 ดุซงญอ จะแนะ นายมะรอยาลี เจ๊ะอาบู 17 บ้านกาเต๊าะ 6 ดุซงญอ จะแนะ นายบอื ราเฮง สาแล๊ะ 18 บ้านน้ำหอม 7 ดุซงญอ จะแนะ นายมะรูดงิ แตบาตู 19 บา้ นสาเมาะ 8 ดซุ งญอ จะแนะ นายมาหะมะ ดอเล๊าะ 20 บ้านแอแจะ 1 ผดงุ มาตร จะแนะ นายไซมิง ฉอ

6 ท่ี ช่อื บา้ น หมทู่ ่ี ตำบล อำเภอ ชื่อผู้นำหมู่บ้าน ตำแหนง่ 21 บา้ นบือจะ๊ ผู้ใหญ่ 22 บ้านริแง 2 ผดุงมาตร จะแนะ นายมนัสพงษ์ ดอเลาะ ผู้ใหญ่ 23 บ้านเมา๊ ะตาโก๊ะ ผ้ใู หญ่ 24 บา้ นไอรป์ ีแซ 3 ผดุงมาตร จะแนะ นายกามาลูดงิ เปาะกา ผู้ใหญ่ 25 บ้านลูโบ๊ะ ผู้ใหญ่ 26 บ้านนำ้ วน 4 ผดงุ มาตร จะแนะ นายมาหะมะ ดารอมะ กำนัน 27 บา้ นกมู ุง ผใู้ หญ่ 28 บา้ นไอร์ซือเร๊ะ 5 ผดงุ มาตร จะแนะ นายรอมือลี เจะ๊ นุ๊ ผใู้ หญ่ 29 บา้ นไอรบ์ ือแต ผู้ใหญ่ 30 บา้ นไอรโ์ ซ 6 ผดุงมาตร จะแนะ นายมะยโู ซ๊ะ สาเร๊ะ ผใู้ หญ่ 31 บา้ นไอรบ์ าลอ ผใู้ หญ่ 32 บ้านชา้ งเผอื ก 1 ช้างเผอื ก จะแนะ นายแวสุไรดี เตะ ผู้ใหญ่ 2 ชา้ งเผือก จะแนะ นายนูเซง็ ลาเตะ หมายเหตุ 3 ช้างเผอื ก จะแนะ นายมะสายตู ี บนิ ยาโก๊ะ 4 ชา้ งเผอื ก จะแนะ นายซอเร ลาเตะ 5 ชา้ งเผอื ก จะแนะ นายอาซิ ยะโก๊ะ 6 ช้างเผือก จะแนะ นายสมคิด เสรฐิ ประดิษฐ์ 7 ช้างเผอื ก จะแนะ นายดอเลาะ แวอาลี จำนวนประชากรทง้ั หมด หมู่ ตำบล จำนวนประชากร จำนวน ท่ี ชาย (คน ) หญิง (คน ) รวม (คน ) ครัวเรอื น 5,209 5,060 10,269 ตำบลดซุ งญอ 1,015 1,046 2,061 2,489 1 บ้านดุซงญอ 667 2 บา้ นแมะแซ 619 617 1,236 303 3 บ้านสแุ ฆ 452 464 916 215 4 บา้ นรือเปาะ 803 758 1,588 316 5 บ้านกาแย 572 555 1,127 235 6 บ้านกาเต๊าะ 550 527 1,077 230 7 บ้านนำ้ หอม 646 581 1,227 314 8 บ้านสาเมาะ 552 485 1,037 209

7 หมู่ ตำบล จำนวนประชากร จำนวน หมายเหตุ ที่ ครัวเรอื น ชาย หญิง รวม ตำบลจะแนะ 3,109 1 บ้านยะออ 7,044 6,827 13,871 253 2 บา้ นจะแนะ 633 3 บ้านมะนงั กาแยง 623 637 1,260 665 4 บา้ นปารี 310 5 บา้ นสะโก 1,237 1,231 2,468 198 6 บ้านไอร์กรอส 328 7 บ้านตอื กอ 543 670 1,213 183 8 บา้ นบอื แต 174 9 บ้านไอร์มือเซ 678 659 1,337 197 10 บา้ นยารอ 168 11 บ้านละหาร 428 438 866 330 2,327 ตำบลช้างเผือก 707 663 1,370 176 1 บ้านนำ้ วน 355 2 บา้ นกุมงุ 409 423 832 373 3 บ้านไอร์ซือเระ 453 4 บ้านไอรบ์ ือแต 554 499 1,053 498 5 บา้ นไอร์โซ 1,339 354 337 691 216 ตำบลผดุงมาตร 241 1 บ้านแอแจะ 440 439 879 289 2 บ้านบือจ๊ะ 338 3 บ้านริแง 832 648 1,480 123 4 บ้านเมา๊ ะตาโกะ 132 5 บ้านไอรป์ ีแซ 4,169 3,837 8,006 9,264 6 บา้ นลูโบ๊ะ 523 494 1,017 รวม 694 628 1,322 669 626 1,295 671 565 1,236 907 846 1,753 3,277 3,289 6,566 515 519 1,034 505 508 1,013 652 685 1,337 861 815 1,676 357 395 752 387 367 754 16,699 19,013 35,712 อาณาเขตท่ตี ั้งสถานศึกษา : อาณาเขตติดตอ่ อำเภอสุไหงปาดี ทศิ เหนือ อำเภอระแงะทศิ ตะวนั ตก ประเทศมาเลเซยี ทิศใต้ อำเภอสคุ ิรินทศิ ตะวันออก

8 • เนอื้ ที่ / พนื้ ที่ 550 กิโลเมตร

9 รายช่ือมัสยดิ /วดั หมู่ ช่อื มัสยิด/วดั ช่อื อีหม่าม ช่อื คอเตบ็ ช่ือบิหล่าน ที่ ตำบลดซุ งญอ 1 มัสยิดมูฮัมหมัดดี นายอบั ดลุ ฮาดี เจะ๊ แต นายอับดุลรอฮมิ ยู นายมฮู มั มูดี การี โซ๊ะ 2 มสั ยดิ ดารลู อีมาน นายรอฮิม บือซา นายมือลี เปาะเลา๊ ะ นายตอลา สะมะแอ มัสยิดอลั อสิ ละห์ นายมะมุ บือราเฮง นายอสุ มาน มะ นายอาหามะ หามะ 3 มัสยดิ คอยรียะห์ นายอาหามะ เจะ๊ หะ นายมาหามะ สา นายอิสมาแอ และ 4 มัสยดิ อัลหูรยี ะห์ นายวาโซะ๊ เปาะเฮง นายสะอารี สาแม นายปอยี บอื ซา 5 มสั ยิดยามาตุลอสี นายมะนาเซ นายแวหามะ เซ็ง นายรอนิง ดาโอ๊ะ สามี อาแวบอื ซา 6 มสั ยิดอัลอสิ ลามี นายมาหามะ สาและ นายมาหามะ สาเระ๊ นายมะแอ มามะ ยะห์ 7 มัสยิดนรู ลู อบี าดะ นายสะมะแอ มะแซ นายอายิ สะมะแอ นายอาแซ ดอแม็ง 8 มัสยิดอบี าดะ นายอารีดี ปิ นายมาหามะ เจะ๊ มะ นายซอื แลแม วาแฉะ มัสยดิ นรู ลู ฮดู า นายมาหามะ มานะ๊ นายบือราเฮง ยโู ซะ๊ นายมาหามะ ดอเลาะ จะแนะ 1 มสั ยดิ วุสตอ นายดอรอแม วาแต๊ะ นายมะรียะ สะบดู งิ นายอายิ ยามงิ 2 มัสยิดวาตอนี นายอาหะมะ มะดง นายมาหะมะรานี นายดอเลาะ หะยกี า กายอ เดร์ 3 มัสยดิ บือนังการแยง นายอบั ดุลอาซี บาโด นายดอรอนิง เจะ๊ หะ นายมะจกู ิ บาโด มสั ยดิ ละหารมสั นายมะรอเซ๊ะ บาโด นายมะนอ ตอื กอดะ นายอมู า บาโด แล 4 มสั ยดิ ซอลาฮียะห์ นายยะหายา หะยสี า นายสะมะแอ ปูเต๊ะ นายโตะ๊ กาอิง อาบู และ 5 มสั ยดิ สะโก นายบุกรี เจะ๊ แต นายวอยาลี หะยีดือ นายอาแซ มะรือสะ เระ๊ 6 มสั ยดิ ซอลาฮยี ะตลุ - นายมะสกุ รี ตาเยะ นายเจ๊ะสาแม เจ๊ะมุ ตะลมี ียะห์

10 หมู่ ชอื่ มัสยิด/วดั ชือ่ อีหมา่ ม ช่อื คอเต็บ ชือ่ บิหล่าน ท่ี นายหะมะ ตะแล นายมาหะมะมะยากี นายกอเซ็ง ฮะละ จะแนะ หะยดี ือเร๊ะ 7 มัสยดิ ตอื กอ นายบดะแซ ดอเลาะ นายอับดลุ เลาะ ยดี ิง นายมาหะมะ มามะ 8 มสั ยิดบอื รือแต 9 มัสยดิ นุรลุ ฮดู า นายมะมะ ตาเอ นายสุกรี ยะปา นายตว่ นดาโอะ๊ กือจิ 10 มัสยดิ ปะยารอ นายอับดุลรอแม บลู ะ นายอาแซ มามะ นายมะรอลี หะยีอบั ดุล ตำบลผดงุ มาตร รอแม 1 มัสยดิ อัสมาดยี ์ 2 มสั ยิดอัลฟาละห์ นายอาแซ เดง็ ซา นายฮาเซง็ อาบู นายมาหะมะ สือเลง็ นายมะยโู ซะ๊ เจ๊ะเลา๊ ะ 3 มสั ยิดอตั ตนั บียะห์ นายยะพา วจั นเลศิ กลุ นายมะดาโอ๊ะ เจะ๊ อัดดียะห์ หลง นายคองเด เจ๊ะซอ 4 มัสยดิ อัลติสลามี นายยะพา วัจนเลศิ กุล นายเปาะซู ดะตอ ยะห์ นายยโู ซ๊ะ อาแว นายอายมิ อาแว นายมูซอ บนิ อารง 5 มสั ยิดตรั บียา ตลุ อตั ฟาล นายอาแซ เจ๊ะแน นายยาการียา มือลี นายอมู า กะมงิ 6 มัสยิดกอฎอตุลอลู ู นายรอฮิม เจ๊ะเลา๊ ะ นายการิม เจะ๊ แอ นายสะตอพา เจะ๊ ฮา มิดดยี ะห์ มะ ตำบลชา้ งเผอื ก นายดือราแม บิน นายมามุ เจ๊ะเลาะ นายอับดุลฮาดี อาหา 1 มัสยดิ อลั ซาซยี ะห์ อาแว มะ นายบาซอรี ซาซู 2 มสั ยดิ กะมุง นายอบั ดุลเลาะ เสน นายอัซมนั มะมงิ นายสะแปอิง ยโู ซ๊ะ และ 3 มสั ยิดซอลาฮูดดีน นายมะยีเด็ง ยะโก๊ะ 4 มัสยิดดารุลอสิ ลาม นายฮายิ แลซามิง นายยาลี ยูนุ๊ นายมามะ ยะโกะ 5 มัสยดิ ฮดี ายะหซ์ า นายอาแว หมะ๊ มะ นายนิอาแซ สาแหละ บาบะห์ เซ็ง 6 มัสยดิ อัตตรั บยี ะห์ นายนเิ ซ็ง วาโอะ นายดือเลาะ มะนาวี 7 มสั ยิดนรู ุลยากีน นายมฮู ัมมัดยาเอส มะ นายมะกาตา สาแมง นายมะยากี อาบ๊ะ นายอาแซ หามะ นายขาเดร์ แวบือซา นายบอื ราเฮง มะเสาะ

11 หมู่ ชื่อมัสยดิ /วัด ชือ่ อีหม่าม ช่ือคอเต็บ ชอื่ บิหล่าน ที่ - - พระชัชวาล เทวธรรม ตำบลช้างเผือก โม 8 สำนักสงฆบ์ า้ นไอร์ บาลอ

12 ขอ้ มูลทั่วไปของสถานศกึ ษา  สภาพทว่ั ไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา : ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอจะแนะ ทีอ่ ยู่ : 153/1 หมู่ท่ี 3 ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จงั หวดั : นราธวิ าส เบอรโ์ ทรศัพท์ :073 – 709752 เบอรโ์ ทรสาร :073 – 709753 E-mail ตดิ ต่อ :[email protected] สงั กดั :สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั นราธิวาส  ประวัตคิ วามเป็นมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอจะแนะ จัดตั้งข้ึนเม่ือ วันท่ี 27 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2536 ในระยะแรกๆ ยังไม่มีหัวหน้าหรือผู้ อำนวยการ แต่จะมีผู้ ประสานงานในการดำเนินงานระหว่างเจ้าหน้าท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอ กับ หน่วยงานต้นสังกัดในระดับจังหวัด คือ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนราธิวาส และต่อมาในสมัย ดร.รุ่ง แก้วแดง ได้มีการประกาศแต่งต้ังให้มีหัวหน้าศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยข้ึน และต่อมาได้พัฒนาขึ้นในตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซงึ่ ปัจจบุ นั คอื นางสาว รอฮานี อาแวกาจิ ปรชั ญา สร้างโอกาส เสรมิ คณุ ธรรม นอ้ มนำ เศรษฐกิจพอเพยี ง วสิ ยั ทศั น์ ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรตู้ ลอดชีวิต อย่างมีคณุ ภาพ โดยทวั่ ถึง และเท่าเทียมกนั เพือ่ เสริมอาชีพ และการมงี านทำ พันธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้มีคุณภาพและ บริการประชาชนได้อย่างท่ัวถึง ๒. จัดและส่งเสริมการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำเพื่อพัฒนาสมรรถนะของประชาชน และชุมชนใหส้ ามารถสร้างรายได้ สรา้ งสรรคแ์ ละแขง่ ขันดา้ นอาชีพไดอ้ ย่างยั่งยืน ๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศในการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพื่อส่งเสริมการศกึ ษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชพี เพ่ือ การมีงานทำ

13 ๔. พัฒนาและส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และการศกึ ษาอาชีพเพอื่ การมีงานทำ ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้สามารถดำเนินงานการศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงาน ทำของประชาชนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ อัตลักษณ์ กจิ กรรมเดน่ เนน้ คุณธรรม นำจติ อาสา เอกลกั ษณ์ สร้างโอกาส สร้างอาชพี สร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ เปา้ ประสงค์ ตัวชวี้ ัดความสำเร็จ 1 . เพ่ื อ ย ก ระ ดั บ ก ารศึ ก ษ าข อ ง เชิงปริมาณ : ร้อยละของการยกระดบั การศึกษาของ ประชากรให้มีคุณภาพอย่างทั่วถึง และต่อเน่ือง ประชากรเพื่อให้การศกึ ษามคี ุณภาพอย่างทวั่ ถึง และ บนพ้ืนฐานของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ตอ่ เนอื่ งบนพนื้ ฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เชิงคุณภาพ : ประชากรมีความรู้ และสามารถนำ ความไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 2. เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมการนำ เชงิ ปริมาณ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา และ ๑. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีนำ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ให้ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษานอก และการส่ือสารมาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัด ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยและการศกึ ษา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและ อาชพี เพื่อการมีงานทำ การศกึ ษาอาชพี เพื่อการมงี านทำ เชงิ คุณภาพ ๑. ผู้รบั บรกิ ารมีการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ และมีความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา และ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร

14 เป้าประสงค์ ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ 3. ชุมชนมีฐานอาชีพท่ีหลากหลาย ท่ี เชงิ ปริมาณ สามารถยกระดับไปสู่วิสาหกิจชุมชนอันนำไปสู่ ๑. ร้อยละของชุมชนมีฐานอาชีพท่ีหลากหลาย ก ารส ร้างค ว าม มั่ น ค งท างเศ รษ ฐ กิ จ ใน ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีพอย่างแท้จริง ระดบั ประเทศได้ สามารถยกระดับไปสู่วิสาหกิจชุมชนอันนำไปสู่การ สรา้ งความ มั่นคงทางเศรษฐกจิ ในระดับประเทศได้มี เชิงคณุ ภาพ ๑. ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีพที่ หลากหลาย และพฒั นาความรูอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง กลยทุ ธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ลยุ ถึงที่ ประชาสัมพันธ์ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายท่ีหลากหลายและท่ัวถึง เพ่ือเจาะลึกถึงความ ตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย และพฒั นาระบบขอ้ มูลของกลมุ่ เปา้ หมาย กลยุทธ์ท่ี 2 คลี่คลายปัญหา ( หลากหลายการเรยี นรู้ ) พัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียน เปิด โอกาสให้มีการสอบเทียบระดบั และเทียบโอนผลการเรยี นและประสบการณใ์ นการทำงาน กลยทุ ธ์ท่ี 3 สรรหาแหลง่ เรียนรู้ ( ขยายและพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ใหห้ ลากหลาย ) ส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพ่ือสนองความ ต้องการของผูเ้ รียน กลยทุ ธ์ท่ี 4 เคยี งคภู่ าคเี ครอื ข่าย ( ผนกึ พลงั ภาคเี ครอื ขา่ ย ) สง่ เสริมและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมการศึกษา นอกโรงเรยี น เช่น เครอื ข่ายองค์การบรหิ ารส่วนตำบล เพ่อื ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายมีโอกาสศกึ ษาหาความรู้ กลยทุ ธ์ท่ี 5 สจู่ ดุ หมายบรกิ ารเป่ยี มคณุ ภาพ ปรับระบบการทำงาน ลดขั้นตอนการทำงาน ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรใน หน่วยงานใหม้ คี วามคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ในการทำงานและมจี ติ บริการ และจดั ทำประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

15 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จดุ แข็งของ กศน.อำเภอจะแนะ (Strengths-S) 1.1.1 ด้านบคุ ลากร - บคุ ลากรสว่ นมากเปน็ คนในพนื้ ทง่ี ่ายต่อการประสานงาน - ภาคีเครือขา่ ยมีคุณภาพ 1.1.2 ดา้ นงบประมาณ - ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณจากสำนกั งาน กศน. และสำนกั งาน กศน.จังหวดั นราธวิ าส 1.1.3 ด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านิยมองค์กร - มกี ารมอบหมายงานใหบ้ คุ ลการรบั ผดิ ชอบได้ทุกคน - มีโครงการสร้างของงานชัดเจน 1.1.4 ดา้ นอาคารสถานท่ี ส่อื วัสดอุ ปุ กรณ์ - เปน็ อาคารจึงทำใหส้ ะดวกในการจัดกจิ กรรม 1.2 จดุ ออ่ นของ กศน.อำเภอจะแนะ (Weaknesses-W) 1.2.1 ดา้ นบคุ ลากร - บุคลากรน้อยทำใหต้ ้องมคี นรับผิดชอบงานหลายดา้ น การทำงานได้ไมเ่ ตม็ ท่ี และบางครัง้ มีเหตคุ วามไมส่ งบ จึงทำให้การทำงานไดไ้ มเ่ ตม็ ท่ี 1.2.2 ดา้ นงบประมาณ - ขาดงบประมาณในการจดั ซื้อครุภณั ฑ์ทจี่ ำเป็น เช่น คอมพิวเตอร์ 2. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities – O) - ดา้ นนโยบาย กฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง มีนโยบายจากสำนักงาน กศน. อยา่ งชัดเจน - ดา้ นความปลอดภัยในพ้ืนที่ - - ด้านสงั คม-วฒั นธรรม มคี วามเขา้ ใจในภาษา ขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรม ของคนในพนื้ ทีเ่ ป็น อยา่ งดี - ด้านเศรษฐกจิ ผลติ ผลทางการเกษตรมรี าคาตำ่ มีความสนใจในเรอื่ งการประกอบอาชีพ และ การศกึ ษามากข้ึน

16 - ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อส่ือสาร - - ดา้ นสิง่ แวดล้อม เปน็ ธรรมชาติ 2.2 อุปสรรค/ความเส่ียง (Threats – T) - ด้านนโยบาย กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง - - ดา้ นความปลอดภัยในพนื้ ที่ มีสถานการณค์ วามไม่สงบทั้งในพนื้ ทีอ่ ำเภอจะแนะ และอำเภอใกลเ้ คยี ง - ด้านสงั คม-วัฒนธรรม - - ด้านเศรษฐกิจ - - ดา้ นเทคโนโลย/ี การคมนาคม ตดิ ต่อสือ่ สาร ขาดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร และการคมนาคม เนื่องจากเป็น ถนน 2 เลน จึงทำให้การเดินทางล่าช้า และพ้ืนที่ท่ีหางไกลจากตัวอำเภอยังเป็นถนนลูกรัง ผิวการจราจร ขรขุ ระขาดสัญญาณโทรศัพทม์ ือถือในบางพืน้ ท่ี และสญั ญาณอินเตอร์เนต็ ค่อนข้างชา้ - ด้านส่งิ แวดลอ้ ม -

17 นโยบายจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 วิสัยทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตที่ เหมาะสม กับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจําเป็นในโลก ศตวรรษที่ ๒๑ พันธกิจ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุก กลุ่มเป้าหมาย ให้เหมาะสมทกุ ช่วงวัย พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และก้าวสู่การเปน็ สังคม แหง่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต อย่างยั่งยนื ๒. ส่งเสรมิ สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกบั ภาคีเครอื ขา่ ย ให้เข้ามามีสว่ น ร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรปู แบบต่างๆ ใหก้ บั ประชาชน ๓. ส่งเสริมและพฒั นาเทคโนโลยที างการศึกษา และนาํ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาประสิทธิภาพ ในการจดั และให้บริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชนอยา่ งทั่วถึง ๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทกุ รปู แบบใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกบั บริบทในปจั จุบัน ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษา และ การเรยี นรู้ทม่ี คี ุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และ การศึกษา ตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพอยา่ งเทา่ เทียมและทว่ั ถึง เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการ ของแตล่ ะกล่มุ เป้าหมาย ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็น พลเมือง ท่ีสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความม่ันคงและย่ังยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม

18 ๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถ คิด วิเคราะห์ และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน รวมท้ังแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ิตได้อย่าง สรา้ งสรรค์ ๔. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพ่ือพัฒนาการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง ๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมทงั้ การขบั เคลือ่ นกิจกรรมการเรียนร้ขู องชมุ ชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มาใชใ้ นการยกระดบั คุณภาพในการจดั การเรยี นรแู้ ละเพ่ิมโอกาสการเรียนรใู้ ห้กับประชาชน ๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสือ่ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปญั หา และ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบท่ี หลากหลาย ๘. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพ และ เปน็ ไป ตามหลักธรรมาภิบาล ๙. บุคลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวดั ตวั ชี้วัดเชิงปรมิ าณ ๑. จำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามสทิ ธิ ทกี่ ำหนดไว้ ๒. จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ได้รับบริการกิจกรรม การศกึ ษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศัยท่สี อดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ ๓. ร้อยละของกำลังแรงงานท่ีสำเรจ็ การศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นข้นึ ไป ๔. จำนวนภาคีเครือข่ายที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครอื ข่าย : สถาน ประกอบการ องค์กร หน่วยงานที่มารว่ มจดั /พฒั นา ส่งเสรมิ การศึกษา) ๕. จำนวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ในพื้นท่ี ๕ จังหวัด ๑๑ อำเภอ ได้รบั บรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนยก์ ารเรียนชุมชนสังกดั สำนกั งาน กศน. ๖. จำนวนผู้รับบริการในพ้ืนท่ีเป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะ ชีวิต ๗. จำนวนนกั เรียน/นักศกึ ษาท่ีไดร้ ับบรกิ ารตวิ เขม้ เตม็ ความรู้ ๘. จำนวนประชาชนท่ีได้รับการฝกึ อาชีพระยะส้ัน สามารถสรา้ งหรอื พัฒนาอาชีพเพื่อสร้างรายได้ 9. จำนวน ครู กศน. ตำบล จากพ้ืนท่ี กศน.ภาค ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียน การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร

19 ๑๐. จํานวนประชาชนทไี่ ด้รบั การฝกึ อบรมภาษาตา่ งประเทศเพอื่ การสอื่ สารดา้ นอาชีพ ๑๑. จาํ นวนผูผ้ า่ นการอบรมหลกั สตู รการดแู ลผ้สู ูงอายุ ๑๒. จํานวนประชาชนทีผ่ า่ นการอบรมจากศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน ๑๓. จํานวนศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน กศน. บนพื้นท่ีสงู ในพื้นท่ี ๕ จังหวัด ทสี่ ่งเสรมิ การพฒั นาทักษะ การฟงั พดู ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ร่วมกันในสถานศกึ ษาสงั กดั สพฐ. ตชด. และกศน ๑๔. จํานวนหลักสูตรหรือสื่อออนไลน์ท่ีให้บริการกับประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษา ขั้นพืน้ ฐาน การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตวั ชีว้ ัดเชิงคุณภาพ ๑. ร้อยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N- NET) ทกุ รายวชิ าทุกระดับ ๒. รอ้ ยละของผเู้ รียนทไี่ ดร้ ับการสนบั สนุนการจดั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานเทียบกบั คา่ เปา้ หมาย ๓. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายท่ีลงทะเบยี นเรยี นในทกุ หลักสูตร/กิจกรรมการศึกษา ตอ่ เนือ่ ง เทียบกับเป้าหมาย ๔. ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสั้นสามารถนําความรู้ไปใช้ในการ ประกอบอาชีพหรอื พัฒนางานได้ ๕. ร้อยละของผู้เรียในเขตพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะ ดา้ นอาชพี สามารถมีงานทําหรอื นาํ ไปประกอบอาชพี ได้ 6. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตร/กจิ กรรม การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ๗. ร้อยละของประชาชนท่ีไดร้ ับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจต่อการบริการ/เข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ การศึกษาตามอธั ยาศัย 8. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ไี ด้รับบรกิ าร/เข้าร่วมกิจกรรมท่มี ีความร้คู วามเข้าใจ/เจต คต/ิ ทักษะ ตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรมทกี่ ําหนด ของการศึกษาตามอัธยาศัย 9. รอ้ ยละของผสู้ งู อายทุ ี่เป็นกล่มุ เป้าหมาย มโี อกาสมาเข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาตลอดชวี ิต นโยบายเรง่ ด่วนเพ่ือร่วมขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ ๑.ยุทธศาสตรด์ ้านความมัน่ คง ๑.๑ พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีตอ่ สถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนําและเผยแพร่ ศาสตร์ พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดํารติ า่ ง ๆ ๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและ เคารพ ความหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์

20 ๑.๓ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาเพอื่ ป้องกนั และแก้ไขปัญหาภยั คุกคามในรูปแบบใหม่ ทั้งยาเสพตดิ การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ ๑.๔ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ในเขต พฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพืน้ ท่ีชายแดนอน่ื ๆ ๑.๕ สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มชาติพันธุ์ และชาวตา่ งชาตทิ ่มี คี วามหลากหลาย ๒. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ๒.๑ ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีเขต ระเบียง เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพเิ ศษตามภูมิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศ สําหรับพื้นท่ีปกติให้พฒั นาอาชีพ ทีเ่ น้น การต่อยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพ้นื ที่ ๒.๒ จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบ การศึกษา อย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนําคุณวุฒิท่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการพฒั นา เขตพื้นทร่ี ะเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) ๒.๓ พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพื่อต่อยอดการผลิตและจําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ออนไลน์ พร้อมท้ังประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มช่องทางการจําหน่ายสินค้าและ ผลิตภณั ฑ์ ใหก้ ว้างขวางยง่ิ ข้นึ ๓. ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๑ สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้ เชื่อมโยง ความรู้กับผู้เรยี นและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทัน ต่อการเปล่ียนแปลง ของสังคม และเป็น “ผู้อํานวยการการเรียนรู้” ท่ีสามารถบริหารจัดการความรู้ กจิ กรรม และการเรยี นรูท้ ด่ี ี ๑) เพิ่มอตั ราข้าราชการครใู ห้กับสถานศึกษาทกุ ประเภท ๒) พัฒนาขา้ ราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสตู รท่เี ชอื่ มโยงกับวิทยฐานะ ๓) พัฒนาครูใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยเน้นเรอ่ื งการพัฒนาทักษะการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ๔) พัฒนาศึกษานิเทศก์ ให้สามารถปฏบิ ตั ิการนิเทศไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๕) พัฒนาบคุ ลากรทุกระดบั ทุกประเภทให้มคี วามรู้และทักษะเร่ืองการใช้ประโยชน์จากดิจทิ ลั และภาษาตา่ งประเทศท่ีจาํ เป็น รวมทงั้ ความรเู้ กี่ยวกับอาชีพทีร่ องรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S-Curve และ New S-Curve)

21 ๓.๒ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสม กับบรบิ ทของพนื้ ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผรู้ ับบรกิ าร ๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สําหรับทุกคน สามารถ เรยี นได้ทกุ ทีท่ ุกเวลา มกี จิ กรรมทห่ี ลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชมุ ชน ๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ท้ัง ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น รวมทัง้ สง่ เสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วม ของชุมชน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและ การเรยี นรู้ให้กับ ประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ ๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การ จดั การเรยี นรู้ และใชก้ ารวิจัยอยา่ งง่ายเพอื่ สรา้ งนวตั กรรมใหม่ ๓.๖ พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ด้านความรู้ความเข้าใจ และทกั ษะในการใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Literacy) ๓.๗ ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจําการ รวมท้ังกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่น ๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรยี นท่ีอยู่นอกระบบการศึกษา ให้จบการศึกษา นอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ๓.8 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้น ทกั ษะ ภาษาเพอ่ื อาชพี ทงั้ ในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการทอ่ งเทีย่ ว ๓.9 เตรียมความพร้อมของประชาชนในการเขา้ สสู่ ังคมผู้สงู อายุท่เี หมาะสมและมคี ุณภาพ ๓.๑๐ จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุกให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่าง ง่าย ท้ังวิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจําวัน รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ๓.๑๑ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบตา่ ง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นที่ สงู ใหส้ ามารถฟัง พดู อา่ น และเขยี นภาษาไทย เพื่อประโยชนใ์ นการใชช้ วี ติ ประจาํ วนั ได้ ๔. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๔.๑ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม ใน การให้บรกิ ารกจิ กรรมการศึกษาและการเรยี นรู้ ๑) เร่งยกระดับ กศน.ตําบลนําร่อง ๔๒๘ แห่ง (อําเภอละ ๑ แห่ง) ให้เป็น กศน.ตําบล ๕ ดี พรี เมียม ทปี่ ระกอบด้วย ครดู ี สถานท่ีดี (ตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี) กิจกรรมดี เครอื ข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรยี นร้ทู ี่ดี มีประโยชน์

22 ๒) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพ่ือยกระดับการเรียนรู้ เป็นพ้ืนที่การเรียนรู้ (Co - Learning Space) ทท่ี ันสมัยสําหรบั ทกุ คน มีความพรอ้ มในการให้บริการต่าง ๆ ๓) พฒั นาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เปน็ Digital Library ๔.๒ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สําหรับทุกช่วงวัยที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการ ใน การเรยี นรู้ในแตล่ ะวัย เพ่อื ให้มีพฒั นาการเรยี นร้ทู ่เี หมาะสม และมคี วามสขุ กับการเรยี นรู้ตามความสนใจ ๔.๓ ส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเรียนร้สู ําหรับกลมุ่ เป้าหมายผู้พิการ โดยเน้น รปู แบบการศึกษาออนไลน์ ๕. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รต่อสิง่ แวดลอ้ ม ๕.๑ สง่ เสรมิ ให้มกี ารใหค้ วามรูก้ บั ประชาชนในการรับมือและปรบั ตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัย ธรรมชาติและผลกระทบทเ่ี กย่ี วข้องกับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ๕.๒ สรา้ งความตระหนักถึงความสําคญั ของการสร้างสังคมสเี ขียว ส่งเสริมความรใู้ ห้กับประชาชน เกี่ยวกบั การคัดแยกต้งั แต่ต้นทาง การกําจดั ขยะ และการนํากลับมาใชซ้ ้ํา ๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เร่ืองการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เปน็ ต้น 6. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ๖.๑ พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบ บรหิ ารจดั การบนข้อมลู และหลักฐานเชิงประจักษ์ มุง่ ผลสัมฤทธิม์ ีความโปร่งใส ๖.๒ นาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทํางานทีเ่ ป็นดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการบริหารและพัฒนางาน ๖.๓ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตําแหนง่ ให้ตรงกบั สายงาน ความชํานาญ และความตอ้ งการของบุคลากร ภารกจิ ตอ่ เนื่อง ๑. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๑) สนับสนนุ การจดั การศึกษานอกระบบต้ังแตป่ ฐมวัยจนจบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โดยดําเนนิ การ ให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการ เรยี น การสอนอย่างท่ัวถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไม่เสีย คา่ ใช้จ่าย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ดอ้ ย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผา่ นการเรียนแบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง การพบกลุม่ การเรยี นแบบชัน้ เรียน และการจดั

23 การศกึ ษาทางไกล ๓) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมนิ ผล การเรียน และระบบการใหบ้ รกิ ารนักศกึ ษาในรูปแบบอ่นื ๆ ๔) จดั ให้มีการประเมินเพอ่ื เทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมี ความโปรง่ ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลมุ่ เปา้ หมายได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๕) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพท่ีผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับ การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การ สง่ เสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตร นารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนํา กิจกรรมการบาํ เพญ็ ประโยชนอ์ ื่น ๆ นอกหลักสูตร มาใช้ เพ่มิ ชั่วโมงกิจกรรมให้ผู้เรยี นจบตามหลกั สตู รได้ ๑.๒ การสง่ เสริมการรู้หนังสือ ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบ เดียวกนั ทง้ั ส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค ๒) พัฒนาหลักสูตร สอ่ื แบบเรยี น เครื่องมือวัดผลและเครือ่ งมือการดําเนินงานการส่งเสรมิ การรู้ หนงั สือท่ีสอดคลอ้ งกับสภาพแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมาย ๓) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครอื ข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะ การจดั กระบวนการเรยี นรใู้ ห้กบั ผ้ไู ม่รู้หนังสืออยา่ งมีประสิทธภิ าพ และอาจจัดใหม้ ีอาสาสมคั รส่งเสริมการ รูห้ นังสือในพ้ืนท่ี ที่มคี วามตอ้ งการจําเปน็ เป็นพิเศษ ๔) ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิต ของประชาชน ๑.๓ การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ๑) จดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อการมีงานทาํ อย่างย่ังยนื โดยให้ความสาํ คัญกบั การจดั การศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและ ศักยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน โดยจัดให้มหี นง่ึ อาชพี เด่น รวมทั้งให้มีการกํากับติดตาม และรายงาน ผลการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทําอย่างเป็นระบบและ ตอ่ เนอื่ ง

24 ๒) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุท่ี สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของ ตนเองให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม สําหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรม ที่มีเนื้อหาสําคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การ ป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยม ท่ีพึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผา่ นการศกึ ษารูปแบบ ตา่ ง ๆ อาทิ คา่ ยพฒั นาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนมุ การส่งเสริมความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ ๓) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชมุ สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้าง กระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหาร จัดการน้ำ การรบั มือกับสาธารณภยั การอนรุ ักษ์พลังงานทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ช่วยเหลอื ซ่ึง กันและกนั ในการพัฒนาสังคมและชุมชน อยา่ งยั่งยนื ๔) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอด ชีวิต ในรูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมี การบรหิ ารจัดการ ความเสี่ยงอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดลุ และย่งั ยนื ๑.๔ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนา ศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มี การบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วย บริการเคล่ือนที่พร้อมอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ การเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชน ในพ้ืนท่ีต่างๆ อย่างท่ัวถึง สม่ำเสมอ รวมทั้งเสริมสร้าง ความพร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการอ่าน อย่างหลากหลาย ๒) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอด ชีวิต ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงศิลปะวิทยาการ ประจาํ ท้องถนิ่ โดยจดั ทาํ และพฒั นานทิ รรศการ ส่อื และกิจกรรมการศกึ ษาที่เนน้ การเสริมสร้างความรแู้ ละ สร้างแรงบันดาลใจ ดา้ นวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคดิ เชิงวิเคราะห์ การคิดเชงิ สร้างสรรค์ และปลกู ฝัง

25 เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บรบิ ทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาคและ ระดับโลก เพ่อื ให้ประชาชนมีความรแู้ ละสามารถ นาํ ความรแู้ ละทกั ษะไปประยุกตใ์ ช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทา และป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัว รองรับผลกระทบจากการ เปลยี่ นแปลงของโลกท่เี ป็นไปอย่างรวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Change) ได้อยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ ๑.๕ ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เพ่ือ ส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของ ประชาชน เช่น พิพธิ ภัณฑ์ ศนู ยเ์ รียนรู้ แหลง่ โบราณคดี ห้องสมุด เป็นต้น ๒. ด้านหลักสูตร สือ่ รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบรกิ าร ทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพ่ือส่งเสริม การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรท้องถ่ินที่ สอดคล้องกบั สภาพบริบท ของพนื้ ที่ และความต้องการของกลุม่ เปา้ หมายและชุมชน ๒.๒ ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออ่ืนๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียน กลมุ่ เปา้ หมายทั่วไปและกล่มุ เป้าหมายพิเศษ ๒.๓ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการ ควบคมุ การสอบออนไลน์ ๒.๔ พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง มีการประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับรู้และสามารถเข้าถึงระบบการ ประเมินได้ ๒.๕ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบ อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๒.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัด และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย รวมทั้งให้มีการนําไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้ เหมาะสมกบั บรบิ ทอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมิน คุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการ ประกันคุณภาพและสามารถดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การ ประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับ

26 สถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้ คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี ําหนด ๒.8 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนท่ัวไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการด้าน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการของ หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่างๆ การจัดนิทรรศการ/ มหกรรมวิชาการ กศน. ๓. ดา้ นเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา ๓.๑ ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพ่ือให้เชื่อมโยงและ ตอบสนองต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือ กระจายโอกาสทางการศึกษา สําหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมี คุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่าทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการ พัฒนาอาชีพเพอ่ื การมีงานทํา รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวทิ ยุศกึ ษา สถานีวทิ ยุ โทรทศั น์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทาง อนิ เทอร์เนต็ ๓.๒ พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพ่ือ ส่งเสริมให้ ครู กศน. นําเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ท่ัวประเทศ และเพ่ิม ช่องทาง ให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band C Band Digital TV และทาง อินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ รองรบั การพฒั นาเปน็ สถานวี ิทยุโทรทศั น์เพื่อการศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔ พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพ่ือให้ได้หลายช่องทางท้ังทาง อินเทอร์เน็ต และรปู แบบอ่ืนๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet รวมท้ังส่ือ Offline ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพ่ือเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการ เรยี นรู้ได้ตามความตอ้ งการ ๓.๕ สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือนํา ผล มาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอด ชวี ิต ของประชาชนไดอ้ ยา่ งแท้จริง ๔. ด้านโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเกยี่ วเนื่องจากราชวงศ์ ๔.๑ สง่ เสริมและสนับสนนุ การดาํ เนนิ งานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อัน เกยี่ วเนอื่ งจากราชวงศ์

27 ๔.๒ จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ หรือโครงการอันเกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์ เพ่ือนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผล และการพัฒนางาน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔.๓ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงาน เพ่ือสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาํ ริ เพอื่ ให้เกิดความเข้มแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๔.๔ พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพ่ือให้มีความพร้อมในการจัด การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหน้าที่ทก่ี ําหนดไว้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๔.๕ จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนท่ีสูง ถิ่น ทุรกนั ดาร และพืน้ ทช่ี ายขอบ ๕. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่บริเวณ ชายแดน ๕.๑ พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ๑) จัดและพัฒนาหลักสตู ร และกิจกรรมสง่ เสริมการศกึ ษาและการเรียนรู้ทต่ี อบสนองปัญหา และ ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย รวมทงั้ อัตลกั ษณ์และความเปน็ พหุวฒั นธรรมของพืน้ ท่ี ๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพ่อื ให้ ผู้เรียนสามารถนําความร้ทู ่ไี ด้รบั ไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ ๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นกั ศกึ ษา กศน. ตลอดจนผู้มาใช้บริการอย่างทว่ั ถงึ ๕.๒ พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบรบิ ทของแตล่ ะจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ ๒) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้ เกดิ การพัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพืน้ ที่ ๕.๓ จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) ๑) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือใหเ้ ปน็ ศนู ย์ฝึกและสาธิต การ ประกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง สําหรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ๒) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุก เพื่อการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนํา ด้านอาชีพ ที่เน้นเรื่องเกษตรธรรมชาติท่ีสอดคล้องกับบรบิ ทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนว ชายแดน

28 6. ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น ๖.๑ การพฒั นาบคุ ลากร ๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ท้ังก่อนและระหว่าง การดํารงตําแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ ดําเนินงาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัด พฒั นาตนเอง เพื่อเลือ่ นตําแหน่งหรือเลอ่ื นวทิ ยฐานะ โดยเนน้ การประเมนิ วิทยฐานะเชิงประจกั ษ์ ๒) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในสถานศกึ ษา ๓) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตําบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นเพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตําบล/ แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเปน็ นักจัดการความรู้และผู้ อํานวย ความสะดวกในการเรียนรเู้ พ่ือให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรทู้ ่มี ปี ระสิทธภิ าพอย่างแทจ้ ริง ๔) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การจัดการศึกษาให้สามารถจดั รูปแบบการเรียนรู้ ได้ อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการ เรียนรู้ การวัด และประเมินผล และการวจิ ัยเบ้อื งต้น ๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถ และมีความเปน็ มอื อาชีพในการจดั บรกิ ารส่งเสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชวี ิตของประชาชน ๖) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บรหิ าร การดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๗) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทําหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอธั ยาศัยไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมท้ังภาคีเครือข่ายทั้งใน และต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทํางาน ร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการ พฒั นาประสทิ ธิภาพ ในการทํางาน ๖.๒ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและอัตรากาํ ลัง ๑) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานและดําเนนิ การปรับปรุงสถานท่ี และวสั ดุอุปกรณ์ ใหม้ ี ความพร้อมในการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ ๒) บริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ ทั้งในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสทิ ธิภาพสูงสุดในการปฏิบัตงิ าน

29 ๓) แสวงหาความร่วมมือจากภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพือ่ นํามาใช้ในการ ปรับปรุงโครงสรา้ งพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสําหรับดาํ เนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และการส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ําหรบั ประชาชน ๖.๓ การพฒั นาระบบบริหารจดั การ ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ให้มคี วามครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทนั สมยั และเชอ่ื มโยงกันทวั่ ประเทศ อยา่ ง เป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และ เ ร่ ง รั ด การเบิกจา่ ยงบประมาณให้เปน็ ตามเป้าหมายทก่ี าํ หนดไว้ ๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยง กันท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัด การศึกษาใหก้ บั ผเู้ รยี น และการบริหารจัดการอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๔) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพือ่ สามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธภิ าพการดําเนินงานทีส่ อดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชมุ ชนพร้อมท้งั พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแขง่ ขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา ๕) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ๖) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E - office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบ การลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชมุ เปน็ ตน้ ๖.๔ การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล ๑) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอก ระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้เชื่อมโยงกับหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ข่ายทั้งระบบ ๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตาม และ รายงาน ผลการนํานโยบายสู่การปฏิบตั ิ ให้สามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๓) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสอ่ื อื่น ๆ ที่เหมาะสม เพ่ือการกํากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปี ของสํานักงาน กศน. ให้ดําเนินไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา ทก่ี าํ หนด

30 ๕) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ ข้อมลู และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ข้อมลู บุคลากรในสังกดั ทำเนยี บผบู้ ริหาร ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหนง่ ระยะเวลา ที่ ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ ท่ดี ำรงตำแหน่ง 1. นายเกษม เจ๊ะโซะ ม.ี ค. 2537 – ก.ย. 2546 2. นายหนแิ อ วันดือเร๊ะ ผอ.กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส 3. นายณรงค์ เรือนต๊ิบ รก.ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ ต.ค. 2546 – มี.ค. 4. นายสนั ติ บินอบั ดรุ มาน 2547 5. นางเสาวภา ขวัญดี ผอ.กศน.อำเภอบาเจาะ รก.ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ เม.ย. 2547 – ก.ย. 2547 ผอ.กศน.อำเภอเจาะไอร้อง รก.ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ ต.ค. 2547 – ก.ย. 2548 ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ ต.ค. 2548 – เม.ย. 6. นายอิสมาแอ มาดเดน่ ผอ.กศน.อำเภอศรีสาคร 2552 7. นางสาวนราวรรณ เวชธรรม รก.ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ เม.ย. 2552 – ต.ค. ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ 2552 8. นางปิยะเนตร ฮะนิง ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ พ.ย. 2552 – ต.ค. 2555 9. ว่าทรี่ อ้ ยโทประวิตร จนิ ตประสารท ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ พ.ย. 2555 – ม.ค. 10 นางสาวพรี ภาว์ ทองแดง ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ 2558 11 นางสาวรอฮานี อาแวกาจิ ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ ก.พ. 2558 –พ.ย. 2560 พ.ย. 2560 – ม.ค. 2563 ม.ค. 2563 – ปจั จุบัน

31 ทำเนยี บบุคลากร ลำดับที่ ช่ือ-สกุล ตำแหนง่ 1. นางสาวรอฮานี อาแวกาจิ ผอ.กศน.อำเภอจะแนะ 2. นางสาวไลนี อาแวมะ ครูคศ.2 3. นางบาดารียะห์ นบิ ูละ ครอู าสาฯ 4. นางคอดีเย๊าะ รบั ไทรทอง ครูอาสาฯ 5. นางนรู รฮี ัน สะมะแอ ครูอาสาฯ 6. นางนูรยี ะ๊ มหิ แิ อ ครูอาสาฯปอเนาะ 7. นางสาววนดิ า. สเิ ดะ ครอู าสาฯปอเนาะ 8. นางสาวซาลีฮะ มามะ ครอู าสาฯ ประจำ ศรช. 9. นางคอลาตี เจ๊ะฮามะ ครูอาสาฯ ประจำ ศรช. 10. นายอาซือมิง ยนู ุ๊ ครอู าสาฯ ประจำ ศรช. 11. นายมาหะมะ เจะ๊ แต ครูอาสาฯ ประจำ ศรช. 12. นายประสิทธ์ิ รับไทรทอง ครอู าสาฯ ประจำ ศรช. 13. นางสาวสตี นี ูรฮา ลาเตะ๊ บือริง บรรณารกั ษ์อตั ราจา้ ง 14. นายอดิศักดิ์ บาโด เจ้าหนา้ ท่ีบันทึกขอ้ มูล 15. นางสาวซาวนี ะ๊ บากา พนกั งานบริการ รายชื่อบคุ ลากร ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอจะแนะ ที่ ช่อื -สกุล ตำแหน่ง ท่ีอยู่ปจั จุบนั เบอร์โทรศพั ท์ หมู่ท่ี ตำบล อำเภอ 1 นางสาวรอฮานี อาแวกาจิ ผู้อำนวยการ 331 ปะนาเระ ปะนา 093-5742066 ศูนย์ฯ เระ ๒ นางสาวไลนี อาแวมะ ครคู ศ.2 5 มะรอื โบตก ระแงะ 065-0383318 ๓ นางสาวบาดารียะห์ นิบูละ ครอู าสาฯ 1 ตันหยงลิมอ ระแงะ 081-0991136 ประจำตำบล ๔ นางสาวคอดเี ยา๊ ะ รับไทร ครูอาสาฯ 4 ดุซงญอ จะแนะ 086-2796385 ทอง ประจำตำบล ๕ นางนูรรฮี ัน สะมะแอ ครอู าสาฯ 3 ดซุ งญอ จะแนะ 087-2910042 ประจำตำบล

32 ท่ี ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง ท่อี ยู่ปัจจบุ ัน เบอรโ์ ทรศัพท์ 6 นางนรู ียะ๊ มิหแิ อ หมู่ท่ี ตำบล อำเภอ ๗ นางสาววนดิ า สเิ ดะ ครอู าสาฯ 6 ดุซงญอ จะแนะ 087-8266425 ๘ นางสาวซาลฮี ะ มามะ ปอเนาะ ๙ นายมาหะมะ เจ๊ะแต ครูอาสาฯ ๑ ดุซงญอ จะแนะ 090-1782290 10 นางสาวคอลาตี เจะ๊ ฮามะ ปอเนาะ 11 นายประสิทธ์ิ รบั ไทรทอง ครอู าสาฯ 6 ตนั หยงลิมอ ระแงะ 087-8369533 12 นายอาซือมิง ยนู ุ๊ ประจำ ศรช. 13 นางสาวสตี นี ูรฮา ลาเต๊ะบื ครอู าสาฯ 1 ดซุ งญอ จะแนะ 081-6317709 อริง ประจำ ศรช. 14 นายอดศิ ักด์ิ บาโด ครอู าสาฯ 6 ผดงุ มาตร จะแนะ 089-9754892 ๑5 นางสาวซาวีน๊ะ บากา ประจำ ศรช. ครูอาสาฯ 4 ดุซงญอ จะแนะ 089-3760800 ประจำ ศรช. ครศู ูนยก์ าร 6 จะแนะ จะแนะ 087-2869500 เรยี นชุมชน บรรณารกั ษ์ 1 จวบ เจาะไอ 080-8681607 อัตราจ้าง ร้อง เจ้าหนา้ ท่ี 3 จะแนะ จะแนะ 080-1066353 ธรุ การ แมบ่ ้าน 1 ดซุ งญอ จะแนะ 082-2618723

33 โครงสร้างการบริหารงานศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอจะแนะ นางสาวรอฮานี อาแวกาจิ คณะกรรมการ ผู้อำนวยการสถานศึกษา สถานศึกษา นางสาวไลนี อาแวมะ ขา้ ราชการครู กลุม่ งานอำนวยการ กลุม่ งานการจัดการศกึ ษานอก กลมุ่ งานภาคีเครอื ข่ายและกจิ การ พเิ ศษ ๑.นางสาวซาลฮี ะ มามะ(งาน ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๑.นายอาซือมงิ ยูน๊(ุ งานสง่ เสรมิ ธุรการและสารบรรณ) ๑.นางสาวไลนี อาแวมะ(งาน สนับสนุนภาคีเครอื ขา่ ย) ๒.นายอาซือมิง ยูน(ุ๊ งานกจิ การ ๒.นางนูรรฮี ัน สะมะแอ/นางสาว การศึกษาขัน้ พื้นฐาน) พเิ ศษ) - นางสาวไลนี อาแวมะ (งาน ๓.นายประสทิ ธิ์ รับไทรทอง(งาน วนิดา สิเดะ (งานการเงิน) ปอ้ งกันแก้ไขปัญหายาเสพตดิ / ทะเบียนนกั ศึกษา) โรคเอดส)์ ๓.นางบาดารียะห์ นิบลู ะ (งาน ๔.นายประสทิ ธ์ิ รบั ไทรทอง(งาน พัสด)ุ -นางสาวคอดีเย๊าะ รบั ไทรทอง สง่ เสริมประชาธิปไตย) (งานวดั ผล) ๗.นาคอลาตี เจะ๊ ฮามะ(งาน ๔.นางสาวไลนี อาแวมะ(งาน กิจการลูกเสือและยุวกาชาด) - นางสาวซาลฮี ะ มามะ(งาน ๘.นายมาหะมะ เจะ๊ แต (งาน แผนงาน/โครงการ) การศึกษาในจังหวัดชายแดน ตรวจสอบวฒุ ิการศกึ ษา) ภาคใต้) 5.นางนรู ยี ะ๊ แซแม(งาน ๙.งานอื่น ๆ -นางคอดเี ย๊าะ รับไทรทอง(งาน คณะกรรมการสถานศกึ ษา) พัฒนาหลกั สตู ร ส่ือ นวัตกรรม) 6.นางนรู รฮี ัน สะมะแอ(งาน - นางสาวไลนี อาแวมะ(งาน บคุ ลากร) เทียบระดับการศกึ ษา) 7.นางสาวไลนี อาแวมะ(งาน ๒.นางคอดีเยา๊ ะ รบั ไทรทอง(งาน ประกนั คณุ ภาพภายใน สง่ เสริมการร้หู นังสอื ) สถานศกึ ษา) ๓.นางบาดารยี ะห์ นิบลู ะ(งาน 8.นางสาวไลนี อาแวมะ(งาน นเิ ทศภายในตดิ ตามประเมนิ ผล) จัดการศกึ ษาตอ่ เน่ือง) ๔.นางสาวสีตีนรู ฮา ลาเตะ๊ บอื ริง 9.นางสาวไลนี อาแวมะ(งาน (งานบ้านหนงั สืออจั ฉรยิ ะ) ควบคมุ ภายในและการบรหิ าร ๕.นางสาวสตี ีนูรฮา ลาเตะ๊ บือริง ความเสยี่ ง) 10.นายอาซือมงิ ยูนุ(๊ งานอาคาร (งานการศกึ ษาตามอัธยาศยั ) ๖.นางสาวไลนี อาแวมะ(งาน สถานท/ี่ ยานพาหนะ) 11.นายมาหะมะเพาซี สาแลแม ศูนยบ์ รกิ ารใหค้ ำปรึกษาแนะนำ) ๗.นางคอดเี ยา๊ ะ รบั ไทรทอง(งาน 1(งแ2านห.นขลา้อย่งมอเูลรดสียิศานักรดรสแู้์ินบลเทาะศโภด)า(งคานเี ครอื ข่าย กิจการนกั ศกึ ษา) ประชาสมั พนั ธ)์

34 ช่ือ กศน.ตำบล ทต่ี ง้ั ผรู้ ับผดิ ชอบ กศน.ตำบลจะแนะ บา้ นยะออ หมู่ 1 ตำบลจะแนะ นางสาวซาลีฮะ มามะ กศน.ตำบลช้างเผอื ก บา้ นกอื มุง หมู่ 2 ตำบลช้างเผอื ก นายประสทิ ธ์ิ รับไทรทอง กศน.ตำบลผดงุ มาตร บ้านไอรป์ ีแซ หมู่ 5 ตำบลผดงุ มาตร นางคอลาตี เจ๊ะฮามะ กศน.ตำบลดุซงญอ บา้ นดซุ งญอ หมู่ 1 ตำบลดซุ งญอ นายมาหะมะ เจ๊ะแต รวมจำนวน 4 แห่ง ศนู ย์การเรยี นชุมชน ท่ตี ้งั ผ้รู ับผิดชอบ ชอื่ ศูนย์การเรียนชมุ ชนบ้าน บ้านไอร์กรอส หมู่ 6 ตำบลจะแนะ นายอาซือมิง ยูนุ๊ ไอร์กรอสตำบลจะแนะ รวมจำนวน 1 แห่ง ช่อื แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทต่ี ง้ั 1.สถาบนั ศึกษาปอเนาะ ใหก้ ารศึกษาและใหค้ วามร้เู ร่ือง บา้ นนำ้ วน หมู่ 2 ตำบลช้างเผอื ก ศาสตราวทิ ยา ศาสนา อำเภอจะแนะ 2.สถาบนั ศึกษาปอเนาะ ใหก้ ารศึกษาและให้ความรู้เร่ือง บา้ นดุซงญอ หมูท่ ี่ 1 ตำบล วาตอนยี ะห์ ศาสนา ดซุ งญอ อำเภอจะแนะ 3.ร้านซอ่ มรถจกั รยานยนต์ ให้การเรยี นรู้ดา้ นทักษะอาชพี บ้านนำ้ วน หมู่ 2 ตำบลชา้ งเผือก อำเภอจะแนะ 4.กลุ่มออมทรัพย์ ใหก้ ารเรียนร้ดู ้านการเงิน,บรหิ าร บ้านสุแฆ หมู่ 3 ตำบลดุซงญอ จดั การ อำเภอจะแนะ 5.สหกรณ์ออมทรัพย์ ให้การเรยี นรู้ดา้ นการเงนิ ,บรหิ าร บ้านดซุ งญอ หมู่ 1 ตำบลดุซงญอ จัดการ อำเภอจะแนะ 6.กลุ่มออมทรพั ย์ ใหก้ ารเรียนรูด้ ้านการเงนิ ,บรหิ าร บา้ นกาเตา๊ ะ หมู่ 6 ตำบลดซุ งญอ จดั การ อำเภอจะแนะ 7.สหกรณ์แปรรปู นำ้ ยางดิบ ให้การเรยี นรูด้ า้ นการเงนิ ,บรหิ าร บ้านไอร์กรอส หมู่ 6 ตำบล จัดการ จะแนะ อำเภอจะแนะ 8.กล่มุ ผลิตอิฐบลอ็ ก ให้การเรียนรูด้ า้ นการเงิน,การบรหิ าร บา้ นไอร์กรอส หมู่ 6 ตำบล จัดการ จะแนะ อำเภอจะแนะ 9.กลุม่ จัดทำเฟอร์นเิ จอร์ ใหก้ ารเรยี นรดู้ า้ นการเงนิ ,การบรหิ าร บ้านยะออ หมู่ ๑ ตำบลจะแนะ จัดการ อำเภอจะแนะ 10.ศนู ยเ์ กษตรธรรมชาติ ใหค้ วามรู้ดา้ นการจดั กระบวนการ สถาบันศกึ ษาปอเนาะวาตอนียะ๊ เรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ บา้ นดุซงยอ หมู่ 1 ตำบลดุซงญอ พอเพียง อำเภอจะแนะ

35 ภูปัญญาท้องถน่ิ ความรูค้ วามสามารถ ท่อี ยู่ 1.นายหามะ มหิ ิแอ การทำกรงดกั นก 103 หมู่ 6 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ 2.นางอูมีกลือซง ลาเต๊ะ หมอตำแย 76 หมู่ 7 ตำบลดซุ งญอ อำเภอจะแนะ 3.นายมะสาและ วาเตะ การทำไมก้ วาดดอกหญ้า 198/1 หมู่ 7 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะ แนะ 4.นายสาและ มะแซ การทำกรงนก,การ 107 หมู่ 5 ตำบลชา้ งเผือก อำเภอจะ แกะสลกั ไม้ แนะ 5.นายสะแปองิ ลาเต๊ะ การทำกระบงุ ,กระดง,ไม้ 44/3 หมู่ 3 ตำบลช้างเผอื ก อำเภอจะ กวาดดอกหญา้ ,ไม้กวาดไม้ แนะ 6.นายการียา นจิ ิ ไผ่ การนวดแผนโบราณ/ 9 หมู่ 5 ตำบลชา้ งเผอื ก อำเภอจะแนะ 7.นางยไู รด๊ะเจ๊ะเล๊าะ สมุนไพร 8.นายมะอารง ตาเห การนวดแผนโบราณ 39 หมู่ 3 ตำบลช้างเผอื ก อำเภอจะแนะ การนวดแผนโบราณ 121 หมู่ 2 ตำบลช้างเผอื ก อำเภอจะ 9.นางสะปียะ มะเซ็ง แนะ 10.นายดอื เลาะ มะนาวี การนวดแผนโบราณ 32 หมู่ 1 ตำบลชา้ งเผอื ก อำเภอจะแนะ สมุนไพร 48/1 หมู่ 3 ตำบลชา้ งเผอื ก อำเภอจะ 11.นายอาแว อาบู แนะ 12.นางเนตรดาว อโน การทำไมก้ วาดดอกหญา้ 31/1 หมู่ 6 ตำบลดซุ งญอ อำเภอจะแนะ มะศริ ิ การทำอาหาร-ขนม หมู่ 3 ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ 13.นางเซาเดา๊ ะ แซบากา การนวดแผนโบราณ/ หมู่ 1 ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ 14.นางสาวมารียะ๊ กอเด สมุนไพร 15.นายมะสาเระ๊ อูดิ้ง การทำฝาชีแฟนซี 7 หมู่ 4 ตำบลดซุ งญอ อำเภอจะแนะ การถกั กระเปา๋ จากเชือก 133/1 หมู่ 7 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ 16.นางซัลเม๊าะ ดารอมะ รม่ ,ชา่ งตัดเยบ็ เส้ือผา้ ,ตัด 17.นายสชุ าติ สาแล๊ะ เย็บกระเป๋าจากเศษผา้ 89 หมู่ 4 ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ ช่างปกั จักร 166 หมู่ 8 ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะ รวมจำนวน ช่างก่ออิฐ แนะ 13 แห่ง

ภาคีเครอื ขา่ ย 36 ที่วา่ การอำเภอจะแนะ ทอี่ ยู่/ที่ต้ัง โรงพยาบาลจะแนะ ม.3 บา้ นมะนังกาแยง ต.จะแนะอ.จะแนะ จ.นราธวิ าส สาธารณสขุ อำเภอจะแนะ ม.2 บ้านจะแนะ ต.จะแนะ อ.จะแนะจ.น ราธิวาส สถานีตำรวจภธู รอำเภอจะ ม.3 บ้านมะนังกาแยง ต.จะแนะ อ.จะ แนะ แนะจ.นราธวิ าส องค์การบริหารสว่ นตำบลจะ ม.3 บา้ นมะนงั กาแยง ต.จะแนะ อ.จะ แนะ แนะจ.นราธิวาส องค์การบริหารสว่ นตำบล ม.3 บา้ นมะนงั กาแยง ต.จะแนะอ.จะแนะ ดซุ งญอ จ.นราธวิ าส องค์การบรหิ ารส่วนตำบล ม.1 บา้ นดซุ งญอ ต.ดซุ งญอ อ.จะแนะ ผดงุ มาตร จ.นราธวิ าส องค์การบริหารส่วนตำบล ม.2บา้ นบอื จะ ต.ผดงุ มาตร อ.จะแนะ จ. ช้างเผอื ก นราธวิ าส โรงเรยี นบ้านจะแนะ ม.2 บา้ นกุมุง ต.ชา้ งเผอื ก อ.จะแนะ จ. นราธิวาส โรงเรียนสวนพระยาวทิ ยา ม.2 บา้ นจะแนะ ต.จะแนะ อ.จะแนะ จ. นราธิวาส ม.1 บา้ นดซุ งญอ ต.ดุซงญอ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส

37 รายช่อื คณะกรรมการ กศน.ตำบล ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอจะแนะ กศน. ตำบลผดุงมาตร หมู่ท่ี 3 ตำบล ผดงุ มาตร อำเภอจะแนะ จงั หวัดนราธวิ าส 96220 ที่ ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง หมายเหตุ 1 นายเจ๊ะอเู ซ็ง เจะ๊ แซ 2 นายรอมลี เจะ๊ นุ๊ ประธาน (นายก อบต.) 3 นายไซมิง ฉอ 4 นายยะหย์ า ยโู ซ๊ะ รองประธาน (ผู้ใหญ่บา้ นไอร์ปีแซ ม.5) 5 นายอบั ดลุ ฮาเลง็ มานิ๊ 6 นายมะสือลี สุหลง กรรมการ (กำนนั ) 7 นายยาพา วัจนเลิศกุล 8 นายมาหะมะ ดารอมะ กรรมการ (อบต. ม.1) 9 นางสาวมารออา บญุ ญา 10 นายเซ็ง บาเหง็ กรรมการ (ผใู้ หญบ่ ้าน ม.2) 11 นายมะดาโอะ๊ มะลี 12 นายเฉลมิ โตะ๊ หาด กรรมการ (ผใู้ หญบ่ า้ น ม.2) 13 นายสะตอพา เจะ๊ ฮามะ 14 นายมฮู ัมหมัดอเี ลยี ส์ มามะ กรรมการ (ผูน้ ำศาสนา ม.3) 15 นายมะดาโอ๊ะ มินอูมา 16 นางซลั เม๊าะ ดารอมะ กรรมการ (ผูใ้ หญ่บ้าน ม.4) 17 นางคอลาตี เจ๊ะฮามะ กรรมการ (ผู้ชว่ ยผใู้ หญบ่ า้ น ม.4) กรรมการ (ผู้ชว่ ยผ้ใู หญบ่ ้าน ม.5) กรรมการ (ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บ้าน ม.5) กรรมการ (ผใู้ หญบ่ า้ น ม.6) กรรมการ (โตะ๊ บิหลา่ น ม.6) กรรมการ (องค์กรนกั ศึกษา ม.2) กรรมการ (องคก์ รนกั ศึกษา ม.4) กรรมการ (อาสาสมัคร กศน. ม.4) กรรมการและเลขานุการ (ครู ศรช.) (ต.ผดงุ มาตร ม.6)

38 กศน. ตำบลช้างเผอื ก หมู่ที่ 2 ตำบลช้างเผอื ก อำเภอจะแนะ จงั หวดั นราธวิ าส 96220 ที่ ช่ือ - สกลุ ตำแหนง่ หมายเหตุ (นายก อบต.) 1 นายอบั ดลุ เลาะ สอื แม ประธาน (ผู้ใหญ่บา้ น ม.2) (ม.1) 2 นายอบั ดลุ อาซิ บอเถ๊าะ รองประธาน (ม.1) (วทิ ยากรวชิ าชีพ ม.2) 3 นายจิตต์ ยูโซะ กรรมการ (โตะ๊ อหี ม่าม ม.3) (โตะ๊ อีหมา่ ม ม.3) 4 นายอบั ดลุ เลาะ เจ๊ะดอเลา๊ ะ กรรมการ (กลุ่มแม่บ้าน ม.4) (วิทยากรอาชพี ม.4) 5 นางซารฮี ะ เจะ๊ ดอเลา๊ ะ กรรมการ (กลุ่มแมบ่ ้านไอรจ์ อื เราะ ม.5) 6 นานยมูฮมั มดั ยาเอส มะ กรรมการ (ผ้ใู หญ่บ้าน ม.5) (ม.6) 7 นายหะยเี ดง็ สะมะแอ กรรมการ (อบต. ม.6) (อสม. ม.7) 8 นางปาตหี ม๊ะ แวสุหลง กรรมการ (ผ้ใู หญ่บ้าน ม.7) (องคก์ รนักศึกษา) 9 นางสาวอาซีเยาะ ตาเละ กรรมการ (องคก์ รนักศึกษา) (อาสาสมัคร กศน.) 10 นางสาวปาอซี ะห์ อาแว กรรมการ ตำบลช้างเผือก) 11 นายแวปะนัน สดิ ิ กรรมการ 12 นายจรัญ บญุ ศรี กรรมการ 13 นายสำรอง อุทยั กรรมการ 14 นายมะยิ กายอ กรรมการ 15 นายมะยูโซ๊ะ มะ กรรมการ 16 นายสมศักด์ิ ทสั มูมาศ กรรมการ 17 นางจริ าภรณ์ ต้งั คำ กรรมการ 18 นางวรรณเพ็ญ อุทัย กรรมการ 19 นายประสิทธ์ิ รบั ไทรทอง กรรมการและเลขานุการ (ครู ศรช.)

39 กศน.ตำบลดซุ งญอ หมูท่ ี่ 1 ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จงั หวดั นราธิวาส 96220 ท่ี ชื่อ - สกุล ตำแหนง่ หมายเหตุ (นายก อบต. ม.1) 1 นายอับดลุ รอซัค บาโด ประธาน (กำนนั ม.6) (อบต. ม.1) 2 นายรอซิม เจะ๊ อามะ รองประธาน (อบต. ม.2) (อบต. ม.2) 3 นายบัณฑิต อาแว กรรมการ (อบต. ม.2) (ผูใ้ หญ่บ้าน ม.3) 4 นายมอื ลี อาบะ กรรมการ (ผรส. ม.4) (อบต. ม.4) 5 นายการยี า เจะ๊ แล กรรมการ (อบต. ม.5) (ม.5) 6 นายอับดลุ เลาะ สาเร็ง กรรมการ ( อบต. ม.6) (ผู้ใหญบ่ ้าน ม.8) 7 นายมาหามะ สะมะแอ กรรมการ (อบต. ม.8) (อบต. ม.7) 8 นายรอซาวี ขาลี กรรมการ (ม.7) (องคก์ รนักศกึ ษา) 9 นายมะเซาพี ดอื ราเฮง กรรมการ (องคก์ รนักศึกษา) (อาสาสมัคร กศน.) 10 นายมะรอสดี บือกะมดู อ กรรมการ ตำบลดุซงญอ 11 นายตอื เงาะ สะอะ กรรมการ 12 นายอชั มิง เจะ๊ เง๊าะ กรรมการ 13 นายมาหามะ ดอเล๊าะ กรรมการ 14 นายฮาเซง็ สะมะแอ กรรมการ 15 นายบูรฮัน มะแซ กรรมการ 16 นายอบั ดุลรอแม กามาเซ็ง กรรมการ 17 นางสาวนูรซี า ดอเตะ๊ กรรมการ 18 นายไอดี เจ๊ะอาบู กรรมการ 19 นางสาวมนู เี ราะห์ สะอิ กรรมการ 20 นายมาหะมะ เจ๊ะแต กรรมการและเลขานุการ (ครู ศรช.)

40 กศน.ตำบลจะแนะ หมทู่ ี่ 1 ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จงั หวัดนราธวิ าส 96220 ที่ ชือ่ - สกุล ตำแหนง่ หมายเหตุ 1 นายมะสาอุดี บาโด ประธาน (นายก อบต. ม.3) 2 นายอสุ มาน ตาเยะ รองประธาน (กำนัน ม.4) 3 นายอับดุลกาเดร์ หะยีสามุ กรรมการ (ผใู้ หญบ่ ้าน ม.1) 4 นายซาเพียเดน สือแม กรรมการ (ผรส. ม.1) 5 นายเสรี หมัดอู กรรมการ (อบต. ม.7) 6 นายภญิ โญ ฮนิ นะ กรรมการ (ผใู้ หญ่บ้าน. ม.6) 7 นายมะกอรี มะมิง กรรมการ (อบต ม.6) 8 นายยะหะยา หะยีสะและ กรรมการ ( โตะ๊ อีหมา่ ม ม.4) 9 นายสะมะแอ สะอะ กรรมการ (ผ้ใู หญบ่ า้ น ม.9) 10 นายแวซำนุซี อาแวนุ๊ กรรมการ (องค์กรนกั ศกึ ษา) 11 นางสาวณาซูวิน สตอปา กรรมการ (องคก์ รนักศกึ ษา) 12 นางสาวอามเี นา๊ ะ บือราเฮง กรรมการ (อาสาสมัคร กศน.) 13 นางสาวซาลีฮะ มามะ กรรมการและเลขานุการ (ครู ศรช.) ตำบลจะแนะ

41 ขอ้ มลู นักศึกษาลงทะเบียนหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2563 ระดับ ภาคเรยี นที่ 2/2562 ชาย หญิง รวม ระดบั ประถมศึกษา 23 18 41 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 221 111 334 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 214 136 350 458 265 725 รวม ระดับ ภาคเรยี นที่ 1/2563 ระดับประถมศึกษา ชาย หญิง รวม ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 28 10 38 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 281 50 331 278 80 358 รวม 587 140 727

42 สว่ นท่ี 2 รายงานผลการดำเนนิ งานตามภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง - ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้

43 แบบรายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖3 ๑. ชอ่ื โครงการ สนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาต้ังแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบาย ๑.ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความม่ันคง ๑.๑ พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีตอ่ สถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนําและเผยแพร่ ศาสตร์ พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดาํ รติ า่ ง ๆ ๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและ เคารพ ความหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์ ๑.๓ สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ท้ังยาเสพติด การคา้ มนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพบิ ตั ิจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ ๑.๔ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ในเขต พฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และพน้ื ทช่ี ายแดนอืน่ ๆ ๑.๕ สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้าน กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ และชาวตา่ งชาติทมี่ ีความหลากหลาย ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง ๑. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๑) สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบต้ังแตป่ ฐมวัยจนจบการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โดยดําเนนิ การ ให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการ เรียน การสอนอย่างท่ัวถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใชจ้ า่ ย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรยี นแบบเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรยี นแบบชนั้ เรียน และการจัด การศกึ ษาทางไกล ๓) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมนิ ผล การเรยี น และระบบการให้บริการนักศกึ ษาในรูปแบบอนื่ ๆ

44 ๔) จัดให้มีการประเมนิ เพอ่ื เทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่มี ความโปรง่ ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๕) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพท่ีผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การ ส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตร นารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำ กจิ กรรมการบำเพ็ญประโยชน์อน่ื ๆ นอกหลักสตู ร มาใช้ เพิม่ ช่ัวโมงกิจกรรมให้ผู้เรยี นจบตามหลกั สูตรได้ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี นการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๑.1 ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีสอดคลอ้ ง กบั หลกั สูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชท้ี ี่ ๑.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และ คุณลักษณะท่ดี ี ตามทสี่ ถานศึกษากำหนด ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑.๓ ผเู้ รยี นการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิด อยา่ งมีวิจารณญาณและแลกเปลย่ี นความคิดเห็นรว่ มกับผู้อ่ืน ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๔ ผู้เรยี นการศกึ ษาข้ันพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งา ชน้ิ งานหรือนวตั กรรม ตวั บ่งชี้ที่ ๑.๕ ผเู้ รียนการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดจิ ิทลั ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๖ ผู้เรยี นการศกึ ษาข้นั พื้นฐานมสี ขุ ภาวะทางกายและสนุ ทรียภาพ ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑.๗ ผเู้ รียนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๘ ผู้จบการศึกษาข้นั พ้นื ฐานนำความรู้ ทักษะพื้นฐานทไ่ี ดร้ บั ไปใชห้ รือ ประยกุ ตใ์ ช้ 3. หลักการและเหตผุ ล ด้วยรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๔๙ ไดบ้ ัญญตั ิวา่ บุคคลย่อมมีสทิ ธิ เสมอ กันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้ทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๑๐ วรรค ๑ บัญญัติว่าการจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นข้อกำหนดท่ีเก่ียวกับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน และตามท่ีรัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษาเพ่ือ

45 สร้างโอกาสทางการศึกษาและการกระจายโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความ เสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดแก่ประชากรทุกกลุ่มโดยสนับสนุนการจัดการศึกษาตามวัยและ พัฒนาการอย่างมีคุณภาพและการจัดการศึกษาชุมชนเพื่อใหเ้ กิดสังคมแห่งการเรียนรแู้ ละการศึกษาตลอด ชวี ติ ประกอบกับคำแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรีไดก้ ำหนดเปน็ นโยบายเร่งด่วน ท่ีจะดำเนินการตามเจตนารมณ์โดยลดภาระค่าครองชีพของประชาชน พร้อมท้ังเพ่ิม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชน ในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาทักษะชีวิต โดยใช้คุณธรรมบนพื้นฐานของ กระบวนการเรยี นรูท้ ี่เชือ่ มโยงความรว่ มมอื ของสถาบันครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและสถาบนั ทางศาสนา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอจะแนะ จึงได้จัดทำโครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ทุกระดับชั้นของ กศน.อำเภอจะแนะเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในรูปแบบที่เหมาะสมกับสภาพความความต้องการของ ตนเอง ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนโดยใช้ กศน.ตำบลเป็นแหล่งเรียนรู้ ได้รับ โอกาสทางการศึกษาอยา่ งเต็มประสิทธิภาพมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นท่ีสงู ขน้ึ มีคณุ ธรรม จริยธรรม อันจะ นำไปสู่การอยู่ร่วมกันในชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุข สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมที่อุดมด้วยปัญญา ด้วยการจดั การให้เกดิ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.๑ เพอ่ื สนบั สนุนสือ่ การเรียนรูใ้ หน้ ักศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 4.๒ เพ่อื พฒั นาคุณภาพกิจกรรมผู้เรยี นทภ่ี าครัฐให้การสนบั สนนุ 4.๓ เพอื่ สง่ เสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของชุมชนโดยใช้ กศน.ตำบลเป็นแหลง่ เรยี นรู้ 4.๔ เพอ่ื สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ในรูปแบบที่เหมาะสมกบั สภาพความความต้องการของตนเอง 5. ผลการดำเนนิ งาน 5.๑ เชิงปริมาณ ท่ี ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม/ เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน(คน/แหง่ ) การเบกิ จา่ ยงบประมาณ (บาท) หลักสตู ร (คน/แห่ง) ชาย หญงิ รวม รบั จัดสรร เบิกจา่ ย รอ้ ยละ 1 หนงั สือเรยี น - - - - 327,560.- 327,504.- 99.98 727 2. จัดการเรียนการสอน 278 80 358 879,434.- 849,604.06.- 96.60 185 3. พัฒนาผเู้ รียน 265,980.- 100 - โครงการเสริมสรา้ ง คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 118 67 185 52,048.-

46 ที่ ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม/ เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน(คน/แห่ง) การเบกิ จา่ ยงบประมาณ (บาท) หลกั สตู ร (คน/แห่ง) ชาย หญิง รวม รบั จัดสรร เบกิ จ่าย รอ้ ยละ - โครงการอบรมหลัก 40 25 15 40 7,400.- ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 40 - โครงการอบรมให้ 50 18 22 40 18,600.- ความรเู้ รอ่ื งไวรัสโคโรนา 42 2019 (COVID-19) 26 24 50 23,400.- - โครงการค่ายวิชาการ 120 22 28 50 31,302.- - โครงการอบรมอาสายวุ 140 กาชาด กศน.อำเภอจะ 46 54 100 19,200.- แนะ หลกั สตู ร “พ้นื ฐาน 120 82 58 140 26,805.- ยวุ กาชาด” 44 - โครงการอบรม 41 79 120 20,400.- ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย 20 24 44 66,825.- - โครงการพัฒนาศักยภาพ เพื่อเสรมิ สร้างคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์นักศึกษา การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ภาค เรียนที่ 1/2563 กับวิถี ชวี ิตโควดิ 19 - โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม - โครงการอบรมศึกษาดู งานมหกรรมวชิ าการด้าน การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย ระดับภาคใต้ รวมทงั้ ส้นิ

47 5.๒ เชงิ คณุ ภาพ นักศึกษาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกระดับช้ัน มีทักษะในการเรียนรู้และมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของสังคม มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสูงข้ึนและมีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และ อันจะ นำไปส่กู ารอยรู่ ่วมกันในชุมชน สังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ เกดิ เรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต 6.. ผลลพั ท์ทไ่ี ด้รับ 6.๑ ผเู้ รยี นมีทักษะในการเรยี นรูแ้ ละมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องสงั คม 6.๒ ผ้เู รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นที่สงู ข้ึนและมคี ุณภาพ 6.๓ ผเู้ รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการดำเนนิ ชีวิต 7. ปัญหา/อุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะ ๗.๑ เวลาในการมาร่วมกจิ กรรมโครงการตา่ งๆ พบวา่ นกั ศึกษาจะมาร่วมไมต่ รงต่อเวลา ๗.๒ การแตง่ กาย ในบางคร้ังแตง่ กายไม่เรยี บร้อยมารว่ มกิจกรรม ข้อเสนอแนะ ได้แนะนำใหผ้ ทู้ รี่ ับผดิ ชอบ ชี้แจงเวลาและการแตง่ กายให้พรอ้ มตามท่ีกำหนด 8.แนวทางการดำเนนิ งานตอ่ ไป ดำเนินงานตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษาตง้ั แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนสื่อการเรยี นร้ใู ห้นกั ศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พัฒนาคุณภาพกิจกรรมผเู้ รยี น สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ลอดชีวิตของชุมชนโดยใช้ กศน.ตำบลเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ และสง่ เสรมิ ให้ ผูเ้ รียนได้เรียนรใู้ นรปู แบบที่เหมาะสมกบั สภาพความความตอ้ งการของตนเอง 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ 10. ภาพประกอบท่แี สดงถึงความสำเร็จของโครงการ 10.1 หนังสอื เรยี น 10.2 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

48

49 แบบรายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖3 ๑.ช่อื โครงการ ส่งเสรมิ การรู้หนังสอื 2.ความสอดคลอ้ งกับนโยบาย นโยบายเร่งดว่ นเพื่อร่วมขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ ๓. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและส่งเสรมิ ศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ๓.๑๑ ส่งเสริมการรภู้ าษาไทยให้กบั ประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพนื้ ท่ี สูง ใหส้ ามารถ ฟงั พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพอื่ ประโยชน์ในการใช้ชวี ิต ประจำวันได้ ภารกจิ ต่อเนื่อง ๑. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ๑.๒ การส่งเสรมิ การรูห้ นงั สือ ๑. พัฒนาระบบฐานข้อมลู ผู้ไม่รหู้ นงั สอื ใหม้ ีความครบถว้ นถกู ต้อง ทันสมัย และเปน็ ระบบเดียวกันท้ังส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค ๒. พัฒนาหลักสูตร สือ่ แบบเรยี น เครอ่ื งมือวัดผลและเคร่ืองมอื การดำเนนิ งานการ ส่งเสรมิ การรูห้ นงั สอื ทสี่ อดคล้องกับสภาพ แต่ละกลมุ่ เป้าหมาย ๓. พฒั นาครู กศน. และภาคเี ครอื ข่ายที่ร่วมจดั การศึกษาให้มีความรคู้ วามสามรถ และ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนร้ใู หก้ ับกลุ่มผู้ไมร่ ้หู นังสอื ในพน้ื ที่ ที่มีความต้องการจำเปน็ เป็นพเิ ศษ ๔. ส่งเสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาจัดกิจกรรมสง่ เสริมการรหู้ นงั สอื การคงสภาพการรู้ หนังสอื การพัฒนาทักษะการรหู้ นังสอื ให้กบั ประชาชนเพื่อเป็นเครอื่ งมอื ในการศึกษาเรียนร้อู ย่างต่อเนือ่ ง ตลอดชวี ติ ของประชาชน 3. หลักการและเหตุผล การสง่ เสรมิ การรู้หนังสือซ่ึงมีความสำคญั มากสำหรับประชาชนท่อี าศัยอยู่ในประเทศไทย ท่ีแสดง ให้เห็นว่า อัตราการรู้หนังสือยังเป็นตัวช้ีวัดที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ปัจจุบันประเทศไทยยังมีผู้ไม่รู้ หนังสือกระจายอยู่ทั่วไปในทุกกลุ่มคน ทุกกลุ่มอายุและทุกภูมิภาค ซึ่งถือว่าเป็นภารกิจโดยตรงของ สถานศกึ ษาในสงั กดั ของสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ที่จะต้องมกี าร ดำเนินการจัดให้ผู้ไม่รู้หนังสือได้เรียนรู้จากหลักสูตรและสื่อที่เหมาะสมกับสภาพของกลุ่มเป้าหมายแต่ละ กลุ่ม ทั้งนี้โดยร่วมมือกับสถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.๒๕๕๑ ตลอดจนแผน ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี อีกทั้งจาก รายงานการประเมินคุณภาพภายนอกการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สมศ. มี ข้อเสนอแนะให้สถานศึกษาพัฒนาส่ือการเรียนการสอนท่ีหลากหลายให้เพียงพอ สอดคล้องกับความ

50 ตอ้ งการของผู้เรียน/ผู้รบั บริการ ดังนน้ั เพือ่ ให้การส่งเสริมการร้หู นังสือสามารถดำเนินการไดอ้ ย่างถูกต้องที่ เหมาะสมกับสภาพของกลุ่มเปา้ หมาย จากท่ีกล่าวมาแล้วจะเห็นวา่ ประชาชนในพ้นื ที่อำเภอแวง้ ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม และพูดภาษามลายูถ่ินเป็นภาษาไทยในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ในครอบครัว ชุมชนและสังคม ประกอบกับบุคคลเหล่านี้ ได้รับการศึกษาน้อยและยังไม่พ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ หรือมกั จะมกี ารศกึ ษาในระดับภาคบงั คับแต่การใช้ภาษาไทยไมค่ ลอ่ ง หรอื ไม่ใชเ้ ลย ทำให้ผูท้ ่ีอยตู่ ามชมุ ชน ชนบทเป็นผ้ไู ม่รหู้ นังสอื หรอื ลืมหนังสอื ไทย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอำเภอจะแนะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของกลุ่มบุคคล เหล่าน้จี ึงไดจ้ ัดทำโครงการการศึกษาเพือ่ สง่ เสรมิ การร้หู นังสอื เพื่อให้ประชาชนผู้ไม่รู้หนงั สือสามารถ อ่าน ออก เขียนได้ และส่ือสารภาษาไทยได้ในชีวิตประจำวนั และได้เรยี นรู้จากประสบการณ์จริง มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมท่ีอุดมปัญญาด้วยการ จดั การให้เกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตอยา่ งมีคณุ ภาพและท่วั ถงึ ในการดำรงเอกลักษณ์ภาษาไทยต่อไป 4.วัตถุประสงค์ 4.๑ เพ่ือให้ประชาชนผู้ไมร่ ู้หนงั สือสามารถ อา่ นออก เขยี นได้ และส่ือสารภาษาไทยได้ใน ชวี ิตประจำวัน 4.๒ เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรู้ในรปู แบบท่เี หมาะสมกับสภาพความความตอ้ งการของตนเอง 4.๓ เพ่อื เป็นพืน้ ฐานในการศึกษาและเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. ผลการดำเนินงาน 5.๑ เชิงปริมาณ ที่ ช่ือโครงการ/กิจกรรม/ เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน(คน/แหง่ ) การเบกิ จา่ ยงบประมาณ (บาท) หลักสตู ร (คน/แหง่ ) ชาย หญงิ รวม รบั จัดสรร เบกิ จ่าย ร้อยละ 1. โครงการส่งเสริมการรู้ 206 86 120 206 113,300.- 113,300.- 100 หนังสือ 5.๒ เชงิ คณุ ภาพ ประชาชนผูไ้ มร่ หู้ นังสือ ผู้ท่ลี มื หนงั สอื ไทย สามารถพูด อ่าน ฟัง และเขยี นภาษาไทย ได้ มใี จรักการอา่ นและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารประจำวนั ไดอ้ ย่างเขา้ ใจ สรา้ งสังคมท่ีอุดมด้วยปัญญา ดว้ ยการจดั การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต 6. ผลลพั ท์ท่ีได้รับ 6.1 กลุ่มเปา้ หมายได้รับความรู้ ความเข้าใจในภาษาไทยสามารถอา่ นออกเขียนได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook