Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

Published by สกร.อำเภอพรรณานิคม, 2020-06-23 01:22:38

Description: ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

Search

Read the Text Version

142 2. สงั คมไทยยดึ มั่นในพระพทุ ธศาสนา วดั มีความสัมพันธก บั ชมุ ชนมากในอดีต วัด เปน แหลงการศกึ ษาของฆราวาสและภิกษุ สามเณร เปน สถานที่อบรมขัดเกลาจิตใจ โดยใชธรรมะ เปนเคร่ืองช้ีนําในการดําเนิน ชวี ติ โดยมีพระภกิ ษุ เปน ผอู บรมส่งั สอนพุทธศาสนกิ ชนใหเปนคนดี มศี ีลธรรม 3. สังคมไทยเปน สังคมเกษตร อาชีพเกษตรกรรม เปนอาชีพที่เปนพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ซ่ึงในปจจุบันมีการนํา เทคโนโลยีมาใชใ นการเกษตรมากขน้ึ ทาํ ใหมกี ารพัฒนาเปนเกษตรกรรมอุตสาหกรรม จากพื้นฐานการมีอาชีพเกษตรกรรม ทําใหคนไทยรักความเปนอยูที่เรียบงาย ไมท ะเยอทะยานเกนิ ฐานะ มจี ติ ใจออนโยนเอื้อเฟอ เผื่อแผ

143 4. สงั คมไทยใหก ารเคารพผูอาวโุ ส การแสดงความเคารพ การใหเกยี รตผิ อู าวโุ ส มผี ลตอ การแสดงออกของคนในสังคม ใน ดา นกริ ยิ าวาจา ความเคารพ และความเกรงใจ ทาํ ใหเ ดก็ ๆ หรอื ผนู อ ย รูจักออ นนอม ถอ มตนตอผใู หญ 5. สงั คมไทยเปน สงั คมระบบเครือญาติ สังคมไทย เปนสังคมท่ีอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธกันอยาง ใกลชดิ ทําใหมีความผูกพัน และหวงใยในทุกขสุขของกันและกัน อุปการะเกื้อกูลกัน ซง่ึ สมาชกิ ในครอบครวั ทกุ คน ถือเปน หนาท่ีท่ีตอ งประพฤติปฏิบตั ิตอกนั

144 6. สังคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็ว เนอ่ื งจากมีการเปดรบั วฒั นธรรมตา งชาติเขา มามาก และระบบเศรษฐกิจเปนแบบทนุ นิยม โดยเฉพาะเมืองใหญ เชน กรุงเทพฯ เชียงใหม ภูเก็ต เปนตน แตในชนบทจะมี การเปล่ียนแปลงชากวา เมอื งใหญ ทําใหมขี นบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามคงอยู

145 หากเราสามารถใชชีวติ โดยการประยกุ ตใชห ลกั การของระบอบประชาธิปไตย ท้ัง 5 หลกั ใหเ ขา กับสภาพสงั คมและวิถีชีวิตไทยไดอยางสมดุล เชื่อวาสังคมไทย จะสามารถอยูรวมกันไดอยางสันติมี สิทธิเสรีภาพ และความอบอุนในรูปแบบของวิถีชีวิตได โดยมีแนวทางของการเปนพลเมืองดีตามวิถี ประชาธปิ ไตย โดยพจิ ารณาจากบทบาทหนา ทีข่ องตนเองท่ีมีตอสว นเกย่ี วของ ดงั นี้ 1. บทบาทหนา ท่แี ละความรบั ผิดชอบตอ ตนเอง ไดแ ก 1.1 ยดึ มั่นในคุณธรรมและศีลธรรม 1.2 พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของตนเองใหม ีความรู ฉลาดทนั โลก ทนั เหตุการณ 1.3 ประกอบอาชพี ท่ีซื่อสตั ยด ว ยความขยนั หมนั่ เพียร 1.4 สนใจตดิ ตามขา วความเปน ไปในทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม 2. บทบาทหนา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบตอ ครอบครัว 2.1 ทาํ หนา ที่สมาชิกในครอบครวั ใหส มบรู ณ 2.2 ชว ยกจิ กรรมงานตาง ๆ ในครอบครวั อยา งเต็มใจ 2.3 ชว ยกันดูแลประหยัดคา ใชจ า ยในครอบครวั 2.4 รบั ฟง และแลกเปลย่ี นความคิดเห็นซึ่งกนั และกันในครอบครัว 2.5 ไมท าํ ใหสมาชิกในครอบครัวรสู ึกวา ถูกทอดทง้ิ 3. บทบาทหนา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบตอสังคมและประเทศชาติ 3.1 ดานเศรษฐกิจ 1) ประกอบอาชีพท่ีเกดิ ผลดีทางเศรษฐกิจตอ ชุมชนและประเทศชาติ 2) เสยี ภาษีอากรใหแ กร ฐั อยา งถูกตอ ง 3) ประหยดั การใชจ าย 3.2 ดานการเมอื ง 1) สนใจตดิ ตามขา วคราวความเปนไปทางดา นการเมอื งในประเทศ 2) สนบั สนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย 3) เขารวมในกิจกรรมตา ง ๆ ท่ีมอี ยใู นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 4) เคารพสทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คลอนื่ 5) สนใจตดิ ตามความเปน ไปและปญ หาทางดา นสังคมของชมุ ชน 3.3 ดานสงั คม 1) ยดึ ม่นั ในระเบยี บวินยั และปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายของบา นเมือง 2) ยอมรับความแตกตา งในดา นบคุ คล 3) มีความรสู ึกเปน สว นหนึ่งของสงั คมและประเทศชาติ

146 4) ใหค วามชว ยเหลอื ในการทาํ งานเพอื่ สังคม หากแตล ะบคุ คลสามารถปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนาทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบไดอยางครบถวนกไ็ ด ช่อื วา เปน “พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย” กจิ กรรมที่ 12 1. ใหผ ูเรียนวิเคราะหและเขยี นบอกลักษณะสาํ คัญของสังคมในปจจุบัน โดยเปรยี บเทยี บกับ ลักษณะของสังคมไทยตามท่ีมีผูวิเคราะหไวแลว เพ่ือพิจารณาวามีลักษณะใดบางที่ เปล่ยี นแปลงหรอื สญู หายไปแลว และลักษณะใดบางท่ียังคงอยูพรอมกับบอกความรูสึกของ ผเู รียนที่มีตอสภาพสงั คมในปจจุบนั …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ผูเรียนวิเคราะหบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูเรียนที่ปฏิบัติตอสมาชิกใน ครอบครัววา เปนไปตามหลักการของระบอบประชาธิปไตยหรือไม บทบาทหนาที่ดังกลาวมี เรือ่ งใดบางทีค่ วรสงเสริมและมเี รือ่ งใดบางทค่ี วรละท้ิง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในฐานะทผ่ี เู รยี นเปน หนวยหนึ่งของสังคมและประเทศผเู รยี นจะปฏิบตั ติ นอยางไร จึงจะไดชอ่ื วา เปน พลเมอื งดขี องประเทศท่ีมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท รง เปนประมขุ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

147 บทท่ี 5 สิทธิมนษุ ยชน ฀ สาระสาํ คัญ มนุษยทุกคน เกิดมามีเกียรติศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน ยอมจะไดรับความคุมครองจากรัฐตาม มาตรฐานเดียวกันกับประเทศอ่ืน ๆ ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได บัญญตั สิ ทิ ธมิ นุษยชนขั้นพน้ื ฐานไว เพ่อื ปกปองคมุ ครองประชาชนทกุ คนมิใหถกู ละเมิดสิทธิและรักษา สิทธขิ องตนได ฀ ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั 1. อธิบายท่ีมาของแนวคดิ เรอื่ งสิทธิมนษุ ยชนได 2. อธบิ ายหลักสทิ ธิมนษุ ยชนสากลได 3. ยกตวั อยา งแนวทางในการคุมครองตนเองและผอู ่ืนตามหลกั สิทธิมนุษยชนได ฀ ขอบขายเนื้อหา เร่อื งท่ี 1 กําเนิดและหลักสิทธิมนุษยชน เรือ่ งท่ี 2 การคุม ครองตนเองและผูอ ่ืนตามหลักสิทธมิ นุษยชน ฀ ส่ือประกอบการเรียนรู 1. คอมพวิ เตอรอนิ เทอรเ นต็ 2. เอกสารสทิ ธิมนษุ ยชนสากล 3. บทความทางวิชาการ

148

149 เร่อื งท่ี 1 กาํ เนิดและหลักสทิ ธิมนษุ ยชน (Human Rights) 1.1 ความเปนมาของสิทธิมนุษยชน สทิ ธิมนุษยชน คอื อะไร ไดมผี ใู หความหมายของสิทธมิ นุษยชนไววา หมายถึง สิทธิตา ง ๆ ที่แสดงถึงคุณคาแหงความ เปนมนุษย หากสิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิตาง ๆ ท่ีแสดงถึงคุณคาความเปนมนุษยแลวแตในสภาพ ขอ เท็จจริงทางสังคมมนุษยกลับมิไดรับสิทธิหรือการปฏิบัติที่แสดงถึงคุณคาความเปนมนุษย จึงเกิด พฒั นาการในเรื่องสทิ ธิมนษุ ยชนข้ึน ความตนื่ ตัวในเรือ่ ง สทิ ธิมนษุ ยชน โดยเฉพาะในประเทศทป่ี กครองในระบอบประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนมีท่ีมาอยางไร วไล ณ ปอมเพชร. http:/www.action4change.com/ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2553 ไดศ ึกษาคนควาและเรยี บเรียงถึงความเปน มาของสทิ ธิมนุษยชน ไวว า สทิ ธมิ นุษยชน ไดมีพัฒนาการมาจาก ความพยายามของมนุษยที่จะใหศักดิ์ศรีของมนุษยชน ไดรับการเคารพ และจากการตอสู เพื่อเสรภี าพ และความเสมอภาคท่ีเกิดข้ึนในดินแดนตาง ๆ ทั่วโลก แนวความคดิ เรื่องสิทธิมนุษยชน เกิดจากบรรดานักคิดท่ีมาจากหลากหลายประเพณีทางวัฒนธรรม และศาสนา ตอมาผูบริหารประเทศและนักกฎหมายตางก็มีบทบาทในการสงเสริมแนวความคิด ดังกลาว และรางขึ้นเปนเอกสารที่ใชปกปองสิทธิของบุคคลและคอย ๆ กลายเปนบทบัญญัติและ รฐั ธรรมนญู ของชาติตาง ๆ ในชวงปลายสงครามโลกคร้ังท่ี 2 มีการดําเนินการจัดตั้งองคการสหประชาชาติข้ึนบรรดา ผนู าํ ของประเทศสมาชกิ ด้งั เดิม 50 ประเทศไดร วมลงนามในกฎบตั รสหประชาชาติ (The Charter of the United Nations) เมอื่ วนั ท่ี 26 มิถนุ ายน ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) ซงึ่ ประกาศเปา หมายหลักของ องคการสหประชาชาติ ซ่ึงไดถือกําเนิดขึ้นอยางเปนทางการ ในวันท่ี 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) วา “เพอื่ ปกปองคนรุนตอไปจากภัยพิบัตสิ งคราม และเพ่อื ยนื ยนั ความศรทั ธาในสิทธิมนุษยชน ขั้นพื้นฐานในศักดิ์ศรีและคุณคาของมนุษยและในสิทธิอันเทาเทียมกันของบุรุษและสตร”ี มาตรา 1 ของกฎบัตรสหประชาชาติ ระบุวา จดุ มุงหมายประการหน่งึ ของสหประชาชาติ คือ “เพ่ือบรรลุความ รว มมอื ระหวางชาติ ในการสง เสริมและสนบั สนุนใหมีการเคารพสทิ ธิมนุษยชนและเสรภี าพข้ันพ้นื ฐาน สําหรับมนุษยทกุ คน โดยไมค ํานึงถงึ เช้ือชาติ เพศ ภาษา หรอื ศาสนา”

150 ดวยเหตุที่กฎบัตรสหประชาชาติ เปนสนธิสัญญาท่ีบรรดาประเทศสมาชิกองคการ สหประชาชาตริ ว มลงนาม จงึ ถอื วา มีขอผกู พันทางกฎหมายทีบ่ รรดาสมาชกิ จะตอ งปฏิบัติตามรวมถึง การสงเสริมสิทธิมนุษยชนและการรวมมือกับสหประชาชาติตลอดจนนานาประเทศ เพ่ือใหบรรลุ วัตถุประสงคท่ีบัญญัตไิ วในกฎบัตร อยางไรก็ตาม กฎบัตรสหประชาชาติมิไดมีรายละเอียดเกี่ยวกับ สิทธมิ นษุ ยชนโดยตรงหรอื กลไกท่ีจะชว ยใหป ระเทศสมาชกิ ปกปอ งสทิ ธิมนุษยชน คร้นั ป ค.ศ.1945 (พ.ศ. 2488) องคการสหประชาชาติ ไดจัดต้งั คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Committee on Hunan Rights) ข้ึน มีหนาท่ีรางกฎเกณฑระหวางประเทศเก่ียวกับเร่ืองสิทธิมนุษยชน จึงเกิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ มนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ซ่ึงสหประชาชาตไิ ดมีมติรับรอง เมื่อวันท่ี 10 ธนั วาคม ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธมิ นุษยชน ซ่ึงบรรดาประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติไดรวม รับรอง เมื่อ ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ถือเปนมาตรฐานในการปฏิบัติตอกันของมวลมนุษย และของ บรรดานานาชาติ ถงึ แมว า ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน จะมิไดม ผี ลบังคับทางกฎหมายเชนเดียวกับ สนธสิ ญั ญา อนุสญั ญา หรือขอตกลงระหวางประเทศ แตปฏิญญาสากลฉบับนี้ นับวามีพลังสําคัญทาง ศลี ธรรม จริยธรรม และมอี ทิ ธิพลทางการเมืองไปท่ัวโลก และถือเปนหลักเกณฑสําคัญในการปฏิบัติ เกีย่ วกับสทิ ธิมนษุ ยชนท่ีบรรดาประเทศทวั่ โลกยอมรบั ขอ ความในปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน เปนพ้นื ฐานในการดาํ เนนิ งานขององคก ารสหประชาชาติ และมีอิทธิพลสําคัญตอการรางรัฐธรรมนูญ ของบรรดาประเทศทม่ี ีการรา งรฐั ธรรมนญู ในเวลาตอ มา โดยเฉพาะอยางยงิ่ บรรดาประเทศอาณานคิ ม ไดอ างปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน ในการประกาศอสิ รภาพ ชวง ค.ศ. 1950 ถึง 1960 (พ.ศ. 2493 - 2503) และหลายประเทศนําขอความในปฏิญญาสากลมาใชในการรางรัฐธรรมนูญของตน รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ก็มีขอความท่ีสอดคลองกับปฏิญญาสากลฯ เชน ใน มาตรา 4 วา : “ศักด์ศิ รคี วามเปน มนษุ ยสิทธิและเสรีภาพของบคุ คลยอมไดร บั ความคุมครอง” เมือ่ สหประชาชาติ มีมติรบั รองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน องคการสหประชาชาติ ประกอบดวย ประเทศสมาชิกเพียง 58 ประเทศ จากน้ันมาจํานวนประเทศสมาชิกเพิ่มข้ึน จนมี จํานวนเกินกวาสามเทา ของสมาชิกเดิม อิทธิพลของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ขยายมากข้ึน จนเปนท่ียอมรับในระดับสากล และเปนท่ีอางอิงถึงเม่ือมีปญหาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศ ท้ังหลายทั่วโลก เม่ือพิจารณาดูมาตราตาง ๆ ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน จะเห็นวา มาตราแรกแสดงถงึ ความเปนสากลของสทิ ธิมนษุ ยชน โดยกลา วถงึ ความเทาเทียมกันของศักดิ์ศรีและ สิทธิของมนษุ ยท กุ คน ปรากฏในคําปรารภ ซึ่งเร่ิมดวยขอความที่เนนการยอมรับ“ศักด์ิศรีประจําตัว และสทิ ธิซ่ึงเทา เทยี มกนั และไมอ าจโอนใหแ กกันไดของสมาชิกทงั้ มวล ของครอบครัวมนษุ ย”

151 สทิ ธทิ ร่ี ะบุไวใ นปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจําแนกออกไดอยางกวาง ๆ 2 ประเภท คอื ประเภทแรก เกย่ี วกบั สทิ ธขิ องพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งรวมถงึ สิทธิในชีวิตเสรีภาพและ ความมนั่ คงของบคุ คล อิสรภาพจากความเปน ทาสและการถูกทรมาน ความเสมอภาคในทางกฎหมาย การคุมครองเมือ่ ถกู จับกกั ขัง หรือเนรเทศ สทิ ธทิ ี่จะไดร ับการพจิ ารณาคดีอยางเปนธรรม การมีสวนรวม ทางการเมอื ง สิทธิในการสมรส และการต้ังครอบครัว เสรีภาพขั้นพื้นฐานในทางความคิด มโนธรรม และศาสนา การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออก เสรีภาพในการชุมนุม และเขารวมสมาคม อยางสันติสิทธิ ในการมสี วนในรฐั บาลของประเทศตน โดยทางตรงหรือโดยการสงผูแทน ที่ไดรับการ เลอื กต้ังอยา งเสรี สว นสทิ ธิ ประเภททสี่ อง คอื สทิ ธทิ างเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งครอบคลุม ถึงสทิ ธิในการทาํ งานการ ไดร บั คา ตอบแทนเทากันสําหรับงานทีเ่ ทากัน สิทธิในการกอต้ังและเขารวม สหภาพแรงงาน สิทธใิ นมาตรฐานการครองชพี ที่เหมาะสม สทิ ธใิ นการศึกษา และสิทธิในการเขารวม ใชช ีวิตทางวฒั นธรรมอยา งเสรี ลักษณะเฉพาะของสิทธิมนุษยชนที่ระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน มี ดังตอไปน้ี 1. เปน สทิ ธิทตี่ ิดตวั มากับมนษุ ย (Inherent) เมื่อคนเกิดมาจะมีสิทธิมนุษยชนติดตัวมาดวย เพราะมคี วามเปน มนุษย ดงั นนั้ สทิ ธมิ นุษยชน จงึ เปน สทิ ธิท่ตี ดิ ตัวแตล ะคนมา ไมมีการให หรอื ซอ้ื หรือสืบทอดมา 2. เปนสทิ ธิทเี่ ปนสากล (Universal) คือ เปนสิทธขิ องมนุษยท กุ คนเหมือนกัน ไมวา จะมี เชือ้ ชาติ เพศ หรอื นบั ถือศาสนาใด ไมวาจะเปนผูที่มาจากพ้ืนฐานทางสังคมหรือการเมือง อยางใด มนุษยทกุ คนเกดิ มามีอิสรเสรี มีความเทา เทียมกนั ในศักดิศ์ รแี ละสิทธิ 3. เปนสิทธิที่ไมอาจถายโอนใหแกกันได (Inalienable) คือ ไมมีใครจะมาแยงชิงเอา สิทธมิ นุษยชนไปจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งได ถึงแมวากฎหมายของประเทศจะไมยอม รับรองสิทธิมนษุ ยชน หรอื แมว าจะละเมิดสิทธิมนษุ ยชนก็ตาม ประชาชนของประเทศนนั้ ก็ยังมีสิทธิมนุษยชนอยู ตัวอยาง เชน ในสมัยคาทาส ทาสทุกคนมีสิทธิมนุษยชน ถงึ แมวาสทิ ธิเหลา น้ันจะถูกละเมดิ กต็ าม 4. เปนสิทธิที่ไมถูกแยกออกจากกัน (Indivisible) กลาวคือ เพ่ือที่จะมีชีวิตอยูอยางมี ศักดิ์ศรี มนุษยทุกคนยอมมีสิทธิที่จะมีเสรีภาพ มีความม่ันคง และมีมาตรฐานการ ดํารงชวี ติ ท่ีเหมาะสมกับความเปน มนษุ ย ดังนั้น สิทธิตา ง ๆ ของมนษุ ยชนจะตอ งไมถกู แยกออกจากกนั

152 ตอมา หลักการของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ไดมีการแปลเจตนาและขยาย ขอความใหละเอียดย่ิงขึ้นดวยการรางเปนกติการะหวางประเทศท่ีมีผลบังคับทางกฎหมายและ สหประชาชาติ มีมติรบั รอง เมือ่ วนั ที่ 16 ธนั วาคม ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) คอื กตกิ าระหวางประเทศ วาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) การทีส่ หประชาชาติ มีมตริ ับรองกตกิ าระหวางประเทศดงั กลาวนี้ ทําใหบรรดานานา ประเทศสมาชกิ ขององคการสหประชาชาติไมเพยี งแตเห็นชอบดว ยกับสิทธติ า ง ๆ ทีร่ ะบุไวในปฏิญญา สากลวาดวยสิทธิมนุษยชน แตยังถือเปนมาตรการในการปฏิบัติตามดวย หมายความวา บรรดา ประเทศท่ีใหสัตยาบรรณ (Ratify) หรือ รับรองกติการะหวางประเทศดังกลาว จะตองปฏิบัติตาม ขอความในกติการะหวางประเทศ มีขอผูกพันที่จะตองเคารพ และปฏิบัติตามเง่ือนไขของกติกา ระหวางประเทศ และรวมไปถึงตองสงรายงานการปฏิบัติตามกติการะหวางประเทศใหแก สหประชาชาตเิ ปน ประจาํ ดว ย เม่อื กตกิ าระหวางประเทศทั้งสองฉบับมีผลในการบังคับใช ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ไดเ ขา เปน ภาคีจนปจ จบุ นั นับได 134 ประเทศ นอกจากกตกิ าระหวางประเทศทั้งสองฉบับท่ีกลาวมาแลวนี้ยังมีอนุสัญญา (Conventions) คาํ ประกาศ (Declarations) ขอเสนอแนะ (Recommendations) ที่เก่ียวกับรายละเอียดของสิทธิ มนุษยชนตามเจตนารมณข องปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชนและกติการะหวางประเทศท้ังสองฉบับ คําประกาศและขอเสนอแนะ คือ เปนมาตรฐานสากลสําหรับบรรดาประเทศสมาชิกขององคการ สหประชาชาติ แตไมมีผลผูกพันทางกฎหมายเชนเดียวกับอนุสัญญา ซ่ึงมีผลบังคับใหประเทศท่ีเปน ภาคขี องอนสุ ญั ญาตองปฏิบัติตาม ตวั อยา งของอนสุ ญั ญาวาดวยสทิ ธมิ นุษยชน เชน อนุสญั ญาวาดวย สิทธิเด็ก (Convention on The Rights of the Child) อนุสญั ญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติ สตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination Against Women) อนสุ ญั ญาวาดว ยสิทธเิ ดก็ มีผลบงั คับใชเ ม่ือวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2523) ท่ีไดมี มตริ บั รองของสมชั ชาสหประชาชาติ เมื่อวันท่ี 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2520) ปจจุบันน้ีประเทศ สมาชกิ องคก ารสหประชาชาตกิ วา 180 ประเทศ ใหส ัตยาบรรณรบั รองอนสุ ญั ญาดงั กลาว และบรรดา ประเทศภาคขี องอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กตางก็หาวิถีทางท่ีจะปฏิบัติตามขอผูกมัดของอนุสัญญา โดย ถอื วา เด็ก เปนผูท จี่ ะตอ งไดรบั การดูแลปกปอ ง และเนน ถึงความสาํ คญั ของชีวติ ครอบครวั ของเด็กดวย (โปรดดูรายละเอียดในอนสุ ญั ญาวา ดว ยสิทธเิ ดก็ ในภาคผนวก) อนสุ ญั ญาวา ดวยการขจัด การเลอื กปฏิบัตติ อสตรใี นทุกรูปแบบ ไดรับการรบั รองจากสมัชชา สหประชาชาติ เม่ือวันท่ี 18 ธนั วาคม ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) และมผี ลบังคับใชในวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) ในปจจุบันประเทศภาคีของอนุสัญญาดังกลาวนับไดกวา 150 ประเทศจุดประสงคของ อนุสญั ญาฉบับนี้ คือ ความเสมอภาคระหวางชายและหญิง และเพื่อปองกันการเลือกปฏิบัติตอสตรี

153 โดยเฉพาะอยางย่ิง การเลือกปฏิบัติในรูปแบบของการบังคับใหแตงงาน ความรุนแรงในครอบครัว โอกาสในการศกึ ษา การดูแลดานสาธารณสุข ตลอดจนการเลือกปฏบิ ัตใิ นสถานท่ที าํ งาน ท่ีกลา วมาทั้งหมดนี้ เปนความเปน มาของสิทธิมนษุ ยชนสากล ความเปน “สากล” เรมิ่ เห็นได ชัดเจนจากปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสิทธมิ นษุ ยชน ซึ่งเปน มาตรฐานระดบั นานาชาตทิ ี่เกย่ี วกบั การปกปอ ง ศกั ด์ศิ รี และสทิ ธมิ นษุ ยชน ตอมาจึงเกดิ กติกาสญั ญาระหวางชาติ ตลอดจน อนสุ ัญญาฉบับตา ง ๆ ซ่งึ มี ขอผูกพันในทางกฎหมายที่จะตองปฏิบัติตามบทบัญญัติในกติการะหวางประเทศ และอนุสัญญา ท่แี ตละประเทศไดเขารวมเปน ภาคี ความเปน “สากล” ของปฏิญญาสากลวาดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชน แสดงไวอยา งชดั เจนในปฏิญญา ขอท่ี 1 ซึ่งเนน ถงึ ความเทา เทยี มกันของศกั ด์ิศรี และสิทธขิ องมนุษยทุกคน และในขอท่ี 2 ซึ่งกลาวถึง ความชอบธรรมของมนุษยทุกคนในสิทธิและเสรีภาพท่ีระบุไวในปฏิญญาสากล โดยไมมีการจําแนก ความแตกตา งในเรอ่ื งใดทัง้ สิ้น สหประชาชาตแิ ละองคก รตา ง ๆ ในระบบของสหประชาชาติ เชน ยูเนสโก และยูนิเซฟ เปนตน ไดหาวิถีทางท่ีจะใหบรรดาประเทศสมาชิกปฏิบัติตามมาตรฐานสากลแหงสิทธิมนุษยชน แตความ พยายามตาง ๆ ยอมไรผล ถาปราศจากความรวมมือของแตละประเทศ สําหรับประเทศไทยสิทธิ มนษุ ยชน หมายความถึง ศกั ดิศ์ รีความเปน มนษุ ย ความเสมอภาค เสรีภาพ และอิสรภาพในชีวิตและ รางกาย ซึ่งเปนสิทธิตามธรรมชาติของมนุษยและเปนสิทธิท่ีไดรับการรับรอง หรือคุมครองตาม บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) กฎหมายท่ีเก่ียวของและตามหลักสากล วาดว ยสทิ ธิมนษุ ยชน ตลอดจนแนวปฏบิ ตั ขิ องกฎหมายระหวา งประเทศ และขอตกลงระหวางประเทศ ท่ีประเทศไทยมพี ันธกรณี ทจี่ ะตองปฏิบตั ติ าม แตกระนั้นกต็ ามสทิ ธิมนษุ ยชน กย็ งั มีการละเมิดกนั อยู โดยท่วั ไปในสงั คมไทย และถาหากไมหาทางปองกันและแกไข แนวโนมของการละเมิดก็จะทวีความ รนุ แรงขน้ึ ยากแกก ารแกไข และยงั ทําลายชอ่ื เสียง เกียรติภูมิ และภาพพจนข องประเทศดวย อยางไร- กต็ าม ถาคนไทยเขา ใจความหมายของสิทธิมนษุ ยชนอยางถูกตอง ถาเรายอมรับวา มนษุ ยทุกคนเกิดมา มเี สรภี าพ และมคี วามเสมอภาคในศักดศ์ิ รีและสทิ ธิ และถา มีการปฏบิ ัตติ อ กันดว ยความรักและเคารพ ในศักด์ศิ รีของกันและกันฉันทพ่ีนอง คนในสังคมไทยที่มีความแตกตางหลากหลาย ก็จะสามารถอยู รวมกันไดอ ยางสนั ติสุข ปราศจากการเบยี ดเบียน และละเมดิ สทิ ธขิ องกนั และกัน 1.2 พฒั นาการของสทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทย นพนิธิ สุริยะ http://gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 ไดศึกษาพัฒนาการ ของสิทธมิ นุษยชนในประเทศไทย ไววา ภายหลังการเปล่ยี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ. 2475 มรี ัฐธรรมนญู ฉบบั แรก คือ พระราชบัญญตั ธิ รรมนูญการ

154 ปกครองแผนดนิ สยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 แมธรรมนูญการปกครองฉบับแรกของไทย จะมไิ ดกลาวถึง หรอื รับรองสิทธิเสรภี าพ ตลอดจนสิทธมิ นษุ ยชนเลย แตจากคําประกาศของคณะราษฎรทปี่ ระกาศวา 1. ตองรักษาความเปนเอกราชทั้งหลาย ไดแก เอกราชในทางการเมือง การศาล การเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศใหม ่ันคง 2. ตอ งรักษาความปลอดภัยภายในประเทศใหการประทุษรา ยตอ กันลดนอ ยลงใหมาก 3. ตองบํารุงความสขุ สมบูรณในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหมจะจัดหางานใหทุกคนทํา และจะตองวางโครงการเศรษฐกจิ แหงชาติ ไมล ะเลยใหราษฎรอดอยาก 4. ตองใหร าษฎรมสี ิทธิเสมอภาค 5. ตอ งใหร าษฎรมีอสิ รภาพ มคี วามเปน อสิ ระ เม่อื เสรีภาพนีไ้ มขัดหลกั ดงั กลาวขา งตน การไดนําหลักการของสิทธิมนุษยชนไปใชในทางปฏิบัติ และระบุรับรองใหราษฎรมีสิทธิ เสมอภาคกนั แสดงใหเ หน็ การตระหนักถึงความสําคัญของเรื่องดังกลาว จึงวิเคราะหไดวา เปาหมาย ของการเปล่ยี นแปลงการปกครองไปสรู ะบอบประชาธปิ ไตยโดยคณะราษฎร เปนจุดเริ่มตนของความ เคลื่อนไหวในดานสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยอยางชัดเจน และเปน รูปธรรมครั้งแรก รฐั ธรรมนญู ฉบบั ที่ 2 ของไทย คอื รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ไดปรากฏ บทบัญญัติที่ใหก ารรบั รองสทิ ธิเสรภี าพแกประชาชนชาวไทยไวใ นหมวดท่ี 2 วาดว ยสทิ ธิและหนา ที่ของ ชนชาวสยาม ซ่งึ มีสาระสาํ คัญใหก ารรับรองหลกั ความเสมอหนา กันในกฎหมาย เสรีภาพในการนบั ถือ ศาสนา เสรภี าพในรา งกาย เคหสถาน ทรพั ยส ิน การพดู การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การ ประชุม การต้ังสมาคม และการอาชีพ โดยบทบัญญัติดังกลาว ถือเปนการใหความรับรองสิทธิและ เสรภี าพของประชาชนอยา งเปนทางการในรฐั ธรรมนญู เปนครั้งแรก ขณะเดียวกันนั้น สยามประเทศไดมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายและระบบกระบวนการ ยุตธิ รรม เพื่อใหท ัดเทยี มนานาอารยประเทศ และเปนทีย่ อมรบั ของรฐั ตา งชาตดิ ว ย ความมงุ หมายท่จี ะ เรยี กรองเอกราชทางการศาลกลับคืนมาเปนของไทย แนวความคิดในการคุมครองสิทธิมนุษยชนจึง ปรากฏอยูใ นกฎหมายหลายฉบับ อีกทั้งมีความพยายามสรางกลไกคุมครองสิทธิมนุษยชนไวโดยตรง และโดยออมผานทางสถาบันตุลาการดวย โดยเฉพาะอยางย่ิงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา พ.ศ. 2477 มีบทบญั ญตั ิทีใ่ หก ารรับรองและคุมครองสิทธิของผูตองหาและจําเลยในคดีอาญา ซ่ึงแตกตา งจากระบบจารีตนครบาลที่มีมาแตเ ดมิ อยา งสน้ิ เชงิ ตอ มา วนั ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 เปน รัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 3 และเปน ครั้งแรกท่ีมีการบญั ญตั ริ บั รองสทิ ธิของประชาชนในการเสนอ เรอ่ื งราวรอ งทกุ ข และเสรีภาพในการจัดต้งั คณะพรรคการเมืองในรัฐธรรมนูญ สวนเสรีภาพในการประชุม โดยเปด เผย ในรัฐธรรมนญู ฉบบั กอ นไดเ ปล่ียนเปน เสรภี าพในการชมุ นมุ สาธารณะ

155 ในระหวางที่รัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 4 มีผลใชบังคับป พ.ศ. 2490 ปรากฏกระแสท่ีสําคัญ คือ เกดิ การรวมตัวของกรรมกร ในช่ือวา “สหอาชีวะกรรมกรแหงประเทศไทย” ซงึ่ เปนการรวมตัวกนั ของ กรรมกรจากกจิ การสาขาตา ง ๆ เชน โรงเล่ือย โรงสี รถไฟ เปนตน เนื่องจากกรรมกรเหลาน้ีถูกกดขี่ คาจางแรงงานอยางมาก อันเปนผลมาจากการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอยา งรวดเร็ว ภายหลัง สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 กระแสความเคลื่อนไหวที่เกดิ ขนึ้ เปนการรวมตัวกันเพื่อเรยี กรอ งตอสงั คมและรฐั ใหส นองความตอ งการท่ีจาํ เปน ของตน ทําใหส งั คมตระหนักถงึ สทิ ธเิ สรีภาพและสิทธิมนุษยชนอันเปน การแสดงออกถึงการคมุ ครองสิทธิมนษุ ยชนอกี รปู แบบหนง่ึ ทเี่ กิดจากการกระทาํ ของเอกชนดว ย ใน ป พ.ศ. 2491 สหประชาชาติ ไดป ระกาศใชป ฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 อนั เปน ชวงเวลาที่ประเทศไทยกาํ ลังรา งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ท่ี 5 รัฐธรรมนญู ฉบบั ท่ี 5 คอื รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2492 จึงไดร ับอทิ ธพิ ลจากการประกาศใชปฏญิ ญาสากลของสหประชาชาติมี บทบัญญัติทีใ่ หการรบั รองสทิ ธิและเสรภี าพเปน จํานวนมาก และละเอยี ดกวา รฐั ธรรมฉบับกอ น ๆ หลกั การในปฏิญญาสากลวา ดว ยสิทธิมนษุ ยชน ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ทีไ่ ดร บั การบรรจุลง ไวใ นรฐั ธรรมนญู ฉบับที่ 5 นอกเหนอื จากสิทธทิ เี่ คยรบั รองไวในรัฐธรรมนูญฉบับกอน ๆ ไดแก หลักการ ไดรบั ความคมุ ครองอยา งเสมอภาคกันตามรฐั ธรรมนูญ ท้ังนี้ ไมวา บุคคลนั้นจะมีกําเนิดหรือนบั ถือ ศาสนาแตกตางกนั ก็ตาม (มาตรา 26) สิทธิของประชาชนทไ่ี มถูกเกณฑแ รงงาน ทัง้ นี้ เวน แตในกรณีที่ เปน การปองกันภยั พบิ ัติสาธารณะ ซ่ึงเกดิ ขนึ้ โดยฉกุ เฉนิ เฉพาะเวลาท่ีประเทศอยูในภาวะการรบ หรือ ภาวะสงคราม หรือในสถานการณฉุกเฉินเทาน้ัน (มาตรา 32) เสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทาง ไปรษณียห รอื ทางอ่ืน ทช่ี อบดวยกฎหมาย (มาตรา 40) เสรภี าพในการเลอื กถิ่นทีอ่ ยู และการประกอบ อาชีพ (มาตรา 41) สิทธขิ องบคุ คลท่จี ะไดรับความคมุ ครองในครอบครัวของตน (มาตรา43) ตลอดจน การใหการรบั รองแกบุคคล ซงึ่ เปนทหาร ตํารวจ ขาราชการประจําอื่น และพนักงานเทศบาลท่ีจะมี สิทธิและเสรภี าพตามรัฐธรรมนูญ เหมือนดังพลเมืองคนอื่น ๆ (มาตรา 42) ปรากฏการณที่สําคัญอีก ประการ คอื มีการนาํ เอาสิทธิในกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญามาบญั ญตั ริ บั รองไวในรฐั ธรรมนญู เชน ฀ หลกั ท่วี า “บคุ คลจะไมต อ งรับโทษทางอาญา เวน แตจ ะไดก ระทาํ การอันกฎหมายซง่ึ ใช อยูในเวลาที่กระทําน้ัน บัญญตั ิเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแก บุคคลนั้นจะหนักกวาโทษท่ีกําหนดไวในกฎหมายซ่ึงใชอยใู นเวลาที่กระทําความผิด มิได” (มาตรา 29) ซงึ่ เปนหลักพน้ื ฐานท่สี ําคญั ในการดําเนินคดีอาญาและไดรับการ บญั ญัตใิ นรัฐธรรมนญู ฉบบั ตอมาจนถึงปจจบุ ัน ฀ หลกั ความคุมครองผตู อ งหาและจาํ เลยทีจ่ ะไดร บั การสนั นิษฐานไวกอนวา ไมม คี วามผิด กอนที่จะมีคําพิพากษาอันถึงที่สุด รวมถึงสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาในการประกัน และการเรียกหลกั ประกันพอสมควรแกก รณีดวย (มาตรา 30) และ

156 ฀ สทิ ธทิ ่ีจะไมถ ูกจับกมุ คมุ ขงั หรือตรวจคน ตวั บคุ คลไมวากรณใี ด ๆ เวน แตจ ะมีกฎหมาย บญั ญตั ไิ วใหส ามารถกระทาํ ได (มาตรา 31) นอกจากนแี้ ลว การกําหนดแนวนโยบายแหงรฐั ไวใ นหมวด 5 อันเปนหมวดท่วี าดวยแนวทาง สาํ หรบั การตรากฎหมายและการบรหิ ารราชการตามนโยบาย ซงึ่ แมจ ะไมกอ ใหเ กิดสทิ ธใิ นการฟอ งรองรัฐ หากรฐั ไมป ฏิบัติตาม แตกเ็ ปนการกําหนดหนาที่แกรัฐ ซ่ึงมีความเก่ียวพันกับการสงเสริมและพัฒนา หลักสทิ ธมิ นุษยชนในรัฐธรรมนูญฉบบั ตอ ๆ มา ในทางปฏบิ ัตสิ ิทธิมนุษยชนในประเทศไทยไดรับการรับรองคุมครองอยางจริงจังเพยี งใดน้ัน ข้ึนอยกู บั สถานการณบานเมืองสภาพเศรษฐกิจสังคม ตลอดจนทัศนคติของผูปกครอง เจาหนาท่ีรัฐ และประชาชน ผเู ปนเจา ของสทิ ธนิ ่นั เอง เพราะตอมาธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2502 รฐั ธรรมนูญฉบบั ที่ 7 ไมปรากฏบทบัญญตั ิรบั รองสทิ ธเิ สรภี าพแตอ ยางใด และการประกาศใชธ รรมนูญ การปกครองราชอาณาจักร พุทธศกั ราช 2515 เมอื่ วนั ท่ี 15 ธนั วาคม 2515 ชวงรัฐบาลเผด็จการไมมี บทบัญญตั มิ าตราใดท่ีใหก ารรบั รองสิทธิและเสรภี าพแกประชาชนชาวไทยเลย จนกระท่ังภายหลังเกิด เหตกุ ารณเรยี กรองประชาธปิ ไตยโดยนิสิต นักศึกษา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 จึงมีการประกาศใช รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 เม่ือวันที่ 7 ตุลาคม 2517 ซ่ึงไดรับการยอมรับวาเปน รัฐธรรมนญู ฉบบั ท่ีดีท่ีสุดและเปนประชาธิปไตยมากที่สุด มีบทบัญญัติคลายคลึงกับรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 และมีการวางหลักการใหมในการใหความคุมครองสิทธิและ เสรีภาพของประชาชนมากยิ่งข้ึน ท้ังในดานที่มีการจํากัดอํานาจรัฐท่ีจะเขามาแทรกแซงอันมี ผลกระทบตอสิทธิและเสรภี าพของประชาชน และในดานการเพิ่มหนาที่ใหแกรัฐในการใหบริการแก ประชาชนใหมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดขี ึน้ เชน ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน (มาตรา 28) สทิ ธิทางการเมือง ในการใชสทิ ธเิ ลอื กต้งั และสทิ ธอิ อกเสยี งประชามติ (มาตรา 29) สทิ ธทิ จ่ี ะไมถ กู ปดโรงพมิ พหรอื หามทํา การพมิ พเ วน แตม ีคาํ พพิ ากษาถึงท่ีสดุ ใหปดโรงพมิ พหรอื หา มทาํ การพิมพ (มาตรา 40) เสรีภาพในทาง วิชาการ (มาตรา 42) การกําหนดใหพรรคการเมือง ตองแสดงที่มาของรายไดและการใชจายโดย เปด เผย (มาตรา 45) และเสรีภาพในการเดินทางภายในราชอาณาจักร (มาตรา 47) นอกจากนี้แลว สิทธิในทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูตองหาและจําเลยยังไดรับการบัญญัติรับรองไวใน รฐั ธรรมนญู ฉบบั นด้ี วย ไดแก สิทธทิ ่ีจะไดรบั การสอบสวนหรือพิจารณาคดีดวยความรวดเร็วและเปน ธรรมสทิ ธิที่จะไดรบั การชว ยเหลอื จากรฐั ในการจัดหาทนายความ (มาตรา 34) สิทธิที่จะไมใหถอยคํา เปนปฏิปกษตอตนเอง อันจะทําใหตนถูกฟองเปนคดีอาญาและถอยคําของบุคคลท่ีเกิดจากการถูก ทรมาน ขเู ข็ญ หรือใชกาํ ลงั บังคับหรือการกระทาํ ใด ๆ ท่ีทําใหถ อยคํานน้ั เปนไปโดยไมสมัครใจ ไมอาจ

157 รบั ฟง เปน พยานหลกั ฐานได (มาตรา35) และสิทธิที่จะไดคาทดแทนหากปรากฏในภายหลังวาบุคคล นนั้ มไิ ดเ ปน ผูกระทําความผดิ (มาตรา 36) เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2519 ประเทศไทยไดประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2519 เปน รัฐธรรมนูญฉบับที่ 11 ซึ่งมีบทบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพไวเพียงมาตราเดียว คือ มาตรา 8 ซ่ึงบัญญัติวา “บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมาย” นับวาเปน บทบัญญัติท่ีใหสิทธิเสรีภาพกวางขวางมาก แตไมมีการกําหนดวาเปนสิทธิเสรีภาพชนิดใด ตอมา เมื่อวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2520 มีการประกาศใชร ัฐธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2520 เปนรฐั ธรรมนูญฉบบั ท่ี 12 ซง่ึ ไมม บี ทบญั ญตั ใิ ดเลยทีใ่ หก ารรับรองสิทธิและเสรภี าพแกประชาชน รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 13 ประกาศใช เม่ือวันที่ 22 ธันวาคม 2521 นําบทบัญญัติที่ใหการรับรองสิทธิและเสรีภาพมาบัญญัติไวอ ีกโดยมี สาระสําคัญสวนใหญเหมือนกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 แตตัด บทบญั ญัตเิ กี่ยวกับการรบั รองความเสมอภาคของชายและหญิง เสรีภาพในทางวิชาการ และเสรีภาพ ในการประกอบอาชีพออกไป ภายหลังจากหัวหนารักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ ไดกระทําการยึด และควบคุมการ ปกครองประเทศไวเปน ผลสําเรจ็ เม่ือวนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ 2534 และประกาศยกเลกิ รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2521 แลว ไดป ระกาศใช ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2524 แทนโดยใหไว เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2534 ซ่ึงไมปรากฏมีบทบัญญัติใดเลยท่ีใหการรับรองสิทธิ เสรภี าพแกป ระชาชน ตอมาในป พ.ศ. 2538 ไดมีการแกไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 โดยเพม่ิ หมวดท่ี 3 วาดวยสทิ ธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ตามทปี่ ระกาศไวในรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 เมื่อวันที่ 10กุมภาพันธ 2538 ซึ่ง นําเอาบทบัญญัติที่ใหการรับรองสิทธิเสรีภาพที่เคยบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2517 มาบัญญตั ิไวอ กี คร้ัง แตไ ดต ัดเสรีภาพในทางวชิ าการออกและเพ่ิมบทบญั ญตั ิรบั รอง สิทธิในการไดรับบรกิ ารทางสาธารณสุขทไ่ี ดมาตรฐาน (มาตรา 41) สิทธใิ นการเสนอเร่ืองราวรองทุกข (มาตรา 48) และสทิ ธใิ นการรับทราบขอมูลหรือขาวสารหนว ยงานราชการ (มาตรา 48 ทวิ) ตลอดระยะเวลาของการพัฒนาแนวความคดิ เก่ยี วกบั สทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทย แมจะถูก ขัดขวางโดยปญหาการเมืองการปกครองเปนบางเวลา แตการคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทางออม ปรากฏใหเห็นผานทางกลไกของรัฐ เชน กรณีที่ฝายนิติบัญญัติพิจารณาและออกกฎหมายที่ไมเปน การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจนเกินไป การตรวจสอบการทํางานของฝายบริหารโดย ฝายนิตบิ ัญญตั ิ การตรวจสอบการทาํ งานของเจา หนาท่ีฝายปกครองโดยฝายบริหาร เพ่อื มิใหเจาหนา ที่ ใชอ ํานาจในทางท่ีมชิ อบดวยกฎหมายและเปนการละเมิดสทิ ธขิ องประชาชน การพิจารณาพพิ ากษาคดี

158 ขององคกรตุลาการโดยยึดหลักกฎหมาย เพ่ืออํานวยความยุติธรรมแกประชาชนเหลาน้ี นับวาเปน กลไกการคุมครองสิทธิมนุษยชน แมจ ะมิไดมคี วามมงุ หมายใหเ ปนผลโดยตรงกต็ าม การดําเนินการขององคกรรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรงปรากฏขึ้นพรอมกับการจัดต้ัง สํานกั งานคุมครองสทิ ธิเสรภี าพและผลประโยชนข องประชาชน (สคช.) สงั กดั กรมอยั การ เม่ือ พ.ศ. 2525 ซ่ึงปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปน “สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทาง กฎหมายแกประชาชน (สคช.)” แตการดําเนินงานขององคกรมีขอบเขตจํากัด สืบเน่ืองจากกรอบ อาํ นาจหนาท่ขี องพนกั งานอัยการตามกฎหมายตา ง ๆ สว นการดําเนนิ งานขององคก รพัฒนาเอกชนเพ่งิ มีการกอตัวขึ้นอยางเปนทางการภายหลังเกิดเหตุการณวิปโยค 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม2519 องคก รแรกทีถ่ ูกกอตงั้ เมือ่ พ.ศ. 2519 คอื สหภาพเพอื่ สทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน และในปเดียวกันน้ัน กม็ กี ารกอ ตั้ง “กลมุ ประสานงานศาสนาเพ่อื สังคม” (กศส.) หลงั จากนัน้ กม็ ีการรวมตวั กันของบุคคลทง้ั ในรูปองคกรสมาคม มลู นิธิ คณะกรรมการ คณะทาํ งาน กลมุ ศนู ย สถาบนั ตา ง ๆ เพ่ือทําหนาที่ในการ สงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสิทธิมนุษยชนในแงตาง ๆ แกประชาชน เชน สิทธิของ จําเลยหรือสิทธิทางการเมือง เปนตน ผูตองหาในกระบวนการยุติธรรมสิทธิของเกษตรกร สิทธิเด็ก สทิ ธิสตรี สทิ ธิผใู ชแ รงงานและสิทธจิ ากการกาํ เนดิ และความเปน มาของสิทธิมนุษยชนในตา งประเทศ และประเทศไทยจนถงึ ปจจบุ ัน สามารถแบง พฒั นาการในเรอ่ื งสิทธมิ นษุ ยชน ไดเ ปน 3 ระยะ ไดแก ระยะที่หนงึ่ ระยะแหง การเรมิ่ ตน เปน ยคุ ทสี่ ภาพทางสังคม มีการกดข่ีขมเหง ไมเคารพ ตอศักดิ์ศรีประจําตัวของมนุษย มีการเอารัดเอาเปรียบแกงแยง และไมมีกฎหมายหรือกฎเกณฑที่ ชดั เจนในการใหห ลกั ประกันเรอ่ื ง สทิ ธิแกป ระชาชน ระยะที่สอง ระยะแหงการเรียนรู เปน ชวงที่ผูคนในสังคมเรียกรองถามหาสิทธิและ เสรีภาพ มีความขดั แยง ระหวางผูปกครองกับกลุม คนในประเทศ มีการตอสูในระยะน้ี เร่ิมมีกฎหมาย หรือกลไกในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ผูคนเริ่มเรียนรูถึงสิทธิของตนเอง โดยชวงทายของระยะน้ี ผูคนใหค วามสาํ คญั ของสิทธติ นเอง แตอาจละเลย หรือมีการละเมิดสทิ ธแิ ละเสรีภาพของผูอน่ื บาง ระยะท่สี าม ระยะแหง การเคารพสิทธมิ นุษยชน เปนชวงที่ประชาชนมีการรวมกลุมกัน เพอื่ เหตผุ ลในการปกปองและพิทักษสิทธิมนุษยชน มีการรณรงคใหตระหนักถึงการเคารพสิทธิของ ผูอื่นการใชอํานาจหรือใชสิทธิ มีการคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชน การใชสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนเปน ไปอยา งกวางขวาง

159 เร่ืองที่ 2 การคุม ครองตนเองและผอู ืน่ ตามหลักสิทธมิ นุษยชน หากจะกลา วถงึ การคมุ ครองตนเองและผูอืน่ ตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชนคําถาม คือ การคุมครอง สทิ ธิมนุษยชนควรเร่มิ จากที่ไหน? หากเราจะหาคําตอบจากกวา งไปหาแคบ ไดแก รัฐบาล สังคม สถานท่ที าํ งาน ครอบครวั และ ปจเจกบคุ คล หากเราจะหาคาํ ตอบจากแคบขยายไปกวางก็ตองเริ่มจากปจเจกบุคคล ครอบครัว สถานท่ี ทาํ งาน สงั คม และรัฐบาล หมายความวา การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนควรเร่ิมตนกับทุก ๆ ภาคสวน โดยเฉพาะอยางย่งิ การปลกู ฝงมโนธรรมสํานกึ ในแตละปจเจกชน หลกั การพ้นื ฐานในเรอ่ื งสิทธมิ นุษยชนมดี งั น้ี 1. สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน สิทธติ ามธรรมชาตทิ ่มี มี าตั้งแตเกดิ 2. สิทธมิ นุษยชนเปน สทิ ธิซึ่งเสมอกนั ของมนุษยทุกคน 3. สิทธมิ นุษยชนเปนสิทธขิ ้นั พน้ื ฐานท่ีไมอ าจโอนใหแกกันได 4. สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน สิทธขิ ัน้ พน้ื ฐานที่ไมอ าจแบงแยกได

160 จากหลักการพืน้ ฐานในเรือ่ ง สทิ ธมิ นษุ ยชน เราจึงมองเหน็ เปา หมายของการดําเนินการเรื่อง สิทธมิ นษุ ยชนวา เปา หมายน้ันกค็ อื เพื่อใหม วลมนษุ ยชาตมิ อี ิสรภาพไดร บั ความเปน ธรรมและอาศยั อยู รว มกันอยา งสนั ติ หากมนษุ ยท ุกคนจะไดร บั การคุมครองตามสทิ ธมิ นุษยชน จะตอ งมีเสรีภาพในชีวิตเรอ่ื งใดบา ง จึงจะไดรับสิทธิตาง ๆ ตามหลักการพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน เสรีภาพที่มนุษยทุกคนตองไดรับ เพ่อื ใหไดรับสิทธติ า ง ๆ ตามหลักการพ้นื ฐานของสิทธมิ นษุ ยชน คือ 1. เสรีภาพในการแสดงออก 2. เสรภี าพในความเชอื่ 3. เสรีภาพจากความหวาดกลวั และอสิ รภาพทพี่ ึงปรารถนา การละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย ตัวอยาง การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยท่เี กดิ ข้นึ เชน 1. การละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนจากภาคเอกชน/ประชาชน ไดแก การประทุษรายตอชีวิต รางกาย เสรภี าพอนามยั ทรัพยสนิ รวมถึงการเอารัดเอาเปรียบอยางไมเปนธรรมจาก ผูท ่มี สี ถานภาพทางสงั คมหรือทางเศรษฐกจิ ท่ีดีกวา เปนตน 2. การละเมิดสิทธิมนุษยชนจากภาครัฐ เชน การใชอํานาจท่ไี มเปนธรรมหรือการใช อํานาจโดยมีทัศนคติเชิงอํานาจนิยม ไมวาจะเปนการละเมิดทางนโยบายของรัฐ การออกกฎหมาย หรือบริหารราชการท่ีมีผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพรวมตลอดถึงวิถี ชีวิตของชุมชน เปนตน แนวทางการคมุ ครองตนเองและผอู ื่นจากการถูกละเมดิ สิทธิมนุษยชน 1. ไมเปนผูก ระทาํ ความรนุ แรงใด ๆ ตอบคุ คลอน่ื 2. ไมยอมใหบ คุ คลอ่นื กระทําความรุนแรงตอตนเอง 3. ไมเ พิกเฉยเมื่อพบเห็นการละเมิดสทิ ธิตอบคุ คลอ่นื ควรแจง เจา หนาทท่ี ่ีเก่ยี วขอ งหรือให ความชว ยเหลอื ตามสมควรในสว นทที่ ําได 4. มกี ารรวมกลมุ ในภาคประชาชนอยา งเปนระบบ และจัดตงั้ เปน องคก รมลู นิธิ ฯลฯ เพ่ือ ปกปอ งคุม ครองผูออนแอกวาในสงั คม เพื่อใหเ กดิ พลังในการตรวจสอบเรียกรองใหรัฐ มกี ารจัดทํากฎหมายทเ่ี กดิ ประโยชนต อ สวนรวม 5. รณรงคใ หม ีการเหน็ คณุ คา และความสาํ คญั ของการปกปองและสง เสริมสทิ ธมิ นุษยชน

161 กิจกรรมท่ี 13 1. ใหศ กึ ษาและสรุปความเปนมาของสิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………....................................................................... 2. ใหหาตัวอยา งการถกู ละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากเอกชนและ แนวทางในการแกไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………...................................................................... 3. ใหห าตัวอยา งการถูกละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากภาครฐั และ แนวทางการแกไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………..............................................................................

162 บทท่ี 6 การมีสว นรวมในการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต สังคมไทยใหความสําคัญกับ เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความดี ความซ่ือสัตย สุจริต มาตง้ั แตสมัยโบราณถงึ กบั มีคําพังเพยวา “ซอื่ กนิ ไมหมด คดกนิ ไมนาน” ไวส อนลูกหลานมาจนทุกวนั น้ี และเน่ืองจากเรามศี าสนาเปน ทย่ี ึดเหนีย่ ว กาํ กบั จิตใจใหตั้งม่ันอยูในความดี ความงาม ความซื่อสัตย ไมคดโกงใหผูอ่ืนเดือดรอ น จงึ มีคาํ สอนท่ถี า ยทอดกนั มาหลายชวั่ อายุคน เชน “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชัว่ ” “คนดตี กนํา้ ไมไหล ตกไฟไมไหม” ความเชอ่ื เชน น้ีมีอยูในหมูคนทุกระดับในสังคมต้ังแตพระมหากษัตริย ขาราชการ และ ไพรฟ าประชาชน มพี ธิ กี รรมทางการปกครองที่สะทอนใหเ ห็นถึงคานิยมในความดีและ คนดตี อ งมีความซอื่ สตั ยท ่ียงั คงเชอ่ื มนั อยูในกลุมของขา ราชการระดับสําคัญ ๆ อยูคือ พิธีด่ืมน้ําพิพัฒนสัตยา สาบานตนตอ พระมหากษัตริย และส่ิงศกั ด์สิ ิทธิ์ ซง่ึ ปจจุบันยังมใี หเหน็ อยู อยา งไรก็ตาม กระแสโลภาภิวัตนที่กําลังเกิดข้ึนทั่วโลก รวมทั้งการไหลบาของสังคม และวฒั นธรรมนานาชาตทิ ีไ่ มส ามารถหยุดย้ังได ประชาชนคนไทยโดยเฉพาะเยาวชนและผูใชแรงงาน ตา งถูกชกั นาํ ใหห ลงใหลการเปนนักบรโิ ภคนยิ ม วัตถนุ ิยม ติดยึดอยกู ับความสุขจากเงินทอง ความฟุมเฟอย ฟุงเฟอ สุรุยสุราย ความมีหนามีตาในสังคม ยกยองคนรวยมากกวาคนดี ไมใหความสําคัญกับ ครอบครัวและสายใยผูกพันในครอบครัวเหมือนเดมิ กลาวกันวา เดก็ ๆ สมัยนี้จะเลือกไหว เลือกนับถือ คนรวย คนมอี าํ นาจวาสนา มียศ มตี าํ แหนงมากกวาคนจน คนดีท่ีเปนผูเฒาผูแกที่เปนหลักของชุมชน เหมือนเดิมแลว ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ ความเมตตาอารี ความชวยเหลือเกื้อกูล สมัครสมานสามัคคี พ่ึงพาอาศัยกันระหวางผูคนในชุมชน เกือบไมมีปรากฏใหเห็นมีการแขงขันชิงดีชิงเดนกันรุนแรง ท้ังการเรียน การทํางาน การดํารงชีวิตทวีมากขึ้น กอใหเกิดการทุจริต เลนพรรคเลนพวก อยาง กวา งขวาง แพรหลายไปทุกระดับทกุ วงการ พฤติกรรมที่ทุจริตไมถูกตอ งบางคร้ังมองเปนเร่ืองท่ีเปนประโยชนแกบานเมืองและ ไดรับการยกยอง เชน ผูมีอํานาจออกกฎหมายหรือจัดทําโครงการท่ีเปนประโยชนแกสังคม ประเทศชาติ แตเ บื้องหลังมีพฤติกรรมท่ีแอบซอนผลประโยชนใหตนเอง ญาติพ่ีนอง หรือครอบครัว หรือพรรคพวกมากกวา ที่เรียกกันวา มีผลประโยชนทับซอน มองผิวเผินเปนเร่ืองท่ีดียอมรับไดแต จริง ๆ แลวเปนการทุจริต ประพฤติมิชอบที่บานเมืองประสบความเสียหายอยางย่ิง มีการเปดเผย ผลการศกึ ษาขององคกรความโปรง ใสระหวา งประเทศในป 2555 วา ประเทศไทยมีการทุจริตโกงกิน เปนอันดับท่ี 88 จากการสํารวจ 176 ประเทศท่ัวโลก โดยหลนมาจากอันดับท่ี 80 ในการจัดลําดับ คร้ังกอน ติดกลุมเดียวกับประเทศดอยพัฒนาในแอฟริกา เชน มาลาวี มอร็อคโก แซมเบีย และ สวาซแี ลนด และเช่ือวาอันดับการทุจริตคอรร ัปชน่ั ระดบั โลกของไทยจะหลนลงตอไปอีกอยางตอเนื่อง สวนผลการสํารวจความเห็นคนไทยท่ัวประเทศของสาํ นกั โพลลห ลายแหง ในป พ.ศ. 2555 พบขอมูลท่ี

163 นาตกใจอยางยิ่งในทํานองเดียวกัน คือ ประชาชนกวารอยละ 79 - 58 ยอมรับไดถารัฐบาลทุจริต คอรรัปชัน่ แตขอใหตนเองไดประโยชนด ว ย ท้ังนี้ ประชาชนดงั กลา วเนน กลมุ เด็กและเยาวชนมากที่สดุ รองลงมา คือ กลุมนักเรียน นักศึกษา พอคานักธุรกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เกษตรกร ขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกจิ และกลมุ แมบ า นเกษียณอายรุ าชการ ตามลาํ ดับ ผลการสาํ รวจวจิ ัยดงั กลาวน้ี จะเห็นไดวา คานิยมในความดีในปจจุบันเปลี่ยนไปมาก เปน คานิยมท่มี ใี หเ หน็ ในทกุ แหง ของสังคมไทย ตัง้ แตใ นครอบครวั ในชมุ ชนรา นคา ในหมูนักการเมือง ขาราชการ แมกระทั่งในหองเรียนและสถานศึกษา จะเปนปญหาสังคมท่ีหย่ังรากลึกลงไปทุกทีใน สงั คมไทย ฉะนัน้ จงึ เปนเรื่องทเี่ ราจะตอ งรูเทา ทัน มีจติ สํานึกและมีสว นรวมที่จะชวยกันปองกันแกไข ขจัดปญหาทุจริตคอรรัปชั่นเหลาน้ีใหหมดไป ตามแนวทางที่สํานักงานปองกันและปราบปราม การทจุ รติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.) ไดก ําหนดเปนมาตรการในการแกไขปญหาในภาพรวมท่ีเนนการมีสวนรวม ของประชาชนในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต ซ่ึงหมายถงึ การใหประชาชนเขาไปมีบทบาท ในฐานะที่เปนสวนหน่ึงของผูดําเนินการดวย โดยการวางระบบใหประชาชนกลาคิดกลาทําในส่ิงที่ ถกู ตอ ง กลา ตดั สนิ ใจในกรอบของการเคารพสิทธิข์ องผอู ื่น และสงเสริมใหท ํางานเปน รูปแบบเครือขาย เช่ือมโยงกันทั้งระดับบุคคลและระดับองคกรโดยมีฐานะเทาเทียมกัน ถักทอรอยเรียงกันดวย วตั ถุประสงคเ ดียวกนั เพ่อื เพม่ิ พลงั และความมัน่ ใจในการมีสวนรว มของประชาชนในการปองกันและ ปราบปรามการทจุ ริตใหหมดไป มาตรการดังกลา วพอสรปุ ได ดงั นี้ 1. วธิ สี รางความตระหนักใหป ระชาชนมีสวนรว มในการตอ ตานการทจุ ริต การใหประชาชนมีสวนรวมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ในการตอตานการทุจริตโดยวิธีการ สรางความตระหนกั อาจพิจารณาไดดังนี้ 1.1 ปลูกจติ สาํ นึก คา นิยม คุณธรรมจริยธรรมและสรางวินัยแกทุกภาคสวน โดยการ สงเสริมการดาํ เนินชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมการปฏิบตั ิตามหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมและวินัย ใชก ารศกึ ษาเปน เครื่องมอื ในการปองกนั เสริมสรางความรู ทกั ษะ ทศั นคติ ปลูกฝง จิตสํานึกใหนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชนอยางตอเนื่อง รวมทั้งผลักดันคานิยม การปอ งกันการทุจรติ ความซอ่ื สตั ยสุจริต รงั เกียจการทจุ ริต เปน คานยิ มแหงชาติ 1.2 รวมมือในการสรางการมีสว นรว มและเครือขา ยปอ งกันและปราบปรามการทุจริต ในทุกภาคสวนโดย 1) การประชาสัมพันธต อ ตานการทุจริตประพฤตมิ ิชอบทกุ รปู แบบ 2) เสรมิ สรา งกระบวนการมีสว นรว มของประชาชนทุกภาคสวน 3) เสรมิ สรางความเขม แขง็ ของเครือขายใหม ีขวญั และกําลังใจในการทํางาน

164 1.3 สง เสริมความเปนอสิ ระ และสรางประสิทธิภาพใหแกองคกรที่มีหนาท่ีตรวจสอบ การทุจริต โดยเฉพาะสํานักงาน ป.ป.ช. ใหปราศจากการแทรกแซงของอิทธิพลจากภาคการเมือง ภาคราชการ และภาคธุรกิจ และถวงดุลอํานาจภาครฐั ทเ่ี กย่ี วของทกุ ระดับ เปดโอกาสใหประชาชนเขาถึง ขอ เทจ็ จรงิ อยางทันการณ 1.4 สงเสริมการสรางมาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพแกบุคลากรของหนวยงาน ท่ีมี หนาท่ีตรวจสอบการทุจรติ รวมท้ังการเสริมสรางความรูทักษะและจริยธรรมแกบุคลากร รวมทั้ง เสริมสรางขวัญกําลังใจและการบริหารงานบุคลากร การสรางความรวมมือดานวิชาการกับองคกร ตา งประเทศดวย 2. สรา งความเขาใจที่ถกู ตอ งใหก ับประชาชนและหนวยงานเครอื ขายเก่ียวกับกฎหมายท่เี ก่ยี วของ ในการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตองรบั เปน หนาทใี่ นการดําเนินงานรวมกบั หนว ยงานเครือขาย ในการสงเสริมใหประชาชนชาวไทยมีความรู ความเขา ใจที่ถูกตองในเรื่องกฎหมาย ระเบียบ และ มาตรการตา ง ๆ ทจ่ี ะเปนประโยชนในการรวมมือกนั ปองกันพฤติกรรมการทุจริตคอรรัปช่ันรูปแบบ ตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย กําหนดใหรัฐตองมีหนาท่ีสงเสริม สนับสนนุ การมสี ว นรว มของประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองคกร ทางวิชาชพี โดยเฉพาะขอ กฎหมายท่เี ก่ยี วของในการปฏิบัตงิ าน เพ่อื ปอ งกันปญหาการทุจรติ คอรรัปชัน่ ที่ผูปฏิบัติงานและเครือขายภาคประชาชนควรทราบ เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 87 (3) ที่กําหนดใหมีการสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของ ประชาชนในการตรวจสอบการใชอ าํ นาจรัฐทุกระดับ และพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวาดว ย การปองกันและปราบปรามการทุจริต พุทธศกั ราช 2542 (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2554 มาตรา 19 (13) วาดวยการเสรมิ สรา งทศั นคติและคา นยิ มเกี่ยวกบั ความซ่อื สัตยสุจริต รวมท้ังดําเนินการใหประชาชน หรอื กลุมบุคคลมสี ว นรว มในการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ ทง้ั นี้ มรี ายละเอียดท่สี ามารถศึกษา คนควาไดจ าก www.nacc.go.th (เวบ็ ไซตข อง ป.ป.ช.) 3. การกระตนุ จิตสาํ นึกการมีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ เพ่อื ใหผเู รียนเกิด ความเขา ใจ ตระหนัก และมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมท่ีจะปองกัน การทุจริตประพฤติมิชอบในชุมชน และสังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 จงึ ไดกําหนดแนวทางการเรียนรู ในรปู แบบกรณีศึกษา ใหผูเรียนไดฝก ทักษะการคิด วิเคราะห การมีสวนรวมในการแกปญหาการทุจริตรูปแบบตาง ๆ ดวยเจตนาท่ีจะให ผเู รยี นสามารถนาํ ไปเปน แนวทางในการปฏิบัติ เพื่อประโยชนต อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม

165 จนเกิดการพฒั นาจติ สาํ นกึ ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตได กิจกรรมท้ังหมด ประกอบดวย 6 กรณีศึกษา ไดแ ก 1. เรื่อง “เศรษฐใี หม” หรือ “แมค รัว” 2. เรื่อง “การตรวจรบั สงเดช” 3. เรือ่ ง “เรือ่ งเลา ของโดเรมอนทย่ี ังไมเคยเลา ” 4. เรื่อง “สายนําจบั เท็จ” 5. เรื่อง “อะไรอยใู นกลอ งไม” 6. เรอ่ื ง “รถปลูกสะระแหน” ทง้ั นี้ผเู รียนและผูสอนจะตอ งรว มมือกันนําขอมูลทง้ั ดาน วิชาการ ระเบียบ กฎหมาย ทไ่ี ดมกี ารสรุปรวบรวมไวในเอกสาร คมู ือการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู เร่อื ง การมสี วนรว มของประชาชน ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต รวมกับขอ มลู ปญหาความตองการสภาพแวดลอ ม ของชมุ ชน ทองถน่ิ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ท่ีตนเองมอี ยมู าตัดสนิ ใจแกปญหาตา ง ๆ ใหล ุลวงไปไดอยางเหมาะสม ตอ ไป

166 กรณศี ึกษาเรือ่ งที่ 1 เร่อื ง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครวั ” วตั ถปุ ระสงค 1. ระบุปญ หาการทุจรติ จากการใชอํานาจหนาทใี่ นทางที่ไมถ กู ตอง 2. บอกคุณธรรมในการปฏบิ ัติงานได 3. เกิดจติ สํานกึ ในการปอ งการการทจุ ริต เนอื้ หาสาระ 1. คณุ ธรรมในการทํางานเพ่อื ปอ งกนั หรอื หลีกเลยี่ งการทจุ ริต 2. สาํ นกึ ดา นความซ่อื สตั ยตอ การปฏบิ ัตงิ าน กรณีศึกษา เจาหนาท่ี ป.ป.ช. ช่ือ คุณสืบ ไดไปตรวจดูบัญชีท่ี ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา ตรวจสอบ บญั ชที รัพยส ินของนกั การเมืองที่แสดงตอ ป.ป.ช. คุณสืบเปดดบู ญั ชตี าง ๆ ของนักการเมืองพบวา หุนของนักการเมอื ง ระดับหัวหนาพรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญที่เปนของนักการเมืองผูน้ันเอง ทําไม จึงมีหนุ อยูไมมาก แตผถู อื หุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี ซึ่งเปนแมครัวบานนักการเมืองใหญ รายนั้น คุณสบื เรมิ่ ไดเคา ของการถือหนุ แทนนกั การเมือง จงึ ไดทาํ การปลอมตัวเขาไปเพ่ือหาหลักฐาน และพบวา คุณสมศรี เปนผถู ือหนุ รายใหญของบริษัทนักการเมอื งทค่ี ุณสมศรเี ปนแมครวั ประเดน็ 1. จากเน้ือหาเร่ือง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ กฎหมายวา ดว ยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ หรือไม เพราะเหตใุ ด 2. จากเนื้อหาเรอ่ื ง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมค รวั ” การกระทําของนายจางของนางสมศรี สะทอนถงึ การขัดตอ คุณธรรม จริยธรรม อยา งไร ใบความรู - เรอ่ื งความซือ่ ตรงกับความซ่อื สตั ย

167 ใบงาน 1. ใหผ เู รียนศกึ ษากรณศี กึ ษา 2. แบงกลุมอภิปรายตามประเด็นที่กาํ หนด 3. ใหต ัวแทนกลุมออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม 4. ใหผูสอนและผเู รียนรวมกนั สรปุ แนวคดิ ท่ไี ดจ ากผลการอภิปรายกลมุ 5. ใหผ เู รียนรว มกันวางแผนและจัดทํากจิ กรรมการเรียนรูต อ เนื่องพรอมสรุปรายงานผล กจิ กรรมเรียนรูตอเนือ่ ง ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองกันและปราบปราม การทุจริต พรอ มจดั ทาํ สรปุ รายงานผล เสนอผสู อน สือ่ และแหลง การเรียนรู - Internet - สื่อสง่ิ พิมพ/ วารสาร/หนงั สอื พมิ พ

168 กรณศี กึ ษาเร่อื งที่ 1 เรื่อง “เศรษฐใี หม” หรอื “แมครวั ” กฎหมาย ป.ป.ช. กาํ หนดใหนักการเมืองต้ังแต นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. รวมทงั้ เจา หนาท่ขี องรฐั ทม่ี ีตาํ แหนง สงู ตอ งย่นื บัญชแี สดงรายการทรพั ยส ินและหน้สี นิ ตอ ป.ป.ช. เมื่อ เขาดํารงตําแหนงและพนจากตําแหนง เพ่ือตรวจสอบวามีทรัพยสินอะไรเพิ่มข้ึนผิดปกติหรือไม หลงั จากยืน่ บญั ชแี ลว ป.ป.ช. ตอ งเปดเผยบัญชีฯ ของนกั การเมอื งตอสาธารณะ เจา หนา ที่ ป.ป.ช. ช่ือ คณุ สืบ ไดไ ปตรวจดบู ญั ชฯี ท่ี ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา ตรวจสอบ คุณสืบเปดดูบัญชีฯ ตาง ๆ ของนักการเมืองแลวก็มาสะดุดสงสัยและตั้งขอสังเกตวา หุนของนักการเมืองระดับหัวหนาพรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญท่ีเปนของนักการเมืองผูนั้นเอง ทําไมจงึ มหี นุ อยูไมมาก แลว หุนทีเ่ หลอื เปน ของใคร เมอ่ื คณุ สบื ตงั้ ขอ สังเกตแลว จงึ คนหาความจรงิ โดยคุณสืบเริ่มจากการไปคนหารายชื่อ ผูถือหุนในบริษัทยักษใหญดังกลาว จึงพบวามีผูถือหุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี แสดงวา คุณสมศรีตอ งเปน “เศรษฐใี หม” แน ๆ เพราะไมเคยไดย นิ ช่อื ตดิ อันดบั เศรษฐีเมืองไทยมากอน คุณสืบ จึงไปตรวจสอบจากทะเบียนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งจะมีชื่อของคนไทยทุกคนที่มี บัตรประจาํ ตัวประชาชนในทะเบียนราษฎรจะมีขอมูลบุคคลวา ช่ือ – สกุลใด เคยเปลี่ยนช่ือ สกุล อยา งไร อายุเทาใด หนา ตาเปนอยางไร บดิ ามารดาชื่ออะไร พรอมที่อยอู าศยั คุณสบื ทราบวา คณุ สมศรีนนั้ มบี า นพกั อยูในจัดหวัดภาคอสี าน คณุ สบื จงึ เก็บสัมภาระ เดินทางไปจังหวัดภาคอีสาน เพื่อไปหาคุณสมศรี เมื่อไปถึงบานเลขท่ีตามท่ีปรากฏในทะเบียนราษฎร คุณสืบไดพบกับบานไมเกา ๆ หลังหน่ึง ต้ังอยูนอกเขตอําเภอเมืองเล็กนอย คุณสืบคิดอยูในใจวา “เศรษฐใี หม” เปน คนสมถะ มบี านหลงั เลก็ ๆ พออยูอาศัย ไมฟ ุงเฟอเหมือนเศรษฐีคนอน่ื จึงไดเขาไป เคาะประตูบาน ปรากฏวา มีคณุ ยายคนหนึง่ เดนิ ออกมาเปดประตู คุณสบื อางวา รูจักกับคุณสมศรีจะ มาหาคุณสมศรี ไดรับคําตอบจากคุณยายวาคุณสมศรีไปทํางานอยูกรุงเทพฯ คณุ สืบจึงถามคุณยายวา คณุ สมศรี ทาํ งานท่ไี หน จะติดตอ ไดอ ยางไร คณุ ยายจึงใหหมายเลขโทรศพั ท แตไ มไ ดบอกวาทาํ งานทไ่ี หน เม่อื คุณสบื ไดร ับแลว ก็ขอลาและขอบคุณคุณยายตามมารยาทสงั คมไทย จากนั้น คุณสบื จงึ เดนิ ทางกลบั กรุงเทพฯ และไดโ ทรศพั ทไ ปตามหมายเลขที่คุณยายใหไว โดยขอพดู กับคณุ สมศรี คนรบั สายตอบวา คุณสมศรไี ปจายกบั ขาวที่ตลาด คณุ สบื ยังคิดในใจวา เดีย๋ วนี้ เศรษฐีใหมไ ปจา ยกบั ขา วทต่ี ลาดเอง จงึ ไดบ อกกับคนรับโทรศัพทวา วันนคี้ ณุ สมศรีออกไปจายกบั ขาวเอง เลยหรือ ผรู บั โทรศัพทจึงตอบวา ไปจา ยกบั ขา วทกุ วันเพราะเปน แมครัว

169 คณุ สืบ เรมิ่ ไดเคา ของการถอื หุนแทนนกั การเมอื ง แตเ พอื่ ความชัดเจนในเรอื่ งนี้ คุณสืบ จงึ ไดปลอมตัวไปท่ีบา นหลังดังกลา ว เพ่อื หาขอ มูลใหแ นช ดั วา เปน บา นของนกั การเมืองเจาของบริษัท ยักษใ หญจ รงิ หรอื ไม โดยคุณสืบไดห าขอ มลู มากอนวา คุณสมศรจี ะไปจา ยกบั ขา วในเวลาบาย ๆ จึงได วางแผนเขาไปเวลาประมาณบายสองโมง และจากการท่ีคุณสบื ปลอมตัวเขาไป จึงมีหลักฐานยืนยันไดวา คุณสมศรี เปนแมค รัวบา นนกั การเมืองใหญรายนจ้ี ริง และเปนคณุ สมศรรี ายเดยี วกบั ที่เปน ผถู อื หนุ รายใหญ ของบรษิ ทั นักการเมอื งที่คุณสมศรีเปนแมครัว คณุ สมศรจี งึ เปล่ยี นฐานะใหมจ ากเศรษฐีใหม กลายเปน แมค รวั ซะแลว ประเด็น 1.จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ กฎหมายวาดวยการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตหรอื ไม เพราะเหตใุ ด 2. จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนายจางของ นางสมศรสี ะทอนถงึ การขดั ตอ คุณธรรม จรยิ ธรรม อยา งไร

170 ใบความรู “ซ่ือตรง” กบั “ซื่อสัตย” ความหมายของคําสองคํา คือ “ซื่อตรง” กับ “ซ่ือสัตย” ตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน ป 2542 ไดก ลา วไว คือ “ซ่ือตรง” แปลวา ประพฤติตรง ไมเอนเอง ไมคดโกง ใหสังเกตคําวา ประพฤติ ประพฤติ คอื วาจา และการกระทํา ถา ทางพระ จะหมายถึง วจีกรรม กายกรรม “ซื่อสัตย” หมายถึง ประพฤติตรงและจริงใจ ไมคิดคดทรยศ ไมคดโกง และ ไมห ลอกลวงเหมือนกับคําวา คุณธรรม จริยธรรม คําวา จริยธรรม บอกแตเพียงความประพฤติ คือ คําพดู และการกระทํา แตถาพดู ถงึ คุณธรรมตองรวมใจดวย สรุปไดว า ซ่ือตรง คือ ส่ิงทป่ี ระพฤตอิ อกมาใหป รากฏ แลวสังคมตัดสนิ วา ตรงหรือไมตรง แตถา ซือ่ สัตย นอกจากจะประพฤตติ รงแลว ยังตองพัฒนาที่จติ ใจ มคี วามจริงใจดว ย สุภาษิตสะทอนความซือ่ ตรง สุภาษิต เรื่อง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย ซ่ึงความจริงคนไทย ไต ลาว ซ่ึงเปน คนกลุมเดียวกัน และมีจํานวนกวารอยลานคนยกยอง เร่ือง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย มาเปน ความดอี นั ดบั หน่งึ โดยสุภาษติ โบราณจากสถานทตี่ า ง ๆ มีดังนี้ คือ กบั ขาวอรอยเพราะเกลือ (The meal is good, thanks to the salt) คนดีเพราะซือ่ สตั ย (A man is good due to his honesty) สวนดี ตองรูวธิ ปี ลูก ซื่อ กนิ ไมห มด ลกู ดี ตองรูวธิ ีสอน คด กนิ ไมน าน

171 สมัยกอนในปม น้ํามันสามทหาร ทตี่ วั ถงั น้ํามันจะมีปายวา “ซ่ือกินไมหมด คดกินไมนาน” ซ่ึงเม่ือกอนคําน้ีมีเยอะ แตปจจุบันหายไปที่หายไปไมใช เพราะสามทหารหมดไป แตอาจหายไป เพราะคนไทยไมเ ชือ่ คา นิยมน้แี ลว คานิยมอาจเปล่ยี นแปลงไปเปน “ซอ่ื ไมม ีกนิ แตคดมีกินจนเหลือกิน” กเ็ ปน ได แตหากพิจารณาแบบยาว ๆ แลวจะเหน็ วา ซ่ือกินไมห มดหรอก แตค ดกินไมน าน น่ันแหละที่ เปน จรงิ

172 กรณศี ึกษาเรือ่ งท่ี 2 เร่อื ง การตรวจรับสง เดช วัตถปุ ระสงค 1. บอกคุณธรรมในการปฏิบัติงานได 2. มีสว นรว มในการปอ งกันการทุจริตในหนวยงาน 3. เกดิ จิตสาํ นกึ ในการปองการการทจุ รติ เนื้อหาสาระ 1. ชอ งทางการสงเร่ืองรองเรยี นการทุจรติ 2. คุณธรรม จริยธรรม ของผปู ฏบิ ัติงาน กรณศี ึกษา จากการไตส วนขอเท็จจรงิ ของ ป.ป.ช. ไดความวา เมื่อป พ.ศ. 2545 องคการบริหาร สวนตําบลแหงหนึ่ง ไดสอบราคาจางเหมากอสรางอาคารอเนกประสงคคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ัน วงเงิน 1,904,000 บาท โดยมีนาย ก ผูถกู กลา วหา เมอื่ ครง้ั ดํารงตาํ แหนงนายกองคก ารบริหารสว นตําบล เปน ประธานกรรมการตรวจการจา ง ในการดาํ เนินการกอ สรา งปรากฏวา ผูรับจางกอสรางไมถูกตองตาม แบบรปู รายการที่องคก ารบริหารสวนตาํ บลกาํ หนดหลายรายการ เปนเหตุใหหัวหนาสวนโยธาในฐานะ ผูควบคุมงาน ทาํ บันทกึ เสนอผูถูกกลาวหาในฐานะประธานกรรมการตรวจการจาง แจงใหผ ูรับจางแกไขให ถูกตอง ตอมาผูรับจางไดเขามาดําเนินการแกไขงานแลว แตก็ยังไมถูกตองตามแบบรูปรายการที่ กําหนดอีก หัวหนาสวนโยธาในฐานะผูควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจาง จึงไดมีบันทึก เสนอผูถกู กลา วหาอกี คร้งั เพื่อแจงใหผูรบั จางดําเนินการแกไขโดยดวน แตปรากฏวาผูถกู กลา วหาไดมี คาํ สง่ั อนุมัติเบกิ จา ยเงินใหแกผ รู บั จา งทาํ ใหอ งคก ารบริหารสวนตําบลตองเบิกจายเงินคาจางกอสราง ใหแ กผ รู ับจา งไปโดยท่ีงานยังไมเ สร็จสมบูรณเ ปนเหตุใหท างราชการไดร บั ความเสียหาย

173 ประเด็น จากกรณีศึกษา เร่ือง ตรวจรับสงเดช นายก อบต. กระทําความผิดในเร่ืองใด และ สงผลตอ คณุ ธรรมในการบรหิ ารงานอยางไร ใบความรู - ชอ งทางการสง เรื่องรองเรียนการทจุ ริต ใบงาน 1. ใหผูเรียนศกึ ษากรณีศกึ ษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ตามประเด็นทีก่ ําหนดให 3. ใหผ สู อนและผูเ รยี นสรุปแนวคดิ ทไี่ ดจ ากการอภปิ รายกลุมรว มกนั กจิ กรรมการเรยี นรูอ ยา งตอ เน่ือง - ใหผเู รยี นรวมกนั จัดทํากิจกรรม/โครงการในการรณรงคการปองกันและปราบปราม การทจุ ริตในชมุ ชน พรอ มจัดทําสรปุ รายงานเสนอผูสอน สอื่ /แหลง คน ควา - หนังสือพมิ พ/ วารสาร - ส่ือ Internet - สํานักงาน ป.ป.ช.

174 ใบความรู ชอ งทางการสงเรอื่ งรอ งเรยี นการทจุ ริต หากพบเห็นเจาหนาท่ีของรัฐกระทําความผิดทุจริตตอหนาที่ กระทําความผิดตอ ตาํ แหนง หนา ท่ี หรอื กระทาํ ความผดิ ตอ ตําแหนงหนา ท่ใี นความยุติธรรม รํ่ารวยผิดปกติ หรอื มีทรัพยสิน เพม่ิ ขึน้ ผิดปกติ สามารถทําหนังสอื รองเรยี นตอ สํานักงาน ป.ป.ช. ตามหลักเกณฑต อ ไปน้ี 1. มีหนังสือ “เรียน เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.” หรือ “ตู ปณ. 100 เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300” หรือเขารองทุกขกลาวโทษตอพนักงานสอบสวน ณ สถานีตํารวจในเขตอํานาจ สอบสวน โดยพนกั งานสอบสวนจะสง เรื่องไปยงั สาํ นักงาน ป.ป.ช. เพ่ือดําเนินการตอ ไป 2. ใหมรี ายละเอียดการรองเรียน ดงั น้ี (1) ชอ่ื – สกุล ท่อี ยู และหมายเลขโทรศัพทข องผกู ลาวหา (2) ชือ่ – สกลุ ตาํ แหนง สังกดั ของผูถ กู กลาวหา (ตอ งเปน เจา หนาทีข่ องรัฐ หรือ พน จากตาํ แหนง ไมเกิน 5 ป) (3) ระบขุ อ กลา วหาการกระทําความผิดฐานทุจริตตอ หนา ที่ การกระทําความผิดตอตําแหนงหนาท่ีราชการหรือ ตําแหนงหนา ที่ในการยตุ ิธรรม ราํ่ รวยจนผิดปกติ หรือมที รัพยสนิ เพิม่ ข้นึ ผิดปกติ (4) บรรยายการกระทาํ ความผดิ อยา งละเอยี ดตามหัวขอ ดังน้ี - กรณีกลาวหากระทําความผิดฐานทุจรติ ตอหนาท่ีกระทําความผิดตอตําแหนงหนาท่ีราชการ หรือ กระทําความผดิ ตอ ตําแหนง หนาทีใ่ นการยุติธรรม ก. การกระทาํ ความผิดเกดิ ขนึ้ เมื่อใด ข. มขี น้ั ตอนหรอื รายละเอยี ดการกระทาํ ความผดิ อยางไร ค. มีพยานบคุ คลรเู ห็นเหตุการณหรือไม ง. ในเรื่องนี้ไดรองเรียนตอหนว ยงานใด หรือยื่นฟองตอ ศาลใด เมื่อใด และผลเปนประการใด - กรณกี ลาวหาวาราํ่ รวยผิดปกตหิ รือมีทรัพยส นิ เพ่ิมขนึ้ ผิดปกติ ก. ฐานะเดมิ ของผูกลาวหาและภริยาหรือสามี รวมทงั้ บิดามารดาของทงั้ สองฝายเปนอยา งไร ข. ผูถกู กลาวหา และภรยิ าหรอื สามี มอี าชีพอ่ืน ๆ หรอื ไม ถา มอี าชีพอ่ืนแลวมีรายไดมากนอ ยเพยี งใด ค. ทรัพยส นิ ทจ่ี ะแสดงใหเหน็ วารา่ํ รวยผดิ ปกติฯ อะไรบาง

175 3. ลงลายมือชื่อ และเขียนช่ือ – สกุล ดวยตัวบรรจง พรอมแจงที่อยขู องผูกลาวหาใหชัดเจน หากตองการใหสํานักงาน ป.ป.ช. ปกปดช่ือ – สกุล และที่อยูใหระบุชัดเจนดวย สวนกรณีที่ไมเปดเผย ชื่อ – สกุลจรงิ ถือวาเปน บัตรสนเทห ใหสง แบบไปรษณยี ตอบรับ (เพือ่ จะไดร บั ทราบวา หนังสือรองเรียน สงถึง ป.ป.ช. แลว) เพราะสํานักงาน ป.ป.ช. จะติดตอกับผูรองเรียนโดยตรงกับผูรองเรียนท่ีแจง ชื่อ – สกลุ และทอี่ ยเู ทา น้นั 4. สายดวน Call Center 1205 5. สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด มีอํานาจหนาที่ในการสงเสริมการปองกันและปราบปราม การทุจริต โดยประสานความรวมมือกับประชาชนและสวนราชการเพื่อเผยแพรความรูแกประชาชน การเสริมสรางทัศนคติและคานิยมในความซื่อสัตยสุจริต การสงเสริมใหประชาชนหรือกลุมบุคคล ทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต รวมทั้งการเสนอมาตรการ ความเห็นหรือขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพ่ือประโยชนในการปองกันและปราบปราม การทจุ ริต นอกจากน้กี รรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตประจําจังหวัด ยังไดแบงเบาภาระงาน ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เชน การตรวจสอบขอเทจ็ จรงิ เพอื่ เสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาตอไป การตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินท่ี ผูม ีหนา ท่ยี ่นื บญั ชีไดย ่ืนตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งน้ี การดําเนินการดังกลาว คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเปนผกู ําหนดหลักเกณฑและวิธีการใหก รรมการ ป.ป.ช. ประจาํ จงั หวดั ดําเนินการ อนง่ึ กรรมการ ป.ป.ช. ประจาํ จงั หวัด มีหนา ท่ีย่ืนบญั ชีแสดงรายการทรพั ยส ินและหนสี้ ิน ตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. และอาจถูกตรวจสอบโดยประชาชนได กลาวคือ ประชาชนผูมีสิทธ์ิเลือกตั้ง จาํ นวนไมนอ ยกวาหาพันคน สามารถเขาช่ือรองเรียนขอตอคณะกรรมการ ป.ป.ช วากรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตประจาํ จังหวัด ผใู ดขาดความเทยี่ งธรรม จงใจฝาฝนรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมาย หรือมีพฤติการณที่เปนการเสื่อมเสียแกเกียรติศักด์ิของการดํารงตําแหนงอยางรายแรง ซ่ึงหากมี การกลา วหาดงั กลาวแลว คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจกําหนดใหกรรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดผูน้ัน ยตุ กิ ารปฏิบัติหนาทไ่ี วก อ นก็ได

176 กรณศี กึ ษาเรอ่ื งที่ 3 เรื่องเลาของโดเรมอนทยี่ งั ไมเคยเลา วัตถุประสงค 1. บอกแนวทางในการเสรมิ สรางคุณธรรมได 2. ใชค ณุ ธรรมในการปฏิบตั ติ นปอ งกันการทุจริตได 3. เกดิ จติ สาํ นึกในการปอ งการการทจุ รติ เนอ้ื หาสาระ 1. คุณธรรมในการทาํ งานเพอื่ ปองกนั หรอื หลกี เลีย่ งการทจุ ริต 2. การมสี วนรวมของประชาชน กรณีศกึ ษา โนบิตะและเพ่ือน ๆ ไดใชของวิเศษของโดเรมอนในการสรางประเทศใหมใน โลกอนาคตและไดอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนท เปนเจาหนาท่ีของรัฐ ซูเนะโอะ เปน บริษทั เอกชน สว นชิซกู ะ เปนฝายตรวจสอบ โดเรมอน เปนฝายสนับสนุนในทุก ๆ เรื่อง ในประเทศ ของโลกใหม มีการบริหารกิจการบานเมืองเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี เพ่ือนําไปสราง สาธารณูปโภค ไฟฟา นํา้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรียน เวลาผานไป โนบิตะ กลายเปน นักการเมืองทล่ี งทุนทาํ การซื้อเสียง เพ่อื ใหประชากรเลือกตนเองมาบรหิ ารประเทศ เม่อื ไดอํานาจรัฐก็ จับมอื กับไจแอนททเ่ี ปน เจาหนา ทร่ี ัฐออกนโยบายตาง ๆ เอื้อประโยชนใหกับซูเนะโอะที่เปนนักธุรกิจ และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการกระทําของคนทั้งสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวน ชิชูกะ ทําอะไรสามคนนัน้ ไมไดเ ลย เพราะถูกจํากดั ทงั้ บทบาทและอาํ นาจหนาที่ ประเด็น จากเนือ้ หาเรื่อง “เรอ่ื งเลาของโดเรมอ นทย่ี งั ไมเ คยเลา” หากผูเ รียนเปนโนบิตะซึ่งเปน ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทาํ การบริหารประเทศอยางไร เพื่อใหประชากรในประเทศสามารถอยู รว มกันไดอ ยางมคี วามสุข

177 ใบงาน 1. ใหผเู รยี นศึกษากรณีศึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเห็นตามประเดน็ ท่ีกําหนดให 3. ใหผ สู อนและผเู รยี นรว มกันศึกษาหาขอมลู ประกอบการอภปิ รายหาเหตผุ ล 4. ใหผ ูสอนและผเู รยี นสรุปแนวคดิ ทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกัน 5. ใหผ ูเ รียนรว มทาํ กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื งพรอ มสรุปรายงานผล กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื ง ใหผูเรียนรว มกันจดั ทํากจิ กรรม/โครงการในการปองกันและปราบปรามการทุจริตใน ชุมชน พรอมจัดทาํ สรปุ รายงานเสนอผูสอน สอ่ื และแหลงการเรยี นรู - Internet - บทความตาง ๆ - หนงั สือพมิ พ

178 กรณศี กึ ษาเรอื่ งท่ี 3 เรอื่ งเลา ของโดเรมอ นทยี่ ังไมเ คยเลา ถาพูดถึงการตูนท่ีเปนท่ีรูจักของผูคนมากมายบนโลกนี้ คงไมมีใครท่ีไมรูจักเจาแมว หุนยนตท ี่ชอ่ื วา “โดเรมอน” ซ่งึ เปนการตนู ทลี่ กู ของผมชอบมาก ตอ งดกู อ นนอนทุกคืนและดวยเหตุน้ี จึงทาํ ใหผมรบั รเู รื่องราวของโดเรมอ นไปโดยปริยายแบบไมทนั ตัง้ ตวั กอนนอนในคืนหนึ่งลูกของผมก็ยงั คงดูโดเรมอนเหมอื นเชนเคย ในคืนฝนตกฟารอง โครมคราม ผมหนังอา นหนังสือเก่ยี วกับการทุจรติ เชิงนโยบายไปพราง ๆ เพราะเรื่องนก้ี าํ ลังฮติ แตหูก็ ไดยินเร่ืองทีก่ ําลังฉายอยูจับใจความไดคราว ๆ วา โนบิตะไดคะแนนสอบเทากับศูนย คุณครูฝาก กระดาษคาํ ตอบที่ไดค ะแนนไปใหคุณแมดู ระหวา งเดินทางกลับบา นพรอ มไจแอนท ซูเนโอะ และซิชูกะ โนบติ ะก็มคี วามคิดวาจะเก็บกระดาษคาํ ถามไปซอนในโลกอนาคต ซึง่ เพื่อน ๆ ทุกคนเห็นดีดวย จึงได ไปปรกึ ษา (เชงิ บังคับ) กับโดเรมอน แลวไฟฟาก็เกิดดับขน้ึ มากะทันหันทั้งบาน เม่ือไมมีอะไรดู ลูกก็ อา งวา นอนไมห ลบั รบเราใหผ มเลา เรอื่ งโดเรมอนท่ีกําลังฉายอยูกอ นไฟดับใหจบ ผมจงึ แตง เรอื่ งตอไป เลยวา เรื่องมีอยูวา เม่ือโดเรมอนไดรับคําปรึกษาแกมบังคับก็เสนอใหทุกคนเขาประตูกาลเวลา น่ังไทมแมชชีนไปสูโลกอนาคต ซึ่งเปนดาวดวงหนึ่งท่ีมีสภาพแวดลอมคลายโลก แตกตางตรงไมมี ส่ิงมีชีวิตอยูเลย เม่ือไปถึงทุกคนเกิดความประทับใจ จึงคิดสรางประเทศข้ึนบนโลกใหมนี้ ตางลง ความเห็นวา หัวใจของการอยรู ว มกัน คอื การมีหลักเกณฑ แมบทที่ทุกคนตองเคารพเพ่ือความสงบสุข ของสังคม ตั้งช่ือหลักเกณฑแมบทนี้วา “รัฐธรรมนูญ” หลักของรัฐธรรมนูญมีอยูไมกี่ประการ แตประการทสี่ ําคัญท่ีสุดทีท่ ุกคนจาํ ขน้ึ ใจ คอื บคุ คลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา และเพื่อ ไมใหเกิดความสับสนในการสรางโลกใหม โนบิตะรับอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนทเปน เจาหนาท่ีของรัฐ ซูเนโอะเปนบริษัทเอกชน สวนซิชูกะเปนฝายตรวจสอบ การสรางประเทศใหมของ ฝา ยตา ง ๆ โดเรมอนทําหนา ทสี่ นับสนุนในทุก ๆ เร่ือง วิธีท่ีงายและเร็วที่สุดก็คือ หยิบของวิเศษออก จากกระเปา หนา ทอง ครัง้ นกี้ ห็ ยบิ เคร่อื งถา ยสําเนาประชากรออกมา ปรากฏวาท้ังโนบิตะ และเพื่อน ๆ ตางเอารูปสิงสาราสตั วม าเขา เคร่ืองถายสําเนาประชากร ผลออกมาปรากฏวา สิงสาราสัตวเหลานั้น เมื่อฟกออกจากไขก็เดิน 2 ขา และพูดไดเ หมอื นคน มีการขยายเผาพันธุ โดยการใชเครื่องถายสําเนา ประชากร โดเรมอ นกําชับทุกคนวาอยาไปยุงกับปุม Reset ที่อยูดานหลังของเคร่ือง มิฉะนั้นจะเกิด ความหายนะ ในประเทศของโลกใหมม ีการบริหารกจิ การบา นเมอื งเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี เพือ่ นําไปสรา งสาธารณูปโภค ไฟฟา นาํ้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรยี น เวลาผานไปนสิ ยั ของแตล ะคนกเ็ ปลย่ี นไป โนบิตะที่เปน นักการเมืองก็ลงทุนทําการซื้อเสียง เพ่อื ใหประชากรเลอื กตนเองมาบริหารประเทศ เมอื่ ไดอาํ นาจรฐั กจ็ บั มอื กบั ไจแอน ททีเ่ ปนเจาหนาที่รัฐ

179 ออกนโยบายตาง ๆ เอ้ือประโยชนใหกับซูเนโอะท่ีเปนนักธุรกิจ และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการ กระทําของคนท้ังสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวนซิชูกะทําอะไรสามคนนั้นไมไดเลย เพราะ ถูกจาํ กดั ทั้งบทบาทและอาํ นาจหนาท่ี ลูกผมยงั ไมหลบั แทรกคาํ ถามขน้ึ วา “พอครับทําไมเคา ไมโกงกนั ตรง ๆ เลยละครบั ” “คอื พวกนกั การเมอื งพวกนเี้ คา กลวั ถูกจบั ไดว า ทุจรติ และเคายังมีจิตสํานึกอยบู าง” ผมตอบ “แลว พวกไมม ีจติ สํานึกละพอ เปน แบบไหน” “พวกไมมีจิตสํานึกก็พวกเจาหนาที่ของรัฐท่ีใชอํานาจหนาที่กําหนดหลักเกณฑตาง ๆ เพื่อ เอือ้ ประโยชนใ หแกตนเองและพรรคพวกโดยไมส นวา ประชากรผเู สยี ภาษีเคาจะคิดยังไง” ผมตอบลูก ไปใหค ลายสงสัย แลวโลกใบใหมที่โนปตะกับเพ่ือน ๆ สรางข้ึนก็มีคนไรจิตสํานึกเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ประชากรเกิดการตอตานและนําไปสูความรุนแรง เพราะทนการกระทําของเจาหนาท่ีท่ีไรจิตสํานึก ไมได โดเรมอนเองทนไมไหวจึงกดปุม Reset เคร่ืองถายสําเนาประชากรแลวทุกอยางก็หายไปใน พริบตา แลวโดเรมอนพาโนบิตะกับเพื่อน ๆ กลับมาในโลกปจจุบัน จากนั้นโนบิตะก็ตัดสินใจนํา กระดาษคําตอบของตนกลบั ไปใหแ มตามครสู ่งั “สนุกจังเลยพอ” ผมย้ิมแลวบอกใหลูกเขานอน ลูกหลับไปนานแลว ผมยังไดยินแต เสยี งเลา นิทานของตัวเองอยา งแจมชัดในมโนสํานกึ ในตอนที่วา “บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล เพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องสถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม จะกระทํามไิ ด บคุ คลยอ มมสี ทิ ธิเสมอกนั ในการรับการศกึ ษา” ประเดน็ จากเนอ้ื หาเรือ่ ง “เร่อื งเลา ของโดเรมอนท่ยี งั ไมเ คยเลา ” หากผูเรียนเปนโนบิตะซ่ึงเปน ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทําการบริหารประเทศอยางไร เพื่อใหประชากรในประเทศสามารถอยู รว มกนั ไดอยา งมคี วามสุข

180 กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 4 เรือ่ ง สายนาํ จบั เท็จ วัตถุประสงค 1. อธิบายคณุ ธรรมในการปฏบิ ัติงานได 2. วเิ คราะหวิธีการปองกนั การทจุ ริตในการปฏิบตั ิงานได 3. มีจติ สาํ นกึ ในการปองกันปญหาการทุจริต เนอื้ หาสาระ 1. กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การปฏิบัติหนาที่ 2. คณุ ธรรมในการทาํ งานเพื่อปองกนั หรือหลีกเลี่ยงการทุจรติ กรณีศกึ ษา สายนําจบั หมายถงึ ผทู แี่ จงขอ มูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาที่ผูมีอํานาจ เพื่อ ดําเนินการจับกุมและการมีคดีสายสืบนําจับ...เท็จ หมายถึง ไมมีสายนําจับตัวจริงเปนการสราง หลกั ฐานเท็จข้นึ มาเปนสายสืบ การจายเงินสนิ บนและเงินรางวัลแกผ ูแจงความนําจับ หรือสายนําจับ รวมท้ังเจาหนาท่ีท่ีทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจาหนาที่ผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30% ของมูลคาสิ่งของทจี่ ับกุมได แตถ า หากมีผแู จงความนาํ จบั หรอื สายแจง ความนําจับตอ เจาหนาท่ี สายที่ แจงนําจับกจ็ ะไดเ งนิ สินบน 30% สว นเจา หนาที่จะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คาส่ิงของที่จับกุมไดรวม เปนเงนิ รางวัลที่จะไดเพ่มิ มากขน้ึ เปน 55% (30%+25%) จงึ เปนมลู เหตจุ งู ใจใหจ ัดทาํ หลักฐานใบแจง ความเท็จขึ้นมา โดยอางวามสี ายแจงความไวท ัง้ ๆ ท่ีเปนการจบั กุมตามหนาท่เี ทา น้ัน ประเดน็ จากเน้อื หาเรอื่ ง “สายนําจับเท็จ” ผเู รียนเห็นวา เจาพนักงานผูสรางหลักฐานการนํา จบั เทจ็ ข้ึนมา เพอื่ ผลประโยชนดา นใด และขดตอหลกั คณุ ธรรม จริยธรรมในดา นใด

181 ใบงาน 1. ใหผ เู รียนศึกษากรณศี ึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ตามประเดน็ ที่กาํ หนดให 3. ใหผูสอนและผูเรียนรวมกันศกึ ษาหาขอมูลประกอบการอภปิ ราย 4. ใหผ สู อนและผเู รียนสรปุ แนวคิดทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกนั 5. ใหผ เู รยี นรวมทาํ กิจกรรมการเรยี นรูต อเนื่อง พรอ มสรุปรายงานผล กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง ใหผ เู รียนทํากิจกรรม/โครงการ นําเสนอแนวทางการปอ งกนั การทุจรติ ในสว นราชการ พรอมจดั ทาํ รายงานเสนอผูส อน สือ่ และแหลงเรียนรู 1. Internet 2. หนงั สือพิมพ/เอกสารวชิ าการ

182 กรณศี กึ ษาเรอื่ งท่ี 4 เร่อื ง “สายนาํ จบั ...เท็จ ความนํา สายนําจับ หมายถึง ผูที่แจงขอมูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาท่ีผูมี อํานาจ เพอ่ื ดาํ เนินการจับกุม และการมีคดสี ายสืบนําจบั ..เท็จ หมายถงึ ไมม สี ายนาํ จับตวั จริงเปนการ สรางหลักฐานเทจ็ ข้นึ มาเปน สายสบื การจายเงนิ สนิ บนและเงนิ รางวัลแกผ ูแจงความนาํ จับ หรอื สายนําจับ รวมทั้งเจาหนาท่ีท่ีทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจาหนาท่ีผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30% ของมลู คา สิ่งของท่จี ับกมุ ได แตถา หากมีผูแจงความนาํ จับหรอื สายแจง ความนาํ จับตอ เจา หนาท่ี สายท่ี แจงความนาํ จับก็จะไดเงนิ สินบน 30% สว นเจา หนาท่ีจะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คา สิ่งของทจ่ี บั กุมได คาํ กลา วหา รองเรยี นวา เจาหนาทจ่ี ดั ทาํ ใบแจง ความนําจับทองคําแทงเปนเท็จ ท้ัง ๆ ท่ี เปนการจบั กมุ ตามอํานาจหนาท่ี มิไดมีสายแจงความนําจับ เพราะเจาหนาที่จะไดทั้งเงินสินบนและ รางวัลเพ่ิมขึ้นเปนเงิน 55% (30% + 25%) ของมูลคาส่ิงของท่ีจับได โดยในใบแจงความนําจับระบุ รายละเอยี ดวาในเวลา 06.00 น. ของวันท่ี 10 สิงหาคม 2552 มีสายมาแจงความนําจับตอเจาหนาที่ ประจาํ ดานชายแดนวาจะมฝี รง่ั นาํ ทองคําแทง ผูกมัดดวยผาขาวมาติดกับตัวฝร่ัง รวมท้ังหมด 30 กิโลกรัม ฝรั่งจะน่ังรถยนตแท็กซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 จะมาถึงดานชายแดน เวลา 10.00 น.ของวันที่ 10 สิงหาคม 2552 เรามาดกู ันวาสายท่ีแจงความนําจับทองคําแทงจํานวน 30 กิโลกรัม จะมีตัวตนจริง หรอื ไม มีขอสังเกตสาํ หรับคดีวา สายท่ีแจง ความนําจับจะไมเปดเผยท่ีอยู จะมีเพียง “ลายพิมพ นว้ิ มือ” เทา น้ัน การสืบคนไมสามารถคนหาเจาของลายนิ้วมือได จึงตองใชพยานแวดลอม หมายถึง พยานหลักฐานที่จะหักลางไดวา ไมมีสายนําจับจริง ในหลักฐานใบแจงความนําจับทราบวามี ผูเก่ียวของ คือ ฝร่ังที่ถูกจับกุม คนขับรถแท็กซี่ หมายเลขทะเบียน 1234 ผูโดยสารในรถแท็กซี่ หวั หนาควิ แทก็ ซี่ เจาหนาทที่ ด่ี าํ เนนิ การตรวจคนจับกุม และเจาหนาท่ีผูรับแจงความนําจับ จากการ สอบปากคาํ บุคคลดงั กลาวขางตนไดขอเท็จจริงวา ฝรั่งที่ถูกจับชื่อ นายโจ ไดเดินทางโดยรถไฟจาก กรุงเทพฯ ถึงหาดใหญ เวลา 07.00 ของวันที่ 10 สิงหาคม 2552 แลวจึงไปท่คี ิวรถแท็กซี่หมายเลข ทะเบียน 1234 ซง่ึ มนี ายดีเปน คนขับรถ นอกจากน้ันยังมีผูโดยสารน่ังไปดวยอีก 2 คน รวมคนขับกับ ฝรัง่ เปน 4 คน หัวหนาคิวแท็กซใ่ี หก ารวา แท็กซที่ ี่คิวจะออกตามคิวทีจ่ ัดไว เม่ือผูโดยสารเต็มคันก็จะ ออกทนั ที แลวควิ แท็กซ่ีคันตอไปก็จะเขามาจอดรอรับผูโดยสารตอไป จะไมมีการจองรถแท็กซี่คันไหน ไวก อน เพราะเปนไปตามลําดับท่ีจัดไว เมื่อสายสืบไปที่คิวรถก็ไดสอบถามวา ในวันที่ 10 สิงหาคม 2552 มีใครจองรถแท็กซ่ีหมายเลขทะเบียน 1234 ไวกอนหรือไม ก็ไมปรากฏวามีการจอง เมื่อขอมูลเปน อยางน้.ี .. ก็หมายความวา กอ นเวลา 7.20 น. ของวันท่ี 10 สิงหาคม 2552 ไมมีผใู ดทราบไดวา นายโจ

183 จะข้นึ รถแท็กซ่คี นั ใด หมายเลขทะเบียนใด... การท่สี ายไปแจงความนําจบั ในเวลา 06.00 น. ของวันที่ 10 สงิ หาคม 2552 ไมน าจะเปน ไปไดจงึ เปนขอ พริ ธุ ขอ ท่ีหนึ่งแลว เมื่อรถแทก็ ซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 ออกจากอาํ เภอหาดใหญ ถงึ อาํ เภอสะเดา ตอง ผา นการตรวจจากดานชายแดนทกุ คันกอ นเดนิ ทางออกนอกประเทศ คนขับรถและผูโ ดยสารไดล งจากรถ เพอ่ื ใหเ จา หนาทต่ี รวจดวู า มีของผดิ กฎหมายลกั ลอบออกนอกประเทศหรอื ไม เจา หนา ทไี่ ดตรวจภายในรถ และกระโปรงทายรถ แตไ มพ บสง่ิ ของผดิ กฎหมาย ขณะทคี่ นขบั รถและผโู ดยสารจะเขา ไปในรถแท็กซี่ บังเอิญท่คี นขบั รถไปชนที่ตัวของนายโจผูโดยสาร จงึ รูส ึกวา มขี องแข็งท่ีบริเวณลําตัวนายโจ จึงไปแจง ใหเจาหนาท่ีตรวจคนตว นายโจ จึงไดพบทองคําแทงผูกติดมากับตัวนายโจ เจาหนาท่ีจึงไดทําการ จับกุมนายโจ และเจาหนาที่ที่รับแจงความนําจับซ่ึงเปนผูถูกกลาวหายอมทราบขอมูลดีวาจะมี การลักลอบนําทองคําแทงออกนอกประเทศกลับไมอยูในท่ีเกิดเหตุ กลับไปนั่งดื่มกาแฟในท่ีทําการ ชัน้ บน ประเดน็ ใหผเู รียนศึกษาเรอ่ื ง “สายนําจบั เท็จ” แลว ผูเ รยี นเหน็ วา เจาพนักงานผสู รา งหลกั ฐาน การนําจับเท็จขนึ้ มาเพื่อผลประโยชนด า นใด และขดั ตอหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในดา นใด

184 กรณศี ึกษาเรื่องที่ 5 เรื่อง อะไรอยใู นกลอ งไม วัตถุประสงค 1. ระบุปญหาการทุจริตจากการใชอ าํ นาจหนา ท่ใี นทางท่ไี มถูกตอง 2. บอกคุณธรรมในการปฏิบัตติ น เพื่อการปอ งกนั การทุจรติ ได 3. เกดิ จิตสํานกึ ในการปอ งกนั การทุจรติ เน้อื หาสาระ 1. ระเบยี บวิธปี ฏบิ ัติในการนําสินคาเขา ประเทศ 2. คณุ ธรรมในการทาํ งานเพอ่ื ปองกนั หรอื หลีกเลยี่ งการทุจรติ กรณีศกึ ษา นายเฮียง (นามสมมติ) เปนพอคาผูมีอิทธิพลในวงการธุรกิจและวงการเมือง ไดพา นักการเมืองและขาราชการชั้นผูใหญ จํานวนประมาณ 12 คน ไปเที่ยงเมืองจีน โดยนายเฮียง เปน ผอู อกคาใชจา ยใหท้งั หมด ในวันเดินทางกลบั นายเฮียง ไดส ําแดงรายการสง่ิ ของโดยอางวา เปนของทผี่ เู ดินทางทั้ง 12 คน นําติดตวั เขามาแจงวาเปนไมแกะสลักธรรมดา บรรจใุ น 4 ลงั ใหญ เปน วธิ ีการที่นายเฮียง กระทํา เพ่ือการลักลอบนําสินคามคี า จากเมืองจนี เขาประเทศ และสรา งความสนิทสนมคุนเคยและใหส่ิงของ แกเจา หนา ทผี่ ูตรวจเปน ประจาํ คราวน้ีนายเฮียง นําส่ิงของมาฝากนายเอ (นามสมมติ) เจาหนาท่ีผูตรวจสินคาและ แจงวาส่ิงของเหลา นี้เปนของผูโดยสาร 12 คน ก็เกิดความเกรงใจและยังไดรับของฝากจากนายเฮียง ก็ยงิ่ เกรงใจมากขึ้น จึงไดคํานวณและจัดเก็บภาษีเปนเงิน 1,000 บาท นายเฮียงจึงใชใบเสร็จรับเงิน คาภาษีดงั กลา วเปนใบเบกิ ทาง เพื่อขนสิง่ ของออกจากลานสนามบนิ นายดี (นามสมมติ) ท่ีอยูบริเวณ ดังกลา วเห็นทาทางผิดปกตจิ งึ เขาไปสอบถาม นายเฮียงแสดงใบเสร็จรับเงินคาภาษีใหนายดี ตรวจดู แตนายดี เหน็ วาใบเสร็จรบั เงินคาภาษีสําหรับสิ่งของ 4 ลังใหญ ทําไมจึงเสียภาษีเพียง 1,000 บาท จึงขอกักของไวตรวจสอบ จากการตรวจสอบพบวา 2 ใน 4 ลัง เปน งาชางแกะสลัก สวนอีก 2 ลัง เปน เครื่องลายครามโบราณของแทส มัยราชวงศถัง ประเด็น 1. การทาํ หนา ที่ของนาย เอ เปนการทจุ ริตจากการใชอ าํ นาจหนา ท่ีหรือไม เพราะเหตุใด และมีผลเสียหายอยา งไร 2. การปฏบิ ัตติ นของ นายดี สอดคลอ งกับหลกั คณุ ธรรมใด เพราะอะไร 3. ทานไดรับประโยชนอะไรบา ง จากกรณศี กึ ษาเรื่องนี้

185 ใบงาน 1. ใหผูเรยี นศึกษากรณีศึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ ราย ตามประเด็นที่กาํ หนด 3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม 4. ใหผสู อนและผูเ รยี นรวมกนั สรุปแนวคิด ทไ่ี ดจากผลการอภปิ รายกลุม 5. ใหผ ูเรยี นรวมกนั วางแผนและจดั ทาํ กิจกรรมการเรยี นรตู อเน่ือง พรอ มสรปุ รายงานผล กิจกรรมการเรียนรูตอ เนื่อง ผเู รียนรวมกนั จดั ทํากิจกรรม/โครงการ เพ่อื สงเสรมิ การปองกนั และปราบปรามการทุจรติ พรอ มจดั ทําสรปุ รายงานผลเสนอผสู อน สื่อและแหลง เรยี นรู 1. สือ่ Internet 2. ผรู ู หรือหนว ยงานเกยี่ วกบั ระเบยี บวธิ ปี ฏิบตั ใิ นการนําสินคาเขาประเทศ

186 กรณศี ึกษาเรื่องท่ี 6 เร่อื ง รถปลกู สะระแหน วตั ถุประสงค 1. ระบกุ ารทุจรติ ในการใชต าํ แหนง หนา ท่ี 2. บอกคุณธรรมในการปฏิบตั งิ านในหนาทีเ่ พื่อการปอ งกันการทุจรติ ได 3. เกดิ จิตสํานึกในการปองกนั การทุจริต เน้ือหาสาระ 1. การเสยี ภาษีการนาํ สินคา เขาประเทศ 2. คุณธรรมในการทาํ งานเพอื่ ปองกนั หรือหลีกเลีย่ งการทจุ ริต กรณีศกึ ษา ตามกฎหมายระบุวา ผูที่นําวัตถุดิบเขามาในประเทศเพือ่ ใชผลิตสินคา แลวสงออก ตางประเทศภายใน 1 ปนับแตว ันทนี่ ําวตั ถดุ ิบเขา มา จะสามารถขอรับคืนเงินภาษนี ําเขาวัตถุดิบท่ีจายไว ตอนนําวตั ถดุ ิบเขามา เร่ืองมีอยูวา มีผูประกอบธุรกิจรายหน่ึงไดย่ืนขอรับคืนเงินภาษีนําเขาวัตถดุ ิบ รวม 6,400,000 บาท ตอหนวยงานราชการท่ีไดเก็บภาษีนําเขาวัตถุดิบ โดยจัดทําหลักฐานวาไดสง สินคา ออกนอกประเทศ น่ันคือ ใบขนสนิ คาขาออก จํานวน 8 ฉบับ ใบขนสินคาขาออกไดระบวุ ันที่ ขนสินคา ออกและหมายเลขทะเบียนรถบรรทุกทขี่ นสินคาออกนอกประเทศ ซึ่งผานดา นชายแดนทาง ภาคใตท่ีอยูติดกับประเทศมาเลเซียโดยผานดานชายแดน - ดานในเวลา 15.00 น. และผานดาน ชายแดน - ดานนอก เวลา 13.00 น. ในวนั เดยี วกัน โดยมเี จา หนาท่ีดา นชายแดนท้งั ดา นในและดานนอก ตรวจสนิ คาและลงชือ่ กาํ กับไวในใบขนสินคาขาออก จากการสืบหาขอมูลและหลักฐาน พบวา ไมมีการใชรถบรรทุกรับจางขนสินคาให ผปู ระกอบธรุ กจิ รายนี้ และจากการดูรถที่มีหมายเลขทะเบียนตรงกับรถบรรทุกท่ีระบุในใบขนสินคา ขาออกหรือไม ปรากฏวา เปน รถทมี่ ีหมายเลขทะเบียนตรงกัน แตสภาพความเปนจริง คือ มีตนไมเล้ือย เตม็ ไปหมด ไมสามารถขับเคลื่อนไดแลว จึงเรียกวา “รถปลูกสะระแหน” น่ีเปนที่มาของการจัดทํา เอกสารใบขนสินคาขาออกอนั เปนเท็จ โดยนําทะเบยี นรถทไ่ี มไ ดใ ชแ ลวมาระบุในใบขนสนิ คา ขาออก เม่ือไปถึงดานชายแดน - มาเลเซีย สภาพแวดลอมของดานท่ีนี่มีองคประกอบหลัก คลายกับดานชายแดนท่ัวไป คือ มีอาคารที่ทําการ มี “ดานใน” คือ ดานที่ตรวจรถยนตทุกคันที่จะ เดินทางออกนอกประเทศ ถาเปนรถบรรทุกสินคาจะตองดําเนินพิธีการ โดยผูประกอบธุรกิจท่ีจะ ขนสินคาออกจะตอ งยืน่ เอกสารใบขนสนิ คาขาออก โดยมีรายละเอียดหลัก คือ ระบุสินคา หมายเลข ทะเบยี นรถ เจา หนา ท่ที ดี่ า นชายแดนจะทาํ การตรวจสุมสนิ คา และตรวจสอบหมายเลขทะเบียนรถวา ตรงตามใบขนสินคาขาออกหรือไม ถาถูกตองเจาหนาที่จะลงช่ือผานการตรวจพรอมลงวัน เดือน ป

187 เวลา ในใบขนสนิ คา ขาออก เมอื่ ผานดา นนี้แลว รถจะแลนออกไปทช่ี ายแดน ซึ่งมรี ะยะทางหางออกไป ประมาณ 200 - 300 เมตร จะมีอีกตาํ แหนง เรียกวา “ดานนอก” เจาหนาทปี่ ระจาํ ดานนอกจะตรวจ ใบขนสินคาขาออกวาถูกตองหรือไม เจาหนาที่ดานในไดลงช่ือผานการตรวจมาแลวหรือไม เม่อื ตรวจสอบแลว เจา หนา ทปี่ ระจาํ ดานนอกจะลงช่ือผา นการตรวจและลงวนั เวลา ในใบขนสนิ คาขาออก อีกคร้ังหน่ึง จากนั้นรถจงึ แลนออกจากประเทศไทยไปยงั ดานชายแดนของประเทศมาเลเซยี จากการตรวจสถานที่พบวา จากดานนอกของไทยไปยังดานชายแดนของประเทศ มาเลเซียจะมีถนนเพียงเสนเดียวแลนตรงไปที่ดานชายแดนประเทศมาเลเซีย โดยท้ังสองจุดน้ีมี ระยะหา งประมาณ 500 เมตร ตามปกติควรจะใชเ วลาแลน นานสักเทา ไร นอกจากน้ันเจาหนาท่ีดานในและดานนอกยืนยันวาเปนลายมือชื่อของตนจริง โดยมี เวลาผา นดานใน เวลา 15.00 น. แตเวลาผานดานนอกลงเวลา 13.00 น. ในใบขนสินคาขาออก ซึ่ง เปนหลักฐานเท็จท่ีทําข้นึ อยา งลวก ๆ ประเด็น 1. การกระทําของเจาหนาท่ีดา นชายแดนกระทําการทุจริตหรือไม และมีผลกระทบให เกดิ ความเสียหายอยา งไร 2. จากกรณีศึกษาทานคดิ วา เจา หนาท่ีดา นชายแดนควรใชหลักธรรมใดในการดํารงชีวิต เพราะอะไร 3. จากการศึกษาตามกรณศี ึกษาทา นไดป ระโยชนอะไรบา ง

188 ใบงาน 1. ใหผูเรยี นศกึ ษากรณศี ึกษา 2. แบง กลุมผเู รียนอภปิ รายตามประเดน็ ท่กี าํ หนด 3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลการอภปิ รายกลมุ 4. ใหผ ูส อนและผูเรยี นรว มกนั สรปุ แนวคดิ ท่ีไดจากผลการอภปิ รายกลมุ 5. ใหผูเรียนวางแผนและจดั ทาํ กจิ กรรมการเรยี นรตู อเนื่องพรอ มสรุปรายงานผล กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองปราบการทุจริตพรอม จดั ทาํ สรปุ รายงานผลเสนอผูส อน สือ่ และแหลง เรียนรู 1. สอื่ Internet 2. ผรู ู หรอื หนวยงานเกีย่ วกบั ระเบียบวธิ ปี ฏบิ ตั ิในการจดั เกบ็ ภาษีสินคา เขาประเทศ

189 บรรณานุกรม การทุจริตคอื อะไร, เขาถึง www.oknation.net วันที่ 19 มนี าคม 2556. การศาสนา, กรม. เอกสารเผยแพรเก่ียวกับองคการศาสนาตาง ๆ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพก รมการ ศาสนา, มปพ. การศกึ ษานอกโรงเรยี น,กรม. ชุดวิชาพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน . กรงุ เทพฯ : เอกพิมพไทย จาํ กดั , มปพ. ____________________ชดุ วิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : เอกพมิ พไ ทย จํากดั , มปพ. จมืน่ อรดรณุ ารกั ษ (แจม สนุ ทรเวช). พระราชประเพณี (ตอน 3). กรุงเทพฯ : องคการการคา ของ ครุ สุ ภา, 2514. จักราวธุ คาทว.ี สนั ต/ิ สามัคคี/ปรองดอง/คา นิยม 12 ประการ ของ คสช. : เน้อื หาชว ยสอน และ จัดกจิ กรรมเพือ่ นคร,ู 2557. (เอกสารอัดสาเนา). ชุลีพร สุสวุ รรณ และสุทธิราภรณ บริสุทธ์ิ. ความรูรอบตัวขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพท พิ ยสทิ ธ์ิ, 2544. เดือน คําด.ี ศาสนาเบ้อื งตน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรชั ญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2531. มหามกุฎราชวิทยาลยั ในพระราชูปถัมภ. พระสูตรและอรรถกถาแปลงทุกขกนิกายชาดก เลมท่ี 3 ภาคที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พมหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั ฒ 2534.

190 ทองสืบ ศุภมารค. พระพทุ ธศาสนาในกัมพูชา. กรุงเทพฯ : สภาวิจยั แหงชาต,ิ 2544. ประยูรศกั ดิ์ ชลายนเดชะ. มุสลิมในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ ร้ินต้ิงกรฟุ จํากัด, 2531. ____________________มุสลิมในประเทศไทย. คร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ : โครงการหอสมุดกลาง อสิ ลาม, 2546 บรรเทิง พานจิตร. ประเพณี วฒั นธรรมไทยและคติความเชื่อ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร. 2549. ราชกจิ จานเุ บกษา เลมท่ี 127 ตอนที่ 69 ก. ประกาศวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2553. พระราชบัญญัติวฒั นธรรมแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2553. วศนิ อสิ ทสระ. พุทธโอวาทกอนปรินิพพาน. ครง้ั ที่ 4 กรงุ เทพฯ : ศลิ ปะสยามบรรจุภัณฑและ การ พิมพ จาํ กดั , 2548. สมโพธิ ผลเต็ม (น.อ.) ปรชั ญาคมคาํ กลอน 100 เรือ่ งแรก. กรงุ เทพฯ : ทรงสริ วิ รรณ จํากัด, 2545. สชุ ีพ ปญุ ญานภุ าพ. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, 2534. สาํ นกั กฎหมาย สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.). รวมกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ทีเ่ กย่ี วขอ งกับการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต, 2555. _______. “ยทุ ธศาสตรชาติวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ ”. สาํ นกั งาน คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ. _______. กรอบเนือ้ หาสาระ เรอื่ ง การมสี วนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปราม

191 การทจุ รติ , 2556. เอกสารอดั สําเนา สํานักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ (ป.ป.ช.). รวมพลังเดินหนาฝาวกิ ฤตคอรร ปั ชัน, เอกสารประชาสัมพันธ มปป. _______. โครงการเสรมิ สรางเครอื ขา ยประชาชนในการพิทักษสาธารณสมบตั ิ, 2553 (เอกสาร อัดสาํ เนา) เวบ็ ไซต http://www.k-tc.co.th/festival.php สืบคน เม่อื วนั ท่ี 2 มีนาคม 2553. เวบ็ ไซต http://www.larnbuddhism.com/grammathan/promvihan.html เร่ือง “พรหมวิหาร 4” สืบคนเมือ่ วันท่ี 2 มีนาคม 2553. เวบ็ ไซต http://www.th.wikipedia.org/wiki เร่อื ง “ประวัติพุทธศาสนา” จากวกิ ิพีเดีย สารานุกรม เสรี สืบคน เมื่อวนั ท่ี 3 มีนาคม 2553 เวบ็ ไซต http://www.wlc2chaina.com/about_china.html บทความเร่ืองประเพณี วฒั นธรรมจีน สืบคนเมอื่ วันที่ 3 มนี าคม 2553. เว็บไซต http://www.e-learning.mfu.ac.th/mflu/16041010/chapter1/Lesson1.htm#13 รวม บทความของพงศเ พญ็ ศกนุ ตาภัย. เรอื่ งรฐั ธรรมนญู และการปกครอง. กรุงเทพฯ : โรง พมิ พจ ฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. สืบคนเม่อื วนั ที่ 3 มีนาคม 2553 เว็บไซต http://www.riis3.royin.go.th/dictionary.asp สบื คนเมื่อวันที่ 11 กมุ ภาพันธ 2553. เว็บไซต http://www.gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 บทความของนายนพ นิธิ สุริยะ เรื่อง “วิวัฒนาการสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ตอนที่ 2” สืบคนเม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2553.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook