Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

Published by สกร.อำเภอพรรณานิคม, 2020-06-23 01:22:38

Description: ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

Search

Read the Text Version

92 คณะผกู อ การบางสว น ไดม คี วามคิดที่จะเปล่ยี นแปลงโครงการเศรษฐกิจของประเทศ อยาง ใหญหลวง จึงเกิดแตกราวกันขนึ้ เองในคณะผูกอการ และพวกพอง จนตองมีการปดสภา และงดใชรัฐธรรมนูญบางมาตรา โดยคําแนะนําของรัฐบาล ซึ่งถือตําแหนงอยูในเวลา ทําการนน้ั ทง้ั นี้ เปนเหตุใหมีการปนปว นในการเมอื ง ตอ มา พระยาพหลฯ กับพวกก็กลับ เขาทําการยดึ อํานาจ โดยกําลงั ทหารเปนครั้งที่ 2 และตั้งแตนั้นมา ความหวังท่ีจะใหการ เปลี่ยนแปลงตาง ๆ เปน ไปโดยราบรนื่ ก็ลดนอ ยลง เน่ืองจาก เหตุที่คณะผูกอการมิไดกระทําใหมีเสรีภาพในการเมืองอันแทจริงและ ประชาชนมิไดมโี อกาสออกเสียงกอ นท่จี ะดําเนินนโยบายอนั สําคัญตาง ๆ จึงเปนเหตุใหมี การกบฏขึ้น ถึงกบั ตอ งตอสฆู าฟนกนั เองในระหวา งคนไทย เมอ่ื ขา พเจา ไดข อรอ งใหเปล่ยี นแปลงรฐั ธรรมนญู เสียใหเขารูปประชาธิปไตยอันแทจ ริง เพ่ือใหเปน ทพ่ี อใจแกประชาชน คณะรัฐบาลและพวก ซ่ึงกุมอํานาจอยูบริบูรณในเวลาน้ี กไ็ มยินยอม ขาพเจา ไดขอรองใหราษฎร ไดมีโอกาสออกเสียงกอนที่จะเปลี่ยน หลักการ และนโยบายอันสําคัญ มีผลไดเสยี แกพลเมอื ง รัฐบาลก็ไมยินยอม และแมแตการประชุม ในสภาผูแทนราษฎรในเร่อื งสาํ คญั เชน เรอ่ื งคํารอ งขอตา ง ๆ ของขา พเจา สมาชิกก็มไิ ดมี โอกาสพจิ ารณาเรอื่ งโดยถองแท และละเอยี ดลออเสียกอ น เพราะถูกเรงรัดใหลงมติอยาง รีบดวนภายในวาระประชุมเดียว นอกจากน้ี รัฐบาล ไดออกกฎหมายใชวิธีปราบปราม บคุ คล ซงึ่ ถกู หาวา ทาํ ความผิดทางการเมืองในทางท่ีผิดยุติธรรมของโลก คือ ไมใหโอกาส ตอสคู ดีในศาล มีการชาํ ระโดย คณะกรรมการอยางลับ ไมเปดเผย ซงึ่ เปน วธิ ีการทข่ี า พเจา ไมเ คยใช ในเมอื่ อาํ นาจอนั สทิ ธิขาดยงั อยใู นมอื ของขาพเจา เอง และขาพเจา ไดรองขอให เลกิ วิธีน้รี ฐั บาลกไ็ มยอม ขาพเจา เหน็ วาคณะรัฐบาล และพวกพอ ง ใชวิธีการปกครองซ่ึงไมถูกตองตามหลักการ ของเสรภี าพในตัวบคุ คล และหลกั ความยุติธรรม ตามความเขาใจ และยึดถือของขาพเจา ขาพเจา ไมสามารถท่ีจะยินยอมใหผูใด คณะใด ใชวิธีการปกครองอยาง น้ัน ในนาม ขา พเจา ตอไปได ขา พเจา เตม็ ใจท่ีจะสละอาํ นาจอันเปนของขาพเจา อยแู ตเดิมใหแ กราษฎรโดยทวั่ ไป แตขาพเจา ไมยินยอมยกอาํ นาจทัง้ หลายของขาพเจา ใหแ กผ ใู ด คณะใด โดยเฉพาะ เพื่อ ใชอาํ นาจนน้ั โดยสิทธิขาด และโดยไมฟง เสียงอันแทจ รงิ ของประชาราษฎร บัดนี้ ขา พเจา เห็นวาความประสงคของขาพเจาที่จะใหราษฎรมีสิทธิออกเสียงใน นโยบายของประเทศโดยแทจริง ไมเปนผลสําเร็จ และเม่ือขาพเจารูสึกวา บัดน้ี เปนอัน หมดหนทางท่ีขาพเจาจะชวยเหลือ หรือใหความคุมครองแกประชาชนไดตอไปแลว ขา พเจา จึงขอสละราชสมบัติ และออกจากตําแหนงพระมหากษัตริยแตบัดนี้เปนตนไป

93 ขา พเจา ขอสละสิทธิของขาพเจา ท้ังปวง ซง่ึ เปนของขา พเจาในฐานะที่เปนพระมหากษัตริย แตขาพเจา สงวนไวซึ่งสิทธิทง้ั ปวงอันเปนของขาพเจา แตเดิมมา กอนที่ขาพเจาไดรับ ราชสมบัติสืบสันตตวิ งศ ขาพเจา ไมม คี วามประสงคท ี่จะบง นามผหู นง่ึ ผูใด ใหเปนผรู บั ราชสมบตั ิสบื สนั ตติวงศ ตอไป ตามท่ขี า พเจา มีสทิ ธทิ จี่ ะทาํ ไดต ามกฎมณเฑยี รบาลวา ดวยการสืบสนั ตตวิ งศ อนงึ่ ขา พเจาไมม คี วามประสงคท ่ีจะใหผ ูใดกอ การไมส งบขนึ้ ในประเทศ เพอ่ื ประโยชน ของขาพเจา ถาหากมีใครอางใชน ามของขา พเจา พึงเขาใจวามิไดเ ปน ไปโดยความยินยอม เหน็ ชอบ หรอื สนบั สนนุ ของขา พเจา ขาพเจา มีความเสียใจเปนอยางยิ่ง ท่ีไมสามารถจะยังประโยชนใหแกประชาชน และประเทศชาตขิ องขาพเจา ตอ ไป ไดต ามความต้งั ใจ และความหวัง ซ่ึงรับสืบตอกันมา ตัง้ แตบ รรพบุรษุ ยงั ไดแตต ้ังสตั ยาอธษิ ฐาน ขอใหประเทศสยาม จงไดประสบความเจริญ และขอประชาชนชาวสยามจงไดมีความสขุ สบาย (พระปรมาภิไธย) ประชาธิปก ปร วันที่ 2 มนี าคม พ.ศ. 2477 เวลา 13 นาฬิกา 55 นาที ที่มาhttp://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/<เม่ือวนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ 2552> จากพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตมิ ีขอความทีถ่ อื วาเปนหลักการสําคัญของการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยวา “ขาพเจา เต็มใจท่ีจะสละอํานาจอันเปนของขาพเจาอยูแตเดิม ใหแก ราษฎรโดยทว่ั ไป แตขาพเจา ไมย นิ ยอมยกอาํ นาจทงั้ หลายของขาพเจาใหแกผูใด คณะใด โดยเฉพาะ เพอ่ื ใชอ ํานาจน้นั โดยสิทธิขาด และโดยไมฟ ง เสียงอนั แทจ รงิ ของประชาราษฎร” นบั แตป  พ.ศ. 2475 เปนตนมาจนถงึ ป พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมกี ารประกาศใชร ัฐธรรมนูญ มาแลวรวม 18 ฉบับ ดงั น้ี 1. พระราชบัญญัติธรรมนญู การปกครองแผนดินสยามช่ัวคราว พุทธศักราช 2475 ประกาศใช เมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีทั้งหมด 39 มาตรา แบงเปน 6 หมวด พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ไดม กี ารยกเลิกไปเมื่อ อนุกรรมการรางรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีพระยามโปกรณนิติธาดา เปนประธานไดรางรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรสยามเสรจ็ และประกาศใชร ฐั ธรรมนูญฉบับใหมในปเ ดยี วกนั

94 2. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศกั ราช 2475 ประกาศ ใชเ ม่อื วันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ดงั นนั้ จึงถือวาวันที่ 10 ธันวาคมของทุกป เปน วนั รฐั ธรรมนญู รัฐบาลใหหยุดราชการได 1 วัน มีทั้งหมด 68 มาตราประกอบดวยบทท่ัวไปและ หมวดตา ง ๆ อีก 7 หมวด รฐั ธรรมนญู ฉบบั นมี้ ีผลบงั คับใชน านถงึ 14 ป มีการแกไขเพิ่มเติมถึง 3 ครั้ง คือ คร้งั ท่ี 1 รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมวาดวยนามประเทศ พุทธศักราช 2482 ใหเรียกวา ประเทศไทย และบทแหงรฐั ธรรมนญู หรือกฎหมายอื่นใด ทีใ่ ชคาํ วา “สยาม” ใหใชคําวา “ไทย” แทน คร้งั ที่ 2 รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมวาดวยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช 2483 ใหยกเลิก ความในมาตรา 65 แหงรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย ใหยืดอายุเวลาการมสี มาชิกประเภทท่ี 2 ออกไปเปน 20 ป ครงั้ ที่ 3 รัฐธรรมนูญแกไขเพ่ิมเติมวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร พทุ ธศกั ราช 2485 ใหย กเลกิ ความในมาตรา 18 ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย ถามีเหตุขัดของ ทาํ การเลอื กต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมไ ด เมอื่ อายุสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรครบส่ีปแลว ใชขยาย เวลาเลือกตั้งออกไป เปน คราวละไมเกินสองป รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รสยาม พทุ ธศกั ราช 2475 ไมมีบทบัญญตั หิ า มขา ราชการประจํา ยุงเก่ียวการเมือง จึงเปนผลใหบุคคลสําคัญของคณะราษฎรที่เปนขาราชการประจําสามารถเขาคุม ตาํ แหนง ทางการเมือง ทั้งในสภาผูแ ทนราษฎรและในคณะรฐั มนตรี รัฐธรรมนญู ไมรับรองสิทธิในการ ตัง้ พรรคการเมือง จึงทําใหไมสามารถรวมพลังเพื่อเสรีในเร่ืองอ่ืน ๆ ได รัฐบาลยังไดออกพระราชบัญญัติ ปองกันรัฐธรรมนูญ มีผลใหบุคคลจํานวนหนึ่งถูกจับกุม และลงโทษ เพราะละเมิดพระราชบัญญัติ ดังกลาว ตอมา พ.ศ. 2489 ซึง่ เปนชวงสมัยทพ่ี ันตรี ควง อภัยวงศ เปนนายกรัฐมนตรี และนายปรีดี พนมยงค เปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค บุคคลท้ังสองพิจารณาวา สมควรจะเลิกบทเฉพาะกาล ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 และไดปรับปรุงแกไขใหม เพราะไดใช รัฐธรรมนูญมาแลว 14 ป เหตกุ ารณบ า นเมืองเปล่ยี นแปลงไป ดงั น้นั จงึ ไดมรี ัฐธรรมนูญฉบับใหมเปน ฉบับท่ี 3 3. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2489 ประกาศใช เม่ือวันท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีท้ังหมดรวม 96 มาตรา รัฐธรรมนูญ ฉบบั น้ี มีแนวทางในการดาํ เนินการปกครองเปนประชาธปิ ไตยมากกวารัฐธรรมนูญฉบับท่ี 2 กลาวคือ สมาชิกรัฐสภามาจากการเลือกตั้ง ใหประชาชนมีเสรีภาพรวมกันต้ังพรรคการเมือง เพื่อดําเนิน กจิ กรรมทางการเมืองไดเปนการใหโอกาสรวมกลมุ เพอื่ รักษาประโยชนข องตน และถวงดุลอาํ นาจของ กลุมอื่น อีกประการหนงึ่ คือ ใหแยกขา ราชการการเมอื งออกจากขาราชการประจาํ การแยกขาราชการ การเมอื งออกจากขาราชประจํา ทาํ ความไมพ อใจแกกลุม ขา ราชการทีม่ ีบทบาททางการเมือง นับแตมี

95 การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ประกอบในระยะน้ันเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าหลังสงครามโลก คร้ังท่ี 2 พลเอก ผิน ชุณหะวัน นําทหารกอการรัฐประหารในวันท่ี 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ได ยกเลิกรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ซ่ึงรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 หลังจากท่ี ประกาศใชไดเพยี ง 18 เดอื น 4. รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชัว่ คราว) พุทธศกั ราช 2490 ประกาศใช ในวันท่ี 9 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2490 โดยมีการอางเหตุผลในการเปล่ียนรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 3 วา “เพราะประเทศชาติอยูในภาวะวิกฤติ ประชาชนไดร ับความลําบาก เพราะขาดแคลน เคร่ืองอุปโภคและบรโิ ภค ราคาสินคาสงู ขึ้น มคี วามเสอ่ื มทรามในศลี ธรรม รัฐธรรมนูญฉบับท่ีใชอยูเปน เหตุใหประเทศชาติทรุดโทรม จึงขอใหยกเลิก และมาใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม ที่จะชวยจรรโลงชาติ และบาํ บัดยคุ เข็ญใหเขาสภู าวะปกต”ิ มที ั้งหมด 98 มาตรา 5. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2492 เกดิ ข้นึ โดย สภารา งรัฐธรรมนูญ ประกาศใชบังคับ เม่ือวันท่ี 23 มีนาคม 2492 มีท้ังหมด 188 มาตรา ซึ่งนับวา เปนรัฐธรรมนูญท่ีเปนประชาธิปไตยมากฉบับหน่ึง แตในท่ีสุดก็ถูกฉีกท้ิง เมื่อ วนั ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2494 โดยการทาํ รัฐประหารภายใตการนําของจอมพล ป. พิบูลสงคราม รวมอายุ การประกาศ และบังคับใช 2 ป 8 เดือน 6 วัน 6. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2475 แกไขเพมิ่ เติม พทุ ธศักราช 2495 หลังจากท่ีรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2492 ถูกใชไดเพียง 2 ปเศษ ก็มี การทํารัฐประหาร เพอ่ื นาํ เอารัฐธรรมนญู พ.ศ. 2475 กลับมาใชอีกครั้ง โดยอางวารัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 น้ัน ใหสิทธิเสรภี าพมากเกนิ ไป ทําใหไมสามารถปองกันภัยคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสตได จึงไดเกิดการ รฐั ประหารนาํ รฐั ธรรมนูญฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2475 ฉบบั แกไขเพมิ่ เติม (พ.ศ. 2482 กับ พ.ศ. 2483) มาใช แทนเปน การช่ัวคราวไปพลางกอ น และใหสภาผูแ ทนราษฎรประชุมปรกึ ษา เพอ่ื แกไขรฐั ธรรมนญู ฉบับ ดงั กลา วใหส มบรู ณยงิ่ ขน้ึ เพ่ือใชเปนรัฐธรรมนูญฉบับถาวรตอไป ซ่งึ ก็ไดตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณารา งรฐั ธรรมนญู จํานวน 24 คน เมอื่ ไดดาํ เนนิ การเสรจ็ แลว จงึ ไดเสนอตอผแู ทนราษฎร และ สภา มมี ติเหน็ ชอบจึงไดประกาศมผี ลใชบังคบั ตง้ั แต วันที่ 8 มีนาคม 2495 ประกอบดวย บทบัญญัติ ทง้ั หมด 123 มาตรา โดยมบี ทบญั ญตั เิ ดิมของรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 อยูเพียง 41 มาตรา เทานั้น นอกน้ันอีก 82 มาตรา เปนบทบัญญัติท่ีเขียนเพิม่ เติมข้ึนใหม ซึง่ บทบัญญัติดังกลาวน้ัน สวนใหญก็ นํามาจากรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2492 รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 6 นี้ จึงมีลักษณะผสมผสานกันระหวาง รฐั ธรรมนูญทงั้ 2 ฉบบั ขางตน นนั่ เอง ในระหวา งทมี่ ีการใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไปไดประมาณ 5 ป ไดเกิด การเลือกตง้ั ท่มี คี วามไมบรสิ ุทธแิ์ ละเปน ธรรมโดยการ เจาหนา ทผี่ ดู ําเนินการเลือกตั้งไมสุจริต มีการโกง การเลือกตั้งใหแกผูสมัครพรรคเสรีมนังคศิลา ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยเฉพาะตามหนวย

96 เลือกตั้งหลายหนว ยในจังหวัดพระนคร กรณนี ้ีเปน สาเหตุสําคัญที่ทําใหคณะรฐั ประหาร ภายใตการนํา ของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรชั ต ไดท าํ การยดึ อาํ นาจการปกครองประเทศ เมอ่ื วนั ที่ 16 กนั ยายน 2500 และประกาศยบุ เลกิ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรทั้ง 2 ประเภท แตก็มไิ ดยกเลิกรฐั ธรรมนูญ ทวายังคงให ใชร ัฐธรรมนญู ตอ ไป ในขณะเดยี วกันกก็ ําหนดใหมกี ารเลือกตงั้ สมาชิกประเภทที่ 1 ภายใน 90 วนั เมื่อ เลอื กตงั้ เสรจ็ เรียบรอ ยแลว กลับปรากฏวา การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ก็ไมเปนไปโดยราบรื่นนัก ในทีส่ ุด รัฐธรรมนญู ฉบับน้กี ็จึงไดถ ูก “ฉกี ทงิ้ ” เม่อื วนั ที่ 20 ตุลาคม 2501 โดยการทาํ รฐั ประหารอีกครั้งหน่ึงของ คณะรัฐประหารชุดเดิม ซ่ึงมี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ในฐานะผูบัญชาการทหารสูงสุดและผูบัญชาการ ทหารบก เปน หวั หนา คณะปฏิวัติ รวมอายกุ ารประกาศและบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2475 แกไ ขเพม่ิ เติม พทุ ธศักราช2495 ทัง้ ส้นิ 6 ป 7 เดือน 12 วัน 7. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศักราช 2502 ประกาศใช เมือ่ วนั ท่ี 28 มกราคม 2502 หลังการปฏวิ ัติ เมอื่ วันท่ี 20 ตุลาคม 2501จอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต ไดออกประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 3 ยกเลิกรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2475 แกไขเพ่มิ เติมพุทธศกั ราช 2495 (ฉบบั ที่ 6) และประกาศใหส มาชิกภาพแหงสภา- ผูแทนราษฎร และคณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง โดยคณะปฏิวัติ ทําหนาที่บริหารประเทศ โดยจอมพล สฤษด์ิ ธนะรชั ต ผูที่เปนทั้งหัวหนา คณะปฏิวตั ิ และเปน ผบู ัญชาการสูงสุด ไมม ีการแบงแยกอาํ นาจนติ -ิ บัญญตั ิ อาํ นาจบริหาร และอํานาจตุลาการใหออกจากกัน คณะปฏิวัติ เปนผูสั่งการเปนผูใชอํานาจ ประเทศไทย จงึ มกี ารปกครองโดยปราศจากรัฐธรรมนูญเปนเวลา 101 วัน นับต้ังแตวันที่20 ตุลาคม 2501 จนถึงวันท่ี 28 มกราคม 2502 จึงไดประกาศใชธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญไทยท่ีส้ันที่สุด คือมีเพียง 20 มาตรา รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถึงแมจะไดชื่อวา เปน รฐั ธรรมนญู ฉบับช่ัวคราว เพื่อรอการรา งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ถาวร แตถูกใชเ ปนเวลายาวนานรวม ถึง 9 ป 4 เดอื น 20 วัน จนกระทั่งถูกยกเลิกอยา ง “สนั ต”ิ เม่อื สภารางรัฐธรรมนูญ รางรัฐธรรมนูญฉบับ ถาวรแลวเสร็จ และประกาศบังคบั ใชเปนรฐั ธรรมนูญฉบับใหม เมื่อวันท2ี่ 0 มถิ นุ ายน 2511 8. รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2511 ประกาศใช เมอ่ื วนั ท่ี 20 มิถนุ ายน 2511 มีท้งั หมด 183 มาตรา ถอื เปนรัฐธรรมนูญฉบบั ที่ 2 ของไทย ซง่ึ ถกู ยกรางโดยสภารางรัฐธรรมนูญ เปนรัฐธรรมนูญที่ใชเวลาในการยกรางจัดทํายาวนาน ทีส่ ดุ ถงึ 9 ปเ ศษ แตทวากลบั มีอายุการใชงานเพยี ง 3 ป 4 เดอื น 27 วัน กลาวคอื หลังจากใชบังคับได ไมน านนกั เพราะรฐั ธรรมนูญฉบับนี้ใชขาราชการประจํา เปนเคร่ืองมือรักษาเสถียรภาพของรัฐบาล โดยฝา ยวฒุ ิสภา ซง่ึ มอี าํ นาจท่สี าํ คญั เทา เทยี มกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ซึ่งมาจากการเลือกตั้งอีก ทง้ั รัฐธรรมนูญฉบบั ที่ 8 ยงั หามมใิ หส มาชิกผแู ทนราษฎร เปน รฐั มนตรใี นคณะเดียวกันดวย จึงเทากับ กีดกนั มใิ หผ ูแ ทนราษฎร ซ่งึ มาจากการเลอื กตงั้ เขามามสี วนรว มในการใชอํานาจบริหาร อันเปนความ ปรารถนาของนกั การเมอื งทกุ คน จึงสรา งความไมพอใจใหแ กผ แู ทนราษฎรเปน อยา งมาก ในขณะเดยี วกัน

97 เมอ่ื ปรากฏวา รฐั บาลไมส นบั สนุนจัดสรรงบประมาณแผนดนิ ใหแ กผ แู ทนราษฎรในรูปของงบประมาณ จังหวัด อันเปนขอเรียกรองของผูแทนราษฎร เพื่อพวกเขาจะไดเงินงบพัฒนาจังหวัดไปใช ใหเกิด ประโยชนใ นการเลอื กตั้งคร้งั ตอไป จึงทาํ ใหผแู ทนราษฎรรวมหัวกัน พยายามจะตัดเงินงบประมาณท่ี รฐั บาลเสนอขออนุมตั ิจากสภาทกุ ป ทําใหตองมกี ารเจรจาตอ รองกนั อยางหนักกวา จะตกลงกันไดดวย เหตุนี้รางพระราชบัญญัติงบประมาณของรัฐบาลจึงประกาศใชลาชาทุกป คณะทหารและบรรดา ขา ราชการประจําทไ่ี มช อบตอการบรหิ ารงานแบบประชาธิปไตย ดังน้ัน เม่ือวันท่ี 17 พฤศจิกายน 2514 รัฐธรรมนญู ฉบับที่ 8 กจ็ ึงถกู “ฉกี ทิง้ ” อกี คร้งั หนงึ่ โดยการทํารฐั ประหารตนเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร ซง่ึ เปนนายกรัฐมนตรี และผบู ญั ชาการสงู สดุ ในขณะนัน้ และก็ไดนาํ เอารัฐธรรมนูญฉบับท่ี 7 มาแกไข ปรับปรุงรายละเอียดใหมเ ลก็ นอย กอ นประกาศใชบ งั คับ 9. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศักราช 2515 ประกาศใช เมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2515 มีท้ังหมด 23 มาตรา รัฐธรรมนูญฉบับน้ี ได นาํ เอาอํานาจพเิ ศษของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 17 มาบัญญัติไวอีกดวย ขณะที่มีเวลาใชบังคับอยู เพยี ง 1 ป 9 เดอื น 22 วนั ตองถูกยกเลิกไป เมอื่ เกิดเหตุการณวันมหาวิปโยค เม่ือวันท่ี 14 ตุลาคม 2516 สบื เน่อื งจากการทม่ี ีกลุมบคุ คลไมพอใจทรี่ ฐั บาลของจอมพล ถนอม กิตติขจร ใชเวลารางรัฐธรรมนูญ ฉบับใหมนานเกินไปท้งั ๆ ที่เคยรางรัฐธรรมนูญมาคร้ังหน่ึงแลว กลุมดังกลาวประกอบดวย ผูนํานิสิต นักศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไป เร่มิ รณรงคเ รียกรอ งใหรฐั บาลประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหมโดยเร็ว ปรากฏวา รฐั บาลกลบั ตอบโตการเรยี กรองดงั กลา ว โดยการจบั กุมกลุมผเู รยี กรองรฐั ธรรมนญู จํานวน 13 คน โดยต้ังขอหาวาเปนการทําลายความสงบเรยี บรอยภายในประเทศ และมีการกระทําอันเปน คอมมิวนิสต รวมท้ังใชอํานาจตามมาตรา 17 แหงรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 9 ควบคุมผูตองหาดังกลาว ในระหวา งการสอบสวนโดยไมม กี ําหนด ทําใหศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย ตองออกมา เคล่ือนไหวใหรัฐบาลปลอยตัวผูตองหาทั้งหมด โดยไมมีเง่ือนไข และขอใหรัฐบาลประกาศใช รัฐธรรมนูญใหมภายใน 1 ป ดวย แตรัฐบาลไมยอมปฏิบัติตามขอเรียกรองนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน จึงไดเดินทางมาชุมนุมกัน ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํานวนเรือนแสน วันที่ 13 ตลุ าคม 2516 ในตอนบาย ๆ ฝงู ชนกไ็ ดเ ดินขบวนออกจากหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ผานถนนราชดําเนิน ไปชุมนุมอยูท่ีบริเวณพระบรมรูปทรงมา จนกระทั่งชวงเชามืดของ วันที่ 14 ตุลาคม 2516 กลุม ผูชมุ นมุ จํานวนหน่งึ ปะทะกับกองกําลังของเจาหนาท่ีตํารวจอยางรุนแรงท่ีขางพระตําหนักจิตรลดา เหตกุ ารณลกุ ลามใหญโ ต จนในทสี่ ดุ ก็นําไปสูก ารจลาจลครั้งสาํ คญั ในประวัตศิ าสตรไ ทยโดยมีผูเ สียชวี ติ นับรอย และบาดเจ็บอกี เปนจํานวนมาก ขณะที่สถานท่ีราชการตาง ๆ อันเปนสัญลักษณของอํานาจ เผด็จการก็ไดถกู ประชาชนเผาทาํ ลายไปหลายแหง ดวยเชน กัน

98 10. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2517 ประกาศใช เม่ือวนั ที่ 7 ตลุ าคม 2517 มีบทบัญญตั ิรวมท้ังสิ้น 238 มาตราเปนรัฐธรรมนูญ ฉบับหน่ึงท่ไี ดช ่ือวา เปน ประชาธปิ ไตยมากท่ีสดุ เพราะวามีบทบญั ญตั ิทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปในทางกา วหนา และเปนแบบเสรีนยิ มมากข้นึ ในหลายเรื่องดวยกัน เริม่ ตน ในหมวด 1 บททวั่ ไป ไดมีบทบญั ญัติหามมิใหมี การนริ โทษกรรมแกผ กู ระทําการลมลางสถาบันกษตั รยิ  หรอื รฐั ธรรมนูญ และหมวด 2 พระมหากษัตริย ไดบ ัญญัตขิ ึน้ เปน ครง้ั แรกวา ในการสืบราชสนั ตติวงศ น้ัน ในกรณีที่ไมมีพระราชโอรส รัฐสภาอาจให ความเห็นชอบในการใหพระราชธิดาสืบราชสันตติวงศได นอกจากน้ัน ยังมีบทบัญญัติอันเปนการเพ่ิม หลกั ประกันในเรื่อง สิทธิ เสรภี าพ และประโยชนข องประชาชนไวมากกวารัฐธรรมนูญทุกฉบับท่ีผาน ๆ มา กอนหนา น้ัน รฐั ธรรมนญู ฉบบั น้ไี ดร บั การแกไ ขเพม่ิ เตมิ 1 ครง้ั เม่ือ พ.ศ. 2518 ในเรื่อง การรับสนอง พระบรมราชโองการ แตงตั้งวุฒิสมาชิกจากเดิมใหประธานองคมนตรี เปนผูรับสนองพระบรมราช- โองการ เปลี่ยนมาเปนนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญฉบับน้ี มีการแกไขเพิ่มเติมเพียงครั้งเดียวและมี ระยะเวลาการใชเ พยี ง 2 ป ก็ถูก “ฉกี ทิง้ ” โดยประกาศของ “คณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน” ซึ่งมี พล.ร.อ. สงัด ชลออยู ผูบัญชาการทหารสูงสุดและผูบัญชาการทหารเรือ เปนหัวหนาคณะปฏิรูป เมอ่ื วันที่ 6 ตุลาคม 2519 11. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2519 หลังจากปฏิวตั ลิ ม รฐั บาลอันเนอ่ื งมาจากเหตกุ ารณนองเลอื ด เมอื่ วันที่ 6 ตลุ าคม 2519 แลว คณะปฏิวตั ิกไ็ ดแ ตง ตง้ั นายธานนิ ทร กรัยวิเชียร ขนึ้ เปน นายกรฐั มนตรีพรอ ม ๆ กับประกาศใชร ฐั ธรรมนูญ แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2519 ซง่ึ เปน รัฐธรรมนูญฉบับที่ 11 เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2519 โดยมีบัญญัตเิ พียง 29 มาตราเทาน้ัน ตอมา เกิดการทํารัฐประหารของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ชดุ เดมิ ในชอ่ื ใหมวา “คณะปฏิวัติ” ในวันท่ี 20 ตุลาคม 2520 ซ่ึงมีหัวหนาคนเดิม คือ พล.ร.อ. สงัด ชลออยู ดงั น้นั อายกุ ารบังคบั ใชรฐั ธรรมนูญฉบับน้ี เพียงแค 1 ปเ ทาน้นั 12. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 รฐั ธรรมนญู ฉบับน้เี กิดจากการทาํ รัฐประหารของคณะปฏิวตั ิ เม่ือวันท่ี 20 ตุลาคม 2520 โดยคณะปฏิวัติ ใหเหตผุ ลในการปฏิวตั ิวา “เพราะภัยคกุ คามของคอมมิวนสิ ต” หลังจากยกเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับท่ี 11 แลว คณะปฏวิ ัติไดจดั ตง้ั คณะกรรมการยกรา งรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวขึ้น ตามหลักการที่ คณะปฏิวัตกิ าํ หนดไว จากน้ันคณะปฏิวัติ จึงไดประกาศใชธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2520 ในวนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2520 รัฐธรรมนูญฉบับน้ี มีบทบัญญัติ 32 มาตรา และถูกยกเลิก เมื่อวันท่ี 22 ธันวาคม 2521 เนื่องจากการประกาศใชธรรมนูญฉบับใหม คือ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 อันเปน รฐั ธรรมนญู ฉบบั ที่ 13 ของประเทศไทย

99 13. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2521 เปน ผลจากการรางของคณะกรรมาธิการรางรัฐธรรมนูญของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ตามขอกําหนดในธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 ซึ่งรางรัฐธรรมนูญใหมขึ้น เพ่ือใชแทนรัฐธรรมนูญเกา และสภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดใหความเห็นชอบแลว ประกาศใชเปน รัฐธรรมนูญตงั้ แต วนั ที่ 22 ธนั วาคม 2521 มที ้ังหมด 206 มาตรา สาระสาํ คัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ นบั วาเปน ประชาธิปไตยพอสมควร หากไมน บั บทบัญญัตเิ ฉพาะกาลทมี่ ีผลใชบังคับอยูในชวง 4 ปแรก ของการใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไดมีความพยายามทีจ่ ะแกไ ขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญฉบับน้อี ยหู ลายครั้ง ซึ่ง ครั้งสุดทายก็ประสบความสําเร็จ เมื่อป พ.ศ. 2528 วาดวย เรื่อง ระบบการเลือกตั้ง โดยแกไขจาก แบบรวมเขตรวมเบอร หรือคณะเบอรเดียว มาเปนการเลือกตั้งแบบผสม เขตละไมเกิน 3 คน การ แกไ ขเพม่ิ เตมิ ครง้ั นี้ ถือวา เปนการแกไ ขเพม่ิ เติมคร้งั ที่ 1 ขณะท่ีการแกไขเพิ่มเติมอีกคร้ัง คือ คร้ังที่ 2 น้นั เกิดขน้ึ ในป พ.ศ. 2532 เก่ยี วกับเรอ่ื งประธานรฐั สภา โดยแกไ ขใหป ระธานสภาผูแทนราษฎรดํารง ตาํ แหนง เปน ประธานรฐั สภา รัฐธรรมนูญ ฉบบั ที่ 13 ไดใชบงั คับเปนเวลาคอนขางยาวนานถึง 12 ปเศษ แตก ถ็ กู “ยกเลกิ ” โดยคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (ร.ส.ช.) ภายใตการนาํ ของ พลเอก สุนทร คงสมพงษ ไดเขา ทาํ การยดึ อํานาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี พลเอก ชาติชาย ชุณหะวณั เมือ่ วันที่ 23 กมุ ภาพนั ธ 2534 14. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศกั ราช 2534 ภายหลงั จากท่คี ณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (ร.ส.ช.) ไดทําการยึดอํานาจแลว ก็กําหนดใหร ัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521 และวฒุ สิ ภาสภาผแู ทนราษฎร คณะรัฐมนตรี สิ้นสุดลง โดยชแี้ จงถึงเหตุผลและความจาํ เปน ของการเขายดึ และควบคมุ อํานาจในการปกครองประเทศ โดยกลาวหารัฐบาล และผูบริหารประเทศวา “มีพฤตกิ ารณการฉอราษฎรบังหลวง ขาราชการการเมือง ใชอาํ นาจกดข่ี ขม เหง ขา ราชการประจาํ ผซู ่ือสตั ยสจุ รติ รฐั บาลเปนเผดจ็ การทางรัฐสภา การทําลาย สถาบนั การทหาร และการบดิ เบือนคดลี ม ลา งสถาบันกษัตริย” ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ประกาศเมื่อวนั ท่ี 1 มนี าคม 2534 มีทงั้ หมด 33 มาตรา มีระยะเวลาการใชบังคับ 9 เดือน 8 วัน กถ็ ูกยกเลกิ ไป จากผลการประกาศใชรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2534 เมอ่ื วนั ที่ 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2534 15. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2534 มกั จะถกู เรียกขานกันวาเปน “รัฐธรรมนญู ฉบับ ร.ส.ช.” เพราะเปนผลงานการยกราง และจัดทาํ ของสภานติ ิบัญญตั แิ หง ชาติ อนั ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 292 คน ซึ่งพระมหากษัตริย ทรงแตง ต้ังตามคาํ กราบบงั คมทูลของประธานสภารกั ษาความสงบเรยี บรอยแหง ชาติ ประกาศใช เม่ือ วันท่ี 9 ธันวาคม 2534 มีท้ังหมด 233 มาตรา ในการรางรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 15 น้ี มีประเด็นปญหา ทางกฎหมายรฐั ธรรมนูญหลายประเด็น อันกอ ใหเ กดิ ความขัดแยงทางความคิดระหวางคณะกรรมาธิการ

100 พจิ ารณารา งรฐั ธรรมนูญของสภานิติบญั ญตั แิ หง ชาติกบั สาธารณชนโดยทวั่ ไป โดยเฉพาะประเดน็ เร่ืองวา นายกรัฐมนตรีตองเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เพราะประชาชนตางเขาใจกันดีวา การกําหนดให บุคคลภายนอกเขามาเปนนายกรัฐมนตรีไดนั้น เทากับวาเปนการเปดโอกาสใหมีการสืบทอดอํานาจ ใหกบั คณะ ร.ส.ช. ออกไปไดอกี ในท่สี ดุ เมอื่ รฐั ธรรมนูญน้ีมผี ลบังคับใช บทบญั ญัตมิ าตรา159 ก็ไดเปด โอกาสใหเชิญบุคคลภายนอกมาเปนนายกรัฐมนตรีได และหลังจากที่มีการเลือกตั้งท่ัวไปตาม รัฐธรรมนญู นี้ เนอ่ื งดว ยปญ หาบางประการ ทําใหพ รรคการเมอื งท่ีไดเ สยี งขา งมาก ในฐานะพรรคแกนนํา ในการจัดต้ังรัฐบาล ไดเชญิ นายทหารใน คณะ ร.ส.ช. คือ พลเอก สุจินดา คราประยูร ใหมาเปน นายกรฐั มนตรี พรอมกับเหตุผลทว่ี า “เสียสัตย เพอ่ื ชาติ” ซ่ึงนับวาเปนการทวนกระแสกับความรูสึก ของประชาชนไมนอ ย เพือ่ ท่จี ะควบคุมสถานการณเอาไว รัฐบาลก็เลยออกคําสั่งใหทหารและตํารวจ เขาสลายการชุมนุมของกลุมประชาชน ซ่งึ รวมตัวกนั ประทวงอยทู บี่ รเิ วณอนุสาวรยี ประชาธิปไตยและ ถนนราชดําเนิน ในชวงระหวางวันท่ี 17 ถึง 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 แตทวากลับเปนการนําสู เหตกุ ารณนองเลอื ดทเี่ รยี กกนั วา เหตกุ ารณพ ฤษภาทมฬิ ในท่ีสดุ ซง่ึ ตอ มาสถานการณต าง ๆ ก็บบี รัดจน ทําใหพลเอก สุจินดา คราประยูร ตองลาออก จากตําแหนงนายกรัฐมนตรีไปอยางจํายอม รัฐบาล ช่วั คราวภายหลังเหตุการณดังกลาว และบรรดาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในขณะน้ัน ไดดําเนินการ แกไขวิกฤตการณ อนั สืบเน่อื งมาจากรัฐธรรมนูญโดยเสนอใหมีการแกไขรัฐธรรมนูญรวม 4 ฉบับ ซ่ึง นับวา เปน ความสําเรจ็ ครงั้ แรกทสี่ มาชิกสภาผแู ทนราษฎรไดแสดงเจตนาเปนอันหน่งึ อันเดยี วกนั ในการ แกไขรัฐธรรมนูญไปสูความเปนประชาธิปไตยใหมากย่ิงข้ึน แตทวาความสําเร็จในคร้ังน้ีก็เปนผล สบื เนื่องมาจากการสญู เสยี ครง้ั สําคัญอีกครั้งหนึ่งของการเมืองไทย เพราะรัฐธรรมนูญฉบับที่ 15 มี ระยะเวลาใชบังคับ รวมทั้งสิ้น 5 ป10 เดือน 2 วันไดถูก “ยกเลิก” เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 โดย การประกาศใชร ัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 16. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ประกาศใช เม่อื วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 มีท้งั หมด 336 มาตรา รฐั ธรรมนูญฉบบั ที่ 16 นี้ ถือเปนรัฐธรรมนูญที่ริเร่ิมข้ึนโดย พรรคชาติไทยมี นายบรรหาร ศิลปะอาชา เปนนายกรัฐมนตรี ในขณะนัน้ ไดแตงตั้งคณะกรรมการปฏริ ูปการเมืองเขา มาดําเนนิ งาน และไดแ ตง ตงั้ คณะกรรมาธิการ- วสิ ามัญ พจิ ารณารางรัฐธรรมนูญขึ้นมา และมกี ารเลือกต้ังสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญจํานวน 99 คน โดย 76 คน เปนตัวแทนของแตละจังหวัด และอกี 23 คน มาจากผูเ ชีย่ วชาญหรอื ผูมีประสบการณ ซง่ึ ถอื วาเปนรฐั ธรรมนญู ทมี่ าจากการเลอื กตั้งฉบับเดยี วของประเทศไทย โดยกอ นหนา น้ี 15 ฉบับ มาจาก คณะรฐั มนตรีท่ีมาจากการแตงตั้งหรือรัฐบาลทหาร เจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 16 คือ การ ปฏริ ูปการเมือง โดยมีเปาหมาย 3 ประการ คือ

101 1) ขยายสทิ ธิ เสรภี าพ และสว นรวมของพลเมือง 2) การเพิม่ การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ โดยประชาชน เพื่อใหเกิดความ สจุ ริต และโปรงใสในระบอบการเมอื ง 3) การทาํ ใหระบบการเมอื งมเี สถยี รภาพ และประสิทธภิ าพ รัฐธรรมนูญฉบับที่ 16 ไดสิ้นสุดลงดวยการรัฐประหาร เมื่อวันท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2549 สมยั พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี โดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข นําโดย พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการ- ทหารบก ไดออกประกาศรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ทั้งนี้ คณะปฏิรูปฯ ไดออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2549 ไวภ ายหลัง 17. รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช 2549 ประกาศใช เมอื่ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2549 มีท้งั หมด 39 มาตรา เปนรัฐธรรมนูญฉบับ ช่ัวคราวที่หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ เปนผูส นองพระบรมราชโองการ หลังจากท่ีไดกระทําการรัฐประหารเปนผลสําเร็จ เมื่อวันท่ี 19 กนั ยายน พ.ศ. 2549 สิ้นสุดลง เม่ือมีการประกาศใชแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เม่ือวนั ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 18. รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 ประกาศใช เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 มีทั้งหมด 309 มาตรา ดําเนินการยกราง โดยสภารางรัฐธรรมนูญ (สสร.) ระหวาง พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550 ภายหลังการรัฐประหารในประเทศ โดยคณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข (คปค.) เมอ่ื วันท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 เปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกท่ีเมื่อรางเสร็จ และ ไดรบั ความเหน็ ชอบฝา ยนติ ิบัญญัตแิ ลว ไดมกี ารเผยแพรใ หป ระชาชนทราบ และจดั ใหม ีการลงประชามติ เพ่ือขอความเห็นชอบ หรือไมเห็นชอบ ในการรางรัฐธรรมนูญจากประชาชนทั้งประเทศ เม่ือวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ผลปรากฏวา มผี ลู งมติเห็นชอบ รอยละ 57.81 และไมเห็นชอบ รอยละ 42.19 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ยังคงมีผลบังคับใชในปจจุบัน ทามกลางเสียง เรียกรอ งใหมกี ารแกไข แตต กลงกนั ไมไดวา จะแกไขประเดน็ ใดบาง ซ่ึงเปนเร่ืองที่ตองรอดูกันตอไปวาจะ เปน อยา งไร จากความเปน มาของรฐั ธรรมนญู ท้งั 18 ฉบับ เม่อื ศกึ ษาใหดี จะพบวา มีท่ีมาใน 2 ลกั ษณะ คือ 1. มงุ ใชเปนการถาวร มักใชชอื่ วา “รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั ร” 2. มุงใชบ ังคบั เปนการชว่ั คราว มักใชช ื่อวา “ธรรมนูญการปกครอง”

102 รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวบางฉบับ ใชบังคับเปนเวลานาน เชน ธรรมนูญการปกครอง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2502 ซ่ึงเกดิ ข้นึ โดยการทํารฐั ประหารของจอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต ใชบ งั คบั เปนเวลา 9 ปเศษ แตรัฐธรรมนูญฉบับใชบังคับในระยะส้ัน ๆ เพราะเปนรัฐธรรมนูญท่ีมีหลักการ สอดคลอ งกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แตไ มสอดคลอ งกับโครงสรางอํานาจทางการเมือง ของประชาชนอยางแทจริง ทวาตกอยูในมือของกลุมขาราชการประจําโดยเฉพาะอยางย่ิง คณะนายทหารระดับสูง ดวยเหตุน้ีรัฐธรรมนูญที่มุงจะใชบังคับเปนการถาวร จึงมักจะถูกยกเลิกโดย การทํารฐั ประหารโดยคณะผนู าํ ทางทหาร เมอ่ื คณะรฐั ประหารซึ่งมชี ่ือเรียกแตกตางกันไป เชน คณะปฏิวัติ คณะปฏิรปู หรือคณะรกั ษาความสงบเรยี บรอย ยดึ อํานาจไดสาํ เร็จ ที่จะประกาศใชรัฐธรรมนูญ ที่มุง จะใชบ ังคบั เปน การถาวร แลวก็จะมีการเลือกต้ัง และตามดวยการจัดต้ังรฐั บาลใหมตามวิถีทางของ รัฐธรรมนูญฉบบั ถาวร แลวก็ประกาศใชรฐั ธรรมนูญฉบับชั่วคราว พรอ มทงั้ จัดใหม ีการรา งรฐั ธรรมนูญ ฉบับถาวรใหมอีกครั้ง มีการรางแลวรางอีกหมุนเวียนเปนวงจรการเมืองของรัฐบาลไทยมาอยาง ตอเนอื่ งเปนเวลานานนบั หลายสบิ ป นบั ต้งั แตเ ปลีย่ นแปลงการปกครอง เม่ือ พ.ศ. 2475 เปนตน มา แมจ ะเกิดกรณี 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซง่ึ เปนเหตุการณท ี่ประชาชนเขา รวมเรียกรองรัฐธรรมนูญ ทีเ่ ปนประชาธิปไตยมากทีส่ ดุ เปน ประวตั ิการณ หลังจาก จอมพล ถนอม กิตติขจร ทํารัฐประหารรฐั บาล ของตนเอง เพราะขณะทํารัฐประหารยึดอํานาจการปกครองนั้น จอมพล ถนอม กิตติขจร ดํารง ตาํ แหนง เปน นายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 และเมื่อมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ ชั่วคราว พรอมกับเตรียมรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ตามวงจรการเมืองของไทยท่ีเคยเปนมา ก็เกิด กระบวนการเรียกรอ งรฐั ธรรมนูญจนนาํ ไปสูเ หตกุ ารณน องเลือด เมือ่ วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จน ทาํ ให จอมพล ถนอม กติ ติขจร ตอ งลาออกจากตาํ แหนง นายกรฐั มนตรี และเดินทางออกนอกประเทศไทย และแมตอ มาจะมกี ารรา งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 ท่เี ปนรัฐธรรมนญู ซง่ึ มีหลักการที่เปนประชาธิปไตย มากฉบับหน่งึ แตในท่สี ดุ ก็มกี ารทํารฐั ประหารอีก และก็เกิดเหตุการณนองเลือด เม่ือวันท่ี 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ทาํ ใหวงจรการเมืองไทยหมุนกลับไปสูวงจรเดิม คือ รัฐประหาร ประกาศใชรัฐธรรมนูญ ฉบบั ชวั่ คราว รา งรฐั ธรรมนญู ฉบับถาวร จัดใหม ีการเลือกต้ังจัดต้ังรัฐบาล ตามรัฐธรรมนูญฉบับถาวร และทํารัฐประหาร ยกเลิกรัฐธรรมนญู ฉบบั ถาวร ซํ้าซากวนเวียนอยใู นวงั วนตอไปไมจบไมส ้นิ ดวยเหตุนี้กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของไทยที่ผานมา จึงมีสภาพชะงักงัน ในขัน้ ตอนของการพฒั นาไปสูเ ปา หมายอุดมการณประชาธปิ ไตยตลอดมา วัฏจกั รของความไมตอเนอ่ื ง ดงั กลา วขา งตนมสี ภาพเปนวงจร ดงั ภาพ

103 จนกระทงั่ เกดิ กระบวนการปฏริ ูปการเมือง เพื่อแกไขปญ หาของระบบการเมืองไทยท้ังระบบ หลงั การรัฐประหาร เม่ือ พ.ศ. 2534 และเกิดเหตุการณนองเลือดอีกครั้งหนึ่ง เมื่อ เดือน พฤษภาคม 2535 ในทส่ี ุดกระบวนการปฏิรปู การเมืองกไ็ ดน าํ ไปสูการรา งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ซ่งึ ถอื วา เปน รัฐธรรมนูญ ฉบบั ประชาชน ซง่ึ ใชม าจนถึงเหตุการณการปฏิรูปการปกครองในป พ.ศ. 2549 และนําไปสูการราง รัฐธรรมนญู พ.ศ. 2550 และจดั ใหมีการลงประชามตริ ับรางรัฐธรรมนญู เปนคร้ังแรกของประเทศไทย และใชมาจนถึงปจ จุบัน 1.2 หลกั การและเจตนารมณ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย จากการศึกษาความเปนมาของรัฐธรรมนูญนั้น พบวา มีความสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลง การปกครองมาต้งั แตป พ.ศ. 2475 และไมวาจะเกดิ การปฏวิ ตั ริ ฐั ประหารก่ีคร้ังก็ตาม กระแสการเรียกรอง ใหมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และเรียกรองใหรัฐธรรมนูญมีความเปนประชาธิปไตยก็ เกิดขึ้นอยางตอเน่ือง และมีวิวัฒนาการมาตามลําดับ หากศึกษาถึงมูลเหตุของการเรียกรองใหมี การเปลี่ยนแปลงการปกครองและประกาศใชรัฐธรรมนูญในประเทศไทยน้ัน พบวา การประกาศใช รัฐธรรมนูญ มเี ปา หมายสําคัญอยา งนอย 2 ประการ คือ

104 1. เปน หลักประกันในเรอื่ งสิทธิ และเสรภี าพ ของประชาชน ซงึ่ ผปู กครองจะละเมดิ มิได 2. เปน บทบัญญัติท่กี ลาวถึงขอบเขต อาํ นาจหนา ที่ ของผปู กครอง และปองกนั มใิ หผปู กครอง ใชอาํ นาจตามอําเภอใจ ดังนั้น ในการประกาศใชรัฐธรรมนูญแตละฉบับ คณะผูยกรางจึงไดเขียนหลักการและ เจตนารมณใ นการจัดทาํ ไวท กุ ครงั้ ซ่งึ หลกั การ และเจตนารมณทคี่ ณะผยู กรา งเขียนไว นั้น ชวยใหคน รุนหลังไดม คี วามรู ความเขา ใจ ในเนอ้ื หาท่ีมาของรัฐธรรมนญู แตละฉบบั วา มมี าอยางไร รวมท้งั สภาพ สังคมในชว งเวลาน้นั ดว ย ซ่ึงในที่นี้จะขอยกตัวอยางหลกั การและเจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบับแรก คือ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475” และรัฐธรรมนูญ ฉบบั ท่ี 18 คือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 ดงั นี้ 1. หลักการและเจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบบั แรก คอื “พระราชบญั ญตั ิธรรมนูญการปกครอง แผน ดินสยามชัว่ คราว พทุ ธศักราช 2475” สรปุ สาระสําคญั คือ 1) ประกาศวา อาํ นาจสูงสุดของประเทศเปนของราษฎร (มาตรา 1) ซ่ึงแสดงถึงการ เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย มาเปน ระบอบประชาธปิ ไตย 2) พระมหากษัตริยเปนประมุขของประเทศ กิจการสําคัญของรัฐ ทําในนามของ พระมหากษัตริย 3) เปนการปกครองแบบสมัชชาโดยกําหนดใหคณะกรรมการราษฎรซึ่งมีจํานวน 15 คน ทาํ หนา ทบ่ี ริหารราชการแผนดนิ ดําเนนิ การใหเปนไปตามวัตถปุ ระสงคของสภาผูแทนราษฎร 4) เร่มิ มีรัฐสภาขึ้นเปนครั้งแรก โดยกําหนดใหเปนสภาเดียว คือ สภาผูแทนราษฎร ซ่งึ มอี ํานาจสูงสุดกลา ว คือ - ตรากฎหมาย - ควบคุมดแู ลราชการกิจการของประเทศ - มีอํานาจ ถอดถอน หรือสามารถ ปลดกรรมการราษฎร และขาราชการ ทกุ ระดับช้ันได โดยคณะกรรมการราษฎรไมม ีอาํ นาจท่จี ะยุบสภาผแู ทนราษฎร - วินิจฉยั การกระทําของพระมหากษตั รยิ  5) รัฐธรรมนญู ฉบบั นี้ ไดก ําหนดอายุของผูมีสิทธิออกเสยี งเลือกตงั้ และผมู สี ทิ ธสิ มคั ร รบั เลือกตง้ั ไว 20 ปบริบรู ณเ ทากนั สวนวิธีการเลือกต้ังเปนการเลือกต้ังทางออม คือ ใหราษฎรเลือก ผแู ทนตาํ บล และผูแ ทนตําบล กเ็ ลือกสมาชกิ สภาผูแ ทนราษฎร อีกทอดหนึ่ง 6) ศาล มีอํานาจพจิ ารณา พิพากษาคดี ตามกฎหมาย แตไมม ีหลกั ประกันความอสิ ระ ของผูพพิ ากษา

105 2. หลักการและเจตนารมณข องรฐั ธรรมนญู ฉบับท่ี 18 คอื รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สรุปสาระสําคญั ได ดงั นี้ 1) คมุ ครอง สงเสรมิ ขยาย สิทธิ และเสรภี าพ ของประชาชนอยางเตม็ ที่ 2) ลดการผูกขาดอํานาจรฐั และเพ่มิ อํานาจประชาชน 3) การเมอื ง มคี วามโปรง ใส มคี ุณธรรม และจริยธรรม 4) ทาํ ใหองคก รตรวจสอบ มีความอิสระเขม แขง็ และทาํ งานอยางมีประสิทธภิ าพ

106 เรือ่ งที่ 2 โครงสรา งและสาระสําคญั ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย โครงสรางและสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญทั้ง 18 ฉบับ มีวิวัฒนาการมาเปนลําดับจาก การศึกษาพบวา มีโครงสรา งและสาระสําคัญท่บี ัญญตั ไิ ว ดงั น้ี 1) ประมุขแหง รฐั สวนนีจ้ ะระบถุ งึ องคพระมหากษัตริย และพระราชอํานาจ ของพระองค การ แตง ตง้ั ผูสาํ เรจ็ ราชการ และการสืบราชสนั ตตวิ งศ 2) ระบอบการปกครอง สว นนจ้ี ะระบุรปู แบบของรฐั และลักษณะการปกครองไว กลาวคือ ประเทศไทยเปนรัฐเด่ียว และมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข 3) สทิ ธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และหนา ที่ สวนนร้ี ฐั ธรรมนญู ระบไุ ว โดยในสว นของสิทธิ เชน สิทธิในการศึกษา สิทธใิ นการรักษาพยาบาล เปนตน ในสว นของความเสมอภาค เชน การไมเลอื ก ปฏบิ ตั อิ นั เน่ืองมาจากเชื้อชาติ สผี วิ รายได และสภาพรางกาย เปน ตน ในสวนของหนา ที่ เชน ประชาชน มีหนา ทต่ี อ งไปเลือกตง้ั มีหนา ท่ตี องเสียภาษี และมหี นาท่ตี อ งรกั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  เปนตน 4) แนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐ สวนน้ีจะระบุ แนวนโยบาย ท่ีจะทําใหประเทศมีความม่ันคง มีความเจริญเติบโต มีสันติสุข และประชาชน มีมาตรฐานการครองชีพ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี เชน การรกั ษาธรรมชาติ การสรา งความเขมแขง็ ของชุมชน การกระจายรายไดท เ่ี ปน ธรรม เปน ตน 5) อํานาจอธิปไตย สวนนี้จะกําหนด สถาบันที่ใชอํานาจอธิปไตย ไดแก ฝายบริหาร ฝายนิติ- บญั ญัติ และฝายตลุ าการ รวมถึงความสมั พนั ธระหวา งสถาบันทัง้ สามสถาบนั 6) การตรวจสอบการใชอ ํานาจรฐั สว นนีจ้ ะระบุ กลไกที่ใชสาํ หรับตรวจสอบการทํางานของ รัฐ เพอ่ื ใหเ กดิ ความโปรง ใส และความบริสุทธยิ์ ตุ ิธรรม เชน ศาลรฐั ธรรมนญู คณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ คณะกรรมการการเลือกต้งั เปนตน รฐั ธรรมนญู แตละฉบบั จะกําหนดโครงสรา ง และสาระสําคัญแตกตางกันไป การจะตัดหรือ เพิ่มเรื่องใดเขา ไปในรฐั ธรรมนูญ เปนเร่อื งของความจําเปนในขณะน้นั ๆ ซึ่งผเู รยี นไมตองยึดถอื ตายตวั เพราะสงิ่ เหลาน้ี เปน ความเหมาะสมของสถานการณในแตละยคุ สมัย โดยจะตองพิจารณาบริบทของ สภาพสงั คมโดยรวมของทง้ั ประเทศ และสถานการณของโลกประกอบดว ย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แบงโครงสรางออกเปน 15 หมวด ดังนี้ หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย

107 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หมวด 4 หนาที่ของชนชาวไทย หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหง รฐั หมวด 6 รัฐสภา หมวด 7 การมสี วนรวมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน หมวด 8 การเงินการคลังและงบประมาณ หมวด 9 คณะรัฐมนตรี หมวด 10 ศาล หมวด 11 องคก รตามรฐั ธรรมนญู หมวด 12 การตรวจสอบการใชอ าํ นาจรัฐ หมวด 13 จริยธรรมของผูดาํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง หมวด 14 และเจาหนา ที่ของรัฐ หมวด 15 การปกครองสวนทองถ่นิ บทเฉพาะกาล การแกไขเพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนญู เพ่อื ใหมีความรูความเขาใจเพิม่ มากข้นึ ผเู รยี นสามารถศกึ ษารายละเอียดของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2550 เพ่ิมเติมได

108 เร่อื งที่ 3 จดุ เดน ของรัฐธรรมนูญท่เี กีย่ วกบั สิทธิเสรีภาพและหนาทข่ี องประชาชน สทิ ธแิ ละเสรภี าพ เปน รากฐานสําคญั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย การที่จะรูวา การปกครองของประเทศใดมีความเปนประชาธิปไตยไดมากนอยเพียงใด ตองดูที่สิทธิเสรีภาพของ ประชาชนในประเทศน้นั ๆ เปนสาํ คัญ ถา ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก ความเปนประชาธิปไตยของ ประเทศนั้นก็มีมาก หากสิทธิเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัด หรือถูกลิดรอน โดยผูมีอํานาจในการ ปกครอง ประชาธิปไตยก็จะมีไมได ดวยเหตุนี้กฎหมายรัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับ จึงไดบัญญัติ คุมครอง สิทธิ เสรีภาพ ของประชาชนไว และมีการบัญญัติเพิ่มและชัดเจนขึ้นเร่ือย ๆ จนถึง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซ่ึงเปนรัฐธรรมนูญที่ยังคงมีผลบังคับใชใน ปจจบุ นั ไดบ ญั ญตั ิไวเรื่อง สิทธิ และเสรีภาพ ของประชาชน ไวอยา งชดั เจน และเปนหมวดหมปู รากฏอยู ในหมวดที่ 3 ดังน้ี สว นที่ 1 บททั่วไป สวนท่ี 2 ความเสมอภาค สวนท่ี 3 สิทธแิ ละเสรีภาพสว นบคุ คล สวนท่ี 4 สทิ ธใิ นกระบวนการยตุ ิธรรม สวนที่ 5 สทิ ธใิ นทรพั ยสนิ สว นท่ี 6 สทิ ธิและเสรภี าพในการประกอบอาชีพ สว นท่ี 7 เสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ ของบคุ คลและสอ่ื มวลชน สวนที่ 8 สทิ ธแิ ละเสรภี าพในการศึกษา สวนที่ 9 สทิ ธิในการไดร ับบริการสาธารณสขุ และสวัสดกิ ารจากรัฐ สวนท่ี 10 สทิ ธใิ นขอมลู ขา วสารและการรองเรยี น สวนที่ 11 เสรีภาพในการชุมนมุ และสมาคม สวนท่ี 12 สิทธิชมุ ชน สว นที่ 13 สทิ ธพิ ทิ กั ษรฐั ธรรมนญู ผูเรียนสามารถศึกษารายละเอียดของ สิทธิ และเสรีภาพ ไดในเอกสารรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 หมวด 3

109 นอกจากจะบัญญตั ิ สิทธิ และเสรีภาพของประชาชนไวแลว รัฐธรรมนูญกย็ งั ไดบัญญัติหนาที่ ของประชาชนไว เชนกัน ดังตัวอยาง หนาท่ีของประชาชนชาวไทยในหมวด 4 ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ซ่ึงบัญญัตไิ ว ดงั น้ี 1. บคุ คล มหี นาทพี่ ิทักษ รกั ษาไวซ ่งึ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  และการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข ตามรฐั ธรรมนูญน้ี (มาตรา 70) 2. บุคคล มีหนาท่ีปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย (มาตรา 71) 3. บคุ คล มหี นาทไ่ี ปใชสทิ ธเิ ลือกตั้ง บุคคลซึ่งไปใชสิทธิหรือไมไปใชสิทธิ โดยไมแจง เหตุอัน สมควรทท่ี ําใหไ มอาจไปใชสิทธไิ ด ยอมไดรับสิทธิ หรือเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ การแจงเหตุที่ ทําใหไมอาจไปเลือกต้ัง และการอํานวยความสะดวกในการไปเลือกต้ัง ใหเปนไปตามท่ีกฎหมาย บัญญตั ิ (มาตรา 72) 4. บุคคล มีหนาที่รับราชการทหาร ชวยเหลอื ในการปอ งกัน และบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสยี ภาษีอากร ชวยเหลือราชการ รบั การศึกษา อบรม พทิ กั ษ ปกปอ ง และสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมของ ชาติและภูมิปญญาทองถ่ิน และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ท้ังน้ีตามท่ีกฎหมาย บญั ญัติ (มาตรา 73) 5. บคุ คล ผูเปนขาราชการพนักงาน ลูกจาง ของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจาหนาท่ีอื่นของรัฐ มีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความสะดวก และใหบริการแกประชาชน ตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการ บานเมอื งทด่ี ี ในการปฏิบัติหนาที่ และในการปฏิบัติการอื่นทีเ่ ก่ยี วของกบั ประชาชน บุคคล ตามวรรคหน่ึง ตองวางตนเปนกลางทางการเมือง (มาตรา 74)

110 กิจกรรมท่ี 10 1. เมื่อผูเรียนไดศ ึกษาความเปนมาของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย แลว ใหผ ูเ รยี นลําดบั ววิ ฒั นาการของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยตามระยะเวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากพระราชหัตถเลขาท่ที รงสละราชสมบัติของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงคาดหวงั วาประเทศไทย ควรจะมีรูปแบบการปกครองเปนอยางไร และปจจุบัน ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองตามท่ีพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงคาดหวงั ไวแลวหรือไม ถามี มใี นเรอ่ื งใดบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………............................................................................. 3. ใหผูเรียนวิเคราะหวิถีชีวิตของผูเรียนวามีเร่ืองใดบางในชีวิตของผูเรียนที่มีความ เก่ยี วของกับบทบัญญตั ิในรัฐธรรมนญู ฉบบั ทใี่ ชอ ยูป จจุบัน และความเก่ียวของน้ันเปน สงิ่ ที่ผูเรยี นมคี วามพงึ พอใจแลวหรือไม ตอ งการใหม ีการเปล่ียนแปลง อยา งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

111 4. หากผูเ รยี นจะนาํ หลกั การสาํ คญั ของระบอบประชาธิปไตยมาใชในครอบครัว ผูเรยี นจะ นาํ หลักการนั้นมาใช และมวี ิธีปฏบิ ัตอิ ยางไรกับสมาชกิ ในครอบครวั จงึ จะไดชื่อวาเปน ครอบครวั ประชาธิปไตยทมี่ องเหน็ และสมั ผัสไดอยางเปน รปู ธรรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… เร่อื งท่ี 4 หลักการสําคัญของประชาธิปไตยและคณุ ธรรม จริยธรรม คานิยม ในการอยรู ว มกันอยา ง สันติ สามัคคี ปรองดอง ความหมายและความสําคญั ของประชาธิปไตย ประชาธปิ ไตย เปน รูปไดท ง้ั แบบการปกครอง และวถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ซงึ่ ยดึ หลักของความเสมอภาค เสรีภาพและศักดศ์ิ รีแหง ความเปนมนษุ ย การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยถือวาทกุ คนมสี ิทธิเสรีภาพ เทา เทียมกันและอาํ นาจอธปิ ไตยตองมาจากปวงชน ระบอบประชาธปิ ไตย หมายถึง ระบอบการปกครองท่ีอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน ประชาชน มสี ิทธิ เสรภี าพ โดยอาศยั หลักการของการแบงแยกอํานาจ และหลักการที่วาดวยความถูกตองแหง กฎหมาย ผปู กครองประเทศท่มี าจากการเลือกตงั้ ของประชาชน เปนเพียงตัวแทนท่ีไดรับมอบอํานาจ ใหใชอ าํ นาจอธปิ ไตยแทนประชาชน

112 หลักการสาํ คญั ของระบอบประชาธปิ ไตยที่สาํ คญั 1. หลกั อํานาจอธปิ ไตย เปนของปวงชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเปนเจาของ โดยใชอ ํานาจที่ มีตามกระบวนการเลือกตั้งอยางอิสระและทั่วถึง ในการใหไดมาซึ่งตัวผูปกครอง และผูแทนของตน รวมทั้งประชาชนมอี าํ นาจในการคดั คาน และถอดถอนผปู กครอง และผูแทนที่ประชาชนเห็นวา มิได บรหิ ารประเทศ ในทางทเี่ ปน ประโยชนต อ สงั คมสวนรวม เชน มีพฤตกิ รรมรา่ํ รวยผดิ ปกติ อํานาจอธปิ ไตย หมายถึง อํานาจสูงสุดในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังน้ัน ส่ิงอื่นใดจะมี อํานาจยิ่งกวา หรือขัดตออํานาจอธิปไตยไมได อํานาจอธิปไตยยอมมีความแตกตางกันไปในแตละ ระบอบการปกครอง เชน ในระบอบประชาธิปไตย อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน กลาวคือ ประชาชน คือ ผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อํานาจ อธิปไตย เปน ของพระมหากษัตรยิ  คือ กษัตริย เปนผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เปนตน อน่งึ อํานาจอธปิ ไตยน้ี นับเปนองคประกอบสําคญั ที่สุดของความเปนรัฐ เพราะการท่ีจะเปนรัฐไดน้ัน นอกจากจะตองประกอบดวยอาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแลว ยอมตองมีอํานาจอธิปไตยดวย กลาวคือ ประเทศนั้นตองเปนประเทศท่ีสามารถมีอํานาจสูงสุด (อํานาจอธิปไตย) ในการปกครอง ตนเอง จึงจะสามารถ เรยี กวา “รฐั ” ได ในระบอบประชาธปิ ไตย อํานาจอธปิ ไตย เปนอาํ นาจสงู สุดในการปกครองประเทศ แบง ออกเปน 3 สว น ดงั น้ี 1) อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ เปนอํานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทํางานของ รัฐบาล เพื่อประโยชนข องประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใชอํานาจนี้โดยการเลือกตั้ง สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรไปทาํ หนาทแ่ี ทนในรฐั สภา 2) อํานาจบรหิ าร เปน อาํ นาจการบริหารราชการแผนดินและการปกครอง ซึ่งมี คณะรฐั มนตรีหรือรฐั บาลเปน ผใู ชอ าํ นาจ และรับผดิ ชอบในการบริหารราชการแผนดินใหเปนไปตาม นโยบายที่แถลงตอรัฐสภา

113 3) อํานาจตลุ าการ เปน อํานาจในการวินจิ ฉยั ตดั สินคดีความตามกฎหมาย โดยมี ศาลเปนผใู ชอํานาจ 2 หลกั สทิ ธเิ สรภี าพ ประชาชนทุกคน มคี วามสามารถในการกระทํา หรืองดเวนการกระทํา อยางใดอยางหนึ่งตามที่บุคคลตองการ ตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้น ไมไปละเมิดลิดรอนสิทธิ เสรภี าพของบคุ คลอื่น หรือละเมดิ ตอความสงบเรยี บรอยของสงั คม และความมน่ั คงของประเทศชาติ 3. หลักความเสมอภาค การเปดโอกาสใหประชาชนทุกคน สามารถเขาถึงทรัพยากรและ คณุ คาตา ง ๆ ของสังคมท่ีมอี ยจู ํากดั อยางเทา เทยี มกนั โดยไมถกู กดี กัน ดวยสาเหตุแหงความแตกตาง ทางชนั้ วรรณะทางสังคม ชาตพิ ันธุ วฒั นธรรม ความเปน อยู ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือดว ยสาเหตุอนื่ 4. หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เปนหลักการของรัฐท่ีมีการปกครองโดยกฎหมาย หรือ หลักนิติธรรม การใชหลักกฎหมายเปนกฎเกณฑการอยูรวมกัน เพ่ือความสงบสุขของสังคม การให ความคุมครองสิทธิขั้นพ้ืนฐานของประชาชน ทั้งในเรื่องสิทธิเสรีภาพในทรัพยสิน การแสดงออก การดํารงชพี ฯลฯ อยางเสมอหนากัน ผูปกครองไมสามารถใชอํานาจใด ๆ ลิดรอนเพิกถอนสิทธิ เสรีภาพ ของประชาชนได และไมสามารถใชอภสิ ิทธอิ ยเู หนือกฎหมาย หรอื เหนือกวา ประชาชนคนอื่น ๆ ได 5. หลักการเสียงขา งมาก ควบคไู ปกบั การเคารพในสทิ ธิของเสียงขางนอย การตัดสินใจใด ๆ ที่สงผลกระทบตอประชาชนหมูมาก ไมวาจะเปนการเลือกต้ังผูแทนของประชาชน เขาสูระบบ การเมือง การตัดสินใจของฝา ยนติ ิบญั ญัติ ฝา ยบริหาร หรอื ฝายตลุ าการ ยอมตอ งถอื เอาเสียงขางมาก ที่มีตอ เรื่องน้นั ๆ เปน เกณฑใ นการตัดสนิ ทางเลอื ก โดยถือวา เสยี งขา งมาก เปนตัวแทนทีส่ ะทอนความ ตองการ และขอเรียกรองของประชาชนหมูมาก หลักการนี้ ตอ งควบคูไปกับการเคารพ และคุมครอง สทิ ธเิ สียงขา งนอ ยดว ย ทงั้ นี้ก็ เพ่อื เปน หลักประกันวา ฝายเสียงขางมากจะไมใชวิธีการ พวกมากลากไป ตามผลประโยชน ความเห็นหรือกระแสความนิยมของพวกตนอยางสุดโตง แตตองดําเนินการ เพ่ือ ประโยชนค วามเหน็ ของประชาชนทั้งหมด เพ่ือสรางสงั คมท่ปี ระชาชนเสียงขางนอย รวมท้ังชนกลุมนอย ผูดอยโอกาสตาง ๆ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสขุ โดยไมมีการเอาเปรียบกันและสรางความ ขดั แยงในสังคม 6. หลกั เหตุผล เปน หลกั การใชเหตุผลทีถ่ กู ตอ ง ในการตัดสนิ หรอื ยตุ ปิ ญ หาในสังคม ในการอยู รว มกนั อยา งสนั ติ สามคั คี ปรองดอง ผคู นตอ งรูจ กั ยอมรบั ฟงความเห็นตาง และรับฟงเหตุผลของผอู ื่น ไมด อื้ ดึงในความคิดเห็นของตนเอง จนคนอน่ื มองเราเปนคนมมี ิจฉาทิฐิ 7. หลักประนปี ระนอม เปนการลดความขัดแยง โดยการผอนหนักผอนเบาใหกัน รวมมอื กัน เพ่ือเห็นแกประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญ เปนทางสายกลาง ซ่ึงท้ังสองฝายจะตองไดและเสียใน บางอยาง ไมไดครบตามท่ตี นปรารถนา จัดเปนวิธกี ารท่ที ําใหท กุ ฝา ย สามารถอยูรวมกันตอไปไดอยางสันติ วิธีการในการประนีประนอม อาจใชเทคนิคการเจรจาตอรอง การไกลเกลี่ย โดยผูบังคับบัญชา หรือ บุคคลทส่ี าม เปนตน

114 8. หลักการยอมรบั ความเห็นตา ง หลักการน้ี เพ่ือเปนการอยูรวมกันดวยความสันติ สามัคคี ปรองดอง ไมวาเสียงขางมากหรือเสียงขางนอย ตองทําใจยอมรับความเห็นตาง อันเปนการหลอมรวม หลกั ความเสมอภาค หลกั เสรีภาพ และหลักประนีประนอม โดยการเคารพและคมุ ครองสทิ ธิของผูอ ื่นดว ย ทง้ั น้กี ็เพื่อ เปนหลักประกนั วา ไมว า ฝายเสียงขางมากหรอื ฝา ยเสยี งขา งนอ ย เปนจะสามารถอยูรว มกนั ดวยความสันตสิ ามัคคี ปรองดอง ทุกฝายตอ งยอมรับความเห็นตาง รวมทั้งฝายเสียงขางมากเองก็จะ ไมใ ชว ิธกี าร พวกมากลากไป ตามผลประโยชนห รอื ความเห็น หรอื กระแสความนยิ มของพวกตนอยาง สดุ โตง ดงั ไดก ลา วไวแลวขา งตน แตตองดาํ เนินการเพื่อประโยชนของประชาชนท้ังหมดหรือทุกฝาย เพ่ือสรางสังคมที่ประชาชนเสียงขางนอย หรือประชาชนที่มีความเห็นตางจากฝายตน สามารถอยู รว มกันไดอ ยา งสนั ติ สามัคคี ปรองดอง โดยไมมกี ารเอาเปรยี บกัน และสรา งความขัดแยง ในสังคมมาก เกนิ ไป กลาวโดยสรปุ วิถีทางประชาธิปไตยอันมี หลกั การทส่ี ําคญั เชน หลกั การอํานาจอธิปไตย หลักสิทธเิ สรภี าพ หลกั ความเสมอภาค หลกั นติ ริ ัฐ และหลกั นติ ิธรรม หลักการเสยี งขา งมาก หลักเหตผุ ล หลกั ประนีประนอม หลักการยอมรับความเหน็ ตา ง ผูเ รียนจะตองศกึ ษา เพอื่ ใหมคี วามรู ความเขา ใจ และนํามาประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจาํ วนั เพ่ือการอยู รวมกันอยางสันติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา นิยมในการเสรมิ สรา งสันติ สามัคคี ปรองดองในสงั คมไทย ความหมาย การเสริมสรา งความปรองดองในสงั คมไทย การเสรมิ สรางความปรองดองในสังคมไทย หมายถงึ “การเพิ่มพูนใหด ีขนึ้ หรือมั่นคงยง่ิ ข้นึ ดวย ความพรอ มเพรียงกนั หรือ การเพ่มิ พูนใหด ีข้นึ ดวยการออมชอม ประนีประนอม ยอมกันไมแกงแยงกัน ตกลงดวยความไกลเ กลี่ย และตกลงกนั ดวยความมีไมตรีจิตของประชาชนคนไทย” คนไทยสวนใหญ ลวนมีความรักใครและสามัคคีกันอยูแลวในทุกถิ่น ดวยความมีจารีต วัฒนธรรม ประเพณี กับความมีศีลธรรมในสายเลือด และในจิตใจสืบทอดตอกันมา การขัดแยงทาง ความคิดในกลุมคน ยอมเกดิ มีไดบางเปนเรื่องธรรมดา แตถาหากการขัดแยงทางความคิด ไดรับการ ไกลเ กล่ยี ไดร บั ความรู ไดร บั ขาวสาร หรือไดร บั การอธิบายจนเกิดความรู ความเขาใจที่ถูกตอง การขัดแยง ทางความคิดเหลา น้นั ก็จะหมดไปได ไมก อ ใหเ กิดความแตกแยกสามัคคี ไมก อ ใหเกดิ ความรุนแรงใดใด ท้งั ทางวาจาและทางกาย เพราะคนไทย เปนชนชาติทร่ี ักสงบ รักพวกพอง และรักแผน ดนิ ถนิ่ เกดิ

115 ดังน้ัน ประชาชนควรมีความรู ความเขาใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบ ระเบียบ วิธีการทํางาน หรือกลวิธีของพรรคการเมือง และควรไดรับความรู มีความเขาใจ เกี่ยวกับกลวิธีใน การทุจริตคอรร ปั ช่ัน ประพฤตมิ ิชอบ การรับเงินสมนาคณุ หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกบั พรรคการเมอื ง และนักการเมืองทุกรูปแบบ รวมถึงความรู เกี่ยวกับกฎหมายท่ีสําคัญในชีวิตประจําวัน และอื่น ๆ เพอ่ื ใหป ระชาชนเกดิ การเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ กติกา หรือตามกฎหมาย ประชาชนทุกหมูเหลา ทุกสาขาอาชีพ ควรไดรับการพัฒนาทางดานจิตใจใหมีคุณธรรมทางศาสนา ใหเกิดมีความรู มีความเขาใจในหลักการหรือหลักคําสอนทางศาสนา อันจะเปนบรรทัดฐานหรือ เปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตามหนาท่ี แหงความเปนประชาชนชาวไทย เพื่อใหเกิดความมี ระเบยี บ มวี นิ ัย ทั้งความคิด ทง้ั จติ ใจ ในทุกดา น อนั จกั ทาํ ใหก ารขดั แยง ทางความคิดในทุกชุมชน ทุกสังคม ทุกหนว ยงาน ทกุ กลมุ บุคคล ลดนอยลงหรอื ไมม ี การขดั แยง ทางความคดิ ท่รี นุ แรงเกดิ ขึน้ น้ัน ยอ มแสดงให เห็นวา คนไทย ไดเสริมสรางความสามัคคี คือ ไดเพ่ิมพูนใหดีขึ้น หรือมั่นคงยิ่งขึ้น ดวยความพรอม- เพยี งกนั ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไมแกงแยงกัน ตามจารตี วัฒนธรรม ประเพณีตามหลักกฎหมาย ตามหลักศีลธรรมในศาสนา ซ่ึง “การเสริมสรางความสามัคคีของคนไทย” จะสําเร็จได ก็ดวยคนไทย รว มมอื รว มใจกนั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ เพือ่ ประเทศไทย และเพื่อคนไทย หลกั การเสริมสรา งความปรองดองในสงั คมไทย

116 การเสริมสรางความปรองดอง เปนกระบวนการท่ีชวยปองกัน หรือลดปญหาความขัดแยง สรางสันติ ใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางสามัคคี บนพื้นฐานของหลักการทางประชาธิปไตย และ คุณธรรมในการอยูร วมกนั ในสงั คมอยา งมีความสขุ คุณธรรมพน้ื ฐานในการอยรู ว มกนั อยางสันติ สามัคคี ปรองดองตามหลักการทางประชาธิปไตย พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) (2551 : 51, 57) ไดใ หความหมายของคําวา “คุณธรรม” ไวอ ยางชดั เจนวา หมายถงึ ธรรมที่เปนคุณ ความดีงาม สภาพที่เกอ้ื กูลกัน สวนคาํ วา “จริยธรรม” หมายถึง หลักความประพฤติ หลกั ในการดาํ เนินชีวติ หรือความประพฤติอนั ประเสริฐ หรือการดําเนินชีวิตอัน ประเสริฐ คณุ ธรรม จริยธรรม เปน เร่อื งของระบบคดิ ทย่ี อมรบั ความเปน จรงิ ของชีวติ การสรา งคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเกดิ ขึน้ ได ตองอาศัยการปลูกฝงระบบคิดดังกลาวใหเขาไปอยูในทุกชวงชีวิตของมนุษย และตอ งไมเ ปนหนา ทข่ี องหนว ยงานใดหนว ยงานหน่งึ อยา งสถาบนั การศึกษา หากแตควรเปน ทุกภาคสวน ของสังคม ตอ งเขา มามีสวนรว มในการปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหเกดิ มขี น้ึ ใหไ ด จะเหน็ ไดวา เร่อื งของ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปนการพัฒนาความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ไมเพียง เฉพาะ เพื่อการอยรู ว มกนั อยางสนั ติ สามัคคี ปรองดอง เทาน้นั ยงั เปนพ้นื ฐานของการอยูรว มกันอยาง สงบสุข ไมแ ตกแยก การอยูรว มกันในฐานะสมาชิกในสังคมเดียวกัน จะนํามาซึ่งการอยูรวมกันอยาง สนั ติสุขได คุณธรรมทน่ี าํ ไปสกู ารอยรู ว มกนั อยางสนั ติ สามัคคี ปรองดอง ตามหลกั การทางประชาธปิ ไตย (ดร.สาโรช บัวศรี) มีดังน้ี 1. คารวธรรม คือ การเคารพซึง่ กันและกัน 2. สามคั คธี รรม คือ การรวมมือชว ยเหลือซ่ึงกันและกัน 3. ปญ ญาธรรม คอื การใชส ติปญ ญาในการดําเนนิ ชวี ิต 1. คารวธรรม คือ การเคารพซ่งึ กนั และกนั มพี ฤติกรรมทแ่ี สดงออก ดงั นี้ 1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย ไดแก การแสดงความเคารพเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย ในทุกโอกาส การรวมกิจกรรมตาง ๆ ท่ีจัด เพ่ือแสดงความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย ในโอกาสวันสําคัญตา ง ๆ การไปรับเสดจ็ เมือ่ พระมหากษัตริยหรือพระบรมวงศานุวงศเสดจ็ ไปในถิ่นทอี่ ยู หรอื บรเิ วณใกลเคยี ง การปฏบิ ัติตอสัญลกั ษณท แ่ี สดงถงึ สถาบันพระมหากษัตริย เชน ธงชาติ พระบรม- ฉายาลกั ษณ เพลงสรรเสริญพระบารมี ฯลฯ ดว ยความเคารพ เมอ่ื ไดย ิน หรอื เห็นบุคคลใดแสดงกิริยา วาจา หรือมีการกระทําอันไมสมควรตอสถาบันพระมหากษัตริย ตองกลาวตักเตือน และหามไมให ปฏบิ ตั เิ ชน นน้ั อีก

117 1.2 เคารพบุคคลท่ีเกยี่ วของ โดยเฉพาะบิดามารดา ซ่ึงเปน ผูใหกําเนิด เคารพญาติผูใหญ เชน ปู ยา ตา ยาย และผสู งู อายุ เคารพครูอาจารย และเพ่ือน ๆ ทง้ั ทางกายและทางวาจา 1.2.1 ทางกาย ไดแก การทักทาย การใหเกียรติผูอ่ืน การแสดงความเคารพแกบุคคล ซึง่ อาวุโสกวา การใหการตอ นรบั แกบ ุคคล การแสดงความเอ้อื เฟอซึง่ กนั และกนั เปนตน 1.2.2 ทางวาจา ไดแก การพูดใหเหมาะสมกับกาลเทศะ การใชค ําพดู เหมาะสมตามฐานะ ของบุคคล การพดู จาสภุ าพ ไมก าวราว สอเสียด การไมพดู ในสงิ่ ทจ่ี ะทาํ ใหผอู ื่นเกดิ ความเดอื ดรอน ไมนาํ ความลบั ของบคุ คลอื่นไปเปดเผย ไมพูดนนิ ทา หรอื โกหก หลอกลวง เปน ตน 1.3 เคารพสิทธิของผูอ่ืน ไดแก การไมลวงละเมิดสิทธิของผูอ่ืน ท้ังทางกาย หรือวาจา การ รจู ักเคารพในสิทธิของคนทีม่ ากอ นหลัง การเคารพในความเปนเจาของ สิ่งของเคร่ืองใช การรูจักขอ อนุญาต เมื่อลวงล้ําเขาไปในที่อยูอาศัยของบุคคลอื่น การไมทํารายผูอ่ืนโดยเจตนา การไมทําใหผูอื่น เสอื่ มเสยี ชอื่ เสยี ง เปนตน 1.4 เคารพในความคิดเห็นของผอู ืน่ ไดแก การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น เมื่อมีผูพูด เสนอความคดิ เห็น ควรฟงดวยความตั้งใจและใครครวญดวยวิจารณญาณ หากเห็นวาเปนการเสนอ แนวความคิดที่ดีมีประโยชนมากกวาความคิดเห็นของตนเอง ก็ควรยอมรับและปฏิบัติตาม ไมควร ยึดถอื ความคิดเห็นของตนวา ถูกเสมอไป 1.5 เคารพในกฎระเบียบของสังคม ไดแก การยึดมั่นในกฎระเบียบของสังคม เชนวัฒนธรรม ประเพณี กฎเกณฑของสงั คม และกฎหมายของประเทศ 1.6 มเี สรีภาพ และใชเสรภี าพในขอบเขตของกฎหมายและขนบธรรมเนยี มประเพณี 2. สามัคคีธรรม คือ การรวมมอื ชวยเหลอื ซึง่ กันและกัน มีความเอื้อเฟอเผ่ือแผตอ กัน เพื่อให เกดิ ประโยชนตอสวนรวม มีพฤติกรรมทแี่ สดงออกดงั นี้ 2.1 การรูจ ักประสานประโยชน คาํ นึงถึงประโยชนของชาติเปนที่ต้ัง ไดแก ทํางานรวมกัน อยา งสนั ติวิธี รูจักประนปี ระนอม เสยี สละความสขุ สว นตน หรือหมูคณะ 2.2 รว มมือกันในการทํางาน หรอื ทํากจิ กรรมอยางหน่งึ อยา งใดรว มกนั จะมีการวางแผนและ ทํางานรวมกัน ดําเนนิ งานตามข้ันตอน ชวยเหลือกันอยางต้ังใจ จริงจัง ไมหลีกเล่ียง หรือเอาเปรียบ ผอู น่ื 2.3 รับผิดชอบตอ หนา ทที่ ่ไี ดร ับมอบหมายจากสวนรวม และหนาทตี่ อ สังคม 2.4 ความเปนนาํ้ หนึ่งใจเดยี วกนั ของคนในกลุม ในหนวยงาน และสงั คม 3. ปญ ญาธรรม คอื การใชส ตปิ ญญาในการดาํ เนินชวี ติ มีพฤตกิ รรมท่ีแสดงออก ดังนี้ 3.1 การไมถือตนเปนใหญ ไดแก การรูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น การรูจักเปนผูนํา และผูตามท่ีดี

118 3.2 เนน การใชปญญา ใชเหตุผล และความถูกตอง ในการตัดสินปญหาทั้งปวง ไมใชเสียง ขางมาก ในการตัดสินปญหาเสมอไป เพราะเสียงขางมากบอกเฉพาะความตองการ ความคิดเห็น ความพงึ พอใจ แตไ มอ าจบอกความจรงิ ความถูกตองได 3.3 มีความกลาหาญทางจรยิ ธรรม กลาทีจ่ ะยืนหยัดในส่ิงทถ่ี กู ตอ ง 3.4 แสวงหาความรู ขา วสารขอมลู อยางมีวจิ ารญาณ เพ่อื เปนขอมูลในการตัดสนิ ใจ การปฏิบัตติ ามคณุ ธรรมขางตน เมื่อไดประพฤติปฏิบัติ ความสามัคคียอมจะเกิดข้ึน เมื่อเกิด ความสามัคคีข้ึนแลว การงานทุกอยางแมจะยากสักเพียงใดก็กลายเปนงาย ชีวิตมีแตความราบรื่น แมจะเกิดอุปสรรคก็สามารถขจัดใหหมดสิ้นได ดังคํากลาวที่วา “สามัคคีคือพลัง” เพียงแตทุกคน ดาํ รงชีวติ บนพ้ืนฐานแหงคณุ ธรรม ใหทุกคนมีความรัก และชว ยเหลือซง่ึ กันและกนั มคี วามสามัคคแี ละ เสยี สละเพือ่ สว นรวม การใชห ลักธรรมในการสงเสรมิ ความสามคั คีเปนแนวทางในระยะยาว และเปน การปองกันความแตกสามคั คี ขณะทีก่ ารสรา งความสามัคคีในระยะสั้นเปนการทาํ กจิ กรรมตา ง ๆรวมกัน โดยอาจเริ่มจากกิจกรรมบันเทิงทส่ี ามารถดึงกลุมคนใหเ ขารวมไดง า ย เชน การเขาคายตาง ๆ การทํา กิจกรรมพัฒนาสงั คมและชุมชนรว มกนั การทาํ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ ทีห่ ลากหลาย จากนนั้ คอ ย ขยายสูกิจกรรมท่ีมีความยากขึ้น และการสรางวัฒนธรรม ประเพณีในการทํากิจกรรมรวมกันเปน ประจาํ จะชวยสรางวฒั นธรรมการทํางานกลุม และการสัมพนั ธก บั สงั คม ซ่ึงชวยใหเกิดความรักความ สามคั คีไดม ากยง่ิ ขึน้ คา นิยมพนื้ ฐานในการอยรู ว มกนั อยา งสมานฉนั ท 12 ประการ ขอ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ขอ 2. ซื่อสัตย เสียสละ อดทน ขอ 3. กตัญตู อ พอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย ขอ 4. ใฝหาความรู หมนั่ ศึกษาเลา เรียน ท้ังทางตรงและทางออม ขอ 5. รกั ษาวฒั นธรรม ประเพณไี ทยอนั งดงาม ขอ 6. มศี ีลธรรม รักษาความสัตย หวงั ดีตอ ผูอืน่ เผอื่ แผแ ละแบง ปน ขอ 7. เขา ใจเรยี นรูการเปนประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ ท่ีถูกตอง ขอ 8. มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผนู อยรูจักเคารพผูใ หญ ขอ 9. มีสติรูตวั รคู ิด รทู าํ รูปฏบิ ัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา- ภมู ิพลอดุลยเดช ขอ 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลอื ก็แจกจาย จาํ หนาย และขยายกจิ การเมอื่ มคี วามพรอ มโดยมภี มู คิ มุ กันท่ีดี

119 ขอ 11. มีความเขมแขง็ ทั้งรา งกายและจติ ใจ ไมยอมแพต ออาํ นาจฝา ยต่าํ หรอื กเิ ลส มีความละอาย เกรงกลัวตอ บาปตามหลักของศาสนา ขอ 12. คาํ นึงถงึ ผลประโยชนข องสว นรวมและตอ ชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง คา นิยมพื้นฐานดงั กลา วขางตน มีความสาํ คญั อยางย่ิงท่ีคนไทยจะตองนํามาประพฤติปฏิบัติใน ชวี ิตประจาํ วันอยูเสมอ และเพ่ือใหเ กดิ ความเขาใจย่งิ ขึ้นจะขอกลาวในรายละเอียดเพ่มิ เตมิ ดังน้ี 1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคุณลักษณะที่แสดงถึงรักความเปนชาติไทย เปนพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณคา ภูมิใจ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรกั ภักดีตอ สถาบันพระมหากษตั รยิ  2. ซ่อื สัตย เสยี สละ อดทน เปนคุณลักษณะที่แสดงถึงการยึดมน่ั ในความถูกตอง ประพฤติ ตรงตามความเปน จรงิ ตอ ตนเองและผูอน่ื ละความเหน็ แกตัว รจู กั แบง ปน ชวยเหลือสังคมและบุคคลท่ี ควรใหร ูจักควบคมุ ตนเองเมือ่ ประสบกับความยากลําบากและสิ่งท่กี อ ใหเกิดความเสียหาย 3. กตัญูตอพอ แม ผูปกครอง ครูบาอาจารย เปนคณุ ลักษณะที่แสดงออกถึงการรูจักบุญคุณ ปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั สอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาช่ือเสียง และตอบแทนบุญคุณ ของพอแม ผปู กครอง และครบู าอาจารย 4. ใฝห าความรู หมน่ั ศึกษาเลา เรยี น ท้งั ทางตรงและทางออ ม เปน คุณลักษณะที่แสดงออก ถึงความตัง้ ใจ เพยี รพยายามในการศึกษาเลา เรียน แสวงหาความรู ทัง้ ทางตรงและทางออ ม 5. รกั ษาวฒั นธรรม ประเพณีไทยอันงดงาม เปน การปฏิบัติสืบทอดอนุรักษวัฒนธรรม และ ประเพณไี ทยอันดีงามดวยความภาคภมู ิใจเหน็ คุณคา ความสําคัญ 6. มศี ีลธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อ ผูอน่ื เผ่อื แผแ ละแบง ปน เปนความประพฤติท่ีควร ละเวน และความประพฤตทิ ่คี วรปฏิบตั ติ าม 7. เขา ใจเรยี นรกู ารเปนประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุขที่ถูกตอง คือ มีความรู ความเขาใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิ และหนาที่ของตนเอง เคารพสิทธิและหนาที่ของ ผูอ่ืน ใชเสรีภาพดวยความรับผิดชอบภายใตขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ เปนคุณลักษณะท่ี แสดงออกถงึ การปฏบิ ัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและ นอบนอ มตอ ผใู หญ

120 9. มสี ติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- ภมู พิ ลอดุลยเดช เปน การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นอยา งมีสตริ ตู ัว รูคดิ รูท ํา อยางรอบคอบถูกตอ ง เหมาะสม และนอมนําพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาปฏิบัติใน ชีวติ ประจาํ วนั 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกิน พอใช ถา เหลือก็แจกจาย จําหนาย และขยายกิจการเมื่อมีความพรอม สามารถดําเนินชีวิตอยาง พอประมาณ มีเหตผุ ลมีภูมคิ ุมกนั ในตวั ทีด่ ี มีความรู มคี ณุ ธรรม และปรบั ตวั เพื่ออยใู นสงั คมไดอยางมี ความสุข 11. มีความเขมแข็งทัง้ รา งกายและจติ ใจ ไมย อมแพตอ อํานาจฝา ยตา่ํ หรอื กิเลส มคี วามละอาย เกรงกลัวตอบาปตามหลักของศาสนา เปนการปฏิบัติตนใหมีรางกายสมบูรณ แข็งแรงปราศจาก โรคภัยและมจี ติ ใจทเี่ ขมแขง็ ไมก ระทาํ ความช่ัวใด ๆ ยดึ มั่นในการทาํ ความดีตามหลักของศาสนา 12. คํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง ให ความรวมมือ ในกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอสวนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชนสวนตน เพอ่ื รกั ษาประโยชนข องสว นรวม

121 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู วิชาหนาท่พี ลเมอื ง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เร่อื ง สทิ ธมิ นุษยชนในการมีสว นรว มคมุ ครองตนเองและผอู น่ื กรณตี วั อยา งเรอื่ ง “รกั แทหรอื รงั แกกนั ” ตัวชวี้ ดั ท่ี 6 และ 7 ตระหนักถึงสทิ ธหิ นา ทก่ี ารมสี วนรว มในการคุมครองปอ งกนั ตนเองและผูอนื่ ตามหลักสทิ ธมิ นษุ ยชน วัตถปุ ระสงค 1. เขาใจถงึ หลกั สทิ ธมิ นุษยชนทีจ่ ะเกดิ ประโยชนต อ ตนเองและผอู ่ืน 2. เพือ่ ใหมีสวนรวมในการคุมครองปอ งกนั ตนเองและผอู นื่ ตามหลักสิทธมิ นุษยชน 3. เพ่อื ใหต ระหนกั ถงึ สทิ ธิ และหนาทขี่ องประชาชน ในเร่ือง สทิ ธิมนุษยชน สามารถ นาํ มาใชเพื่อหาทางเลือกแกป ญ หาขอขดั แยง และคมุ ครองปองกันตนเองและผูอ ื่น ในชุมชน เน้อื หาสาระ 1. ชว งเวลาที่ผา นมามคี วามขัดแยงในเรื่อง การละเมดิ สิทธิมนุษยชน เกิดขึ้นหลายตอ หลายกรณี ความขัดแยงนี้เปนกรณีระหวางหนวยงานภาครัฐกับชุมชนบาง ระหวางหนวยงาน ภาคเอกชนกบั ภาคเอกชนบาง ระหวา งหนวยงานเอกชนกับชุมชนบาง หรือแมกระทั่งระหวางชุมชน หรือภาคเอกชนดวยกนั เองบา ง 2. เนื้อหาความขัดแยงในเร่ืองการละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกลา ว สวนใหญเนนเรื่อง การออกกฎหมาย และการบังคับใชกฎหมายของหนวยงานภาครัฐที่ไมสอดคลองหรือไมเปนไปตาม ขอเทจ็ จริงทเี่ กดิ ข้ึนในชุมชน หรอื ขดั ตอธรรมเนียมประเพณี ความเชอ่ื ถอื ของประชาชนสวนใหญท ี่อยู มานานแลว หรือกอใหเ กดิ ความไมปลอดภัยตอชีวิตและอาชีพการทํามาหากิน กอใหเกิดการทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม ความขัดแยงที่เกิดจากความเห็นตางของภาคสวนท่ีเกี่ยวของ ความขัดแยงทเี่ นื่องมาจากการขาดความรู ความเขาใจ ขาดขอมูลท่ีหลากหลายและพอเพียง รวมท้ัง การขดั ผลประโยชนข องภาคสวนทเี่ กี่ยวของ ความขัดแยงท่ีเกิดจากการตีความกฎหมายท่ีไมตรงกัน หรือความขัดแยงท่ีเกิดจากความไมพรอม และไมปฏิบัติตามข้ันตอนการดําเนินการของภาคสวน ทเี่ ก่ยี วของ ฯลฯ

122 3. มตี วั อยางท่ีเปนความขัดแยงอันเนื่องมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏใน สงั คม เชน ภาครัฐออกกฎหมายการสรางเขื่อน เพ่ือประโยชนทางการพลังงานไฟฟาและการเกษตร และการปอ งกันนา้ํ ทว มท่ีตอ งทําลายปา ไม ตนนํ้าลําธารท่ีเปนตนเหตุของความแหงแลง ทําอันตราย ตอสตั วป าหายาก พืชสมุนไพร และการทาํ มาหากินของชาวบา นในพ้ืนทที่ ่อี ยกู นั มานานแลว หรือการ ทหี่ นว ยงานภาครัฐออกกฎหมายเวนคืนท่ีดนิ ในพืน้ ที่ทจี่ ะสรางทางดวนไปกระทบตอประเพณีศาสนา ที่อยูอาศัยของชมุ ชน หรอื การทีห่ นวยงานภาครฐั ออกกฎหมายเพอื่ ความม่ันคง ประกาศกฎอยั การศึก ภาวะฉุกเฉินทเ่ี ปนการละเมิดสิทธมิ นุษยชน เชน หา มออกจากเคหะสถานหลงั สามทุม หามชุมนุมเกิน 5 คน เขา ควบคมุ ตัว จบั กุม กกั ขงั ประชาชนโดยไมตองใชห มายสั่ง ฯลฯ เปนตน 4. เม่อื เกดิ กรณีขัดแยง ระหวา งหนว ยงานภาครฐั กับชมุ ชนในเรอ่ื ง สิทธมิ นษุ ยชน มักจะ มีขอ กลาวหา 2 แนวทาง คอื 1) หนวยงานภาครัฐ ละเมิดสิทธิมนุษยชนและรังแกประชาชนและชุมชน โดยมี เรือ่ ง การทุจรติ คอรร ัปชั่น เพอื่ ประโยชนต น ประโยชนพ รรคพวก เขามาเกย่ี วขอ ง 2) ประชาชนและชุมชนมีผลประโยชนสวนตน โดยไมคํานึงถึงประโยชนของ สว นรวม หรือถูกภาคเอกชน หรือ NGO ยยุ งสง เสรมิ เพ่อื ประโยชนของกลุมดังกลาว รวมท้ังถูกชักจูง ใหเลอื กขา งทางการเมอื ง 5. ประเด็นการอภิปรายถกแถลง 1) ทา นเหน็ ดว ยกับขอกลา วหาดังกลาวหรอื ไม เพราะอะไร 2) ถา ทา นอยูในเหตุการณเปนคกู รณดี วย ทานจะมีแนวทางในการแกปญหาเหลา น้ัน อยา งไรบา ง จึงจะใหม กี ารดําเนินการไดโดยไมเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน 3) ทา นเห็นดวยหรอื ไมก บั คํากลาวทว่ี า “สทิ ธิมนุษยชนตองควบคูไปกับหนาท่ีของ พลเมืองดว ย” เพราะเหตุใด วิธีการดําเนินงาน ขนั้ นาํ ครนู ําเขา สบู ทเรยี นดว ยการนาํ สนทนาถึงเนอื้ หาสาระ เรอื่ ง สิทธิมนุษยชน ความคิด ความเหน็ โดยท่ัวไปของ เรื่อง สทิ ธมิ นุษยชน ตามความคิดของผเู รยี นรวมท้ังเหตกุ ารณตา ง ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ อันเนือ่ งมาจากปญ หาที่กลาวหาวา ละเมิดสทิ ธิมนุษยชน อาจมสี อื่ ประกอบการเสวนา หรือใหผูเรียน ชว ยกันเสนอขาวทเี่ กิดขน้ึ ในชุมชน ครูแนะนาํ แหลงขอ มูล แหลงความรูเกีย่ วกบั เร่อื ง สทิ ธิมนุษยชน ท่ีผูเรียนจะใชแสวงหา ขอมลู เพ่มิ เตมิ

123 ขนั้ ดาํ เนนิ การ ครูแจกกรณตี ัวอยา ง “รักแทห รือรังแกกนั ” ใหกลมุ ผเู รียนศึกษาและรวมกันอภิปราย ถกแถลงตามประเด็นท่ีกําหนดให โดยครูอาจใหขอมูลเพิ่มเติมหรือเสนอประเด็นสืบเน่ือง หรือมี ขอ คาํ ถามเพอ่ื กระตนุ การอภปิ รายตามความจําเปน ข้ันสรุป ครแู ละผูเรียนรว มกันจดั ทําขอ สรปุ จากการอภิปรายถกแถลงของกลมุ ผเู รยี น กจิ กรรมเพื่อการเรยี นรูตอ เน่อื ง ครูเสนอกิจกรรมตอเนื่องตามความเห็นของกลุม เชน การศึกษาขอมูลเพ่ิมเติมจาก แหลง ความรูตาง ๆ การสนทนาหรือสัมภาษณบคุ คล เพื่อแสวงหาความคิด ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ เพม่ิ เติม การสอบถามความคดิ เหน็ ฯลฯ เปน ตน แลว ใหผ เู รียนรวบรวมนาํ เสนอในรูปแฟมความรู เพอ่ื การแลกเปล่ียนเรยี นรู สอ่ื /แหลงคน ควา /ใบความรู 1. สอ่ื เอกสาร สอ่ื บคุ คล สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส 2. แหลงคน ควา หองสมุด หนว ยงานภาครฐั เอกชน สถานศกึ ษา 3. ใบความรู ขอมูลเรอื่ ง สิทธิมนษุ ยชน ท่ีเลือกนํามาจากเอกสารหรือเอกสารที่ สําเนามาจากหนังสอื พิมพ ระยะเวลา 1. การนําเสนอขอ การอภปิ รายถกแถลง การสรุป การเตรียมเพื่อทํากจิ กรรมสืบเน่ือง รวมทัง้ การสรุป 1 ช่ัวโมง 2. กิจกรรมตอเน่ืองใชเวลาตามความเหมาะสมโดยเนนการศึกษาดวยตนเอง นอกเวลา การวัดประเมนิ ผล 1. โดยการสังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวมของผูเรียน การรวมเสนอความคิดเห็น การคดิ หาเหตผุ ล การถกแถลง กระตอื รือรน ความตง้ั ใจ ความสนใจ 2. ตรวจสอบผลการรวบรวมขอ มูล ความสมบรู ณของแฟม การเรยี นรู (portfolio) 3. สงั เกตความใสใ จ จริงจงั ของการทํางานกลุมของผูเรยี น

124 กจิ กรรม 1. ผเู รยี นสามารถปฏิบตั ติ นตามหลักการสาํ คญั ของประชาธปิ ไตยไดอยา งไรบา ง จงยกตัวอยาง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 2. หลกั การสาํ คญั ของประชาธิปไตยมคี วามสําคญั ตอการอยรู วมกันอยา งสนั ตอิ ยางไรบาง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 3. ถามคี วามขดั แยง กนั ในสงั คม ควรนาํ หลกั คุณธรรมใดมาใชแ กปญหา จงอธิบาย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 4. ความสามัคคี ปรองดอง มผี ลดตี อ สงั คมและประเทศชาติอยางไรบา ง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

125 บทท่ี 4 พฒั นาการทางการเมือง และการอยูรว มกันในระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข ฀ สาระสําคญั การอยูรวมกันในสังคมท่ีมีความแตกตางท้ังความคิด อาชีพ สถานะทางสังคมและ สภาพแวดลอม การศึกษาเรียนรู การพัฒนาการทางการเมืองและการมีสวนรวมทางการเมืองการ ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ เปนสวนหนึ่งที่จะทําใหสังคม อยไู ดอยา งสงบสุขตามวถิ ีประชาธิปไตย ฀ ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั 1. อธิบายสาเหตุ และความเปนมา ของการปฏิรูปการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ. 2475 ได 2. อธิบายการมสี ว นรว มทางการเมอื ง และการอยูร วมกันอยา งสันติในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุขได ฀ ขอบขายเนอ้ื หา เร่อื งท่ี 1 พัฒนาการทางการปฏิรูปทางการเมอื งเพอื่ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท รงเปน ประมขุ เรอื่ งท่ี 2 การมีสว นรวมทางการเมืองและการอยรู ว มกันอยา งสันตใิ นระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ ฀ ส่ือประกอบการเรยี นรู 1. ซีดีเหตุการณสาํ คัญการเปล่ยี นแปลงทางการเมอื ง 2. คอมพิวเตอรอนิ เทอรเน็ต 3. บทความทางหนังสอื พิมพ

126

127 เรือ่ งที่ 1 พฒั นาการทางการปฏริ ูปการเมือง เพอ่ื การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ 1.1 พฒั นาการทางความคิดและเหตุการณสําคัญ กอ นการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ความคิดและความเคลือ่ นไหว เพอ่ื ใหมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ไดรับอิทธพิ ลทางความคดิ มาจากการตดิ ตอ กบั กลุมประเทศทางตะวนั ตกโดยในกลุมประเทศทางยโุ รป และสหรฐั อเมรกิ าไดมกี ารปฏริ ูปการปกครองเปนระบอบประชาธปิ ไตย ในป พ.ศ. 2319 (ค.ศ. 1776) และเกดิ การปฏวิ ัตฝิ รัง่ เศส ในป พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) ประเทศไทย เร่มิ ติดตอ ทางการคากับประเทศอังกฤษ เม่ือ พ.ศ. 2367 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ- พระนัง่ เกลาเจาอยูหัว หลังจากน้ันก็มีกลุมมิชชันนารีจากสหรัฐอเมริกาเขามาเผยแพรคริสตศาสนา คนไทยจึงเร่ิมศึกษาภาษาอังกฤษศึกษาวิทยาการตาง ๆ โดยเฉพาะพระภิกษุเจาฟามงกุฎ กลุม พระบรมวงศานวุ งศ และกลมุ ขา ราชการ ก็ศึกษาวชิ าการตาง ๆ ดวย ดงั น้ัน สงั คมไทย บางกลุมจึงได มคี านยิ มโลกทศั นตามวทิ ยาการตะวนั ตกในหลาย ๆ ดาน รวมทั้ง แนวความคิดในเร่ือง การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยทีค่ อย ๆ กอตวั ขนึ้ ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เม่ือพระองคเสด็จข้ึนครองราชย ใน ป พ.ศ. 2394 จากการที่พระองคไดรับการศึกษาตามแนวทางของตะวันตกดวย ทําใหพระองค ทรง ตระหนักวาถึงเวลาทปี่ ระเทศไทย จะตอ งยอมเปด สนั ตภิ าพกับประเทศตะวันตก ในลักษณะใหมและ ปรับปรุงบานเมืองใหกาวหนาเย่ียงอารยประเทศ ทั้งนี้ เพราะเพื่อนบานกําลังถูกคุกคามดวยลัทธิ จักรวรรดินิยม จึงทรงเปลย่ี นนโยบายตางประเทศของไทย มาเปน การยอมทําสนธิสัญญาตามเง่ือนไข ของประเทศตะวันตก และพยายามรักษาไมตรนี ั้นไว เพ่ือความอยูรอดของประเทศ ตอมา ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว ไดส งพระราชโอรสไปศึกษา ในตางประเทศจํานวนมากทั้งประเทศอังกฤษ รัสเซีย เยอรมนี ฝรั่งเศส และเดนมารก และในปท่ี พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู ัวข้นึ ครองราชย ตรงกบั ร.ศ. 103 (พ.ศ. 2427) มีเจานายและขาราชการจํานวนหน่ึงที่รับราชการ ณ สถานทูตไทย ณ กรุงลอนดอน และ กรงุ ปารสี ไดร ว มกนั ลงชือ่ ในเอกสารกราบบังคมทลู ความเหน็ จัดการเปล่ียนแปลงการปกครองราชการ แผนดิน ร.ศ. 103 ทูลเกลาฯ ถวาย ณ วันพฤหัสบดี แรม 8 ค่ํา เดือน 2 ปวอก ฉอศอ ศักราช 124 ตรงกบั วนั ที่ 9 เดอื นมกราคม พ.ศ. 2427

128 สาระสาํ คญั ของคาํ กราบบังคมทูล 3 ขอ คือ 1. ภัยอนั ตรายจะมาถึงบา นเมือง เน่อื งจากการปกครองในขณะนั้น คือ ภัยอันตรายที่จะมี มาจากประเทศที่มอี ํานาจมากกวาประเทศไทย ถา มหาอํานาจในยุโรป ประสงคจะไดเมืองใดเปนอาณานิคม กจ็ ะตอ งอา งเหตุผลวา เปน ภารกจิ ของชาวผวิ ขาว ท่มี มี นษุ ยชาติตองการใหมนุษยมีความสุขความเจริญ ไดรับความยุติธรรมเสมอกัน ประเทศที่มีการปกครองแบบเกา นอกจากจะกีดขวางความเจริญของ ประเทศในเอเชยี แลว ยงั กีดขวางความเจริญของประเทศท่ีเจริญรุงเรืองแลวดวย สรุปวา รัฐบาลท่ีมี การปกครองแบบเกา จัดการบานเมืองไมเรียบรอย เกิดอันตราย ทําใหอันตรายน้ันมาถึง ชาวยุโรป นับวา เปนชองทางทช่ี าวยุโรปจะเขา จัดการใหห มดอันตราย และอีกประการหน่ึงถาปดประเทศไมให คา ขายก็จะเขามา เปด ประเทศคา ขายใหเกิดประโยชนท ้ังหมด เปนเหตุผลท่ีประเทศในยโุ รปจะยึดเอา เปน อาณานคิ ม 2. การท่ีจะรักษาบานเมืองใหพนอันตราย ตองอาศัยการเปลี่ยนแปลงการบํารุงรักษา บานเมืองแนวเดยี วกับทญ่ี ปี่ ุนไดทาํ ตามแนวการปกครองของประเทศยโุ รป และการปองกันอนั ตรายท่ี จะบงั เกิดข้นึ อยหู ลายทางแตค ดิ วา ใชไ มไ ด คือ 1) การใชความออนหวาน เพอ่ื ใหมหาอํานาจสงสาร ประเทศญี่ปุนไดใชความออนหวาน มานานแลว จนเหน็ วาไมไ ดป ระโยชน จึงไดจ ัดการเปลีย่ นการบริหารประเทศใหยุโรปนับถือ จงึ เห็นวา การใชความออนหวานน้นั ใชไมได 2) การตอสูดวยกําลังทหาร ซ่ึงก็เปนความคิดที่ถูกตองกําลังทหารของไทยมีไมเพียงพอ ทั้งยงั ตอ งอาศัยซือ้ อาวุธจากตางประเทศ หากไดร บกันจริง ๆ กับประเทศในยุโรป ประเทศในยุโรปที่ เปนมติ รประเทศของคสู งครามกับประเทศไทย ก็จะไมข ายอาวธุ ใหป ระเทศไทยเปนแน 3) การอาศัยประโยชน ท่ีประเทศไทยมีเขตแดนติดตอกับประเทศที่เปนอาณานิคมของ ประเทศองั กฤษและประเทศฝร่ังเศส อาจทาํ ใหประเทศไทยเปน รฐั กนั ชน (Buffer State) และก็คงใหมี อาณาเขตแดนเพยี งเปนกาํ แพงกั้นระหวางอาณานิคม ประเทศไทยก็จะเดอื ดรอนเพราะเหตุน้ี 4) การจัดการบานเมืองเพียงเฉพาะเร่ือง ไมไดจัดใหเรียบรอยต้ังแตฐานราก ไมใชการ แกปญหา 5) สัญญาทางพระราชไมตรที ีท่ ําไวกับตา งประเทศ ไมมีหลกั ประกนั วาจะคมุ ครองประเทศ- ไทยได ตัวอยางที่ สหรัฐอเมรกิ า สญั ญาจะชวยประเทศจีน ครั้นมีปญหาเขาจริง สหรัฐอเมริกาก็มิไดชว ย และถาประเทศไทยไมทําสัญญาใหผลประโยชนแกตางประเทศ ประเทศนั้น ๆ ก็จะเขามากดข่ีให ประเทศไทยทําสญั ญาอยูนัน่ เอง 6) การคาขายและผลประโยชนข องชาวยโุ รป ที่มีอยูในประเทศไทย ไมอาจชวยคุมครอง ประเทศไทยได ถา จะมชี าติท่ีหวังผลประโยชนม ากขน้ึ มาเบยี ดเบยี น

129 7) คํากลาวที่วา ประเทศไทยรักษาเอกราชมาไดก็คงจะรักษาไดอ ยางเดมิ คาํ กลา วอยางน้ัน ใชไมไ ดใ นสถานการณปจ จุบัน ซึ่งเปนเวลาที่ประเทศในยุโรป กําลังแสวงหาเมอื งข้นึ และประเทศที่ไม มีความเจริญก็ตกเปนอาณานิคมไปหมดแลว ถาประเทศไทยไมแกไข ก็อาจจะเปนไปเหมือนกับ ประเทศท่กี ลา วมา 8) กฎหมายระหวา งประเทศ จะคุม ครองประเทศทีเ่ จริญและมีขนบธรรมเนียมคลา ยคลึงกับ ประเทศญ่ปี นุ ไดแ กไ ขกฎหมายใหค ลายกบั ยโุ รป ก็จะไดร ับความคุมครอง ประเทศไทยก็ตอ งปรับปรุง การจัดบา นเมอื งใหเปน ท่ยี อมรับเชนเดยี วกับประเทศญี่ปนุ มฉิ ะนั้น กฎหมายระหวางประเทศ ก็ไมชวย ประเทศไทยใหพน อันตราย 3. การทีจ่ ะจดั การตามขอ 2 ใหสาํ เรจ็ ตอ งลงมอื จดั ใหเ ปนจริงทุกประการ และในหนงั สือกราบบังคมของคณะผูกอการ ร.ศ.103 ไดเสนอความเห็นที่เรียกวา การ จัดการบา นเมืองตามแบบยุโรปรวม 7 ขอ คือ 1. ใหเปลีย่ นการปกครองจาก แอบโสรูทโมนากี (Absolute Monarchy) ใหเปนการปกครอง ที่เรียกวา คอนสตติ วิ ชั่นแนลโมนากี (Constitutional Monarchy) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเปนประธานของบานเมือง มีขาราชการรับสนองพระบรมราชโองการเหมือนสมเด็จพระเจา- แผน ดินทกุ พระองค ในยโุ รปท่ีมติ องทรงราชการเองทว่ั ไปทกุ อยาง 2. การทาํ นุบาํ รงุ แผน ดนิ ตอ งมีพวกคาบิเนต (Carbinet) รบั ผิดชอบและตอ งมีพระราชประเพณี จัดสืบสันตติวงศใหเปน ที่รูทั่วกัน เม่ือถึงคราวเปล่ียนแผนดินจะไดไมยุงยาก และปองกันไมใหผูใด แสวงหาอาํ นาจเพื่อตัวเองดวย 3. ตองหาทางปองกันคอรร ัปชน่ั ใหข าราชการมีเงนิ เดือนพอใชต ามฐานานุรปู 4. ตอ งใหประชาชน มคี วามสุข เสมอกนั มีกฎหมาย ใหค วามยุตธิ รรมแกประชาชนทั่วไป 5. ใหเ ปล่ียนแปลง แกไขขนบธรรมเนียม และกฎหมายทใ่ี ชไมไดที่กีดขวางความเจริญของ บานเมือง 6. ใหมีเสรีภาพในทางความคิดเห็น และใหแสดงออกไดในที่ประชุม หรือในหนังสือพิมพ การพดู ไมจรงิ จะตองมโี ทษตามกฎหมาย 7. ขาราชการทุกระดับชน้ั ตอ งเลอื กเอาคนที่มีความรูมีความประพฤติดีอายุ 20 ปข้ึนไป ผูที่ เคยทาํ ชัว่ ถอดยศศักด์ิหรอื เคยประพฤติผิดกฎหมายไมค วรรับเขาราชการอีก และถาไดขาราชการท่ีรู ขนบธรรมเนยี มยโุ รปไดย ิ่งดี ดังนน้ั จะเห็นไดวา การพัฒนาการปกครองของประเทศจึงเร่ิมขึ้นมาตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 5 จนมาถึงป พ.ศ. 2455 ไดม คี วามพยายามเปลยี่ นแปลงการปกครอง ท่ีเรยี กวา “กบฏ ร.ศ. 130”ในรชั สมัย ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั มพี วกนายทหารบกทหารเรือและพลเรือนรวมประมาณ

130 100 คน เรียกตวั เองวา คณะ ร.ศ. 130 ไดว างแผนการปฏิวตั ิการปกครองหวังใหพระมหากษัตริยพระราชทาน รฐั ธรรมนญู ใหแ กป วงชนชาวไทย คณะ ร.ศ. 130 ไดกําหนดวันปฏิวัติเปนวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2455 อันเปน วันขนึ้ ปใหมของไทยสมยั น้นั แตค ณะกอการคณะนี้ไดถูกจบั กมุ เสียกอน เม่อื วันที่ 27 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2454 1.2 การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เหตกุ ารณที่เกดิ ขนึ้ จงึ เปน วิวฒั นาการทางความคิดของคนไทยในเร่ือง ระบอบประชาธปิ ไตย ท่คี อ ย ๆ กอ ตวั และมพี ฒั นาการข้นึ มาตามลําดบั และนบั จากกบฏ ร.ศ. 130 เม่ือป พ.ศ. 2445 เวลา ผานไปอีก 20 ป จนถงึ ป พ.ศ. 2475 (วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475) จึงไดเกิดเหตุการณเปลี่ยนแปลง การปกครองคร้ังสําคัญของประเทศไทยขึ้น โดยคณะบุคคลที่เรียกวา “คณะราษฎร” ประกอบดวย ทหารและพลเรือน ไดยึดอํานาจการปกครองจากพระมหากษัตริย คือ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา- เจา อยหู ัว รัชกาลทเ่ี จด็ และเปล่ยี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเปนระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท รงเปน ประมขุ อยภู ายใตก ฎหมายรัฐธรรมนญู สาเหตขุ องการเปล่ียนแปลงการปกครองเมือ่ ป พ.ศ. 2475 มดี ังน้ี 1. คนรุนใหมทีไ่ ดร ับการศกึ ษาประเทศตะวันตก ไดรับอิทธิพลของลัทธิเสรีนิยมและแบบแผน ประชาธปิ ไตยของตะวนั ตก จึงตอ งการนาํ มาปรับปรุงประเทศชาติ 2. เกดิ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตํา่ รฐั บาลไมส ามารถแกไขได 3. ประเทศญี่ปุนและจนี ไดมกี ารเปล่ียนแปลงการปกครองแลว ทําใหป ระชาชนตอ งการเห็น การปกครองระบอบประชาธิปไตยภายในบา นเมอื งเรว็ ข้ึน 4. เกิดความขดั แยงระหวา งพระราชวงศก ับกลมุ ท่ีจะทําการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ซึ่งไม พอใจท่ีพระราชวงศชั้นสูง มีอาํ นาจและดาํ รงตําแหนง เหนอื กวา ท้งั ในราชการฝายทหารและพลเรือน ทําใหก ลมุ ผูจะทําการเปล่ียนแปลงการปกครองไมม ีโอกาสมีสว นรวมในการแกไขปรับปรุงบานเมือง 5. พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหวั ไมอ าจทรงใชอ ํานาจสิทธิเ์ ด็ดขาดในการปกครอง ทําใหผ ทู ่จี ะเปล่ียนแปลงการปกครองรูสึกวาพระองคตกอยูใตอํานาจอิทธิพลของพระราชวงศชั้นสูง โดยเฉพาะอยางยง่ิ เมื่อพระบรมวงศานุวงศ ไดย บั ยั้งพระราชดําริที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ จึงทําให เกิดความไมพ อใจในพระบรมวงศานุวงศ และการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชยเ พม่ิ ข้ึน

131 1.3 พัฒนาการทางการเมืองและการปกครอง หลังการเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หลงั จากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ป พ.ศ. 2475 ประเทศไทยไดกา วเขา สูระบอบการปกครอง แบบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข แตแนวคิด ความรู ความเขาใจในเร่ืองการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ยงั จํากัดอยูเฉพาะกลมุ ปญญาชนทไี่ ดรบั การศึกษาจากตะวันตกเทาน้ัน จึงมคี วามขดั แยงทางความคดิ ทั้งในกลมุ ผูปกครอง ขา ราชการ และประชาชน จนเกิดเปนกบฏปฏิวัติ และรัฐประหารสลับกันไปมา (ปญหาทางการเมืองและการปกครองของประเทศไทยหลัง ป พ.ศ. 2475 ที่ไมม เี สถยี รภาพทางการเมอื ง การเปลยี่ นรัฐบาลหรือผูป กครองประเทศ มกั ไมเ ปน ไปตามกติกา หรือ ระเบยี บ แบบแผนโดยสนั ติวธิ ี ตรงกนั ขามมกั เกดิ การแยงชิงอํานาจดวยการใชกําลังอยูเนือง ๆ ไมวา จะเปนไปในรูปของการจลาจล กบฏ ปฏวิ ตั ิ หรือรัฐประหาร) ความหมายของคําเหลานี้เหมอื นกัน ในแง ที่วา เปน การใชกาํ ลังอาวธุ ยดึ อาํ นาจทางการเมือง แตมีความหมายตางกันในดานผลของการใชกําลัง ความรนุ แรง น้นั กลา วคือ หากการยดึ อาํ นาจคร้งั ใด ท่ผี กู อการทําการไมสําเร็จจะถูกเรียกวา “กบฏ” หากการยดึ อาํ นาจนนั้ สําเร็จและเปลี่ยนเพยี งรฐั บาล เรยี กวา รัฐประหาร นับแตป พ.ศ. 2475 เปนตนมา ประเทศไทย มีการพัฒนาการทางการเมืองและการปกครองโดยเรียงลําดับตามระยะเวลาของ เหตุการณสาํ คัญ ๆ ที่เกิดข้ึนไดด ังน้ี 1. พ.ศ. 2476 : การรัฐประหารครง้ั ที่ 1 โดย พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ไดยึดอํานาจจากพระยามโนปกรณนิติธาดา นายกรัฐมนตรคี นแรกของไทย นบั เปน การกระทํารฐั ประหารครัง้ แรกในประวัติศาสตร การเมืองไทยดวยการเปลีย่ นรฐั บาล และยดึ อาํ นาจภายในกลุมคณะราษฎรดว ยกันเอง เมอ่ื วนั ที่ 20 มถิ นุ ายน 2476 2. พ.ศ. 2476 : กบฏคร้งั ที่ 1 กบฏบวรเดช ความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและกลุมผูนิยมระบอบเกา ในป พ.ศ. 2476 ทําให พระวรวงศเ ธอพระองคเจาบวรเดช และพวกกอ การกบฏ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 เพื่อตั้งรัฐบาลใหมมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย แตถ กู ฝา ยรฐั บาลในขณะนน้ั ปราบได การกบฏครัง้ น้มี ีผลกระทบกระเทอื นตอ พระราชฐานะ ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจายูหัว ท้ัง ๆ ท่ีทรงวางพระองคเปนกลาง เพราะ คณะราษฎรเขาใจวาพระองคทรงสนับสนนุ การกบฏ ความสมั พันธร ะหวางรัชกาลที่ 7 และคณะราษฎร จึงรา วฉานยง่ิ ขนึ้ ในตน พ.ศ. 2477 รัชกาลที่ 7 ไดเสด็จไปรักษาพระเนตร ทีป่ ระเทศสหราชอาณาจักร และทรงสละราชสมบัติ เม่ือวนั ท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2477

132 3. พ.ศ. 2478 : กบฏครัง้ ท่ี 2 กบฏนายสบิ เกิดขึ้น เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2478 เม่ือทหารช้ันประทวนในกองพันตาง ๆ ซ่งึ มี สิบเอก สวัสด์ิ มหะมัด เปนหวั หนา ไดร ว มกันกอการเพือ่ เปล่ียนแปลงการปกครองโดย จะสังหารนายทหารในกองทัพ และจบั พระยาพหลพลพยุหเสนาฯ และหลวงพิบูลสงคราม ไวเปนประกัน แตรัฐบาลสามารถจับกุมผูคิดกอการเอาไวได หัวหนาฝายกบฏ ถกู ประหารชีวติ โดยการตดั สนิ ของศาลพเิ ศษในระยะตอมา 4. พ.ศ. 2482 : กบฏครัง้ ที่ 3 กบฏพระยาทรงสรุ เดช หรอื กบฏ 18 ศพ เกดิ ขน้ึ เม่อื วนั ที่ 29 มกราคม 2482 เนอื่ งจากความขดั แยง ระหวา งหลวงพบิ ลู สงคราม กับพระยาทรงสุรเดช ตัง้ แตก อนการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การสนับสนุน พระยามโนปกรณนิติธาดา เหตุการณครั้งกบฏบวรเดช และเหตุการณพยายามลอบ สงั หารหลวงพบิ ลู สงคราม ติดตอกันหลายครง้ั (ลอบยงิ 2 ครั้ง วางยาพิษ 1 ครั้ง) การ กอกบฏครง้ั น้ี เปนความพยายามท่จี ะลมลา งรัฐบาลในขณะนั้น เพื่อเปล่ียนแปลงการ ปกครองใหกลบั ไปสรู ะบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยด งั เดมิ 5. พ.ศ. 2490 : การรฐั ประหารคร้ังท่ี 2 เกิดขึ้น เม่ือวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 โดยคณะนายทหารกลุมหน่ึงมี พลโท ผนิ ชุณหะวัน เปนหวั หนา ไดเ ขายึดอาํ นาจรฐั บาลทม่ี ี พลเรือตรี ถวลั ย ธาํ รงนาวาสวสั ด์ิ เปนนายกรฐั มนตรี ไดสําเร็จแลวมอบให นายควง อภัยวงศ เปนนายกรัฐมนตรี จัดต้ังรัฐบาลตอไป ขณะเดยี วกนั ไดแตง ต้ัง จอมพล ป. พิบลู สงคราม เปน ผบู ญั ชาการทหารแหงประเทศไทย 6. พ.ศ. 2491 : กบฏครง้ั ท่ี 4 กบฏเสนาธกิ าร เกิดข้นึ เมอ่ื วันที่ 6 เมษายน 2491 คณะนายทหารซ่ึงทํารัฐประหาร เมื่อวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 ไดบงั คบั ให นายควง อภยั วงศ ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี แลวมอบให จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม เขา ดํารงตําแหนงตอ ไป และนํามาสู “กบฏเสนาธิการ” 1 ตุลาคม 2491 ซึ่ง พลตรี สมบรู ณ ศรานุชิต และพลตรี เนตร เขมะโยธนิ เปนหัวหนา คณะ และ นายทหารกลุมหน่ึงวางแผนท่ีจะเขายึดอํานาจการปกครองและปรับปรุงกองทัพจาก ความเสื่อมโทรม และไดใหทหารเขาเลนการเมืองตอไป แตรัฐบาลซึ่งมี จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปน นายกรัฐมนตรีทราบแผนการ และจับกุมผคู ดิ กบฏไดส ําเรจ็ 7. พ.ศ. 2492 : กบฏครง้ั ที่ 5 กบฏวงั หลวง เกิดข้ึน เม่ือวันท่ี 26 มิถุนายน 2492 นายปรีดี พนมยงค กับคณะนายทหารเรือและ พลเรือนกลุมหน่ึงไดนํากําลังเขายึดพระบรมมหาราชวัง และตั้งเปนกองบัญชาการ ประกาศถอดถอนรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม และนายทหารผูใหญหลายนาย พลตรี สฤษด์ิ ธนะรชั ต ไดรบั การแตงต้งั เปน ผูอํานวยการปราบปราม มีการสูรบกันใน

133 พระนครอยา งรนุ แรง รฐั บาลสามารถปราบฝา ยกอ การกบฏไดส ําเรจ็ นายปรีดี พนมยงค ตอ งหลบหนอี อกนอกประเทศอีกครั้งหนึ่ง ความพยายามยดึ อํานาจครั้งนั้น ถูกเรียกวา “กบฏวังหลวง” 8. พ.ศ. 2494 : กบฏคร้งั ท่ี 6 กบฏแมนฮตั ตนั เกิดขนึ้ เม่อื วนั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2494 เม่อื นาวาตรี มนสั จารภุ า ผบู ังคบั การเรือรบหลวง สุโขทัย ใชปนจ้ี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไปกักขังไวในเรือรบหลวงศรีอยุธยา นาวาเอก อานน บุญฑริกธาดา หัวหนาผูกอการ ไดส่ังใหหนวยทหารเรือมุงเขาสูพระนคร เพื่อยึดอํานาจ และประกาศต้ัง พระยาสารสาสน ประพันธ เปนนายกรัฐมนตรี เกิด การสูรบกันระหวางทหารเรือกับทหารอากาศ จอมพล ป. พิบูลสงคราม สามารถ หลบหนอี อกมาได และฝายรฐั บาลไดปราบปรามฝายกบฏจนเปน ผลสาํ เร็จ 9. พ.ศ. 2494 : การรฐั ประหารครงั้ ท่ี 3 เกิดขึ้น เม่ือวันท่ี 29 พฤศจิกายน 2494 เม่ือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดทํา รัฐประหารยึดอาํ นาจตนเอง เน่ืองจากรัฐบาลไมส ามารถควบคุมเสยี งขา งมากในรัฐสภาได 10. พ.ศ. 2497 : กบฏครง้ั ที่ 7 กบฏสันติภาพ เกิดข้ึนในยุคท่ีโลกตกอยูในสภาวะสงครามเย็น และประเทศไทยเปนยุคของอัศวินตํารวจ รัฐบาลทไี่ ดอ ํานาจมาจากการกระทํารัฐประหาร ตั้งแตวันท่ี 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นบั เปนรฐั บาลท่ีดําเนินนโยบายทาํ สงครามกบั ฝายคอมมวิ นสิ ตอยา งเต็มทีด่ วยการร้ือฟน กฎหมายคอมมิวนสิ ต พ.ศ. 2495 และกวาดจับผูมีความคิดเห็นแตกตางจากรัฐบาล ครัง้ ใหญทร่ี จู ักกนั ในนาม “กบฏสันตภิ าพ” ในป พ.ศ. 2497 11. พ.ศ. 2500 : การรฐั ประหารครัง้ ท่ี 4 เกิดข้ึน เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500 มี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต เปนหัวหนาคณะ นาํ กําลังเขายดึ อาํ นาจของรัฐบาล จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ที่เปนนายกรัฐมนตรี ภายหลัง จากเกิดการเลือกตัง้ สกปรก และรฐั บาลไดร บั การคดั คา นจากประชาชนอยางหนักหลังการ ยดึ อาํ นาจ จอมพล ป. พิบูลสงคราม และพลตํารวจเอก เผา ศรียานนท ตองหลบหนี ออกไปนอกประเทศ และแตง ต้ัง นายพจน สารสนิ เปนนายกรัฐมนตรี 12. พ.ศ. 2501 : การรัฐประหารครัง้ ท่ี 5 เกิดขน้ึ เมอื่ วันที่ 20 ตุลาคม 2501 มี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต เปนหัวหนา ไดช่ือวา การปฏิวัติเงียบ เพราะเปนการยึดอํานาจของตนเองหลังการรัฐประหาร จอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต ไดเขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ ยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง และใหสภาผูแทนราษฎรและคณะรัฐมนตรี ชดุ เดิมส้ินสุดลง

134 13. พ.ศ. 2514 : การรัฐประหารคร้งั ที่ 6 เกิดขึ้น เม่ือวันท่ี 17 พฤศจิกายน 2514 โดย จอมพล ถนอม กิตติขจร ซงึ่ ดํารง ตาํ แหนงนายกรัฐมนตรี ควบรัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหม และผบู ญั ชาการทหารสูงสุด ทําการรัฐประหารตัวเอง ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนญู ยุบสภาผแู ทนราษฎร และจัดตั้ง สภานิติบัญญัติแหงชาติขึ้น ทําหนาท่ีฝายนิติบัญญัติ และใหรางรัฐธรรมนูญใหเสร็จ ภายในระยะเวลา 3 ป 14. พ.ศ. 2514 : วันมหาวปิ โยค การปฏวิ ัตโิ ดยประชาชน 14 ตลุ าคม 2516 นับเปนจุดเปลี่ยนสําคัญในประวัติศาสตร การเมอื งไทย เมอ่ื การเรียกรอ งใหมีรัฐธรรมนูญของนิสติ นกั ศกึ ษา และประชาชนกลุมหน่ึง ไดแผขยายกลายเปนพลังประชาชนจํานวนมาก จนเกิดการปะทะสูรบกันระหวาง รัฐบาลกับประชาชน เปน ผลให จอมพล ถนอม กติ ติขจร นายกรัฐมนตรี จอมพล ประภาส จารุเสถียร และพันเอก ณรงค กิตตขิ จร ตองหลบหนีออกนอกประเทศ ไดน ายกรัฐมนตรี พระราชทาน คอื นายสญั ญา ธรรมศักดิ์ 15. พ.ศ. 2519 : การรัฐประหารคร้งั ที่ 7 ค ว า ม ต่ื น ตั ว ท า ง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ท่ี กํ า ลั ง เ บ ง บ า น ต อ ง ห ยุ ด ช ะ งั ก ล ง อี ก ค รั้ ง เ มื่ อ พลเรือเอก สงดั ชลออยู และคณะนายทหาร เขายดึ อาํ นาจ เมือ่ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เนอื่ งจากเกดิ การจลาจล และรฐั บาลพลเรือนในขณะน้ันยังไมสามารถแกไขปญหาได หลงั การรัฐประหาร ไดมอบให นายธานินทร กรัยวิเชียร ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี 16. พ.ศ. 2520 : กบฏครง้ั ท่ี 8 กบฏ 26 มนี าคม 2520 เกิดข้นึ เม่อื วนั ท่ี 26 มนี าคม 2520 นาํ โดย พลเอก ฉลาด หริ ัญศิริ และนายทหารกลุมหน่ึง ไดนํากาํ ลงั ทหารจากกองพลที่ 9 จงั หวัดกาญจนบรุ ี เขา ยึดสถานทส่ี าํ คญั ฝา ยทหารของ รัฐบาลพลเรือนภายใตการนําของ พลเรือเอก สงัด ชลออยู ไดปราบปรามฝายกบฏ เปนผลสําเร็จ พลเอก ฉลาด หิรัญศิริ ถูกประหารชีวิตตามคําสั่งนายกรัฐมนตรี ซง่ึ อาศัยอาํ นาจตามมาตรา 21 ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2520 17. พ.ศ. 2520 : การรฐั ประหารครั้งที่ 8 เกดิ ข้ึน เมอื่ วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2520 เมื่อ พลเรือเอก สงัด ชลออยู ใหทําการรัฐประหาร รัฐบาล ของ นายธานินทร กรัยวิเชียร โดยใหเหตุผลวาการบริหารงานของรัฐบาล นายธานนิ ทร กรัยวิเชียร ไมอาจแกไขปญหาสําคัญของประเทศ ท้ังในดานเศรษฐกิจ สงั คมและอุตสาหกรรมใหล ลุ วงไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ท้งั การปดกนั้ เสรภี าพทางความ คิดเห็นของประชาชน ตลอดจนทาทีของรัฐบาลในเหตุการณลอบวางระเบิดใกล

135 พลับพลาทปี่ ระทับของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ท่จี งั หวัดยะลา และแตงตั้ง พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรฐั มนตรี 18. พ.ศ. 2524 : กบฏคร้ังท่ี 9 กบฏยงั เตริ ก เกดิ ข้ึน เม่ือวันที่ 1 เมษายน 2524 นําโดย พลเอก สณั ห จติ รปฏมิ า ดวยการสนบั สนนุ ของคณะนายทหารหนุม โดยการนําของ พันเอก มนูญ รูปขจร และพันเอก ประจักษ สวางจิตร ไดพ ยายามใชกําลังทหารในบงั คบั บัญชา เขายดึ อาํ นาจปกครองประเทศซ่ึงมี พลเอก เปรม ติณสลู านนท เปนนายกรฐั มนตรี เนือ่ งจากเกิดความแตกแยกในกองทัพบก แตการปฏิวัติลมเหลวฝายกบฏยอมจํานน และถูกควบคุมตัวพลเอก สัณห จิตรปฏิมา สามารถหลบหนอี อกไปนอกประเทศได ตอ มารัฐบาลไดออกกฎหมายนิรโทษกรรมแก ผมู สี ว นเก่ียวของการกบฏในคร้งั น้ี 19. พ.ศ. 2528 : กบฏครง้ั ที่ 10 กบฏทหารนอกราชการ เกดิ ข้นึ เมื่อวันที่ 9 กนั ยายน 2528 โดยคณะนายทหารนอกราชการที่พยายามยดึ อํานาจ จากรฐั บาลของ พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท แตด าํ เนนิ การไมสาํ เร็จผูกอ การ คอื พนั เอก มนูญ รูปขจร และนาวาอากาศ โทมนัส รูปขจร ไดล ้ภี ยั ไปสิงคโปร และเดนิ ทางไปอยูใ น ประเทศเยอรมนตี ะวันตก 20. พ.ศ. 2534 : การรัฐประหารครัง้ ที่ 9 เกดิ ขึน้ เมอ่ื วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2534 นําโดยพลเอก สนุ ทร คงสมพงษ ผูบัญชาการ ทหารสูงสุด หัวหนาคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ยึดอํานาจจาก รฐั บาล พลเอก ชาตชิ าย ชุณหะวณั นายกรัฐมนตรีในขณะน้นั และแตงต้ัง นายอานันท ปนยารชนุ ขึ้นเปนนายกรฐั มนตรี ทวารัฐบาลที่มีอายุเพียง 1 ปของ รสช. ก็ตองประสบ กบั อุปสรรคในการเรียกรอ งรฐั ธรรมนูญท่ีเปนประชาธิปไตยจากประชาชนอันนํามาสู การชมุ นมุ เรียกรอ งทางการเมืองทกี่ ลายเปนชนวนเหตุของเหตกุ ารณพฤษภาทมฬิ ในป พ.ศ. 2535 ภายหลงั การเลือกตัง้ ท่ี พลเอก สุจินดา คราประยูร ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีใน เวลาตอ มา 21. พ.ศ. 2549 : การรัฐประหารคร้งั ท่ี 10 เกิดขนึ้ เมอื่ วันที่ 19 กนั ยายน 2549 นําโดย พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการ ทหารบก ทําการยึดอํานาจจากรัฐบาลรักษาการของ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร เรียกตนเองวา คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมขุ

136 จากพัฒนาการทางการเมืองการปกครองท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทย หลังการเปลี่ยนแปลง การปกครองป พ.ศ. 2475 ท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลงเกิดข้นึ อยางบอยคร้งั รวมทงั้ เปน ทีม่ าของรฐั ธรรมนญู ฉบับตา ง ๆ ดวย จะเห็นวามีพัฒนาการในทางที่ใหสิทธิและเสรีภาพแกประชาชนมากข้ึน แมวาบาง ยคุ สมัยจะถกู กลา วหาวาเปนเผด็จการก็ตาม เราก็จะเห็นพัฒนาการทางการเมืองในภาคประชาชน ท่ีคอ ย ๆ กอตวั ข้ึนในทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ จนคลายกับเปนความขัดแยงทางสังคมโดยเฉพาะ อยางย่ิงหลังเหตุการณรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ไดทําใหเกดิ ความคดิ เห็นทแ่ี ตกตา งของประชาชนทัง้ ประเทศ อยา งไมเคยเกดิ ขึ้นมากอ น จนหลายฝา ยวิตกวาจะนาํ ไปสสู งครามการเมอื ง แตเ มือ่ มองในดา นดี จะพบวา ในเหตกุ ารณด งั กลา วไดกอใหเ กดิ ความตืน่ ตวั ของภาคประชาชนในดานการเมอื งท้ังประเทศอยางที่ไม เคยมีมากอน ความคิดเห็นทางการเมืองตางกันท่ีเกิดข้ึนในเวลานี้ เปนเรื่องใหมและยังไมมีความ คิดเหน็ ที่ตรงกัน ตอ งอาศัยระยะเวลา และการเรยี นรูข องผคู นทงั้ ประเทศ ท่ีจะตองอดทนเรียนรูและ อยูรว มกนั ใหไ ดท า มกลางความแตกตา ง และปรับความคิดเขาหากนั ใหถงึ จดุ ทพ่ี อจะยอมรบั กนั ได สถานการณความแตกตางทางความคิดท่ีเกิดขึ้นหลังจากการรัฐประหาร พ.ศ. 2549 จงึ เปน โอกาสอันดีของผคู นในยุคสมัยนี้ที่จะรวมกันหาคําตอบและทางออกของเหตุการณวา เราจะ รวมกนั หาทางออกของเหตุการณดว ยสนั ตวิ ิธี หรอื ดวยความรนุ แรง ซง่ึ เราทุกคนในเวลานล้ี วนมีสว นรวม ในการหาคําตอบและทางออกดว ยกนั ทุกคน เร่ืองท่ี 2 การมสี ว นรว มทางการเมอื ง และการอยูรวมกนั อยางสันติ ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ 2.1 การมสี ว นรวมทางการเมอื ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยมหี ลักการพืน้ ฐานสําคัญ 5 ประการ คอื 1. หลักการอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเปนเจาของ โดยใชอาํ นาจที่มีตามกระบวนการเลือกต้ังอยางอิสระและท่ัวถึง ในการใหไดมาซ่ึงตัวผูปกครองและ ผูแ ทนของตน รวมทัง้ ประชาชนมีอาํ นาจในการคัดคา นและถอดถอนผปู กครองและผูแ ทนทปี่ ระชาชน เหน็ วามิไดบริหารประเทศในทางท่ีเปนประโยชนตอสังคมสวนรวม เชน มีพฤติกรรมร่ํารวยผิดปกติ หรือ คอรรัปช่ัน (Corruption)

137 2. หลักเสรีภาพ ประชาชนทุกคน มีความสามารถในการกระทําหรืองดเวนการกระทํา อยางใดอยางหนึ่งตามท่ีบุคคลตองการตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้น ไมไปละเมิดลิดรอนสิทธิ เสรภี าพของบคุ คลอนื่ หรือละเมิดตอความสงบเรียบรอ ยของสังคม และความมั่นคงของประเทศชาติ 3. หลกั ความเสมอภาค การเปดโอกาสใหประชาชนทกุ คน สามารถเขา ถงึ ทรพั ยากรและ คุณคาตาง ๆ ของสงั คมท่ีมอี ยูจาํ กดั อยา งเทาเทียมกัน โดยไมถูกกีดกันดวยสาเหตุแหงความแตกตาง ทางชั้นวรรณะทางสงั คม ชาตพิ ันธุ วัฒนธรรม ความเปน อยู ฐานะทางเศรษฐกิจ หรอื ดว ยสาเหตุอืน่ 4. หลักการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม การใหความคุมครองสิทธิ ข้ันพ้ืนฐานของประชาชนท้ังให เร่อื ง สิทธิเสรีภาพในทรัพยส ิน การแสดงออกการดํารงชีพ ฯลฯ อยาง เสมอหนา กนั โดยผปู กครองไมสามารถใชอ ํานาจใด ๆ ลิดรอนเพิกถอนสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชนได และไมส ามารถใชอภสิ ิทธ์อิ ยูเหนือกฎหมายหรือเหนอื กวาประชาชนคนอื่น ๆ ได 5. หลักการเสียงขางมาก (Majority rule) ควบคูไปกับการเคารพในสิทธิของเสียง ขางนอย (Minority Rights) การตัดสินใจใด ๆ ที่สงผลกระทบตอประชาชนหมูมาก ไมวาจะเปน การเลือกตัง้ ผแู ทนของประชาชนเขาสูระบบการเมือง การตัดสินใจของฝา ยนิติบัญญัติ ฝายบริหาร หรือฝายตุลาการ ยอมตองถือเอาเสียงขางมากท่ีมีตอเร่ืองนั้น ๆ เปนเกณฑในการตัดสินทางเลือก โดยถือวาเสียงขางมาก เปนตัวแทนที่สะทอนความตองการ/ขอเรียกรองของประชาชนหมูมาก หลกั การนต้ี องควบคูไปกบั การเคารพคมุ ครองสิทธิเสียงขางนอยดวย ทั้งน้ี ก็เพ่ือเปนหลักประกันวา ฝา ยเสียงขา งมากจะไมใ ชว ธิ ีการ “พวกมากลากไป” ตามผลประโยชนความเหน็ หรือกระแสความนยิ ม ของพวกตนอยางสุดโตง แตตองดําเนินการเพ่ือประโยชนของประชาชนทั้งหมด เพื่อสรางสังคมท่ี ประชาชนเสียงขา งนอ ย รวมทง้ั ชนกลุมนอ ยผดู อ ยโอกาสตาง ๆ สามารถอยูรว มกันไดอยา งสันติสขุ โดย ไมมกี ารเอาเปรยี บกนั และสรา งความขัดแยง ในสงั คมมากเกนิ ไป คานิยมทัศนคติที่สงเสริมประชาธิปไตยระบอบประชาธิปไตย นอกจากจะเปนระบอบ การเมืองแลว ยังเปน ระบอบเศรษฐกิจสงั คมวฒั นธรรมดวย ดงั นัน้ จึงไมใชอยูที่รัฐธรรมนูญ กฎหมาย การเลือกตง้ั และการตอ รองทางการเมืองเทาน้นั หากอยทู สี่ มาชิกในสงั คมจะตองชวยกันหลอหลอม สรา งคา นิยมวิถีชวี ติ ที่เปนประชาธปิ ไตยมาตง้ั แตใ นครอบครวั โรงเรยี น ที่ทํางาน ชุมชน เพ่อื จะนาํ ไปสู หรอื การปกปอ งระบอบประชาธิปไตยทั้งทางการเมืองเศรษฐกจิ และสังคม จากหลักการพ้ืนฐานของระบอบประชาธิปไตยดงั กลาวแลว จะเห็นวาการมีสวนรวมทาง การเมอื งของประชาชนเปนส่ิงทม่ี คี วามสําคัญมาก หากปราศจากการมีสว นรวมของประชาชนในทาง การเมืองระบอบประชาธิปไตยน้ันจะไมต า งจากระบอบเผดจ็ การ ดังนน้ั รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงไดบัญญัติการมีสวนรวมโดยตรงของประชาชนไวในหมวด 7 มาตรา 163 - มาตรา 165 ดงั น้ี

138 หมวด ๗ การมสี วนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน มาตรา๑๖๓ ประชาชนผูม ีสิทธเิ ลอื กต้ังไมนอยกวาหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเขาช่ือรองขอตอ ประธานรฐั สภา เพ่อื ใหรัฐสภาพจิ ารณารา งพระราชบัญญัตติ ามท่กี าํ หนดในหมวด ๓ และ หมวด ๕ แหง รฐั ธรรมนูญน้ี คํารองขอตามวรรคหน่ึงตอ งจัดทาํ รางพระราชบัญญตั เิ สนอมาดว ย หลกั เกณฑและวิธกี ารเขา ชอื่ รวมท้ังการตรวจสอบรายชื่อใหเปนไปตามที่ กฎหมายบัญญัติ ในการพิจารณารางพระราชบญั ญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผูแทนราษฎรและ วุฒสิ ภาตอ งใหผ แู ทนของประชาชนผูมสี ิทธิเลือกตั้งท่ีเขา ช่ือเสนอรางพระราชบัญญัติน้ัน ชี้แจงหลักการของรางพระราชบัญญัติและคณะกรรมาธิการวิสามัญเพ่ือพิจารณาราง พระราชบัญญัติดังกลาว จะตองประกอบดวย ผูแทนของประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังที่ เขา ช่อื เสนอรา งพระราชบญั ญัตนิ น้ั จาํ นวนไมน อ ยกวา หน่งึ ในสามของจาํ นวนกรรมาธิการ ทั้งหมดดวย มาตรา๑๖๔ ประชาชนผูม สี ิทธเิ ลือกต้งั จํานวนไมนอ ยกวา สองหม่นื คน มสี ทิ ธเิ ขา ชื่อรองขอ ตอประธานวฒุ ิสภา เพื่อใหว ุฒสิ ภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตําแหนง ได คํารองขอตามวรรคหน่ึงตองระบุพฤตกิ ารณท่ีกลาวหาวาผูดํารงตําแหนง ดงั กลาวกระทาํ ความผดิ เปนขอ ๆ ใหช ดั เจน หลกั เกณฑว ิธกี ารและเง่ือนไขในการท่ปี ระชาชนจะเขา ชอ่ื รอ งขอตามวรรคหนง่ึ ใหเปน ไปตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบดวยรัฐธรรมนญู วาดว ยการปอ งกันและปราบปราม การทุจริต

139 มาตรา๑๖๕ ประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ัง ยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ การจัดใหมีการ ออกเสยี งประชามตใิ หกระทาํ ไดในเหตุ ดังตอ ไปนี้ (๑) ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีเห็นวา กิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึง ประโยชนไดเสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะรฐั มนตรอี าจจะปรึกษาประธานสภาผแู ทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศ ในราชกจิ จานุเบกษาใหม กี ารออกเสียงประชามติได (๒) ในกรณีทีม่ ีกฎหมายบญั ญตั ิใหมีการออกเสียงประชามติการออกเสียง ประชามตติ าม (๑) หรือ (๒) อาจจัดใหเปนการออกเสยี งเพอื่ มีขอ ยตุ ิโดยเสยี งขางมากของ ผูม สี ทิ ธิออกเสยี งประชามตใิ นปญหาที่จดั ใหมีการออกเสยี งประชามติหรอื เปน การออกเสียง เพื่อใหคําปรึกษาแกค ณะรัฐมนตรีก็ไดเวน แตจะมีกฎหมายบัญญตั ไิ วเ ปนการเฉพาะ การออกเสียงประชามติตองเปนการใหออกเสียงเห็นชอบหรือ ไมเห็นชอบในกิจการตามท่ีจัดใหมีการออกเสียงประชามติและการจัดการออกเสียง ประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือเก่ียวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคลจะ กระทํามไิ ด กอนการออกเสียงประชามติรัฐตองดําเนินการใหขอมูลอยาง เพียงพอและใหบุคคลฝายท่ีเห็นชอบและไมเห็นชอบกับกิจการ นั้น มีโอกาสแสดง ความคิดเห็นของตนไดอยางเทาเทียมกันหลักเกณฑและวิธีการออกเสียงประชามติให เปน ไปตามพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วาดว ยการออกเสยี งประชามติ ซึง่ อยางนอย ตอ งกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการออกเสียงประชามติระยะเวลาในการดําเนินการ และจํานวนเสียงประชามติเพอ่ื มีขอ ยุติ นอกจากการมีสว นรว มโดยตรงทางการเมอื งแลว สงิ่ ท่ีมคี วามสาํ คญั เปนอยางมาก ก็คือ การ เลือกตัวแทนของตนในทุกระดับ จะตองเลือกคนที่มีความเหมาะสมกับตําแหนงนั้น ๆ ซ่ึงจะมีการ เลือกตั้งตัวแทนประชาชนเกือบทุกระดับ แตประชาชนสวนใหญยังมิไดแยกแยะวา การเลือกต้ังนั้น ๆ เลือกเขาไปทําหนาทีอ่ ะไร ประชาชนมักจะเลอื กจากผทู ่ีตนเอง มีความคุนเคยสนิทสนม หรือมพี ระคุณ หรือมากกวานนั้ ท่ีมกี ารกลา วหากันแตขาดพยานหลกั ฐาน ก็คอื เลอื กผูทใ่ี หเงนิ ตน (ทเ่ี รียกวา ซือ้ เสียง) หากประชาชนสามารถเลือกต้ังตัวแทนของตนเองไดเหมาะสมกับตําแหนงท่ีไดมาจาก การเลอื กต้งั แลว จะสามารถพลกิ โฉมการเมืองไทยไดม ากกวา ทีเ่ ปนอยทู ุกวันนี้

140 กิจกรรมท่ี 11 ใหผ เู รยี นวิเคราะหการพฒั นาการทางการเมอื งของประเทศไทยตามความเขาใจโดย ใชข อมลู ประกอบ 2.2 การอยรู ว มกันอยา งสนั ตใิ นระบอบประชาธิปไตย จากหลักการของระบอบประชาธิปไตย เห็นไดวาประชาชนตองมีบทบาทและมีสวนรวม ในทางการเมอื งมากกวาระบอบเผด็จการและในระบอบประชาธิปไตยท่ียึดหลักสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนทกุ คนอยางเทา เทียมในสงั คมทมี่ ีขนาดใหญ หากทกุ คนยึดแตหลักการพ้ืนฐานของระบอบ ประชาธิปไตยเทา น้นั เชื่อวา ความวุนวายและไรร ะเบียบของสังคมยอ มเกิดข้ึนในสังคมไทยแนวคดิ ของ ระบอบประชาธิปไตยเปนส่ิงท่ีเรารับมาจากประเทศทางตะวันตกซึ่งมีขอดีในเรื่อง วินัยสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาค สวนวิถีของสังคมไทยที่เปนสังคมพุทธมีขอดีในเร่ือง ความอบอุน การเคารพ ผูอาวุโส ความกตัญู เปนขอดีที่เราตองนํามาใชใหถูกตอง ดังนั้น การจะอยูรวมกันอยางสันติใน ระบอบประชาธปิ ไตยของสังคมไทยคงมิใชการยึดหลกั การพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตยเทานั้น แตต อ งมองรากฐานของคนไทยดว ยวา มีวิถีชีวติ อยา งไร วถิ ชี ีวติ ไทย สงั คมไทยในอดีตปกครองดวยระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย จนถึงป พ.ศ. 2475 เมื่อคณะราษฎร ไดทําการปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงระบอบการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย เวลาท่ีผานมา 70 กวาป วิถีชีวติ ของชนชาวไทยไดปรับตนเองใหเ ขากับระบอบการปกครองแบบประชาธปิ ไตยอยา งไร การศกึ ษาเพอื่ ใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตไทยภายใตระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ผูเรียนควรจะมีความรู ความเขา ใจ ในความหมายของคาํ หลกั ที่เกยี่ วของกอน ไดแก คําวา “วถิ ีชีวิต” “ระบอบ” และ “ประชาธิปไตย” เพื่อเปนพน้ื ฐานในการวิเคราะหตอ ไป ซง่ึ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตย- สถาน พ.ศ. 2542 ไดใหค วามหมายของคาํ ดังกลาวไว ดงั นี้ วิถชี วี ติ หมายถึง ทางดําเนนิ ชวี ติ เชน วถิ ชี ีวิตชาวบา น ระบอบ หมายถึง แบบอยางธรรมเนียม เชน ทําถูกระบอบ ระเบียบ การปกครอง เชน การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย ประชาธปิ ไตย (ประชาทิปะไต/ประชาทบิ ปะไต) หมายถึง ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชน เปนใหญการถือเสียงขางมากเปน ใหญ จากความหมายของคําหลัก ท้ังสามคําดังกลาวขางตน เมื่อนําความหมายมารวมกัน “วิถีชีวิตไทย ภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตย” จึงหมายถึง การดําเนินชีวิตของชนชาวไทย โดยการ ถือเสยี งขา งมากเปนใหญ

141 เราจะทาํ การศกึ ษาตอไปวา การดําเนินชวี ิตของคนไทยนัน้ ไดถอื เสยี งขา งมากในเร่ืองใดบาง และขอดี ขอเสีย ของการถือเสียงขางมากเปนใหญ มีอะไรบาง โดยการพิจารณาจากลักษณะของ สังคมไทยในปจจบุ ัน ลักษณะที่สาํ คัญของสงั คมไทย ประเทศไทยตัง้ อยูบ นคาบสมุทรอนิ โดจนี ท่ีเรยี กวา “สวุ รรณภูมิ” มพี ืน้ ท่ีประมาณ 513.115 ตารางกิโลเมตร มกี ลุม ชนชาตไิ ทย และกลุมชาติพนั ธุอนื่ ๆ อีกมากกวา 50 ชาติพนั ธุ เชน จนี ลาว มอญ เขมร กยู ฝรง่ั แขก ซาไก ทมฬิ ฯลฯ มาอาศัยอยูในประเทศไทย มีภาษาไทยเปน ของตนเอง มีประวัติศาสตร การตัง้ ถ่ินฐานท่ียาวนาน ประชากรสว นใหญป ระกอบอาชีพเกษตรกรรม มพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จนถงึ ป พ.ศ. 2475 เมอื่ เกดิ การเปล่ยี นแปลงระบอบการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขเวลาผานไปเกือบ 80 ป จนถึง ปจจุบนั เม่ือวเิ คราะหลกั ษณะของสงั คมไทยในปจ จุบนั เราจะพบวา มีลักษณะสําคญั ดังนี้ 1. สงั คมไทยเปนสงั คมทเี่ คารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั ริย สังคมไทย ปกครองโดยเฉพาะพระมหากษัตริยมาตั้งแตสมัยสุโขทัย ที่เรียกวา สมบูรณาญาสทิ ธิราชย จนมาถึง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย ทรงเปน ทัง้ องคพระประมุข เปนขวญั และกาํ ลังใจใหกับประชาชน และทรงเปน ศูนยรวม แหงความสามัคคีของคนในชาติ สถาบันพระมหากษัตริย จึงไดรับการเคารพเทิดทูน อยางสงู ในสังคมไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook