Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Published by Ople Papatsara, 2019-05-31 11:26:43

Description: รหัสวิชา 355112-กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Law and Ethics for Information and Communication Technology

Search

Read the Text Version

บทท่ี 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 95 บญั ญัติภาพยนตรแ์ ละวีดีทัศน์ มาตรา ๕๔ หา้ มผใู้ ดประกอบกจิ การใหเ้ ช่า แลกเปล่ียน หรือจำ�หนา่ ยวีดทิ ัศน์โดยท�ำ เป็นธุรกจิ หรือได้รับประโยชน์ตอบแทน เวน้ แต่ได้รับใบอนญุ าตจากนายทะเบียนใบอนุญาตนัน้ ให้ออก ส�ำ หรับสถานที่ให้เช่า แลกเปล่ียน หรือจ�ำ หน่ายวดี ทิ ัศนแ์ ต่ละแหง่ การขอใบอนุญาตและการออกใบอนญุ าตให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขท่ีกำ�หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๕ ให้ถือวา่ ผรู้ บั ใบอนุญาตตามมาตรา ๓๘ ไดร้ ับ ใบอนุญาตตามมาตรา ๕๔ ดว้ ย มาตรา ๕๖ ใบอนญุ าตตามมาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๔ ให้ มอี ายุห้าปีนับแต่วนั ท่ีออกใบอนญุ าต และให้นำ�ความในมาตรา ๔๐ วรรคสองและวรรคสาม มาใชบ้ ังคบั แกก่ ารตอ่ อายุใบอนุญาตโดย อนโุ ลม มาตรา ๕๗ ให้นำ�ความในมาตรา ๓๙ มาตรา ๔๑ และ มาตรา ๔๒ มาใชบ้ ังคบั แกก่ ารประกอบกจิ การรา้ นวีดทิ ัศนแ์ ละการ ประกอบกจิ การใหเ้ ช่า แลกเปลีย่ น หรือจำ�หน่ายวีดทิ ัศนโ์ ดยอนโุ ลม มาตรา ๕๘ วดี ทิ ศั น์ท่ีผู้รบั ใบอนญุ าตตามมาตรา ๕๓ หรือ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 96 บัญญตั ภิ าพยนตรแ์ ละวีดีทศั น์ มาตรา ๕๔ จะมีไว้ในสถานทป่ี ระกอบกิจการของตนเพื่อนำ�ออกฉาย ให้เช่า แลกเปลยี่ น หรอื จ�ำ หน่ายจะต้องมีลกั ษณะเชน่ เดยี วกบั วีดิ ทัศนท์ ่ีผา่ นการตรวจพจิ ารณาและได้รับอนุญาตตามมาตรา ๔๗ และ มกี ารแสดงเครือ่ งหมายการอนญุ าตและหมายเลขรหสั เชน่ เดยี วกับ มาตรา ๓๑ ซ่งึ น�ำ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลมตามมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๙ การประกอบกจิ การรา้ นวดี ิทัศนจ์ ะตอ้ งกระทำ� ในวัน เวลา และเงือ่ นไขท่ีกำ�หนดในกฎกระทรวง เพอ่ื ประโยชน์ในการคุม้ ครองเดก็ และเยาวชน การออกกฎกระทรวง ตามวรรคหนง่ึ จะกำ�หนดเวลาในการเข้าใชบ้ รกิ ารของผ้ซู งึ่ มีอายุตำ่� กว่าสิบแปดปีบริบรู ณ์ แตไ่ มร่ วมถึงผู้ซ่งึ บรรลนุ ติ ิภาวะโดยการสมรส ดว้ ยกไ็ ด้ มาตรา ๖๐ ในกรณีทมี่ กี ารขออนญุ าตประกอบกิจการรา้ นวีดิทศั นแ์ ละกิจการให้เชา่ แลกเปลีย่ น หรือจ�ำ หน่ายภาพยนตร์หรือ วดี ทิ ศั น์ในสถานท่ีเดยี วกัน จะต้องแยกพนื้ ทใี่ นการให้บรกิ ารออกจาก กนั ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการทคี่ ณะกรรมการกำ�หนดโดย กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 97 บัญญัตภิ าพยนตร์และวดี ีทศั น์ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 9

อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ ในประเทศ และต่างประเทศ

บทที่ 9. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรใ์ น 100 ประเทศ และต่างประเทศ บทท่ี 9. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรใ์ นประเทศ และตา่ งประเทศ โลกปจั จุบันเป็นยุคของเทคโนโลยสี ารสนเทศหรือที่เรียกว่า ยุค ไอที ซ่งึ เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามบี ทบาทและมีความสำ�คญั ต่อ ชวี ิตประจ�ำ วนั ของมนุษยใ์ นหลายดา้ น เช่น การตดิ ต่อส่ือสาร การ ซ้อื ขายแลกเปล่ียนสินคา้ และบรกิ าร การแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสาร เป็นตน้ นอกจากจะมีผลดแี ลว้ แต่กย็ ังเป็นช่องทางหนึ่ง ให้มิจฉาชีพ เข้ามาแสวงหาประโยชนอ์ ย่างผิดกฎหมาย หรอื ท�ำ ใหเ้ กิดปญั หา การขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติ รวมถงึ อาชญากรรมรูป แบบใหม่ ทมี่ คี วามซ้อน ซง่ึ เรยี กวา่ ‘’ อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ ‘’ ซงึ่ ในปจั จบุ ันถือเปน็ ปญั หาทางสงั คมอย่างหนง่ึ ท่กี �ำ ลังเพ่ิมความ รนุ แรงและสรา้ งความเสียหายแก่สงั คมท่ัวไป 1.1 ความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 1. การกระทำ�ใด ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การใชค้ อมพิวเตอร์ ซงึ่ ท�ำ ให้ผู้ อนื่ ไดร้ บั ความเสยี หาย ในขณะเดียวกนั กท็ �ำ ให้ผู้กระท�ำ ความผิดได้ รับประโยชน์ เชน่ การลกั ทรัพยอ์ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ 2. การกระทำ�ใด ๆ ทเี่ ป็นความปดิ ทางอาญา ซ่ึงจะต้องใชค้ วาม กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 9. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ใน 101 ประเทศ และต่างประเทศ รู้เก่ยี วกับคอมพวิ เตอรใ์ นการกระทำ�ความผิดน้นั เช่น การ บดิ เบอื นข้อมูล (Extortion) การเผยแพรร่ ูปอนาจารผู้เยาว์ (child pornography) การฟอกเงนิ (money laundering) การฉอ้ โกง (fraud) การถอดรหสั โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดย ไม่ไดร้ บั อนุญาต เผยแพร่ให้ผอู้ ืน่ ดาวน์โหลด เรยี กวา่ การ โจรกรรมโปรแกรม (software Pirating) หรอื การขโมยความ ลบั ทางการค้าของบรษิ ทั (corporate espionage) เป็นต้น 1.2 ประเภทของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ ปจั จุบนั อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ทีเ่ กิดขึ้นมหี ลากหลายรูป แบบ ทมี่ ผี ลกระทบต่อความปลอดภัยของชีวิตและระบบ เศรษฐกจิ ของประเทศ ซง่ึ แบ่งได้ 9 ประเภท ดงั น้ี 1) อาชญากรรมทเ่ี ป็นการขโมย โดยขโมยจากผ้ใู หบ้ รกิ าร อนิ เทอรเ์ นต็ (internet service provider) หรอื ผู้ท่เี ป็น เจ้าของเวบ็ ไซต์ในอินเทอรเ์ น็ต รวมถึงการขโมยขอ้ มลู ของ หนว่ ยงานหรอื องค์กรตา่ ง ๆ เพื่อใชป้ ระโยชนใ์ นการลักลอบใช้ บรกิ าร เชน่ การขโมยข้อมลู เก่ียวกบั บญั ชีผใู้ ชจ้ ากผู้ใหบ้ ริการ อินเทอรเ์ น็ตเพ่อื ใช้ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 9. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ใน 102 ประเทศ และต่างประเทศ 2) อาชญากรรมทใ่ี ช้การสือ่ สารผ่านเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เพือ่ น�ำ มา ใชข้ ยายความสามารถในการกระทำ�ความผดิ ของตน รวมไปถึงการใช้ คอมพิวเตอร์ปกปดิ หรือกลบเกลอ่ื นการกระทำ�ของตนไม่ใหผ้ อู้ นื่ ล่วงรู้ ด้วยการต้ังรหสั การส่ือสารขนึ้ มาเฉพาะระหวา่ งหมู่อาชญากร ดว้ ยกนั ซงึ่ ผู้อ่นื มาสามารถเขา้ ใจได้ เช่น อาชญากรคา้ ยาเสพตดิ ใชอ้ เี มลใ์ นการ ตดิ ตอ่ ส่ือสารกบั เครอื ข่ายยาเสพติด เปน็ ต้น 3) การละเมดิ ลิขสิทธ์แิ ละการปลอมแปลง เช่น การปลอมแปลง เชค็ การปลอมแปลงส่ือมัลตมิ ีเดีย รวมถงึ การปลอมแปลงโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ เป็นตน้ 4) การใชค้ อมพวิ เตอร์เผยแพร่ภาพนง่ิ หรือภาพเคล่ือนไหว ลามก อนาจาร รวมถึงข้อมูลท่มี ผี ลกระทบทางลบต่อวฒั นธรรมของแต่ละ สงั คม ตลอดจนข้อมลู ทีไ่ ม่สมควรเผยแพร่ เช่น วิธกี ารก่ออาชญากรรม สูตรการผลติ ระเบดิ เปน็ ต้น 5) การฟอกเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยใชอ้ ุปกรณค์ อมพิวเตอร์ และ การสื่อสารเป็นเครื่องมือ ท�ำ ให้สามารถเปล่ียนทรพั ยส์ นิ ทีไ่ ดจ้ ากการ ประกอบอาชพี ผดิ กฎหมาย เช่น การคา้ ยาเสพติด การคา้ อาวธุ เถอื่ น ธุรกิจสินค้าหนีภาษี การเลน่ พนนั การละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ การปลอมแปลง กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 9. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ใน 103 ประเทศ และตา่ งประเทศ เงินตรา การลอ่ ลวงสตรแี ละเด็กไปค้าประเวณี เป็นตน้ ใหม้ าเป็น ทรัพยส์ นิ ทถ่ี กู กฎหมาย 6) อนั ธพาลทางคอมพวิ เตอรแ์ ละผกู้ อ่ การร้าย ซึง่ มีวตั ถุประสงค์ ต้ังแต่การรบกวนระบบจนกระท่ังการสร้างคมเสียหายใหก้ ับ ระบบโดยการเขา้ ไปในเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ แลว้ ท�ำ ลาย ตัดต่อ ดดั แปลงข้อมูลหรอื ภาพ เพ่อื รบกวนผู้อนื่ สงิ่ ทน่ี า่ กลัวทีส่ ุด คอื การ เข้าไปแทรกแซงท�ำ ลาย ระบบเครือข่ายของสาธารณปู โภค เช่น การจา่ ยนำ�้ การจา่ ยไฟ การจราจร เปน็ ต้น 7) การหลอกคา้ ขายลงทนุ ผา่ นทางเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เช่น การประกาศโฆษณา การชักชวนให้เร่ิมลงทนุ แต่ไมไ่ ด้มกี ิจการเหลา่ นนั้ จรงิ เป็นตน้ 8) การแทรกแซงข้อมลู โดยมิชอบ โดยการนำ�เอาข้อมลู เหลา่ นน้ั มาเป็นประโยชนต์ อ่ ตน เชน่ การเจาะผา่ นระบบอินเทอรเ์ น็ตเข้าไป แลว้ แอบล้วงความลบั ทางการคา้ การดักฟังข้อมูล เพื่อนำ�มาเปน็ ประโยชน์ตอ่ กิจการของตน เป็นตน้ 9) การใช้เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ดัดแปลงขอ้ มลู บัญชีธนาคาร หรอื การโอนเงนิ จากบญั ชีหน่งึ เขา้ ไปอกี บญั ชหี นง่ึ โดยทไ่ี ม่มกี าร กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทท่ี 9. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ใน 104 ประเทศ และตา่ งประเทศ เปลย่ี นถ่ายทรัพยส์ ินกันจริง 1.3 ปญั หาทเ่ี กี่ยวข้องกบั การปอ้ งกนั อาชญากรรม คอมพวิ เตอร์ 1) ความยากงา่ ยในการตรวจสอบ ว่าอาชญากรรมจะเกิดข้นึ เมอ่ื ใด ที่ใด อย่างไร ทำ�ใหเ้ กดิ ความยากลำ�บากในการปอ้ งกนั 2) การพสิ จู นก์ ารกระท�ำ ผดิ และการตามรอยของความผดิ โดย เฉพาะอย่างยิ่งความผดิ ท่ีเกดิ ขึ้นโดยผ่านระบบอนิ เทอรเ์ น็ต ตัวอย่าง เช่น การทีม่ ผี ู้เจาะระบบเขา้ ไปฐานขอ้ มูลของโรงพยาบาล และแกไ้ ข โปรแกรมการรักษาพยาบาลของผู้ปว่ ย ทำ�ให้แพทยร์ ักษาผิดวิธี ซง่ึ ต�ำ รวจไมส่ ามารถสืบทราบและพสิ ูจนไ์ ด้วา่ ใครเปน็ ผูก้ ระทำ�ความผดิ 3) ปญั หาการรบั ฟงั พยานหลกั ฐาน ซึง่ จะมลี ักษณะแตกตา่ ง ไปจาก หลักฐานของคดอี าชญากรรม แบบธรรมดาอยา่ งส้นิ เชงิ 4) ความยากล�ำ บากในการบงั คบั ใช้กฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาชยากรรมเหล่าน้ีมกั เปน็ อาชญากรรมข้ามชาติ ซึ่งกฎหมายของ แต่ละประเทศอาจครอบคลมุ ไปไม่ถึง 5) ปัญหาความไมร่ ้เู กี่ยวกบั เทคโนโลยีใหม่ ๆ ของเจา้ พนกั งาน กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทท่ี 9. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ใน 105 ประเทศ และตา่ งประเทศ หรอื เจ้าพนักงานดงั กลา่ วมงี านล้นมอื โอกาสทจ่ี ะศึกษาเทคนิคหรือ กฎหมายใหม่ ๆจงึ ท�ำ ไดน้ ้อย 6) ความเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ซง่ึ เปล่ียนแปลง รวดเร็วมากจนหน่วยงานทรี่ ับผิดชอบตามไม่ทนั 1.4 แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาอาชญากรรม คอมพวิ เตอร์ 1. มกี ารวางแนวทางและเกณฑ์ในการรวบรวมพยานหลักฐาน เพ่ือ ด�ำ เนนิ คดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และช่วยใหพ้ นกั งานสอบสวน พนกั งานอยั การทราบวา่ พยานหลกั ฐานเชน่ ใด้ควรน�ำ เขา้ ส่กู าร พจิ ารณาของศาล จะได้ลงทาผ้กู ระท�ำ ความผิดได้ 2. จัดใหม้ ผี ทู้ มี่ ีความรคู้ วามชำ�นาญในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อเขา้ รว่ มเป็นคณะท�ำ งานในคดีอาชยากรรมคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้ เกดิ ประสทิ ธิภาพในการดำ�เนินคดี 3. จัดตัง้ หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวกบั อาชญากรรมคอมพวิ เตอรโ์ ดยเฉพาะ เพ่อื ใหม้ เี จา้ หนา้ ที่ท่ีมคี วามรคู้ วามช�ำ นาญเฉพาะในการปราบปราม และการดำ�เนินคดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทที่ 9. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรใ์ น 106 ประเทศ และตา่ งประเทศ 4. บญั ญตั ิกฎหมายเฉพาะเกย่ี วกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ รวม ถึงแกไ้ ขเพ่ิมเติมกฎหมายที่มีอยู่ใหค้ รอบคลมุ การกระท�ำ อนั เป็นความ ผิดเก่ียวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ทุกปะเภท 5. ส่งเสริมความรว่ มมอื กบั ต่างประเทศ ทั้งโดยสนธิสัญญาเกย่ี วกบั ความร่วมมือระหว่างประเทศทางอาญาหรือโดยวิธีอน่ื ในการสืบสวน สอบสวนดำ�เนนิ คดี และการปราบปรามอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 6. เผยแพรค่ วามร้เู ก่ยี วกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ให้แก่ผใู้ ช้ คอมพวิ เตอร์ หนว่ ยงาน และองคก์ รตา่ ง ๆใหเ้ ข้าใจแนวคดิ และวิธี การ ของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือป้องกนั ตนเองเป็นเบ้อื งต้น 7. ส่งเสริมจรยิ ธรรมในการใช้คอมพวิ เตอร์ ทง้ั โดยการสรา้ งความรู้ ความเข้าใจแก่บคุ คลทั่วไปในการใช้คอมพวิ เตอรอ์ ยา่ งถกู ตอ้ ง โดย การปลูกฝงั เดก็ ต้งั แตใ่ นวยั เรยี นใหเ้ ข้าในกฎเกณฑ์ มารยาทในการใช้ คอมพวิ เตอร์ อย่างถกู วธิ ีและเหมาสม กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 9. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรใ์ น 107 ประเทศ และต่างประเทศ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 10

กฎหมายด้านวิทยุและโทรทศั น์ พ.ศ.2553

บทที่ 10. กฎหมายด้านวทิ ยแุ ละโทรทัศน์ 110 พ.ศ.2553 บทท่ี 10. กฎหมายด้านวิทยแุ ละโทรทศั น์ พ.ศ.2553 กฎหมายทเี่ กี่ยวข้องกบั วทิ ยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ พรบ.การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2253 “ กระผมมีความรเู้ กยี่ วกบั เรอื่ ง พรบ.การประกอบกจิ การ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2553 มานำ�เสนอใหผ้ ้อู า่ นได้ ศกึ ษาและควรรูไ้ วโ้ ดยเฉพาะผู้ทเี่ ป็นสื่อมวลชนนะครบั ” มาตรา 1 พระราชบญั ญัตินีเ้ รยี กวา่ “พระราชบญั ญตั กิ าร ประกอบกิจการกระจายเสยี งและกิจการโทรทศั น์ พ.ศ. 2553” มาตรา 2 พระราชบัญญัตนิ ใี้ หใ้ ชบ้ ังคับตง้ั แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป มาตรา 3 ใหย้ กเลกิ (1) พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยโุ ทรทัศน์ พ.ศ. 2498 (2) พระราชบัญญตั วิ ิทยกุ ระจายเสียงและวิทยุโทรทศั น์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2502 กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 10. กฎหมายดา้ นวทิ ยุและโทรทศั น์ 111 พ.ศ.2553 (3) พระราชบญั ญัติวทิ ยุกระจายเสยี งและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2521 (4) พระราชบญั ญัตวิ ิทยุกระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทัศน์ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั ิน้ี “กจิ การกระจายเสยี ง” หมายความวา่ กิจการกระจายเสยี ง ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยองค์กรจดั สรรคลื่นความถี่และก�ำ กับกิจการวิทยุ กระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคม “กิจการโทรทัศน”์ หมายความว่า กจิ การโทรทศั น์ตาม กฎหมายว่าด้วยองค์กรจดั สรรคลื่นความถี่และกำ�กับกิจการวิทยุ กระจายเสยี ง วทิ ยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม “กิจการกระจายเสยี งหรอื กจิ การโทรทศั นท์ ใ่ี ชค้ ล่ืนความถ”่ี หมายความวา่ กจิ การกระจายเสียง หรอื กิจการโทรทศั น์ซ่งึ ตอ้ ง ขอรบั การจดั สรรคลนื่ ความถต่ี ามกฎหมายวา่ ด้วยองคก์ รจดั สรร คลืน่ ความถ่ี และกำ�กับกิจการวทิ ยุกระจายเสียง วิทยโุ ทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคม กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทท่ี 10. กฎหมายดา้ นวิทยุและโทรทัศน์ 112 พ.ศ.2553 “กจิ การกระจายเสียงหรือกจิ การโทรทศั นท์ ไ่ี ม่ใชค้ ลืน่ ความถี่” หมายความวา่ กิจการกระจายเสียง หรือกิจการโทรทัศน์ ซึง่ ไม่ตอ้ งขอรบั การจัดสรรคลนื่ ความถ่ีตามกฎหมายว่าดว้ ยองคก์ ร จดั สรรคลืน่ ความถแ่ี ละกำ�กับกิจการวิทยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยุโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม “โครงขา่ ย” หมายความว่า ระบบการเชื่อมโยงของกลุ่ม เครื่องสง่ หรอื ถ่ายทอดสัญญาณเสียง หรือภาพทผี่ ้ปู ระกอบกจิ การ กระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศนใ์ ชใ้ นการสง่ ข่าวสารสาธารณะหรอื รายการจากสถานีไปยังเคร่ืองรบั ไม่วา่ จะโดยส่ือตวั น�ำ ที่เป็นสาย คลนื่ ความถ่ี แสง คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ หรอื สื่อตัวน�ำ อ่นื ใด “เจ้าของโครงข่าย” หมายความว่า บุคคลทมี่ ีโครงข่ายเปน็ ของตนเองหรอื ผู้มสี ทิ ธใิ นการด�ำ เนนิ กิจการโครงข่าย ไมว่ ่าจะเป็นผู้ ประกอบกจิ การกระจายเสยี งหรอื กิจการโทรทัศนห์ รอื ไม่ก็ตาม “สถานี” หมายความว่า สถานทที่ ี่ใช้สำ�หรับทำ�การส่งข่าวสาร สาธารณะหรอื รายการของการประกอบกิจการกระจายเสยี งหรอื กจิ การโทรทัศน์ ไม่วา่ จะเปน็ การส่งผา่ นโครงขา่ ยของตนเอง กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 10. กฎหมายด้านวทิ ยแุ ละโทรทัศน์ 113 พ.ศ.2553 “กองทุน” หมายความว่า กองทนุ พฒั นากจิ การกระจายเสียงและ กจิ การโทรทัศนเ์ พอื่ ประโยชนส์ าธารณะตามกฎหมายว่าด้วยองคก์ ร จัดสรรคล่นื ความถ่แี ละกำ�กับกิจการวิทยุกระจายเสยี ง วทิ ยุโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม “แผนแม่บทกจิ การกระจายเสยี งและกิจการโทรทัศน์” หมายความวา่ แผนแมบ่ ทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทศั น์ ตามกฎหมายว่าด้วยองคก์ รจดั สรรคลืน่ ความถี่และก�ำ กบั กจิ การวทิ ยุ กระจายเสยี ง วิทยโุ ทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม “คลน่ื ความถ”่ี หมายความวา่ คลนื่ วิทยหุ รอื คล่นื แฮรตเซยี นซง่ึ เป็นคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ทมี่ คี วามถต่ี �ำ่ กวา่ สามลา้ น เมกะเฮริ ตซ์ลงมาที่ถกู แพรก่ ระจายในที่ว่างโดยปราศจากสื่อนำ�ที่ ประดิษฐข์ ึน้ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศนแ์ ห่งชาติตามกฎหมายวา่ ด้วย องค์กรจัดสรรคลื่นความถีแ่ ละก�ำ กับกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง วิทยุ โทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 10. กฎหมายดา้ นวทิ ยุและโทรทศั น์ 114 พ.ศ.2553 “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการกจิ การกระจายเสยี ง และกจิ การโทรทศั น์แห่งชาติ “สำ�นกั งาน” หมายความวา่ ส�ำ นักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทศั น์แหง่ ชาติ “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธกิ ารคณะกรรมการ กจิ การกระจายเสียงและกจิ การโทรทัศน์แห่งชาติ “พนักงานเจ้าหน้าท”ี่ หมายความวา่ ผ้ซู ง่ึ คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แหง่ ชาติแต่งตง้ั ใหป้ ฏิบัติ การตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 ให้คณะกรรมการมีอ�ำ นาจแตง่ ตงั้ พนักงานเจา้ หน้าท่ีและออกประกาศเพอ่ื ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญัติน้ี ประกาศคณะกรรมการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ต้องจดั ให้มีการรับฟัง ความคดิ เห็นของผู้ท่ีมีสว่ นเกยี่ วขอ้ งดว้ ย ประกาศน้ันเมอื่ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้วใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้ มาตรา 6 ให้นายกรัฐมนตรีรกั ษาการตามพระราชบญั ญตั ิ ( มีศึกษาต่อในลิงค์ ในภาคผนวก ) กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 10. กฎหมายดา้ นวทิ ยุและโทรทัศน์ 115 พ.ศ.2553 กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร

ภาคผนวก บทท่ี 5. พระราชบัญญตั ขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ลงิ ค์ https://ictlawcenter.etda.or.th/laws/detail. ( สบื ค้นวนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2562 ) บทที่ 6. พระราชบัญญัติจดแจง้ การพมิ พ์พ.ศ. ๒๕๕๐ ลงิ ค์ https://sites.google.com/site/kdhmaylaeacriythrrm- suxmwlchn/phrb-cd-caeng-kar-phimph-ph-s-2550. ( สืบค้นวนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2562 ) บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 ( แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2541 ) (ลงิ ค์ https://sites.google.com/site/kdhmaylaeacriythr- rmsuxmwlchn/kdhmay-dan-kar-khosna. ( สบื ค้นวนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2562 ) http://godnattadej2536.blogspot.com/2013/09/blog- post.html.( สบื ค้นวนั ที่ 28 พฤษภาคม 2562 ) บทท่ี 9. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรใ์ นประเทศ และตา่ งประเทศ ลงิ ค์ https://sites.google.com/site/tiktucksiriporn/s-1. ( สืบค้นวันท่ี 28 พฤษภาคม 2562 ) บทท่ี 10. กฎหมายด้านวิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ.2553 ลิงค์ https://sites.google.com/site/menn54111/kdh- may-thi-keiywkhxng-kab-withyu-kracay-seiyng-laea-withyu- thorthasn. ( สืบค้นวันท่ี 28 พฤษภาคม 2562 )

บรรณานกุ รม กรมประชาสมั พันธ.์ กองคณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยโุ ทรทัศน์ (2539) กฎหมายระเบียบวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ย-ุ โทรทศั น์. กรงุ เทพฯ : พ.ี เอ ลพิ วิง่ . กฤษณะ ชา่ งกล่อม (2542) กฎหมายและความรับผดิ เกี่ยวกับปญั หา คอมพิวเตอร์ ปี ค.ศ.2000 = Legal risksrelated to Y2K. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ ดอื นตุลา. พระราชบัญญตั ิ ว่าดว้ ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. (2544) : “กฎหมาย คมุ้ ครองข้อมูลคอมพวิ เตอร์” /รวบรวมโดย ฝา่ ยวิชาการสูตร ไพศาล. กรุงเทพฯ : สูตรไพศาล. ไพจิตร สวัสดิสาร (2547) การใช้คอมพิวเตอร์ทางกฎหมายและกฎหมายที่ เก่ยี ว กับคอมพวิ เตอร์ = Computer usage in legal prac- tice and laws related to computer. รศ. สมคดิ บางโม(2556). หนงั สือกฎหมายและจริยธรรมสื่อมวลชน (พิมคร้ังที่ 1).กรุงเทพฯ : พฒั นวิทย์การพมิ พ.์ สงวน สุทธเิ ลิศอรณุ (2525) กฎหมายการศึกษาและระเบยี บปฏิบตั ิส�ำ หรบั ขา้ ราชการคร.ู กรงุ เทพฯ : แพร่พทิ ยา. สมสกลุ จนั ทรสูตร (2543) รวมกฎหมายเกย่ี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรงุ เทพฯ : ตุลา. ส�ำ นกั งานเลขานกุ ารคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (2544) กฎหมายธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์

เวบ็ ไซต์ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับวิทยุกระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ ( ออนไลน)์ สืบค้นวนั ที่ 28 พฤษภาคม 2562 https://sites.google. com/site/menn54111/kdhmay-thi-keiywkhxng-kab-withyu-kra- cay-seiyng-laea-withyu-thorthasn. กฎหมายด้านการโฆษณา ( ออนไลน์) สืบค้นวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 https://sites.google.com/site/kdhmaylaeacri- ythrrmsuxmwlchn/kdhmay-dan-kar-khosna. กฎหมายคุ้มครองผู้บรโิ ภค ( ออนไลน์) สบื ค้นวนั ที่ 28 พฤษภาคม 2562 http://godnattadej2536.blogspot. com/2013/09/blog-post.html. พรบ.จดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ.2550 ( ออนไลน์) สืบค้น วนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2562 https://sites.google.com/site/kdh- maylaeacriythrrmsuxmwlchn/phrb-cd-caeng-kar-phimph- ph-s-2550. กฎหมายการกระท�ำ ความผดิ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ ( ออนไลน์ ) สบื ค้นวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 https://ictlawcenter.etda.or.th/laws/detail. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ ( ออนไลน์ ) สืบค้นวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 https://sites.google.com/site/tiktucksiriporn/s-1.



Law and Ethics for Information and Communication Technology