Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือบัญชาการเหตุการณ์_สำหรับผู้ว่าราชการจังหวัด_กรณีอุกทภัยpdf

คู่มือบัญชาการเหตุการณ์_สำหรับผู้ว่าราชการจังหวัด_กรณีอุกทภัยpdf

Published by e20dku, 2022-08-19 04:28:28

Description: คู่มือบัญชาการเหตุการณ์_สำหรับผู้ว่าราชการจังหวัด_กรณีอุกทภัยpdf

Keywords: Disaster management

Search

Read the Text Version

ระยะท่ี 1 กอ่ นเกดิ ภยั ขน้ั ตอนการบญั ชาการเ ระยะท่ี 2 เมอ่ื เ การประเมนิ ความเสยี่ ง การแจง้ เตอื นภยั รวบรวมและประเมนิ ระดบั วเิ คราะหส์ ถานการณ์ รวบรวมและตดิ ตาม สาธารณภัย สาธารณภัย สาธารณ วเิ คราะหผ์ ลกระทบเชงิ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใ พน้ื ท่ี วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ จดั ลาดบั ความสาคญั พนื้ ท่ี สถานการณใ์ นพน้ื ที่ จดั การตามระดบั สาธ เสยี่ ง และจดั ทาแผนที่ การแจง้ เตอื น ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับผลกระทบ สาธารณภัย สาธารณภัย ระดบั 1 ระดบั 2 1.กรณีไมร่ นุ แรง 2.กรณีมแี นวโนม้ สง่ แจง้ ขา่ วสารเพอ่ื เฝ้ า ผลกระทบรนุ แรง สง่ั การอาเภอ/ทอ้ งถน่ิ จัดตงั้ ศนู ยบ์ ัญช ระวงั และตดิ ตาม ปฏบิ ตั ติ ามแผน เหตกุ ารณจ์ ังหว เขา้ ระงับเหตุ เตรยี มความพรอ้ ม ประกาศแจง้ เตอื นภัย ประเมนิ และวเิ คราะห์ ประชมุ ศนู ยบ์ ญั เฝ้ าระวงั และตดิ ตาม และแจง้ เตอื นประชาชน สถานการณส์ าธารณภัย เหตกุ ารณจ์ งั หว สถานการณ์ แจง้ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในพน้ื ท่ี มอบหมายภารก จัดตงั้ ศนู ยบ์ ญั ชาการ ประกาศเขตพน้ื ทป่ี ระสบ แจง้ ประชาชน เหตกุ ารณจ์ งั หวดั สาธารณภัย ประกาศเขตพนื้ ใหท้ ราบ เพอ่ื เตรยี ม สาธารณภยั ความพรอ้ มตนเอง ประกาศเขตการใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื ผปู ้ ระสบภัย ประกาศเขตกา จดั เตรยี มความพรอ้ ม พบิ ตั กิ รณีฉุกเฉนิ ชว่ ยเหลอื ผปู ้ ระ ทรพั ยากร พบิ ัตกิ รณฉี ุกเฉ 3.กรณีมแี นวโนม้ ชดั เจน กากบั ดแู ล/ประเมนิ ควบคมุ สง่ั การ สง่ ผลกระทบรนุ แรง การปฏบิ ัตใิ นการแกไ้ ข บญั ชาการในกา 4.แจง้ เตอื นแตไ่ มเ่ กดิ ปัญหาสาธารณภัย เหตุ (การอพยพ สถานการณ์ ในพน้ื ท่ี ศนู ยพ์ ักพงิ ชวั่ ค ประกาศแจง้ เตอื นภยั อาสาสมคั ร อป และแจง้ เตอื นประชาชน การใชท้ รพั ยาก แจง้ หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ทาประกาศยกเลกิ สถานการณ์ เครอ่ื งจักรกล/ การชว่ ยเหลอื บ จัดตงั้ ศนู ยบ์ ัญชาการ แจง้ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทกุ ข/์ ประชาสมั ขอ้ มลู ขา่ วสาร/ เหตกุ ารณจ์ ังหวดั กรณีมกี ารอพยพประชาชน บรจิ าค/การตา่ ง ทาคาสงั่ มอบหมายหนว่ ยงาน ใหด้ าเนนิ การสง่ กลับ ประสานการชว่ ย ทเี่ กยี่ วขอ้ งดาเนนิ การ จากหน่วยงาน/ งบประมาณ) สง่ั การพนื้ ทใ่ี หจ้ ดั ตัง้ จดุ อพยพ ตดิ ตามการปฏบิ ทออกี่ กาคหานสดง่ั เพอ่ื เตรยี มการอพยพ พจิ ารณาจัดตงั้ ศ ตามมาตรา 28 บญั ชาการเหตกุ ณ พนื้ ทเี่ กดิ เหต (1, 2, 3, 4) รายงานผลการดาเนนิ การของจงั หวดั ให ้ กอปภ.ก. และ มท. ทราบ

เหตกุ ารณ์ (กรณีอทุ กภยั ) ระยะท่ี 3 เมอ่ื ภยั ยตุ ิ เกดิ ภยั บสาธารณภยั ประสานหนว่ ยงาน กรณีขยายระยะเวลาการใหค้ วาม ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ณภัย สาธารณภยั ใหญ่ รา้ ยแรงอยา่ งยง่ิ ประเภทภยั /ระยะเวลาเกดิ ภัย/พน้ื ท่ี เกดิ ภยั /ประเภทความเสยี หาย/ ธารณภยั ระยะเวลาการใหค้ วามชว่ ยเหลอื สารวจความเสยี หาย สาธารณภัย และสญู เสยี เพอ่ื การฟื้ นฟเู บอื้ งตน้ ระดบั 3 - 4 ชาการ จดั ตงั้ ทมี ประเมนิ การเยยี วยาและสญู เสยี ระดับจังหวดั วดั สงั่ การใหส้ ว่ นอานวยการ สารวจ/จดั เก็บ/วเิ คราะห์ ความเสยี หายและสญู เสยี ของศนู ยบ์ ัญชาการ จัดลาดับความสาคัญในการชว่ ยเหลอื ฟ้ื นฟู ญชาการณ์ เหตกุ ารณ์จงั หวดั รวบรวม วดั ขอ้ มลู สถานการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ประกาศปิ ดสถานการณ์ กจิ รายงานกองอานวยการ เมอื่ ภยั ยตุ ิ นทปี่ ระสบ ป้ องกนั และบรรเทา สาธารณภัยกลาง จดั ประชมุ และเรง่ รดั การจา่ ยเงนิ เยยี วยา ารใหค้ วาม เพอื่ พจิ ารณายกระดบั และการเบกิ จา่ ย ะสบภยั สาธารณภยั ฉนิ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู ้ ระสบภัยพบิ ัติ ร และ ใหศ้ นู ยบ์ ญั ชาการ ระดบั อาเภอ/จังหวดั (ตรวจสอบ/พจิ ารณา/รายงาน ปภ.) ารเผชญิ เหตกุ ารณ์จังหวดั พ/จัดตงั้ เป็ นหน่วยปฏบิ ตั ิ การจดั ทาแผนระยะยาว คราว/ ขนึ้ ตรงการบังคับบญั ชา ปพร./ และสง่ั การ เมอ่ื สถานการณใ์ กลจ้ ะเขา้ สภู่ าวะปกติ หรอื สถานการณ์ยตุ ใิ หด้ าเนนิ การ กร จากกองบัญชาการป้ องกัน ดา้ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ฟ้ื นฟเู ยยี วยา และบรรเทาสาธารณภัย บรรเทา แหง่ ชาติ สรปุ บทเรยี น จดั ทาแผนเพอื่ บรู ณะซ่อมสรา้ ง มพนั ธ์ จากสถานการณ์ และฟื้ นใหค้ นื สสู่ ภาพทด่ี กี ว่าเดมิ /การรบั แปรสภาพศนู ยบ์ ญั ชาการ งประเทศ/ เหตกุ ารณ์จงั หวดั ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ จดั ทาแผนและกรอบการฟื้ นฟู ระยะสนั้ ยเหลอื เป็ นศนู ยบ์ ัญชาการ จงั หวดั (รวบรวมขอ้ มลู / ระยะกลาง และระยะยาว / เหตกุ ารณ์สว่ นหนา้ จังหวดั ประชมุ /สรปุ บทเรยี น) กองอานวยการป้ องกนั และบรรเทา ตดิ ตามการปฏบิ ตั /ิ สาธารณภัยจังหวดั (แผนงาน/ บตั /ิ พจิ ารณาจดั ตงั้ ศนู ย์ จดั ลาดับความสาคัญ/แผนการฟื้ นฟ)ู ศนู ย์ บัญชาการเหตกุ ารณ์ การณ์ ณ พน้ื ทเี่ กดิ เหตุ (ICP) ตุ (ICP)

ระยะที่ 1 ก่อนเกดิ ภัย 1. การประเมนิ ความเส่ยี งอทุ กภัย (p.1) 1.1 วิเคราะหส์ ถานการณ์ (p.1) 1.2 วิเคราะห์ผลกระทบเชงิ พ้ืนที่ (p.1) 1.3 ระบพุ ้นื ทีเ่ ส่ยี ง/จัดทำแผนที่ที่คาดว่าได้รับผลกระทบ (p.2) 2. การแจง้ เตอื นภยั (p.2) 2.1 รวบรวมและติดตามขอ้ มูลขา่ วสาร (p.2) สถานการณ์ 2.2 วิเคราะห์และประเมนิ สถานการณ์ในพ้นื ท่ี (p.3) 2.3 การแจ้งเตอื น (p.3) 2.3.1 กรณสี ถานการณ์ 2.3.2 กรณสี ถานการณ์ 2.3.3 กรณีสถานการณ์ ไม่รนุ แรงหรอื มแี นวโนม้ มีแนวโนม้ สง่ ผลกระทบ มีแนวโน้มชดั เจนคาดหมาย ทจี่ ะส่งผลกระทบเพยี ง รุนแรง (p.5) ว่าจะส่งผลกระทบรนุ แรง เล็กนอ้ ย (p.3) ตอ่ การดำรงชีวติ ของประชาชน จำเป็นตอ้ งทำการอพยพ (p.6) 2.4 กรณแี จง้ เตือนแล้ว แตไ่ ม่เกิดสถานการณ์ (p.9) 2.4.1 ทำประกาศยกเลิกสถานการณ์ (p.9) 2.4.2 แจ้งหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องทราบ (p.9) 2.4.3 กรณีมีการอพยพประชาชน ใหด้ ำเนินการส่งกลบั (p.9) 2.4.4 รายงานผลการดำเนินการ ให้ ปภ.ทราบ (p.10) ( ลำดับทีต่ ้องดำเนินการ ลำดบั ท่ีเลอื กดำเนนิ การ p. : หมายเลขหน้า

ระยะท่ี 2 เมอ่ื เกิดภยั 1. รวบรวม ประเมินสถานการณ์ทเ่ี กิดข้ึนว่าเปน็ สาธารณภยั ระดับใด (p.11) 2. การจดั การตามระดบั สาธารณภัย (p.11) 2.1 การจัดการสาธารณภยั ระดับ 1 (p.11) 2.1.1 สงั่ การอำเภอ/ท้องถิ่นปฏิบตั ติ ามแผนเข้าระงับเหตกุ ารปฏบิ ัติของอำเภอ/องค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ ในการระงับเหตุให้สอดคล้องตามแผนเผชิญเหตขุ องจงั หวดั (p.12) 2.1.2 รับรายงานการปฏิบตั ิจากพนื้ ท่ี (มีข้อบง่ ชที้ ี่จะยกระดบั เป็นภยั ระดับ 2) (p.13) 2.1.3 ออกประกาศเขตพน้ื ทป่ี ระสบสาธารณภัย (p.16) 2.1.4 ออกประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลอื ฯ (p.18) 2.1.5 กำกับดแู ล และ ติดตามการปฏบิ ัติ (p.19) 2.2 การจัดการสาธารณภยั ระดบั 2 (p.20) 2.2.1 จัดต้ัง ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จงั หวัด หากยงั ไม่ไดจ้ ดั ตั้ง (p.20) 2.2.2 เรียกประชุมศูนยบ์ ัญชาการณเ์ หตกุ ารณ์จังหวดั มอบหมายภารกิจ (p.20) 2.2.3 ออกประกาศเขตพ้ืนทปี่ ระสบสาธารณภัย (กอปภ.ก.) (p.20) 2.2.4 ออกประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือฯ (p.22) 2.2.5 การควบคมุ ส่ังการ และบัญชาการในการเผชญิ เหตุ (p.23) 1) ภารกจิ ด้านการ 2) ภารกจิ ดา้ นการ 3) ภารกิจด้านการใช้ 4) ภารกจิ ด้านการ อพยพ และจดั ตั้ง สัง่ ใชอ้ าสาสมคั ร ทรัพยากร/เคร่ืองจักรกล ชว่ ยเหลือและ ศนู ย์พักพงิ (p.23) (p.24) สาธารณภัย (p.25) บรรเทาทกุ ข์ (p.25) 5) ภารกจิ ดา้ นการส่อื สาร 6) ภารกิจดา้ นรับ 7) ภารกิจดา้ นการ 8) ภารกจิ ดา้ นประสาน และประชาสมั พนั ธข์ อ้ มูล บรจิ าค (p.30) ตา่ งประเทศ (p.30) การให้ความช่วยเหลอื ขา่ วสาร (p.26) จากหน่วยตา่ งๆ (p.30) 9) แหลง่ งบประมาณ 10) ตดิ ตามการปฏบิ ตั ิ ปรบั แผน 11) จดั ตง้ั ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ ณ การใหค้ วามช่วยเหลอื รายงานผลจนกวา่ สถานการณ์ พ้นื ที่เกดิ เหตุ (ICP) (ถ้ามี) (p.34) (p.32) จะคลีค่ ลาย (p.33) 2.3 การจดั การสาธารณภยั ระดับ 3 (p.35) 2.3.1 การรายงาน กอปภ.ก. เพ่อื พิจารณายกระดบั สาธารณภัย (p.35) 2.3.2 เมือ่ มปี ระกาศยกระดับเปน็ ภัยระดับ 3 (p.35) 2.3.3 กรณีมีการจัดต้งั บกปภ.ช. สว่ นหนา้ (p.36) 3 ลำดับทต่ี ้องดำเนินการ ลำดบั ท่เี ลือกดำเนนิ การ p. : หมายเลขหน้า

ระยะท่ี 3 เมื่อภยั ยุติ 1. ประสานหน่วยงานต่าง ๆ ให้ความช่วยเหลือ (p.37) 1.1 มูลนิธิราชประชา 1.2 กระทรวงแรงงาน 1.3 กระทรวงการคลงั 1.4 สำนักนายกรฐั มนตรี นุเคราะห์ในพระบรม สำนกั งานประกันสังคม (p.38) (p.38) ราชูปถมั ภ์ (p.37) (p.37) 1.7 กระทรวงการพัฒนา 1.8 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น/ 1.5 กระทรวงยุติธรรม 1.6 กระทรวงการ สังคมและความม่นั คง องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นในพ้ืนท่ี (กรมคุม้ ครองสทิ ธิและ ทอ่ งเทยี่ วและกฬี า ของมนษุ ย์ (p.39) ประสบสาธารณภยั (p.40) เสรีภาพ) (p.39) (p.39) 1.9 จงั หวัด (p.40) 2. ออกประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือฯ (กรณที ่ียังไมไ่ ดป้ ระกาศ) และ การขยายระยะเวลา การใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (หลงั เกิดภยั ) (p.41) 3. สำรวจความเสียหายและสญู เสียเพือ่ การฟนื้ ฟูเบอื้ งต้น (p.43) 4. เม่ือสาธารณภยั ยตุ ใิ ห้ทำการประกาศปดิ สถานการณ์ (p.44) 5. เร่งรัดอำเภอและหน่วยงานประชุม ก.ช.ภ.อ และรายงาน ก.ช.ภ.จ. (p.44) 6. จดั ประชุม ก.ช.ภ.จ. และรายงาน ปภ. (p.45) 7. เร่งรัดการจ่ายเงินเยยี วยาและการเบกิ จา่ ย (p.46) การจดั ทำแผนระยะยาว 1. สรุปบทเรยี นจากสถานการณ์ 2. จดั ทำแผนเพอื่ บูรณะซ่อมสรา้ งและฟนื้ ให้คืนสสู่ ภาพทดี่ กี วา่ เดิม Z (p.49) Z (p.47) ลำดบั ทตี่ อ้ งดำเนินการ ลำดับที่เลือกดำเนินการ p. : หมายเลขหน้า

ระยะท่ี 1 กอ่ นเกิดภัย การปฏบิ ัติ คำอธบิ าย แหลง่ อ้างอิง หน่วยรบั ผิดชอบ เมือ่ จังหวัดได้รับการแจง้ เตือนจากหนว่ ยงานส่วนกลาง หรือได้มีการประเมนิ สถานการณ์ วธิ ีดำเนินการในพืน้ ท่ี และคาดวา่ จะเกิดสาธารณภยั 1. การประเมินความเส่ยี งอุทกภัย 1.1 การวิเคราะห์ • สอบถามขอ้ มูลคาดการณ์ในพ้ืนทกี่ ับสถานี - อตุ ุนยิ มวทิ ยาจังหวัด สถานการณ์ อตุ นุ ยิ มวิทยาจงั หวัดและ สำนักงานปอ้ งกัน - โครงการชลประทาน และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัด หรืออำเภอ จงั หวดั ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ผลกระทบในภาพรวม - องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ • ส่ังการให้ สำนกั งานป้องกันและบรรเทา - สำนักงานทรัพยากร สาธารณภยั จงั หวดั ประเมนิ สถานการณ์ ธรรมชาติและ โดยประชุมคณะทำงานตดิ ตามสถานการณ์ ส่ิงแวดล้อมจงั หวดั ร่วมกบั หนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ในประเด็นดงั นี้ - สำนกั งานป้องกัน - ปริมาณน้ำฝนคาดการณ์ และบรรเทาสาธารณภยั - ปริมาณน้ำฝนสะสมในพน้ื ที่ จังหวดั - ปรมิ าณน้ำท่าในแมน่ ำ้ ในพื้นทจี่ ังหวดั /แผนผงั - การไฟฟ้าฝา่ ยผลิต ลุ่มน้ำ แหง่ ประเทศไทย - ปรมิ าณน้ำในเขื่อน/อ่างเก็บนำ้ ขนาดใหญ่ - กรมชลประทาน และขนาดกลาง - คณะทำงานตดิ ตาม - ปริมาณน้ำในอา่ งเกบ็ น้ำขนาดเล็ก สถานการณข์ องจงั หวดั - ข้อมลู พื้นที่เส่ียงอุทกภยั /ดินถลม่ - ตดิ ตามข้อมูลสถานการณ์ในจงั หวัดที่มพี ้ืนท่ี ติดต่อกนั 1.2 วิเคราะห์ • ลกั ษณะทางกายภาพของพื้นท่ี - ทรพั ยากรธรรมชาติ ผลกระทบเชิงพืน้ ท่ี และส่ิงแวดล้อมจังหวดั • การใช้ประโยชน์ท่ีดนิ เชน่ พื้นทชี่ มุ ชน พน้ื ท่ี - ทีด่ ินจังหวัด การเกษตร - อตุ สาหกรรมจังหวดั - ปศสุ ตั วจ์ ังหวดั • โครงสร้างพื้นฐาน - เกษตรจงั หวัด • สถานทสี่ ำคัญ เชน่ สถานพยาบาล - ประมงจงั หวัด สถานศึกษา โบราณสถาน - พาณิชย์จังหวดั - สำนกั งานการปฏริ ปู ท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม จังหวดั - โยธาธิการจังหวัด

คมู ือบญั ชาการเหตุการณ์ สําหรบั ผูวา ราชการจังหวัด กรณีอุทกภยั หน้าที่ 2 การปฏิบัติ คำอธบิ าย แหล่งอ้างองิ หนว่ ยรับผิดชอบ - แขวงทางหลวง 1.3 จัดลำดบั นำแผนท่ีเสยี่ งอุทกภยั ของจงั หวัด มาจัดลำดับ - แขวงทางหลวงชนบท - องคก์ ารบริหาร ความสำคญั ของพน้ื ท่ี ความสำคัญ โดยใชข้ ้อมูลจากการประชมุ ส่วนจังหวัด - การไฟฟ้าฝ่ายผลิต เส่ียง/จัดทำแผนที่ ตามข้อ 1.2 มาประกอบการจัดลำดบั แหง่ ประเทศไทย (ในพนื้ ท่ที ี่มีเขื่อน) ทค่ี าดวา่ ไดร้ ับ - สำนกั งานวฒั นธรรม จังหวดั ผลกระทบ - สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั 2. การแจ้งเตอื นภัย ดงั น้ี คณะทำงานติดตาม สถานการณ์ของจังหวดั 2.1 รวบรวมและ • คณะทำงานติดตามสถานการณ์ของจงั หวดั - อุตุนยิ มวิทยาจังหวัด ติดตามข้อมูลข่าวสาร ทำการวเิ คราะห์ - ชลประทานจังหวัด - องค์กรปกครอง (แหลง่ ขอ้ มูล) และประเมนิ สถานการณ์ และจำทำข้อมูลเสนอ สว่ นท้องถิน่ - สำนกั งานทรัพยากร ต่อผูว้ า่ ราชการจังหวดั เพื่อประกอบการตัดสนิ ใจ ธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอ้ มจงั หวัด ส่ังการ - สำนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั • ให้สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั - การไฟฟา้ ฝ่ายผลิต จงั หวดั ในฐานะเลขานุการกองอำนวยการ แห่งประเทศไทย ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั - กรมชลประทาน (กอปภ.จ.) รายงานข้อมลู ที่ได้จากคณะทำงาน ตดิ ตามสถานการณต์ ่อผ้วู ่าราชการจังหวัด กลับหนา้ แรก

คูมอื บญั ชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผวู า ราชการจงั หวัด กรณอี ุทกภัย หน้าที่ 3 การปฏบิ ตั ิ คำอธบิ าย แหลง่ อ้างองิ หน่วยรบั ผดิ ชอบ 2.2 วเิ คราะห์และ - อุตนุ ยิ มวิทยาจังหวัด ประเมนิ สถานการณ์ • ให้คณะทำงานติดตามสถานการณ์ระบุพน้ื ที่ แผนการปอ้ งกนั - ชลประทานจังหวัด ในพ้ืนที่ (Trigger ทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบ โดยแยกระดบั ความรุนแรง และบรรเทา - องค์กรปกครอง Point) สงู ปานกลาง หรือต่ำ และลำดับก่อน-หลังของ สาธารณภยั สว่ นทอ้ งถิ่น พ้นื ทีท่ ี่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ แหง่ ชาติ - สำนักงานทรัพยากร 2.3 การแจ้งเตอื น แผนการป้องกนั ธรรมชาติและ 2.3.1 กรณี • ส่ังการนายอำเภอในพน้ื ที่เตรียมความพร้อม และบรรเทา ส่งิ แวดล้อมจังหวัด สถานการณ์ไมร่ ุนแรง รับสถานการณ์ สาธารณภัยจงั หวดั - สำนกั งานปอ้ งกนั หรอื มีแนวโนม้ ระดบั และบรรเทาสาธารณภยั ท่ีจะส่งผลกระทบ • ให้สำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ของสถานการณ์ จังหวัด เพยี งเลก็ นอ้ ย จังหวัดทำหนังสอื แจ้ง (ต.1) ถึงนายอำเภอ สาธารณภยั - การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ ในการเตรยี มความพร้อมทรพั ยากร บคุ ลากร ระดับสเี ขยี ว แหง่ ประเทศไทย แผนอพยพ จุดปลอดภัย เพ่อื รองรบั สถานการณ์ หมายถึง - กรมชลประทาน ที่อาจจะเกดิ ขน้ึ และรายงานสถานะความพร้อม สถานการณ์ - สำนกั งานปอ้ งกัน ใหท้ ราบโดยเรว็ (ผ่านชอ่ งทางต่างๆ) อยใู่ นภาวะปกติ และบรรเทา ให้ตดิ ตามข้อมูล สาธารณภัยจงั หวัด (1) แจง้ ข่าวสาร เพ่ือการเฝ้าระวังและติดตาม ข่าวสารเป็นประจำ - อำเภอ สถานการณ์ โดย กอปภ.จ. - องคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถิน่ • ผู้วา่ ราชการจงั หวดั สั่งการให้ สำนกั งาน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ทำหนังสือ (ตภ.) ในนามของ กอปภ.จ. เพ่อื ลงนามแจ้งหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้ • ติดตามข้อมลู ข่าวสารอยา่ งต่อเนอื่ ง กรณี สถานการณ์อยู่ในภาวะปกติ (สีเขียว) • ติดตามข้อมลู ข่าวสารอย่างใกล้ชดิ ทุกๆ 24 ช่วั โมง หากมสี ถานการณ์ในพื้นท่ี ให้ผอู้ ำนวยการ อำเภอรายงานทันที (สีนำ้ เงิน) • แจง้ ไปยงั ทุกหน่วยทีเ่ ก่ยี วข้อง (อาทิ ชลประทานจังหวดั /อบจ./เจา้ ท่าภูมิภาค/ อุตุนยิ มวิทยา/ทางหลวง/ทางหลวงชนบท จงั หวดั / เกษตร/ประมง/ปศุสตั ว์จงั หวดั /กฟผ./ กฟภ./กปภ. ในพ้ืนท/่ี หนว่ ยทหาร/ตำรวจ/ กอ.รมน./นายอำเภอ) กลับหน้าแรก

คูมอื บัญชาการเหตุการณ สาํ หรบั ผวู า ราชการจังหวดั กรณอี ทุ กภยั หน้าที่ 4 การปฏิบตั ิ คำอธิบาย แหลง่ อา้ งองิ หนว่ ยรับผดิ ชอบ • แจ้งเทศบาล/อบต.และเขา้ ปฏบิ ัตงิ านตามแผน ระดับสนี ้ำเงิน ฯ หากมีสถานการณ์ หมายถึง สถานการณ์ อยู่ในภาวะเฝ้าระวัง ให้ตดิ ตามข้อมูล ขา่ วสาร อย่างใกลช้ ดิ ทกุ ๆ 24 ชวั่ โมง (2) แจ้งหน่วยงานปฏิบัตแิ ละหนว่ ยงาน สำนกั งานปอ้ งกัน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทราบ เพื่อเตรยี มความพรอ้ ม และบรรเทาสาธารณภยั เฝา้ ระวังและตดิ ตามสถานการณ์ จังหวดั ส่ังการให้สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จงั หวดั ประสานแจง้ ในนามของ กอปภ.จ. - ประชาสัมพันธจ์ ังหวดั แจง้ หน่วยงานตา่ งๆ ใหต้ ิดตามขอ้ มลู ขา่ วสาร - สำนกั งานปอ้ งกนั และ อย่างต่อเนือ่ ง และตรวจความพร้อมของสรรพ บรรเทาสาธารณภยั กำลังที่มีอยู่ให้พร้อมปฏิบัติงานไดท้ นั ที จงั หวัด หากมีการเรยี กใช้ - อำเภอ (3) แจง้ ประชาชนให้ทราบ เพอื่ เตรียม - องค์กรปกครอง ความพร้อมตนเอง สว่ นทอ้ งถนิ่ • สงั่ การใหป้ ระชาสมั พนั ธ์จังหวัด สอ่ื สาร แจง้ ขา่ วสารใหป้ ระชาชนทราบ ผ่านทกุ ช่องทาง อาทิ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ประจำจงั หวัด อุปกรณ์แจ้งเตือนภัยประจำ ท้องถิน่ อปุ กรณก์ ารแจ้งเตือนภัยของ ปภ. และหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง รวมทงั้ ผ่านชอ่ งทาง Social media ตา่ งๆ เช่น Facebook Line twitter เป็นต้น • ผู้ว่าราชการจังหวัดสงั่ การให้สำนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ประสานแจ้ง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กดสญั ญาณแจง้ เตือนภัยในพื้นที่ กลับหนา้ แรก

คูมือบญั ชาการเหตุการณ สําหรบั ผูว าราชการจงั หวดั กรณีอุทกภยั หนา้ ที่ 5 การปฏบิ ัติ คำอธบิ าย แหล่งอา้ งอิง หน่วยรับผดิ ชอบ (4) รายงานผลการดำเนินการของจังหวดั สำนกั งานป้องกนั และ ให้ กอปภ.ก. และ มท. ทราบ บรรเทาสาธารณภยั ผวู้ ่าราชการจงั หวัด ลงนามในหนงั สือ (ต.3) จังหวัด รายงานผลการดำเนนิ การของจังหวดั ให้ มท. ทราบผา่ น กอปภ.ก. 2.3.2 กรณี (1) ประกาศแจ้งเตอื นภยั แผน ปภ.ช. สำนักงานปอ้ งกันและ สถานการณม์ แี นวโน้ม • ผวู้ ่าราชการจังหวัดในฐานะผู้อำนวยการ แผน ปภ.จ. บรรเทาสาธารณภัย ส่งผลกระทบรนุ แรง จังหวดั สงั่ การใหศ้ ูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวดั ระดับของการแจ้ง จังหวดั เตือนภยั จดั ทำหนังสือ(ต.4) เสนอเพ่ือแจ้งหน่วยงาน ระดับสเี หลอื ง ที่เกย่ี วข้อง ตามโครงสร้างศูนย์บัญชาการ หมายถึง เหตกุ ารณจ์ ังหวดั ให้เตรยี มความพร้อม สถานการณ์ รับสถานการณ์ ตามแผนเผชิญเหตุ แผนอพยพ อยใู่ นภาวะเสยี่ ง และเตรียมทรัพยากร เครื่องมือเคร่ืองจักรกล อันตราย มีแนวโนม้ ของจังหวดั ระบบสื่อสารใหพ้ รอ้ มใช้งาน เปน็ ตน้ ที่สถานการณ์ • ให้สำนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จะรุนแรงมากขึ้น จงั หวดั ทำประกาศแจ้งเตือนภยั (ต.5) ใหเ้ ตรยี ม เพอ่ื ส่ือสารใหส้ าธารณชนทราบและให้ปฏบิ ตั ิ ความพร้อมรับ ตามคำแนะนำของ ศูนยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์ สถานการณ์ จงั หวัด และปฏบิ ัติ ตามคำแนะนำ (2) แจ้งหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง แผน ปภ.จ. สำนกั งานปอ้ งกันและ ให้สำนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย บรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด ทำหนังสือแจง้ หน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง จงั หวัด (ต.6) พร้อมแนบประกาศแจง้ เตือนภัย ของ กอปภ.ก. ให้หนว่ ยงานในโครงสรา้ ง ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จงั หวดั เข้าเผชิญเหตุ ตามอำนาจหนา้ ท่ี (3) จดั ตัง้ ศูนย์บัญชาการเหตกุ ารณ์จังหวัด (ศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณจ์ ังหวดั ) สั่งการให้สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั เสนอการจดั ตง้ั ศูนยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณ์ จงั หวดั โดยให้กำหนดโครงสร้าง ภารกิจ และ กลบั หน้าแรก

คูมือบัญชาการเหตุการณ สําหรบั ผูว า ราชการจงั หวดั กรณีอทุ กภัย หน้าที่ 6 การปฏิบตั ิ คำอธบิ าย แหลง่ อ้างอิง หน่วยรบั ผดิ ชอบ หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง โดยกำหนดโครงสรา้ งหลัก 2.3.3 กรณี ใหเ้ ป็นไปตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แผน ปภ.จ. หน่วยทรพั ยากร สถานการณ์มีแนวโน้ม จงั หวดั (ท้งั น้ี ผู้อำนวยการจงั หวัด อาจเพ่ิมเติม (สำนักงานป้องกันและ ชัดเจนคาดหมายว่า โครงสรา้ งการปฏิบตั งิ านของศูนยบ์ ัญชาการ บรรเทาสาธารณภัย จะส่งผลกระทบ เหตุการณจ์ งั หวัด ใหส้ อดคล้องเหมาะสม จังหวดั รวบรวมข้อมลู รุนแรงต่อการ ตามสถานการณ)์ จากหนว่ ยต่างๆ) ดำรงชวี ติ (4) จัดเตรียมความพร้อมทรัพยากร ของประชาชน ผู้ว่าราชการจังหวดั สั่งใหห้ น่วยทรพั ยากร - แผน ปภ.ช. - สำนักงานป้องกันและ จำเปน็ ต้องทำการ ประเมินความต้องการในการสง่ั ใชท้ รพั ยากร อพยพ ไดแ้ ก่ เครือ่ งมอื เครอื่ งจักร วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการ - แผน ปภ.จ. บรรเทาสาธารณภัย กู้ภยั รวมทง้ั กำลงั พลเจ้าหนา้ ท่ี ในเบ้อื งต้น ระดับของการแจง้ จงั หวัด • ตรวจสอบความพร้อม จัดเตรียมทรัพยากร ใหส้ ามารถสง่ั การเพ่ือสนบั สนนุ พ้ืนที่ท่ีคาดว่า เตอื นภัย - ประชาสมั พันธจ์ งั หวัด จะเกดิ สถานการณ์ภัยได้ทนั ที (5) รายงานผลการดำเนนิ การของจังหวดั ระดับสสี ้ม หมายถึง ให้ กอปภ.ก. และ มท. ทราบ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ลงนามในหนังสือ (ต.3) สถานการณ์ รายงานผลการดำเนนิ การของจงั หวดั ให้ มท. ทราบผ่าน กอปภ.ก. อยู่ในภาวะเสย่ี ง (1) ดำเนนิ การตามข้อ 2.3.2 (1) – (3) ผู้วา่ ราชการจงั หวัด สั่งการให้ศูนย์บัญชาการ อนั ตรายสงู เหตกุ ารณจ์ งั หวดั โดย สำนักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ทำหนังสอื เจา้ หน้าทกี่ ำลงั (ต.6) ใหล้ งนามในฐานะผอู้ ำนวยการจังหวดั แจง้ หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง ดงั นี้ ควบคุมสถานการณ์ • แจ้งอำเภอ/เทศบาล/อบต. ท่ีคาดว่าจะเกดิ ให้อพยพ สถานการณ์ ประกาศ (ต.5) แจ้งให้อพยพ ประชาชนไปยังพ้ืนที่ปลอดภัยตามแผนป้องกัน ไปยังสถานท่ี และบรรเทาสาธารณภัย จังหวดั /อำเภอ/ท้องถิ่น • แจง้ ให้หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งดำเนนิ การ ตามอำนาจหน้าท่ี (ประกอบด้วย ชลประทาน จงั หวดั /อบจ./เจา้ ทา่ ภูมิภาค/อุตุนิยมวิทยา/ กลบั หนา้ แรก

คูมอื บัญชาการเหตกุ ารณ สําหรับผูวาราชการจงั หวัด กรณอี ุทกภัย หน้าที่ 7 การปฏิบตั ิ คำอธิบาย แหล่งอ้างอิง หน่วยรบั ผดิ ชอบ พมจ./สสจ./แขวงทางหลวง/แขวงทางหลวง ปลอดภัยและ ชนบทจงั หวดั /เกษตร/ประมง/ปศสุ ตั ว์จังหวดั / ปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง กฟผ./กฟภ./กปภ. ในพื้นท/่ี หน่วยทหาร/ตำรวจ/ ที่กำหนด กอ.รมน./ปกครองจังหวดั /ท้องถ่นิ จงั หวัด/ ระดับสีแดง เหลา่ กาชาดจังหวัด/สำนักงานป้องกัน หมายถึง และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด/ปภ.สาขา(ถา้ มี)/ สถานการณ์ พศ.จังหวดั /สพฐ.) อยใู่ นภาวะอนั ตราย • สงั่ การให้ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธร์ ่วม สงู สดุ ให้อาศัย แจ้งประชาชนทราบทุกชอ่ งทาง เช่น สถานีวิทยุ อยูแ่ ตใ่ นสถานที่ กระจายเสียงแห่งประเทศไทยประจำจงั หวดั ปลอดภัยและ สื่อสารมวลชนท้องถ่ิน สมาคมวทิ ยสุ มัครเล่น ปฏบิ ตั ิตาม แจง้ เตือนผ่านอุปกรณก์ ารแจ้งเตอื นภัยของ ปภ. ขอ้ สง่ั การ (กรณีท่ีมีหอเตอื นภยั ของ ปภ. อยู่ในพืน้ ทเ่ี สยี่ ง) และหน่วยงานที่เกย่ี วข้องรวมทง้ั ผ่านชอ่ งทาง Social media ต่าง ๆ เช่น Facebook Line twitter เปน็ ตน้ • ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ส่ังการให้ สำนกั งาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัด จัดทำ หนงั สือแจง้ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กดสญั ญาณแจง้ เตือนภัยในพ้ืนท่ี (2) ทำคำสั่งมอบหมายหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง เอกสารโครงสร้าง หน่วยดำเนินงาน ดำเนินการ การบริหารจดั การ ที่เกย่ี วข้อง •ประชุมและมอบหมายภารกจิ ให้หนว่ ยงาน ศนู ย์พักพิงชัว่ คราว - ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉิน ในศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณจ์ ังหวัด สง่ั การ ท้องถิน่ ให้สำนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั - ศูนย์บญั ชาการ จังหวดั จดั ทำคำสัง่ มอบหมายภารกิจ เหตกุ ารณ์อำเภอ ใหห้ นว่ ยงานในจังหวัด และขอรับการสนับสนนุ - ศนู ย์บัญชาการ ภารกจิ จากหนว่ ยงานฝ่ายทหารทจ่ี ังหวดั ไดท้ ำ เหตกุ ารณ์จงั หวัด บนั ทกึ ความเข้าใจตามที่มีการมอบหมายภารกจิ ในการประชุม ศนู ย์บัญชาการเหตกุ ารณ์จงั หวดั (ทง้ั นี้ อาจจดั ทำเป็นสรปุ การประชมุ แจ้งเวยี น หนว่ ยงานในศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณจ์ ังหวัด) กลับหน้าแรก

คมู อื บญั ชาการเหตุการณ สาํ หรับผูว าราชการจงั หวัด กรณีอทุ กภัย หนา้ ท่ี 8 การปฏิบัติ คำอธิบาย แหลง่ อ้างองิ หน่วยรับผิดชอบ (3) ส่ังการพ้นื ท่ใี หจ้ ดั ตัง้ จุดอพยพที่กำหนดไว้ เอกสารโครงสร้าง หนว่ ยดำเนินงาน ตามแผน การบริหารจดั การ ที่เกยี่ วข้อง ศูนย์พักพิงชวั่ คราว - ศูนยป์ ฏบิ ตั ิการฉุกเฉนิ •สง่ั การสำนกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คง ทอ้ งถนิ่ ของมนษุ ย์จงั หวดั ติดตามประสานการจัดต้งั - ศูนยบ์ ญั ชาการ ศูนยพ์ ักพงิ ช่ัวคราวใหเ้ ป็นตามมาตรฐานสากล เหตุการณอ์ ำเภอ - ศูนยบ์ ัญชาการ •กรณที ี่ประชาชนไม่ยอมอพยพไปยังศูนย์พักพิง เหตกุ ารณจ์ งั หวดั ชัว่ คราวทรี่ ัฐจัดให้ ใหส้ งั่ การอำเภอ และ องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จัดสิ่งของทจ่ี ำเปน็ สำหรบั การดำรงชีพใหป้ ระชาชนตามวงรอบ อยา่ งต่อเน่ือง อำนวยความสะดวกในเบื้องต้น ให้ประชาชนอาศัยเป็นการชวั่ คราว รวมท้ังดูแล รักษาความสงบเรยี บรอ้ ยแก่ประชาชนดวั ย •ส่งั การให้สว่ นปฏิบัติการจัดตั้งจุดอพยพ โดยใหเ้ ป็นไปตามลักษณะความจำเป็นทกี่ ำหนด ไว้ในแผน เชน่ - ห่างจากพ้ืนที่อนั ตราย - ไม่กดี ขวางการปฏิบตั ิงาน - เปน็ พืน้ ทีท่ ส่ี ามารถจดั การด้านสขุ ลกั ษณะ มสี ิง่ อำนวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภค ตามสมควร - การคมนาคมสะดวก • รายงานผลการดำเนนิ งานให้ผู้บญั ชาการ เหตุการณจ์ ังหวดั ทราบเปน็ ระยะๆ (4) ออกคำสง่ั เพือ่ เตรียมการอพยพ ตามมาตรา 28 - แผน ปภ.จ. - พ.ร.บ.ปภ.๒๕๕๐ •ผู้วา่ ราชการจังหวัด ลงนามในหนังสอื (ต.3) มาตรา ๒๘ รายงานผลการดำเนินการของจังหวัด - แผนอพยพ ให้ กอปภ.ก. และกระทรวงมหาดไทยทราบ ของจงั หวัด - หากเกนิ กว่า •สั่งการให้สำนกั งานป้องกนั และบรรเทา แผนกำหนดให้ สาธารณภัยจงั หวดั จดั ทำรา่ งคำสั่งอพยพ หาจดุ ปลอดภัย ประชาชนออกจากพืน้ ทเี่ ส่ยี งโดยใชเ้ หตผุ ล จากการวิเคราะห์ความเส่ยี งของสถานการณ์ ตามความเหมาะสม กลบั หน้าแรก

คมู ือบญั ชาการเหตุการณ สาํ หรับผูว า ราชการจงั หวัด กรณีอุทกภยั หน้าท่ี 9 การปฏิบตั ิ คำอธิบาย แหลง่ อา้ งอิง หนว่ ยรับผดิ ชอบ 2.4 กรณีแจ้งเตือน จากศูนย์บัญชาการเหตกุ ารณ์จังหวัด สำนักงานป้องกันและ แล้ว แตไ่ ม่เกดิ บรรเทาสาธารณภัย สถานการณ์ ผู้วา่ ราชการจังหวัดลงนามในคำสงั่ อพยพในฐานะ จังหวดั ผูอ้ ำนวยการจังหวดั สำนกั งานปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภัย (5) รายงานผลการดำเนินการของจังหวดั จังหวดั ประชาสมั พนั ธจ์ ังหวัด ให้ กอปภ.ก. และ มท. ทราบ ผู้ว่าราชการจังหวดั ลงนามในหนังสอื (ต.3) รายงานผลการดำเนนิ การของจังหวัด ให้ กอปภ.ก. และ มท. ทราบ 2.4.1 ทำประกาศยกเลิกสถานการณ์ - แผน ปภ.ช. ผ้วู ่าราชการจงั หวัด ส่ังการให้ สำนกั งานปอ้ งกัน - แผน ปภ.จ. และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด ทำหนงั สอื (ต.7) ให้ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ลงนามในฐานะ ผู้อำนวยการจังหวัด แจง้ ยุติสถานะแจ้งเตอื นภัย และเข้าสู่ภาวะปกติ โดยขอให้ติดตามข้อมูล ข่าวสารจากหน่วยงานคาดการณอ์ ย่างต่อเน่ือง 2.4.2 แจง้ หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องทราบ ผวู้ ่าราชการจังหวัด สงั่ การให้ศนู ย์บัญชาการ เหตุการณจ์ งั หวดั โดย สำนกั งานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัด ทำหนงั สือ (ต.6) ให้ลงนามในฐานะผู้อำนวยการจังหวัด แจง้ หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องทราบ 2.4.3 กรณีมกี ารอพยพประชาชน ให้ดำเนนิ การส่งกลับ • กรณีมีการอพยพประชาชน ให้ดำเนนิ การ แผน ปภ.จ. สง่ กลับ โดยผ้วู ่าราชการจังหวัดส่งั สำนกั งาน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ทำประกาศยตุ สิ ถานการณ์ (ต.8) ในพื้นที่ ทเ่ี หตกุ ารณ์เขา้ สภู่ าวะปกติแลว้ พรอ้ มแจง้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ • ส่งั การให้ประชาสมั พนั ธ์จังหวัด แจ้งประชาชนว่าสถานการณ์ภยั เข้าสภู่ าวะปกติ แลว้ ผ่านทุกชอ่ งทาง เช่น สถานวี ิทยกุ ระจาย กลับหนา้ แรก

คูมือบญั ชาการเหตุการณ สําหรับผวู า ราชการจังหวดั กรณอี ทุ กภยั หน้าท่ี 10 การปฏบิ ัติ คำอธิบาย แหล่งอ้างองิ หนว่ ยรบั ผิดชอบ เสยี งแหง่ ประเทศไทยประจำจงั หวัด สือ่ สารมวลชนท้องถิ่น สมาคมวทิ ยสุ มัครเล่น หน่วยวิเคราะห์และ อปุ กรณ์การแจ้งเตอื นภัยของ ปภ. และ ประเมินสถานการณ์ หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องรวมทงั้ ผ่านชอ่ งทาง Social และสว่ นงานอพยพ media ตา่ ง ๆ เช่น Facebook Line twitter เปน็ ต้น สำนกั งานป้องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั • สงั่ การให้หน่วยงานใน ศูนย์บัญชาการ จงั หวัด เหตกุ ารณ์จังหวดั ร่วมประเมินสถานการณ์ ว่าเม่ือไม่เกดิ สถานการณแ์ ละมคี วามปลอดภัย เพียงพอ ให้ ผูอ้ ำนวยการจงั หวัดสง่ั การ ให้มกี ารอพยพประชาชนกลับไปยังบา้ นพักอาศยั ดว้ ยความปลอดภัย • ใหอ้ ำเภอและท้องถ่ิน รับผิดชอบตรวจสอบ รายชอ่ื ผ้อู พยพกลับใหค้ รบถว้ นพรอ้ มรายงาน ให้ ศูนยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์จงั หวัด ทราบ 2.4.4 รายงานผลการดำเนนิ การ ให้ ปภ.ทราบ ผู้วา่ ราชการจังหวัด ลงนามในโทรสาร (ต.3) รายงานผลการดำเนนิ การของจังหวดั ให้ กอปภ.ก. และ มท. ทราบ กลบั หน้าแรก

คูมอื บัญชาการเหตุการณ สําหรบั ผวู า ราชการจงั หวัด กรณีอทุ กภยั หนา้ ที่ 11 ระยะท่ี 2 เมอื่ เกิดภัย การปฏิบัติ คำอธบิ าย แหลง่ อ้างอิง หนว่ ยรับผิดชอบ เม่ือสถานการณ์สาธารณภยั ในพืน้ ที่เกดิ ข้นึ เข้าสชู่ ว่ งของการเผชิญเหตุ ส่งิ ที่ตอ้ งดำเนนิ การดงั นี้ 1. รวบรวม ประเมินสถานการณ์ทีเ่ กิดข้ึนวา่ เปน็ สาธารณภัยระดบั ใด - พระราชบัญญัติ เมอ่ื ได้รบั การแจ้งสถานการณ์หรือแจ้งเตือนภยั แลว้ ให้มีการประเมนิ ปอ้ งกนั และบรรเทา สถานการณ์ โดยประเมนิ ระดับความรนุ แรงของสถานการณ์และอำนาจ สาธารณภัย การดำเนินการ ตามกฎหมาย โดยแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 แหง่ ชาตไิ ด้กำหนดระดับการจัดการสาธารณภัยแบง่ เปน็ 4 ระดบั ท้งั น้ี - แผนการป้องกันและ ขน้ึ กบั พ้ืนที่ ประชากร ความซับซ้อน หรือความสามารถในการจดั การ บรรเทาสาธารณภัย สาธารณภยั ตลอดจนศกั ยภาพด้านทรัพยากร ท่ีผู้มีอำนาจตามกฎหมาย แหง่ ชาติ ใช้ดุลยพินิจในการตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ความสามารถในการเขา้ ควบคมุ พ.ศ. 2564 - 2570 สถานการณ์เป็นหลัก ดงั นี้ ระดับ การจัดการ ผูม้ ีอำนาจตามกฎหมาย มาตรา (พรบ.ปภ.50) 1 สาธารณภัย ผ้อู ำนวยการอำเภอ ผูอ้ ำนวยการทอ้ งถ่นิ และ/หรอื ผชู้ ่วยผอู้ ำนวยการ ขนาดเล็ก กรุงเทพมหานคร ควบคมุ และสัง่ การ 19,20 2 สาธารณภยั ผ้อู ำนวยการจงั หวดั หรือผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร ควบคมุ และสง่ั การ 15,32 ขนาดกลาง ผู้บัญชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ควบคมุ สั่งการ 13 3 สาธารณภยั และบญั ชาการ ขนาดใหญ่ นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรฐั มนตรซี ง่ึ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย ควบคุม 31 สั่งการ และบญั ชาการ 4 สาธารณภยั รา้ ยแรงอย่างยง่ิ 2. การจัดการตามระดบั สาธารณภยั 2.1 การจัดการ การปฏิบัติของอำเภอ/องคก์ รปกครอง แผนเผชิญเหตุอุทกภัย หน่วยงานดำเนินการ จังหวัด ตามแผนเผชญิ เหตุ สาธารณภัย สว่ นท้องถิ่น ในการระงับเหตุใหส้ อดคล้อง อุทกภัยจงั หวัด ระดับ 1 ตามแผนเผชิญเหตุของจังหวัด •มอบหมายฝา่ ยปกครอง กำนัน ผูใ้ หญ่บ้าน ตลอดจนอาสาสมัคร ประชาชนจติ อาสา เฝ้าระวัง พื้นที่ชุมชน พื้นท่ีสำคัญทางเศรษฐกจิ สถานท่สี ำคัญ ต่าง ๆ อาทิ โรงพยาบาล ศาสนสถาน กลบั หน้าแรก

คมู ือบัญชาการเหตุการณ สําหรับผวู าราชการจังหวัด กรณอี ุทกภยั หน้าที่ 12 2.1.1 สั่งการอำเภอ/ •ให้พ้ืนท่ีท่ีประเมินสถานการณ์แล้วมีความ แผนเผชญิ เหตุองค์กร หน่วยงานดำเนินการ ปกครองส่วนท้องถ่นิ / ตามแผนเผชญิ เหตุ ท้องถน่ิ ปฏิบตั ิ รนุ แรง ให้ระดมสรรพกำลังโดยบรู ณาการ อำเภอ อทุ กภยั จังหวัด ตามแผนเขา้ ระงับเหตุ กำลงั พล อปุ กรณ์ เครื่องมือ เครือ่ งจักรกล สาธารณภัย จากหน่วยราชการ หนว่ ยทหาร ตำรวจ มูลนิธิ อาสาสมคั ร ประชาชนจติ อาสา เป็นชุดปฏิบัติการ พร้อมทงั้ แบ่งมอบพื้นที่ ภารกิจ ให้ชัดเจนในการเขา้ ช่วยเหลอื ประชาชน ทป่ี ระสบภยั •ในพ้นื ท่ีท่ปี ระสบภัย โดยเฉพาะพน้ื ท่ี ท่ีมกี ารอพยพประชาชน ให้จดั สิ่งของจำเป็น ในการดำรงชพี และจดั ตัง้ โรงครวั พระราชทาน ในการประกอบเลี้ยง เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน ของประชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ จนกวา่ สถานการณ์ จะเขา้ สูภ่ าวะปกติ •ใหส้ ำนกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จงั หวดั ประสานกบั ศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณ์ อำเภอ/ศูนย์ปฏิบตั ิการฉุกเฉินทอ้ งถ่นิ ในการปฏิบตั กิ ารแกไ้ ขปญั หา เพือ่ ให้การติดตาม และรายงานสถานการณ์ เป็นไปอยา่ งตอ่ เน่ือง • การสนบั สนุนการปฏบิ ตั ิในการแกไ้ ขปัญหา สาธารณภยั แก่ศนู ยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณ์อำเภอ/ ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารฉุกเฉนิ ท้องถนิ่ • ส่งั การให้หนว่ ยงานตามแผนเผชญิ เหตุอทุ กภยั จังหวัด ติดตาม เฝา้ ระวงั วิเคราะห์ และประเมนิ สถานการณ์ ในพืน้ ท่ีทเี่ กิดเหตุอย่างใกลช้ ิด พรอ้ มทั้งเตรยี มพร้อมทรัพยากร ทง้ั กำลงั คน เครื่องมอื วสั ดุอปุ กรณ์ เครื่องจกั รกลสาธารณภยั เพ่ือสนับสนนุ การปฏิบัติงาน แก้ไขปัญหา ของศนู ย์บญั ชาการเหตุการณ์อำเภอ/ ศนู ยป์ ฏิบตั ิการฉุกเฉินท้องถน่ิ ไดต้ ลอด 24 ช่ัวโมง หากไดร้ ับการร้องขอ กลับหนา้ แรก

คูมือบัญชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผวู า ราชการจังหวัด กรณอี ุทกภัย หนา้ ท่ี 13 2.1.2 รบั รายงาน • หากได้รับการรอ้ งขอการสนบั สนนุ ทรพั ยากร แผนเผชิญเหตุอทุ กภยั หนว่ ยงานดำเนนิ การ การปฏิบตั ิจากพ้นื ที่ จงั หวดั ตามแผนเผชิญเหตุ (มขี ้อบ่งชี้ ตา่ งๆ จากศูนย์บัญชาการเหตุการณ์อำเภอ/ อทุ กภัยจงั หวดั ทจี่ ะยกระดับ แผน ปภ.ช. เปน็ ภยั ระดบั 2) ศูนยป์ ฏิบตั ิการฉุกเฉินท้องถน่ิ ให้ประสาน บทที่ 5 แนวทางปฏิบัติ หน่วยงาน ในการตดั สินใจ ดา้ นอำนวยการ การปฏิบัตกิ บั หนว่ ยงานท่ีกำหนดตามแผน ยกระดับการจดั การ ใน กอปภ.จ. อาทิ สาธารณภยั มาปรบั ใช้ อตุ นุ ยิ มวิทยาจังหวดั เผชิญเหตุของจังหวดั พร้อมทั้งมอบหมายภารกจิ ชลประทาน สำนกั งานปอ้ งกนั พน้ื ที่การปฏิบัตใิ หช้ ดั เจน และบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด • กรณีทรัพยากรท่มี ีอยไู่ มเ่ พยี งพอ ให้ผู้ว่าราชการจงั หวดั (ผอู้ ำนวยการจงั หวัด) พจิ ารณาร้องขอสนับสนุนทรัพยากรจากจงั หวัด ข้างเคยี ง การประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์ สาธารณภัยในพนื้ ที่ เม่อื ไดร้ ับรายงานสาธารณภยั เกิดขน้ึ ในพืน้ ท่ี ให้คณะทำงานตดิ ตามสถานการณ์ ภายใต้ กอปภ.จ. ทำการประเมนิ สถานการณ์ในพืน้ ที่ ในมิตติ ่างๆ อาทิ แนวโนม้ สภาพอากาศ ทศิ ทางการไหลของน้ำ พน้ื ท่ีเสี่ยงภยั ตลอดจน ศกั ยภาพของศนู ย์บัญชาการเหตกุ ารณ์อำเภอ/ ศูนย์ปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ วา่ สามารถรับมอื กบั แนวโน้ม ของสถานการณ์ในระยะต่อไปไดห้ รอื ไม่ พร้อมทัง้ เสนอแนวทางต่อผู้ว่าราชการจงั หวัด/ ผอู้ ำนวยการจงั หวดั เพ่ือแจ้งเตอื นสถานการณ์ ไปยังพน้ื ที่เสีย่ งที่คาดว่าจะได้รบั ผลกระทบ โดยเรว็ กลบั หน้าแรก

คมู อื บญั ชาการเหตกุ ารณ สาํ หรบั ผูวาราชการจงั หวดั กรณีอทุ กภยั หนา้ ท่ี 14 การพจิ ารณายกระดับการจดั การสาธารณภยั - พระราชบัญญตั ิ สำนกั งานป้องกัน (จากสาธารณภัยขนาดเล็ก ระดบั 1 ป้องกนั และบรรเทา และบรรเทา เปน็ สาธารณภยั ขนาดกลาง ระดบั 2) สาธารณภยั พ.ศ. สาธารณภยั จงั หวดั เกณฑ/์ เง่อื นไข ประกอบการพิจารณาในการ 2550 มาตรา 15, ยกระดับการจัดการสาธารณภยั (จากระดับ 1 22, 25, 27, 28 เป็นระดับ 2) ประกอบดว้ ย และ 29 (1) พืน้ ทท่ี ี่ได้รบั ผลกระทบและความเสียหาย - แผน ปภ.ช. (2) จำนวนและลักษณะของประชากรในพื้นท่ี บทที่ 5 แนวทาง ปฏิบตั ใิ นการตัดสินใจ ที่ได้รบั ผลกระทบ ยกระดับการจัดการ (3) ความซับซอ้ น ความยากง่าย สถานการณ์ สาธารณภยั มาปรบั ใช้ - หนงั สือ บกปภ.ช. แทรกซ้อน และเง่ือนไขทางเทคนิค ดว่ นทสี่ ดุ ที่ มท ของสถานการณ์ 0622/ว56 ลงวันที่ (4) ศักยภาพดา้ นทรพั ยากร ความสามารถ 16 พฤษภาคม 2559 ในการปฏิบตั ิงานของทรัพยากร ท้งั กำลังคน เร่ือง แนวทาง เครือ่ งมืออปุ กรณ์ งบประมาณ เปน็ ต้น การจัดการสาธารณภยั (5) การพจิ ารณาตัดสินใจโดยดุลยพินจิ ในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ของผอู้ ำนวยการจังหวดั โดยสามารถประเมนิ สถานการณจ์ ากเงื่อนไขตา่ งๆ อาทิ ขอบเขต การปกครอง การประเมนิ ศักยภาพ ในการจัดการสาธารณภัยของหน่วยงาน ที่รับผดิ ชอบในพ้นื ที่ท่เี กิดเหตุ เม่ือมีการยกระดบั การจัดการสาธารณภัย ใหส้ ำนักงานสำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั จงั หวดั ในฐานะฝา่ ยเลขานกุ าร ของกองอำนวยการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยกลาง/ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ จังหวดั เสนอการจดั โครงสร้างสำหรบั การบริหาร จดั การสาธารณภยั ตามระบบบญั ชาการ เหตุการณ์ ตามแนวทาง ดงั นี้ (1) จัดตั้งศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จังหวดั เพื่อเป็นศูนยก์ ลางในการสง่ั การ และ การระดมสรรพกำลังจากทกุ ภาคสว่ น โดยให้พิจารณาแบง่ โครงสรา้ งการจดั การ เปน็ 3 ส่วนหลัก ไดแ้ ก่ กลับหนา้ แรก

คมู ือบญั ชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผวู าราชการจงั หวัด กรณีอทุ กภยั หน้าที่ 15 - สว่ นอำนวยการ ทำหน้าท่ใี นการตดิ ตาม สถานการณ์ การวิเคราะห์แนวโนม้ สถานการณ์ การแจ้งเตอื นภัย การประสานข้อมูล การกำหนดหรือออกแผนเผชิญเหตุ เพอื่ ให้ ส่วนปฏิบตั กิ ารใชใ้ นการเผชญิ เหตุ และการร่วม อำนวยการ สงั่ การ ตลอดจนการประเมนิ ความต้องการความจำเปน็ ในการสนบั สนนุ ทรัพยากรในภาวะฉุกเฉนิ - ส่วนปฏบิ ัตกิ าร ทำหนา้ ที่ในการก้ภู ัย การบรรเทาสาธารณภัย หรอื เผชญิ เหตุ โดยมแี ผนเผชญิ เหตุทีก่ ำหนด โดยส่วนอำนวยการ เป็นแผนการปฏบิ ตั ิการ กู้ภัย การบรรเทาสาธารณภัย การควบคุม สถานการณเ์ พอ่ื รักษาชีวิต ปกปอ้ งทรพั ย์สนิ และการฟ้นื ฟสู ่สู ภาวะปกติ - ส่วนสนบั สนนุ ทำหนา้ ทใ่ี นการตอบสนอง การรอ้ งขอรับ การสนบั สนุนในดา้ นต่างๆ ทจ่ี ำเป็น เพอื่ ให้การจัดการในภาวะฉุกเฉิน เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ เช่น การสง่ กำลงั บำรงุ การสนับสนนุ งบประมาณ เปน็ ต้น (2) การกำหนดแนวทางในการปฏิบัตงิ าน ใหค้ วามสำคญั ในประเด็น ดังน้ี - กำหนดผู้รับผิดชอบงาน โดยการกำหนด ตัวบคุ คล หรือหนว่ ยงานทเี่ หมาะสมรบั ผิดชอบ ภารกิจ พร้อมทั้งกำหนดสายการบงั คบั บัญชา ทีช่ ดั เจน เพอ่ื ช่วยควบคุม กำกบั การปฏิบตั ิ ในภารกจิ ทีส่ ำคญั เช่น การกำหนดให้รองผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ปลัดจงั หวดั หวั หน้าหนว่ ยงาน ท่ีเกยี่ วข้อง และนายอำเภอรับผดิ ชอบ การบริหารจัดการเหตใุ นพนื้ ท่ที ่กี ำหนด ทง้ั ก่อนเกดิ ภยั ขณะเกดิ ภยั และหลังเกดิ ภัย - กำหนดพน้ื ทป่ี ฏิบตั ิการ โดยพิจารณา จากสถานการณ์ สาธารณภัยที่เกิดขน้ึ กลับหนา้ แรก

คูม อื บญั ชาการเหตกุ ารณ สําหรับผวู า ราชการจังหวดั กรณอี ุทกภัย หน้าที่ 16 วา่ มผี ลกระทบเป็นวงกวา้ งเพยี งไร แลว้ จงึ กำหนดพ้นื ที่เปน็ เขตต่างๆ เพื่อใช้วางแผน ในการสง่ เจ้าหน้าท่ี อุปกรณ์ ยานพาหนะ ทเ่ี หมาะสมเขา้ ปฏบิ ตั กิ าร - กำหนดรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากร เครื่องมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ และเทคโนโลยี ตา่ งๆ โดยพิจารณาจากทรัพยากรทั้งหมด ท่มี ี แลว้ จำแนก จดั สรร และตดิ ตามการใช้ ทรพั ยากรใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ - กำหนดชอ่ งทางการส่อื สาร ระดมและกำหนด เครอื ขา่ ยการติดต่อส่ือสารท่ีมี และแสวงหา เพมิ่ เติม ขนั้ ตอนการส่อื สารต้องสามารถ เชื่อมตอ่ ใชร้ ่วมกนั ไดท้ ุกหน่วย และไมส่ ับสน โดยตอ้ งมที งั้ ระบบส่อื สารหลัก ระบบสอ่ื สารรอง และระบบส่อื สารสำรอง รวมทั้งกำหนด รปู แบบ ระยะเวลา และตัวบคุ คลสำหรับ การรายงานต่อผบู้ ริหารระดับสูงในทุกระยะ 2.1.3 ออกประกาศเขต การรบั รายงานสถานการณ์ในพ้ืนท่ี หนังสือ บกปภ.ช. สำนกั งานป้องกันและ พื้นที่ประสบสาธารณภยั ดว่ นท่ีสดุ ท่ี มท บรรเทาสาธารณภยั • เมื่อได้รับรายงานสถานการณ์สาธารณภยั 0602/ว 93 ลงวันท่ี จังหวัด ทเี่ กดิ ขึ้นในพนื้ ท่ี ให้เรียกประชุม กอปภ.จ. 28 พฤศจิกายน 2559 เพื่อวเิ คราะห์ข้อมลู และประเมินสถานการณ์ เรอ่ื ง การกำหนด ท่ีไดร้ ับจากพื้นท่ีวา่ สถานการณท์ ่ีเกดิ ขนึ้ รูปแบบและแนวทาง เปน็ “สาธารณภัย\" ตามนยิ ามในมาตรา 4 ปฏิบัติ ในการประกาศ แห่งพระราชบัญญตั ิป้องกันและบรรเทา เขตพื้นทป่ี ระสบ สาธารณภัย พ.ศ. 2550 และมีความจำเปน็ สาธารณภัย ต้องประกาศเปน็ เขตพ้ืนที่ประสบสาธารณภยั หรอื ไม่ •กรณสี าธารณภัยทเ่ี กิดขึ้นในพื้นที่ ปรากฎชัด เปน็ ที่ทราบโดยทว่ั ไป ผวู้ ่าราชการจงั หวดั / ผู้อำนวยการจังหวัดสามารถออกประกาศเขต พน้ื ทปี่ ระสบสาธารณภยั ไดท้ ันที แลว้ แจง้ ให้ กอปภ.จ. ทราบในโอกาสแรกทส่ี ามารถกระทำได้ กลบั หน้าแรก

คมู อื บญั ชาการเหตุการณ สาํ หรับผวู า ราชการจงั หวัด กรณอี ุทกภัย หน้าที่ 17 การปฏบิ ัติ คำอธบิ าย แหลง่ อ้างอิง หน่วยรบั ผดิ ชอบ สำนกั งานป้องกันและ การจัดทำประกาศเขตพนื้ ท่ีประสบสาธารณภัย - หนังสอื บกปภ.ช. บรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด •กรณี กอปภ.จ. พิจารณาเห็นว่าการประกาศ ดว่ นทีส่ ุด ท่ี มท เขตพื้นที่ประสบสาธารณภัยจะเป็นประโยชน์ 0602/ว 93 ลงวันที่ ตอ่ การจดั การสาธารณภัยในพื้นที่ ใหผ้ ู้อำนวยการ 28 พฤศจิกายน จงั หวดั ส่งั การให้สำนกั งานป้องกนั และบรรเทา 2559 เรอื่ ง สาธารณภยั จงั หวดั ในฐานะฝ่ายเลขานกุ าร การกำหนดรปู แบบ กอปภ.จ. จดั ทำประกาศตามรูปแบบประกาศเขต และแนวทางปฏิบัติ พืน้ ท่ปี ระสบสาธารณภัยท่ีกองบญั ชาการปอ้ งกนั ในการประกาศเขต และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (บกปภ.ช.) พ้ืนที่ประสบ กำหนด สาธารณภยั • รูปแบบประกาศเขตพื้นท่ีประสบสาธารณภัย - แผน ปภ.ช. บทที่ 5 แนวทาง มีรายละเอยี ด ดังนี้ ปฏิบัตในการ (1) ระบุประเภทสาธารณภยั ประกาศเขตพ้ืนที่ (2) สาเหตุการเกดิ สาธารณภัย ประสบสาธารณภยั (3) ชว่ งเวลาทีเ่ กดิ สาธารณภัยโดยสังเขป (4) ระบุพื้นที่ สถานท่ี หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ มาปรบั ใช้ จงั หวัด ที่เกิดสถานการณ์ การประกาศวันส้นิ สดุ ของสาธารณภัย หนังสือ บกปภ.ช. สำนักงานป้องกนั และ ดว่ นท่ีสดุ ท่ี มท บรรเทาสาธารณภยั •เมื่อสาธารณภยั ยุตแิ ล้ว ใหผ้ ู้อำนวยการจงั หวัด 0602/ว 93 ลงวนั ท่ี จังหวดั ส่ังการใหส้ ำนักงานป้องกนั และบรรเทา 28 พฤศจิกายน 2559 สาธารณภยั จงั หวดั ในฐานะฝ่ายเลขานุการ เร่อื ง การกำหนด กอปภ.จ. จัดทำประกาศส้ินสุดของสาธารณภัย รูปแบบและแนวทาง ตามรูปแบบประกาศเขตพืน้ ท่ีประสบสาธารณภัย ปฏิบัติ ในการประกาศ ท่ี บกปภ.ช. กำหนด เขตพื้นท่ปี ระสบ สาธารณภยั •เมอ่ื ออกประกาศเขตพ้นื ท่ีประสบสาธารณภัย หรอื ประกาศวนั สนิ้ สดุ สาธารณภยั แลว้ ให้ติดประกาศเขตพ้นื ทป่ี ระสบสาธารณภัย ณ ศาลากลางจังหวดั ทว่ี ่าการอำเภอ องคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในพ้ืนท่เี กดิ สาธารณภัย และประกาศ ให้ทราบโดยท่วั กนั พรอ้ มทั้ง รายงานใหอ้ ธบิ ดีกรมป้องกนั และบรรเทา กลบั หน้าแรก

คมู ือบญั ชาการเหตกุ ารณ สําหรับผูวาราชการจงั หวัด กรณอี ทุ กภยั หนา้ ท่ี 18 การปฏบิ ัติ คำอธบิ าย แหล่งอ้างอิง หนว่ ยรับผิดชอบ 2.1.4 ออกประกาศ สาธารณภยั ในฐานะผู้อำนวยการกลางทราบ สำนกั งานปอ้ งกันและ เขตการให้ความ บรรเทาสาธารณภัย ช่วยเหลือฯ ภายใน 24 ชั่วโมง จงั หวดั การประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลือ - ระเบียบกระทรวง ผู้ประสบภยั พิบตั ิกรณีฉุกเฉนิ การคลัง วา่ ด้วยเงนิ •เมื่อเกิดภยั พิบตั ิกรณฉี ุกเฉนิ ในพนื้ ท่ี นายอำเภอ ทดรองราชการ จะรายงานเปน็ เหตุด่วนใหผ้ ูว้ ่าราชการราชการ เพ่อื ช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภยั พบิ ัติ จงั หวดั ทราบ กรณีฉกุ เฉนิ • เมอ่ื ไดร้ บั รายงานการเกิดภัยพิบัตใิ นพ้นื ที่ พ.ศ. 2562 จากนายอำเภอ หากเปน็ กรณีฉุกเฉินและ จำเป็นตอ้ งให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบัติ - ประกาศ ปภ. เรื่อง จากเงนิ ทดรองราชการตามระเบยี บกระทรวง หลกั เกณฑ์ วิธีการ การคลงั วา่ ด้วยเงนิ ทดรองราชการเพ่ือชว่ ยเหลอื และเง่ือนไขการ ผู้ประสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉิน พ.ศ. 2562 ใหผ้ วู้ า่ ประกาศเขตการให้ ราชการจังหวัดร่วมกับคณะกรรมการให้ความ ความช่วยเหลือ ช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั พิบัติ (ก.ช.ภ.จ.) ผปู้ ระสบภัยพบิ ัติ ดำเนินการประกาศเขตการให้ความชว่ ยเหลือ กรณีฉกุ เฉิน ผู้ประสบภยั พบิ ตั ิกรณฉี กุ เฉิน • การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภัยพิบตั ิกรณฉี ุกเฉิน มีรายการดงั นี้ (1) ประเภทของภัยพบิ ัติกรณีฉุกเฉิน (2) วนั เดือน ปี ทีเ่ กิดภัยพิบตั ิ และวนั เดือน ปี ทสี่ นิ้ สดุ ภัยพิบตั ิกรณฉี กุ เฉิน ในกรณี ทส่ี ถานการณ์ของภัยพิบัติกรณฉี ุกเฉนิ ยงั ไม่ยตุ ิ ใหร้ ะบุในประกาศว่า “ภัยพิบตั กิ รณฉี ุกเฉิน ยังไมย่ ตุ ”ิ (3) พืน้ ทที่ ี่เกิดภัยพิบัติกรณฉี ุกเฉนิ ให้ระบุเฉพาะ พืน้ ทีช่ ุมชน หมบู่ ้าน ตำบล อำเภอทเ่ี กิด ภัยพบิ ตั ิกรณีฉุกเฉินเทา่ นั้น (4) ประเภทความเสยี หาย อาทิ ชวี ติ ทรัพย์สนิ ทีอ่ ย่อู าศัย พ้นื ท่ีการเกษตร หรือ สงิ่ สาธารณประโยชน์ เป็นตน้ (5) เวลาเร่มิ ตน้ และเวลาสิ้นสดุ ของการให้ ความช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั พิบัตกิ รณีฉุกเฉิน ทั้งนีต้ อ้ งไมเ่ กนิ สามเดือน นบั แตว่ นั ท่ีเกดิ ภัย กลบั หนา้ แรก

คมู ือบัญชาการเหตกุ ารณ สําหรับผวู าราชการจังหวดั กรณีอุทกภยั หน้าที่ 19 การปฏบิ ตั ิ คำอธิบาย แหล่งอ้างองิ หน่วยรับผิดชอบ 2.1.5 กำกับดแู ล เม่ือมีการประกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลือ แผน ปภ.ช. หน่วยงาน และตดิ ตาม การปฏบิ ตั ิ ผู้ประสบภยั พบิ ตั กิ รณีฉกุ เฉิน และประกาศ บทที่ 5 แนวทางปฏิบัติ ในศนู ย์บญั ชาการ ในการรายงานข้อมูล เหตกุ ารณจ์ ังหวดั วนั ส้นิ สุดของภัย ให้ส่งสำเนาประกาศฯ ให้ ปภ. มาปรบั ใช้ ทราบทันที การกำกับดูแลการปฏบิ ตั ใิ นการแกไ้ ขปัญหา สาธารณภยั ในพ้ืนทีเ่ กดิ เหตุ •ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณจ์ ังหวดั ตดิ ตาม ผลการดำเนนิ งานตามข้อสัง่ การ นโยบาย แนวทาง และมาตรการ ในการแก้ไขปัญหา แตล่ ะดา้ นอย่างต่อเนอื่ ง อาทิ ด้านการดำรงชีพ ดา้ นชีวติ ด้านทอ่ี ย่อู าศัย ดา้ นสิง่ สาธารณูปโภค และสง่ิ สาธารณ ประโยชน์ ดา้ นการเกษตร เป็นต้น •ให้กำหนดวงรอบและชอ่ งทางการรายงาน ผลการดำเนินงานใหช้ ดั เจน การประเมินผลการปฏิบตั ใิ นการแก้ไขปญั หา สาธารณภัยในพน้ื ทีเ่ กิดเหตุ • เม่ือไดร้ ับรายงานผลการดำเนินงานฯ ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณจ์ ังหวัด ประเมนิ ผล การปฏบิ ตั งิ านวา่ ได้มกี ารปฏิบตั ิงานเป็นไปตาม ข้อสง่ั การ นโยบาย แนวทาง และมาตรการ ทก่ี ำหนดไวห้ รือไม่ /มีข้อจำกัดปัญหาอุปสรรค ในการปฏบิ ตั งิ านหรือไม่ • ประสานการปฏิบัตใิ นส่วนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง กรณี มกี ารร้องขอทรพั ยากรเพิม่ เติมจากพ้ืนท่ี ทเี่ กดิ เหตุ เพื่อให้สถานการณ์สาธารณภัยในพนื้ ที่ กลับเขา้ ส่ภู าวะปกติโดยเร็วทส่ี ุด กลบั หน้าแรก

คมู อื บัญชาการเหตุการณ สําหรับผูวา ราชการจังหวดั กรณีอทุ กภยั หนา้ ท่ี 20 2.2 การจัดการ ส่ังการใหส้ ำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย แผน ปภ.จ. สำนักงานป้องกนั และ สาธารณภยั ระดับ 2 จังหวดั เสนอการจดั ตัง้ ศนู ย์บญั ชาการเหตุการณ์ บรรเทาสาธารณภัย 2.2.1 จดั ต้งั จังหวัด โดยใหก้ ำหนดโครงสร้าง ภารกจิ และ จงั หวัด ศนู ยบ์ ญั ชาการ หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนป้องกัน เหตกุ ารณ์จังหวดั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด (ทั้งน้ี ผู้อำนวยการ สำนักงานป้องกันและ หากยังไม่ได้จัดต้ัง จงั หวดั อาจเพมิ่ เตมิ โครงสร้างการปฏิบัตงิ าน บรรเทาสาธารณภยั ของศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จงั หวดั จังหวดั 2.2.2 เรยี กประชุม ให้สอดคล้องเหมาะสมตามสถานการณ)์ ศูนย์บญั ชาการณ์ เหตุการณจ์ งั หวัด •ส่ังการสำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั มอบหมายภารกิจ จงั หวัดจัดประชุม ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ จงั หวัด โดยมปี ระเดน็ ทีค่ วรนำเสนอ ในการประชมุ ประกอบดว้ ย - สถานการณ์ และการคาดการณพ์ ้นื ท่เี สีย่ ง แบบระบุพืน้ ที่ - ขอ้ มลู ทรัพยากรในพื้นที่ - ร่างแผนเผชญิ เหตุ (ภารกิจที่ต้องดำเนินการ และหนว่ ยรบั ผิดชอบ) - แผนขอรับการสนบั สนุนทรัพยากร (กรณมี คี วามจำเป็น) - ประเด็นอนื่ ๆ ตามบริบทพ้ืนท่ี/สถานการณ์ อาทิ มาตรการทางสาธารณสุขควบคไู่ ปกับ การปฏบิ ตั ิการ เป็นต้น 2.2.3 ออกประกาศ การรับรายงานสถานการณใ์ นพน้ื ท่ี สำนกั งานป้องกันและ เขตพืน้ ทีป่ ระสบ บรรเทาสาธารณภยั สาธารณภยั • เมอื่ ได้รบั รายงานสถานการณ์สาธารณภยั จังหวัด (กอปภ.ก.) ท่เี กิดข้นึ ในพน้ื ที่ ใหเ้ รียกประชุม กอปภ.จ. เพ่อื วเิ คราะห์ข้อมูลและประเมนิ สถานการณ์ กลับหนา้ แรก ทไ่ี ด้รบั จากพนื้ ทว่ี า่ สถานการณ์ที่เกิดขึน้ เป็น “สาธารณภัย\" ตามนิยามในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตปิ ้องกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. 2550 และมคี วามจำเปน็

คมู อื บญั ชาการเหตุการณ สาํ หรบั ผวู าราชการจงั หวัด กรณีอทุ กภัย หน้าที่ 21 ตอ้ งประกาศเปน็ เขตพ้ืนทีป่ ระสบสาธารณภยั หรอื ไม่ กรณสี าธารณภัยท่ีเกิดขน้ึ ในพนื้ ที่ ปรากฎ ชดั เปน็ ทท่ี ราบโดยทว่ั ไป ผวู้ ่าราชการจงั หวดั / ผ้อู ำนวยการจงั หวัดสามารถออกประกาศเขต พื้นท่ีประสบสาธารณภยั ไดท้ ันที แลว้ แจง้ ให้ กอปภ.จ. ทราบในโอกาสแรกทส่ี ามารถกระทำได้ การจดั ทำประกาศเขตพืน้ ท่ีประสบสาธารณภยั •กรณี กอปภ.จ. พจิ ารณาเห็นวา่ การประกาศ เขตพื้นท่ีประสบสาธารณภยั จะเป็นประโยชน์ ต่อการจดั การสาธารณภัยในพ้ืนที่ ให้ผอู้ ำนวยการ จังหวดั สงั่ การให้สำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด ในฐานะฝ่ายเลขานุการ กอปภ.จ. จดั ทำประกาศตามรปู แบบประกาศเขต พื้นที่ประสบสาธารณภัยทก่ี องบัญชาการปอ้ งกัน และบรรเทา สาธารณภัยแหง่ ชาติ (บกปภ.ช.) กำหนด • รูปแบบประกาศเขตพ้ืนที่ประสบสาธารณภัย มรี ายละเอยี ด ดังน้ี (1) ระบุประเภทสาธารณภยั (2) สาเหตกุ ารเกิดสาธารณภัย (3) ชว่ งเวลาที่เกิดสาธารณภัยโดยสงั เขป (4) ระบุพื้นท่ี สถานที่ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวดั ที่เกดิ สถานการณ์ การประกาศวันสิน้ สุดของสาธารณภัย •เม่ือสาธารณภยั ยุติแลว้ ใหผ้ ู้อำนวยการจังหวดั สง่ั การใหส้ ำนักงานปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั จงั หวดั ในฐานะฝ่ายเลขานกุ าร กอปภ.จ. จัดทำประกาศสิน้ สุดของสาธารณภยั ตามรูปแบบประกาศเขตพน้ื ทีป่ ระสบสาธารณภัย ที่ บกปภ.ช. กำหนด กลับหน้าแรก

คูมือบัญชาการเหตกุ ารณ สาํ หรบั ผูว าราชการจังหวดั กรณีอุทกภัย หน้าท่ี 22 •เม่อื ออกประกาศเขตพ้ืนทป่ี ระสบสาธารณภยั หรอื ประกาศวันสนิ้ สดุ สาธารณภัยแลว้ ใหต้ ดิ ประกาศเขตพ้ืนทปี่ ระสบ สาธารณภัย ณ ศาลากลางจังหวัด ท่วี า่ การอำเภอ องคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถ่นิ ในพื้นที่เกดิ สาธารณภยั และประกาศ ให้ทราบโดยทว่ั กนั พรอ้ มท้งั รายงานใหอ้ ธิบดีกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ในฐานะผู้อำนวยการกลางทราบ ภายใน 24 ช่ัวโมง 2.2.4 ออกประกาศ การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลอื สำนกั งานป้องกันและ เขตการให้ ผู้ประสบภัยพบิ ัติกรณีฉุกเฉนิ บรรเทาสาธารณภัย ความช่วยเหลือฯ จังหวัด •เมอื่ เกิดภยั พบิ ัติกรณีฉุกเฉนิ ในพ้นื ท่ี นายอำเภอ จะรายงานเปน็ เหตุด่วนใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวดั ทราบ • เมือ่ ได้รบั รายงานการเกดิ ภยั พิบัตใิ นพ้ืนท่ี จากนายอำเภอ หากเป็นกรณีฉุกเฉนิ และ จำเปน็ ต้องให้ความชวยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ จากเงนิ ทดรองราชการตามระเบยี บกระทรวง การคลงั ว่าดว้ ยเงินทดรองราชการเพ่ือชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั กิ รณีฉุกเฉิน ให้ผ้วู ่าราชการ จงั หวัดรว่ มกับคณะกรรมการให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ัติ (ก.ช.ภ.จ.) ดำเนินการประกาศ เขตการให้ความช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั พิบตั ิ กรณีฉุกเฉิน • การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิกรณฉี กุ เฉนิ มีรายการดงั นี้ (1) ประเภทของภัยพิบัติกรณีฉกุ เฉนิ (2) วัน เดือน ปี ที่เกดิ ภยั พิบัติ และวนั เดอื น ปี ทส่ี ิน้ สุดภยั พบิ ตั กิ รณีฉุกเฉิน ในกรณี ทสี่ ถานการณ์ของภัยพิบัติกรณีฉุกเฉนิ ยังไมย่ ุติ ใหร้ ะบใุ นประกาศว่า “ภยั พบิ ัติกรณีฉกุ เฉิน ยังไม่ยตุ ิ” กลบั หนา้ แรก

คมู ือบัญชาการเหตุการณ สาํ หรบั ผวู า ราชการจังหวัด กรณอี ทุ กภัย หน้าที่ 23 (3) พ้นื ทีท่ ี่เกิดภัยพบิ ตั ิกรณีฉุกเฉิน ใหร้ ะบุเฉพาะ พ้นื ท่ชี มุ ชน หมบู่ ้าน ตำบล อำเภอท่เี กิด ภัยพิบัตกิ รณีฉุกเฉินเท่านั้น (4) ประเภทความเสียหาย อาทิ ชีวติ ทรพั ย์สนิ ที่อยู่อาศัย พนื้ ท่ีการเกษตร หรือ ส่งิ สาธารณประโยชน์ เปน็ ตน้ (5) เวลาเริ่มต้นและเวลาส้ินสดุ ของการให้ ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี ุกเฉนิ ทั้งนต้ี อ้ งไมเ่ กนิ สามเดอื น นบั แตว่ นั ทีเ่ กดิ ภยั • เมอื่ มีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภยั พบิ ัติกรณฉี ุกเฉนิ และประกาศ วันสิน้ ของภยั ให้สง่ สำเนาประกาศฯ ให้ ปภ. ทราบทันที 2.2.5 การควบคุม 1) ภารกิจด้านการอพยพ และจัดต้ังศนู ยพ์ ักพิง - พ.ร.บ. ปภ. พ.ศ. 2550 - สำนกั งานพัฒนา สัง่ การ และบัญชาการ ชว่ั คราว มาตรา 27 และมาตรา สงั คมและ ในการเผชญิ เหตุ • ศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์ระดับจงั หวดั 28 ความม่นั คง (ให้จงั หวดั พิจารณา โดยมี ผวจ.เป็นผอู้ ำนวยการศูนย์ฯ ติดตาม ภารกจิ ที่สำคัญ และประเมนิ สถานการณ์ภยั ในพื้นท่ี หากมี - แผน ปภ.ช. ของมนุษยจ์ งั หวดั และจำเป็น ดงั น้ี) แนวโนม้ หรือคาดว่าประชาชนผู้ประสบภยั บทที่ 5 แนวทาง - องคก์ รปกครอง ปฏบิ ตั ิในการอพยพ ส่วนท้องถ่นิ จะไดร้ บั ผลกระทบจากภัยพิบัติน้ัน ให้ส่งั การ - ผ้มู อี ำนาจตามมาตรา - อำเภอ ศูนยบ์ ัญชาการอำเภอ/องค์กรปกครอง 28 แหง่ พ.ร.บ. ปภ. สว่ นท้องถนิ่ ในพ้ืนทป่ี ระสบภยั จัดตัง้ ศนู ยพ์ ักพิง พ.ศ. 2550 ชวั่ คราว ทีก่ ำหนดตามแผนป้องกันและบรรเทา - คูม่ ือการจัดการ สาธารณภัยอำเภอ/องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ภัยพิบัตสิ ำหรับ โดยพิจารณาถงึ ความเหมาะสม ประชาชน และความปลอดภยั ของผูป้ ระสบภยั เปน็ สำคญั โดย กองสง่ เสรมิ  ประสานหน่วยงานราชการและภาคส่วนต่างๆ การป้องกันสาธารณภัย ในการบริหารจัดการศนู ย์พักพงิ ชัว่ คราว อาทิ ISBN : 978-974- การจดั ระบบการขนส่งบุคคลผู้อพยพ การรกั ษา 458-563-9 ความปลอดภัย การดูแลสขุ อนามัย อาหาร ความเป็นอยู่ รวมถึงการดูแลสขุ ภาพ ของผูป้ ระสบภยั ระหว่างท่ีพักอาศัย อยทู่ ีศ่ นู ย์พกั พิงช่ัวคราว กลับหน้าแรก

คูมือบญั ชาการเหตุการณ สาํ หรบั ผวู า ราชการจงั หวดั กรณีอุทกภยั หน้าที่ 24 คำนยิ าม : ศนู ย์พกั พิงชั่วคราว หมายถึง - พ.ร.บ. ปภ. - องคก์ รปกครอง สถานท่ซี งึ่ ได้จดั เตรียมไว้สำหรบั ผปู้ ระสบภยั ทต่ี อ้ งย้ายออกจากที่อยอู่ าศัยเดมิ ซ่งึ ไดร้ บั พ.ศ. 2550 ส่วนทอ้ งถิ่น ผลกระทบจากอุทกภัยหรอื สาธารณภัยประเภท อื่นๆ จนไมส่ ามารถอาศยั อยูไ่ ด้ มาอาศยั พักพงิ - ระเบียบ มท. วา่ ด้วย - อำเภอ ชว่ั คราวอยจู่ นกว่าสถานการณภ์ ยั พบิ ตั ิ จะยุติ และมีการอพยพกลบั ท่ีตั้งเดมิ อาสาสมัครปอ้ งกนั - สำนักงานป้องกัน ดว้ ยความเรียบรอ้ ย 2) ภารกิจด้านการสั่งใชอ้ าสาสมคั ร ภัยฝ่ายพลเรือน และบรรเทา อาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรือน (อปพร.) พ.ศ. 2553 สาธารณภยั จังหวัด • ผวู้ ่าราชการจังหวัดในฐานะผู้อำนวยการ ศูนย์ อปพร. จังหวดั สั่งการให้ผูอ้ ำนวยการ - ระเบยี บ กปภ.ช. ศนู ย์ อปพร. ในพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบ ดำเนินการ ว่าดว้ ยค่าใช้จ่าย • ผอู้ ำนวยการศูนย์ อปพร. ตน้ สังกัดจัดทำ คำส่งั ใช้ อปพร. ในสงั กดั ปฏบิ ัตหิ น้าทีท่ ีไ่ ดร้ บั ของอาสาสมัคร มอบหมายจากผอู้ ำนวยการจังหวดั เม่อื มี การส่งั ใช้ อปพร. ศูนย์ อปพร.ตน้ สังกดั สามารถ ในการป้องกันและ เบิกค่าใช้จ่ายให้ อปพร. ได้ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๖๐ - ระเบยี บ มท. ว่าดว้ ย การเบกิ ค่าใช้จ่าย ให้แกอ่ าสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่าย พลเรือนขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๖๐ - หนงั สือ มท. ดว่ นมาก ท่ี มท ๐๘๐๘.๒/ว ๗๒๗๑ ลงวันท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๐ กลับหน้าแรก

คมู อื บัญชาการเหตุการณ สาํ หรบั ผวู า ราชการจังหวัด กรณอี ทุ กภยั หน้าท่ี 25 • มอบหมายให้ศูนยป์ ระสานการปฏบิ ัติ - แผน ปภ.ช. - องค์กรปกครอง ของศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จงั หวัด รวบรวม บทที่ 5 การจดั การ ส่วนท้องถนิ่ ข้อมลู ของอาสาสมัครองคก์ าร สาธารณกุศล ในภาวะฉกุ เฉิน - อำเภอ ภาคเอกชน และประชาชนจิตอาสารว่ มสนบั สนนุ แนวทางปฏิบตั ิ - สำนักงานป้องกัน ภารกิจในแต่ละพน้ื ท่ี โดยดำเนนิ การ ดังน้ี ในการจัดตัง้ องค์กร และบรรเทา - รบั รายงานตวั ปฏบิ ัติการจัดการ สาธารณภยั จังหวดั - แจง้ ประสานมอบหมายภารกิจ ในภาวะฉกุ เฉนิ - คณะทำงานพฒั นา - ตดิ ตามผลการปฏิบตั ิงาน หนงั สอื ที่ มท 0608/ งานก้ภู ัยองค์การ - สนบั สนุนการปฏบิ ัติภารกิจ ว 11543 ลงวนั ท่ี 19 สาธารณกศุ ล - จัดทำแผนถอนกำลัง พฤศจกิ ายน 2558 จงั หวดั - รวบรวมข้อมลู และผลการปฏิบัตงิ าน ของศูนยป์ ระสานการปฏิบตั ิ ของศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์อำเภอ รายงานข้อมูลให้ บกปภ.ช ทราบ 3) ภารกจิ ดา้ นการใช้ทรัพยากร/เครอ่ื งจกั รกล หนว่ ยทรัพยากร สาธารณภัย ของศนู ยบ์ ญั ชาการ •หน่วยทรพั ยากรใน ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์ เหตกุ ารณ์จงั หวัด จงั หวดั ทำการรวบรวมฐานทรพั ยากร จากหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องภายในจังหวดั •ติดตามสถานะของทรัพยากรทีล่ งไปปฏบิ ตั ิการ ในพน้ื ที่ •วางแผนการจดั สง่ กำลงั สนบั สนนุ หากมี ความจำเป็น •วางแผนการสับเปล่ียนกำลงั 4) ภารกจิ ดา้ นการชว่ ยเหลือและบรรเทาทุกข์ - ระเบียบกระทรวง - จังหวดั /อำเภอ/ ระยะเผชิญเหตุ มหาดไทย วา่ ด้วย องคก์ รปกครอง • การใหค้ วามชว่ ยเหลือและบรรเทาทุกข์ ผปู้ ระสบภยั ในระยะแรกจะใช้จ่ายจากเงิน ค่าใช้จ่าย ส่วนทอ้ งถ่นิ / งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เพื่อช่วยเหลอื สำนกั งานปอ้ งกนั • กรณีงบประมาณขององค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิน่ ไมเ่ พียงพอหรอื เกินขีดความสามารถ ประชาชนตามอำนาจ และบรรเทา หนา้ ทขี่ ององค์กร สาธารณภัยจังหวดั ปกครองส่วนท้องถ่ิน กลบั หนา้ แรก

คูมือบัญชาการเหตกุ ารณ สาํ หรบั ผูวา ราชการจงั หวดั กรณอี ุทกภัย หน้าท่ี 26 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวดั จะใชจ้ ่าย พ.ศ. 2560 และ จากเงินทดรองราชการตามระเบยี บกระทรวง ทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเตมิ การคลังฯ ด้านการบรรเทาในวงเงนิ 20 ล้าน (ฉบบั ท่ี 2) ทัง้ นี้ การใช้จา่ ยเงนิ ทดรองดังกลา่ วจะสามารถ พ.ศ. 2561 ใชไ้ ด้เม่ือมีการประกาศเขตการให้ - ระเบยี บกระทรวง ความชว่ ยเหลือฯ โดยสามารถใหค้ วามชว่ ยเหลือ การคลัง ว่าด้วย เปน็ ด้านตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เงินทดรองราชการ - ด้านการดำรงชีพ เพื่อช่วยเหลอื - ดา้ นสงั คมสงเคราะห์ ผ้ปู ระสบภัยพิบตั ิ - ด้านการแพทย์และการสาธารณสขุ - ดา้ น กรณีฉุกเฉนิ การเกษตร (ด้านพชื , ด้านประมง, พ.ศ. 2562 ดา้ นปศุสตั ว์) - หลักเกณฑ์การใช้ - ด้านบรรเทาสาธารณภัย จ่ายเงินทดรอง - ด้านการปฏบิ ตั ิงานใหค้ วามช่วยเหลอื ราชการ ผู้ประสบภยั เพอื่ ช่วยเหลือ • กรณมี ผี ู้เสยี ชวี ิตจากเหตุการณส์ าธารณภัย ผู้ประสบภยั พิบัติ กรณีฉุกเฉนิ จังหวัดเร่งดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจรงิ พ.ศ. 2563 และดำเนนิ การใหค้ วามช่วยเหลอื ตามระเบียบฯ - ประกาศกรมป้องกัน และหลกั เกณฑ์ฯ โดยเร็วในระหวา่ ง และบรรเทา เกิดสถานการณภ์ ัยพบิ ัติในพืน้ ท่ี ผวจ.สามารถ สาธารณภยั เร่อื ง ร้องขอรบั การสนบั สนุนการชว่ ยเหลอื หลักเกณฑ์ วิธีการ และสงเคราะหผ์ ูป้ ระสบภยั จากกรม ปภ. ในเรอ่ื ง และเง่อื นไขการใช้ ส่งิ ของสำรองจา่ ย/การสนับสนุนวสั ดุอุปกรณ์ จ่ายเงินทดรอง เครอื่ งจักรสาธารณภัย ภายในวงเงนิ ทดรอง ราชการในเชิงปอ้ งกัน ราชการฯ ในอำนาจของอธบิ ดกี รม ปภ. หรอื ยับย้งั ภยั พบิ ัติ กรณฉี ุกเฉนิ ลงวันท่ี 11 กุมภาพนั ธ์ 2563 กลบั หนา้ แรก

คูม ือบัญชาการเหตุการณ สําหรบั ผวู า ราชการจงั หวดั กรณีอุทกภัย หนา้ ที่ 27 5) ภารกจิ ดา้ นการสือ่ สารและประชาสัมพันธข์ ้อมูล ขา่ วสาร การจดั ตั้งศนู ยข์ ้อมูลข่าวสารร่วม (JIC) ระดับ - แผน ปภ.ช. ประชาสมั พันธ์ จงั หวัด บทท่ี 5 การจัดการ จังหวัด สั่งการให้จัดตงั้ ศนู ย์ข้อมูลข่าวสารร่วม ในภาวะฉุกเฉิน 5.2 (Joint Information Center :JIC) ระดับจังหวัด กลยทุ ธ์การจัดการ ณ ศูนย์บัญชาการฯ /สำนกั งานประชาสัมพันธ์ ในภาวะฉุกเฉิน (2) จงั หวัด หรือสถานที่ที่เหมาะสมในการบริหาร แนวทางปฏิบัติ สถานการณเ์ พื่อเปน็ ศูนย์กลางบูรณาการข้อมูล ในการจัดต้ังองค์กร ข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉิน ปฏิบัตกิ ารจดั การ ทมี่ เี อกภาพ โดยผู้แทนหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ในภาวะฉุกเฉนิ ตามโครงสร้างศูนย์บัญชาการฯ ระดับจงั หวดั (โครงสร้าง จะประสานข้อมลู และสนบั สนุนการปฏิบัติงาน ศนู ยบ์ ญั ชาการ ของศูนย์ข้อมลู ข่าวสารรว่ ม เหตกุ ารณ)์ ประชาสมั พันธ์จังหวัดหรือผู้แทนกรม - คูม่ ือการปฏบิ ตั ิงาน ประชาสมั พันธ์ ประชาสัมพันธ์ท่ีอธบิ ดีกรมประชาสัมพันธ์ ของหวั หน้าชุด จงั หวัด มอบหมาย หรือผู้ทผ่ี ้บู ัญชาการเหตุการณ์ ประชาสัมพันธ์ มอบหมายเป็นหัวหน้าชุดประชาสมั พันธ์ ศนู ยข์ อ้ มลู ข่าวสารรว่ ม ภายใต้ระบบบญั ชาการ เหตุการณ์ พ.ศ. 2562 (กรมประชาสัมพันธ์) การปฏบิ ตั ิงานของศูนย์ขอ้ มูลขา่ วสารร่วม (JIC) - แผน ปภ.ช. - ประชาสมั พนั ธ์ ระดบั จงั หวัด บทที่ 5 การจดั การ จังหวัด  ผอู้ ำนวยการจงั หวดั ควบคุมการปฏบิ ัติ ในภาวะฉุกเฉิน 5.2 เป็นหนว่ ยหลกั ของศูนยข์ ้อมูลข่าวสารรว่ ม (JIC) ระดับจงั หวดั กลยุทธ์การ จัดการ - สำนกั งานป้องกัน รวมถึงกำหนดรูปแบบการปฏิบัตงิ าน ในภาวะฉุกเฉิน (2) และบรรเทา ของศูนยฯ์ เพื่อให้การสอ่ื สารประชาสมั พนั ธ์ แนวทางปฏิบัติ สาธารณภัยจังหวัด เป็นไปตามแนวทางที่กำหนด ประกอบด้วย ในการจัดต้ังองคก์ ร เป็นหน่วยสนับสนนุ - พิจารณากำหนดทิศทางประเดน็ เนอื้ หาขา่ ว ปฏิบตั กิ ารจัดการ ในภาวะฉุกเฉนิ รวมถึงรูปแบบและช่องทางการสือ่ สาร (โครงสร้าง ประชาสัมพนั ธ์ข้อมลู ขา่ วสาร เช่น ศนู ยบ์ ัญชาการ การแถลงขา่ ว การให้สมั ภาษณ์ การรายงาน กลบั หน้าแรก

คมู ือบัญชาการเหตุการณ สําหรบั ผวู าราชการจงั หวัด กรณอี ุทกภยั หน้าที่ 28 ขา่ วด่วน การใชส้ ่ือโซเชยี ลมเี ดยี การเผยแพร่ เหตุการณ์) ข่าวแจกแกส่ ่ือมวลชน และเครือขา่ ย - คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน ประชาสมั พันธใ์ นพ้ืนท่ี เป็นตน้ ศนู ยข์ ้อมลู ขา่ วสารร่วม - แต่งตงั้ โฆษกเหตกุ ารณ์ หรือผวู้ า่ ราชการจังหวดั ภายใต้ระบบบัญชาการ เปน็ ผกู้ ำหนด อยา่ งนอ้ ย 1 คน เหตุการณ์ พ.ศ. 2562 เพ่ือทำหน้าท่ีแถลงข่าว ให้สมั ภาษณ์ และ (กรมประชาสมั พันธ์) ตอบคำถามของสอ่ื มวลชน เพอื่ ให้ การเผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารเปน็ ไปในทิศทาง เดยี วกนั ป้องกนั ข่าวลอื และ Fake News - มอบหมายผู้มีอำนาจอนุมัติข้อมูลข่าวสาร ท่ีเผยแพรแ่ ก่สื่อมวลชนและสาธารณชน เพอ่ื ให้ข้อมูลขา่ วสารทเี่ ผยแพรอ่ อกไป มคี วามถูกต้อง เป็นข้อมูลชดุ เดียว และ ตรวจสอบขอ้ มูลได้ •การปฏิบตั ิงานของศนู ย์ข้อมูลข่าวสารร่วม (JIC) ไดแ้ ก่ - สรา้ งการรบั รแู้ ละสื่อสารตอ่ สาธารณะ - บันทึกภาพน่งิ และภาพเคล่ือนไหว ของวกิ ฤตการณ์ - กระจายข้อมลู ข่าวสารของสถานการณ์ ให้หนว่ ยงานทร่ี ่วมปฏิบัตแิ ละผมู้ สี ว่ นได้เสีย รับรแู้ ละเขา้ ใจสถานการณ์ทถ่ี ูกต้องตรงกัน - ให้ข้อมูลขา่ วสารแก่สาธารณชน - ผลติ สื่อต่างๆ เพอื่ ส่อื สารข้อมลู ทถี่ ูกตอ้ ง สามารถเผยแพรไ่ ด้ทนั เวลา - อำนวยความสะดวกตอ่ สื่อมวลชนและจดั การ ควบคุมขา่ วลือที่เกี่ยวขอ้ งกับเหตุการณ์ กลับหน้าแรก

คูมอื บัญชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผวู าราชการจงั หวดั กรณอี ุทกภัย หนา้ ที่ 29 การยุตกิ ารปฏิบตั งิ านของศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสาร - แผน ปภ.ช. - ประชาสมั พนั ธ์ ร่วม (JIC) ระดับจงั หวดั บทที่ 5 การจัดการ จงั หวัด  เม่อื เหตกุ ารณค์ ล่คี ลาย/เข้าสู่ภาวะปกติ หรือ ในภาวะฉุกเฉนิ 5.2 เป็นหน่วยหลัก สอ่ื มวลชนหรือประชาชนลดทอนความสนใจ กลยุทธ์การจัดการ - สำนกั งานปอ้ งกัน ในเหตุการณ์ ผูบ้ ัญชาการเหตุการณ์สามารถ ในภาวะฉุกเฉิน (2) และบรรเทา พิจารณาตดั สินใจยุตกิ ารปฏิบัตงิ าน แนวทางปฏบิ ตั ิ สาธารณภยั จังหวัด ของศูนยข์ ้อมูลข่าวสารร่วม ตามท่ีหัวหน้าชดุ ในการจดั ตงั้ องคก์ ร เปน็ หน่วยสนับสนุน ประชาสัมพันธ์เสนอ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ประจำ ปฏิบัติการจดั การ ศนู ย์จะดำเนินการตามแนวทางการปฏิบตั ิ ในภาวะฉุกเฉนิ ทีก่ ำหนดต่อไป (โครงสรา้ ง ศนู ยบ์ ัญชาการ เหตุการณ์) - ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ าน ศนู ยข์ ้อมลู ข่าวสารรว่ ม ภายใตร้ ะบบบญั ชาการ เหตุการณ์ พ.ศ.2562 (กรมประชาสมั พันธ์) การแปรสภาพเปน็ ศูนยข์ ้อมูลขา่ วสารร่วม - แผน ปภ.ช. - ประชาสมั พนั ธ์ (JIC) ส่วนหน้า บทที่ 5 การจดั การ จังหวดั  เมื่อศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณจ์ งั หวัด แปรสภาพ ในภาวะฉุกเฉิน 5.2 เปน็ หน่วยหลกั เปน็ ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวดั กลยทุ ธ์การจัดการ - สำนักงานปอ้ งกัน ศูนย์ข้อมลู ข่าวสารร่วม (JIC) ระดบั จังหวดั ในภาวะฉุกเฉิน (2) และบรรเทา จะแปรสภาพเปน็ ศนู ยข์ ้อมูลข่าวสารร่วม (JIC) แนวทางปฏิบัติ สาธารณภัยจังหวดั สว่ นหนา้ ในการจดั ต้ัง เปน็ หนว่ ยสนบั สนุน  ผูอ้ ำนวยการจังหวัดควบคุมการปฏบิ ัตงิ าน องคก์ รปฏิบตั ิการ ของศนู ยข์ ้อมูลขา่ วสารร่วมสว่ นหน้าให้สอดคล้อง จัดการในภาวะ กับการบริหารสถานการณ์และประสานเชือ่ มโยง ฉกุ เฉนิ (โครงสรา้ ง การปฏิบัตงิ านร่วมกับกองบัญชาการป้องกนั ศนู ยบ์ ัญชาการ และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตไิ ด้อย่างมี เหตกุ ารณ)์ ประสทิ ธภิ าพ (กรมประชาสมั พนั ธ์อาจพจิ ารณา - คู่มือการปฏิบัติงาน มอบหมาย/แต่งต้ังผู้ปฏิบตั ิหนา้ ทหี่ ัวหน้าชุด ศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วม ประชาสัมพนั ธ์/โฆษกเหตกุ ารณ์/ผ้มู ีอำนาจอนุมตั ิ ภายใต้ระบบบัญชาการ ขอ้ มูลขา่ วสารใหม่ได้ตามความเหมาะสม) เหตุการณ์ พ.ศ.2562 กลบั หนา้ แรก

คมู อื บญั ชาการเหตุการณ สําหรับผูวาราชการจงั หวดั กรณอี ทุ กภัย หน้าที่ 30 6) ภารกจิ ดา้ นรับบริจาค - - คู่มอื ในการ สำนกั งานจงั หวัด/  ขอรบั ความชว่ ยเหลอื จากกองทุนเงนิ ชว่ ยเหลอื ปฏบิ ัติงานการรับ สำนกั งานคลัง ผปู้ ระสบสาธารณภยั สำนักนายกรัฐมนตรี บรจิ าคและการให้ จงั หวัด/สำนักงาน  จัดตั้งศูนย์รบั บริจาคเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัย ความช่วยเหลือ ป้องกันและบรรเทา - บริหารจัดการส่ิงของบริจาค ผปู้ ระสบภยั เมื่อเกิด สาธารณภยั จงั หวดั - เมอื่ สิ้นสุดสถานการณ์ภัย ปิดศูนยร์ ับบริจาคฯ สาธารณภัย  มอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบในการบริหาร พ.ศ. 2555 สง่ิ ของบริจาค 7) ภารกิจด้านการต่างประเทศ - แผน ปภ.ช. • ประสานและสนับสนุนการดำเนินการ ใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภัยทเี่ ปน็ ชาวตา่ งประเทศและญาติของผู้ประสบภัย • เสนอตอ่ บกปภ.ช. กรณที ่จี ำเปน็ ต้องขอรับ การสนบั สนนุ จากรฐั บาลต่างประเทศ องค์กร ระหวา่ งประเทศ และองคก์ รพัฒนาเอกชน ระหวา่ งประเทศ • กำหนดแนวทางร่วมกับ บกปภ.ช. ในการอำนวยความสะดวกในการนำเข้า ทรัพยากรจากตา่ งประเทศและการสง่ กลับ 8) ภารกจิ ดา้ นประสานการใหค้ วามช่วยเหลอื - ระเบยี บกระทรวง - กรมป้องกนั และ จากหนว่ ยตา่ งๆ มหาดไทยว่าดว้ ย บรรเทาสาธารณภยั (1) องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ในพื้นท่ีประสบ ค่าใช้จา่ ย - สำนักงานปอ้ งกนั สาธารณภยั เพ่ือช่วยเหลอื และบรรเทา (2) สำนักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ประชาชน สาธารณภยั จงั หวัด จังหวดั ตามอำนาจหน้าท่ี - สำนักงานจังหวดั (3) ส่วนราชการต่างๆ ในพน้ื ที่ ขององคก์ รปกครอง - สำนักงานคลัง (4) กรม ปภ. วงเงินทดรองราชการ ในอำนาจ ส่วนทอ้ งถ่ิน จงั หวดั อธิบดกี รม ปภ.ในกรณจี ังหวดั รอ้ งขอรบั การ พ.ศ. 2560 - อำเภอ สนับสนุน - ระเบยี บกระทรวง - ทอ้ งถิน่ - ทรัพยากรเคร่ืองจักรกลสาธารณภัย การคลังวา่ ด้วยเงนิ ด้านป้องกันและ - สิง่ ของสำรองจา่ ย ทดรองฯ พ.ศ. 2562 บรรเทาสาธารณภัย (5) องคก์ รการกศุ ล - พรบ. ปภ. พ.ศ. 2550 หวั หนา้ สำนักงาน -มลู นิธริ าชประชานเุ คราะห์ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ มาตรา 30 ปอ้ งกันและบรรเทา กลับหนา้ แรก

คูมือบัญชาการเหตุการณ สําหรบั ผูวาราชการจังหวดั กรณีอทุ กภัย หน้าท่ี 31 พจิ ารณาการจ่ายเงินชว่ ยเหลือจากเงนิ สำรอง - แผน ปภ.ช. สาธารณภยั จงั หวัด จา่ ยของมลู นิธฯิ ท่ีมอี ยู่ทางจังหวัด ไดแ้ ก่ บทท่ี 3 กรรมการและผูช้ ว่ ย - สำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั - ระเบยี บกระทรวง ฝ่ายเลขานุการ จงั หวดั จำนวน 300,000 บาท (ดา้ นป้องกัน การคลงั ว่าด้วยเงนิ ฝ่ายบรรเทาทุกข์ และบรรเทาสาธารณภัย) ทดรองราชการ มูลนิธิราชประชา - สำนกั งานพม.จ. จำนวน 200,000 บาท เพื่อช่วยเหลอื นเุ คราะหป์ ระจำจงั หวัด (ดา้ นการชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ตั ิ ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ ดา้ นการชว่ ยเหลือ ในระยะฟน้ื ฟ)ู กรณีฉุกเฉิน ผปู้ ระสบภัยในระยะ ด้านปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2562 ฟื้นฟู  ผู้ประสบภัยไม่เกิน 200 ครอบครัว - หลักเกณฑ์การใช้ - สำนกั งานพฒั นา จงั หวดั จดั ซอ้ื สิ่งของเครื่องอุปโภคบรโิ ภค จา่ ยเงนิ ทดรอง สงั คมและ ที่จำเป็นเพื่อเปน็ การบรรเทาความเดือดร้อน ราชการเพอื่ ชว่ ยเหลือ ความมนั่ คง เฉพาะหนา้ เปน็ สิง่ ของพระราชทานในนามมูลนธิ ิ ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ ของมนุษยจ์ งั หวัด ราชประชานเุ คราะห์ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ชุดละ กรณฉี ุกเฉิน - กรรมการ ไมเ่ กนิ 1,000 บาท พ.ศ. 2563 และผู้ช่วย  ผปู้ ระสบภยั มากกวา่ 200 ครอบครวั ให้แจง้ - - ขอ้ กำหนดกรม ปภ. เลขานุการ มูลนิธฯิ ทราบเป็นการดว่ น เพ่ือพจิ ารณา วา่ ดว้ ยวธิ ปี ฏิบตั ิ ฝ่ายสังคม ว่าจะขอใหม้ ลู นธิ ิฯ ส่งหนว่ ยสงเคราะห์ เกย่ี วกบั ส่งิ ของ สงเคราะห์มูลนิธิ ผปู้ ระสบภัยออกดำเนนิ การรว่ มกับจังหวัดหรอื ไม่ สำรองจ่ายชว่ ยเหลอื ราชประชา ดา้ นการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภัยในระยะฟ้ืนฟู ผ้ปู ระสบสาธารณภยั นเุ คราะหป์ ระจำ  เม่อื ชว่ ยเหลือบรรเทาความเดอื ดร้อน พ.ศ. 2547 จงั หวดั เฉพาะหนา้ ไปแล้ว สง่ เจา้ หนา้ ที่ไปเยยี่ ม - หลกั เกณฑ์ ผู้ประสบภยั โดยเฉพาะครอบครวั ท่ีมผี ้เู สียชีวติ การพจิ ารณา - สภากาชาดไทย รอ้ งขอรบั การสนบั สนนุ การจ่ายเงินสำรอง ผ่านกาชาดจงั หวัดในพ้นื ทปี่ ระสบภยั หรอื จ่ายมูลนิธิฯ ท่มี ีอยู่ ผ่าน Application : พ้นภัย ทางจงั หวดั ในการ (6) ภาคเอกชนต่าง ๆ ชว่ ยเหลือประชาชน ผู้ประสบภยั พิบตั ิ ต่าง ๆ กลบั หนา้ แรก

คูมอื บญั ชาการเหตกุ ารณ สาํ หรับผวู าราชการจังหวดั กรณอี ทุ กภัย หน้าที่ 32 9) แหล่งงบประมาณการให้ความช่วยเหลือ งบประมาณรายจา่ ยประจำปีของสว่ นราชการ - พระราชบญั ญัติวิธกี าร - สำนกั งานป้องกัน 1. กระทรวง/กรม (Function) งบประมาณ พ.ศ. 2561 และบรรเทา 2. งบประมาณเชงิ พนื้ ท่ี (Area) (มาตรา 14, 15) สาธารณภยั จังหวดั 2.1 จงั หวดั และกลมุ่ จังหวดั (Area) - พระราชบัญญตั ิวนิ ัย - สำนกั งานเกษตร 2.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ การเงนิ การคลงั ของรฐั จังหวัด 2.3 องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด พ.ศ. 2561 3. งบบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์ (Agenda) งบกลาง (มาตรา 27) 1. เงนิ ทดรองราชการตามระเบยี บ กระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพือ่ - ระเบยี บสำนัก ช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิกรณีฉกุ เฉิน นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ย 2. เงนิ สำรองจ่ายเพื่อกรณฉี ุกเฉนิ หรอื จำเปน็ การรับบริจาคและ เรง่ ด่วนทตี่ อ้ งดำเนินการโครงการตามนโยบาย การให้ความชว่ ยเหลอื รัฐบาล (นส.) ผ้ปู ระสบสาธารณภัย เงนิ นอกงบประมาณ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไข งบประมาณสนับสนุนจากองคก์ ร/หน่วยงานต่างๆ เพมิ่ เตมิ ภาคเอกชน ทั้งในประเทศและระหวา่ งประเทศ เช่น เงนิ บริจาค กองทนุ ฯลฯ - ระเบียบสำนกั แหล่งงบประมาณ (ชภ.) นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วย เงนิ ทดรองราชการเพื่อช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบัติ การเร่ียไร กรณีฉุกเฉิน ในอำนาจผ้วู ่าราชการจังหวัด ของหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2544 •เชงิ บรรเทาสาธารณภยั วงเงิน 20,000,000 บาท (ประกาศเขตการให้ความชว่ ยเหลอื ฯ) - ระเบียบกระทรวง การคลงั วา่ ด้วย เงินทดรองราชการในอำนาจ ผวจ. สามารถ การรบั เงินหรอื ดำเนนิ การช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยทกุ ด้าน เว้นแต่ ทรัพย์สินที่มีผู้บรจิ าค การใหค้ วามชว่ ยเหลือดา้ นสงั คมสงเคราะหฯ์ ใหท้ างราชการ ดา้ นการเกษตร ด้านการแพทยฯ์ ใหเ้ ปน็ อำนาจ พ.ศ. 2526 หน้าทข่ี องสว่ นราชการน้นั ๆ แล้วแต่กรณี - ระเบยี บกระทรวง การคลังว่าด้วย เงนิ ทดรองราชการ เพ่ือช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ กรณฉี ุกเฉิน พ.ศ. 2562 กลบั หน้าแรก

คมู อื บญั ชาการเหตุการณ สําหรบั ผวู าราชการจงั หวดั กรณีอทุ กภัย หน้าท่ี 33 - หลักเกณฑก์ ารใช้ จ่ายเงินทดรอง ราชการเพือ่ ชว่ ยเหลือ ผปู้ ระสบภัยพบิ ัติ กรณฉี ุกเฉิน พ.ศ. 2563 - หลักเกณฑว์ ธิ ีการ ปฏิบตั ิปลกี ย่อย เกี่ยวกบั การให้ ความชว่ ยเหลือ ดา้ นการเกษตร ผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 10) ตดิ ตามการปฏิบตั ิ ปรบั แผน รายงานผล แผน ปภ.ช. หน่วยงานดำเนินการ จนกว่าสถานการณจ์ ะคลค่ี ลาย บทที่ 5 แนวทางปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงาน •ให้ศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จังหวดั ตดิ ตาม ในการรายงานขอ้ มลู ในศนู ยบ์ ัญชาการ การปฏิบตั ติ ามข้อสั่งการ นโยบาย แนวทาง และ มาปรบั ใช้ เหตกุ ารณ์จงั หวดั มาตรการ ในการแก้ไขปัญหาสาธารณภยั ในพื้นท่ี ทเ่ี กดิ เหตุอย่างต่อเน่ือง •หากพบปญั หาอปุ สรรคในการปฏิบตั งิ าน ใหห้ นว่ ยงานใน ศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณจ์ ังหวัด ร่วมประชมุ หารือ เพ่ือปรบั แผนปฏบิ ตั งิ าน ใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ เชน่ การแบ่งมอบ พืน้ ท่ี การแบง่ มอบภารกจิ การสับเปล่ียน กำลงั คน การสนบั สนนุ ทรัพยากรเพิ่มเตมิ เปน็ ต้น •ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณจ์ ังหวัด จัดทำสรปุ สถานการณ์และรายงานผลการดำเนินการแกไ้ ข ปญั หาสาธารณภัยที่เกิดข้ึนให้กองอำนวยการ ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กลางทราบ อยา่ งต่อเนือ่ งจนกว่าสถานการณ์จะเขา้ สู่ภาวะ ปกติ กลบั หน้าแรก

คมู ือบญั ชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผูว า ราชการจงั หวัด กรณีอุทกภยั หนา้ ที่ 34 11) จดั ต้ังศูนยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณ์ ณ พืน้ ที่ เกดิ เหตุ (ICP) (ถา้ ม)ี กรณที ่ีมีความจำเปน็ ต้องมกี ารควบคุม สั่งการ แผน ปภ.ช. หนว่ ยงานดำเนินการ ในการตอบโตส้ ถานการณ์ อย่างใกล้ชดิ ผอู้ ำนวยการจังหวัด สามารถต้งั จัดต้งั บทที่ 5 แนวทางปฏบิ ตั ิ หน่วยงาน ในการรายงานขอ้ มลู ในศนู ยบ์ ัญชาการ ศนู ย์บญั ชาการเหตุการณ์ ณ พน้ื ท่เี กิดเหตุ (ICP) เหตุการณจ์ ังหวัด โดย ผอู้ ำนวยการจังหวัด สัง่ ให้ สำนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด (1) พจิ ารณาเลอื กสถานท่ีซง่ึ เปน็ ทต่ี ั้ง ของศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์ ณ พืน้ ท่ี เกดิ เหตุ (ICP) - ผบู้ ัญชาการเหตุการณส์ ามารถมองเหน็ ภาพรวม การปฏบิ ัติการ - มีความปลอดภยั จากผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขึน้ จากสาธารณภัยนน้ั ๆ - มพี ืน้ ท่ีเพียงพอที่จะปฏบิ ตั ิงานได้ - อาจเปน็ เต้นท์ ไม่จำเป็นต้องตัง้ อย่ภู ายใน อาคารก็ได้ - เป็นพ้ืนท่ีทห่ี นว่ ยสนบั สนนุ ต่างๆ จะสามารถ เขา้ ถงึ ไดโ้ ดยง่าย เชน่ อาหาร นำ้ ดืม่ ฯลฯ (2) จัดเตรียมระบบไฟฟ้า สถาปนาระบบสื่อสาร (3) จัดเตรยี มพื้นท่นี ำเสนอข้อมลู เช่น แผนท่ี จำนวนทรพั ยากร ขอ้ มลู ผบู้ าดเจ็บ/รอดชีวติ ฯลฯ (4) ผูอ้ ำนวยการจังหวดั จะบัญชาการเอง ณ ICP หรอื มอบหมายให้ ผู้อำนวยการ อำเภอ/ผอู้ ำนวยการท้องถิ่น บญั ชาการ ในพืน้ ท่ีตามแนวทางท่ีผอู้ ำนวยการจงั หวดั มอบหมายก็ได้ กลบั หนา้ แรก

คมู ือบญั ชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผวู าราชการจังหวดั กรณอี ุทกภัย หน้าท่ี 35 2.3 การจดั การ • สง่ั การให้ส่วนอำนวยการ ของ ศบก.จ. (ปภ.) แผน ปภ.ช. สำนักงานป้องกันและ สาธารณภัยระดับ 3 รวบรวมข้อมลู สถานการณท์ เ่ี กดิ ขึ้น บรรเทาสาธารณภัย 2.3.1. การรายงาน เพื่อประกอบการพจิ ารณาเสนอ กอปภ.ก. จังหวดั กอปภ.ก. ให้ยกระดับ ไดแ้ ก่ เพื่อพจิ ารณายกระดบั - ขอ้ มูลพื้นท่ีประสบภยั - แผน ปภ.ช. สำนักงานป้องกันและ สาธารณภัย - ประชากรผู้ไดร้ ับผลกระทบ บรรเทาสาธารณภยั - ความซับซอ้ นของอุทกภยั จังหวดั 2.3.2 เมอื่ มีประกาศ - ศักยภาพด้านทรัพยากรของพื้นท่ี และ ยกระดบั สาธารณภยั ความสามารถในการรับมือกับอุทกภัย ระดบั 3 จดั ทำหนังสอื จากผอู้ ำนวยการจงั หวัด ถึง อปภ. ในฐานะผอู้ ำนวยการกลาง เพ่ือขอยกระดบั การจัดการสาธารณภยั เนือ่ งจากจังหวดั ต้องการ - แผน ปภ.ช. สำนักงานป้องกันและ การสนบั สนนุ ทรพั ยากรเพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ในการจัดการอุทกภยั บทที่ 5 แนวทาง บรรเทาสาธารณภยั ให้ศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จังหวดั เป็นหน่วย ปฏบิ ัตขิ ึ้นตรงการบงั คับบญั ชาและสงั่ การ ปฏิบัตใิ นการ จังหวัด จาก บกปภ.ช. โดยปฏิบตั ติ ามขอ้ สง่ั การ ท่ี บกปภ.ช.กำหนด ตัดสนิ ใจยกระดบั การแปรสภาพ ศูนยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณ์ จงั หวดั ไปเปน็ ศูนย์บัญชาการเหตกุ ารณ์ การจัดการ ส่วนหนา้ จงั หวัด สาธารณภัยมาปรับใช้ • เม่ือมีการยกระดบั เปน็ การจดั การสาธารณภยั ขนาดใหญ่(ระดบั 3) หรอื การจดั การสาธารณภัย รา้ ยแรงอย่างยิ่ง (ระดับ 4 ) ใหศ้ นู ยบ์ ัญชาการ เหตกุ ารณ์จงั หวดั แปรสภาพเป็นศูนยบ์ ัญชาการ เหตุการณส์ ่วนหน้าจังหวดั ใหส้ ว่ นอำนวยการของศนู ย์บัญชาการเหตุการณ์ จังหวดั (สำนักงานปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภยั จงั หวัด) จดั ทำคำสงั่ ศูนย์บัญชาการ เหตกุ ารณส์ ่วนหน้าจงั หวดั กำหนดโครงสรา้ ง การทำงานโดยปรับให้สอดคล้องกับการบรหิ าร สถานการณ์ กลับหนา้ แรก

คูม อื บัญชาการเหตุการณ สําหรับผวู า ราชการจังหวดั กรณอี ทุ กภยั หน้าที่ 36 2.3.3 กรณี การปฏบิ ตั งิ านศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์ แผน ปภ.ช. - องคก์ รปกครอง มีการจดั ตง้ั บกปภ.ช. ส่วนหน้าจงั หวัด - แผน ปภ.ช. สว่ นท้องถิน่ สว่ นหน้า - อำเภอ • ผู้อำนวยการจงั หวดั อำนวยการ ควบคุม - สำนักงานจังหวดั ปฏิบัติงาน และประสานการปฏบิ ัติเก่ียวกบั การ - สำนักงานปอ้ งกนั จดั การอุทกภยั ในพน้ื ที่ ตามมาตรการและ และบรรเทา แนวทางของ กอปภ.ก. หรือ บกปภ.ช. กำหนด สาธารณภยั จังหวัด • มอบหมาย สำนักงานป้องกนั และบรรเทา สำนักงานป้องกันและ สาธารณภัยจงั หวดั ทำหน้าทปี่ ระสาน บกปภ.ช. บรรเทาสาธารณภัย รับขอ้ สั่งการ ประสานการรายงานข้อมลู ดำเนนิ จงั หวัด เรอื่ งตามท่ี บกปภ.ช. ส่งั กำหนดพนื้ ที่ศูนย์กลางในการระดมสรรพกำลัง และทรัพยากรท่ีไดร้ บั การสนบั สนุน เพ่ือจัดการ อทุ กภัย •ให้ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์จังหวดั ปฏบิ ัตกิ าร ตามทิศทางทผี่ ู้กำกับควบคมุ พืน้ ท่ีกำหนด ซึ่งเปน็ ไปตามข้อส่งั การจาก บกปภ.ช. หรอื •ใหศ้ ูนย์บญั ชาการเหตุการณ์จังหวดั ปฏบิ ัติการ ตามแผนเผชญิ เหตทุ ่ีผ้กู ำกบั ควบคมุ พื้นทส่ี ่งั การ เสมือนเป็นหน่วยปฏิบตั ขิ ้นึ ตรงกับ บกปภ.ช. (สว่ นหน้า) กลบั หนา้ แรก

คมู อื บัญชาการเหตุการณ สําหรบั ผวู าราชการจงั หวัด กรณีอุทกภัย หนา้ ท่ี 37 ระยะที่ 3 เมือ่ ภัยยตุ ิ หัวข้อหลัก คำอธิบาย แหลง่ อา้ งองิ หน่วยรบั ผดิ ชอบ เมื่อสถานการณใ์ กลเ้ ข้าสภู่ าวะปกติ หรอื สถานการณย์ ุตแิ ล้ว ให้ดำเนินการดา้ นการให้ความช่วยเหลือฟน้ื ฟูเยียวยา โดยผู้วา่ ราชการจงั หวดั ส่ังการใหห้ นว่ ยงานที่มภี ารกิจในการสงเคราะหช์ ว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภยั ใหค้ วามช่วยเหลอื ตามอำนาจหนา้ ท่ที ีเ่ กีย่ วข้อง ดังน้ี 1. ประสานหน่วยงานตา่ ง ๆ ใหค้ วามช่วยเหลอื 1.1 มลู นิธิราชประชานุ พจิ ารณาการจา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลือจากเงินสำรองจ่าย - หลกั เกณฑ์ - ดา้ นป้องกนั และ เคราะห์ในพระบรม ของมูลนิธฯิ ทมี่ ีอยู่ทางจังหวัด ไดแ้ ก่ การพจิ ารณา บรรเทาสาธารณภยั ราชูปถัมภ์ - สนง.ปภ.จ. จำนวน 300,000 บาท การจ่ายเงนิ สำรอง สำนักงานปอ้ งกัน - สนง.พม.จ. จำนวน 200,000 บาท จ่ายมูลนิธิฯ ท่ีมีอยู่ และบรรเทา ด้านปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางจังหวดั ในการ สาธารณภัยจังหวัด  ผู้ประสบภัยไมเ่ กนิ 200 ครอบครัว ชว่ ยเหลอื ประชาชน เป็นกรรมการและผชู้ ว่ ย จงั หวัดจัดซื้อสง่ิ ของเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคทจี่ ำเปน็ ผปู้ ระสบภัยพิบตั ิ ฝา่ ยเลขานุการฝ่าย เพ่ือเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า ตา่ งๆ บรรเทาทกุ ข์ มลู นิธิ เปน็ สิง่ ของพระราชทาน ในนามมลู นิธิราชประชา ราชประชานเุ คราะห์ นุเคราะห์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ชดุ ละไม่เกนิ ประจำจงั หวัด 1,000 บาท - ด้านการชว่ ยเหลอื  ผ้ปู ระสบภัยมากกว่า 200 ครอบครวั ให้แจง้ ผ้ปู ระสบภยั ในระยะ มูลนิธฯิ ทราบเป็นการด่วน เพ่ือพจิ ารณา ฟ้นื ฟู วา่ จะขอให้มูลนิธิฯ สง่ หน่วยสงเคราะห์ - สำนักงานพัฒนา ผปู้ ระสบภยั ออกดำเนินการร่วมกบั จงั หวดั หรือไม่ สังคมและความมั่นคง ดา้ นการชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย ในระยะฟื้นฟู ของมนุษย์จังหวัด  เมอื่ ชว่ ยเหลอื บรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะ เป็นกรรมการและ หนา้ ไปแลว้ สง่ เจา้ หน้าท่ีไปเยี่ยมผู้ประสบภัย ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร โดยเฉพาะครอบครวั ท่มี ีผู้เสยี ชีวิต - ฝา่ ยสังคมสงเคราะห์ มลู นธิ ิราชประชา นเุ คราะห์ประจำ จังหวดั 1.2 กระทรวงแรงงาน  ยืน่ คำขอรบั ประโยชน์ทดแทนทีส่ ำนกั งาน - พระราชบัญญัติ สำนักงานแรงงาน สำนักงานประกนั สงั คม ประกนั สังคม ประกนั สงั คม จังหวัด พ.ศ. 2533 และท่แี ก้ไข เพ่ิมเตมิ กลบั หนา้ แรก

คูมือบัญชาการเหตุการณ สาํ หรับผวู าราชการจังหวัด กรณีอุทกภยั หนา้ ท่ี 38 หัวข้อหลัก คำอธบิ าย แหล่งอ้างอิง หน่วยรบั ผิดชอบ - ผปู้ ระกนั ตน/ผู้มี สทิ ธย์ิ ืน่ คำขอ 1.3 กระทรวงการคลงั ย่นื คำขอรับเงนิ สงเคราะห์ โดยคณะกรรมการ - พระราชบัญญัติ สำนักงานจงั หวดั สงเคราะห์ผปู้ ระสบภยั พิจารณาจา่ ยเงิน สงเคราะห์ สำนักงานจงั หวดั 1.4 สำนัก ผู้ประสบภัย นายกรัฐมนตรี  ย่ืนขอรบั ความช่วยเหลือจากกองทนุ เงิน เนื่องจากชว่ ยเหลือ ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย ราชการ สำนักนายกรฐั มนตรี โดยสำนักงานจงั หวดั การปฏบิ ัติงาน รวบรวมและนำสง่ ไปยังปลัดสำนกั นายกรัฐมนตรี ของชาติ หรือการปฏิบตั ิ ตามหน้าท่ี มนุษยธรรม พ.ศ. 2543 - ผปู้ ระสบภัย หรอื ทายาท - ระเบยี บสำนัก นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการรับ บริจาคและการให้ ความชว่ ยเหลือ ผ้ปู ระสบ สาธารณภัย พ.ศ. 2542 และ ทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม - ผู้ประสบภยั - ส่วนราชการ ท่ีเก่ียวข้องหรอื มหี น้าที่รับผดิ ชอบ - สำนักงานจงั หวัด กลบั หนา้ แรก

คมู อื บัญชาการเหตุการณ สาํ หรับผูวาราชการจังหวดั กรณีอทุ กภัย หน้าท่ี 39 หัวข้อหลัก คำอธิบาย แหลง่ อา้ งอิง หนว่ ยรับผิดชอบ 1.5 กระทรวงยตุ ิธรรม  ย่ืนคำขอต่อคณะกรรมการพิจารณา สำนักงานจังหวดั (กรมคุ้มครองสทิ ธแิ ละ ค่าตอบแทนผเู้ สียหาย และค่าทดแทนและ - พระราชบญั ญัติ เสรีภาพ) คา่ ใช้จ่ายแกจ่ ำเลยในคดีอาญา ค่าตอบแทน กระทรวงการท่องเทีย่ ว ผเู้ สียหาย และ และกีฬาจังหวัด 1.6 กระทรวง  ยน่ื คำขอรบั การเยยี วยาจากกองทนุ ชว่ ยเหลือ คา่ ทดแทนและ การท่องเที่ยวและกฬี า เยียวยานกั ท่องเทยี่ วต่างชาติ โดยคณะกรรมการ ค่าใชจ้ ่ายแก่จำเลย สำนักงานพฒั นาสงั คม บริหารกองทนุ ชว่ ยเหลือเยียวยานกั ท่องเท่ียว ในคดีอาญา และความม่นั คงของ 1.7 กระทรวง ต่างชาติ พจิ ารณาจ่ายเงนิ พ.ศ. 2544 มนุษยจ์ งั หวดั การพฒั นาสงั คมและ - ผู้เสยี หาย จำเลย ความมน่ั คงของมนษุ ย์  ย่ืนคำขอต่อสำนักงานพฒั นาสังคมและ หรอื ทายาท หรือ ความมัน่ คงของมนุษย์จังหวดั บุคคลผู้ได้รับการ แต่งตัง้ เปน็ หนังสือ - กรณีใหค้ วามชว่ ยเหลอื เป็นเงินหรอื ส่งิ ของ จากผเู้ สียหาย จำเลย เกิน 2,000/คร้ัง/ครอบครัว ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจ หรือทายาท ของ ปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมัน่ คงของมนุษย์ หรือผู้ว่าราชการจังหวดั - ระเบียบกระทรวง แล้วแต่กรณี การท่องเทีย่ วและ  นักสังคมสงเคราะหเ์ สนอความเหน็ ต่อ กฬี า ว่าดว้ ย ปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คง การบรหิ ารกองทุน ของมนษุ ย์ หรอื ผ้วู ่าราชการจังหวัด หรอื ช่วยเหลอื เยียวยา นักท่องเทยี่ ว ชาวตา่ งชาติ พ.ศ. 2557 - นักท่องเทย่ี ว หรือผแู้ ทน ของนักทอ่ งเที่ยว - ระเบยี บกระทรวง การพัฒนาสงั คม และความม่ันคง ของมนุษย์ วา่ ด้วย การจ่ายเงนิ อดุ หนุน เพื่อชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหา ทางสังคมกรณี ฉุกเฉิน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2550 กลบั หนา้ แรก

คูม ือบัญชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผวู าราชการจังหวดั กรณอี ุทกภัย หนา้ ที่ 40 หวั ข้อหลัก คำอธิบาย แหล่งอ้างอิง หนว่ ยรับผดิ ชอบ ผ้ซู ่ึงปลัดกระทรวงฯมอบหมาย - ผูป้ ระสบปญั หา ทางสงั คมกรณี ฉุกเฉิน - นกั สังคมสงเคราะห์ 1.8 กรมสง่ เสริม  คณะกรรมการชว่ ยเหลอื ประชาชน พิจารณา - ระเบียบ องค์กรปกครอง การปกครองท้องถิน่ การให้ความช่วยเหลอื ประชาชนทไี่ ด้รบั กระทรวงมหาดไทย ส่วนทอ้ งถนิ่ ในพื้นท่ี /องคก์ รปกครอง ความเดอื ดร้อนที่สำรวจโดยหน่วยงานของรัฐ วา่ ด้วยคา่ ใชจ้ ่าย ประสบสาธารณภยั สว่ นทอ้ งถ่นิ ในพื้นท่ี และจากประชาชนท่ยี ื่นลงทะเบยี นขอรบั เพื่อชว่ ยเหลอื ประสบสาธารณภัย ความช่วยเหลือจากองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ประชาชน สำนักงานจงั หวัด รายงานใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ดำเนนิ การ ตามอำนาจหนา้ ท่ี 1.9 จงั หวดั ใหค้ วามช่วยเหลือ ขององคก์ รปกครอง สว่ นท้องถิน่  ก.ช.ภ.อ./ก.ช.ภ.จ. สำรวจและใหค้ วามช่วยเหลอื พ.ศ. 2560 และ ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ฯ ด้านการบรรเทา ท่แี ก้ไขเพ่ิมเตมิ ในวงเงิน 20 ลา้ น ท้ังนี้ การใช้จา่ ยเงนิ ทดรอง (ฉบับท่ี 2) ดังกลา่ ว จะสามารถใชไ้ ดเ้ มื่อมกี ารประกาศเขต พ.ศ. 2561 การใหค้ วามช่วยเหลือฯ โดยสามารถ - องคก์ รปกครอง ให้ความช่วยเหลือเปน็ ด้านต่างๆ ได้แก่ สว่ นทอ้ งถน่ิ (ชภ.) - ดา้ นการดำรงชพี - ด้านสงั คมสงเคราะห์ - ระเบียบ - ดา้ นการแพทย์และการสาธารณสุข - ด้านการเกษตร (ด้านพืช, ด้านประมง, กระทรวงการคลงั ด้านปศสุ ตั ว์) - ด้านบรรเทาสาธารณภัย วา่ ด้วยเงินทดรอง - ดา้ นการปฏิบตั ิงานใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั (ชภ.) ราชการ เพ่ือชว่ ยเหลือ ผ้ปู ระสบภัยพบิ ตั ิ กรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2562 - หลักเกณฑก์ ารใช้ จ่ายเงนิ ทดรอง ราชการ เพื่อชว่ ยเหลือ ผปู้ ระสบภัยพิบตั ิ กรณฉี ุกเฉิน พ.ศ. 2563 กลบั หน้าแรก

คูมอื บัญชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผูวาราชการจังหวดั กรณอี ทุ กภัย หน้าท่ี 41 หัวข้อหลัก คำอธิบาย แหล่งอ้างองิ หน่วยรบั ผิดชอบ - หลักเกณฑ์วิธกี าร ปฏบิ ัติปลีกย่อย เก่ียวกบั การให้ ความช่วยเหลือ ดา้ นการเกษตร ผปู้ ระสบภัยพิบตั ิ กรณฉี ุกเฉิน พ.ศ. 2556 (ชภ.) 2. ออกประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือฯ (กรณีท่ยี ังไมไ่ ด้ประกาศ) และการขยายระยะเวลาการใหค้ วามช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภยั พิบตั ิ (หลังเกิดภัย) การประกาศเขต •เมือ่ เกิดภยั พิบตั ิกรณฉี ุกเฉินในพนื้ ที่ นายอำเภอ - ระเบียบ สำนกั งานป้องกนั และ การให้ความช่วยเหลือ จะรายงานเป็นเหตุด่วนใหผ้ ู้ว่าราชการราชการ กระทรวงการคลงั บรรเทาสาธารณภัย ผปู้ ระสบภยั พิบัตกิ รณี จงั หวดั ทราบ ว่าดว้ ยเงนิ ทดรอง จังหวัด ฉกุ เฉนิ ราชการ • เมอื่ ได้รับรายงานการเกดิ ภยั พบิ ัตใิ นพื้นที่ เพอ่ื ช่วยเหลอื จากนายอำเภอ หากเป็นกรณีฉุกเฉินและ ผู้ประสบภยั พิบัติ จำเปน็ ตอ้ งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ตั ิ กรณฉี ุกเฉนิ จากเงนิ ทดรองราชการตามระเบียกระทรวง พ.ศ. 2562 การคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ัตกิ รณฉี ุกเฉนิ ใหผ้ วู้ ่าราชการ - ประกาศ ปภ. จังหวดั รว่ มกับคณะกรรมการใหค้ วามชว่ ยเหลือ ผู้ประสบภยั พิบตั ิ (ก.ช.ภ.จ.) ดำเนนิ การประกาศ เรอื่ ง หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไข เขตการให้ความชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยพิบัติ การประกาศเขต กรณฉี ุกเฉนิ การให้ ความชว่ ยเหลือ •การประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั พิบตั ิ ผู้ประสบภยั พิบตั กิ รณีฉกุ เฉิน มีรายการดงั น้ี กรณีฉกุ เฉิน (1) ประเภทของภัยพิบัติกรณีฉุกเฉนิ (2) วนั เดอื น ปี ท่เี กดิ ภยั พิบตั ิ และวนั เดือน ปี ที่สิ้นสุดภัยพบิ ตั ิกรณีฉุกเฉนิ ในกรณี ที่สถานการณ์ของภัยพบิ ตั ิกรณฉี ุกเฉนิ ยังไมย่ ตุ ิ ให้ระบุในประกาศว่า “ภัยพบิ ัตกิ รณฉี ุกเฉนิ ยังไม่ยุติ” (3) พ้ืนที่ที่เกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ให้ระบุเฉพาะ พื้นท่ีชุมชน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอที่เกิดภัยพิบัติ กรณีฉกุ เฉินเทา่ นน้ั กลับหนา้ แรก

คูมอื บัญชาการเหตุการณ สําหรับผูวาราชการจังหวดั กรณีอทุ กภัย หนา้ ท่ี 42 หวั ข้อหลัก คำอธบิ าย แหล่งอา้ งอิง หนว่ ยรับผิดชอบ การขยายระยะเวลา (4) ประเภทความเสยี หาย อาทิ ชีวติ ทรัพยส์ นิ - ระเบียบ การใหค้ วามช่วยเหลือ ทีอ่ ยู่อาศัย พื้นท่ีการเกษตร หรอื กระทรวงการคลัง ผูป้ ระสบภยั พบิ ตั ิ สิ่งสาธารณ ประโยชน์ เป็นต้น ว่าดว้ ยเงนิ ทดรอง (หลังเกดิ ภัย) (5) เวลาเริม่ ตน้ และเวลาสิ้นสดุ ของการให้ ราชการ ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน เพื่อช่วยเหลอื ทัง้ น้ตี ้องไม่เกินสามเดือน นับแต่วันทเี่ กิดภัย ผูป้ ระสบภัยพิบตั ิ เมื่อมีการประกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื กรณฉี ุกเฉิน พ.ศ. 2562 ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี ุกเฉนิ และประกาศ - ประกาศ ปภ. เรื่อง หลักเกณฑ์ วนั ส้ินของภัย ให้สง่ สำเนาประกาศฯ วิธีการ และเง่ือนไข การประกาศเขต ใหก้ รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย การให้ ความช่วยเหลอื ทราบทันที ผูป้ ระสบภยั พิบตั ิ กรณฉี ุกเฉนิ •กรณไี ม่สามารถดำเนนิ การให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบตั ไิ ด้ภายในสามเดอื น ใหส้ ัง่ การ สำนกั งานสำนักงานปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภยั จังหวดั ยนื่ ขอขยายระยะเวลาการให้ ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยพิบตั ิกรณฉี ุกเฉิน กอ่ นระยะเวลาการใหค้ วามช่วยเหลอื ฯ สน้ิ สุด ลงไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน โดยให้ทำเปน็ หนงั สอื ถงึ อปภ. ภยั ช้ีแจงเหตผุ ลความจำเป็นและระบุ ระยะเวลาที่ขออนุมตั ิขยาย •กรณมี เี หตุความจำเป็นไม่อาจขออนมุ ัติ ขยายระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือฯ ได้ทันตามกำหนดระยะเวลา จะเป็น ดลุ ยพินจิ ของ อปภ. ที่จะรับไว้พิจารณาตามเหตุผลและ ความจำเป็น กลบั หนา้ แรก

คมู ือบัญชาการเหตุการณ สาํ หรบั ผวู าราชการจงั หวัด กรณีอุทกภัย หน้าที่ 43 3. สำรวจความเสยี หายและสญู เสยี เพ่อื การฟน้ื ฟูเบอื้ งต้น โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอยี ดเกีย่ วกับความเสยี หาย ความสญู เสยี และผลกระทบจากภัยพบิ ตั ภิ ายหลังจาก สถานการณภ์ ยั พบิ ตั ไิ ดส้ ้ินสุดลงอย่างน้อย 1 เดือนเป็นตน้ ไป เพอ่ื นำขอ้ มูลไปวเิ คราะห์ ประมวลผล และจดั ลำดับ ความสำคัญในการให้ความช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั เบ้อื งต้น 3.1 จดั ต้ังทมี ประเมิน ใหจ้ งั หวดั จดั ต้ังทมี ประเมนิ ความเสยี หายและ สำนักงานป้องกนั และ บรรเทาสาธารณภัย การเยียวยาและ สญู เสยี ระดับจงั หวดั ซงึ่ ประกอบดวั ย เจา้ หนา้ ที่ จังหวัด สูญเสียระดบั จังหวัด และผู้เชย่ี วชาญในการประเมินความเสียหายและ - องค์กรปกครอง ส่วนท้องถน่ิ ความสูญเสียด้านตา่ ง ๆ เชน่ ด้านสงั คม ทป่ี ระสบภยั และ มคี วามเสยี หาย สาธารณูปโภค และการผลิต เปน็ ต้น จดั ส่งรายงาน ให้อำเภอ และอำเภอ 3.2 สำรวจและ 3.2.1 จัดเกบ็ ขอ้ มูลฐาน (Baseline data) รายงานให้ ศนู ยบ์ ญั ชาการ จดั เก็บขอ้ มลู เพอ่ื ของแตล่ ะภาคส่วนเพื่อนำมาใช้ในการวเิ คราะห์ เหตกุ ารณ์จังหวัด ทราบ นำไปวิเคราะห์ เปรียบเทยี บในการประเมนิ ผลกระทบ - ทีมประเมิน ความเสียหาย ประมวลผลความ ในชว่ งก่อนและหลงั เกิดสาธารณภยั เช่น ขอ้ มูล และสญู เสยี เสยี หายและสูญเสีย ด้านสังคม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม งบประมาณ และการเมอื ง เปน็ ต้น 3.2.2 จดั เก็บข้อมูลผลกระทบท่ีเปน็ ความเสยี หาย (damage) และข้อมูล ความสญู เสีย (loss) ต่อโครงสรา้ งพื้นฐาน และทรัพยส์ นิ สาธารณะ/ทรัพยส์ ินของประชาชน การผลิตสินคา้ และบริการ การทำงานของภาครฐั และความเสยี่ งอ่นื ท่ีอาจเกิดขึ้น * ขอ้ มูลในการวเิ คราะห์ความเสียหาย เช่น อาคาร โครงสร้างพ้นื ฐาน สินค้าท่ีเกบ็ ไว้ในคลัง ทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีถกู ทำลายท้ังหมด/ บางสว่ น ระยะเวลาท่ีเกิด และการคิดมลู คา่ ทดแทนเป็นตวั เงิน (คา่ ซ่อมแซม/ สรา้ งใหม)่ * ข้อมูลในการวเิ คราะห์ความสูญเสยี เชน่ ความเปลย่ี นแปลงทางด้านการหมุนเวยี น เศรษฐกิจเน่ืองจากภัยพิบตั ิ ผลผลติ ท่ีไมส่ ามารถ เกดิ ข้นึ และขายได้สง่ ผลใหเ้ กิดค่าใชจ้ า่ ยเพิ่มข้ึน จากกระบวนการผลิต มูลค่าต้นทุนต่อหน่วย ทเ่ี พ่ิมขนึ้ จำนวนรายไดท้ ลี่ ดลง และรายจา่ ย กลับหนา้ แรก

คมู อื บัญชาการเหตกุ ารณ สําหรบั ผวู า ราชการจังหวดั กรณอี ทุ กภยั หนา้ ที่ 44 ท่ีไม่คาดคิด ตั้งแตเ่ กดิ ภัยพบิ ตั ิจนถึงได้รับ การฟ้นื ฟสู ่สู ภาพปกติ ท้งั นี้ จะคำนวณ ความสูญเสยี ด้วยมูลค่าในปัจจบุ นั 3.3 วิเคราะห์ - นำขอ้ มูลความเสยี หาย ทมี ประเมนิ และประมวลผลขอ้ มูล และสูญเสยี มาวเิ คราะหแ์ ละจัดลำดับความสำคัญ ความเสียหาย เพอ่ื จดั ลำดบั เพอ่ื ดำเนินการให้ความช่วยเหลือและเปน็ ขอ้ มูล และสญู เสยี ความสำคัญ ในการจัดทำแผนฟืน้ ฟู/แผนพัฒนาประเทศ ในการชว่ ยเหลือฟ้ืนฟู - จัดทำรายงานความเสยี หายและความสูญเสีย เสนอให้ กอปภ.จ. 4. เม่ือสาธารณภยั ยุติใหท้ ำการประกาศปิดสถานการณ์ - ระเบียบ สำนกั งานปอ้ งกนั และ ประกาศสิ้นสุดภยั เมื่อสถานการณย์ ตุ ิ ใหป้ ระกาศสิ้นสุดภัย กระทรวงการคลัง บรรเทาสาธารณภยั และส่งสำเนาใหป้ ระกาศฯ ให้ ปภ. ทราบทนั ที ว่าด้วยเงินทดรองฯ จงั หวัด 5. เรง่ รัดอำเภอและหน่วยงานประชุม ก.ช.ภ.อ และรายงาน ก.ช.ภ.จ. แตง่ ต้ังคณะกรรมการ เม่อื เกิดภัยพิบตั ิกรณีฉุกเฉินและจำเปน็ พ.ศ. 2562 ให้ความช่วยเหลอื ต้องให้ความชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภัยพิบตั ิ ผู้ประสบภัยพิบตั ริ ะดับ จากเงนิ ทดรองราชการ - ประกาศ ปภ. อำเภอ (ก.ช.ภ.อ.)  จงั หวดั แตง่ ตง้ั ก.ช.ภ.อ. ประกอบด้วย เรือ่ ง หลกั เกณฑ์ ประธาน นายอำเภอ วธิ ีการ และเงอ่ื นไข กรรมการ - หวั หนา้ ส่วนราชการประจำอำเภอ หรือ การประกาศเขตฯ ก่ิงอำเภอทีเ่ กย่ี วข้องหรือผู้แทน ไมเ่ กิน 4 คน ลงวนั ท่ี 11 ก.พ. 63 - ระเบียบ - จังหวัด กระทรวงการคลัง - องคก์ รปกครอง ว่าด้วยเงินทดรองฯ ส่วนท้องถิน่ พ.ศ. 2562 - ก.ช.ภ.อ. กลับหน้าแรก