Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัจนกรรมการตำหนิในกลุ่มตัวอย่างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วัจนกรรมการตำหนิในกลุ่มตัวอย่างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Published by chutikan84, 2018-08-27 05:20:45

Description: nichapa-khr-all (1)

Keywords: วัจนกรรม,การตำหนิ

Search

Read the Text Version

การศึกษาคนควาอิสระ การศึกษาวัจนกรรมการตําหนิในกลมุ ตัวอยาง นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรA STUDY OF SPEECH ACTS OF COMPLAINT OF EXAMPLE GROUP STUDENTS IN KASETSART UNIVERSITY นางสาวณิชาภา เครอื เอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร พ.ศ. 2552

ใบรบั รองการศกึ ษาคน ควา อสิ ระบัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตรประยุกต) ปรญิ ญาภาษาศาสตรประยุกต ภาษาศาสตร สาขา ภาควิชาเรื่อง การศกึ ษาวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ตวั อยา งนสิ ติ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร A study of speech acts of complaint of example group students in Kasetsart University.นามผวู ิจยั นางสาวณิชาภา เครือเอมไดพิจารณาเห็นชอบโดย ( รองศาสตราจารยวิภากร วงศไทย, M.A. ) ( อาจารยป นนั ดา เลอเลิศยุติธรรม,Ph.D. )อาจารยท่ีปรกึ ษาการศกึ ษา ( รองศาสตรจารยก ิตมิ า อินทรัมพรรย. Ph.D. )คน ควา อิสระหลักอาจารยทปี่ รึกษาการศกึ ษาคนควาอิสระรว ม หวั หนา ภาควชิ า วันที่ เดือน พ.ศ.ภาควชิ าภาษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรร บั รองแลว

การศึกษาคนควาอิสระ เรอ่ื ง การศึกษาวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรA Study of Speech Acts of complaint of example Group Students in Kasetsart University โดย นางสาวณิชาภา เครือเอม เสนอ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตรประยุกต) พ.ศ. 2552

ณชิ าภา เครอื เอม 2552: การศกึ ษาวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ตวั อยางนสิ ิตมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ (ภาษาศาสตรป ระยกุ ต) สาขาวชิ าภาษาศาสตรป ระยกุ ต ภาควชิ าภาษาศาสตร อาจารยท ป่ี รกึ ษาการศกึ ษาคน ควา อสิ ระหลกั :รองศาสตราจารยว ภิ ากร วงศไ ทย 118 หนา การวจิ ยั ครง้ั นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ศกึ ษา 1. ศกึ ษากลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนแิ ละหาความถ่ขี องแตล ะกลวธิ ี 2. ศกึ ษากลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ตวั อยา งตามสถานภาพของผูพ ดู และผูฟง 3. ศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีการแสดงวจั นกรรมการตําหนใิ นกลมุ ตวั อยา งเพศชายและเพศหญิง 4. ศึกษาเปรียบเทยี บกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลมุ ตัวอยางเพศชายและเพศหญงิ ตามสถานภาพของผพู ูดและผฟู ง กลมุ ตวั อยางคอื นสิ ติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ท่มี อี ายุ 20-25 ป จาํ นวน 40 คน แบง เปน เพศชาย 20 คน เพศหญิง 20 คน เคร่อื งมือท่ีใชใ นงานวิจยั ครง้ั นีเ้ ปนแบบสอบถามที่สรา งข้นึ จากสถานการณส มมตุ โิ ดยมคี าํ บรรยายสถานการณท่เี กิดข้นึ ระหวา งผตู าํ หนิและผูถกู ตําหนิเพื่อใหกลมุ ตัวอยางเขียนตอบ โดยผวู จิ ยั ดัดแปลงมาจากแบบสอบถามที่เรียกวาDiscourse Completion Test (DCT) จากผลการวจิ ยั พบวา 1). พบวจั นกรรมการตําหนิท้ังหมด 4 กลวธิ ใี หญ 9 กลวิธียอย ซึง่ กลวธิ กี ารกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ เปนกลวธิ ีทพี่ บมากท่สี ุด คดิ เปน 47.89 % 2). พบวา เม่อื ผพู ดู มีสถานภาพสูงกวา ผูฟงจะพบวาผูพดู เลอื กใชกลวิธีการกลาวตาํ หนผิ กู ระทาํ ผิดมากทส่ี ดุ คิดเปน 39.58% 3). พบวา ในการเปรยี บเทยี บกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นเพศชายและเพศหญงิ พบวา เพศหญงิ เลอื กใชกลวธิ ีการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนทิ ม่ี ีระดับความรนุ แรงนอยกวา เพศชาย โดยเพศหญงิ เลอื กใชกลวธิ ีท่ี 2 กลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรอื ไมเห็นดว ย คดิ เปน 25 % ในขณะทเ่ี พศชายเลอื กใชกลวธิ นี ี้ 18.54%และกลวิธีที่ 4 กลวธิ กี ารกลา วตําหนิผูกระทาํ ผิดเพศชายจะเลอื กใชก ลวิธนี ้สี งูกวา เพศหญงิ 4). พบวา ในกรณีทผ่ี พู ดู และผฟู ง มีสถานภาพเทา กนั และผูพูดมีสถานภาพต่ํากวาผฟู งกลวิธีการกลาวหาผกู ระทําผิดเปนกลวิธที ี่กลมุ ตัวอยา งเลือกใชมากท่ีสุดทั้งเพศชายและเพศหญงิ สว นในสถานการณท ่ีผูพ ูดมสี ถานภาพสงู กวาผฟู ง เพศชายเลือกใชก ลวธิ กี ารกลาวตาํ หนิผูกระทาํ ผดิ มากกวาเพศหญิงลายมอื ชอื่ นิสิต / / ลายมอื ชอื่ อาจารยท ี่ปรึกษาการศึกษาคนควาอิสระหลกั

Nichapa Khruea-em 2009: A study speech acts of complaint of example groupstudents in Kasetsart University. Master of Arts (Applied Linguistics), Major Field: AppliedLinguistics, Department of Linguistics. Independent Study advisor:Associated Prof. Wipakorn Wongthai, M.A. 118 pages. The present research aimed to study 1) strategies in identifying speech acts of complaintand to find a frequency of identifying each strategy. 2) strategies in identifying complain speech actsof example group according to speakers’ and listeners’ status. 3) a comparison of strategies inidentifying speech acts of complaint of a male and a female example group. 4) a comparison instrategies in identifying speech acts of complaint of a male and a female example group according tospeakers’ and listeners’ status. Material and data for this research work were collected from 40students in Kasetsart University between ages 20-25 years old which divided into 20 persons for amale example group and another 20 persons for a female example group. The equipment used in theresearch work was a questionnaire created from supposed situations by descriptive situations thatoccurred between those who complained and those who were complained in order to get examplegroups answer questionnaires from assigned situations which were applied from a Discoursecompletion Test (DCT) questionnaires. The research work resulted as follow- 1) complain speech acts that appeared in theresearch work were totally divided into 4 principal strategies and 9 minor strategies. The thirdstrategy which was a speech act of complaining an accusations strategy was found most for 47.89%of frequency. 2) as speakers had higher status than those who were listeners, they chose to use thefourth strategy is blaming strategy in the biggest amount for 39.58% of frequency. 3) to study acomparison of strategies in identifying complain speech acts in male and female persons was foundthat female persons chose to use complain speech act in a less aggressive level than male personsdid. This explained the way female persons used the second strategy is an expression of annoyanceor disapproval for 25% of frequency while male persons used the this strategy for 18.54% offrequency. A study was found that male persons used the fourth strategy is blaming strategy in ahigher level than female. 4) a study was found that in case of both speakers and listeners had equalstatus and speakers had lower status that listeners, a strategy of accusations was used most by bothmale and female persons. As for the situation identified that speaker had higher situation thanlisteners males persons used the blaming strategy than female persons did.Student’s signature Independent study Advisor’s signature //

กติ ตกิ รรมประกาศ การศึกษาคน ควาอสิ ระฉบับนส้ี ําเร็จลุลว งไปดว ยดี ผวู จิ ัยขอกราบขอบพระคุณทา นประธานกรรมการที่ปรึกษารองศาสตราจารยวิภากร วงศไทยและกรรมการที่ปรึกษารวม อาจารย ดร.ปนนั ดาเลอเลิศยุตธิ รรม ที่ทา นไดใ หความกรณุ าพรอมทง้ั ชแี้ นะขอ บกพรองและใหค ําแนะนาํ ท่เี ปน ประโยชนตลอดระยะเวลาในการศึกษาคนควา จนทําใหใหงานวจิ ัยชิน้ นี้มคี วามสมบรณู ย ิ่งขึ้น ผวู จิ ัยขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. กิติมา อนิ ทรัมพรรย หัวหนา ภาควิชาภาษาศาสตร และทานคณาจารยภาควิชาภาษาศาสตรทุก ๆ ทานที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูทางภาษาศาสตรใหแกผูวิจัยรวมทั้งโอกาสในการเขามาศึกษาในคณะมนุษยศาสตร ภาควิชาภาษาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแหงนี้ขอกราบขอขอบพระคุณ บดิ าและมารดา ผูท เี่ ปน กาํ ลงั ใจสําคัญท่ไี ดช ว ยเหลือและสนบั สนุนผูวจิ ยั เสมอมา และขอกราบขอบพระคณุ คุณยา รวมถึงญาตพิ ีน่ องและเพอ่ื นทุก ๆ คน ทใ่ี หความสนับสนนุ และขอขอบคุณ เพ่ือน ๆ ภาควชิ าภาษาศาสตรทกุ คน ท่ีรว มกันเปน กําลงั ใหกนั และกันในการเรียนและการทํางานวิจัยรวมทั้งการแลกเปลี่ยนความคิดที่เปนประโยชนตองานวิจัย อีกทั้งชวยเหลือและสนับสนุนอีกทั้งคอยใหคําปรึกษาที่เปนประโยชนตลอดระยะเวลาที่ศึกษาในภาควิชาภาษาศาสตร สุดทา ยน้ีผูว ิจยั ขอขอบพระคุณ กลุมตัวอยางทุกทานที่กรุณาเสยี สละเวลาเพ่ือใหขอ มลู ท่มี คี าและทําใหการศึกษาคนควาอิสระชิ้นนี้มีความสมบรูณ ณิชาภา เครือเอม พฤษภาคม 2552

สารบัญ (1) หนา (3)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภูมิ 1 4บทที่ 1 บทนํา 4 ความเปนมาและความสาํ คัญของปญ หา 4 5 วัตถุประสงคก ารวิจยั 5 สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั 5 ขอบเขตของการวิจัย แนวคดิ ท่ใี ชเปนพื้นฐานในการวิจยั 6 ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั 9 นยิ ามศัพท 15บทที่ 2 การตรวจเอกสาร 17 แนวคดิ เรอ่ื งวจั นกรรม แนวคดิ เรอ่ื งวัจนกรรมการตาํ หนิ 22 ทฤษฎเี รอ่ื งหนา ของผูพูดผูฟง และความสุภาพ 26 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ ง 28บทที่ 3 วธิ ีการวิจัย วิธกี ารเก็บขอมลู 31 วิธกี ารจดั ระเบียบขอ มูล 83 วิธกี ารวเิ คราะหขอ มลูบทที่ 4 ผลการวิจยั และขอวิจารณ ผลการวิจยั ขอวจิ ารณ

สารบัญ (ตอ ) (2)บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ยั และขอ เสนอแนะ หนาสรปุ ผลการวจิ ยั ขอ เสนอแนะ 86 89เอกสารและสง่ิ อา งองิ 90 92ภาคผนวก 93 ภาคผนวก ก แบบสอบถามที่ใชในงานวิจัย 98 118 ภาคผนวก ข ขอมูลจากการตอบแบบสอบถามประวัติการศึกษาและการทํางาน

สารบัญตาราง (3) หนา 43 44ตารางที่ 46 47 1 กลวธิ ีแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิและลักษณะสาํ คัญท่พี บ 49 2 ความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิ 50 3 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธีที่ 2 52 4 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธีที่ 3 54 5 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธีที่ 4 56 6 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ 58 60 ในสถานการณท ่ผี ูพ ดู กบั ผฟู ง มสี ถานภาพเทากนั 62 7 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ 64 66 ในสถานการณท ่ีผูพ ูดกับผฟู งมสี ถานภาพเทา กนั และมีความสนทิ สนมกนั 8 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในสถานการณท ีผ่ พู ดู กับผูฟง มสี ถานภาพเทากันและไมม ีความสนทิ สนมกัน 9 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในสถานการณที่ผพู ูดมีสถานภาพตา่ํ กวา กบั ผูฟง 10 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในสถานการณท่ีผพู ูดมีสถานภาพตาํ่ กวา ผูฟ งและมคี วามสนทิ สนมกัน 11 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในสถานการณที่ผพู ูดมสี ถานภาพตํา่ กวาผฟู ง และไมม ีความสนิทสนมกัน 12 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในสถานการณที่ผูพดู มสี ถานภาพสูงกวา ผูฟง 13 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในสถานการณท ผี่ ูพดู มสี ถานภาพสูงกวา ผูฟ ง และมคี วามสนิทสนมกนั 14 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในสถานการณท ่ีผูพูดมสี ถานภาพสูงกวาผฟู ง และไมม ีความสนิทสนมกัน

สารบัญตาราง (ตอ ) (4) หนา 72 74ตารางที่ 77 79 15 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ 81 ในกลมุ ตวั อยางผพู ูดเพศชาย 16 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ในกลมุ ตัวอยางผูพ ูดเพศหญงิ 17 การเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรม การตําหนิในสถานการณท ผี่ พู ูดกับผฟู ง มีสถานภาพเทา กัน ในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิง 18 การเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรม การตําหนิในสถานการณทีผ่ ูพดู มีสถานภาพตํ่ากวาผฟู ง ในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิง 19 การเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรม การตําหนิในสถานการณท ่ผี ูพ ูดมสี ถานภาพสงู กวาผูฟ ง ในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิง

สารบญั แผนภมู ิ (5) หนา 42 45แผนภมู ิที่ 46 48 1 กลวธิ แี สดงวจั นกรรมการตาํ หนิ 49 2 แผนภูมิแทงแสดงการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิ 51 3 แผนภูมิแทงแสดงการปรากฏของกลวิธีที่ 2 53 4 แผนภูมิแทงแสดงการปรากฏของกลวิธีที่ 3 5 แผนภูมิแทงแสดงการปรากฏของกลวิธีที่ 4 55 6 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม 57 การตาํ หนิในสถานการณท ผี่ ูพูดกบั ผฟู ง มีสถานภาพเทา กัน 59 7 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม 61 การตาํ หนิในสถานการณท่ีผพู ูดกับผฟู ง มีสถานภาพเทา กนั และมีความสนิทสนมกัน 63 8 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม การตาํ หนิในสถานการณท ผี่ พู ดู กับผฟู งมสี ถานภาพเทากนั และไมมีความสนิทสนมกัน 9 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม การตําหนิในสถานการณท่ีผพู ูดมีสถานภาพต่ํากวากบั ผฟู ง 10 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม การตาํ หนใิ นสถานการณท ่ผี พู ูดมสี ถานภาพตา่ํ กวาผฟู ง และมีความสนิทสนมกัน 11 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม การตาํ หนใิ นสถานการณทผี่ พู ูดมีสถานภาพต่ํากวาผฟู ง และไมมีความสนิทสนมกัน 12 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม การตําหนิในสถานการณทีผ่ ูพูดมีสถานภาพสงู กวาผฟู ง

สารบญั แผนภมู ิ (ตอ ) (6) หนา 65 67แผนภมู ิที่ 68 6913 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม 70 การตําหนใิ นสถานการณทผี่ ูพ ดู มีสถานภาพสูงกวาผฟู ง 71 และมีความสนิทสนมกัน 73 7614 แผนภมู แิ ทง แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรม 78 การตําหนิในสถานการณทผี่ พู ดู มีสถานภาพสงู กวา ผูฟง และไมมีความสนิทสนมกัน15 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของวัจนกรรม การตาํ หนิในสถานการณทีผ่ ูพูดและผูฟ ง มีสถานภาพแตกตางกนั16 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบการใชกลวิธีการแสดงวัจนกรรม การตําหนิของผูที่มีความสนิทสนมกันและไมสนิทสนมกัน ในสถานการณท ผ่ี พู ูดมีสถานภาพเทากันกับผูฟง17 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบการใชกลวิธีการแสดงวัจนกรรม การตําหนิของผูที่มีความสนิทสนมกันและไมสนิทสนมกัน ในสถานการณท ่ีผูพ ดู มสี ถานภาพต่าํ กวาผฟู ง18 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบการใชกลวิธีการแสดงวัจนกรรม การตําหนิของผูที่มีความสนิทสนมกันและไมสนิทสนมกัน ในสถานการณทผ่ี ูพูดมสี ถานภาพสงู กวาผูฟ ง19 แผนภูมิแทงแสดงจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการ ตาํ หนิในกลุม ตัวอยา งผูพูดเพศชาย20 แผนภูมิแทงแสดงจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการ ตําหนิในกลุมตวั อยา งผพู ดู เพศหญิง21 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของวัจนกรรมการ ตาํ หนิในกลุมตัวอยางผพู ดู เพศชายและเพศหญิง

สารบญั แผนภูมิ (ตอ ) (7) หนา 78 80แผนภมู ิที่ 8222 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของ กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนติ าํ หนใิ นสถานการณ ทผี่ พู ดู กับผูฟงมสี ถานภาพเทา กันในกลมุ ตัวอยาง เพศชายและเพศหญิง23 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของ กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนติ าํ หนใิ นสถานการณ ทผ่ี พู ดู มสี ถานภาพตาํ่ กวา ผูฟ งในกลมุ ตัวอยาง เพศชายและเพศหญิง24 แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของ กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนติ าํ หนใิ นสถานการณ ที่ผูพดู มสี ถานภาพสงู กวาผฟู งในกลมุ ตัวอยา ง เพศชายและเพศหญิง

บทท่1ี บทนาํ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ภาษาเปนสื่อกลางทม่ี นุษยใ ชตดิ ตอ ส่อื สารกันในชวี ิตประจําวนั และยงั เปน เครอื่ งมือในการบอกเลาถงึ ความรสู ึกนึกคดิ ระหวางผพู ดู และผฟู ง ในการทําใหเ กดิ ความเขา ใจที่ตรงตามวตั ถปุ ระสงคของผูพ ดู และเพือ่ ใหเกดิ ความสัมพันธอันดตี อกัน อกี ทงั้ ภาษาจดั วา เปนการสอ่ื สารทม่ี รี ะบบ เปนสื่อกลางในการแสดงออกเชิงความคิดของมนุษย ดังคํากลาวของ อุดม วโรตมสกิ ขดิตถ(2537) ทก่ี ลาววาภาษาเปนเครื่องมือประจําวันที่มนุษยตองพึ่งพา เปนสถาบันทางสังคมซึ่งหมายถึงวา เปนที่ยอมรับในกลุมคนทใี่ ชภาษาเดียวกัน เปนวัฒนธรรมที่กลมุ ชนน้นั ภาคภูมใิ จเพราะมีภาษาเปน ของตนเองใช และเปนสวนบงชีส้ ําหรับผพู ดู ภาษาเดยี วกันวาชมุ ชนเหลานั้นมภี าษาใชเปน ของตนเอง เหตเุ พราะมนษุ ยไมอาจดํารงชวี ิตอยูโดยลาํ พังได จาํ เปน ตองพึ่งพาอาศยั ซ่ึงกันและกนั มนุษยจึงตองมีการส่อื สาร เพ่อื สงความคิดและความรสู ึกซ่ึงสิ่งนเี้ รียกวา “สาร” การสอื่ สารจึงหมายถงึ กระบวนการที่มนษุ ยเช่ือมโยงความนึกคิดและความรูส กึ ใหถ ึงกัน เม่อื พูดถึงภาษาเรากม็ กั จะนกึ ถึงการสื่อสาร เพราะสองสง่ิ น้ีเปน ส่งิที่อยูคกู นั ซงึ่ โอภส แกวจาํ ปา (2547)ไดก ลา ววา ในการสอ่ื สารในชวี ติ ประจาํ วนั นน้ั หากจาํ แนกตามภาษาที่ใช แบง เปน 2 ลักษณะ กลา วคือ การส่อื สารโดยวัจนภาษา(Verbal Communication) หมายถึงการสอ่ื สารทใ่ี ชภ าษาถอยคํา ไดแ ก การพดู และการเขยี น และการส่อื สารโดยใชอวัจนภาษา (NonVerbal Communication) หมายถึงการสื่อสารที่ไมตองอาศัยภาษาที่เปนถอยคําไดแก การใชทาทาง สีหนา หรือแมก ระทั่งดวงตา สงิ่ เหลา นีน้ บั เปนการสือ่ สารทง้ั ส้ิน ซ่งึ สง่ิ ที่ผูว ิจยั สนใจศึกษาเปน การส่ือสารโดยวจั นภาษาในการพดู สว นในทางวัจนปฏิบัติศาสตร( Pragmatics) นั้นการพูดสามารถมีไดหลายรูปแบบ ดงั เชน George Yule(1996)ไดก ลา วไวว า Pragmatics หรือ วัจนปฏิบตั ิศาสตรเปนการศกึ ษาเกีย่ วกับความสัมพนั ธระหวางรปู ประโยคและตวั ผูพดู หมายถงึ การวิเคราะหไปถึงความรสู กึ นึกคดิ และความตั้งใจหรือเจตนาของผูพูดในการที่จะสื่อความหมายไปถึงผูฟง ซง่ึ ในการแสดงวจั นกรรมนน้ั เราสามารถมีไดหลากหลายรูปแบบ เชน วัจนกรรมการขอโทษ การขอบคุณ การเชิญ การสัญญา หรือการขอรอง และในการแสดงวัจนกรรมในแตละวัจนกรรมนั้นเราสามารถแปลความหมายไดหลายแบบ ซึ่งจะขึ้นอยูก ับเจตนาของผพู ดู นอกจากนีใ้ นการแสดงวัจนกรรมหนึ่ง ๆ น้นั ก็สามารถมีไดห ลายรปู แบบ

2ดงั เชน Thomas Jenny (1995 ) ยกตัวอยางไววาในการแสดงวัจนกรรมการขอรอง (speech act ofrequesting) ก็สามารถที่จะขอรองไดในหลากหลายรูปแบบ ดังนี้ Shut the door! Could you shut the door? Did you forget the door? Put the wood in the hold. What do big boys do when they come into a room, Johnny? จากรูปแบบประโยคขา งตน จะเห็นไดวา แมเพียงวัจนกรรมเดยี วกนั น้ันผูพ ูดกส็ ามารถกลา วไดมากมายหลายกลวิธีและมีรูปแบบประโยคที่หลากหลาย ซงึ่ ในแตล ะวจั นกรรมนนั้ จะมีกลวธิ ีในการแสดงวัจนกรรมไดหลากหลายรูปแบบแตกตางกันออกไป ยกตัวอยางเชน จากทฤษฏีของ Janet Holmes(อางในทศั นีย เมฆถาวรวฒั นา, 2541) กลาววา การแสดงกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการขอโทษสามารถแบงเปน 4 ประเภทใหญ ๆ ไดแ ก การกลาวคาํ ขอโทษ การอธบิ ายเหตุผลการกระทาํ ผิด การยอมรับผิดและการสญั ญากบั ผฟู ง วาความผดิ เชนเดียวกนั น้ีจะไมเ กิดขนึ้ อีก โดยโฮลม พบวาผหู ญิงมกั ขอโทษบอ ยกวาผูชาย นอกจากนี้ในวัจนกรรมการแสดงการการตําหนิจากงานของ Ann Trosbrog (1995) ระบุวากลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนสิ ามารถจาํ แนกไดเ ปน 4 กลมุ ใหญ ๆ ดงั น้ี คอื การไมกลาวออกมาตรง ๆหรอื บอกเปน นยั การพูดเพื่อแสดงความรําคาญใจหรือไมพอใจ การพูดกลาวหาและการพูดเชิงตอ วาผกู ระทาํ ผดิ ซึ่งจะเห็นไดวา ในแตล ะวจั นกรรมเรากส็ ามารถมกี ลวธิ ีการพูดไดห ลายรปู แบบและผูพูดจะเลือกใชก ลวธิ ีใดนัน้ ก็ตอ งคํานงึ ถึงบริบททเี่ กดิ ขึ้นในสถานการณน ้ันดวย สําหรับในการแสดงวจันกรรมการตําหนนิ น้ั ผวู ิจยั มคี วามสนใจและเลอื กท่จี ะทํางานวจิ ยั ในเรือ่ งนีเ้ พราะผวู จิ ัยเหน็ วา ในการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิทําใหเกิดการคุกคามหนาดา นบวกของผฟู ง เพราะในวัจนกรรมการตาํ หนนิ ้ีผูพูดจะตองพูดเพื่อแสดงทัศนคติทางดานลบของตน ดังเชน แนวคิดเรื่องหนาของ Goffman ที่ Brownและ Levinson (Brown and Levinson,1987) ไดนําแนวคิดเรอ่ื งหนามาอธบิ ายไวว า การท่ีมนษุ ยน้นั ใชภาษาที่สุภาพกับคูสนทนาเปนเพราะวามนุษยมีความคาดหวังเพื่อไมใหคูสนทนามาละเมิดหนาของตนเอง ซ่ึง “หนา ” ในที่นหี้ มายถงึ ภาพลกั ษณของตนเองในท่สี าธารณะ ดังน้นั ผูพูดและผูฟง จึงตางพยายามทจี่ ะรกั ษาหนา ของตนไว และไมพยายามไปดูหม่นิ หนา ของผูอืน่ เม่ือเปนเชน นี้ ในการสนทนามนษุ ยจงึ มกี ารใชภ าษาทแ่ี สดงถงึ การใหเ กียรตแิ ละแสดงความเปน มิตรซงึ่ กนั และกนั อีกทงั้ ยังเปนการรักษาหนาทั้งผพู ูดและผูฟงดวย ในขณะเดียวกันเม่อื อยูใ นสถานการณทผี่ พู ูดตองแสดงวจั นกรรมทอี่ าจทาํ ใหผ ูฟ ง รูสึกเสยี หนา เชน ในสถานการณท ี่ผพู ูดรูสึกวา ผฟู ง มพี ฤตกิ รรมไมเหมาะสมหรือในสถานการณท ่ผี พู ูดกาํ ลงั มอี ารมณโ กรธ โดยเฉพาะอยา งย่งิ เมือ่ เราอยูในสังคม และอยูในสถานการณที่เราจาํ เปน ตองพูดตําหนผิ อู ่นื ผูพ ูดแตล ะคนก็จะมวี ิธีการกลาวตาํ หนิทีต่ างกันออกไปท้ังน้ีขน้ึ อยกู บัปจจัยทแี่ วดลอมในสถานการณน ้ัน ๆ เชน หากเราจาํ เปนตอ งตาํ หนผิ ทู ีม่ สี ถานภาพสงู กวาเราเชน

3หัวหนา งานหรือเราตองกลาวตําหนิผทู สี่ ถานภาพตาํ่ กวา หรือเทา กนั ผกู ลา วตําหนิก็จะมกี ลวิธกี ารกลา วถอยท่ตี า งกนั ดังทีอ่ มรา (อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2551) กลาววา ความสมั พันธร ะหวา งผพู ูดกบั ผูฟง ท่ีจะเปนตวั กาํ หนดใหผพู ดู ใชภ าษาแตกตา งกนั ไปน้นั ถกู กาํ หนดโดยใชป จจัยหลายอยา ง เชน ความเก่ียวของกันในบทบาททางสังคม เชน พอกบั ลูก นายกับบา ว ซ่งึ ผูพูดจะตอ งคํานึงดว ยวา ผูฟ ง เปนใครหรอื เขากําลงั พูดอยูก ับใครแลวตนเปนอะไรกบั เขา อีกทั้งในสังคมไทยน้ันยังเปนสงั คมท่ียงั ใหความสําคัญกับผูที่มีความสูงวยั กวา หรือแมกระทั่งผูที่มีอํานาจทางสังคมมากกวา ผวู จิ ัยจึงเกดิ ความสงสยั ในเรอ่ื งดังกลา ว วาหากเราจาํ เปนตอ งกลาวตาํ หนิผูอนื่ กลาวคอื การกลาวตาํ หนผิ ูท่มี สี ถานภาพสงูกวา ตํา่ กวา หรอื เทา กัน ผูพ ูดจะมีวธิ กี ารกลา วตาํ หนใิ นแตล ะสถานการณแ ตกตา งกันอยางไร อกี ทัง้ ผวู ิจัยยังตองการศึกษาอีกดว ยวาปจ จยั เรอื่ งเพศนัน้ มีความสมั พันธตอ การเลอื กใชก ลวธิ กี ารกลา วตําหนิของผูพดู หรือไม เหตเุ พราะจากการศึกษาในงานวิจัยตาง ๆ ท่ีผานมา ผวู ิจัยพบวา การใชภ าษาของเพศหญิงนั้นจะคํานึงถึงความสุภาพมากกวาเพศชายและในทางภาษาศาสตรสังคม ยังเชื่อวา เพศหญิงสามารถใชภาษาไดถูกตองและสุภาพกวาเพศชาย จากการศึกษาของ William Labov (1966) ศึกษาเรื่องการแบงชนชั้นทางสังคม(Class stratification of (r) in New York) ตามวจั นลลี า 5 วัจนลลี า พบวา ในเพศหญิงมกี ารออกเสยี ง ( r ) ไดด ีกวา เพศชาย เน่ืองจากเสยี ง ( r ) เปนเสียงทแ่ี สดงออกถงึ ความสุภาพและมศี ักดิ์ศรีฉะนั้น เพศหญิงจึงพยายามออกเสียงใหชัดเจนมากกวาเพศชาย อีกทั้งจากแนวคิดของ Lakoff (อางในJanet Holmes,1997) กลาววา เพศหญิงจะมีลักษณะการใชภาษาที่มักจะคํานึงถึงความสุภาพ เชน 1. มักมีการใชประโยคที่แสดงถึงความไมแนใจ เชน you know,well, มีการใช Tags question เชน she’s verynice, isn’t she? ซง่ึ แสดงถงึ การใหผอู นื่ แสดงความเหน็ ,มกี ารข้ึนเสยี งสูงในคําที่แสดงการยืนยัน เชนIt’s really good.และ มกี ารพูดถงึ สีไดล กึ ซง้ึ กวาเพศชาย เชน magenta,aquamarine และจากการศึกษาของ Holmes (อา งใน ทัศนีย เมฆถาวรวฒั นา, 2541) ไดศ กึ ษาความสมั พนั ธร ะหวา ง ปจ จยั เรอื่ งเพศกับการแสดงวัจนกรรมการขอโทษ พบวา ผูหญิงชาวนิวซีแลนดแสดงวัจนกรรมการขอโทษมากกวาและบอยกวาเพศชาย นอกจากนี้ผลการศกึ ษาของ สุภาสนิ ี โพธวิ ิทย (2547) พบวา ปจจยั ดา นเพศและอายุของผูใชภาษามีผลตอการเลือกใชกลวิธีการแสดงความเห็นโตแยงในภาษาไทย ผูวิจัยจงึ มคี วามเห็นวาเมื่อเพศหญิงนั้นมักคํานึงถึงความสุภาพและนุมนวลมากกวาเพศชาย ฉะนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจวาในเพศหญิงจะเลือกใชก ลวิธกี ารกลาวตาํ หนทิ ร่ี นุ แรงนอยกวา เพศชายหรอื ไม อยางไร ฉะน้ันผวู ิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการแสดงวัจนกรรมการตําหนิ โดยเก็บขอ มลู จากกลมุ ตวั อยา งนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 40 คน โดยใชแบบสอบถามที่เปนสถานการณสมมุติของการกระทําความผิด 12 สถานการณ โดยแบงเปน สถานการณท ผ่ี พู ดู และผูฟงมสี ถานภาพเทา กัน สถานการณท ่ีผพู ูดมีสถานภาพสูงกวา ผฟู ง และสถานการณท ่ผี พู ดู มีสถานภาพตาํ่ กวาผูฟง รวมถึงความสนทิ สนมคุนเคยระหวา งผพู ดู และผูฟง เพอื่ ศึกษาวาในสังคมไทยนั้นเราจะพบกลวธิ ีการตําหนแิ บบใดบาง และเพศชายกบั เพศหญงิ นัน้ จะเลอื กใชก ลวธิ ใี นการตาํ หนิเหมอื นหรือตา งกัน อยางไร

4วัตถุประสงคใ นการวิจยั 1.ศึกษากลวิธีในการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิและหาความถี่ของแตละกลวิธี 2. ศึกษากลวิธีในการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางตามสถานถานภาพของผูพูดและผูฟง 3. ศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญงิ 4. ศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญงิ ตามสถานภาพของผูพดู และผฟู งสมมุติฐานการวจิ ัย 1. วัจนกรรมการแสดงการตําหนิของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสามารถพบไดหลายวิธีเชน กลวิธีการกลาวหา การกลาวโดยนัยและการแสงความไมพอใจ 2. ในสถานการณที่ผพู ดู มีสถานภาพตา่ํ กวา ผฟู งผูพูดจะเลือกใชกลวิธใี นการแสดงวจั นกรรมการตําหนิทีม่ ีความรนุ แรงนอยกวาเมื่อผพู ูดอยูในสถานการณท ผี่ พู ดู มีสถานภาพสงู กวา ผฟู ง 3. ในการเปรียบการเลือกใชกลวิธีการแสดงการตําหนิในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิงพบวาเพศหญิงมีการเลือกใชกลวิธีในการแสดงวัจนกรรมการตําหนิที่มีความรุนแรงนอยกวาเพศชาย 4. ในการเปรียบการเลือกใชกลวิธีการแสดงการตําหนิในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิงในสถานการณท ีผ่ ูพ ดู และผูฟงมีสถานภาพแตกตา งกันนน้ั เพศหญิงมีแนวโนมทจ่ี ะเลือกใชก ลวิธใี นการแสดงวจั นกรรมการตําหนิท่ีทีม่ ีความรนุ แรงนอยกวาเพศชายแมว าผพู ดู จะอยใู นสถานการณท ีผ่ พู ูดมีสถานภาพสงู กวาผูฟงขอบเขตของการวจิ ยั 1. ศกึ ษาเฉพาะถอยคาํ ที่แสดงการตาํ หนิในทน่ี ้ีหมายถงึ ถอยคาํ ท่ผี ูพ ูดแสดงการกลาวโทษตเิ ตยี น วารา ยเม่อื ผูฟงกระทาํ ผดิ หรอื เปนถอ ยคาํ ทแ่ี สดงถงึ ความไมพอใจและขอบกพรอ งของผูฟง 2. ผวู จิ ยั เกบ็ ขอมลู จากแบบสอบถามทสี่ รางข้ึน โดยใชกลุมตวั อยา งจากผทู ่ีมกี ารศึกษาในระดบั ปริญญาตรี ในชว งอายุ 20-25 ป จาํ นวน 40 คน แบงเปน เพศชาย 20 คนและเพศหญงิ 20 คนในงานวิจัยชน้ิ น้ผี ูว ิจัยไมไดนําปจ จัยเร่ือง คาน้ําหนกั ความผิดของผูกระทาํ ผิดมาวเิ คราะหร วมดว ย

5แนวคดิ ท่ใี ชเ ปนพน้ื ฐานในการวิจัย 1. แนวคดิ เรอ่ื งวจั นกรรมของ ออสตนิ (J. L. Austin:1962)และ เซิรล (Searl,1979) 2. แนวคดิ เกย่ี วกบั ทฤษฎคี วามสภุ าพของบราวนแ ละเลวนิ สนั (Brown and Levinson,1987) 3. แนวคดิ เกย่ี วกบั กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ ของ Anna Trosbrog (Anna Trosbrog,1995)และ Olshtain และ Weinbach (อางใน Gabriele Kasper and Shoshana Blum-Kulka,1993)ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดรบั 1.เพอื่ ใหท ราบถงึ ลักษณะการเลือกใชก ลวธิ ีในการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนขิ องนสิ ติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2. เพื่อใหทราบถึงลกั ษณะการเลอื กใชก ลวธิ ใี นการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในเพศชายและเพศหญงิ 3. เพื่อใหทราบถึงแนวทางการใชภาษาของคนไทยที่สะทอนถึงลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมในปจจบุ ัน 4. เพ่ือเปนแนวทางในการศกึ ษาคนควาแกผ ทู ่ีสนใจในเรื่องท่ีเกีย่ วของกบั วัจนกรรมและวจั นกรรมการตาํ หนติ อ ไปนยิ ามศพั ท 1. วจั นกรรมการตาํ หนิ หมายถงึ การใชถอ ยคําท่ผี ูพดู แสดงถึงความขุนเคืองใจ ไมพอใจหรอื การกลาวโทษ วารา ย ตาํ หนิผูฟ งของผพู ูด หรืออาจเปน ถอ ยคําทีแ่ สดงถึงการกลาวโทษทีท่ ําใหผฟู งรูส กึ เสยี หนา ซึ่งในถอยคํานั้นอาจแสดงถึงการตําหนิผูฟงอยางตรงไปตรงมาหรือไมตรงไปตรงมาที่ผูฟ งสามารถรับรไู ดวา ตนกําลงั ถูกตําหนหิ รือไมกไ็ ด 2. กลวิธีการใชภาษา หมายถึง ลักษณะการใชภาษาเพื่อสื่อความหมายในการสนทนา 3. สถานภาพของผูพ ดู และผฟู ง หมายถึง วัยระหวางคูส นทนาหรอื อาํ นาจระหวางคูสนทนา 4. ระยะหางทางสังคม หมายถึง ความสนิทสนมคุนเคยระหวางคูสนทนา

6 บทท่ี 2 การตรวจเอกสาร การศกึ ษาการใชวจั นกรรมเพอื่ แสดงการตาํ หนขิ องคนไทย ผูวิจัยไดศึกษาและวเิ คราะหอ างองิทฤษฎีและแนวคดิ ท่ีเก่ยี วของกับงานวิจยั ในประเด็นตา ง ๆ ดังตอ ไปน้ี 1. แนวคดิ เรอ่ื งวจั นกรรม 2. แนวคดิ เรอ่ื งวจั นกรรมการตาํ หนิ 3.ทฤษฎีเรอ่ื งหนา ของผพู ูดผฟู งและความสุภาพ 4.งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วของ 1. แนวคิดเรือ่ งวจั นกรรม ภาษาเปน เครอื่ งมอื ทีท่ ําใหมนษุ ยเ ราเกดิ ความเขา ใจอนั ดตี อ กนั นอกจากคาํ พูดทผ่ี ูพดู ไดเปลงออกมา เพ่ือใชบงบอกถงึ ความรูสกึ นกึ คดิ ของผูพดู แลวนั้นผพู ูดอาจจะยงั มเี จตนาทีจ่ ะสื่อความหมายอ่นืผา นทางถอ ยคาํ ที่ไดก ลาวออกไป เชน ในสถานการณท ่ีแมตอ งการใหล ูกไปทาํ การบาน แมจ งึ กลาววา“วนั นีล้ กู ทําการบานเสรจ็ แลว เหรอ” หรอื “วนั น้ลี กู ไมมกี ารบานเหรอ” จะเหน็ ไดว า ประโยคสองประโยคขางตนนี้เปนประโยคคําถามแตเจตนาของประโยคนี้อาจจะไมไดตองการถามเพื่อตองการคาํ ตอบเพยี งอยางเดียวอาจมเี จตนาอ่นื ซอนอยดู วย อาจเปนการสัง่ หรือการขอรอ งก็ได หรอื ในสถานการณ เพ่อื นขอยืมรถไปใชแ ตรถไปเฉ่ยี วชน ผูพูดตอ งการตําหนิ (Complain) แตไ มต องการพูดออกมาตรงเพราะอาจจะรุนแรงเกินไป ผูพูดอาจกลาววา “ไมนาตองมาเสียเงินซอมรถเลย” ซึ่งก็สามารถทาํ ใหผูฟง รสู กึ เสยี หนา ไดเ ชนกันสาํ หรับผทู ม่ี อี ิทธพิ ลตอแนวความคดิ เรือ่ งวจั นกรรม คือ J. L. Austin และ Searle ออสตนิ เปนนักปรัชญาชาวอังกฤษ ผลงานของเขาไดถูกตีพิมพขึ้นในป 1962 หลงั จากทเ่ี ขาเสียชวี ิตลง ช่ือวา “Howto do Things with words” ทม่ี หาวิทยาลัย ฮารวารด ออสตินใหค วามสนใจกับภาษาท่ใี ชในชีวติ ประจําวันทีเ่ รียกวา ordinary language ซึ่งแตกตางจากนักปรัชญาในสมัยนั้นที่มองวาภาษาในชีวิตประจําวันมีความบกพรองมากมาย จึงตองหันมาปรับปรุงขอบกพรองของภาษาแตออสตินกลับมองวา ทั้งๆที่ภาษาที่ใชในชีวิตประจําวันนั้นมีความบกพรองมากมายเหตุใดมนุษยเราจึงไดใชภาษานั้นสอ่ื สารกนั ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ ออสตนิ เช่อื วา มนุษยเ ราใชภาษาไมเ พียงแตจ ะใชพ ดู เทาน้นั แตเ ราใช

7ภาษาเพ่ือกระทาํ (Perform action) ออสตนิ (Austin, 1962) กลาววา คําพูดสามารถทําใหเกิดการกระทําอยา งใดอยา งหน่ึงได นอกเหนอื จากการสอื่ ความ คือการทผ่ี ูพดู กลา วถอยคาํ ใดออกมาน้ันนั่นกค็ อื ผพู ดูตองการจะแสดงเจตนาบางอยา งออกมาดว ย ขณะทใี่ หข อมลู น้ันๆ เราเรยี กถอ ยคาํ เชนนว้ี า วัจนกรรม(speech act) ถอ ยคําทถี่ ือวา เปนวจั นกรรมท่ีสมบรณู  นน้ั ตองมรี ูปแบบภาษาดังน้ี 1. มีโครงสรางเปนรูปประโยคบอกเลา 2.ประธานของประโยคตองเปนสรรพนามบุรุษที่ 1 เทา นนั้ เพราะออสตินเชื่อวา ผูพดูเทานัน้ ที่มีหนา ทแ่ี จงการกระทําของตนตามเจตนาใหผ ูอน่ื ทราบ 3.มีคํากริยาบงการกระทํา (performative verb หรอื speech act verb) ทีอ่ ยูใ นรปู ปจจบุ ันกาล เชน complain, promise 4.สามารถเติมคําวิเศษณ hereby ไวระหวางประธานและกริยาบงการกระทําไดโดยไมทําใหความหมายผิดเพี้ยน ออสตินกลาววา ถอยคําที่เปนวัจนกรรมไดตองเปนไปตามเงื่อนไขที่เหมาะสม(Felicity conditions) คือ การกลาวถอยคํานั้นๆ ตองมีแบบแผนเปนที่ยอมรับของคนในสังคมสถานการณการพูดและบุคคลที่เกี่ยวของในกระบวนการตองมีความเหมาะสม 1.กระบวนการตอ งมีขั้นตอนท่ีถกู ตอง ครบถว นและสมบรณู  รวมท้ังคําพดู ทใี่ ชตอ งอยูในชวงเวลาที่เหมาะสมดวย 2.บุคคลที่เกี่ยวของในกระบวนการตองมีความตั้งใจตอสิ่งที่กลาวออกมา 3. เมอื่ กลาวออกมาแลวตองปฏิบัติตามน้นัในการแสดงวัจนกรรมแตล ะครั้ง ผพู ดู จะแสดงการกระทาํ 3 ประการ ดังน้ี 1.วัจนกรรมตรงตามคํา (Locutionary act) เปนการกลาวถอยเพื่อสื่อความตามรูปภาษา โดยถอยคํานั้นมักประกอบดวยองคประกอบทางกอบดวยองคประกอบทางภาษาตาง ๆ เชน เสียง คํา และความหมาย 2.วัจนกรรมปฏบิ ัติ (Illocutionary act) เปนการแสดงเจตนาของถอยคําที่กลาวออกมา ซึ่งขึ้นอยูกับความตั้งใจของผูพูด และผูฟงสามารถหาความหมายไดจากบริบทตาง ๆ ที่นาจะเปนไปได 3.ผลวจั นกรรม (Perlocutionary act) เปน การแสดงผลของถอยคําทีก่ ลาวออกมาโดยผพู ดูคาดวาผูฟงจะเขาใจถึงเจตนาของผูพูดแลวกระทําการบางอยางตามเจตนาของผูพูด จากทฤษฏีของออสตนิ นีผ้ วู จิ ยั มคี วามคดิ เห็นวา ทฤษฎีของออสตินน้นั มขี อจํากดั ท่วี า ตองเปนคํากริยาบงการกระทํา(Performative verb หรอื speech act verb) เทา นั้นจึงจะถอื วา เปน วจั นกรรม ผวู จิ ยักลับมคี วามเหน็ วาถอ ยความท่กี ลา วออกไปนั้นสามารถเปนวัจนกรรมไดห ากผูพดู กลาวขึน้ เพ่อื เจตนาสื่อความหมายบางอยาง ดังที่ โธมัส( Thomas Jenny, 1996) กลาวไวว า ทฤษฎขี อง ออสตนิ มีขอคานได

8หลายประการ กลาวคือ ผลของทฤษฎีที่วาตองเปน มีคํากริยาบงการกระทํา( Performative verb หรอืspeech act verb) เทา นัน้ ซ่ึงขอคดิ เหน็ แยง ทฤษฏขี องออสติน มีดังน้ี 1. ในทางไวยากรณเราไมสามารถแยกขอแตกตางระหวาง Performative verb กบั Verbอ่นื ๆ ได 2. การท่มี ี Performative verb กไ็ มไ ดยืนยนั วา วจั นกรรมนั้นจะประสบผลสาํ เร็จ 3. การที่จะแสดงการกระทําทางวาจานั้น ไมจําเปนตองแสดงผาน Performative verb กไ็ ดVerb ตัวอื่นก็สามารถแสดงการกระทําได 4. การขึ้นตนประโยคไมจําเปนตองเปน “I” เปน สรรพนามบุรุษที่ 3 กไ็ ด 5. ประโยคที่เปนวัจนกรรมสามารถอยูใน Passive voice ได เซิรล (Searle, 1969) ไดใหความสําคัญกับการกลาวถอยคําและการแสดงเจตนาของผูพูดเชนเดียวกบั ออสติน เซิรล กลา ววา วัจนกรรมเปนการกระทาํ ท่ีแสดงดวยการใชคําพดู เพอื่ แสดงเจตนาของผพู ดู ซึ่ง เซริ ล เนน ท่ีเจตนาของผพู ูดเปนหลักและไดจําแนกวัจนกรรมออกเปน 5 ประเภท ดงั น้ี 1.การกลาวความจริง (representatives) หมายถึง การใชถอยคําทผ่ี ูพ ูดมจี ุดประสงคเพอ่ื บอกเลาขอมลู หรือขอ เทจ็ จริง ตาง ๆ แกผูฟง วจั นกรรมประเภทน้ีอาจมคี วามหมายทง้ั ในแงบ วกและแงล บ เชน การพดู การยืนยัน การสรุป การรายงาน การโออ วด การวจิ ารณ การบน และการนินทาเปน ตน 2.การกลาวชน้ี ํา (directives) หมายถึง การใชถ อ ยคาํ ท่ผี ูพ ูดมีจุดประสงคเพ่ือใหผฟู งกระทาํ การบางอยางตามความประสงคของผูพูด เชน การขอรอง การสอบถาม การเชื้อเชิญ และการเสนอแนะเปนตน 3.การกลาวผกู พนั (commissives) หมายถงึ การใชถ อ ยคําทีผ่ ูพดู มีจดุ ประสงคเพอื่ บอกใหผ ูฟงทราบวา ผูพูดจะกระทําการบางอยางในอนาคต เชน การสัญญา การสาบาน การรับรอง และการขมขูเปนตน 4.การกลา วแสดงออก (expressives) หมายถึง การใชถอยคําทผี่ พู ดู มีจุดประสงคเพ่ือแสดงอารมณ ทัศนคติ และความรูสึกของผูพูด เชน การทักทาย การขอโทษ การขอบคุณ และการแสดงความเสยี ใจ เปน ตน 5.การกลาวประกาศ (declarations) หมายถงึ การใชถอยคาํ ทีผ่ พู ูดมจี ดุ ประสงคเพอ่ื เปลยี่ นสภาพของสิ่งของ บุคคล หรือปรากฏการณตาง ๆ สวนใหญมักเปนถอยคําที่เปนทางการ เชน การกลาวเปดงาน การตดั สินจาํ คุก การแตงตั้ง และการเสนอช่ือ เปนตน

9 นอกจากนี้ เซิรล ไดแ บง วจั นกรรมออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1.วจั นกรรมตรง (direct illocutionary act) หมายถึง การใชถอยคําที่มีเจตนาตรงกับรูปแบบ ภาษาหรือโครงสรางประโยคที่ปรากฏ เชน “ ทาํ ไมไมร ดี ผา ไฟดับเหรอ” ในถอ ยคําน้ี ผูพูดตอ งการถาม ผฟู งถงึ เหตุผลวา ทาํ ไมไมร ดี ผา 2.วจั นกรรมออ ม (Indirect illocutionary act) หมายถึง การใชถอยคําที่มีเจตนาไมตรงกับ รูปแบบภาษาหรือโครงสรางประโยคที่ปรากฏ จึงจําเปนตองอาศัยบริบทในการตีความของถอยคํา เชน “ทาํ ไมไมร ดี ผา จะวางไวอ ีกนานแคไหน ” ผพู ดู ไมไดม เี จตนาที่จะถามถึงเหตผุ ล แตต อ งการตาํ หนิผฟู ง วา ทําไมถึงยังไมรีดผา ดวยการใชโครงสรางประโยคคําถาม ดงั นน้ั ทฤษฏวี จั นกรรมของ Searle นั้นจะเนนทีเ่ จตนาของผพู ดู Searle มแี นวคดิ ทว่ี า ในการ กลา วถอยแตละครงั้ มักมคี วามหมายแฝงอยใู นถอ ยความน้นั ดว ย 2. แนวคิดเรอ่ื งวจั นกรรมการตําหนิ Anna Trosbroge (1995) กลาววาวัจนกรรมการตําหนิวาเปนการแสดงออกถึงความรูสึก(expressive) ซ่ึงจะรวมไปถงึ การตัดสินในทางศีลธรรมจรรยา ทผ่ี พู ดู จะแสดงออกถึงส่งิ ท่ีตนเหน็ ดวยและไมเหน็ ดวยในการตดั สินในพฤติกรรมนั้น ๆ และวัจนกรรมการตําหนนิ ้ัน มีสาระสาํ คญั อยูท ่วี า ผตู ําหนิน้ันไดผ านการตดั สนิ ในดา นศีลธรรมจรรยาในสงิ่ ทผี่ กู ระทาํ ผิดไดทําลงไปแลว หรือกําลงั อยใู นขณะนนั้Ann Trosbroge (1995 : 311-319)ไดกลา วถงึ ลักษณะของการตาํ หนิไวด ังนี้ 1. การตําหนิเปนการกระทําที่แสดงออกถึงการหมิ่นประมาท (The complaint as a abusiveact) ซง่ึ ไดมกี ารอธิบายไวว า การตําหนิ (complaint) ที่หมายถงึ น้เี ปนวจั นกรรมท่ีแสดงเจตนา(Illocutionary Act) หมายถึง เจตนาของผูพูดที่แฝงอยูในถอยความนั้น ๆ หลังจากแปลความหมายแลวเชน เจตนาเพอื่ การขอรองการส่งั หรอื การตาํ หนิ เปน ตน ท่ผี ตู ําหนจิ ะแสดงออกถงึ ความไมเ ห็นดวย หรอืความรูสึกในแงล บทม่ี ตี อสถานการณท่เี กิดขึ้นโดยที่ผตู ําหนิเห็นวา ผูกระทําความผดิ จะตองรับผดิ ชอบตอสิ่งที่เกิดขึ้นไมทางตรงก็ทางออม Leech (อา งใน Anna Trosbrogs,1995) ไดใหค าํ จํากัดความไววาวัจนกรรมการตําหนิจัดเปนวัจนกรรมที่อยูในประเภทการกลาวความจริง (representatioves) เปนการแสดงออกถึงความไมเห็นดวยและรวมไปถึงการขู(threatening) การกลาวหา (accusing) การสาปแชงหรือการดาทอ (cursing) และการตาํ หนติ ิเตยี น (reprimanding) และในวจั นกรรมนเ้ี ปน วจั นกรรมทม่ี กี ารคกุ คามถึงความสมั พันธระหวางผพู ดู และผฟู ง อยูใ นระดบั สงู 2. การตําหนิเปนการคุกคามหนา (The complaint as a face-threatening act) ( Brown – Levinson 1978:19 อา งใน Anna Trosbrogs,1995) เหตุเพราะวัจนกรรมการตําหนิเปนการเปนการ กระทาํ ทแ่ี สดงถงึ การตําหนิในเชิงที่เกี่ยวของกับศีลธรรมหรือการกลาวประณามในสถานการณที่ไม

10เปนที่ยอมรับของสังคม โดยผทู ี่กลา วหา(accuser) ไดท ําลายสัมพนั ธภาพ การชวยเหลือและการรว มมอืซง่ึ กันและกนั ” เปรียบเทียบกับกรอบความคิดที่คลายกันในการพูดของ Edmondson-House(1981:145อางใน Anna Trosbrogs,1995) “ กลาววา ในการแสดงวัจนกรรมการตําหนิจะมีความเปนไปไดวาผูพูดนั้นจะแสดงออกถึงความไมเห็นดวย ทาทาย หรือพูดจาเถรตรงปฏิเสธอํานาจทางสังคมของผกู ระทําความผดิ เพราะฉะนั้นผกู ระทาํ ผิดตองยอมรบั ในพฤตกิ รรมท่ีเสียของพวกเขา หรือปฏเิ สธฐานะทางสงั คมของผกู ระทําผิด ผลลพั ธท ีอ่ อกมามแี นวโนม วา จะมคี วามโกรธฉุนเฉียวท่ีทง้ั คูตอสูกันจนกวาจะไดชื่อเสียงทางสังคมคืนมา (Edmondson – House 1981 : 145อางใน Ann Trosbrogs,1995) 3. ลกั ษณะของความไมส ภุ าพจากการตําหนิตเิ ตียน (The non – politeness of complaints) การทําใหขุนเคืองเปนสวนหนึ่งของความขัดแยงและความไมพอใจเปนคําจํากัดความของความไมสุภาพ ตามที่ Leech (1983 : 105อางใน Ann Trosbrogs,1995)ไดช แ้ี จงไวว า ความสุภาพออ นโยนตองไมมีคําถามและการขมขูหรือสาปแชง การแสดงออกถึงความสุภาพและการตําหนิตเิ ตียนจึงดูเหมือนวาจะขัดแยงกันเปนอยางมากในความเปนจริง เพราะฉะนั้นดูเหมอื นเปนสง่ิ ทด่ี ูคอนขา งขัดแยงความรูสึกของคนทั่วไปในเรื่องของการเชื่อมโยงกันของการกลาวตําหนิกับการลดความรุนแรงของการกลาวการตําหนิ แมกระนั้นก็ตาม เราก็ตองการการจัดลําดับของกลวธิ เี พื่อหลกี เล่ยี งขอขัดแยงระหวางบคุ คลในการตดิ ตอ สอ่ื สาร ถงึ แมว าการตาํ หนิตเิ ตียนจะยังคงเปนการกระทําที่ไมสุภาพอยูก็ตามผูตําหนิสามารถใชเครื่องมือในการลดความรุนแรงซึ่งชวยลดระดับความไมพอใจที่มีผลกระทบตอผกู ระทําความผดิ ใหลดนอ ยลงได 4. เครื่องมือในการลดความรุนแรง (Mitigating devices)มีกลวิธีในการตําหนิมากมายที่เปนประโยชนตอกลาวผตู าํ หนทิ ่ตี อ งการหลกี เลี่ยงการเผชญิ หนาโดยตรงกบั ผถู ูกตําหนิ ระดับของความเกยี่ วของกันของผกู ลา วตําหนแิ ละผูถกู ตาํ หนิมคี วามสาํ คญั เปนพิเศษในการกลาวตาํ หนิเพอ่ื การตัดสินใจในการสรางมาตรวัดระดับความรุนแรงของการตําหนิ (scale of direcness level of complaints)กลวธิ ที ่มี ปี ระโยชนม ากท่ีสดุ สําหรบั ผูกลา วตาํ หนิจะเปน กลวธิ ีทส่ี ามารถหลกี เลย่ี งการกลาวถงึ ผฟู งโดยตรง อยา งไรก็ตาม การกลา วอยางไมตรงไปตรงมาก็ถอื เปน ความรบั ผิดชอบของผูพูดดว ย ดงั น้ันผูกลาวตําหนิอาจใหค วามสนใจไปทเ่ี หตุการณ และผลลพั ธท ่ตี ามมาแทนทจ่ี ะชไ้ี ปทต่ี วั บุคคล แทนทผี่ ูพูดจะกลาวตําหนิผูก ระทําผิดโดยตรง ลักษณะของการลดระดับความรุนแรง (downgrader) ซงึ่ จะฟง ดสู ุภาพมากขน้ึ หรอื อีกนยั หนงึ่การเพิ่มระดับความรุนแรง (upgrader) จะกอใหเกิดความรูสกึ ตรงกนั ขาม : สิง่ น้ีจะสง ผลกระทบตอผูฟงใหเกดิ ความไมพ อใจเพ่ิมข้นึ (House – Kasper 1981 :166 – 170 อางใน Anna Trosbrogs,1995)นอกจากนี้ ผกู ลาวตําหนิอาจไมต อ งการรับผิดชอบตอ ส่งิ กลา วตําหนิออกไปโดยการพูดวิพากษว ิจารณอยา งไมช ้เี ฉพาะเจาะจงไปทส่ี ง่ิ ใดสิง่ หน่ึงและเมอ่ื มกี ารตําหนติ ิเตียนเกดิ ขึ้นสิ่งสําคญั คอื การหาขอสนับสนนุ ในการกลา วอางเพื่อตดั สนิ การกระทําผิดนั้น ๆ ถาการตาํ หนมิ เี หตุผลท่ีทําใหน าเชอ่ื ถือผู

11ถูกตําหนิก็จะหาขอแกตัวไดยากขึ้น นอกจากนี้กลวิธีในการขจัดความโกรธสามารถนํามาใชตามความหมายของการหลีกเลี่ยงความขัดแยงไดและอีกทางเลือกหนึ่งที่จะสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแยงดวยการสื่อสารอีกรูปแบบหนึ่งคือ การกลาวตําหนิอยางไมตรงไปตรงมา เชน การกลาวโดยการใหขอ มลู เพยี งบางสว น หรอื การกลาวขอรอง บอ ยคร้งั ทก่ี ารใชวิธเี หลา นสี้ ามารถนาํ ไปใชหลกี เลยี่ งการเผชิญหนาโดยตรงจากการพูดกลาวหาอยางตรงไปตรงมาได (direct accusation) อยา งไรกต็ ามในกรณที ่ีผกู ลาวตาํ หนเิ ลือกการขอรอ งแทนที่การกลา วตาํ หนนิ ัน้ ก็เปนเรื่องท่ีเสยี่ งที่จะทําใหผ ูกลา วตาํ หนนิ ัน้ เสียหนาไดเ ชน กัน เพราะในการกระทําเชนนจ้ี ะไมส ามารถรับประกนั ไดวา การขอรอ งนั้นจะไดรับการยอมรับ 5. ระดับความรุนแรงของการตําหนิติเตียน ที่แบงตามระดับของการพูดตรง (Directness levelsof complaints) การตาํ หนิติเตยี น สามารถแสดงออกไดหลายระดับตั้งแตการบอกเปนนัย (hints) และการบอกถึงการไมเห็นดวยอยางนุมนวล (mild disapprovals) ไปจนถึงการพูดทาทายอยางรุนแรงที่จะสามารถแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาผูถูกตําหนิเปนผูที่ขาดคุณสมบัติและขาดความรับผิดชอบในฐานะที่เปนสมาชิกในสังคม ในการกลาวตําหนินั้นถึงแมถอยความที่กลาวออกมาจะเปนการกลาวอยางไมตรงไปตรงมาแตความรูสกึ ของผูกลา วตําหนิก็ยงั คงมีความรูสกึ ที่ไมดตี อผูถกู ตําหนิ หรอื แมแตถ อ ยคาํ ที่กลาวหาอยา งเปด เผยตรงไปตรงมาหรอื แมแ ตการตัดสนิ ในทางศีลธรรม สําหรบั ในกรณีแรกผถู กู ตาํ หนติ องสามารถทราบถึงขอสรุปในการเชอื่ มโยงระหวาง สิ่งทีพ่ ดู และเจตนาที่แทจรงิ ของผูพดู ในบริบทท่ีเกิดข้ึนในสถานการณนน้ั ๆ โดยทผี่ กู ลาวตําหนิสามารถเลอื กใชกลวิธีทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ททีเ่ กดิ ขึ้นในแต ละสถานการณท ีเ่ กิดขึ้นเพือ่ หลกี เลย่ี งความรุนแรงได นอกจากน้ีAnna Trosbrogs ไดกลา วถึงสิ่งทจ่ี ะทาํ ใหเกดิ การจัดระดบั ความรุนแรงมีดังน้ี 1. ปญหาในบริบทหรือส่งิ ทจ่ี ะตาํ หนิ (propositional content or complainable) 2. ผกู ลา วตาํ หนิ (complainer) 3. ผูถกู กลา วหา (complainee)อกี ท้ังปจจยั ทีเ่ ปนตวั กําหนดใหเ กดิ ระดับความรนุ แรงของการตาํ หนิมีดงั นี้ 1. สิ่งที่จะตําหนิไมไดถูกกลาวถึงอยางตรงไปตรงมาหรือมีการกลาวถึงอยางเปดเผย 2. มีการประเมนิ ความคิดเหน็ ในแงลบของผูกลาวตําหนติ อ สิ่งท่ีจะตาํ หนใิ นการทจ่ี ะกลาว ตาํ หนอิ อกมาอยา งชดั เจนหรอื บอกเปน นยั 3. ความสมั พันธของผกู ระทาํ ผิดและผูกลา วตําหนนิ ้ันทําใหผกู ลา วตาํ หนจิ ะตองเลือกวา กลาว ตาํ หนิออกมาอยา งชดั เจนหรอื บอกเปน นยั 4. มกี ารประเมินความคดิ เหน็ ในแงล บของผกู ลาวตาํ หนติ อพฤติกรรมของผถู กู ตาํ หนใิ นการที่ จะกลาวตาํ หนิออกมาอยา งชดั เจนหรอื บอกเปน นยั

12 5. มีการประเมินความคิดเห็นในแงลบของผูกลาวตําหนิตอตัวผูกระทําความผิดเองในการที่ จะกลาวตาํ หนอิ อกมาอยา งชดั เจนหรอื บอกเปน นยั กลวธิ ใี นการ แสดงการตาํ หนิ (complaint strategies) ตามแนวคิดของ Anna Trosbrog ไดจดั ลําดับของกลวิธใี นการกลาวตาํ หนิไว 4 ประเภทใหญ ๆ โดยมีพื้นฐานขอมูลมาจากงานที่เธอไดศกึ ษาพบ ซง่ึ Trosbrog ไดศึกษาเกี่ยวกับระดับความสามารถทางภาษาของผูศึกษาภาษาอังกฤษชาวเดนมารกเปรียบเทียบกับเจาของภาษาชาวอังกฤษในการ แสดงวจั นกรรมการแสดงการตาํ หนิ ซง่ึ ในกลวิธที ัง้ 4 ประเภทนี้ยังสามารถแบงไดเปน 8 กลวิธยี อ ยๆ ซงึ่ กลวธิ ที ่ี 8 ถกู จดั เปน กลวิธีที่มคี วามรนุ แรงมากที่สุด ซึ่งประเภทของกลวิธีในการกลาวตําหนิ (complaint strategies) แบงเปน 4 ประเภทใหญ ๆ ดงั น้ี1. การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรอื บอกเปน นยั (No explicit reproach Cat 1) การไมกลาวออกมาอยา งชัดแจง ผพู ูดอาจกลาวโดยนยั (Hint) โดยท่ผี ูพ ดู บอกเปน นัยวา ผูฟง จะเขา ใจถงึ ความหมายทีพ่ ดู ออกไป อยางไรกต็ ามการท่ผี ูพดู ไมไ ดก ลา วออกมาอยา งตรงๆ ก็อาจทาํ ใหผ ูฟงทราบหรือไมท ราบถึงสิง่ ทผี่ พู ดู พยายามจะส่ือหรือไมกไ็ ด ยกตวั อยา งเชน ในประโยคท่ีวา “The kitchen was clean and orderly when I left it last”จากตวั อยางในประโยคน้ีผพู ดู ไมไ ดม คี าํ พูดใดทบ่ี งบอกวาผูฟง กระทาํ ความผดิ แตอยางใด ผูพูดเพยี งแคกลาวออกมาเพื่อใหผฟู งทราบเทา น้ัน แตก เ็ ปนการบอกเปน นัยวาตอนท่ีผูพดู ออกไปน้ันหองยังคงสะอาดและเปน ระเบียบเรียบรอ ยอยูซงึ่ ในกรณีน้ีผฟู งจะรบั รูหรอื ไมก ็ได ในกลวธิ นี เี้ ปนการตาํ หนิท่ีมีความรุนแรงนอยท่ีสดุ แตจ ะเปน การเตรยี มการทจ่ี ะใชก ลวิธีทม่ี ีความรุนแรงมากขนึ้ ตอไป2. การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย (Expression of annoyance or disapprovalCat 2) ในกลวิธีนี้ผูพูดสามารถแสดงออกถึงความไมพอใจ ความรําคาญใจหรือการไมเห็นดวยในสถานการณทต่ี นคิดวา เลวรา ย โดยการแสดงออกวา สง่ิ นัน้ นา ตําหนติ อ หนาผฟู ง โดยผพู ูดจะบอกเปนนัยวาผูฟงจะแสดงความรับผิดชอบตอ ส่ิงนน้ั แตจ ะหลกี เลี่ยงการชเ้ี ฉพาะเจาะจงที่ผูฟ งเพือ่ ใหผ ูฟง รสู กึวาตนมคี วามผิด ในกลวิธนี ้ีจะแบงเปน 2 กลวิธยี อ ย ๆ ดงั น้ี 2.1 การแสดงความรําคาญใจ (Annoyance) ยกตัวอยา ง เชน ในประโยคทวี่ า “You know Idon’t like dust,didn’t you know it?” หรอื “Look at these things, all over the place.” เชน กนั ที่ 2ประโยคขา งตน น้ีผพู ูดไมไ ดกลา วตําหนใิ ด ๆ ตอ ผูฟ ง เลยแตผ พู ูดเพยี งแตบอกถึงส่ิงที่ตนรูส กึ ราํ คาญใจเทา น้ัน 2.2 การกลาวถึงผลลัพธที่จะตามมาจากการกระทําผิด (Ill consequences) ในกรณีน้ีผพู ดู แฝงถงึ มงุ หวังถงึ การแสดงความรับผดิ ชอบในความผิดนั้นอยูดวย ยกตวั อยาง เชน ในประโยคทว่ี า “Howterrible! Now I won’t be able to get to work tomorrow.” จากประโยคนี้เปน สถานการณท ผี่ กู ระทาํ ผดิ

13นาํ รถของเพือ่ นไปขบั แลว ทาํ รถเสยี หาย ผพู ูดจงึ พดู โดยกลา วถงึ ความไมพ งึ พอใจและผลลัพธทีจ่ ะตามมาจากการกระทําผิดที่เกิดขึ้น3. การกลาวหาผูก ระทําผดิ (Accusations Cat 3) กลวิธกี ารกลา วโทษ ในกรณีนี้เปน การพดู ตําหนิเพอื่ กลาวหาผูกระทําผดิ แบงเปน 2 ระดับ ซง่ึ ผูพูดสามารถต้ังคําถามผูฟ ง เก่ียวกับสถานการณห รอื ขอ กลาวหา ในกลวิธีนจ้ี ะแบง เปน 2 กลวธิ ยี อย ๆดงั น้ี 3.1 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา (Indirect accusation) ในกลวิธนี ีผ้ ูพดู จะพยายามเชอ่ื มโยงเหตุการณที่เกดิ ขึ้นกบั ผกู ระทาํ ผิดและกลา วหาผูก ระทําผิด ยกตวั อยาง เชน ในประโยคที่วา “Look at the mess, haven’t you done any cleaning up for the last week?” ผูพดู กลาวผูกระทําโดยการต้ังคําถามซึ่งในการกลาวเชน น้นี ้นั ผูพดู มสี ิทธทิ์ ีจ่ ะยอมรบั หรือไมยอมรบั ในความผิดนั้น ๆ กไ็ ด 3.2 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมา (Direct accusation) การทผี่ พู ดู กลาวหาผกู ระทําผดิ อยา งตรงไปตรงมา ยกตวั อยา ง เชน ในประโยคที่วา “You don’t ever clean up after youwhen you’ve been there, you used to do it, what’s up with you now?” ในประโยคนผ้ี ูพ ูดกลาวหาผูก ระทําผิดโดยการบอกอยา งตรงไปตรงมาโดยการบอกในลักษณะนี้ ผถู กู กลา วหาจะสามารถรูไดทนั ทีถึงความผิดของตนเอง ในการกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา (Indirect accusation) ผูพ ูดจะบอกเปน นยั วาผูฟงมีความผิด ซึ่งการกลาวหาโดยการตั้งคําถามหรือการบอกขอมูลเพียงแคบางสวนเปนการกลาวหาที่เปนการคุกคามหนาในระดับต่ํา (less face threatening) ในกรณีทเ่ี ปน การตัง้ คําถาม ผฟู งมีโอกาสทจ่ี ะปฏิเสธความรับผิดชอบเพราะปราศจากการกลาวหาที่ชัดเจนของผูพูด ในทางตรงกันขาม การพูดกลาวหาอยางตรงไปตรงมา จะทําใหผูฟงสามารถรับรูวาตนเองมีความผิดไดอยางชัดแจงโดยไมตองมีการแปลความหมาย4. การกลา วตําหนิผูกระทําผดิ (Blaming Cat 4)ในกลวิธนี ี้ ผูก ลาวตําหนิจะสนั นิษฐานวา ผูถกู กลาวหาจะเกดิ ความละอายใจตอ ความผิดน้นั ซ่งึแบงเปน 3 ระดับ ซ่งึ ผพู ดู จะมีความชัดเจนในการชแ้ี จงตัดสินความผดิ ในขอกลาวหาแกผ ูฟง ในทกุ ๆกรณี ผูพ ดู จะมกี ารตีคา ความผดิ (Value judgment) ของผูฟง เกิดขึ้น ในกลวิธีน้จี ะแบง เปน3 กลวธิ ียอ ย ๆ ดงั น้ี 4.1 การกลาวตําหนิผูกระทําความผดิ ท่มี ีการตกแตง (Modified Blame) ในกลวธิ นี ้ผี ูพดู จะกลา วแสดงออกถงึ สง่ิ ทต่ี นไมเ หน็ ดว ยในการกระทาํ นน้ั ๆ และคาดหวงั วา ผถู กู กลา วหาจะแสดงความรบั ผิดชอบตอการกระทําที่เกิดขึน้ โดยผูกลาวตําหนมิ กั จะพูดตําหนใิ นกลวธิ นี ้โี ดยการพูดเสนอทางเลอื กใหแกผูถ ูกกลา วหา ยกตัวอยาง เชน ในประโยคทว่ี า “It’s boring to stay here, and I hate living

14in a mess, anyway you ought to clean up after you.” จากประโยคนผี้ ูพูดเลือกใชวธิ กี ารลดความรนุ แรงลดโดยการใช “ought to” ในการกลาวคาํ แนะนําเพ่อื เปน การเสนอทางเลือกแกผ ูฟ ง 4.2 การกลาวตําหนิผูกระทําความผิดโดยการกลาวตอวาการกระทําของผูกระทาํ ผิด (explicitcondemnation of the accused’s action) ในกลวิธีนผ้ี พู ดู จะกลา วตอ วา การกระทาํ ของผฟู ง อยางชัดเจนและตรงไปตรงมา โดยขอกลา วหานน้ั เปน การตอวาผูถกู กลาวใหร บั ผิดชอบตอ การกระทําอันเลวรา ยน้นั ยกตัวอยาง เชน ในประโยคทีว่ า “You never clean up after you, I’m sick and tired of it.” หรือ“It’s really too bad, you know, going round wrecking other people’s cars.” 2 ประโยคขางตนนี้เปนการพดู ตาํ หนผิ ูก ระทําผดิ โดยการเนน ไปทกี่ ารกระทาํ ทผ่ี พู ูดตัดสินแลววา เปนการกระทาํ ทไี่ มดีหรือเลวรา ย 4.3 การกลาวตําหนผิ ูกระทําความผิดโดยการกลา วตอวาทต่ี วั บคุ คลของผูกระทาํ ผิด (Explicitcondemnation of the accused as a person) ในกลวธิ นี ผี้ พู ดู จะกลา วอยางชัดเจนถงึ การกระทาํ ผดิ ในตวับุคคล เชน การกลาวหาวาบุคคลนั้น ๆ ไมมีความรับผิดชอบในฐานะที่เปนสมาชิกในสังคม ยกตัวอยางเชน ในประโยคท่วี า “Oh no, not again! You really are thoughtless.” หรอื “Bloody fool! You’ve doneit again” ทงั้ 2 ประโยคนเ้ี หน็ ไดชดั เจนวา ผพู ูดกลา วตําหนไิ ปท่ตี ัวบุคคลอยา งชดั เจน ซึ่งใน 2 กลวิธีหลงั นี้ผูวิจยั มีความเหน็ วา ผูกลา วตาํ หนิจะใชคาํ ทีแ่ สดงความไมสุภาพ เชน คําท่ีแสดงความหยาบคายหรือคาํ สบถรวมอยดู วยนอกจากทฤษฏีกลวิธีการแสดงการตําหนิของ Trosbrog แลว ยังมีทฤษฏีของ Olshtain และ Weinbach(อางใน Gabriele Kasper and Shoshana Blum-Kulka,1993:110-111) ซึ่งสามารถแบงกลวิธีของการกลา วตาํ หนไิ ว 5 กลวธิ ี มดี งั นี้ 1. Below level of reproach ( การกลา วตาํ หนิในระดับทไี่ มรุนแรง)เปน กลวธิ ีทผ่ี พู ดู ตอ งการหลีกเลีย่ งการช้ีเฉพาะ เจาะจงไปท่ีเหตกุ ารณหรือการเนนไปทตี่ วั ของผูฟ ง ยกตวั อยา ง เชน หากผกู ระทําผดิ ทําบางสง่ิ บางอยา งหกและทําใหผาปูโตะเสียหาย หรอื เอกสารบางอยา งสญู หาย ผูพูด อาจกลา วเพยี งวาวา “แคของหก” หรือ “อยา กงั วล” “ไมไ ดม อี ะไรเสียหายจริงๆซักหนอย” ในหลักเกณฑของการพจิ ารณาผลลัพธท ่ีตามมา ผูพ ูดจะตองแนใ จวา ไมมสี ่งิ ใดที่เปนการฝาฝน กฏของสงั คมและในกลวธิ ีนจ้ี ะทาํ ใหผ ูฟงมคี วามรูสึกวาไมไดถ กู กลาวหาอยา งรนุ แรง 2. Expression of annoyance or disapproval (การแสดงออกถึงสิ่งที่นารําคาญใจหรือไมเ หน็ ดว ย) ในกลวธิ ีน้ีมสี ่ิงทต่ี องตระหนกั ถงึ หลายประการ กลา วคอื เปน กลวธิ ีทมี่ ีความคลุมเครือและเปนการกลาวอยางไมตรงไปตรงมา อีกทั้งเปนการกลาวที่ไมมีการชี้เฉพาะเจาะจงไปที่ตัวผูกระทําผิดแตใ นกลวธิ นี ผี้ พู ูดกไ็ ดแสดงออกสงิ่ ทสี่ รา งความราํ คาญอยา งไมเฉพาะเจาะจงและผูพดู ยังคงพยายามหลีกเลย่ี งการเผชิญหนาอยา งเปดเผยกับผูฟ ง แตผพู ดู กย็ งั มีความชดั เจนวาไดม กี ารลว งละเมดิ บางอยา งเกดิ ข้ึน ยกตัวอยา ง เชน “แคขาดการพิจารณา” หรือ “ นีค้ ือพฤตกิ รรมทยี่ อมรับไมไ ดจรงิ ๆ” จะเหน็ ได

15วาไมไ ดช ้ีชดั ลงไปวาเกดิ อะไรขน้ึ และใครเปน ผรู บั ผดิ ชอบ ซงึ่ ผูฟงกส็ ามารถเลือกท่จี ะแปลความหมายไดวาเปน การตาํ หนแิ ตผ ฟู งกส็ ามารถเพกิ เฉยตอ การถกู ตาํ หนิน้ันไดเ ชน กนั 3. Explicit complaint (การกลาวตําหนิอยางชัดเจน) ในกลวิธีนผี้ พู ูดไดม ีการตัดสนิ ใจทจ่ี ะเปดชองทางในการคุกคามหนาของผูฟง แตก็ไมไดมีการสนับสนุนใหมีบทลงโทษ ยกตัวอยาง เชนในกรณีที่นายแพทยเ ลอื่ นการผา ตัดออกไปโดยไมไดแ จงคนไข อาจถกู ตําหนิ เชน “คุณเปน คนไมมีความเกรงใจเลย” หรือ “คุณไมควรทจ่ี ะเล่อื นการผา ตัดนอี้ อกไปเลย” 4. Accusation and warning (การกลาวหาและการกลาวเตือน) ในกลวธิ ีนเ้ี ปน กลวธิ ีท่ีแสดงออกถงึ การตาํ หนเิ มอื่ ผพู ูดเลอื กท่จี ะเปดชองทางในการคกุ คามหนา ของผูฟง และนอกจากน้ีผพู ดูยังคาดหวังโดยนัยถงึ ความเปน ไปไดท่จี ะใหม บี ทลงโทษเพ่ือเปนการตกั เตือนผกู ระทาํ ผิดถูกแสดงวาเปน การบน ยกตวั อยาง เชน ในประโยคท่ีวา “คราวหนาผมจะใหค ณุ คอยสัก 1 ชัว่ โมง” 5. Immediate threat (การกลาวขมขู) ในกลวิธีน้ีจะกลา วถึง ผูพดู ที่เลือกทีจ่ ะโจมตีผฟู ง อยา งเปดเผย ยกตัวอยางเชน ประโยคที่วา “ คุณจายเงินตอนนี้ดีกวา ” ในกลวิธีนีน้ ีอ้ าจหมายรวมไปถึงคาํสาปแชง,ดูถูก และคําสบประมาทอยางตรงไปตรงมาดวย ดังเชน ประโยคที่วา “ คุณมนั ปญญาออ น”ซ่งึ ผวู จิ ัยเลอื กใชแนวคิดเร่ือกลวิธใี นการแสดงการตําหนิของ Trosbrog และ แนวคดิ ของ Olshtain และWeinbach ดังท่ไี ดกลา วไปแลว มาเปนแนวทางในการวิเคราะหและหากผูวจิ ัยพบกลวธิ ีทไี่ มไดระบไุ วในงานวจิ ัยช้ินนี้ผูว จิ ยั ก็เพม่ิ กลวธิ ีท่ีพบเขาไปในงานวจิ ยั ดวยเนื่องจากผูวจิ ัยเห็นวา กลวิธีการกลา วตําหนิท้งั 2 แนวคดิ นีเ้ ปนงานวิจยั ที่วิเคราะหข อ มลู ของชาวตะวนั ตกซ่ึงมแี นวคดิ และพน้ื ฐานทางวฒั นธรรมแตกตางจากคนไทย 3. ทฤษฎีเรือ่ งหนา ของผพู ูด ผฟู งและความสุภาพ บราวน และเลวนิ สนั ( Brown and Lavinson , 1987 ) ไดน าํ แนวคดิ เรอ่ื งหนา ของกอฟแมนมาอธิบายวา เหตุที่มนุษยใชภาษาสุภาพกับคูสนทนานั้นเปนเพราะคาดหวังที่จะไมใหคูสนทนามาละเมิดหนาของตนเอง ( คําวา “ หนา ” ( face ) ในท่นี ้จี ะหมายถงึ ภาพลักษณ ของตนเองตอ สาธารณะ )ดงั นัน้ ผพู ูดและผูฟ งจึงตา งพยายามทจี่ ะรกั ษาหนา ของตน ไว และไมพ ยายามไปดหู ม่ินหนาของผูอ่นืหนา หรือ ภาพลกั ษณของบุคคลแบง ออกไดเปน 2 ลักษณะ คอื หนาเชิงบวก ( Positive face ) หมายถึง ความตองการที่จะไดรับความยกยองชมเชยหรือการไดรับความสนใจจากผูอืน่ เชน การพูดแสดงความยนิ ดีตอ ผูฟ ง ทําใหผ ฟู งรูสึกดีแตไ ดร ับการยอมรับจากคูสนทนา หนาเชิงลบ ( Negative face ) หมายถงึ ความตอ งการทจี่ ะไมใหผ อู ืน่ มารบกวน บกุ รกุ กาวกา ยหรือการถกู บังคับขเู ขญ็ จากผูอนื่ เชน การพูดทีแ่ สดงการใหเ กยี รติผูฟ งหรอื การกลา วคาํ ขอโทษเม่อื ผพู ดู

16จาํ เปน ตอ งพูดขดั จังหวะคูสนทนา โดยความตองการเรื่อง หนาทั้งสองแบบน้ีจะนําไปสูความตองการที่จะไมใ ห ภาพลกั ษณข องตนถกู ผอู ่นื ลว งเกนิ ( negative face want ) และความตองการที่จะเปนที่ยอมรับของผูฟ ง ( positive face want ) และดวยเหตดุ ังกลา วนีเ้ องทีท่ ําใหม นุษยจ ําเปนตองใชภาษา ทีแ่ สดงถงึสุภาพควบคูไปกับการสนทนาบราวน และเลวนิ สนั ( Brown and Lavinson , 1987 :68 – 71 ) แบงกลวธิ กี ารใชภ าษาสภุ าพเมือ่ผพู ูดตอ งการเลี่ยงการคกุ คามหนา ผพู ดู จะเลอื กใชถอยคาํ ทม่ี ีความเหมาะสมกบั สถานการณทีเ่ กดิ ขึ้นแบงเปน 5 กลวิธี ดังน้ี1. การพดู แบบ ท่ีไมมกี ารตกแตงคําพูด ( Without redressive action , baldly ) คือ การพดู ใหสั้นและกระชับเฉพาะใจความสําคัญ อยางตรงไปตรงมา และผูฟงสามารถเขาใจถึงความตองการของผูพูดไดท นั ที 2. ความสุภาพเชิงบวก ( Positive politeness ) คอื การใชภ าษาเพื่อใหผ ฟู งรสู กึ วาตนเองไดรบัการยอมรบั ยกยอ งจากผอู ่ืนและความรูสึกในการตองการเปนสมาชิกในสังคม เชน การแสดงความเห็นคลอยตามการกลาวคําชมหรือ การใชภาษาถิ่นเพื่อบงบอกความเปนพวกพอง เปน ตน3. ความสุภาพเชิงลบ ( Negative politeness ) คอื การใชภ าษาเพ่ือใหผูฟ ง รสู กึ วา ตนเองไมไ ดถูกบังคบั หรือมีความลําบากใจ และไดร ับความเคารพจากผอู นื่ เชน การกลา วขอโทษ การกลาวเพื่อเสนอทางเลอื กในวจั นกรรมการขอรอ งเพื่อไมใ หผ ฟู ง รสู กึ ลําบากใจในการทจี่ ะตอบรับหรือปฏเิ สธเปนตน4. การใชภาษาออม ( Off record indirectness) คือ การกลาวถอยคําที่มีความหมาย ไมตรงตามรูปภาษา ซงึ่ ผูฟ ง จะตองตีความจากปรบิ ท แวดลอ มโดยผฟู งตองตีความจากสีหนา หรอื นํ้าเสียงของผูพดูประกอบดว ย เชน การพดู เปน นยั ( hint ) เปน ตน 5. การไมแสดงการคุกคามคามหนา ( Don’t do the FTA ) หมายถึง การไมกลาวอะไรออกมาเนือ่ งจากผพู ูดไมตอ งการส่อื สารกับผูฟ ง อาจเพราะกลวั วาผฟู ง จะเสียหนา หากผูพดู กลา วอะไรทไ่ี มด ีออกไป หรืออาจเปน เพราะผพู ดู ไมตองการสื่อสารใดๆ กบั ผูฟ ง

17 4. งานวิจยั ที่เก่ียวของ นชุ นารถ เพง็ สรุ ิยา (2549) ศกึ ษาเรื่อง “การใชภาษาเพื่อแสดงการตําหนิของคนไทย”นุชนารถไดรวบรวมการใชภาษาเพื่อแสดงการตําหนิของคนไทยที่ปรากฏในกลุมตัวอยางนวนิยายไทยจาํ นวน 4 เรื่อง เพ่ือศึกษารปู แบบและกลวธิ ีการใชภ าษาเพอ่ื แสดงการตําหนิของคนไทย แลวนาํสถานการณและถอยคําที่แสดงการตําหนิที่ปรากฏในกลุมตัวอยาง นวนิยายไทยมาเปนแนวทางในการจัดทําแบบสอบถาม จํานวน 60 ชุด เพื่อศกึ ษาถงึ ความสมั พนั ธระหวางกลวิธีการใชภ าษาเพื่อแสดงการตําหนิของคนไทยกับระดับคาความรุนแรงของความผิดซึ่งผลการศึกษารูปแบบการใชภาษาเพื่อแสดงการตําหนิพบวา รูปประโยคที่คนไทยนิยมใชมากที่สุด ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคคําถาม ประโยคคําสั่ง ประโยคปฏิเสธ และประโยคขอรองตามลําดับ นอกจากนี้ ยังพบวาคนไทยนิยมใชวัจนกรรมออมมากกวา วัจนกรรมตรง สําหรับผลการวิเคราะหกลวิธกี ารใชภ าษาเพือ่ แสดงการตําหนิ พบวา กลวิธที ค่ี นไทยนิยมใชมากท่ีสดุ ไดแก การใชภาษาออม การใชความสุภาพเชิงลบ การใชภาษาแบบตรงไปตรงมา และการใชความสุภาพเชิงบวกจากผลการศึกษาความสัมพันธระหวางกลวิธีการใชภาษาเพื่อแสดงการตําหนิกับระดับคาความรุนแรงของความผิดพบวา ระดับคาความรุนแรงของความผิดไมมีผลตอการเลือกใชกลวิธีการใชภาษาเพื่อแสดงการตําหนิของคนไทย นอกจากน้ี Trosbrog (Anna Trosbrogs, 1995) ยังไดศึกษาเรื่องการใชภาษาในการตําหนิของผูที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแมเปรียบเทียบกับผูที่ศึกษาภาษาอังกฤษชาวเดนมารก การวิเคราะหเกบ็ขอมูลจากผูศึกษาภาษาอังกฤษชาวเดนมารกในระดับความสามารถทางภาษาที่หลากหลาย ซึ่งพิจารณาจากความสามารถทางภาษาในการติดตอสื่อสารที่แสดงการตําหนิในการสนทนากับชาวอังกฤษที่เปนเจา ของภาษา โดยการสรางสถานการณส มมุติขน้ึ โดยแบง เปน สถานการณทผ่ี พู ดู ไมร จู ักกบั ผูฟงสถานการณท ่ผี ูพ ดู มีสถานภาพสงู กวาผฟู งและสถานการณทผี่ พู ดู และผูฟ ง มีสถานภาพเทา กนั ซ่งึวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบความสามารถทางภาษาของผูเรียนชาวเดนมารกจากสถานการณเดียวกันกับผพู ดู ภาษาองั กฤษเปนภาษาแมแ ละผูใชภ าษาเดนนิชเปนภาษาแม อกี ทั้ง Trosbrog ยงั เปรียบเทยี บผูศึกษาภาษาอังกฤษกับผูที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแม และการใชภาษาในการตําหนิในชาวอังกฤษเปรียบเทียบกับชาวเดนนิชอีกดวย จากผลการศึกษา พบวา อิทธิพลในการใชภาษาแมมีผลตอความสามารถในการใชภาษาตางประเทศของกลุมตัวอยาง ซึ่ง Trosbrog พบวาจากการศึกษานั้นพบการเลือกใชก ลวธิ ีการแสดงการตาํ หนิ 4 กลวิธใี หญ ๆ ดงั นี้ 1. การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง (No explicit reproach Cat 1or Hints) 2. การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย (Expression of annoyance ordisapproval Cat 2)

18 3. การกลาวหาผูก ระทาํ ผิด (Accusations Cat 3) 4. การกลาวตําหนิผกู ระทําผดิ (Blaming Cat 4) จากผลการวจิ ัยพบวา กลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาชาวเดนมารคเลือกการใชกลวิธีการกลาวหาผูกระทําผดิ (Accusations Cat 3) มากจนเกินไปในทางตรงกันขามกลุมตัวอยางที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแมจะเลือกใชกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย (Expression ofannoyance or disapproval Cat 2) มากกวาการใชกลวธิ กี ารกลา วหาผกู ระทําผดิ (Accusations Cat 3) แตผลของการเปรยี บเทียบระหวา งผูทีใ่ ชภาษาองั กฤษเปนภาษาแมกบั ผูท ี่ใชภาษาเดนนชิ เปน ภาษาแมน ้ันผลกลับมาความคลายคลึงกันกลาวคือ มีการเลือกใชกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเหน็ ดว ย (Expression of annoyance or disapproval Cat 2) เปน ลาํ ดับแรก และการไมกลา วตาํ หนิออกมาอยางชัดแจง (No explicit reproach Cat 1or Hints) เปน ลาํ ดับถัดมา สว นการเลอื กใชก ลวิธีการกลา วหาผกู ระทําผดิ (Accusations Cat 3)และการกลา วตําหนิผูกระทาํ ผดิ (Blaming Cat 4) นน้ั มีความใกลเคียงกัน และยงั พบวาในกลมุ ตัวอยางที่ใชภ าษาองั กฤษเปนภาษาแมเมือ่ ตองกลา วตาํ หนกิ ลมุตัวอยางมักจะเลือกใชกลวิธีที่สามารถลดระดับความรุนแรงลงได เมือ่ ผพู ูดตอ งกลาวตาํ หนิผทู ีม่ ีสถานภาพสูงกวามักจะเลือกใชกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจ(Expression of annoyance)และกลวธิ กี ารกลาวตําหนทิ ีม่ กี ารตกแตง (Modified Blame)มากกวาในการตําหนิคนท่ีไมรูจ กั กนั สว นการตาํ หนผิ ูท่ีมีสถานภาพเทากันผพู ดู มักจะเลือกใชก ลวธิ ีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจ(Expression of annoyance) การกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมา (direct accusation) และกลวธิ กี ารกลาวตาํ หนิที่มีการตกแตง (Modified Blame) ในจาํ นวนท่ใี กลเคียงกัน นอกเหนือจากน้ี Olshtainและ Weinbach (อางใน Anna Trosbrogs,1995) ไดศึกษาการใชวัจนกรรมการตําหนิของชาวฮิบรู ผลการวิเคราะห พบวา เมือ่ ผพู ูดมีสถานภาพตา่ํ กวา คสู นทนา ผพู ดู จะเลือกใชก ลวธิ ีทีม่ คี วามนมุ นวลและสภุ าพ ซึ่งเทยี บไดกบั กลวธิ กี ารไมก ลา วตําหนิออกมาอยา งชัดแจง (No explicit reproach Cat 1or Hints),การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย (Expression of annoyance or disapproval Cat 2)และ การกลา วหาผูก ระทําผดิ (Accusations Cat 3) ทัศนีย เมฆถาวรวัฒนา (2541) ศึกษาเรื่อง “วัจนกรรมการขอโทษในภาษาไทย ” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษากลวิธีการแสดงวัจนกรรมการขอโทษในภาษาไทย และความสัมพันธระหวางกลวิธีดังกลาวกับคาความรุนแรงของความผิด (weightness of offence) เครื่องมือที่ใชคือ แบบสอบถามแบบปลายเปด และใชการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางจากหลากหลายอาชีพ จํานวน 50 คน ทศั นยี ส รางแบบสอบถามจากการกําหนดสถานการณ จํานวน 10 สถานการณ แลว ใหกลุมตวั อยางประเมินน้ําหนักความผิดของแตละสถานการณการกระทําผิด ผลการศึกษา พบวา กลวิธีการแสดงวัจนกรรมการขอโทษในภาษาไทยมี 5 กลวิธี ไดแก การกลาวคําแสดงเจตนาในการขอโทษ การยอมรับผดิ การกลา วแกตัว

19การเสนอชดใช และการพยายามทาํ ใหผฟู ง รูสกึ พอใจ ซ่ึงพบการตําหนติ นเองและการตาํ หนิผอู นื่ เปนกลวธิ ยี อย ผลการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางกลวิธีการขอโทษกับคาวามรุนแรงของความผิดพบวา น้ําหนักความผิดไมมีผลตอการแสดงวัจนกรรมการขอโทษ ซึ่งมีขอสังเกตประการหนึ่งวา ความระยะหางทางสังคม (social distance) ของคูสนทนาและสถานภาพทางสังคม (power) ของผฟู ง เม่ือเทียบกับผูพูดมีผลตอการแสดงวัจนกรรมการขอโทษมากกวาระดับคาความรุนแรงของความผิด (ranking ofimposition) ของสถานการณอาจเนื่องมาจากแบบสอบถามกําหนดใหกลุมตัวอยางประเมินคา น้ําหนักความผิดของสถานการณสมมุติตามความรูสึกของกลุมตัวอยาง จึงเปนไปไดวา คาน้ําหนักความผิดอาจไมใชคาน้ําหนักความผิดตามความเปนจริง เนื่องจากในสถานการณหนึ่ง กลุมตัวอยางอาจประเมินคาน้าํ หนักของความผิดไมเทา กัน หรอื อาจเปนเพราะปจจัยอ่นื ๆ ดวย เชน ความรสู กึ จาํ เปน ทต่ี องกลา วคาํขอโทษ ความรูสกึ เสยี หนา ของผูพดู เม่อื กระทาํ ผิด และโอกาสทจี่ ะไดรบั การอภยั จากผฟู ง นอกจากน้ีทศั นียยงั พบวา เม่ือผพู ดู กระทาํ ผิดในสถานการณใ ดสถานการณห น่ึง ท่ีมนี าํ้ หนกั ความผิดมากผูพูดไมจําเปน ตองใชก ลวธิ รี วมกนั ภายใน 1 ถอยคํา แตจะพยายามใชกลวิธีที่คิดวาจะแสดงออกถึงความสุภาพมากท่ีสุด จรี รตั น เพรชรตั นโมรา (2544) ศึกษาเร่อื ง “การศึกษาการขอโทษของผูพูดที่มีสถานภาพทางสังคมตางกันในภาษาไทย ” โดยมวี ตั ถปุ ระสงค 2 ประการคือ เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการขอโทษกับสถานภาพทางสังคมที่แตกตางกันตามน้ําหนักความผิด โดยเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามปลายเปดซึ่งเปนสถานการณสมมุติ 9 สถานการณ ไดแก การเขาหอ งประชุมโดยไมป ด โทรศพั ทม ือถอืมาสาย ไมสามารถทําตามสัญญาที่ใหไวได การเดินชน การทําของที่ยืมมาจากอีกฝายเสียหาย การกรอกคะแนนผิดทาํ ใหอีกฝายเดอื ดรอ น การเปดเผยความลบั การทาํ รา ยรางกาย และการตําหนิอกี ฝายใหไดรับความอับอาย นอกจากนี้ยังมีสวนใหประเมินน้ําหนกั ความผิด โดยศกึ ษาจากกลมุ ตวั อยา งทีเ่ ปน คูความสัมพันธท ี่มีสถานภาพสูงกวาและตาํ่ กวา 3 คู ไดแ ก หวั หนาและลกู นอ ง ครูและนักเรียน ภกิ ษแุ ละฆราวาส ซึ่งเปนคูที่มีความแตกตางทางสถานภาพไมเทากัน นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเปรียบเทียบการไมขอโทษของผูที่มีสถานภาพไมเทากัน นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเปรียบเทียบการไมขอโทษของผูที่มีสถานภาพสูงกวาและต่ํากวาอีกดวย โดยพบวา ในเรื่องของความสัมพันธระหวางการขอโทษกับสถานภาพทางสังคมของผูพูด พบวา สถานภาพของผูพูดเปนตัวแปรสําคัญในการขอโทษ โดยผูที่มีสถานภาพสงู กวา จะขอโทษนอ ยกวา ผทู ่มี สี ถานภาพตํา่ กวา กลา วคอื ย่งิ สถานภาพต่ํากวามากยิ่งขอโทษมากขึน้ และพบวา ผูทม่ี สี ถานภาพสงู กวานยิ มใชกลวธิ ที ี่พยายามลดนา้ํ หนักความผิดเพือ่ ใหตัวเองเสยีหนานอยลง ไดแก การกลาวชี้แจงและการเสนอชดใช ในขณะทีผ่ ูท มี่ ีสถานภาพต่ํากวา นยิ มใชก ลวิธีท่ี

20ลดสถานภาพของตนลงเพื่อแสดงวาตนใหความสําคัญตอผูฟงมาก โดยใชกลวิธีการยอมรับผิดและการทําใหผูฟง รสู ึกดีขึ้นมากกวาผทู ม่ี สี ถานภาพสูงกวา ในสวนของความสัมพันธระหวางการขอโทษของผูที่มีสถานภาพทางสังคมแตกตางกันตามคาน้ําหนักความผิด พบวา นํ้าหนกั ความผดิ เปนปจจัยท่ีมีผลตอ การขอโทษของผูท ม่ี สี ถานภาพแตกตา งกันกลา วคอื ในสถานการณทม่ี ีนํา้ หนักความผิดมาก สวนใหญท ้งั ผูที่มีสาถานภาพสงู กวาและต่ํากวา จะเลอื กใชก ลวธิ ีที่สุภาพตอผูฟงมากข้นึ อยางไรก็ตามพบวา ไมวา จะเปนสถานการณที่มคี วามผิด นอย-มาก หรอื ปานกลาง ผพู ูดทม่ี ีสถานภาพสงู กวา ยังคงเลอื กใชกลวธิ ีทพี่ ยายามใหต นเองเสยี หนานอยลงมากกวา ผพู ดู ท่ีมสี ถานภาพตํ่ากวา ในขณะท่ีผพู ูดทีม่ สี ถานภาพตาํ่ กวาจะใชก ลวิธีทแี่ สดงวาตนใหความสาํ คัญตอ ผูฟงมากกวา ผทู ม่ี ีสถานภาพสูงกวา ซง่ึ ผลการวจิ ยั แสดงใหเ ห็นวา สถานภาพเปนปจจยั ท่ีมีผลตอการขอโทษของคนในสังคมไทยมากกวาคาน้ําหนักความผิด นอกจากงานที่เกยี่ วของกับวัจนกรรมแลวผูวิจัยยังพบวา งานวิจัยทางดานภาษาศาตรสังคมของ Willaim Labov(1966) ศึกษาเรื่องการแบงชนชั้นทางสังคม(Class stratification of (r) in New York) ตามวัจนลีลา 5 วัจนลีลา โดยศึกษาจากกลุมตัวอยางจากหางสรรพสินคา 3 แหง ใน New York โดย Labov ศกึ ษาจากตวั แปรคือ เพศ อาชีพ อายุ เชอื้ชาติ พบวา ในเพศหญิงมีการออกเสียง ( r ) ไดด ีกวา เพศชาย เนือ่ งจากเสยี ง( r ) เปนเสยี งทแี่ สดงออกถึงความสุภาพและมีศักดิ์ศรีฉะนั้น เพศหญิงจึงพยายามออกเสียงใหชัดเจนมากกวาเพศชาย อีกทั้งจากแนวคดิ ของ Lakoff (อางใน Janet Holmes,1997) กลาววา เพศหญงิ จะมลี กั ษณะการใชภาษาทมี่ ักจะคํานึงถึงความสุภาพดังนี้ 1. มักมีการใชประโยคที่แสดงถึงความไมแนใจ เชน you know,well 2. มีการใช Tags question เชน she’s very nice, isn’t she? ซ่งึ แสดงถงึ การใหผ ูอ ื่นแสดงความเห็น 3. มกี ารข้ึนเสยี งสงู ในคาํ ทีแ่ สดงการยนื ยนั เชน It’s really good.4. มีการใชคําแบบ empty adjective เชน diving,charming 5. มีการพูดถงึ สไี ดลึกซงึ้ กวาเพศชาย เชน magenta,aquamarine 6. ในการพดู มกั มกี ารเนนJust หรอื so เชน I like him so much. 7. มีการใชไวยากรณมากเกินไป 8. มีรูปแบบการใชประโยคที่สุภาพมากเกินไป เชน การใชการขอรองแบบออม การเคลือบคํา 9. มักหลีกเลี่ยงการใชคําสบถ 10. มักมีการเนน ในประโยค เชน It was a BRILLIANT performanceและจากการศึกษาของโฮลม (อางในทัศนีย เมฆถาวรวฒั นา, 2541) ไดศึกษาความสัมพันธระหวาง ปจจัยเรื่องเพศกับการแสดงวัจนกรรมการขอโทษ ในการเปรียบเทียบการแสดงวัจนกรรมการขอโทษของเพศชายและเพศหญิง ชาวนิวซีแลนดพบวา ผูหญิงชาวนิวซีแลนดแสดงวัจนกรรมการขอโทษมากกวาและบอยกวาเพศชาย นอกจากนี้ผลการศกึ ษาของ สุภาสนิ ี โพธิวิทย (2547) พบวา ปจ จยั ดา นเพศและอายุของผูใชภ าษามีผลตอ การเลอื กใชกลวิธีการแสดงความเห็นโตแยงในภาษาไทย ดังน้ัน จากงานวจิ ยั ท่ผี ูวิจัยไดศกึ ษาคน ความาพบสง่ิ ทีน่ าสนใจคือ ผพู ดู มักจะเลอื กใชกลวธิ ีในการแสดงวัจนกรรมจากกลวิธีท่ีมีความสุภาพและทําใหผูฟ งรูส กึ เสยี หนาใหน อยทีส่ ดุ และอํานาจหรือสถานภาพทางสังคมนั้นมีผลตอการเลอื กกลวิธใี นการแสดงวัจนกรรม ไมวา จะเปน กลวิธกี ารแสดง

21วจั นกรรมการตาํ หนหิ รอื กลวธิ ีการขอโทษ ผวู จิ ัยจึงนาํ แนวคดิ ในเร่ืองการนาํ ปจ จัยเร่ืองสถานภาพทางสังคม รวมถึงความสนิทสนมคุนเคยระหวางคูสนทนา และการเปรียบการเลือกใชกลวิธีการกลาวตําหนิระหวางเพศหญิงและเพศชายมาใชในการศึกษาการเลือกใชกลวิธีการ แสดงวจั นกรรมการตาํ หนขิ องกลุมตัวอยางนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

22 บทท่ี 3 วธิ ีการวิจยั ในการดาํ เนนิ การวจิ ยั เรอ่ื งการศึกษาการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนขิ องกลุม ตวั อยางนิสติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผวู จิ ัยไดดาํ เนนิ การตามขน้ั ตอนตาง ๆ ตามลาํ ดับดังน้ี 3.1.การเก็บขอมูล3.2 การจัดระเบียบขอมูล 3.3 การวิเคราะหขอมูล3.1 วิธีการเก็บขอมลู3.1.1 การเลือกกลุม ตวั อยา ง ในการการเก็บขอมูลการศึกษาเรื่องวัจนกรรมการตําหนิของในการศึกษาเรื่องวัจนกรรมการตาํ หนขิ องกลุมตัวอยางนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผวู ิจยั เลอื กเก็บขอมลู จากกลมุ ตัวอยา งประชากรจาํ นวน 40 ชดุ และใชการเก็บขอมูลโดยการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (purposive sampling)โดยผวู ิจัยกําหนดคณุ สมบัติของผตู อบแบบสอบถามวาตอ งเปน ผูที่มกี ารศกึ ษาระดบั ปริญญาตรขี นึ้ ไป และมีอายุระหวาง 20-25 ป โดยพิจารณาวา ผูทมี่ ีการศกึ ษาและชว งอายุทก่ี ลา วแลว ขา งตน วาเปนผูทีม่ วี ุฒิภาวะและสามารถกลน่ั กรองส่งิ ทีต่ นจะพูดออกไปกอนท่จี ะสือ่ ไปยงั ผูฟงได โดยเก็บขอ มูลจากนสิ ติ นกั ศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แบงเปนเพศหญิง 20 คน และเพศชาย 20 คน ทง้ั น้เี พอื่ ตอ งการเปรยี บเทียบการเลอื กใชกลวธิ กี ารเลอื กใชว จั นกรรมการตําหนิของท้งั 2 กลมุ ดว ย 3.1.2 การจดั ทาํ เครื่องมือในการวจิ ยั ในการศึกษาเรอ่ื งวัจนกรรมการตําหนิของนสิ ิตมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ผวู ิจัยเลอื กเกบ็ขอมูลจากการใชแบบสอบถามที่สรางขึ้นจากสถานการณสมมุติที่จัดทําขึ้นจะเปนสถานการณสมมุติโดยจะมคี ําบรรยายสถานการณท่เี กิดขึ้นระหวา งผูตําหนิและผูถกู ตาํ หนใิ หก ลมุ ตวั อยา งอาน แลว จงึ ใหกลุมตัวอยางเขียนตอบแบบสอบถามจากสถานการณที่กําหนดโดยผูวิจัยดัดแปลงมาจากการทําแบบสอบถามที่เรียกวา Discourse Completion Test (DCT) ซึ่งผทู พ่ี ัฒนาขน้ึ เปน คร้งั แรกคอื Blum-Kulka (1982) ซ่งึ Blum- Kulka จัดทําขึ้นเพื่อใหผูตอบแบบสอบถามแสดงบทบาทสมมุติเปนผูกระทําความผดิ และมหี นา ท่ีกลาวคําขอโทษในสถานการณตาง ๆ กันทีเ่ กดิ ขึ้นในขณะนน้ั ซึ่งในแตล ะสถานการณจะประกอบดวยคําบรรยายสั้น ๆ โดยแตละสถานการณจะคํานึงถึงระยะหางทางสังคมและสถานภาพทางสังคมระหวางคูสนทนาโดยใหกลุมตัวอยางเติมเต็มขอความในบทสนทนาใหสมบูรณ

23ทั้งนผ้ี วู จิ ยั ไมไดจ ดั ทําบทสนทนาขึ้นมาเพ่อื ใหก ลุม ตวั อยา งเติมขอความในบทสนทนา แตผ ูว ิจยั ไดเขยี นบรรยายสถานการณสมมุตขิ น้ึ แลว ใหก ลมุ ตัวอยางเขียนตอบในแบบสอบถามวาหากเกดิ สถานการณสมมุติดงั กลาวขน้ึ กบั ตนกลมุ ตวั อยา งจะกลาวตําหนผิ ูกระทาํ ผิดอยา งไรในลักษณะของคําถามปลายเปดเหตทุ ผี่ ูว จิ ยั ไมส รา งแบบสอบถามข้ึนในรปู แบบของบทสนทนาน้ัน ผวู จิ ัยเหน็ วา ในการแสดงวจั นกรรมการตําหนใิ นบางสถานการณ ทงั้ ผกู ระทาํ ผดิ และผตู ําหนอิ าจไมต องมกี ารพูดคยุ กันมากอ นกไ็ ด เชน ในสถานการณท่ผี ูตาํ หนิเดินชนกบั ผูถ กู ตําหนิ หรอื ในสถานการณทผี่ ูต ําหนติ องการตําหนกิ ารกระทาํบางอยางของผูถกู ตาํ หนใิ นกรณีทค่ี ุยเสียงดงั เปน ตนขอ ดีของการทผี่ วู จิ ยั เลอื กการเก็บขอ มลู จากการสรา งแบบสอบถามนผ้ี วู จิ ัยเหน็ วา การเก็บขอมูลดวยวิธีเชนนี้สามารถควบคุมปจจัยที่ผูวิจัยตองการศึกษาได ทั้งเรื่องของสถานภาพทางสังคมความสนิทสนมคุนเคยระหวางผูพูดผูฟง อีกทั้งการเก็บขอมูลโดยการใชแบบสอบถามนี้สามารถชวยประหยัดเวลาในการเก็บขอมูลไดเปนอยางดี แตถึงอยางไรก็ตามการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามอาจไดขอมูลที่ไมตรงกับความเปนจริงที่เกิดขึ้นหรือเรียกไดวามีความเปนธรรมชาตินอยกวาการเก็บขอมูลโดยวิธีการสงั เกตจากสถานการณจ รงิ แตถ งึ อยา งไรในการเก็บขอมูลโดยการใชแบบสอบถามก็เปนวธิ กี ารทไี่ ดรับความนิยมกันอยางแพรหลาย เนื่องจากเปนการประหยัดเวลา และมีความใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด ผวู ิจยั เลือกเก็บขอมลู โดยใชแบบสอบถามที่สรา งข้ึนซึง่ ผูวิจัยแบง เปน 2 สวน คอืสวนท่ี 1 เปน การถามขอมลู สว นตวั ของกลุมตัวอยา ง เชน เพศ อายุ การศึกษาสวนที่ 2 เปนสว นท่ีใหกลุม ตวั อยา งตอบคําถามจากสถานการณส มมุติทสี่ รา งข้ึน 12สถานการณโดยสถานการณท ่ีผูวจิ ยั สรา งขึน้ นัน้ เปน สถานการณที่สามารถเกดิ ข้นึ ไดบ อ ยคร้ังในสังคมไทยเชน การเดินชน การทําของผูอนื่ เสยี หาย และการสงเสียงดงั รบกวนผูอ่นื เปน ตน ซึ่งผูวจิ ัยไดกาํ หนดความสัมพันธของคูสนทนาแบงออกเปน 2 ลักษณะ คอื 1. ผูพ ูดกบั ผูฟ ง สนิทสนมกัน 2. ผูพ ดู กับผูฟง ไมสนทิ สนมกนัอกี ทงั้ ยงั นําความสัมพันธของคูสนทนามาพิจารณารวมกับสถานภาพหรืออํานาจระหวางผูพูดและผูฟงโดยแบง ออกเปน 3 ลักษณะ คือ 1. ผูพดู มีอายุหรือสถานภาพเทากนั กับผูฟง ในสถานการณท่ี 1-4 2. ผฟู งมีอายุหรอื สถานภาพตาํ่ กวาผูฟ ง ในสถานการณท ่ี 5-8 3. ผูพดู มีอายุหรอื สถานภาพสูงกวาผฟู ง ในสถานการณท ่ี 9-12ซ่ึงสถานการณท ั้งหมดมี 12 สถานการณดังน้ี

24 สถานการณท ี่ 1 ผถู ูกตาํ หนิยืมของไปแลว ไมนาํ มาคืน ( ผพู ูดกลา วตําหนเิ พ่ือนสนทิ ของตนทไี่ มน าํ ปากกามาคืนตน) สถานการณท ่ี 2 ผถู กู ตําหนสิ ูบบหุ รี่ในที่สาธารณะ (ผูพูดกลาวตาํ หนิเพอื่ นสนิทที่สบู บุหรี่ในท่สี าธารณะ) สถานการณท่ี 3 ผถู ูกตําหนิยืมของไปแลวไมน ํามาคืน(ผูพดู กลา วตําหนเิ พ่อื นรว มช้ันเรยี นท่ีไมนาํ ทีเ่ ยบ็ กระดาษมาคนื ตน) สถานการณท ี่ 4 ผูถกู ตําหนิสงเสียงดังรบกวนผอู น่ื ในหองสมดุ (ผพู ูดกลา วตาํ หนเิ พื่อนนักศกึ ษาท่สี งเสียงดงั ในหอ งสมุด) สถานการณท่ี 5 ผูถูกตาํ หนทิ าํ ดินสอที่ยืนไปหาย (ผพู ูดกลาวตาํ หนิเพื่อนรุนพี่ทที่ ําดนิ สอของตนหาย) สถานการณท ี่ 6 ผถู กู ตาํ หนินาํ รถไปชนเสยี หาย (ผูพดู กลาวตําหนพิ สี่ าวของตนที่นาํ รถของตนไปชนเสียหาย) สถานการณที่ 7 ผถู กู ตําหนเิ ดินชนผอู ืน่ เซไป (ผพู ดู กลา วตําหนริ ุนพี่ท่ีเดินชนตนจนเซไป)

25 สถานการณท ี่ 8 ผูถ ูกตําหนซิ ึง่ เปนลูกคาผิดนัดการประชมุ (ผูพดู กลา วตาํ หนิลกู คา ทีผ่ ดิ นดั การประชุม) สถานการณที่ 9 ผูถ ูกตําหนิมกั นอนตน่ื สายเปนประจาํ (ผูพ ูดกลาวตําหนลิ กู ของตนท่ีมกั นอนต่นื สายเปนประจํา) สถานการณท ่ี 10 ผถู ูกตาํ หนทิ าํ นาฬกิ าพังเสียหาย (ผพู ูดกลาวตําหนินอ งสาวของตนท่ีทาํ หนาปดนาฬกิ าแตก) สถานการณท่ี 11 ผูถูกตําหนทิ ําน้าํ หกเลอะเส้ือผูอ่นื (ผพู ดู กลาวตาํ หนลิ กู นอ งของตนทท่ี าํ นํา้ หกใสเส้อื ตน) สถานการณที่ 12 ผูถกู ตาํ หนิผดิ นดั กบั ลกู คา (ผูพูดกลา วตาํ หนเิ ลขาของตนทผ่ี ดิ นดั ลูกคา)ตัวอยางของสถานการณที่ใชในการเก็บขอมูล สถานการณที่ 1 มารคและมิคเปนเพื่อนสนิทกัน แตมิคไดยืมปากกาของมารคไปแตยังไมไดนํามาคืนมารคพอดีมารคพบกับมิคในหอง Lecture มารคจึงนึกไดวามิคยังไมไดนําปากกามาคืนตน ถาคุณเปนมารคคุณจะพูดตาํ หนมิ ิค อยางไร?

26คณุ จะพูดตาํ หนิมิควา“__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________” สถานการณท ี่ 2 จอยและเพือ่ นๆ ในกลุมเดยี วกนั กาํ ลังนงั่ คยุ กนั อยูที่โตะมา หนิ ในมหาวิทยาลยั ในขณะเดยี วกนับอยซง่ึ เปน เพอ่ื นในกลุมก็หยิบบหุ รี่ขนึ่ มาสบู ทาํ ใหจ อยและเพ่อื น ๆ ไมพอใจ ถา คณุ เปนจอยคณุ จะพูดตําหนิบอยอยางไร?คณุ จะพดู ตําหนิบอยวา“__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________”3.1.3 การเก็บขอมูล หลงั จากทผี่ ูว ิจยั สรา งแบบสอบถามเพ่อื เก็บขอ มูลเรยี บรอ ยแลว และผวู ิจัยนาํ แบบสอบถามที่ผานกระบวนการทดลองใชแลวไปเก็บขอมูล เพอื่ วิเคราะหก ลวิธีการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิและศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิงจํานวน 40คนแบงเปนเพศหญิง 20 คนและเพศชาย 20 คนโดยกลมุ ตวั อยางคอื นกั ศึกษามหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรท ่ีมีอายุตงั้ แต 20-25 ประดบั ปรญิ ญาตรีขนึ้ ไป ซ่ึงผูวจิ ยั ใชการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง ( purposive sampling) ในการขอความรวมมือจากกลุมตัวอยาง3.2 วธิ กี ารจัดระเบียบขอมูลหลังจากท่ผี ูวจิ ัยไดข อมลู ตามท่ีตองการแลว ในขั้นตอนถัดมาผูวจิ ัยจึงนําขอมลู ทัง้ หมดมาจัดระเบยี บขอ มลู ดงั ตอ ไปนี้นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหดูวาการตอบแบบสอบถามของกลุมตัวอยางนั้นเปนวัจนกรรมการตําหนิหรอื ไม และผวู จิ ัยจงึ ทาํ การพิจารณาวาขอ ความใดบา งทีเ่ ปน วจั นกรรมทแี่ สดงถงึ การตาํ หนิ เชนการกลาวคําขอโทษเชน “ขอโทษคะ” “ขอโทษครับ” คําอทุ านที่แสดงถึงความประหลาดใจ เชน “ตา ย”“อยุ ” และคาํ พดู ทแ่ี สดงถึงการปลอบใจผูฟงอยางชดั เจน เชน “ไมเ ปน ไรหรอกเดย๋ี วเราซอ้ื ใหมเ อง” คําวา “ไมเ ปนไร” ผูวิจัยจะไมนํามาพจิ ารณาดวย เหตุเพราะทง้ั นผี้ วู จิ ัยเก็บขอ มลู จากการตอบแบบสอบถาม

27จากกลุมตัวอยาง ซึ่งตามรูปภาษาและจากการสอบถามจากเจาของภาษาแลวคําเหลานี้ไมถือเปนการตําหนิผูฟงทั้งนี้เนื่องจากวาไมสามารถระบุไดชัดเจนจากการเก็บขอมูลจากแบบสอบถาม และเพื่อเปนการปอ งกนั การสับสนในการวเิ คราะหข อมูลผวู จิ ัยจงึ ตัดขอความเหลาน้ีออกไปไมนาํ มาวเิ คราะหร ว มดว ย ท้ังน้ีหากผูวจิ ัยเกบ็ ขอ มลู จากสถานการณจ ริงโดยมีการเก็บขอมลู จากน้าํ เสยี งและสีหนาทาทาง เขามาพิจารณารวมดวยถอยคําที่กลาวถึงขางตน อาจสามารถจัดเปนวัจนกรรมในการแสดงการตําหนิดวยก็ได ซง่ึ จากจาํ นวนวจั นกรรมทั้งหมดท่ผี ูว จิ ัยคัดเลือกจากกลมุ ตัวอยาง 40 คนไดท ง้ั หมด 447 ขอความโดยผูวจิ ยั ไดตดั ขอความที่ผวู จิ ัยถอื วา ไมไ ดเปนวจั นกรรมทแี่ สดงการตําหนิออกไป ยกตัวอยา งเชน ในสถานการณท ี่ 7 ทผ่ี ูกระทําผดิ เดนิ ชนผกู ลาวตาํ หนิจนเซไปแตผกู ลาวตําหนไิ มไดกลา วตาํ หนิ หรือกลาวคาํ พดู ทแี่ สดงถึงความไมพอใจแตอ ยางใดแตผ กู ลาวตําหนิกลับพูดคําขอโทษกบัผูกระทําผดิ ดังตวั อยางตอ ไปนี้ สถานการณที่ 7 บอมนักศกึ ษาช้นั ปท ่ี 2 กําลังรบี เดนิ เพ่อื เขา หองเรยี น จู ๆ สม ทกี่ ําลังเดินคุยมากับเพื่อนเพลินเลยมองไมเห็นบอมไมทันระวังชนบอมเซไป บอมจําไดวาสมเปนนักศึกษารุนพี่แตก็ไมไดมีความคุนเคยกันเทา ใดนกั ถาคณุ เปน บอมคณุ จะพูดตาํ หนิสม วา อยางไร?บอมกลาววา “ขอโทษครบั ” การกลาวเชนน้ีผวู จิ ัยจดั วาไมไ ดเ ปน คาํ ท่ีแสดงการตาํ หนิดงั ท่ผี ูว จิ ยั ไดกลา วมาแลว ในวธิ กี ารจัดระเบยี บขอมูลวา เนือ่ งจากผวู ิจัยไมไดร วมคาํ วา “ขอโทษ” จดั เปน วจั นกรรมการตําหนิเพราะจากการเก็บขอมูลจากแบบสอบถามนั้นไดรับขอมูลไมเพียงพอในการจะสรุปวาเปนวัจนกรรมการตําหนเิ น่อื งจากผูวจิ ัยมคี วามเห็นหากเปนการเกบ็ ขอมูลจากสถานการณจริงที่ประกอบดวย น้ําเสียง กริยาทาทางและสีหนาประกอบกันก็จะสามารถระบุไดอยางชัดเจนวาเปนวัจนกรรมการตําหนหิ รือไมและเพอ่ื เปน การปองกนั ความสบั สนผูวจิ ยั จึงไมน ําขอความดังท่ไี ดกลา วไปแลว มาวเิ คราะหร ว มดว ย

283.3 วิธกี ารวิเคราะหขอมลู 1. เกณฑในการวิเคราะหขอ มลู ผวู ิจยั พบวาในแตล ะขอความที่กลมุ ตวั อยา งไดต อบแบบสอบถามมานั้นยังสามารถจําแนกไดเปน หนวยขอความ โดยใชเกณฑทางเสียง(ทัศนยี  เมฆถาวรวฒั นา, 2541) คือการหยุดเวน ระยะเปนตัวตัดสิน ในการทจ่ี ะวเิ คราะหว า ภายในขอ ความนัน้ ๆ มกี ลวิวธิ กี ารตําหนิใดบา งที่อยูในขอความนัน้ และหนว ยขอ ความแตล ะหนว ยขอ ความนั้นจัดอยูในกลวิธใี ด นอกจากนี้ผวู ิจัยไดใ ชความสามารถทางภาษาในการวิเคราะหข อ มูลในฐานะทีเ่ ปนเจาของภาษามาใชในการวิเคราะหขอมูลวาวัจนกรรมการกลาวตําหนิในขอความนั้นจัดเปนกลวิธีการกลา วตาํ หนใิ นกลวธิ ใี ด โดยผูวจิ ัยใชเกณฑใ นการวเิ คราะหตามแนวคดิ เกย่ี วกบั กลวธิ กี ารแสดงวัจนกรรมการตําหนิ ของ Anna Trosbrog (Anna Trosbrog,1995)ซึ่งไดแบงตามลําดับของการพูดตรง(directness level) กลาวคือจากลําดับของการพูดในแบบไมตรงไปตรงมามากที่สุดไปจนถึงการพูดแบบตรงไปตรงมาซึ่งเปนกลวิธีการตําหนิที่มีความรุนแรงมากที่สุด 2. ในการจะพิจารณาวา ขอ ความใดเปนวจั นกรรมการตําหนิหรอื ไมน ั้นผวู จิ ัยไดข อความรวมมือจากนิสิตปริญญาโท ภาควิชาภาษาศาสตรประยุกต 2 ทานและรวมตัวผเู วจิ ยั เองดว ยเปน 3 ทา นในการพจิ ารณาวา แตล ะขอความทีพ่ บนัน้ จดั อยูในกลวธิ ใี ดบางซง่ึ ขอ ความนน้ั ๆ ตอ งไดรับการพจิ ารณาเหน็ ดว ย 2 ใน 3 ความคิดเห็นในฐานะท่ีเปนเจา ของภาษาจงึ จะเปนเอกฉันท ซง่ึ ผวู ิจัยจะเรยี กวาการแบงตามระดับความรุนแรงของกลวิธีการในแสดงวัจนกรรมการตําหนิจากกลวิธีที่มีความรุนแรงนอยที่สุดไปถึงกลวิธีที่มีความรุนแรงมากที่สุด ซึ่งมีอยู 4 กลวธิ ใี หญแ ละ 8 กลวธิ ียอ ย คอื1. การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง (No explicit reproach Cat 1)2. การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย (Expression of annoyance or disapprovalCat 2) 2.1 การแสดงความรําคาญใจ (Annoyance) 2.2 การกลาวถึงผลลัพธที่จะตามมาจากการกระทําผิด (Ill consequences) 3. การกลาวหาผูกระทาํ ผิด (Accusations Cat 3) 3.1 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา (Indirect accusation) 3.2 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมา (Direct accusation)4. การกลาวตาํ หนิผกู ระทาํ ผดิ (Blaming Cat 4) 4.1 การกลาวตําหนิผกู ระทาํ ความผดิ ที่มีการตกแตงโดยการใชถอยคําเพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ (Modified Blame)

29 4.2 การกลาวตําหนิผูกระทําความผิดโดยการกลาวตอวาการกระทําของผูกระทําผิด (explicitcondemnation of the accused’s action) 4.3 การกลาวตาํ หนผิ กู ระทาํ ความผิดโดยการกลาวตอ วา ท่ีตวั บุคคลของผูกระทาํ ผดิ (Explicitcondemnation of the accused as a person) 3. เมื่อผวู จิ ยั ไดวิเคราะหขอ ความวา ในแตละหนว ยขอความนั้นจัดอยูในกลวธิ กี ารกลา วตาํ หนิกลวธิ ใี ดบา งแลว ในข้นั ตอนตอไปผูวจิ ัยจะนบั อัตราการพบกลวธิ ีในการกลา วตําหนิ โดยมกี ารบันทกึขอมลู ทุกครงั้ ท่ีพบในกลวิธีแตล ะกลวิธี แมว า ใน 1 ขอความจะพบกลวิธีการกลาวตําหนิมากกวา 1กลวธิ กี ็ตาม ยกตัวอยางเชน ขอ ความที่ 130 “เออ พวกคุณชว ยเงียบเสียงลงหนอ ยนมี่ ันหอ งสมุดนะคะไวอ า นหนังสอื นะ ถา จะคุยเสยี งดงัควรจะไปคุยขางนอกดีกวา รบกวนพวกเราอานหนังสืออะ”จากขอความที่ 30 ปรากฏกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ 3 กลวธิ ี ดงั น้ีหนวยขอ ความที1่ พวกคณุ ชว ยเงยี บเสียงลงหนอ ยนี่มนั หองสมุดนะคะไวอ านหนงั สอื นะ จดั เปน กลวิธีการกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา (Indirect accusation) หนวยขอความนี้จัดเปนกลวิธีการกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา เนื่องจากปรากฏคําวา “ชวยเงียบเสียงลงหนอย”ซึ่งเปนประโยคที่พูดในเชิงขอรองแทนที่จะพูดโดยใชประโยคคําสั่งอยางตรงไปตรงมาหนวยขอความที่ 2 ถาจะคุยเสียงดังควรจะไปคุยขางนอกดีกวา จดั เปนการกลาวตาํ หนผิ ูกระทําความผิดโดยการตกแตงถอยคําเพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ (Modified Blame)หนว ยขอความนี้จัดเปนกลวธิ ีการกลาวตําหนิผกู ระทาํ ความผิดโดยการตกแตง ถอ ยคําเพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ โดยใชประโยคที่แสดงถึงการเสนอทางเลือกใหแกผูฟงหนว ยขอ ความที่ 3 รบกวนพวกเราอา นหนงั สอื อะ จดั เปนกลวธิ กี ารกลาวหาผกู ระทาํ ผิดอยางตรงไปตรงมา (Direct accusation)หนว ยขอความนจ้ี ดั เปน กลวิธีการกลา วหาผกู ระทําผดิ อยา งตรงไปตรงมา ซึ่งสังเกตไดจากการใชประโยคบอกเลาในการกลาวหาผูก ระทาํ ผิดดว ยถอยคําทตี่ รงไปตรงมาและไมออ มคอม วาผูฟง นัน้รบกวนผพู ูดท่ีกําลังอานหนงั สืออยู

30ขอความท่ี 458 “ทําไมคุณไมรักษาเวลาเลย คุณทําแบบนี้บริษัทเราเสียหายนะครับ คราวหนา อยา ใหอ ยาใหเกดิเรอื่ งแบบนขี้ ึ้นอกี นะครับ”จากขอความที่ 30 ปรากฏกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ 3 กลวิธี ดังน้ีหนว ยขอความท1ี่ ทําไมคุณไมรักษาเวลาเลย จัดเปนกลวธิ ีการกลา วหาผูกระทําผดิ อยา งไมตรงไปตรงมา (Indirect accusation) หนว ยขอความน้ีจดั เปนกลวธิ ีการกลา วตาํ หนผิ กู ระทําผดิ อยา งไมต รงไปตรงมา โดยท่ีผพู ูดใชประโยคคําถามในการกลาวตําหนิผูกระทําผิดแทนที่จะใชถอยคําที่แสดงการตําหนิอยางตรงไปตรงมาเชน “คณุ นี่ไมรจู กั รกั ษาเวลาเลย”หนว ยขอ ความที่ 2 คุณทําแบบนี้บริษัทเราเสียหายนะครับ จัดเปน กลวิธีการกลาวหาผูกระทาํ ผิดอยางตรงไปตรงมา (Direct accusation) หนว ยขอ ความนจ้ี ดั เปน จัดเปนกลวิธีการกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมา เน่ืองจากผูพดูใชถ อ ยคําท่ีแสดงถึงการกลา วหาผูฟ ง ดวยถอ ยคาํ ท่ตี รงไปตรงมาทําใหผูฟ งเขา ใจไดทันทีหนวยขอ ความที่ 3 คราวหนาอยาใหอยา ใหเกิดเรอ่ื งแบบนี้ข้ึนอกี นะครบั จดั เปน กลวิธกี ารกลาวเตือน(Warning) หนว ยขอ ความน้ีจดั เปนกลวธิ ีการกลา วเตอื น เนอ่ื งจากผพู ดู ใชถอ ยคาํ ทแี่ สดงถงึ การตักเตือน วาอยา ใหเกิดเหตุการณในรูปแบบเดิมอีก ซ่ึงจะทาํ ใหผ ูฟง เขา ใจไดวา หากเกิดเหตุการณในรูปแบบเดมิ ข้นึอกี ผูฟ ง อาจไดรบั โทษได4. การนาํ เสนอขอ มลู ผูวจิ ยั จะนาํ เสนอขอมูล โดยการคดิ เปน เปอรเซ็นต โดยใชสูตรในการคํานวณเพ่อืหาความถี่ ดงั นี้% = S*100 N% = ความถี่ของการพบกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิโดยคิดเปนเปอรเซ็นตS = จาํ นวนครง้ั ทพ่ี บกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิN = จํานวนกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิทั้งหมดที่ไดจากการเก็บขอมูล

31 บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั และขอวจิ ารณ ผูว ิจยั ไดนําขอ มลู ทไี่ ดรวบรวมมาวิเคราะหก ารเลอื กใชกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในกลุมตัวอยางนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อศกึ ษาวา การแสดงวัจนกรรมการตําหนิที่พบมีกลวิธีใดบาง และแตละกลวิธีมีความถี่ในการปรากฏแตกตางกันอยางไร ซึ่งจากผลการวิเคราะหขอมูลมีรายละเอยี ดดังตอ ไปน้ี4.1 กลวธิ แี สดงวัจนกรรมการตาํ หนิ 4.1.1 การปรากฏของกลวธิ ีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิ มดี ังนี้จากขอความท่ีผูวจิ ัยรวบรวมไดท ัง้ หมด 480 ขอความ เปนขอ ความทเ่ี ปน วจั นกรรมการตาํ หนิทั้งหมด 460 ขอ ความเน่ืองจากผูวิจยั ไดตดั ขอความท่ไี มใ ชว ัจนกรรมท่แี สดงออกถงึ การตําหนิออกไปดังทไี่ ดก ลาวไวแลวใน บทท่ี 3 และผวู ิจัยพบวาการเลือกใชกลวิธีการแสดงตาํ หนขิ องนสิ ติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสามารถจําแนกไดเปน 4 กลวิธีใหญ 8 กลวิธยี อ ย ดงั นี้1. การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือบอกเปนนัย2. การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยกลวธิ ยี อยท่ี 2.1 การแสดงความรําคาญใจกลวิธยี อ ยท่ี 2.2 การกลาวถึงผลลัพธที่จะตามมาจากการกระทําผิด3. การกลาวหาผูกระทําผดิ หรอื การกลา วเตอื นกลวิธียอยท่ี 3.1 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมากลวิธยี อ ยท่ี 3.2 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมากลวธิ ียอยท่ี 3.3 การกลาวเตอื นผูกระทําผิด4. การกลา วตําหนผิ ูกระทําผดิกลวธิ ียอยที่ 4.1 การกลาวตาํ หนิผกู ระทาํ ความผิดท่มี กี ารตกแตง ถอยคําเพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ

32กลวิธยี อยที่ 4.2 การกลาวตาํ หนผิ ูกระทําความผิดโดยการกลาวตําหนกิ ารกระทําหรือตวั บุคคลของผกู ระทําผิด ในกลวธิ ีท่ี 3.3 กลวธิ ีการกลาวเตือนเปนกลวิธที ผี่ ูวจิ ยั พบนอกเหนือจากกลวิธีที่ Trosbrog ระบุไว ซึ่งเปนไปตามแนวคิดของ Olshtain และ Weinbach (อางใน Gabriele Kasper and Shoshana Blum-Kulka,1993) ซงึ่ กลาววา ในกลวิธีนีจ้ ะกลา วถึง ผพู ูดยงั คาดหวงั โดยนัยถึงความเปนไปไดทีจ่ ะใหม ีบทลงโทษเพือ่ เปน การตกั เตือนผกู ระทาํ ผดิ ยกตัวอยา งเชน ประโยคที่วา “ถา มคี ร้ังหนา คณุ จะเดอื ดรอนนะครบั ” อยา ใหมเี หตุการณแบบนีอ้ ีกนะ ถาเปนแบบน้ีอีกผมตองทําตามกฎของบรษิ ัทนะครบั ” ซึ่งในกลวิธกี ารกลา วเตอื น (Warning) ผวู จิ ัยจดั ใหอยูใน กลมุ เดียวกับการกลา วหาตามแนวคดิ ของ Olshtainและ Weinbach ทีไ่ ดจัดใหการกลา วหาและการกลา วเตอื นใหอยใู นกลมุ เดยี วกันแตเนือ่ งจากในทฤษฎีของ Trosbrog ไมไดระบกุ ารกลา วเตอื นไวใ นกลุม การกลา วหาผกู ระทาํ ผิด(Accusations ) ผูวิจยั จงึ ไดเพิม่ กลวธิ กี ารกลาวเตอื น (Warning) ลงไป นอกจากนใ้ี นกลวธิ ีที่ 4.2 กลวกิ ารกลา วตาํ หนิท่ีพฤตกิ รรมหรือทต่ี ัวบุคคลของผูกระทาํ ความผดิ ผูวจิ ยั ไดรวมเปน กลวธิ ีเดียวกนั เนือ่ งจากขอมลู ทไ่ี ดนน้ั ไมส ามารถแยกจากกันไดอยา งชัดเจนเพ่อื แกปญ หาและไมใ หเ กิดการสับสนในการวิเคราะหข อ มลู ผูว ิจยั จงึ รวมกลวิธีการกลาวตาํ หนิท่พี ฤติกรรมของผูก ระทําผิดและกลวธิ ีการกลาวตาํ หนิที่ตวั บคุ คลของผกู ระทาํ ผิดไวเ ปน กลวธิ เี ดยี วกนัการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นแตล ะกลวธิ ี มรี ายละเอยี ดดงั ตอ ไปน้ี1. การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือบอกเปนนัยสังเกตไดจ ากการที่ผูพ ูดไมไ ดก ลาวที่แสดงออกในเชิงตาํ หนิติเตยี นผูกระทาํ ผดิ แตอยา งใด ซึง่เปนกลวิธีทีผ่ ูพดู ตัวหลกี เลี่ยงการชีเ้ ฉพาะเจาะท่ตี วั ผูกระทาํ ผดิ ซง่ึ กลวิธีนีผ้ ูถูกตําหนิอาจรตู วั หรอื ไมรูต ัววา กําลงั ถูกตําหนิอยูกเ็ ปนได ซึง่ ก็เปน วิธที ่มี รี ะดบั ความรุนแรงนอยทส่ี ุด ดังตวั อยางตัวอยา งท่ี 1จากสถานการณท ี่ 1 ในขอ ความที่ 16“มิคแกซือ้ ปากกาใหม รยึ ัง” (ผูพูดใหป ากกามิคยมื แตมคิ กไ็ มนาํ มาคนื ผพู ดู )จากตวั อยางท่ี 1 เปน การใชกลวธิ กี ารไมก ลาวตําหนิออกมาอยา งชัดแจง หรอื บอกเปน นัยโดยผพู ูดกลา วเปนประโยคคําถามแกผ ูฟ ง ท้งั นผี้ พู ูดอาจแฝงความรูสกึ ในเชิงประชดประชันไวดวยตัวอยา งที่ 2จากสถานการณท่ี 5ในขอ ความท่ี 192“พอ่ี ้ัม ดนิ สอคนื ยงั พอดจี ะตอ งเอาไปใชส อบ” (ผูพูดใหดนิ สอรนุ พย่ี ืมแตเขาทาํ ดนิ สอแทงน้นั หาย)

33จากตัวอยา งที่ 2 เปนการใชกลวิธีการบอกเปนนัยโดยการใชประโยคคําถามโดยผูพูดไมไดแสดงการตําหนิผฟู ง แบบตรงแตเ ปนการพูดโดยใชป ระโยคคําถามแทนซ่ึงผูฟง อาจรหู รอื ไมก ็ไดว าผพู ูดกําลังไมพอใจ ในกรณนี ผี้ พู ูดอาจรสู กึ เกรงใจผฟู งเพราะผูฟง มีสถานภาพสูงกวาตนจงึ เลือกใชก ลวธิ ีการบอกเปนนัยแทนการใชกลวธิ อี นื่ ซ่งึ อาจเปน การกระทบกระเทอื นความรูส ึกของผฟู งและอาจทาํ ใหผูฟง ไมพ อใจได ท้งั น้ีผวู ิจยั เห็นวา ถงึ แมกลวิธีการไมก ลาวตาํ หนอิ อกมาอยางชัดแจง หรอื บอกเปนนัยน้ี เปนกลวิธที ่ผี ฟู ง อาจจะรหู รอื ไมร ูถ ึงสิ่งทีต่ นกระทําผดิ ลงไปเพราะถอยคําที่กลาวออกไปอาจไมชัดเจนนักซง่ึ อาจทําใหผ ฟู ง รูต ัวหรือไมก ไ็ ด เพราะแทนทผี่ พู ูดจะกลา วตาํ หนผิ ฟู งทั้ง ๆ ที่ในความเปนจริงแลว ผูพดู อาจจะกําลงั รสู ึกไมพ อใจผูฟ งหรือผพู ูดอาจกลา วโดยนัยเพ่ือหลีกเลีย่ งทจี่ ะตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ หรอื พดูเพื่อปกปดความรูสึกที่ไมพอใจของตนเองเอาไว จึงอาจใชถอยคําในเชิงประชดประชัน เชน “มิค แกซื้อปากกาใหม รยึ งั ”โดยทผี่ ูพูดอาจคาดหวงั ลกึ ๆ วาผูฟงจะรูสึกละอายใจถึงแมว า ตนจะไมไ ดก ลาวถอ ยคาํที่แสดงถึงความไมพอใจออกไปก็ตามและในกลวิธีนี้การบอกเปนนัยจะไมใชการกลาวคําตําหนิผกู ระทําผิดออกไปอยางตรงไปตรงมา แตท ัง้ นท้ี ั้งนั้นเน่ืองจากในงานวจิ ยั ชน้ิ นี้เปน การเกบ็ ขอ มูลโดยใชแบบสอบถามผวู จิ ยั จงึ ไมส ามารถพจิ ารณาปจ จยั แวดลอมอน่ื ๆ เชน นาํ้ เสยี ง สีหนา ทา ทางของผูพดู ซ่ึงหากมีการเก็บขอมูลจากสถานการณจริงอาจทําใหไดขอมูลและพบลักษณะของกลวิธีการแสดงการตาํ หนิท่แี ตกตางออกไปจากนี้ แตอยา งไรกด็ ีผูวิจยั ไดต้งั ขอสงั เกตวา กลวิธนี ี้มักเปนกลวิธีทเี่ ปน การพดูเกริน่ นาํ เพ่อื ในการใชก ลวิธกี ารตําหนทิ ีม่ คี วามรุนแรงข้ึนตอ ไป2. การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยกลวธิ ียอ ยท่ี 2.1 การแสดงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย ในกลวิธีนี้ผูพูดสามารถแสดงออกถึงความไมพอใจ ความรําคาญใจหรือการไมเห็นดวย กลวิธีนส้ี ังเกตไดจากการทีผ่ ูพดู กลา วตาํ หนโิ ดยใชถ อ ยคาํ ทแี่ สดงถงึ ความรําคาญหรอื เบอื่ หนาย เชน “แมเบ่อืแลว นะ” “แยจ รงิ ” “เซง็ เลย” “ไมนา เลย” หรอื เปนคาํ พดู ในเชงิ ท่ที ําใหผ ูฟง รวู าตนรสู กึ ไมพอใจหรือรําคาญใจโดยอาจไมไดก ลาวตําหนไิ ปทต่ี วั ผฟู ง อยางตรง ๆ และไมไดเ ปนการกลาวหาหรือการตอ วาอยางรุนแรงตอ ผถู ูกตาํ หนิ ดังตวั อยา งตอ ไปนี้ตัวอยา งที่ 3จากสถานการณที่ 2 ในขอความที่ 65กลา ววา “บอยไปสูบทอ่ี ่นื มนั เหมน็ ” (ผพู ดู กลาวตําหนิเพอื่ นของตนท่ีสูบบหุ รีใ่ นกลมุ เพอ่ื นทีน่ ั่งคุยกันอยู)

34จากตัวอยางที่ 3 นีผ้ ูพดู กลา วแสดงความรสู ึกของตนวาตนกําลงั เบ่ือหนา ยและรําคาญใจในสง่ิ ทเ่ี กิดขน้ึขณะน้ันตัวอยางท่ี 4จากสถานการณท ่ี 5 ในขอความที่ 167“พี่อม้ั แยจ ัง เมยย ังไมไดใ ชเ ลย” (ผูพูดกลาวตําหนิรนุ พท่ี ่ียืมดนิ สอของตนไปแลวทําหาย)จากตวั อยา งที่ 4 ผพู ดู กลา วแสดงความรสู กึ ของตนวาตนรสู ึกเสียดายและอาจมคี วามไมพ อใจในเหตุการณท ่ีเกิดขึน้ แตก ไ็ มไดก ลาวตําหนผิ ฟู ง ดว ยความรุนแรงแคกลา วแสดงความรูสึกของตนเทา น้นัวาตนเองรสู ึกราํ คาญใจหรือหงดุ หงิดใจผูฟง ทต่ี นซ้อื ดนิ สอมาใหมท ้งั ๆ ที่ตนเองยังไมไดใชดนิ สอดามนั้นเพอ่ื นรนุ พี่ก็มายืมไปแถมยงั ทําดนิ สอของตนหาย ซ่ึงเปนเร่อื งที่ไมนาเกดิ ข้ึนตัวอยา งที่ 5จากสถานการณท่ี 9 ในขอ ความท่ี 325“แมเ บ่ือแลวนะลูกท่ตี องมาขุดลูกจากเตียงทกุ วนั เชาน้จี ะเปนวนั สุดทา ยท่ีแมจะทาํ แบบน้ี” (ผกู ลา วตาํ หนิลูกของตนทน่ี อนตนื่ สายใหต นตองปลกุ อยูเปน ประจํา)จากตัวอยางที่ 5 ผพู ดู กลา วแสดงความรสู กึ ของตนวา ตนกําลงั เบื่อหนา ยและราํ คาญใจในสถานการณท่ีเกิดขนึ้ แตถ ึงอยางไร ผูพดู ก็ไมไดก ลาวตําหนิผฟู ง ดวยถอยคาํ ท่ีรุนแรง เพยี งแคพดู แสดงออกถงึความรูสกึ ของตนวาเบ่อื หนายกบั ส่งิ ทีต่ อ งทําอยูเปนประจาํตัวอยางที่ 6จากสถานการณท ี่ 10 ในขอ ความท่ี 369“แนน ไมน า ทาํ มนั ตกเลย เพราะพีร่ กั มนั มาก” (ผพู ดู กลาวตาํ หนินองสาวของตนทที่ าํ นาฬิกาตกทําใหหนา ปด นาฬกิ าแตก)จากตวั อยา งที่ 6 ผูพูดกลาวแสดงความรูส ึกของตนวาตนกาํ ลังเบอื่ หนาย ราํ คาญใจและรูสกึ เสียดายของทเี่ สยี ไป แตก ็ไมไ ดก ลาวตาํ หนิผูฟ ง ดวยถอ ยคาํ ทร่ี ุนแรงชัดเจนแตในกรณนี ผี้ ูพูดอาจคาดหวงั ใหผ ูฟงเกิดความละอายใจ จากตวั อยา งจะเหน็ วา ผพู ูดกลาวตําหนผิ ูกระทาํ ผิดดว ยถอ ยคาํ ทไ่ี มไ ดร ุนแรงมากนกั ผูพูดกลาวเพียงแคบอกถึงความรสู กึ ของตนวา ตนกําลงั ไมพอใจกับเหตกุ ารณท ี่เกิดขึ้น ซ่งึ ผพู ดู ไมไดกลา วถอ ยคําที่เปน การเรียกรอ งใหผ กู ระทําผิดรับผิดชอบตอ เหตกุ ารณท ่เี กิดขึน้กลวธิ ยี อ ยท่ี 2.2 การกลาวถึงผลลัพธจากการกระทําผิด ในกลวิธีนี้สามารถสังเกตไดจากผพู ูดจะกลาวถงึ ผลเสียทเ่ี กิดขึ้นจากการกระทําผิดของผูฟงซงึ่ท้งั นีผ้ พู ูดก็มไิ ดก ลา วตาํ หนิหรอื กลาวหาผูกระทาํ ผดิ อยางรุนแรงเชน เดียวกับกลวธิ ที ่ี 2.1 ซึ่งสังเกตได

35จากการทผ่ี ูพดู พยายามพดู เชอ่ื มโยง จากสถานการณท ่ผี กู ระทาํ ผิดไดกระทําลงไปตอผลลพั ธทีเ่ กิดข้ึนหลงั จากเหตกุ ารณนัน้ ๆ จบลง ดังตัวอยางตอ ไปน้ีตัวอยางท่ี 7จากสถานการณที่ 8 ในขอความที่ 287“คราวหลังถาคุณวิชัยไมสะดวกมาพบชวยกรุณาแจงใหทราบลวงหนาดวยนะคะ เพราะไมอยางนั้นทางบริษัทจะไดรับความเสียหายคะ” (ผพู ูดกลาวตําหนิผฟู งซึ่งเปนลูกคาท่ีผดิ นดั การประชุมกับบริษัท)จากตัวอยา งท่ี 7 ผูพูดกลาวเชอื่ มโยงถงึ ผลลัพธท่ีตามมาจากการกระทําผิดของผูฟง โดยในขอ ความนผ้ี ูพูดกลาวถึงความเสียหายท่เี กดิ ขึ้นเมอ่ื ผูฟ ง ไมมาตามนัดตวั อยา งท่ี 8จากสถานการณท ่ี 8 ในขอ ความที่ 293“ทางบริษัทไดรับความเสียหายมากนะคะ ครั้งหนาคุณคงมาตามนัดนะคะ” (ผพู ูดกลา วตาํ หนิผูฟง ซ่งึเปน ลกู คาท่ีผิดนดั การประชมุ กับบรษิ ทั )จากตวั อยางที่ 8 ผูพ ดู กลาวเชื่อมโยงถึงผลลพั ธท ่ีตามมาจากการกระทําผดิ ของผูฟ ง โดยในขอ ความนผ้ี ูพูดกลาวถึงความเสยี หายทเ่ี กิดขนึ้ เมื่อผูฟงไมม าตามนดัตัวอยา งที่ 9จากสถานการณท ่ี 9 ในขอความท่ี 338“หัดต่ืนใหม นั เชา ๆหนอ ยสิ วกิ กี้ ตน่ื สายจนตดิ เปน นสิ ยั แลว นะเนย่ี ” (ผพู ดู กลาวตําหนลิ กู ของตนที่นอนตน่ื สายจนตดิ เปน นสิ ยั )จากตวั อยา งท่ี 9 ผูพูดกลาวเชอ่ื มโยงถึงผลลัพธทต่ี ามมาจากการกระทําผดิ ของผฟู ง โดยในขอความนผ้ี ูพูดกลาวถงึ พฤตกิ รรมของผฟู งที่นอนตน่ื เสียจนทาํ ใหตนเองตดิ จนเปน นิสัยทไี่ มด ีจากตวั อยา งจะเห็นไดว าผูพดู ไดกลาวตําหนิผกู ระทาํ ผดิ โดยการกลา วเช่อื มโยงถึงผลรายจากสง่ิ ท่ีผูฟงกระทาํ ลงไป ซ่งึ ผลการกระทาํ ผิดทก่ี ระทาํ ลงไปนน้ั อาจสงผลเสียท้ังตอตัวของผกู ระทําผิดและตอผอู ืน่ ไดด ว ย3. การกลาวหาผูกระทาํ ผดิกลวิธยี อยที่ 3.1 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา ในกลวิธีน้ีผูพดู จะพยายามเชื่อมโยงเหตุการณที่เกิดข้นึ กับผกู ระทาํ ผดิ และกลาวหาผูกระทาํ ผดิซึ่งสังเกตไดจากการทีผ่ พู ูดพยายามตั้งคาํ ถามหรอื พูดโดยการใหข อ มลู ผฟู งเพียงบางสวน อกี ทัง้ ผพู ูดอาจใชถอยคําทีท่ าํ ใหสถานการณใ นขณะนั้นมคี วามรุนแรงนอ ยลง เชน “รบกวน” “ชว ย” หรอื “กรุณา”

36แทนทผี่ พู ูดจะพดู กลา วหาผดู ว ยถอยคาํ ท่ีตรงไปตรงมา ซ่งึ ในกลวธิ ีน้ผี ูวจิ ยั ต้ังขอ สงั เกตวาผูพดู ตอ งการใหผ ฟู ง แสดงความรับผิดชอบตอ เหตกุ ารณท ่เี กดิ ขึ้น ซึ่งการกลาวหาอยางไมตรงไปตรงมานี้ก็ถือเปนการคุกคามหนาไดเชนกัน เพียงแตผูพูดอาจใชกลวิธีบางประการเขามาชวยในการลดความรุนแรงในการคุกคามหนาของผูฟง ดังตัวอยางตอ ไปน้ีตัวอยา งที่ 10จากสถานการณที่ 3 ในขอความที่ 104“กานต นายยืมที่เย็บกระดาษเราไปใชมั้ย” (ผูพ ดู กลา วตําหนเิ พื่อนรว มชน้ั เรียนของตนทย่ี มื ทเ่ี ยบ็กระดาษของตนไปแลวยังไมไดนํามาคืน)ตัวอยางที่ 10 ผพู ดู กลาวหาผฟู งดวยการเลยี่ งทจ่ี ะพดู กลา วหาผฟู งออกไปตรง ๆ เชน “นายเอาทเ่ี ยบ็กระดาษเราไปยังไมไดคืน”โดยการใชก ารต้ังคาํ ถามแทนท้งั ๆ ท่ผี ูพดู นั้นรอู ยแู ลววาผูฟงเปนคนยมื ไปแตการถามแบบนี้ผฟู ง ไมไ ดมีเจตนาที่จะตอ งการคําตอบ แตต องการใหผฟู ง รูสึกละอายใจและนําของที่ยืมตนไปมาคืนตัวอยา งท่ี 11จากสถานการณท ี่ 4 ในขอความท่ี 148“ขอโทษครับ ชวยเงยี บ ๆ กันหนอ ยไดม ้ยั อา นหนงั สอื ไมรูเร่ือง” (ผพู ดู กลา วตาํ หนิผูฟงท่ีคยุ กนั เสียงดังในหอ งสมุดโดยการบอกใหผฟู ง ชวยเงียบเสียงลง)จากตัวอยางที่ 11 ผูพูดกลา วหาผูฟง ดวยการเล่ียงทจี่ ะพูดกลา วหาผูฟงออกไปตรง ๆ เชน “พวกเธอเสยี งดงั จนเราอา นหนงั สอื ไมร เู รื่องเลย” แตใ นกรณนี ผ้ี ูฟงกลับใชการขอรอ งใหผ ฟู งเงียบเสยี งลงดวยการใชประโยคคําถามเนอ่ื งจากผฟู งเสยี งดังจนอา นหนังสอื ไมร เู รือ่ งตวั อยา งที่ 12จากสถานการณท ่ี 5 ในขอความที่ 164“อม้ั ทาํ ดนิ สอชน้ั หายแลว เหรอ คราวหนาถายืมไปชวยรักษาหนอยนะ” (ผพู ูดกลาวตําหนิผูฟงท่ยี มืดนิ สอขอตนไปแลว ทาํ หาย)จากตวั อยางที่ 12 ผูพ ดู กลาวหาผูฟงดว ยการใชป ระโยคคาํ ถามในการพูดกลาวหาวาผฟู งนน้ั ทาํ ดนิ สอของตนหาย แตอ าจเปน คาํ ถามท่ไี มไ ดต องการคาํ ตอบแตผ ูพ ดู ตองการใหผ ูฟงเกดิ ความรูสกึ ละอายใจในสิ่งที่ตนกระทําลงไป

37ตวั อยางที่ 13จากสถานการณท่ี 6 ในขอ ความท่ี 207“ทาํ ไมพ่ีเอารถปุมไปใชแลวไมบอกกอนหละ แถมขับไปชนดวย” (ผูพูดเปน เจา ของรถ ซง่ึ พส่ี าวนาํ รถของผูพูดไปชนไฟทายแตก)จากตวํ อยางท่ี 13 ผูพดู กลา วหาผูฟงดว ยการใชป ระโยคคาํ ถามในการพูดกลาวหาวาผูฟ งวา นาํ รถของตนไปใชแ ลว ไมบ อกทําใหเกดิ เร่อื งเสยี หายขน้ึ แตอาจเปน คําถามทีไ่ มไดตอ งการคาํ ตอบแตผพู ูดตองการใหผฟู งเกิดความรูสกึ ละอายใจในส่ิงท่ตี นกระทาํ ลงไป ซงึ่ ในกรณีนผ้ี ฟู งอาจแฝงความตอ งการใหผูฟงชดใชในความเสียหายที่เกิดขึ้น ขอสังเกตทผี่ ูวิจัยพบในกลวธิ นี ้ี คือ การใชถอยคําแบบออ มโดยการใชประโยคคาํ ถามและประโยคที่แสดงการขอรองและประโยคคําถาม เพื่อเปนการลดการคุกคามหนาดานลบของผูฟงและเปนการลดความรนุ แรงของสถานการณซ ่ึงทาํ ใหผฟู ง เสยี หนา นอยท่สี ุดกลวิธียอ ยท่ี 3.2 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมา ในกลวธิ ีนส้ี ามารถสงั เกตไดจ ากการท่ีผูพดู กลาวกับผูฟงอยา งตรงไปตรงตรงมาวา ผฟู งไดกระทําความผิดนั้น เชน ผูพูดใชประโยคบอกเลาในการกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมาดังตวั อยางตอ ไปนี้ตวั อยางที่ 14จากสถานการณท่ี 6 ในขอ ความที่ 212“โอย น่เี อารถของเคาไปขับยงั ไมร ูจ กั ระวังใหดอี กี ยังไงตองจายคาซอมใหเลย” (ผพู ดู เปนเจา ของรถ ซึง่พ่สี าวนาํ รถของผพู ดู ไปชนไฟทายแตก)จากตวั อยา งที่ 14 ผูพูดกลาวหาผูฟงอยางตรงไปตรงมาโดยการใชประโยคบอกเลา วานํารถของตนไปขับแลว ทําเสยี หาย ในกลวิธีนผี้ ูพ ดู กลา วกบั ผฟู งดว ยถอยคาํ ที่ตรงไปตรงมาไมออ มคอ มตัวอยา งที่ 15จากสถานการณท ่ี 9 ในขอ ความท่ี 354“โตปา นน้ีแลวตองใหแ มม าปลุกอกี เมอ่ื ไหรจะตนื่ เองไดเน่ยี ” (ผพู ูดกลาวตาํ หนลิ กู ของตนท่ีนอนต่ืนสายจนตองใหตนมาปลุกทุกวัน)จากตัวอยางท่ี 15 ผูพูดกลาวหาผูฟงอยางตรงไปตรงมาโดยการใชประโยคบอกเลา วาผูฟงไมมีความรับผิดชอบยงั ตองใหต นมาปลุกทกุ เชา ในกลวิธีนี้ผพู ดู กลา วกับผูฟ งดว ยถอ ยคําท่ตี รงไปตรงมาไมอ อ มคอ ม