Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาครู ศศช.กลุ่มแม่จ๊าง

การพัฒนาครู ศศช.กลุ่มแม่จ๊าง

Published by rommanee.1654, 2021-05-31 00:20:44

Description: การพัฒนาครู ศศช.กลุ่มแม่จ๊าง

Search

Read the Text Version

คำนำ การจัดการศึกษาตามบทบาทหน้าที่ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ดำเนินภายใต้กรอบนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดําเนินงานตามบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในอันที่จะเพิ่มและกระจายโอกาส ทางการศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการ พฒั นาตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบายและ แนวทางหลักในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการและโครงการสำคัญตามแผนปฏิบัติราชการประจํา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสาํ นักงาน กศน. ในการนี้การพฒั นาครูศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา”แมฟ่ ้าหลวง” (ศศช.) เปน็ ภารกจิ หนึ่งที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ดำเนินโดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อให้ครูศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง (ศศช.)ได้มีความรู้ ทักษะ และกระบวนกา ร ดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของครู ศศช. ซึ่งครูสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปปรับใช้ในพื้นที่ที่ รับผดิ ชอบของตนเอง และสามารถปฏบิ ตั ิงานในพืน้ ท่ีได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ซงึ่ มคี วามสอดคลอ้ งกบั นโยบายของ สำนักงาน กศน.จังหวดั แม่ฮ่องสอน นายพงษ์ศักด์ิ บุญเปง็ ขอ้ ที่ 1.2 พฒั นาครแู ละบุคลากร (1) พฒั นาครเู พ่ือให้ สามารถปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นเรื่องพัฒนาทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ ดังนั้นคณะครู ศศช.กลุ่มแม่จ๊าง สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่สะเรียง จึงได้จัดทำคู่มือ การพัฒนาครูศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.)ขึ้น เพื่อให้เป็นคู่มือการดำเนินการจัด การศึกษาของครศู ูนยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา”แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ตอ่ ไป คณะผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าครูศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา”แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.)และผู้ที่ เกี่ยวข้องจะนำคู่มือการพัฒนาครู ไปเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง”ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์อยา่ งมีประสทิ ธิภาพต่อไป โอกาสนี้คณะผู้จัดทำขอขอบคุณ นายนิพงศ์ ธนภัทรศักดิ์กุล ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอแมส่ ะเรียง และนางสาวกัญจนส์ ิรี ปัญญาดีมีทรัพย์ ครู ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่สะเรียง ที่ให้คำแนะนำอันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาแนวทางการ จดั การศึกษาของศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” อย่างดยี ิง่ คณะผู้จดั ทำ ก

สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข โครงสรา้ งคู่มือ ค แนะนำการใช้ส่อื ง เรื่องที่ 1 ปรชั ญาคิดเป็นและONIE MODEL......................................................................................................1 เรื่องที่ 2 การใช้แผนท่ีชุมชนสามมติ ใิ นการปฏบิ ัติงานการจัดการศึกษาบนพน้ื ทสี่ งู ...........................................17 เรื่องท่ี 3 มาตรฐานศศช. ...................................................................................................................................30 เรื่องท่ี 4 การจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ.2551....................................................46 เรอื่ งท่ี 5 การส่งเสริมการรหู้ นงั สอื .....................................................................................................................51 เรื่องที่ 6 การศึกษาต่อเน่อื ง............................................................................................................................. ..84 เรอ่ื งที่ 7 การศึกษาตามอัธยาศัย.......................................................................................................................87 เร่ืองท่ี 8 งานโครงการตามพระราชดำรหิ รือท่เี กยี่ วข้องกับราชวงศ์..................................................................90 ➢ แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี6ดา้ น............................................................................................................................. ..91 ➢ โครงการสง่ เสริมและพัฒนาทักษะการฟงั พูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร สำหรับผ้ใู หญบ่ นพืน้ ท่สี ูงตามพระราชดำรสิ มเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาสยามบรมราชกุมารี..........................................................................102 ➢ โครงการสรา้ งป่าสร้างรายได้................................................................................................................103 ➢ โครงการทนุ การศึกษาเด็กสภาวะยากลำบากบนพน้ื ท่สี งู ภาคเหนือ.....................................................106 เร่ืองท่ี 9 การฝกึ ทกั ษะการเรยี นรคู้ รูทร่ี ับการบรรจแุ ต่งตั้งใหมใ่ นพ้นื ที่ ศศช.บา้ นตน้ แบบ...................................112 ข

โครงสร้างคมู่ ือ สาระสำคัญ 1. ปรัชญาคดิ เปน็ และONIE MODEL 2. การใช้แผนทีช่ ุมชนสามมติ ิในการปฏบิ ตั งิ านการจดั การศึกษาบนพนื้ ท่ีสูง 3. มาตรฐานศศช. 4. การจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ.2551 5. การจดั การศกึ ษาหลกั สูตรสง่ เสรมิ การรู้หนงั สือ พ.ศ. 2557 6. การจัดการศกึ ษาตอ่ เน่ือง 7. การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั 8. การจดั การศึกษางานโครงการตามพระราชดำริหรือโครงการอนั เกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ์ ➢ แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี6ดา้ น ➢ โครงการสร้างปา่ สร้างรายได้ ➢ โครงการสง่ เสริมและพัฒนาทักษะการฟังพูดภาษาไทยเพื่อการสือ่ สารสำหรบั ผ้ใู หญบ่ นพ้ืนที่สงู ตามพระราชดำรสิ มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี ➢ โครงการทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลำบากในเขตพน้ื ทส่ี ูงภาคเหนือ 9.การฝกึ ทักษะการเรยี นรคู้ รูทีร่ ับการบรรจแุ ต่งต้งั ใหมใ่ นพ้นื ที่ ศศช.บา้ นต้นแบบ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ครูศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟา้ หลวง (ศศช.) ได้มีความรู้ ทักษะ และกระบวนการ ดำเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของครู ศศช. ซงึ่ ครูสามารถนำความรแู้ ละทักษะท่ีไดร้ บั ไปปรบั ใชใ้ นพื้นท่ีที่ รบั ผิดชอบของตนเอง และสามารถปฏบิ ตั ิงานในพ้นื ท่ีได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2.เพอ่ื ให้ครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา”แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.)ใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา ได้ตรงตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระและการศึกษาตามอัธยาศัย ค

ขอบขา่ ยเน้ือหา โคร 1. ปรชั ญาคิดเปน็ และONIE MODEL 2. การใช้แผนทีช่ มุ ชนสามมติ ิในการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาบนพืน้ ที่สงู 3. มาตรฐานศศช. 4. การจดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ.2551 5. การจัดการศกึ ษาหลักสตู รส่งเสรมิ การรู้หนังสอื พ.ศ. 2557 6. การจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง 7. การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั 8. การจัดการศึกษางานโครงการตามพระราชดำรหิ รอื โครงการอันเกี่ยวเนอ่ื งจากราชวงศ์ ➢ แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี6ดา้ น ➢ โครงการสร้างปา่ สรา้ งรายได้ ➢ โครงการสง่ เสริมและพฒั นาทักษะการฟังพูดภาษาไทยเพื่อการส่อื สารสำหรับผใู้ หญบ่ นพ้ืนท่สี งู ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ➢ โครงการทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลำบากในเขตพื้นท่ีสงู ภาคเหนอื 9.การฝกึ ทักษะการเรียนรู้ครูทรี่ ับการบรรจแุ ตง่ ต้ังใหมใ่ นพ้ืนที่ ศศช.บา้ นต้นแบบ ง

แนะนำการใช้คมู่ ือ คู่มอื การพัฒนาครศู ูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา”แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) เป็นค่มู ือสำหรบั ครูศูนยก์ าร เรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา”แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) และผู้ที่สนใจใช้ศึกษาเพื่อเปน็ แนวทางการดำเนนิ งานการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ซึง่ ในขอบขา่ ยเนอื้ หาจะเน้นถึงการดำเนนิ งานของศูนย์การเรียน ชุมชนชาวไทยภเู ขาแม่ฟ้าหลวงท่คี รจู ะต้องนำไปปรับใชใ้ หส้ อดคล้องกับบรบิ ทของพืน้ ที่มีความแตกตา่ งกนั ภายในคู่มอื การพัฒนาครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา”แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.)ประกอบดว้ ยเนอื้ หาทต่ี อ้ ง เรยี นรดู้ งั นี้ 1. ปรัชญาคิดเป็นและONIE MODEL 2. การใชแ้ ผนท่ชี มุ ชนสามมติ ิในการปฏบิ ัติงานการจดั การศึกษาบนพื้นที่สูง 3. มาตรฐานศศช. 4. การจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ.2551 5. การส่งเสรมิ การรูห้ นงั สือ 6. การศึกษาต่อเน่อื ง 7. การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 8. งานโครงการตามพระราชดำริหรอื ทเี่ ก่ยี วข้องกบั ราชวงศ์ ➢ แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดหี า้ ด้าน ➢ โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ ➢ โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาทักษะการฟังพูดภาษาไทยเพ่ือการสือ่ สารสำหรบั ผู้ใหญ่บนพื้นทส่ี ูง ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี ➢ โครงการทนุ การศึกษาเด็กสภาวะยากลำบากบนพืน้ ที่สูงภาคเหนอื 9. การฝกึ ทักษะการเรียนรู้ครูทีร่ ับการบรรจุแตง่ ตัง้ ใหม่ในพน้ื ท่ี ศศช.บา้ นตน้ แบบ การศกึ ษาคู่มอื พฒั นาครูศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา”แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.)พัฒนาครูศนู ยก์ ารเรยี น ชุมชนชาวไทยภูเขา”แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ผศู้ กึ ษาต้องศึกษาตามกระบวนการเรยี นร้ใู ห้ครบทุกเรื่องอย่างละเอยี ด เพ่อื การนำความรู้ไปพัฒนาตนเองและพัฒนางานตามบทบาทหน้าทีใ่ ห้เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ และในเนื้อหาการ เรยี นรจู้ ะมี link address เพ่ือใหค้ รูได้ศึกษารายละเอียดในการเรยี นรเู้ พมิ่ เตมิ จ

ปรชั ญาคดิ เป็นและONIE MODEL คู่มือการพัฒนาครูศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 1

ปรัชญาคดิ เป็น และ ONIE MODEL ปรชั ญา “คิดเปน็ ” อยบู่ นพื้นฐานความคิดทีว่ า่ ความต้องการของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน แต่ทุกคนมี จุดรวมของความต้องการที่เหมือนกัน คือ ทุกคนต้องการความสุข คนเราจะมีความสุขเมื่อเราและสังคม สิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกันได้ โดยการปรับปรุงตัวเราให้เข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมหรือโดยการปรับปรุง สังคมและสิ่งแวดล้อมให้เข้ากับตัวเรา หรือปรับปรุงทั้งตัวเราและสังคมสิ่งแวดล้อมให้ประสมกลมกลืนกัน หรือ เข้าไปอยู่ในส่งิ แวดลอ้ มทเี่ หมาะสมกบั ตน คนท่ีสามารถทำได้เช่นน้ี เพื่อใหต้ นเองมีความสขุ น้นั จำเปน็ ต้องเปน็ ผู้มี ความคิดสามารถคิดแก้ปัญหา รู้จักตนเองและธรรมชาติสิ่งแวดล้อม จึงจะเรียกได้ว่าผู้นัน้ เปน็ คนคิดเป็น หรืออีก นัยหน่งึ ปรชั ญา “คิดเปน็ ” มาจากความเชอื่ พ้ืนฐานตามแนวพุทธศาสนา ทสี่ อนให้บุคคลสามารถพ้นทกุ ข์ และพบ ความสขุ ไดด้ ว้ ยการคน้ หาสาเหตุของปญั หา สาเหตุของทุกข์ ซ่ึงสง่ ผลให้บุคคลผนู้ ั้นสามารถอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมี ความสขุ ความหมายของ “คดิ เป็น” โกวิท วรพิพัฒน์ ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับ “คิดเป็น” ว่า “บุคคลที่คิดเป็นจะสามารถเผชิ ญ ปัญหาในชีวติ ประจำวันได้อยา่ งมีระบบ บุคคลผู้นี้จะสามารถพินิจพิจารณาสาเหตุของปญั หาที่เขากำลงั เผชญิ อยู่ และสามารถรวบรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ ได้อยา่ งกวา้ งขวางเกีย่ วกบั ทางเลือก เขาจะพจิ ารณาขอ้ ดขี ้อเสียของแต่ละเรื่อง โดยใช้ความสามารถเฉพาะตัวค่านิยมของตนเอง และสถานการณ์ที่ตนเองกำลังเผชิญอยู่ ประกอบการ พิจารณา” การ “คิดเป็น” เป็นการคิดเพื่อแก้ปัญหา คือ มีจุดเริ่มต้นที่ปัญหาแล้วพิจารณาย้อนไตร่ตรองถึงข้อมูล 3 ประเภท คือ ข้อมูลด้วยตนเองชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ ต่อจากนั้นก็ลงมือกระทำถ้าหาก สามารถทำให้ปัญหาหายไป กระบวนการก็ยุติลง แต่หากบุคคลยังไม่พอใจแสดงว่ายังมีปัญหาอยู่ บุคคลก็จะเร่ิม กระบวนการพิจารณาทางเลือกใหม่อีกครั้ง และกระบวนการนี้ยุติลงเมื่อบุคคลพอใจและมีความสุข สรปุ ความหมายของ “คดิ เป็น” 1. การวิเคราะห์ปัญหาและแสวงหาคำตอบหรือทางเลือกเพื่อแกป้ ัญหาและดับทุกข์ 2. การคิดอย่างรอบคอบเพื่อการแก้ปัญหาโดยอาศัยข้อมลู ตนเอง ข้อมลู สังคมสิ่งแวดล้อมและข้อมลู วิชาการ เป้าหมายของ “คิดเปน็ ” เป้าหมายสดุ ทา้ ยของการเป็นคน “คิดเปน็ ” คือความสขุ คนเราจะมคี วามสุขเมอื่ ตัวเราและสงั คม สิ่งแวดลอ้ มประสมกลมกลืนกันอยา่ งราบร่นื ท้ังทางด้านวตั ถุ กายและใจ แนวคดิ หลกั ของ “คดิ เป็น” 1. มนษุ ย์ทกุ คนลว้ นต้องการความสุข 2. ความสขุ ที่ได้น้ันขึ้นอยกู่ ับการปรบั ตวั ของแต่ละคนให้สอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมตามวธิ ีการของตนเอง 3. การตดั สินใจเปน็ การคิดวเิ คราะหโ์ ดยใช้ข้อมลู 3 ด้าน คือดา้ นตนเอง ด้านสงั คม และดา้ นวิชาการ 4. ทกุ คนคิดเปน็ เท่าทก่ี ารคิดและตดั สินใจทำให้เราเป็นสขุ ไม่ทำใหใ้ ครหรือสังคมเดอื ดร้อน คมู่ ือการพัฒนาครศู นู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 2

คิดอย่างไรเรียกว่า “คิดเป็น” “คดิ เปน็ ” เป็นการคิดแบบพอเพียง พอประมาณ ไมม่ าก ไมน่ ้อยเปน็ ทางสายกลาง สามารถอธิบายได้ ดว้ ยเหตผุ ล พรอ้ มทจ่ี ะรบั ผลกระทบที่เกิดโดยมีความรอบรู้ในวิชาการที่เกีย่ วข้องอยา่ งรู้จรงิ สามารถนำความรู้ มาใช้ประโยชนไ์ ด้มีคุณภาพใช้สตปิ ญั ญา ในการดำเนินชีวติ ซ่งึ แนวคิดน้สี อดคลอ้ งกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั นนั่ เอง เปน็ การบูรณาการเอาการคดิ การกระทำ การแกป้ ัญหา ความ เหมาะสมและความพอดี มารวมไวใ้ นคำวา่ “คิดเปน็ ” คือ การคดิ เป็นทำเป็นอย่างเหมาะสมตนเกิดความพอดี และแก้ปัญหาได้ดว้ ยการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพ่ือใหเ้ ป็นคน “คิดเปน็ ”กระบวนการเรยี นรู้ตามปรชั ญา “คิด เปน็ ” นี้ ผู้เรียนสำคญั ท่สี ดุ ผูส้ อนจะเป็นเพยี งผู้จัดโอกาส จัดกระบวนการ จดั ระบบข้อมูล และแหลง่ การเรยี นรู้ กจิ กรรมในการเรยี นรู้อาจมแี นวปฏบิ ัติดังนี้ 1. กระตนุ้ ให้ผู้เรียนคดิ วิเคราะหจ์ ากปัญหาและความต้องการของตนเอง 2. ผูเ้ รยี นมีส่วนรว่ มในการเรยี นรูอ้ ย่างเตม็ ศักยภาพ 3. เรยี นรูจ้ ากการอภิปรายถกเถยี งในประเด็นท่ีเปน็ ปัญหา 4. ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรู้จากกระบวนการกล่มุ มกี ารใชข้ อ้ มลู หลาย ๆ ดา้ น 5. เรียนรู้จากวิถชี วี ติ จรงิ จากการทำงาน 6. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการทำโครงงาน 7. เรียนรู้จากการศึกษา กรณีตัวอย่างเพ่ือการแก้ปญั หาชุมชน 8. ผู้เรียนตอ้ งร้จู กั ใช้ข้อมูลท่ีลึกซงึ่ ฝกึ ตดั สนิ ใจด้วยระบบข้อมลู ที่เพยี งพอและเชอื่ ถือได 9. นำเวทีชาวบ้านมาเปน็ เครื่องมือสำคญั ในกระบวนการคดิ แก้ปัญหา 10. สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นไดต้ ัดสินใจในการแกป้ ัญหาบนพื้นฐานของข้อมลู ตนเอง ชุมชนสง่ิ แวดลอ้ มและวิชาการ กระบวนการแกป้ ญั หาตามปรชั ญา “คิดเปน็ ” 1. ขัน้ สำรวจปัญหา เม่ือเกดิ ปัญหา ยอ่ มต้องเกดิ กระบวนการคดิ แกป้ ัญหา 2. ขนั้ หาสาเหตขุ องปัญหา เป็นการหาขอ้ มูลมาวิเคราะห์วา่ ปัญหาท่ีเกิดขน้ึ น้ัน เกิดข้นึ ได้อย่างไร มี อะไรเป็นองคป์ ระกอบของปัญหาบา้ ง • สาเหตจุ ากตนเอง พ้ืนฐานของชีวติ ครอบครวั อาชพี การปฏบิ ัติตน คณุ ธรรมจรยิ ธรรม • สาเหตุจากสงั คม บุคคลที่อยู่แวดลอ้ ม ตลอดจนความเชือ่ ประเพณี วัฒนธรรมของสงั คมและ ชุมชนนัน้ • สาเหตจุ ากการขาดวิชาการความรตู้ า่ งๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั ปญั หา 3. ข้นั วิเคราะห์ปัญหา หาทางแก้ปัญหา เปน็ การวิเคราะหท์ างเลอื กในการแกป้ ัญหา โดยใช้ข้อมูลดา้ น ตนเอง สังคม วชิ าการ มาประกอบในการวเิ คราะห์ 4. ขั้นตัดสินใจ เมอื่ ไดท้ างเลอื กแลว้ จงึ ตัดสินใจเลือกแกป้ ัญหาในทางท่ีมีข้อมูลตา่ งๆ พร้อม 5. ขั้นตดั สินใจไปสู่การปฏบิ ัติ เม่ือตัดสนิ ใจเลือกทางใดแล้ว ต้องยอมรบั ว่าเปน็ ทางเลือกทด่ี ีทส่ี ดุ ใน ขอ้ มลู เท่าท่ีมีขณะนัน้ ในกาละน้ัน และในเทศะน้ัน 6. ขั้นปฏบิ ัติในการแก้ปญั หา ในขน้ั นี้เป็นการประเมนิ ผลพร้อมกันไปด้วย ถ้าผลเปน็ ท่ี คู่มือการพัฒนาครูศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 3

o พอใจ ก็จะถอื ว่าพบความสขุ เรยี กวา่ “คดิ เป็น” o ไมพ่ อใจ หรือผลออกมาไม่ได้เป็นไปตามที่คดิ ไว้ หรอื ข้อมลู เปลย่ี น ตอ้ งเริ่มต้นกระบวนการคิด แกป้ ญั หาใหม่ คมู่ ือการพฒั นาครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 4

ลกั ษณะ \"คนคิดเป็น 8 ประการ\" โดย ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ 1. เช่ือในความแตกต่างหลากหลายของคน 2. เช่ือในลักษณะการเปลีย่ นแปลงของชวี ิตและสงั คมที่มเี กดิ ดำรงอยู่ และดับไปเป็นธรรมดา 3. เชอ่ื มน่ั ในความพอเพยี ง พอประมาณ พอดี และรู้จกั พงึ่ ตนเอง 4. เชอ่ื ในหลกั ของอริยสจั 4 (ทกุ ข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) 5. เชือ่ วา่ ทกุ ขห์ รือปัญหาใดๆ ยอ่ มมีอยู่ในธรรมชาติ เป็นของธรรมดา และสามารถแก้ไขได้เสมอ 6. เชื่อมน่ั วา่ ข้อมลู ทงั้ หลายเปล่ยี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา การตดั สนิ ใจแก้ปัญหาที่ดีตอ้ งรู้จกั ใช้ รู้จกั วิเคราะห์ สงั เคราะหข์ ้อมลู ท่หี ลากหลาย เพียงพอ และครอบคลุมข้อมลู ที่เกีย่ วกบั ตนเอง คือรจู้ กั ตนเองอย่างถ่อง แท้ ขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งกับวชิ าการทจ่ี ะเปน็ บ่อเกดิ ของปัญหา และข้อมลู ท่เี ก่ยี วกับสังคมสิ่งแวดลอ้ ม ธรรม เนียมประเพณี 7. เผชญิ กับปญั หาอย่างรเู้ ท่าทัน มสี ติ ไตร่ตรองอยา่ งละเอยี ดรอบคอบเมื่อตดั สนิ ใจแลว้ มีความ 8. พอใจและเต็มใจรบั ผดิ ชอบกับผลการตัดสินใจเช่นน้ัน จนกว่าจะมขี ้อมูลใหม่เพิ่มเติม หรือมีข้อมลู ที่ เปล่ียนแปลงไป 9. เชอ่ื มน่ั และม่นั ใจในการเรียนรู้ตลอดชวี ติ https://sites.google.com/a/lopburi.nfe.go.th/kokjaren/hlak-prachya-khid-pen คู่มอื การพัฒนาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 5

ONIE MODEL การจดั กระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษานอกระบบแบบบูรณาการ โดยใช้ ONIE MODEL และ Khit- Pen ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาในมาตราที่ 22 และมาตรา 24 ไว้ว่า (สำนักงานสภา การศกึ ษา, 2545: 13) มาตรา 22 การจดั การศกึ ษาต้องยดึ หลักวา่ ผเู้ รยี นทุกคนมีความสามารถเรยี นรู้ และพัฒนา ตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ี เกย่ี วขอ้ งดำเนนิ การ ดงั ต่อไปนี้ 1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึง ความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คล 2. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ ป้องกันและ แกไ้ ขปัญหา 3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ท าได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและ เกดิ การใฝ่ รูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง 4. จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรดู้ า้ นตา่ ง ๆ อย่างไดส้ ดั ส่วน สมดลุ กัน รวมท้ัง ปลกู ฝงั คณุ ธรรม คา่ นิยมท่ดี งี ามและคุณลกั ษณะอันพึงประสงคไ์ ว้ทุกวิชา 5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอน สามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอ านวย ความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ทงั้ นี้ผู้สอนและผู้เรยี นอาจเรียนรู้ ไปพรอ้ มกนั จากสือ่ การเรียนการสอน และแหลง่ วทิ ยาการประเภทตา่ งๆ 6. จัดการเรียนรู้ ให้เกิดข้ึน ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับ บิดา มารดา ผู้ปกครอง และ บุคคลในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ จากสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ ดังที่กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่า การ จัดการศึกษา หรือการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพนั้น จะเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้คิด ได้ทำได้ใช้ประสบการณ์ของตนซึ่งแตกต่างกัน จาก สถานการณ์ต่างๆ ใช้สื่อการเรียนรู้ ท่ี หลากหลาย มีการแสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ ได้อย่างสะดวก มีการ ฝกึ ปฏบิ ัติจริง สามารถเรียนรู้ ได้ ตลอดเวลา ทุกสถานท่ี ท้ังในและนอกระบบโรงเรยี น การเรียนรู้ ที่เกิดข้ึนอย่าง ต่อเนื่องสามารถที่จะนำไป ปรับประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการได้ ประกาศให้ใช้หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ตามคำส่ัง กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป 418/2551 สั่ง ณ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เหมาะสมกับ กลมุ่ เป้าหมายนอกระบบทสี่ ว่ น ใหญ่มีความรู้ ประสบการณ์จากการประกอบอาชพี และการดำรงชวี ติ จึงเป็นการ เสรมิ เติมเต็มเพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตดียิ่งขึ้น สามารถอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ปรบั ตนเองได้ตามสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลง ไปตามภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ดังน้ันการเรียนรู้ตามหลักสูตรดังกล่าว จึง เน้นไปตาม วิถีชีวิต นำสิ่งใกล้ตัวมาใช้เป็นฐานในการเรียนรู้ เชื่อมโยงกับความรู้สมัยใหม่ ให้นำมาคิดวิเคราะห์ ปรบั ใช้ ใหเ้ หมาะสมกับสภาพของผู้เรียน ชุมชน สงั คม ตามปรชั ญาของการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นสาระสำคัญของ หลักสูตรนี้ ได้กำหนดไว้เป็นหลักการข้อ 1 ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ว่า“ เปน็ หลักสตู รทีม่ ีโครงสรา้ งยืดหยุ่นดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาเรยี น และการจดั การ เรียนรู้ คู่มือการพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 6

โดยเน้นการบูรณาการเน้ือหาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน และ สังคม ” การจัด กระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบแบบบูรณาการ จะช่วยให้การจัดการเรียนรู้ บรรลุ ตามหลักการของ หลักสูตร เป็นการน าสภาพปัญหา ความต้องการเรียนรูข้ องผู้เรียน ชุมชน สังคม เพื่อการ เชื่อมโยงสู่การเรียนรู้ ทเ่ี ปน็ ไปอย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต (สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ,2551:15 ) การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบแบบบรู ณาการ การบูรณรการหมายถึง การรวมเน้ือหาสาระของวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือ คลา้ ยกนั ใหเ้ ชอ่ื มโยงสมั พันธ์เปน็ สิ่งเดยี วกัน โดยการต้ังเป็นหัวข้อเรอื่ งขึ้นใหม่ และมีหัวขอ้ ยอ่ ยตาม เนื้อหาสาระ ที่สามารถจดั การเรยี นรู้ เป็นเร่ืองเดยี วกันได้ และให้โอกาสผู้เรยี นในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว้ ย ตนเองใหม้ ากทสี่ ุด มี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้หลากหลายวิธีในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณา การน้ันมีคำศัพท์ที่ควร ทราบและทำความเข้าใจในเบื้องต้น ดังต่อไปน้ี หน่วยการเรียนรู้หมายถึง ความรู้ที่ครบวงจรในเรื่องหนึ่ง ซึ่งเกิด จากการนำสภาพปัญหา ความ ต้องการเรียนรู้ ของผู้เรียน ชุมชน สังคม มาจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ ย่อย ๆ แล้ว นำเนื้อหาและตัวช้ีวัดจาก รายวิชาต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการมาจัดการเรียนรู้เพ่ือ แกป้ ัญหาของผ้เู รยี น ชมุ ชน สงั คม โดยต้องบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วดั ท่เี ก่ยี วข้อง การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเอง หมายถึง วิธีการจัดการเรียนรู้ ที่มอบหมายให้ผู้เรียนไปศึกษาหาความรู้ ด้วย ตนเอง โดยผู้เรียนกำหนดแผนการเรียนรู้มองตนเอง แล้วศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากสื่อต่าง ๆ เช่น สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เอกสาร ภูมิปัญญา สรุปเป็นความรู้ของตนเอง เพื่อมาน าเสนอแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง กัน และกัน การเรียนด้วยตนเองผู้เรียนจะต้องเป็นผู้มีความรับผิดชอบ ดำเนินการให้เสร็จตามระยะเวลาท่ี กำหนด และช้ินงาน/รายงาน จะต้องมีคุณภาพ การเรียนรู้แบบพบกลมุ่ การเรียนรู้แบบพบกลุ่ม หมายถึง การจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีการกำหนดให้ผู้เรียนมาพบกัน โดยมี ครเู ป็นผดู้ ำเนินการให้เกิดกระบวนการกลุ่ม เพือ่ ใหม้ ีการนำเสนอผลงาน/รายงาน ท่ีไดร้ บั มอบหมาย มี การชี้แจง เรื่องที่เก่ียวข้องในการเรียนรู้ เรื่องต่าง ๆ หรือทำความตกลงรว่ มกนั เพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุป การวัดและ ประเมินผลท้ัง ระหวา่ งภาคและปลายภาค โดยเน้นการอภิปรายแลกเปลย่ี นเรียนรซู้ ่งึ กนั และกัน การเรยี นรู้จากการทำโครงงาน การเรยี นรจู้ ากการทำโครงงาน หมายถึง กิจกรรมท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษา คน้ ควา้ และลง มือปฏิบัติ ด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ พร้อม กระบวนการอื่นใดไปใช้ในการศึกษาหาค าตอบในเรื่องน้ัน ๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้น แนะนำและให้ค า ปรึกษาแก่ผู้เรียนอยา่ งใกล้ชิด ต้ังแต่การเลือกหวั ข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดำเนินการ วางแผน กำหนดขั้นตอนการ ดำเนินงาน โดยทั่ว ๆ ไป การทำโครงงานสามารถทำได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่ง อาจทำเป็นรายบุคคล หรือเป็น กลุ่มก็ได้ ทั้งน้ีขึ้นกับนอยู่ลักษณะของโครงงาน อาจเป็นโครงงานเล็ก ๆ ที่ไม่ ยุงยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงาน ใหญ่ที่มคี วามยากและซบั ซอ้ นขึ้นกไ็ ด้ การเรียนรู้จากการทำโครงการ คู่มือการพัฒนาครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 7

การเรียนรู้จากการทำโครงการ หมายถึง กิจกรรมที่สถานศึกษาต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณสมบัติ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตอบสนองตามนโยบายของสถานศึกษา กระทรวง รัฐบาล ประเทศชาติ โครงการเกิดจาก ลกั ษณะความพยายามท่ีจะจัดกิจกรรมหรือดำเนนิ การให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ เพอื่ บรรเทา หรือลดหรือขจัดปัญหา และความต้องการทั้งในสภาวการณ์ปัจจุบันและอนาคต โครงการโดยทั่วไป สามารถแยกได้หลายประเภท เช่น โครงการเพอื่ สนองความต้องการ โครงการพัฒนาทวั่ ๆ ไป โครงการตาม นโยบายเรง่ ดว่ น เป็นต้น การเรียนรู้ดว้ ย การสอนเสริม หมายถึง การเรียนรู้ ในเน้ือหาของรายวิชาที่มีความยาก หรือ ความรู้ ที่มีความสลับซับซ้อน ที่ ครูผู้สอนในช้ันเรียน หรือในกลุ่มไม่สามารถจัดการเรยี นรู้ ให้กับผู้เรียนได้ โดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมา ให้ความรู้เป็นคร้ังคราว การวิเคราะห์สภาพปัญหา หมายถึง การแยกแยะสภาพปัญหาออกเป็นส่วนย่อยที่มี ความสัมพันธ์กัน เพื่อทำความเข้าใจแต่ละส่วนให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดู ว่าส่วนประกอบปลีกย่อยน้ันสามารถเขา้ กนั ได้หรือไม่ สัมพนั ธ์เกย่ี วเน่ืองกันอยา่ งไร ซงึ่ จะชว่ ยให้เกดิ ความเข้าใจ ต่อสิ่งหนึ่งสงิ่ ใดอยา่ งแท้จริง แผนการจดั กระบวนการเรยี นรู้หมายถงึ เ อ ก ส า ร เครื่องมอื ท่ชี ว่ ย ใหค้ รูมีทศิ ทาง ดำเนินการการจัด กระบวนการเรียนรู้ น าไปสู่การพัฒนาผู้ เรียนให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็น หมายถึง เรื่อง,ข้อความสำคัญ,ใจความสำคัญ ,หลักสำคัญ ,หลักใหญ่ ,หัวข้อที่ต้องการ เรียนรู้ ความ ตอ้ งการ หมายถงึ ความอยากได้ ความประสงคท์ ่ผี ูเ้ รยี นต้องการเรยี นรู้ ในเรอ่ื งที่ตรงกับ สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจำวันของตนเอง ความรู้ ที่ได้รับสามารถนำไปแก้ปัญหาน้ัน ๆ ได้อย่าง ทันท่วงที การเรียนรู้หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมอนั เปน็ ผลจากการที่บุคคลกระทำกจิ กรรมใด ๆ ทำให้เกิดประสบการณแ์ ละเกิดทักษะ ต่าง ๆ ขึ้น ยังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมค่อนขา้ งถาวร กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือ กพช. หมายถึง กิจกรรมที่สง่ เสริม สนับสนุนใหน้ กั ศึกษาเป็น ผู้รู้จกั คิด รู้จักทำ เป็นผู้คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น โดยนักศึกษาจะเป็นผู้จัดทำโครงการเสนอขอทำ กิจกรรม ต่าง ๆ ได้ตามความสนใจหรือความถนัด เน้นการน าความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้จาก การศึกษาเรียนรู้ ไปสู่การปฏิบัติที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม รวมถึงมีการ ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์เช่น การเป็นผู้มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม การมีวินัย การมีความซื่อสัตย์สุจริต เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีจะส่งผลให้นักศึกษา สามารถประพฤติ ปฏิบัติตนหรือใช้ชีวิตอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสมดุลและมีความสุข ในแต่ละระดับ การศึกษาจะต้องปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ชีวิตรวมแล้วไมน่ ้อยกวา่ 200ชวั่ โมง โดยมีขอบขา่ ยเนื้อหา ทงั้ ในภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ัติ ความจำเปน็ ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษานอกระบบ แบบบูรณาการ 1. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตร รายวิชา ที่ สถานศกึ ษาสามารถนำรายวชิ าในแต่ละภาคเรยี นไปจัดกระบวนการเรียนร้แู บบบรู ณาการ 2. ความต้องการเรียนรู้ ของผู้ใหญ่ เมื่อเรียนรู้แล้ว จะต้องนำไปใช้ได้ทันทีตามปรัชญาการศึกษา ผู้ใหญ่ ซ่ึง สอดคลอ้ งกับการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ แบบบูรณาการ โดยการเรยี นรู้ และแก้สภาพปัญหาท่ี เกิดข้ึน ในปจั จุบนั ของผู้เรียน ชุมชน สังคม 3. การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการเป็นการเรียนรู้ ในลักษณะองค์รวม เน้นการจัดการ เรียนรู้ตาม สภาพจริง ประกอบด้วย การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การเรียนรู้ ร่วมกัน การเรียนรู้ จากธรรมชาติ การเรียนรู้ จาก การปฏิบตั จิ ริง คมู่ อื การพฒั นาครูศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 8

4. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ แบบบูรณาการเป็นการเรียนรู้ ทีเ่ ช่อื มโยงกบั ศาสตร์หลายเรอ่ื ง มใิ ช่เรยี นรู้ แบบ แยกเปน็ ส่วน ๆ ท าใหผ้ ้เู รยี นได้คดิ วเิ คราะห์ ทำให้มคี วามรอบคอบ สามารถนำไปใช้ เปน็ แนวทางในการนำไป ประยุกตใ์ ช้ได้ตลอดชีวติ 5. ชว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถเชื่อมโยงผสมผสานความรู้ ตา่ ง ๆ สัมพันธก์ บั ชีวิตจรงิ มีความรู้ ความ เข้าใจในสภาพ หรือปญั หาน้ัน ๆ และทำให้มีพลงั ทจ่ี ะเรียนรู้ กระตือรือร้ นเพือ่ แกป้ ญั หา เนื้อหาทุกวิชาไมอ่ าจแยกจากกนั มา ใช้ได้ เช่นเดยี วกบั ชีวติ ของคนเราท่ตี อ้ งดำรงอยู่อยา่ งกลมกลนื เปน็ องคร์ วม ประโยชนข์ องการจดั การเรยี นรู้การศกึ ษานอกระบบ แบบบูรณาการ 1. ผู้เรยี นมโี อกาสไดเ้ ลอื กเรยี นตามความถนดั ความสนใจของตนเอง 2. มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย กวา้ งขวางตามความพร้อมของผเู้ รยี น 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิด ได้ทำ ได้แก้ปัญหา ได้ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง และผู้เรียนลง มือปฏิบัติเองโดยมี ครูผูส้ อนเปน็ เพยี งให้คำแนะน า ให้คำปรึกษา 4. มีการเชื่อมโยงเนื้อหาในวิชาเดียวกัน หรอื ตา่ งวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5. มีการยืดหยนุ่ เวลาเรยี นได้ตามสถานการณ์ 6. มกี ารเชือ่ มโยงสาระสำคญั หรอื ความคิดรวบยอดตา่ ง ๆ อย่างมคี วามหมาย 7. มีการใช้แหล่งความรู้ หรือแหล่งการเรียนได้อย่างหลากหลายเช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ ทางภาษาห้อง วทิ ยาศาสตร์ ชมุ ชน ผู้รู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ฯลฯ อยา่ งสมั พนั ธ์กันตามสภาพทีแ่ ทจ้ ริงหรือ ตามความเป็นจริง 8. มกี ารประเมินตามสภาพทีแ่ ทจ้ รงิ 9. ผู้เรียนไดร้ ว่ มสะท้อนความคิดหรอื สรุปความรู้โดยอสิ ระ 10. ผเู้ รียนมวี ิจารณญาณในการคดิ แกป้ ญั หา และอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ หลักสำคัญของการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ มีดังนี้ 1. การจดั การเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยตอ้ งกระตุ้นใหผ้ เู้ รยี นกระตือรือร้น มี ส่วน ร่วมในกระบวนการจดั การเรยี นการสอน 2. การส่งเสริมให้นักเรียนได้ร่วมท างานกลุ่มด้วยตนเอง โดยส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มลักษณะ ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย และส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมโี อกาสไดล้ งมอื ทำกจิ กรรมต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง 3. การจัดประสบการณ์ตรงให้แก่นักเรียน โดยให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้ จากสิ่งที่เป็นรูปธรรม เข้าใจ ง่าย ตรงกับความเป็นจริง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั อย่างได้ผล และส่งเสริมให้มีโอกาสได้ ปฏิบัติจรงิ จน เกิดความสามารถและทกั ษะจนติดเป็นนสิ ัย 4. การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดความรู้ สึกกล้าคิดกล้าทำ โดยส่งเสรมิ ให้ ผู้เรียน มีโอกาส ที่จะแสดงออก ซึ่งความรู้สึกนึกคิดของตนเองต่อสาธารณชน หรือ เพื่อนร่วมชันเรียน ทั้ งนี้เพื่อ เสริมสรา้ งความม่ันใจให้เกดิ ขึ้นในตวั ผ้เู รยี น 5. การปลูกฝังจิตสำนึก ค่านิยม และจริยธรรม ที่ถูกต้องดีงาม ให้ผู้เรียนสามารถจำแนกแยกแยะ ความ ถูกต้องดงี าม และความเหมาะสมได้ สามารถขจดั ความขัดแย้งได้ด้วยเหตผุ ล มคี วามกล้าหาญทาง จริยธรรม และ แกไ้ ขปญั หาด้วยปญั ญา และสามัคคี คู่มือการพัฒนาครูศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 9

รูปแบบของการบูรณาการ มี 4 รูปแบบ คือ 1. การบูรณาการแบบสอดแทรก ครูผู้สอนในวิชาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาของวิชาอื่น ๆ เข้า ในการเรียน การสอนของตน เป็นการสอนตามแผนการสอนและประเมนิ ผลโดยครูคนเดียว วิธีนี้ถึงแม้ ผู้เรียนจะเรียนจากครู คนเดยี ว แต่สามารถมองเหน็ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งวิชาได้ 2. การบูรณาการแบบขนาน ครูต้งั แต่ 2 คน ขนึ้ ไปสอนตา่ งวชิ ากันต่างคนต่างสอน แตต่ อ้ ง วางแผนเพื่อ สอนร่วมกนั โดยมงุ่ สอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด / ปญั หาเดียวกัน ระบุสิง่ ท่ีทำรว่ มกันและ ตัดสินใจร่วมกันว่า จะสอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอดและปัญหาน้ัน ๆ อย่างไร ในวิชาของแต่ละคน ใคร ควรสอนก่อน-หลัง งาน หรือการบ้านที่มอบหมายให้ผู้เรียนท าจะแตกต่างกันไปในแต่ละวิชา แต่ทั้งหมด จะต้องมีหัวเรื่อง/ความคิดรวบ ยอด/ปัญหาร่วมกัน การสอนแต่ละวิชาจะเสริมซึ่งกันและกัน ทำให้ผู้เรียน มองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ระหว่างวิชา 3. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ การจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบน้ีคล้ายกับบูรณา การแบบ ขนาน กล่าวคอื ครตู ้ังแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากนั มาวางแผนเพ่อื สอนร่วมกนั โดยกำหนด วา่ จะสอนหัวเร่อื ง/ ความคิดรวบยอด/ปญั หาเดยี วกนั ตา่ งคนตา่ งแยกกนั สอนตามแผนการสอนของตนแต่มอบหมายให้ผูเ้ รียนทำงาน หรือโครงการร่วมกัน ซึ่งจะช่วยเชื่อมโยงความรู้ สาขาวิชาต่าง ๆ เข้า ด้วยกันจนสร้างช้ินงานได้ ครูแต่ละวิชา กำหนดเกณฑ์เพ่อื ประเมินผลชิ้นงานของผู้เรียนในสว่ นวชิ าท่ตี น สอน 4. การบูรณาการแบบข้ามวิชา หรือสอนเป็นคณะ ครูที่สอนวิชาต่าง ๆ ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือ กำหนดหวั เรื่อง ความคิดรวบยอด ปัญหาเดยี วกัน จัดทำแผนการสอนร่วมกนั แล้วรว่ มกนั สอนเป็นคณะ (Team) โดยดำเนินการสอนผู้เรยี นกลุ่มเดียวกัน มอบหมายงาน โครงการให้นักเรยี นทำรว่ มกัน ครูทุกวิชาร่วมกันกำหนด เกณฑ์เพื่อประเมินผลชิ้นงานของผู้เรียนร่วมกัน การจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เหมาะสมสำหรับนักศึกษา การศึกษานอกระบบ คือการนำหลักการ การบูรณาการทุกรูปแบบมาใช้ท้ังรูปแบบการสอดแทรก แบบคู่ขนาน แบบสหวิทยา แบบโครงการ แบบ โครงงาน การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการอาจใช้หลาย ๆ เทคนิค ผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั การจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษานอกโรงเรยี นแบบบูรณาการ โดยใช้ “ONIE MODEL” ขน้ั ตอนการ จัดกระบวนการเรยี นรู้ แบบบูรณาการเปน็ ข้ันตอนท่ีสำคัญในการจดั การเรียนรู้ การศึกษานอกระบบ การจดั กระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการโดยใช้ ONIE MODEL ประกอบด้วย กระบวนการหลักๆ ไดแ้ ก่ 1. การกำหนดสภาพปัญหาทต่ี ้องการในการเรยี นรู้ (Orientation) 2. การแสวงหาความรแู้ ละข้อมลู ต่างๆ (New Way of Learning) 3. การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Implementation) 4. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Evalution) องค์ประกอบต่างๆ เหล่านี้ ถูกนำมาเป็นประเด็นในการกหนำดกระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นการ รวบรวมเนื้อหาสาระของวิชาการต่างๆ ที่มีลักษณะเหมอื นกัน หรือคล้ายกัน ให้เชื่อมโยงสมั พันธเ์ ป็นส่ิง เดียวกนั โดยการต้ังเป็นหัวเรื่องข้ึนใหม่ และมีหัวข้อย่อยตามเนื้อหาสาระที่สามารถจัดการเรียนรู้ เป็นเรื่อง เดียวกันได้ และยังให้โอกาสกับผู้เรยี นในการปฏิบัติกจิ กรรมดว้ ยตนเองให้มากทส่ี ุด มกี จิ กรรมการเรียนรู้ ท่ี ใชห้ ลากหลายวิธี และด้วยองค์ประกอบที่สอดคล้องกับเน้ือหาสาระดังกล่าวนี้จึงขอเรียกกระบวนการจัดการเรียนรู้นี้ว่าการจัด กระบวนการเรียนร้โู ดยใช้ “ONIE MODEL” คมู่ อื การพัฒนาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 10

จดั อยา่ งไรใน ONIE MODEL การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้ ONIE MODEL คือการนำองค์ประกอบต่างๆ ของการจัดการ ความรู้ มาวิเคราะห์ และดำเนินการจัดการเรียนรู้ อย่างเป็นข้ันตอน ซึ่งเริ่มจากการวิเคราะห์สภาพปัญหา และความ ต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และน ามาจัดกลุ่มและตั้งชื่อเรื่อง จากนั้นครูและผู้เรียนจึง ร่วมกันวิเคราะห์ ต่อไปว่าในการที่จะต้องการความรู้ ในเรื่องนั้นๆ จะต้องมีข้อมูลหรือความรู้ อื่นใดอีกบ้างที่ จะต้องศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติม แล้วช่วยกันรวบรวมรายละเอียดเน้ือหาต่างๆ ที่สอดคล้องกัน สามารถนำมา เรียนรู้ร่วมกัน มีการก าหนดประเดน็ ปญั หา สิง่ ที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ และกำหนดกิจกรรมในการเรยี นรอู้ ยา่ ง เป็นข้ันตอน ดังนี้ ตวั อย่าง การจดั การเรียนรู้โดยใช้ONIE MODEL ขั้นตอนที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ (O: Orientation) - ผู้เรียนและครูร่วมกันพูดคุยซักถามเรื่อง เหตุการณ์ปัจจุบัน โดยพบวา่ สังคมปัจจบุ ันเกิดปัญหา เศรษฐกจิ ตกต่ำสนิ คา้ มีราคาแพงข้ึน ประชาชนได้รบั ค่าแรง ต่ำแตย่ ังมพี ฤติกรรมใช้จา่ ยฟุ่มเฟือย ทำใหเ้ กดิ ปัญหาการเปน็ หนี้นอกระบบ ขาดนิสยั การออม ประชาชนประสบ ปัญหาความยากจน และมีแนวโน้มทวี ความรุนแรงต่อไป ประชาชนตกงานเนื่องจากขาดความรู้ มีการเลือกงาน และเปลี่ยนงานบ่อย ทั้งนี้รวมไป ถึงปัญหาในการขาดการวางแผนในการใช้จ่าย ทำให้รายรับไม่เพียงพอกับ รายจ่าย ข้ันตอนที่ 2แสวงหาข้อมูลและกิจกรรมการเรียนรู้ (N : New way of Learning) 8 - ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำแล้วนำมา วิเคราะห์สรุปเป็นผังความคิด (Mind Mapping) แล้วนำมาเสนออภิปรายในการพบกลุ่มการจัดการเรียนรู้ - ให้ผู้เรียนมีการศึกษาแผนพัฒนาอาชีพ จากแหล่งความรู้ ต่างๆ แล้วนำมาเสนออภิปรายร่วมกนั เพื่อเป็นแนวทางในการแสวงหาอาชีพท่ีเหมาะสมตอ่ ไป - อาจมีการร่วมกันสำรวจทรัพยากรและการประกอบอาชีพของชุมชน แล้วนำมาศึกษาวิเคราะห์ ปัจจัย ความ ต้องการ ประเภทธรุ กิจ จัดทำแผนการดำเนนิ งาน ซึง่ จะเปน็ แนวทางในการขยายงานออกไปได้ อีกดว้ ย ขนั้ ตอนท่ี 3 การปฏิบัติและนำไปใช้ (I : Implementation) ขนั้ ตอนน้ีสามารถช่วยกันสรุปสาระสำคญั และนำ ความรู้ ที่สอดคล้องไปเป็นแนวทางในการดำเนิน ชวี ติ โดยเลอื กความรู้ท่ไี ดร้ ับนำไปปรบั ประยกุ ต์ใช้ได้อย่าง เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความรู้ ความสามารถ ความต้องการของแต่ละคน มกี ารพัฒนาศักยภาพทช่ี ัดเจน นำไปสู่ การมชี ีวติ ทม่ี คี ุณภาพสมบูรณ์ต่อไป ขน้ั ตอนท่ี 4 การประเมินผลการเรียน (E : Evaluation) การจดั การเรียนรู้ ควรต้องมีการประเมนิ ผลจงึ จะ ทราบวา่ การจัดการเรียนรู้ น้ันเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ทต่ี ั้งไวห้ รอื ไม่ เนื้อหาครบถว้ นสมบรู ณ์ตามทีต่ ้ังใจจะให้ เป็นหรอื ยงั หรือควรจะตอ้ งมีการ เพิ่มเตมิ ปรับปรุงส่วนใดอกี หรือไม่ อยา่ งไร ในขั้นนี้ผูเ้ รยี น และผ้สู อน จะต้องมี การสรุปสาระสำคญั ร่วมกนั ตามมาตรฐานการเรียนรู้ แล้วประเมินผลการจัดการเรยี นรู้ ทั้ง 4 ขน้ั ตอนในการจดั กระบวนการเรียนรโู้ ดยใช้ ONIE MODEL เป็นแนวทางในการจดั การเรยี นรู้ ทส่ี อดคล้องกบั วิสัยทัศน์ของ สำนักงาน กศน. ทว่ี ่า “คนไทยเกดิ สังคมแหง่ การเรยี นรู้” และยงั ผนวกด้วย เหตผุ ลในการจดั การเรยี นรู้ใหเ้ ปน็ ไป ตามเปา้ ประสงค์ 7 ประการ ดงั นี้ 1. คนไทยไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาอยา่ งทวั่ ถึง ครอบคลุมและเปน็ ธรรม 2. ผเู้ รยี นละผรู้ บั บริการได้รับการศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพ ได้มาตรฐานและมีคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ เพอื่ นำไปสู่ความเป็นพลเมืองดีในระบบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 3. ภาคเี ครือขา่ ยเข้ามาร่วมดำเนินการจดั การศึกษาตลอดชีวิตอย่างกวา้ งขวาง คมู่ อื การพัฒนาครูศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 11

4. ชุมชนมกี ารจัดการความรู้ และกระบวนการเรยี นรูเ้ พอ่ื สร้างสงั คมแหง่ ภมู ิปญั ญาและการเรียนรู้ 5. แหล่งการเรียนรู้ มีอยู่อย่างทั่วถึงและได้รับการพัฒนา เพื่อเพิ่มโอกาสและช่องทางการศึกษา และการเรียนรู้ ตลอดชวี ิตท่ีมีคุณภาพ และตอบสนองความต้องการของประชาชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษานำเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการ บริหารองค์กรและการจดั บริการการเรยี นร้แู กป่ ระชาชนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 7. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ สามารถจัดบริการตอบสนอง กับสภาพและ ความต้องการของผเู้ รยี และผู้รับบรกิ ารไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 8. แม้กระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอนตามรูปแบบ ONIE จะสามารถอธิบายได้อย่าง ชัดเจนถึง การบูรณาการเน้ือหาสาระของวิชาต่างๆ ได้แล้ว สิ่งที่ควรคำนึงถึงและความสำคัญอย่างยิ่งในการ เชื่อมโยง ความสัมพันธ์เพื่อนำไปสู่การค้นคว้าหัวข้อองค์ความรู้ ใหม่ เพื่อมาวิเคราะห์ สังเคราะห์สู่การ แก้ ปัญหาเพื่อให้ พบความสุข ซึ่งบุคคลสามารถรู้จักตนเอง แสวงหาความรู้ ปรับประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างลงตัว และ รากฐานของความเชื่อตามแนวพระพุทธศาสนา ที่สอนให้บุคคลสามารถ พ้นทุกข์ และพบความสุขได้ด้วยการ ค้นหาสาเหตุของปัญหา สาเหตุของทุกข์ ซึ่งจะส่งผลให้บุคคลน้ัน สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็น บุคคลที่เรียกว่าเป็นผู้ “คิดเป็น” Khit-Pen เกี่ยวอะไรกับ ONIE ปรัชญา “คิดเป็น”อยู่บนพื้นฐานความคิดที่ว่า ความต้องการของแตล่ ะบุคคลไม่เหมือนกัน แต่ ทุกคนมจี ดุ รวมของความต้องการท่ีเหมือนกนั คอื ทุกคนต้องการ ความสุข คนเราจะมีความสุขเมื่อเราและ สังคมสิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกันได้โดยการปรับปรุงตัวเราให้เข้า กับสังคมหรือส่ิงแวดล้อมหรือโดย การปรบั ปรงุ สงั คมและสิ่งแวดล้อมให้เข้ากับตัวเรา หรอื ปรับปรุงทั้งตัวเราและ สังคมสิ่งแวดล้อมให้ประสม กลมกลนื กัน หรือเขา้ ไปอยู่ในสงิ่ แวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมกบั ตน คนทสี่ ามารถทำได้เช่นน้ี เพื่อให้ตนเองมี ความสุขนั้น จำเป็นต้องเป็นผู้มีความคิดสามารถคิดแก้ปัญหา รู้จักตนเองและธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม จึงจะเรียกได้ว่าผู้น้ันเป็นคน “คิดเป็น” หรืออีกนัยหนึ่งปรัชญา “คิดเป็น” มาจากความเชื่อพื้นฐาน ตามแนวพุทธ ศาสนา ที่สอนให้บุคคลสามารถพ้นทุกข์ และพบความสุขได้ด้วยการค้นหาสาเหตุของปัญหา สาเหตขุ อง ทกุ ขซ์ ง่ึ ส่งผลใหบ้ ุคคลผู้น้ันสามารถอยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสุข (ส านักงาน กศน. , 2551 : ) ความหมายของ “คิดเป็น” โกวิท วรพิพัฒน์ ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับ “คิดเป็น” ว่า “บุคคลที่คิดเป็นจะ สามารถเผชิญปัญหาใน ชวี ิตประจ าวนั ได้อย่างมีระบบ บคุ คลผ้นู ้ีจะสามารถพินิจพจิ ารณาสาเหตุของปญั หาท่ีเขา กำลังเผชญิ อยู่ และสามารถรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ ไดอ้ ย่างกวา้ งขวางเกีย่ วกับทางเลอื ก เขาจะพิจารณาข้อดีข้อเสีย ของแต่ ละเรื่อง โดยใช้ความสามารถเฉพาะตัวค่านิยมของตนเอง และสถานการณ์ที่ตนเองก ำลังเผชิญอยู่ ประกอบการพิจารณา” การ “คิดเป็น” เป็นการคิดเพื่อแก้ปัญหา คือ มีจุดเริ่มต้นที่ปัญหาแล้วพิจารณา ย้อน ไตร่ตรองถึงข้อมูล 3 ประเภท คือข้อมูลด้วยตนเองชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ ต่อจากนั้นก็ลง มอื กระท าถา้ หากสามารถท าใหป้ ญั หาหายไป กระบวนการกย็ ุตลิ ง แตห่ ากบุคคลยงั ไมพ่ อใจ แสดงวา่ ยังมีปัญหา อยู่ บุคคลก็จะเริ่มกระบวนการพิจารณาทางเลือกใหม่อีกครั้ง และกระบวนการนี้ยุติลง เมื่อบุคคลพอใจและมี ความสุข เมื่อบุคคลต้องการความสุข จึงต้องมีการแสวงหา แต่ความต้องการของแต่ ละบุคคลย่อมแตกต่างกัน บคุ คลจะมคี วามสุขได้บคุ คลน้ันจะต้องมีความผสมกลมกลืนกันได้กับสังคมและ สง่ิ แวดล้อม น่นั คอื การปรับตัวให้ เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา โดยอาจปรบั 10 สงั คมและสิ่งแวดล้อมให้เข้ากับตัวเรา หรือปรับทั้งตัวเราและสังคมสิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกันได้ก็จะมี ความสุข คนที่ทำเช่นนี้ได้จะต้องรู้จักใช้ ปญั ญา ร้จู ักตนเองและธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อมเป็นอยา่ งดี จึงจะเรียก ไดว้ ่า “คนคดิ เป็น” น่ันคือเป็นผู้ท่ีรู้จักปัญหา เร่อื งทกุ ข์ ร้จู ักสาเหตแุ หง่ ทุกข์ ซึง่ มีอยู่ในตนเอง และ สภาพแวดลอ้ ม รจู้ ักการวิเคราะห์หาวิธดี บั ทกุ ขจ์ ากวิชาการ คู่มอื การพัฒนาครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 12

และประสบการณ์ และสามารถใชก้ ลวิธีท่ี เหมาะสมในการดับทุกข์ จึงจะเกิดความสุข ถ้ายังไมเ่ กดิ ความสุขก็ต้อง ย้อยกลับไปพิจารณาข้อมูลทั้ง 3 ด้าน คือ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และด้านวิชาการใหม่อีกคร้ัง จนกว่าจะ พอใจ นนั่ คอื พบกบั ความสขุ ตามท่ีตนต้องการ ดงั ผังกระบวนการคดิ ดงั ตอ่ ไปนี้ แผนภูมิ กระบวนการแก้ไขปญั หา ของคน “คิดเปน็ ” จะเหน็ ไดว้ ่าการจดั กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ ONIE MODEL ล้วนใช้พ้ืนฐานจากปรัชญา “คิด เปน็ ” ทงั้ ส้ินเพราะในแตล่ ะข้ันตอนใชข้ ้อมูลในการพินิจพิจารณาที่เหมือนกนั กลา่ วคอื มกี ารกำหนดส่ิงที่ต้องการ เรยี นรู้ หรือปญั หาท่ตี อ้ งการจะนำไปส่กู ารแก้ไข ซงึ่ แนน่ อน จะต้องคดิ อยา่ งเปน็ ระบบเพือ่ ทจี่ ะแกป้ ัญหา เหลา่ น้ัน ซึ่งการคิดอย่างเป็นระบบก็คือการ “คิดเป็น” การคิดอย่างเป็นระบบนั้น ก็จะต้องใช้ข้อมูลต่างๆ มา ประเมินผล พอใจ ไม่พอใจ ปฏิบัติ หาทางแกปัญหา ตนเอง สังคม วิชาการ สาเหตุของปัญหา ปัญหา ความสุข ประกอบกัน ข้อมูลที่ว่าก็คงไม่พ้น 3 องค์ประกอบ ตามหลักการพ้ืนฐานของปรัชญาคิดเป็นเช่นเดยี วกัน คิด จนรอบคอบ พบ ความสุข แก้ปัญหาได้ จึงนำความรู้ ที่ได้ไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสมตามรูปแบบของ ONIE ในส่วนของการน าไปใช้ (Implementation) ขั้นสุดท้ายคือขั้นประเมินผล บทสรุปของปรัชญาคิดเป็น และการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ ONIE MODEL จบลงด้วยการประเมินผล หากยังไม่พอใจปรัชญาคิดเป็น ต้องย้อนกลับไปไตร่ตรองหาเหตุผลจากสามองค์ประกอบใหม่ จนสามารถ แก้ปัญหาได้ พบความสุขตามความ พอใจของบุคคล เชน่ เดยี วกบั รูปแบบ ONIE ซึง่ จะต้องจัดการเรียนรู้ให้ เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ทต่ี ้ังไว้นั่นเอง คิด อย่างไรเรียกว่า “คิดเป็น” “คิดเป็น” เป็นการคิดแบบพอเพียง พอประมาณ ไม่มาก ไม่น้อยเป็นทางสายกลาง สามารถอธิบาย ได้ด้วยเหตุผล พร้อมที่จะรับผลกระทบที่เกิดโดยมีความรอบรู้ในวิชาการที่เกี่ยวข้องอย่างรู้จริง สามารถนา ความรมู้ าใช้ประโยชนไ์ ด้ มคี ณุ ภาพใช้สติปัญญาในการด าเนินชวี ติ ซึง่ แนวคิดนี้สอดคล้องกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั่นเอง เป็นการบูรณาการเอาการคิด การกระท า การ แก้ปัญหา ความเหมาะสมและความพอดีมารวมไว้ในคำว่า “คิดเป็น” คือ การคิดเป็นทำเป็นอย่าง เหมาะสมตน เกิดความพอดี และแกป้ ญั หาได้ดว้ ย การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือให้เป็นคน “คิดเปน็ ” กระบวนการเรียนรู้ตาม ปรชั ญา “คิดเปน็ ” นี้ผู้เรยี นสำคญั ท่ีสุดผู้สอนจะเป็นเพียงผจู้ ัดโอกาส จัดกระบวนการ จดั ระบบขอ้ มูล และแหล่ง การเรยี นรู้ กจิ กรรมในการเรยี นรู้อาจมีแนวปฏิบตั ิดงั นี้ 1. 1.กระต้นุ ใหผ้ ้เู รยี นคิดวเิ คราะหจ์ ากปญั หาและความต้องการของตนเอง 2. ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ 3. เรยี นรู้จากการอภิปรายถกเถียงในประเดน็ ทเ่ี ป็นปัญหา 4. ใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรจู้ ากกระบวนการกลมุ่ มีการใช้ข้อมลู หลาย ๆ ด้าน 5. เรียนรู้จากวิถชี ีวิตจรงิ จากการทำงาน 6. ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรจู้ ากการทำโครงงาน 7. เรียนรจู้ ากการศึกษา กรณตี วั อยา่ งเพือ่ การแก้ปัญหาชุมชน 8. ผู้เรียนต้องรู้จักใช้ข้อมูลที่ลกึ ซึ่ง ฝึกตดั สินใจด้วยระบบข้อมูลทีเ่ พียงพอและเชือ่ ถอื ได้ 9. นำเวทีชาวบา้ นมาเปน็ เคร่ืองมือสำคัญในกระบวนการคดิ แก้ปัญหา 10. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนได้ตัดสนิ ใจในการแกป้ ัญหาบนพ้ืนฐานของขอ้ มลู ตนเอง ชุมชนสิ่งแวดล้อม และ วิชาการ คูม่ ือการพัฒนาครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 13

11. การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM ) การจดั การความรู้(Knowledge Management : KM) หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ใน หน่วยงานซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือ เอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระท า ตลอดจน ประสบการณ์ของบุคคล เพื่อสร้างความรู้ เป็นนวัตกรรม และ จัดเก็บไว้ในลักษณะแหล่งข้อมูล เพื่อให้ ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และพัฒนาตนเองเป็นผู้รู้ รวมทั้ง ปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อนั จะก่อให้เกดิ การแบง่ ปันและถา่ ยโอน ความรู้ ในทีส่ ุดความรู้ ท่ีมีอยู่ จะแพร่กระจายสูอ่ งค์กรและสง่ ผลให้องค์กรมีความสามารถในการพัฒนา ผลผลิตสงู สุด (พรธิดา วิเชียร ปัญญา, 2547) การดำเนนิ การจัดการความรู้ 1) การกำหนดความรู้ หลักท่ีจำเป็นหรือสำคญั ต่องานหรือกจิ กรรมของกลุ่มหรือองค์กร 2) การเสาะหาความรทู้ ีต่ ้องการ 3) การ ปรบั ปรงุ ดัดแปลง หรือสร้างความรูบ้ างส่วน ใหเ้ หมาะตอ่ การใชง้ านของตน 4) การประยุกต์ใชค้ วามรูใ้ นกิจการงานของตน 5) การนำประสบการณจ์ ากการทำงาน และการประยุกต์ใชค้ วามร้มู าแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และสกัด “ขุมความร”ู้ ออกมาบนั ทึกไว้และการจดบันทกึ “ขมุ ความรู้” และ “แกน่ ความรู้” สำหรับไวใ้ ช้ งาน และปรบั ปรุงเปน็ ชดุ ความรทู้ ่ีครบถ้วน ลุม่ ลกึ และเช่อื มโยงมากขึ้น เหมาะต่อการใช้งาน มากยง่ิ ขน้ึ ประเภทของความรู้ความรสู้ ามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญๆ่ ไดส้ องประเภท 1.ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน หรือความรู้มองเห็นไม่ชัดเจน (Tacil Knowledge) เป็นทักษะความรู้ที่ได้จาก ประสบการณ์ พรสวรรค์ หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่ สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย แต่สามารถแบ่งปันความรู้ โดยการ สังเกต และเลียนแบบ เชน่ ทกั ษะในการทำงานฝีมอื หรือการคิดเชงิ วิเคราะห์ บางครั้งจงึ เรยี กวา่ ความรู้แบบ นามธรรม ๒.ความรู้ที่ชัดเจน (Explicil Knowledge) เป็นความรู้ ที่สามารถรวบรวมถ่ายทอดได้โดยผ่าน วิธีการต่างๆ เช่น การบนั ทกึ เป็นลายลกั ษณ์อักษร ทฤษฎี คมู่ อื ต่างๆ และบางคร้ังเรยี กว่าเป็นความรแู้ บบ รปู ธรรม ระดบั ของความรู้ ความรู้แบ่งเปน็ 4 ระดับดังน้ี ระดบั ท่ี 1 : Know-what > รูว้ ่าคอื อะไร เป็นความรเู้ ชงิ การรับรู้ ระดบั ที่ 2 : Know-how > รู้วธิ กี าร เปน็ ความสามรถในการนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ ระดับที่ 3 : Know-why > รู้เหตุผล เป็นความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงเชิงเหตุผลที่สลับซับซ้อนอยู่ภายใต้ เหตุการณ์ และสถานการณ์ต่างๆ ความรู้ น้ีสามารถพัฒนาได้บนพ้ืนฐานของประสบการณ์ในการแก้ไข ปัญหาและการ อภปิ รายแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกับผู้อนื่ ระดับที่ 4 : Care-why > ใส่ใจกับเหตุผล เป็นความรู้ ในลักษณะ การสร้างสรรค์ที่มาจากตัวเอง บุคคลที่มีความรู้ในระดับนี้จะมีเจตจำนง แรงจูงใจ และการปรับตัวเพื่อ ความสำเร็จ บทสรุป การดำเนินการด้านการจัดการกระบวนการเรียนรู้อีกประเภทหนึ่งที่แตกต่างไปจาก การศึกษาที่จัด กันในโรงเรียน ในสถานศึกษาตามความเข้าใจทั่วไป เป็นการศึกษาที่เรียกว่าการศึกษานอก โรงเรียน การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาทางเลือก การศึกษาเพื่อการพัฒนา หรือที่ คู่มือการพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 14

พยายาม เรียกรวมเข้าด้วยกันว่า การศึกษาตลอดชีวิต ซึ่งอาจจะใช่หรือไม่ใช่ท้ังหมด แต่เป็นที่ยอมรับว่า การศึกษา ประเภทนี้มีอยู่จริงและเป็นการศึกษาที่เป็นความหวังของผู้คนจำนวนมากในสังคมปัจจุบัน ความ พยายาม ที่จะส่อื สารให้สังคมได้รบั รู้ และเขา้ ใจเร่ืองของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ภายใต้ บริบทของค าว่าการศึกษาตลอดชีวิต มีการลงมือจัดการศึกษาประเภทนี้อย่างต่อเนื่องและจริงจังท าให้ สร้าง โอกาสให้ประชากรได้เป็นจำนวนมาก เพราะความสำคัญของการรู้หนังสือซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของ การพัฒนา ประเทศในปัจจบุ ันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมที่มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว โลกแห่งการ สื่อสารไร้พรมแดน การรหู้ นงั สอื เพยี งแค่อ่านออกเขยี นได้ท่ัว ๆ ไปอาจจะน้อยเกนิ ไป คงจะต้องมกี ารพัฒนา ทซี่ บั ซ้อนข้ึน โดยเฉพาะ การอ่านออกเขียนได้ทางคอมพิวเตอร์ (Computer Litteracy) การใชเ้ ทคโนโลยี ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างสอดคล้องกับวิถี ชีวิตที่เปลี่ยนไป การจัดการเรียนรู้ จำเป็นต้องเชื่อมโยงเน้ือหาที่ยากขึ้น ซับซ้อนและจำเป็นที่จะต้องมีการ พัฒนาขนึ้ เร่ือยๆ การเรยี นรูน้ ้ันเป็นธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ทจี่ ะตอ้ งเรยี นรอู้ ยตู่ ลอดเวลา ตั้งแต่เกดิ จนกระท่ังตาย ส่ิง ที่ มนุษย์เราเรียนรู้และดำรงชีวิตอยู่นั้น ไม่ได้จากการเรียนรู้เพียงในโรงเรียนเท่าน้ัน การเรียนในโรงเรียนตามท่ี กำหนดให้เปน็ เพยี งการเรียนเพียงชว่ งอายหุ น่ึงเท่าน้ัน แต่ยังมีความรู้ อกี มากมายมหาศาลท่ีเราจะตอ้ ง เรยี นรู้ ย่ิง มีการพัฒนาความรู้ข้ึนมาเรื่อยๆ จำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องเรียนรู้ให้ทันการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ การจัดการ เรียนรู้ ตามรูปแบบการศึกษานอกโรงเรียนถือเป็นการจัดการเรียนรู้ ให้กับผู้พลาดโอกาสทาง การศึกษาให้มี โอกาสก้าวสู่ความสำเร็จได้ การเรียนรู้ สู่การปฏิบัติถือเป็นสิ่งสำคัญต่อการพัฒนาไปสู่ เป้าหมาย การนำความรู้ ไปปฏิบัติให้เกดิ ประโยชนเ์ ป็นรปู ธรรม โดยอาศัยการมีปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างบุคคล ทำให้องค์ความรู้กว้างขวางข้ึนมี การแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งกันและกัน มีการจัดการความรู้ ที่ดี และมีระบบ ด้วยความต่อเนื่อง ผสมผสาน สอดคล้อง โดยมีความยืดหยุ่นในด้านเวลา สถานที่ เน้ือหา ตลอดจนเทคนิค การเรียนการสอนที่มีหลากหลาย รูปแบบในการจัด 14 การจัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ ได้ด้วยตนเอง โดยการใช้สื่อการ เรียนรู้ ท่ี หลากหลาย ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล ภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในท้องถ่ิน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ อน่ื ๆ ผู้เรยี น ครู สามารถพฒั นาส่ือการเรียนรู้ ข้ึนเอง หรือนำส่อื ตา่ งๆ ท่มี อี ยู่ใกล้ตวั และ ข้อมูลสารสนเทศที่เกีย่ วข้องมาใช้ในการเรียนรู้ โดยใช้วิจารณญาณในการเลือกใช้สือ่ ต่างๆ ซึ่งจะช่วย ส่งเสริมให้ การเรียนรู้เป็นไปอย่างคุ้มค่า น่าสนใจ ชวนคิด ชวนติดตาม เข้าใจง่าย เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียน รู้ จักวิธีการ แสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้ อย่างกว้างขวาง ลึกซ้ึง และต่อเนื่องตลอดเวลา การจัด กระบวนการเรียนรู้ ใน องค์กรมีความแตกต่างจากการเรียนรู้ ในระบบการศึกษา เพราะเป็นการเรียนรู้ ของ ผู้ใหญ่ที่เรียนรู้จาก สภาพแวดล้อมการท างาน เป็นกระบวนการของการปรับปรุงแก้ไขปัญหาโดยผ่านความรู้ ความเข้าใจจาก ประสบการณใ์ นอดีต สง่ิ ทีเ่ คยท าผดิ พลาดในอดีต ส่ิงทีไ่ ดร้ ับจากการปฏบิ ตั ิงานและความรู้ จากศาสตรอ์ ืน่ ๆ การ จัดกระบวนการเรียนรู้ สามารถเรียกได้ว่า เป็นการแบ่งปันความรู้ความเข้าใจให้ขยาย ไปสู่วงกว้างต่อไป การ เรียนรูป้ ระเภทน้ีจะเกิดขนึ้ ใน 4 ลกั ษณะ ดังน้ี 1. การเรียนรู้จากการแกป้ ญั หา เปน็ การเรยี นรู้จากการแก้ปญั หาท่ีเกิดขึ้นจริง เก่ยี วข้องโดยตรงกบั การทำงาน ปัญหาทเี่ กดิ จากการทำงานจะเป็นตวั กำหนดว่าเราจะต้องเรียนรู้ อะไรบ้างจงึ จะแก้ไขปัญหา เหล่านั้นได้ 2. การเรียนรรู้ ่วมกนั เปน็ ทีม จะทำใหเ้ กดิ การเรียนรู้มากกวา่ การเรยี นรู้ของบคุ คล ทำให้สมาชกิ ได้ คิดอยา่ งลึกซ้ึง และร่วมกิจกรรมในการเรียนรู้เพอ่ื การพฒั นา 3. การเรียนรู้โดยการปฏิบตั ิ เป็นการเรยี นรู้จากประสบการณ์ การแลกเปลี่ยน การไดร้ บั คำแนะนำ จากบคุ คลอ่ืน คู่มอื การพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 15

4. การเรียนรู้และทำงานร่วมกันในลักษณะภาคีเครือข่าย เป็นลักษณะความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น โดยไม่มีการ บังคับ แลกเปลี่ยนความคิดและทรัพยากรระหว่างกันตามความสมัครใจ มีการช่วยเหลือซึ่งกัน และกันอย่าง สมำ่ เสมอ ดว้ ยหลกั การและเหตุผลดังทไี่ ด้กล่าวมานี้ย่อมเปน็ ทป่ี ระจักษ์วา่ กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ONIE MODEL ในการบูรณาการเนื้อหาวิชาการ เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหา แสวงหาองค์ความรู้ และ ตอบสนองความ ต้องการของบุคคล ยึดปรัชญา “คิดเป็น” ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ พัฒนาตนในการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนใช้แนวทางการจดั การศกึ ษาในพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งยดึ หลกั ทว่ี ่า ผู้เรียนทุก คนสามารถพฒั นาตนเองได้ และผูเ้ รยี นมีความสำคัญทีส่ ุด ดงั น้ันการ จดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษานอกระบบ แบบบูรณาการ จึงถือเป็นระบบหลักของการพัฒนาคนสู่การเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม มีจริยธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อยา่ งมีความสุข มีคุณภาพชีวิติที่ดี เป็น การปพู น้ื ฐานของการพฒั นาทั้งปวง เพราะการ พฒั นาสิง่ ต่างๆ น้ัน สำคญั ท่สี ุด ต้องพัฒนา “คน” กอ่ นนนั่ เอง http://www.edu.ru.ac.th/coved/pdf/nfe/onie.pdf คู่มือการพฒั นาครศู นู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 16

การใช้แผนทช่ี มุ ชนสามมิติเพอ่ื ใชใ้ นการปฏิบตั ิงานการจัด การศึกษาบนพื้นทีส่ งู คู่มือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 17

การใชแ้ ผนที่ชมุ ชนสามมติ เิ พ่ือใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน การจัดการศกึ ษาบนพนื้ ทสี่ ูง ๑. ความเป็นมา การจดั การศึกษาบนพื้นทสี่ ูง (ศศช.) เป็นงานทีม่ คี วามสำคัญในพ้ืนท่ีกับกลุ่มเป้าหมายท่ีมีลักษณะเฉพาะ แตกต่างจากคนพื้นราบทั่วไป ซี่งมีหลักการสำคัญของการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและ กลุ่มเป้าหมาย ในรูปแบบศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” โดยในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ มีความ แตกต่างกันตามสภาพวิธีการดำรงชีวิต ความคิด ความเชื่อ สังคม ภูมิปัญญาและวัตนธรรม ดังนั้นการจัด การศึกษาต้องมุงเน้นให้แก้ปัญหา และ ตอบสนองความต้องการของชุมชน โดยมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ จดุ เนน้ นโยบาย ของสำนักงานกศน.ด้วย เนื่องจากการดำเนินงานการจัดการศึกษาบนพ้นื ที่สงู นนั้ ครศู ศช. “แม่ฟ้าหลวง”ท่ีไดร้ ับบรรจุ แตง่ ต้ังใหม่ ยังขาดความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับ แผนที่ชมุ ชนสามมิติทีว่ เิ คราะห์จากสภาพปัญหาและความต้องการ ของชุมชนและการนำข้อมูลมาวางแผนในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของคนใน ชุมชน รู้ทิศทางการทำงานที่ชัดเจน โดยการนำข้อมูลจากแผนที่ชุมชนสามมิติมาวางแผน และ จัดทำแผน ปฏิบัติงานของครู เพื่อการดำเนินงานตามแผน แก้ไขปัญหา ให้กับ คนในชุมชน ดังนั้นกลุ่มคณะครู ศศช.แม่ฟ้า หลวง กลมุ่ แมจ่ า๊ ง จึงได้ร่วมกันจัดทำคมู่ ือฉบับน้ขี ้ึนเพอ่ื เป็นแนวทางในการพัฒนาครู ๒. วัตถปุ ระสงค์ - เพอ่ื ให้ครูศศช.“แมฟ่ ้าหลวง” มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับการใชแ้ ผนทีส่ ามมิติ ได้อย่าง ถกู ต้อง - เพอื่ ใหค้ รศู ศช.“แมฟ่ ้าหลวง” นำความรทู้ ่ไี ด้รบั ไปเปน็ แนวทางในการพัฒนางานการจดั การศกึ ษาบนพื้นที่สูงให้ตรงกับความตอ้ งการของชุมชน - เพื่อใหค้ รศู ศช.“แม่ฟ้าหลวง”ได้เขา้ ถึงกลมุ่ เป้าหมายในชมุ ชนและนำแผนที่ชุมชนสามมิตไิ ปใช้ ในพืน้ ทีป่ ฏบิ ตั งิ านของตนเองได้อยา่ งถูกต้อง ๓. เป้าหมาย ครู ศศช. “แม่ฟ้าหลวง” ทีไ่ ดร้ ับการบรรจุแต่งต้ังใหมข่ อง กศน.อำเภอแม่สะเรยี ง ครู ศศช. “แม่ฟ้าหลวง” ที่มีความสนใจเรียนรู้ ๔. ขอบขา่ ยเนอ้ื หา เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสำคญั ของแผนที่ชุมชนสามมติ ิ เรอ่ื งท่ี ๒ แผนทชี่ มุ ชนสามมิตกิ บั งานพนั ธกิจ กศน. เรื่องท่ี ๓ การวิเคราะหข์ ้อมูลตามแผนทีช่ ุมชนสามมิติ เรอ่ื งที่ ๔ เคร่ืองมือการจัดเก็บขอ้ มูลเพอื่ ใช้ในการจดั ทำแผนที่สามมติ ิและการวิเคราะห์ ขอ้ มลู เพอ่ื นำไปสูแ่ ผนปฏบิ ัตงิ าน ๕. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ - ครู ศศช. “แม่ฟา้ หลวง” มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั การทำแผนท่ีและสามารถนำไปใช้ได้ อยา่ งถูกต้อง พฒั นางานในหนา้ ทใ่ี หม้ ปี ระสทิ ธิภาพ คมู่ ือการพฒั นาครูศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 18

เรื่องที่ ๑ ความหมาย ความสำคญั ของแผนทีช่ มุ ชนสามมิติ แผนที่ชุมชนสามมิติ คือ แผนที่รูปภาพอย่างง่าย ที่จำลองบริเวณจุดที่ตั้งของชุมชนที่เราอาศัยอยู่ สามารถอธิบายหมู่บ้าน ชุมชน ได้อย่างละเอียด คลอบคลุม เช่น จำนวนประชากร การศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการเร่งด่วน และ ภาพฝันของชุมชน นอกจากนี้ ยังสามารถ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และ ชี้เป้า แต่ละ ครวั เรอื น บุคคลไดอ้ ยา่ งชดั เจน เปน็ สงิ่ ทท่ี ำให้เราเห็นภาพรวมของชมุ ชน. ครบถว้ นทส่ี ดุ ได้ในระยะเวลาอันส้ันได้ แผนที่ชุมชนสามมิติ เป็นเครื่องมือการทำงานที่สำคัญของครูซึ่งเกิดจากการศึกษาชุมชน วิเคราะห์ สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนและ ครูมองเห็นทิศทางในการทำงานได้ มองเห็นมิติการจัด กระบวนการเรียนรู้ สามารถนำไปสู่ แผนการปฏิบัติงาน และ การคิดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดย ออกแบบให้สอดคล้องกับงานกิจกรรมตามพันธกิจงาน กศน. และ มิติกิจกรรมงานแนวปฏิบัติที่ดี6ด้าน ให้กับ กลุม่ เป้าหมาย แต่ละบุคคลในพืน้ ทีไ่ ด้ นอกจากนี้ แผนที่ชุมชนสามมิติ ยังเป็นภาพฝันของชุมชน คือ สิ่งที่อยากให้เป็น สิ่งที่อยากให้เกิดการ พัฒนาขนึ้ ในหมู่บา้ น ชุมชน ในดา้ นตา่ งๆ (งาน 5 ด้าน ) และ ซ่งึ ทำใหเ้ รา สามารถมองเหน็ ได้อยา่ งชัดเจนในการ วางแผนท่จี ะพัฒนาในดา้ นตา่ งๆร่วมกัน ทัง้ ครู ชุมชน และ ภาคีเครือข่าย ฯลฯ เรอื่ งที่ ๒ แผนทช่ี ุมชนสามมติ ิกับงานพันธกิจ กศน. ครู ศศช. “แมฟ่ ้าหลวง” ไดม้ ุ่งใช้กระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยใช้ แผนที่ชุมชนสามมิติ เป็นเครื่องมอื ทีส่ ำคัญในการพัฒนาชมุ ชนบนพื้นทีส่ ูง ซึ่งเมื่อได้วิเคราะห์สภาพปัญหา ความ ต้องการของบุคคล ชุมชน หมู่บ้านแล้ว จึงได้นำข้อมูลต่างๆมาวางแผนในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้มี ความสัมพันธ์ในมิติตา่ งๆ ได้แก่กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม รูปแบบการจดั กรรมการเรียนรู้ และ กิจกรรมงานตาม โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) ตามพระราชดําริพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐา ธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในการปฏบิ ัติงานของครู ศศช. “แมฟ่ ้าหลวง” ครูจะต้องมีแผนที่ชุมชน3 มติ ิที่ได้ข้อมูลมาจากการสำรวจ รวบรวมวิเคราะห์ขอ้ มลู ของกลุ่มเป้าหมายและข้อมลู บริบทชองชุมชนเอง เชน่ 1. สภาพปญั หาของชมุ ชน 2. ความฝันของชุมชน 3. ความต้องการของชุมชน 4. ความต้องการของบุคคลแตล่ ะคนในชุมชน 5. ความตอ้ งการเรง่ ด่วนท่ีต้อง แกไ้ ข โดย ครจู ะต้อง นำข้อมลู จาก แผนท่ีชมุ ชน 3 มติ ิ มาสู่ แผนจดั การเรยี นร้รู ายบคุ คล และ แผนปฏิบตั งิ าน ประจำปีของแตล่ ะศนู ย์ ศศช.แม่ฟา้ หลวง ซึ่งครู บุคลากร ทุกคนจะต้องมีการปฏิบัตงิ านในพน้ื ท่ีของตนเองแบบ PDCA ( หรือวา่ วงจรเดมมิ่ง) คือ คมู่ อื การพฒั นาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 19

P : การวางแผน สำรวจ รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย นำเอาแผนทสี่ ามมติ ิชุมชน มาวางแผนในการ จดั ทำแผนเรยี นรรู้ ายบุคคล แผนปฏบิ ัตงิ านประจำปี ออกแบบกิจกรรมตามงานพนั ธกิจ กศน. เช่ือมโยงสู่ แนว ปฏบิ ตั ิท่ีดี๖ดา้ น D. การดำเนินการ การนำเอาแผนการเรียนรายร้รู ายบุคคล และ แผนปฏบิ ตั งิ านประจำปี ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ โดย ให้มีความสอดคล้องกับงานตามพนั ธกิจ กศน. และ เราก็เชอื่ มโยงกจิ กรรมต่างๆที่ปฏิบัติ สู่ งานแนวปฏิบัติที่ดี ๖ ดา้ น C : ผลลัพธ์ทเี่ กิดกบั กลุ่มเป้าหมาย ผลทเ่ี กิดกับชมุ ชน ชุมชนไดร้ ับอะไร A: สรุปผลการปฏบิ ตั ิงานวเิ คราะหจ์ ุดเดน่ จุดด้อย ปัญหา และอปุ สรรค ไปปรับปรุงแก้ไขและวางแผนการ ดำเนนิ กิจกรรมคร้งั ต่อไป คมู่ อื การพฒั นาครูศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 20

ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 21

เรื่องท่ี ๓ การวเิ คราะหข์ อ้ มูลตามแผนที่ชมุ ชนสามมติ ิ ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ข้อมูลตามแผนที่ชมุ ชนสามมิติ คมู่ อื การพฒั นาครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 22

ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 23

ภูมิปัญญา 1. ดา้ น อาชีพ จำนวน 9 ครัวเรอื น 2. ด้าน วัฒนธรรม ภูมิปัญญา จำนวน 7 ครวั เรือน สภาพปัญหา 1. ด้านการสง่ เสริมอาชพี จำนวน 10 ครัวเรอื น ความตอ้ งการ จำนวน 8 ครวั เรอื น จำนวน 7 ครัวเรอื น 1. ด้านสุขภาพอนามยั และโภชนาการ จำนวน 10 ครวั เรอื น 2. ด้านการศึกษา จำนวน 16 ครัวเรอื น 3. ด้านการส่งเสริมอาชพี จำนวน 16 ครัวเรือน 4. ด้านการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 5. ด้านวัฒนธรรม ภาพฝนั ของชมุ ชน 1. อยากมี ปา่ ต้นนำ้ ท่ีอุดมสมบรู ณ์ และ แหล่งต้นน้ำทเี่ พยี งพอตอ่ การอุปโภค บริโภค และ ใช้ ใน การเกษตร 2. อยากมี กลุ่มทอย่ามกะเหร่ยี งโปว์ ลายโบราณ โดย กล่มุ แมบ่ ้าน และ เยาวชน 10 คน 3. การรวมกลมุ่ พริกกะเหรย่ี ง สร้างรายได้ คมู่ ือการพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 24

เรื่องที่ ๔ เคร่ืองมือการจดั เก็บข้อมลู เพ่ือใชใ้ นการจัดทำแผนท่ีสามมิติ และการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู เพ่ือนำไปสู่แผนปฏบิ ตั งิ าน ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 25

ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 26

ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 27

ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 28

ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 29

มาตรฐานศศช. ค่มู อื การพัฒนาครศู นู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 30

มาตรฐาน ศศช.ได้จัดทำขน้ึ เพ่ือใช้เป็นแนวทางการพฒั นางานการจัดการศึกษาของศูนย์การเรียนชุมชนชาว ไทยภูเขา“แม่ฟา้ หลวง”(ศศช.) ในสังกัดสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอรกะบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั มา ฮ่องสอนเพ่ือเป็นแนวทางยึดถือปฎบิ ัติ ตามข้อกำหนดท่ีได้จดั ทำร่วมกันเป็นมาตรฐานศศช.ซ่ึงมาตรฐานศศช.นี้ได้รับ การพจิ ารณาจากระดับจังหวดั โดยเหน็ ชอบจากทีมงาน ผูบ้ ริหาร ข้าราชการ และครูนิเทศก์ และ กศน.อำเภอสามารถ นำมาตรฐานงาน ศศช. ไปปรับใช้ให้เหมาะสมตามบรบิ ทของแต่ละพ้ืนทีซ่ ่ึงมีความแตกต่างกัน ในการน้ีการประเมินครูในแต่ละรอบผลการประเมินพนักงานราชการตามมาตรฐานศศช.ต้อง สอดคล้องกับการประเมินพนักงานราชการ ทั้งนี้ให้ ครู ศศช.ศึกษามาตรฐานงาน ศศช.และนำไปปฏิบัติทำอย่าง ปัจจุบัน เพื่อการพัฒนางานตนเองและพื้นที่ เพื่อพร้อมรับการนิเทศ โดยการประเมินผลการปฎิบัติงานตามมาร ฐาน ศศช. ควรมีชมุ ชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มด้วยทุกคร้ัง เพ่ือประกอบการพจิ ารณา (เชน่ การสอบถาม ซกั ถาม หรือมี แบบประชานิเทศ ) คู่มอื การพัฒนาครูศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 31

มาตรฐานการจัดการศึกษาบนพน้ื ทีส่ ูง (standard of education in the highlands.) ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” ( ศศช.) สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน คมู่ ือการพฒั นาครูศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 32

ตอนที่ 1 มาตรฐานการจดั การศกึ ษาบนพ้ืนทส่ี ูงจงั หวัด แมฮ่ ่องสอน มาตรฐานท่ี 1 การบรหิ ารจัดการศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” มาตรฐานท่ี 2 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพครนู เิ ทศก์ ในการปฏิบัติงานศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” มาตรฐานที่ 4 คณุ ภาพครูอาสาสมคั รศูนยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง มาตรฐานท่ี 5 คณุ ภาพการจัดการศึกษาให้กบั ประชาชนบนพ้ืนท่สี งู ศูนย์การเรยี นชมุ ชน ชาวไทยภเู ขา“แม่ฟา้ หลวง” คมู่ อื การพฒั นาครศู นู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 33

คำชีแ้ จง ครู ศศช./ครูนเิ ทศก์ศึกษามาตรฐานศศช.เพ่ือนำไปปฏบิ ัติ พัฒนางานในพื้นที่ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน มาตรฐาน รายละเอียด ตัวชวี้ ัด หลักฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมิน มาตรฐานที่ 1 -การบริหารจัดการ กศน พนกั งานราชการ การบริหารจดั การ งานวชิ าการ ศศช. -มีการพฒั นา -มแี ผนปฎิบัตงิ าน งานศูนย์การเรยี น หลักสูตรการเรยี น ประจำปี -ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ตัวช้วี ดั ท่ี 1 ชมุ ชนชาวไทยภเู ขา -จดั ทำข้อมูล การสอนให้ -มหี ลักสตู ร51, 3 ขอ้ 3.11 ตัวช้วี ดั ท่ี 2 “แม่ฟา้ หลวง” ผเู้ รยี นใหเ้ ป็น เหมาะสมกบั กลมุ่ หลกั สตู ร ครช. -ยทุ ธศาสตร์ที่ 1.1 การบรหิ าร ระบบ/ปจั จบุ ันและ ผู้เรียน -มีสรปุ ผลการ 4ขอ้ 4.2 ตวั ชีว้ ดั ที่ 1 จดั การงานวิชาการ ตรวจสอบได้ -มีการประชุมชี้แจง ดำเนินงานตาม ใน ศศช. การใชห้ ลักสตู รไม่ แผนปฎบิ ัติงาน ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 นอ้ ยกว่า 1 คร้ังต่อปี ประจำปี (รอบ 6 ขอ้ 3.6 1.2. จัดทำข้อมลู -มกี ารจัดทำ เดอื น/ รอบหนึ่ง ขอ้ 4 ผเู้ รียนให้เป็นระบบ/ แผนการสอนให้ ปี) ปจั จุบนั และ เหมาะสมกบั กลุ่ม -สถิตผิ เู้ รยี น ผจู้ บ ตรวจสอบได้ ผเู้ รยี น -มีการจดั ทำ -ทะเบยี นผ้เู รียน เครือ่ งมือวัดผล ครช/สายสามญั / ประเมินผลทส่ี อด การศึกษาต่อเน่ือง คล้องกับการจดั -หลักฐาน การศึกษาและกลุ่ม แสดงผลการเรียน ผเู้ รียน (แบบฝึก / -สถิตผิ เู้ รยี น ผูจ้ บ ใบงาน/ ใบความรู้ ) -มขี อ้ มูล -มีฐานขอ้ มลู ผ้เู รยี น/ สารสนเทศ ศศช. ผู้รับบรกิ ารท่ี บนพน้ื ท่ีสงู สามารถใชใ้ นการ -บนั ทกึ ประจำวนั บริหารการจดั -ปฏทิ ินการสอน การศึกษา (ข้อมูลผู้ (ครช./สายสามัญ) ไม่รูห้ นังสือ, ข้อมลู -บัญชลี งเวลา ศศช., ขอ้ มลู สาย ผเู้ รยี นและลง สามญั ,การศึกษา ตอ่ เน่ือง) ค่มู ือการพฒั นาครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 34

มาตรฐาน รายละเอยี ด ตัวชว้ี ัด หลกั ฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมนิ กศน พนกั งานราชการ 1.3 การบรหิ าร เวลาผูส้ อน จัดการศศช.ในพน้ื ที่ -จดั ใหม้ ีระบบ - ครปู ฏบิ ตั งิ านใน (ครช./สายสามัญ) - มขี อ้ มูลระบบ คณะกรรมการศนู ย์ พน้ื ท่ีอย่างน้อย 20 ไอที ดจิ ิทัล -มกี ารแต่งต้ัง การเรียน วันทำการ ข้ึน คณะกรรมการ ศศช. -กรณีครูเจบ็ ปว่ ยไม่ ปฎิบัตงิ าน วนั ท่ี 6 -หนังสอื ชแี้ จงจาก สนง.ในกรณไี ป สบาย ลาคลอดบุตร – 26 ของเดอื น ปฏิบตั ิราชการ นอกพื้นท่ี ให้ครนู เิ ทศจดั -มสี มดุ ลงลายมือช่ือ กจิ กรรมการเรียน ปฏบิ ัตงิ านในพืน้ ที่ การสอนแทนใน พนื้ ทนี่ ั้น -พน้ื ทศ่ี ศช.ซ่งึ มีครู ศศช. 2 คนขน้ึ ไป ให้จัดทำปฏทิ นิ การ ปฏบิ ตั งิ าน โดยมี วันทำการไมน่ ้อย กว่า 20 วันตอ่ คน - กรณีครูลาศึกษา ตอ่ ให้ปฏบิ ัติงาน ชดเชยวนั ดงั กลา่ ว -กรณีทท่ี าง สำนกั งานใหค้ รูมา ปฏบิ ัตงิ าน ณ สำนกั งานให้ ดำเนินการโดย กระทบวนั หยดุ และวนั ปฏิบัติงาน ในพ้ืนที่ศศช. ให้ น้อยทส่ี ุด คู่มือการพฒั นาครูศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 35

มาตรฐาน รายละเอียด ตวั ช้วี ัด หลักฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมนิ กศน พนักงานราชการ 1.4. การบริหาร - มีการทำ -ศศช. มกี ารทำเวที -บันทกึ การ รว่ มกับเครือข่ายเชน่ ประชาคม เพอ่ื วาง ประชาคมแผนการ ประชุมกบั -ยุทธศาสตร์ท่ี ตวั ชี้วดั ท่ี 8 - อบต. แผนการทำงาน ทำงานร่วมกบั เครือข่าย 3 - พช. ร่วมกับเครือข่าย เครือข่าย -สมดุ เซ็นเย่ยี ม - สาธารณสขุ - มีภาคีเครอื ขา่ ย -ศศช. มีภาคี -หนังสอื ประสาน ขอ้ 3.4 - ปศุสัตว์ รว่ มในการจัด เครือข่ายในการจดั -คำสง่ั แตง่ ตงั้ - พัฒนาทด่ี นิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ -รายงานผล ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 - ทหาร ร่วมกับเครือข่าย - ป่าไม้ 1.มีคณะกรรมการ -กศน.อำเภอ มีการ -รูปภาพ - อน่ื ๆ พิจารณาแผนงาน/ แตง่ ตงั้ งบประมาณระดับ คณะกรรมการ เพ่ือ -บันทึกการ 1.5.การบริหาร อำเภอ โดยใหม้ ี ร่วมพิจารณา ประชมุ จดั การงบประมาณ ผูแ้ ทนครูศศช.ไม่ งบประมาณ ศศช. ประจำเดอื น ภายใน ศศช. น้อยกวา่ 3 คน ในระดับอำเภอ โดย -แผนการ 2.การจัดสรร ใหม้ ีผแู้ ทนครู ศศช. ปฏิบตั งิ าน งบประมาณให้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน -โครงการขอ เป็นไปตาม -กศน.อำเภอมีการ สนบั สนุน แผนงานระดบั จัดสรรงบประมาณ งบประมาณ อำเภอ โดยแบ่ง ใหเ้ ปน็ ไปตาม ออกเปน็ 3 สว่ น แผนงานระดบั (บรหิ ารจดั การจาก อำเภอ คณะกรรมการ -กศน.อำเภอ มีการ กศน.อำเภอ) ชี้แจงการใชจ้ ่าย งบประมาณในการ ประชุมประจำเดือน อำเภอทุกคร้งั คูม่ อื การพัฒนาครศู นู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 36

มาตรฐาน รายละเอยี ด ตวั ชว้ี ัด หลักฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมิน กศน พนักงานราชการ 1.6.กองทนุ อาหาร -มีระบบการเบิก- 1.มกี ารดำเนนิ งาน -เอกสารอาหาร กลางวัน (กพด.) ตัวช้วี ัดที่ 8 จา่ ยอาหาร โครงการอาหาร กลางวัน(ใบ กลางวัน ทุกศศช. กลางวันในกศน. เบกิ จา่ ย) โดยตอ้ งเขียนเบิก อำเภอที่ถกู ต้อง -หนังสือประสาน และตรวจรับทกุ เป็นไปตามระเบยี บ -บันทึกภาวะ ครั้งที่มีการเบกิ จ่าย ทางราชการ โภชนาการ -ลงลายมือชื่อผ้รู บั รอ้ ยละ 100 อาหารกลางวันให้ 2.มีการดำเนินงาน ชัดเจน โครงการอาหาร -.มีคณะกรรมการ กลางวนั ในศศช.ที่ ตรวจสอบโครงการ ถูกต้องเป็นไปตาม อาหารกลางวนั ระเบียบทางราชการ - มแี บบรายงาน ร้อยละ 100 การใชจ้ ่าย เงินกองทนุ คมู่ ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 37

มาตรฐาน รายละเอยี ด ตวั ช้วี ัด หลกั ฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมนิ กศน พนักงานราชการ มาตรฐานที่ 2 1.จัดทำขอ้ มลู หรอื - ศศช.มกี ารจัดทำ -แผนที่ 3 มิติ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ตวั ชวี้ ัดที่ 1,2,8 ข้อมูลพน้ื ฐาน ของ มุมตา่ ง ๆ ภายใน ขอ้ มูลพ้ืนฐานตาม -แผนชุมชน ข้อ 3.11 ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน ศศช. กรอบมาตราฐาน -ประวตั ิหมบู่ ้าน/- ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ชาวไทยภูเขา “แม่ -แผนที่ 3 มิติ - ศศช.มีการจัด -ประวตั ิ ศศช. ขอ้ 4.1 ฟ้าหลวง” -แผนชุมชน กจิ กรรมตาม -มีขอ้ มลู ขอ้ 4.2 -ประวตั หิ มู่บา้ น/-- นโยบายหรือการส่ัง สารสนเทศ ศศช. -ประวัติ ศศช. การใหเ้ กิดประโยชน์ บนพนื้ ที่สงู -มขี ้อมลู ตอ่ งานศศช. -ขอ้ มูลประชากร สารสนเทศ ศศช. ภมู ิปัญญา/แหลง่ บนพ้นื ทสี่ งู เรียนรู้ -ขอ้ มลู ประชากร -แผนท/่ี แผนภมู ิ ภูมปิ ญั ญา/แหล่ง หมบู่ ้าน เรยี นรู้ -ปรัชญาวสิ ัยทัศน์ แผนท/ี่ แผนภูมิ -ทำเนยี บครู ศศช. หมู่บ้าน -โครงสรา้ งการ -ปรัชญาวิสัยทศั น์ บริหารงาน กศน. -ทำเนยี บครู ศศช. อำเภอ -โครงสรา้ งการ -คณะกรรมการ บรหิ ารงาน กศน. ศศช. อำเภอ -บคุ คลที่ควรร้จู ัก -คณะกรรมการ มมุ สถาบนั ชาติ ศศช. ศาสนา -บุคคลทค่ี วรรู้จัก พระมหากษัตริย์ -มุมสถาบนั ชาติ -มุมอธั ยาศยั ศาสนา -ระบบไฟแสง พระมหากษัตริย์ สวา่ ง -มมุ อธั ยาศยั -มมุ เทดิ -ระบบไฟแสงสวา่ ง พระเกยี รติ -มุมเทิดพระเกียรติ -มมุ สอ่ื การเรียนรู้ -มมุ สื่อการเรยี นรู้ -ป้ายนิเทศ/ -ปา้ ยนิเทศ/ ประชาสมั พันธ์ ประชาสัมพันธ์ -ทำเนยี บ -ทำเนยี บเครือขา่ ย เครอื ข่าย ค่มู อื การพัฒนาครูศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 38

มาตรฐาน รายละเอียด ตวั ช้วี ดั หลกั ฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมนิ กศน พนักงานราชการ มาตรฐานท่ี 2 2. จัดทำข้อมูล -มปี า้ ยบอกกจิ กรรม - มีปา้ ย ศศช. ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ข้อมลู พ้นื ฐาน ของ กจิ กรรมต่าง ๆ ทีค่ รดู ำเนินการใน - มีป้ายบอกทาง ข้อ 3.11 ศนู ย์การเรียนชุมชน ภายนอก ศศช. พนื้ ท่ี ไปศศช. ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ชาวไทยภูเขา - ปา้ ยศศช. - ปา้ ยบอกเส้นทาง - มปี ้ายกจิ กรรม ข้อ 4.1 “แม่ฟา้ หลวง” - มปี า้ ยบอกทางไป เขา้ ศศช. อย่าง - มกี ิจกรรม ขอ้ 4.2 ศศช. ชดั เจน จำนวน เกษตรพอเพยี ง ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 - ป้ายบอกกจิ กรรม ระยะทาง หรือมีรอ่ งรอยการ ข้อ 5.1-5.3 - กิจกรรมเกษตร - ปรบั ภมู ทิ ัศน์ ศศช. จดั กจิ กรรม พอเพยี งหรือมี ใหน้ า่ อย่เู หมาะสม - มกี ารปลกู ไมผ้ ล รอ่ งรอยการจัด ในการเป็นแหลง่ อย่างน้อย 3 ตน้ กจิ กรรม(ศศช.สี เรยี นรู้ (กรณมี ีพนื้ ทีน่ ้อย เขียว) -มีกจิ กรรมเกษตร สามารถอ้างองิ - มีการปลกู ไม้ผล พอเพยี งปลูกไม้ผล พ้นื ทช่ี าวบ้านได้) อยา่ งน้อย 3 ต้น พืชผกั และสมุนไพร - มีการปลกู พชื (กรณีมีพืน้ ที่น้อย อ่นื ๆ สมุนไพรอยา่ ง สามารถอ้างองิ น้อย 3 ชนดิ ขา่ พ้นื ทชี่ าวบ้านได้) ตะไคร้ ขม้ิน ) - ปลกู พืชสมุนไพร - มีถังจดั เกบ็ นำ้ อย่างน้อย 3 ชนดิ -มเี คร่ืองกรองน้ำ ขา่ ตะไคร้ ขมนิ้ ) ดืม่ (กรณีไดร้ บั การ - มีถงั จัดเก็บน้ำ สนับสนุน) -เคร่อื งกรองนำ้ ดื่ม -มรี ะบบ -มีระบบนำ้ ประปา นำ้ ประปาทีส่ ม ท่ีสมบรู ณ์ บุรณ์ -มีรวั้ ลอ้ มรอบขอบ -มรี วั ทมี่ ัน่ คง ชดิ แขง็ แรง กันสัตว์ - หอ้ งนำ้ สะอาด ได้ -มหี ้องนำ้ สะอาด คู่มือการพฒั นาครูศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 39

มาตรฐาน รายละเอยี ด ตวั ชวี้ ดั หลักฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมิน กศน พนักงานราชการ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพครูนเิ ทศก์ ครูนเิ ทศมหี น้าที่ใน - ครูนเิ ทศก์มีความรู้ -มีสมุดการนิเทศ ในการปฏบิ ตั งิ าน ศูนยก์ ารเรยี นชุม การติดตามและให้ ความสามารถใน -มีแผนการนเิ ทศ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” ความชว่ ยเหลอื การให้ความร/ู้ ปี/เดือน การดำเนนิ งาน คำแนะนำ/ -แบบรายงานการ (โดยตรวจสอบจาก คำปรกึ ษาตาม นเิ ทศ มาตรฐานที่ 1-2 ) บทบาทภารกจิ ท่ี -นำผลการนิเทศ ได้รับมอบหมายใน มาวางแผน ระดับดี ดำเนนิ งานตอ่ ไป -ครนู ิเทศ นเิ ทศ -การมสี ่วนร่วม ตดิ ตามการ ของเครือข่าย ดำเนนิ งาน -มีข้อมลู ระบบ ไอ - แผนการนิเทศงาน ที ดิจทิ ลั ประจำปี ประจำเดือน - เครือ่ งมือในการ ตดิ ตามนิเทศงาน -มคี วามรคู้ วาม เข้าใจ เรอ่ื งระบบ เทคโนโลยี ดจิ ิทลั คมู่ ือการพฒั นาครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 40

มาตรฐาน รายละเอียด ตวั ช้วี ัด หลักฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมนิ กศน พนกั งานราชการ มาตรฐานที่ 4 1.ดา้ นการพฒั นา - ครู ศศช.สามารถ - จำนวนผูเ้ รยี นท่ี “แม่ฟา้ หลวง บคุ ลากร จัดการศกึ ษาขนั้ ผา่ นเกณฑ์การ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ตัวช้ีวดั ที่ คุณภาพครู ศศช. -การอบรม พ้นื ฐาน /ครช. / ประเมนิ ทุกระดับ ขอ้ 3.6 2,4,5,6,8 ในการปฏิบัตงิ าน การศึกษาดงู าน การศึกษาต่อเนอื่ ง/ -ใบประกาศ/ ขอ้ 3.10 ศูนย์การเรยี น 2.สรา้ งขวัญและ การศึกษาตาม วุฒิบตั ร ข้อ 3.11 ชมุ ชนชาวไทย กำลังใจในการ อธั ยาศยั ในระดับดี -รายงานสรุปผล ภูเขา ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยการ - ครู ศศชได้รบั การปฎิบตั ิงาน คัดเลือกครู ศศช. รางวลั ผลการ ราย 6 เดือน / และครนู ิเทศก์ ปฏิบัตงิ านท่ดี ี รายปี ดเี ดน่ - ศศช.มีทกั ษะ -รางวลั ครดู ี 3.การสร้างคมู่ ือ ประสบการณ์และ -คู่มอื การ ศศช. ศกั ยภาพในการ ปฏิบตั ิงาน ศศช. 4.พฒั นาศกั ยภาพ ปฏิบัติงานในระดับ -ครมู ีผลงานวิจยั ครกู ่อนปฏบิ ัติงาน ดี ด้านการเรยี นการ ในพ้ืนที่(ครใู หม่) - ครู ศศช. มีผลการ สอน อย่างน้อย 1 ประเมนิ ในการ -คำสง่ั มอบหมาย สัปดาห์ ณ ศศช. ปฏิบตั ิงานในระดบั งานจากสนง / ต้นแบบ ดี เครอื ข่าย ให้ไป 5.การประเมิน -จัดสง่ ครูทีม่ ผี ลงาน ปฎบิ ัตงิ าน หรือ พนกั งานราชการ ดีเด่น ไปเป็นพ่ี ดำเนินการเรือ่ งใด -ประเมนิ งาน เลยี้ งให้กบั ครทู ยี่ ังมี เรือ่ งหนงึ่ ศศช./งานนเิ ทศ ผลงานตำ่ -รายงานผลการ -มกี ารประกาศผล -ครูไดป้ ฎิบตั ิงาน ดำเนนิ งานตามท่ี การประเมินเชิง ตามคำรบั รอง ของ ได้รับมอบหมาย ประจกั ษ์ในพ้นื ท่ี ตนเอง สนง/เครอื ข่าย ปฏบิ ตั ิงานจริง -ครูมผี ลงานวิจัย -รายงานผลการ 6.จัดส่งครทู ีม่ ี ดา้ นการเรียนการ ดำเนินงานตาม ผลงานดเี ด่น ไป สอน นโยบายเรง่ ด่วน ( เปน็ พเ่ี ล้ียงให้กับครู -ครู ศศช.ปฎบิ ตั งิ าน ไฟป่า .แนวกันไฟ ทีย่ ังมีผลงานต่ำ อ่ืน ๆ ตามท่ีได้รบั โรคระบาด ) 7.สง่ ครทู ่มี ผี ลงานดี มอบหมาย -ระบบเทคโนโลยี นำเสนอรางวลั ครู ดิจทิ ลั (เฟส เจ้าฟา้ หรอื รางวลั หรอื ไลน์ ) อนื่ ๆ 8.ผลงานวิจยั 9.ปฏบิ ตั ิงานอ่ืน ๆ คูม่ อื การพฒั นาครูศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 41

มาตรฐาน รายละเอยี ด ตัวชี้วดั หลักฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมิน กศน พนกั งานราชการ ตามท่ีไดร้ ับ ตัวชีว้ ดั ที่ 3,5,6,7 มอบหมาย 10.มคี วามรู้ความ เข้าใจ เร่อื งระบบ เทคโนโลยี ดิจิทลั มาตรฐานท่ี 5 1.มหี ลกั สูตร 1มหี ลักสูตร หลักสูตร ครช./ขัน้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 คณุ ภาพการจัด สง่ เสริมการรู้ ส่งเสรมิ การรู้ พน้ื ฐาน/การศึกษา ข้อ1.1-1.5 การศกึ ษาให้กบั หนังสอื ไทย 2557 หนังสือไทย 2557 ต่อเนื่อง -ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ประชาชนบน 2.มีหลักสตู ร 2.มหี ลกั สูตร -SAR รายงานการ ข้อ 3.7-3.11 พ้ืนทส่ี งู ศูนย์การ การศึกษาขั้น การศึกษาขน้ั ประเมินตนเอง -ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 เรยี นชุมชนชาวไท พ้นื ฐาน 2551 พืน้ ฐาน 2551 -เอกสารหลกั ฐาน ข้อ5.1-5.3 ภเู ขา “แม่ฟา้ 3.มหี ลกั สตู ร 3.มหี ลกั สตู ร การจดั การศกึ ษา หลวง การศกึ ษาต่อเนือ่ ง การศกึ ษาต่อเนื่อง สายสามัญ 4.มกี ารทำผลงาน 4.มีการทำผลงาน -แบบรายงานผูจ้ บ วิชาการแนว วชิ าการแนว ครช. ปฏบิ ัตทิ ีด่ ี 6 ดา้ น ปฏิบัติทด่ี ี 6 ดา้ น -แบบรายงาน อยา่ งน้อยด้านละ อยา่ งน้อยด้านละ สรุปผลการ 1เรือ่ ง 1 เรือ่ ง ปฎิบัติงาน 5.ภาคีเครอื ข่าย 5.ภาคเี ครือข่าย ประจำเดอื น/ปี -มที ำเนยี บภาคี -มีทำเนยี บภาคี -แฟม้ สะสมงาน เครือข่าย เครือข่าย ผู้เรียนรวมถงึ เด็ก 6.การพฒั นาระบบ 6.การพัฒนาระบบ วัยเรียน ฐานข้อมลู ผู้เรียน ฐานขอ้ มูลผู้เรียน -แบบประเมนิ ผูร้ บั บรกิ าร ศศช. ผ้รู ับบรกิ าร ศศช. ความพึงพอใจ -มฐี านขอ้ มลู ผู้ -มฐี านข้อมูลผู้ ผรู้ ับบรกิ าร รียน/ผรู้ ับบรกิ ารท่ี รยี น/ผู้รับบริการที่ -ร้อยละของผู้เรียน สามารถใช้ใน สามารถใชใ้ น ผ่านเกณฑ์การ การบริหารการจดั การบริหารการจดั ประเมินในการจดั การศึกษา(ข้อมลู การศกึ ษา(ข้อมูล การศึกษาขั้น ทุนผู้เรียน ข้อมูล ทุนผู้เรียน ขอ้ มูล พ้ืนฐาน /ครช. / ผเู้ รยี นเดก็ ขอ้ มลู ผู้เรียนเดก็ ข้อมูล การศกึ ษา ผู้เรยี นผใู้ หญ่ ผู้เรยี นผู้ใหญ่ ต่อเนือ่ ง/ ข้อมูลการ ข้อมูลการ การศึกษาตาม ใหบ้ ริการอาหาร ใหบ้ รกิ ารอาหาร อัธยาศยั กลางวนั /เสริมนม กลางวัน/เสรมิ นม คมู่ อื การพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 42

มาตรฐาน รายละเอียด ตัวชว้ี ดั หลกั ฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมิน กศน พนักงานราชการ -ผลงานวิชาการ ตัวชี้วดั ท่ี 7,8 ตัวช้วี ัดท่ี 6 แนวปฏบิ ัติท่ีดี 6 ด้านอยา่ งน้อย 1 เรอื่ ง ชุมชน ครูศศช. สามารถมี 1. รปู เล่มแผน -แผนชมุ ชน สว่ นร่วมในการ แมบ่ ทชุมชน -แผนท่ี 3 มิติ จัดทำแผนแม่บท 2. ครูร้อยละ 100 ชมุ ชน มกี ารนำข้อมูลจาก ครศู ศช. สามารถ แผนแม่บทชมุ ชน ทำแผนท่สี ามมติ ิ มาจัดทำแผนการ เพ่ือใชเ้ ป็นทศิ ทาง ปฏบิ ตั ิงาน ในการบรหิ าร ประจำปขี องศศช. จัดการข้อมลู ใน 3. แผนท่ีสามมติ ิ การจดั การศึกษา ให้ตรงกับความ ต้องการของ กล่มุ เป้าหมาย แหล่งเรียนรู้ ครู ศศช.มพี ัฒนา 1. มขี อ้ มูลแหล่ง -มแี ผนปฏิบัติงาน แหลง่ เรียนรู้และ เรียนรูแ้ ละภมู ิ ประจำปี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัญญาท่จี ะจัดทำ -มแี หลง่ ภมู ิ ในรปู แบบ ปัญญา/ข้อมลู สารสนเทศ แหล่งเรยี นรใู้ น 2. มีทำเนยี บแหลง่ ชมุ ชน เรียนรู้และภมู ิ -มีหลกั ฐานการใช้ ปญั ญา แหล่งภมู ปิ ญั ญา -มสี รุปผลการ ดำเนนิ งาน งานการจัด - การศกึ ษาเพื่อ 1. มีการขอ -มแี ผนการ ภารกจิ ต่อเน่ือง การศกึ ษาต่อเน่ือง พฒั นาทักษะอาชีพ อนญุ าตจัดตั้งกลุม่ ดำเนินงาน ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 - การศึกษาเพ่ือ 2. มกี ารสรุปและ -มีหลักสูตร ข้อ1.3 พัฒนาทกั ษะชวี ิต รายงานผลการจัด -มหี นงั สือประสาน - การศกึ ษาเพ่ือ กจิ กรรม เครือข่าย พัฒนาสงั คมและ 3. ผู้เรียนร้อยละ -มรี ายงานสรุปผล ชมุ ชน 80 ผา่ นการ การดำเนนิ งาน - การจดั กจิ กรรม ประเมนิ ตาม -รายงาน DMIS เศรษฐกจิ พอเพียง วัตถุประสงค์ท่ี -ภาพถ่าย คมู่ ือการพัฒนาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 43

มาตรฐาน รายละเอียด ตัวชวี้ ัด หลกั ฐาน กรอบนโยบาย กรอบการประเมนิ กศน พนกั งานราชการ งานโครงการตาม -โครงการถ่ายทอด สถานศกึ ษากำหนด -มแี ผนการ พระราชดำริ องค์ความรู้ 4. มีสรุปแบบ ดำเนินงาน ภารกจิ ต่อเนื่อง ตวั ชี้วดั ท่ี 8 โครงการหลวงและ ประเมินความพงึ -มโี ครงการ -ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาศักยภาพ พอใจของ -มบี นั ทกึ กจิ กรรม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ชมุ ชนบนพน้ื ทีส่ ูง ผรู้ ับบริการ หรือแบบสรปุ -โครงการยุวกรรม 1. มกี ารจดั กิจกรรม รายงาน ขอ้ 5.3 การหยอ่ มบ้าน ท่ีมีสอดคล้องกับ -มหี นังสือ -โครงการสง่ เสรมิ นโยบายจุดเน้นการ ประสานงาน พัฒนาทักษะการ ดำเนินงาน -รปู ถา่ ย ฟงั พูด ภาษาไทย สำนักงานกศน. เพอ่ื การสอื่ สาร 2..มีการสรปุ และ สำหรบั ผู้ใหญ่ รายงานผลการจดั ชมุ ชนบนพน้ื ท่ีสงู กจิ กรรม -โครงการสรา้ งปา่ 3.ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 สรา้ ง รายได้ ผา่ นการประเมิน -โครงการทนุ การ ตามวตั ถุประสงค์ท่ี ศึกษาเดก็ สภาวะ สถานศกึ ษากำหนด ยากลำบากบน พื้นที่สงู -โครงการพัฒนา เด็กและเยาวชนใน ถิน่ ทรุ กันดาร -โครงการพฒั นา พน้ี ที่สงู แบบ โครงการหลวง เพอ่ื แก้ไขปญั หา พืน้ ท่ีเฉพาะ -โครงการ \"รกั ษน์ ำ้ เพ่ือพระแมข่ อง แผน่ ดนิ \" คู่มอื การพฒั นาครูศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook